Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการประจำปี 2564 กศน.โคกงาม ฉบับปรับปรุง

แผนปฏิบัติการประจำปี 2564 กศน.โคกงาม ฉบับปรับปรุง

Description: แผนปฏิบัติการประจำปี 2564 กศน.โคกงาม ฉบับปรับปรุง

Search

Read the Text Version

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 (ฉบับปรับปรุง) กศน.ตำบลโคกงาม ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอดา่ นซ้าย สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั เลย

การอนุมัติปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ 2564 กศน.ตำบลโคกงาม ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอดา่ นซา้ ย เพ่ือให้การจัดการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ตามท่ีสถานศึกษากำหนด กศน.ตำบลโคกงาม สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอด่านซ้าย สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระยะเวลา 1 ปี ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานของ กศน.ตำบล ทิศทางการดำเนินงานของ กศน.ตำบล โครงการ/ กิจกรรม ซ่ึงคณะกรรรมการ กศน.ตำบล ได้พิจารณาโครงการ/กิจกรรมในแผนปฏิบัติการของ กศน.ตำบลด่านซ้าย แล้ว เห็นชอบแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังกล่าว เพื่อใช้เป็นกรอบทิศทางในการดำเนินงาน ของ กศน.ตำบลโคกงามตอ่ ไป ลงชอื่ ……………….........…….……………..ผู้เห็นชอบ (นายพริ ณุ ทมเจริญ) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา วนั ท่ี.............เดอื น....................พ.ศ............... ลงชอื่ …........……………....……………..….ผู้อนมุ ตั ิ (นายกิตตพิ งษ์ โกษาจันทร์) ผู้อำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอด่านซ้าย วันที่.............เดือน....................พ.ศ...............

ห น้ า | ก คำนำ กศน.ตำบลโคกงาม ได้จัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นการวางแผน ปฏิบัติงาน การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การจัดการศึกษาต่อเน่ือง การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย และการ ดำเนินกิจกรรรมตามนโยบาย และจุดเน้นของสำนักงานการสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั เพื่อเปน็ แผนการปฏบิ ัติงาน ของ กศน.ตำบลโคกงาม กศน.ตำบลโคกงาม หวังเป็นอย่างย่ิงว่า แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบับนี้ จะเปน็ ประโยชนต์ ่อการดำเนินงาน ของ กศน.ตำบลโคกงาม และ บคุ ลากรผู้ปฏิบตั ิงานเพือ่ เป็นแนวทางใน การดำเนินงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่วางไว้ อยา่ งมีคณุ ภาพ นายไพบูรณ์ ไชยวงค์ หวั หนา้ กศน.ตำบลโคกงาม

ห น้ า | ข สารบัญ เรอ่ื ง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข ส่วนท่ี 1 บทนำ 1 1 ประวัติความเปน็ มาตำบลโคกงาม 1 สภาพของชมุ ชน 4 ข้อมลู กศน.ตำบล 5 ทำเนยี บบุคลากร 5 ทำเนียบคณะกรรมการสถานศกึ ษา 6 จำนวนบคุ ลากร 7 โครงสร้าง กศน.ตำบล 8 แหลง่ เรียนรแู้ ละภาคีเครือข่าย 9 ส่วนที่ 2 ยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดำเนินงานสำนกั งาน กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 9 วิสยั ทศั น์ 9 พนั ธกจิ 9 เป้าประสงค์ 11 ตวั ชว้ี ัดเชิงปรมิ าณ 11 ตัวช้วี ัดเชิงคุณภาพ 12 จดุ เน้นการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 14 ภารกจิ ตอ่ เนื่อง 23 วาระการขบั เคล่อื นจังหวัดเลย (THAILOEI 4.0) 25 ส่วนที่ 3 การบริหารจัดการด้านการศกึ ษาของ กศน.ตำบลโคกงาม 25 SWOT Analysis ของ กศน.ตำบล 25 สภาพแวดล้อมภายใน 26 สภาพแวดล้อมภายนอก

สารบัญ (ตอ่ ) ห น้ า | ค เร่อื ง หน้า ปรชั ญาสถานศกึ ษา 27 วสิ ัยทัศน์ 28 อตั ลักษณ์ สถานศึกษา 28 เอกลกั ษณ์ สถานศกึ ษา 28 พันธกจิ 28 งบประมาณ (ปปี จั จุบัน) 29 จำนวนผู้เรียน/ผเู้ ขา้ รบั การอบรม /ผูร้ บั บรกิ าร และจำนวนคร/ู วิทยากร/ 29 ผู้จดั กจิ กรรม (ปีปัจจุบัน) สว่ นที่ 4 แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 และรายละเอยี ดงาน/ 31 โครงการ จุดเนน้ การดำเนนิ งานของงาน/โครงการ ในปีงบประมาณ 2564 32 แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน-กผ-01/64 โครงการ 33 จัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ.2551 (ปรับปรงุ พ.ศ.2559) 35 แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน-กผ-02/64 โครงการ จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ.2551 36 (ปรบั ปรงุ พ.ศ.2559) โครงการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 43 (ปรบั ปรงุ พ.ศ.2559) แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน-กผ-01/64 โครงการ 44 การจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวติ แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน-กผ-02/64 โครงการ 45 การจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวติ 49 โครงการการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ติ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน-กผ-01/64 โครงการ 50 การจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชมุ ชน แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน-กผ-02/64 โครงการ 51 การจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน โครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน

ห น้ า | ง สารบญั (ตอ่ ) เร่อื ง หน้า แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน-กผ-01/64 โครงการ 56 การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 57 แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน-กผ-02/64 โครงการ 58 การจัดกระบวนการเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 62 โครงการการจดั กระบวนการเรียนร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 64 แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน-กผ-01/64 โครงการ 65 การศึกษาตามอธั ยาศัย 70 แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน-กผ-02/64 โครงการ 72 การศึกษาตามอธั ยาศยั 73 โครงการการศึกษาตามอธั ยาศยั 80 แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน-กผ-01/64 โครงการ ศูนย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน 81 แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน-กผ-02/64 โครงการ ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน 82 โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน 87 แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน-กผ-01/64 โครงการ บูรณาการ พฒั นาเศรษฐกจิ ดิจิทัล/สรา้ ง เครือข่ายดจิ ิทัล ชมุ ชนระดบั ตำบล (ขยายผลการอบรม หลักสูตรการคา้ ออนไลน)์ แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กศน-กผ-02/64 โครงการ บรู ณาการ พัฒนาเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล/สร้าง เครือข่ายดิจทิ ัล ชุมชนระดับตำบล (ขยายผลการอบรม หลักสูตรการค้า ออนไลน์) โครงการบรู ณาการ พฒั นาเศรษฐกิจ ดจิ ิทัล/สรา้ ง เครอื ขา่ ยดจิ ทิ ัล ชุมชนระดับ ตำบล (ขยายผลการอบรม หลกั สูตรการค้า ออนไลน์) คณะผูจ้ ดั ทำ

หนา้ 1 สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพน้ื ฐานตำบล 1.ข้อมูลพนื้ ฐานตำบลโคกงาม 1.1 ประวตั ิความเปน็ มาของตำบลโคกงาม อดีตเมื่อ พ.ศ.2460 นายไต คำแก้ว พร้อมด้วยพรรคพวกอีก 6 ครอบครัว ได้อพยพมาจากบ้านหัว นาแหลมและบ้านนาน้ำท่วม ตำบลนาหอ อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ได้ตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณสี่แยก บ้านโคกงามในปัจจบุ นั นี้ ( สี่แยกเข้านาเจียง ) โดยเห็นวา่ บริเวณน้ีเป็นทางผ่านมากมายจากอำเภอด่านซา้ ย ไปจงั หวัดเลยและรอบๆ ทต่ี ง้ั บา้ นก็เป็นเนินมตี ้นไม้ชาดไม้เตง็ ไมร้ ังข้ึนอยมู่ ากมายงดงามมากข้ึนได้ให้ชื่อบ้าน เมื่อแรกตั้งว่า “ บ้านโคกไม้งาม ” ชื่อนี้ได้ใช้มาจนถึง พ.ศ.2547 โดย นายเถียร นครวาจา ได้ย้ายมาเป็น นายอำเภอด่านซ้ายท่านนายอำเภอเห็นว่า โคกไม้งามนั้นไม่สมชื่อ เพราะไม้ได้ถูกทางโรงเลื่อยและชาวบ้าน ได้ตัดโค่น ลากไปเลื่อยขายกนั เกอื บหมดแลว้ ควรตัดคำวาไม้ออกเสียเหลอื เพียงบ้าน โคกงามกเ็ หมาะสมแล้ว ดงั นชี้ าวบ้านจึงไดใ้ ช้ “ โคกงาม ” มาจนถงึ ทุกวันน้ี 1.2 สภาพพนื้ ทต่ี ้ังทัว่ ไป 1.2.1 ทต่ี ้ังตำบลโคกงาม อำเภอด่านซ้าย จงั หวดั เลย มีอาณาเขตติดต่อกบั พนื้ ท่ีต่างๆ ดงั นี้ ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกับ ตำบลปากหมนั อำเภอด่านซา้ ยจังหวัดเลย ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับตำบลด่านซา้ ยและตำบลโพนสูง อำเภอด่านซ้าย จังหวดั เลย ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ กับตำบลรอ่ งจิก อำเภอดา่ นซา้ ย จงั หวัดเลย ทิศตะวันตก ติดตอ่ กับตำบลนาดี ตำบลนาหอ ตำบลดา่ นซา้ ย จงั หวัดเลย 1.2.2 เนื้อทต่ี ำบลโคกงาม อำเภอดา่ นซ้าย จงั หวดั เลย มีพ้นื ที่ท้งั หมด 168.63 ตร.กม. หรอื ประมาณ 116,643 ไร่ 3 งาน 1.2.3 ลักษณะภมู ิประเทศ ลักษณะภมู ปิ ระเทศเป็นภูเขาล้อมรอบ มีพื้นทร่ี าบบนเชิงเขาพนื้ ดนิ อุดมสมบรู ณ์ มีลำห้วย ไหลผา่ นมนี ำ้ ซับบนภเู ขาหลายแหง่ ลักษณะอากาศหนาวจดั ในฤดูหนาวและร้อนจัดในฤดูร้อน 1.3 จำนวนหม่บู า้ นในตำบลโคกงาม หมูท่ ่ี 1 บ้านโคกงาม หมทู่ ี่ 2 บ้านห้วยตาด

หนา้ 2 หมู่ที่ 3 บา้ นนาเจยี ง หมทู่ ี่ 4 บ้านหนองหลวง หมู่ที่ 5 บา้ นช่งั สี่ หมู่ท่ี 6 บา้ นหนองแซง หมูท่ ี่ 7 บ้านหนองสนุ่น 1.4 ประชากร หมทู่ ่ี ช่ือหมบู่ ้าน ประชากร (ชาย) ประชากร(หญงิ ) รวม จำนวนครวั เรือน 1 บา้ นโคกงาม 551 483 1,034 465 2 บ้านห้วยตาด 353 367 720 199 3 บ้านนาเจยี ง 570 521 1,091 298 4 บา้ นหนองหลวง 333 292 625 162 5 บา้ นช่งั สี่ 212 169 381 94 6 บา้ นหนองแซง 213 202 415 160 7 บ้านหนองสน่นุ 230 251 481 160 รวม 2,462 2,285 4,747 1,538 1.5 สภาพทางเศรษฐกจิ 1.5.1 อาชีพราษฎรในเขตตำบลส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและมีผลผลิตที่สำคัญได้แก่ ข้าวโพด ขงิ มนั สำปะหลงั เป็นตน้ 1.5.2 หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลโคกงาม ได้แก่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์ ปั๊มน้ำมัน โรงแรม/รีสอร์ท โรงสี โรงกลึง อู่ซ่อมรถ หอพักนักศึกษา ร้านอาหาร ร้านเสริมสวย เป็นต้น 1.6 สภาพทางสงั คม 1.6.1 การสาธารณสุข 1) สถานีอนามยั มีจำนวน 1 แหง่ 2) จำนวน อสม. 85 คน 1.6.2 การคมนาคม มถี นนสายหลักทลี่ าดยางแลว้ มี 4 สาย ดังนี้ 1) บา้ นโคกงาม - บา้ นหนองแซง คอื ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 203

หนา้ 3 2) บา้ นโคกงาม - บา้ นนาเจยี ง - บ้านหนองหลวง – บ้านชง่ั ส่ี คอื ทางหลวงชนบท หมายเลข ลย 3024 3) บา้ นหนองแซง - บา้ นหนองสน่นุ คือ ทางหลวงชนบทหมายเลข ลย 2113 4) บา้ นหนองแซง - บ้านนาเจยี ง 1.6.3 การโทรคมนาคม 1) โทรศัพทส์ ่วนบคุ คลพื้นท่ี จำนวน 120 เลขหมาย 2) โทรศัพท์สาธารณะในพ้ืนท่ี จำนวน 5 เลขหมาย 3) บริษัท ทศท. คอรป์ อเรช่นั (มหาชน) จำกัด จำนวน - แห่ง 4) บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกดั จำนวน 1 แหง่ 5) ระบบเสยี งหอกระจายข่าว 7 แห่งใหบ้ ริการไดค้ รอบคลมุ รอ้ ยละ 100 ของพ้ืนที่ 6) หน่วยงานที่มีขา่ ยวทิ ยสุ อื่ สารในพ้นื ทไี่ ด้แก่ (1) หนว่ ยปฏิบตั ิการจติ วิทยา (2) สถานตี ำรวจภูธรตำบลโคกงาม

หนา้ 4 2.ข้อมลู ทวั่ ไป กศน.ตำบลโคกงาม 2.1 สถานท่ตี ้งั ปัจจุบัน กศน.ตำบลโคกงาม ตั้งอยู่เลขที่ 242 หมู่ 1 ตำบลโคกงาม อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย (ร้านค้าชุมชนเดิม) สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอด่านซ้าย สำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ 2.2 ประวตั ิความเป็นมาของ กศน.ตำบล เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2543 ทำหน้าที่จัดกิจกรรมให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยเพื่อส่งเสริมการศึกษาความต้องการสภาพปัญหาท้องถิ่นและประสานให้มีเครือข่ายท้องถิ่น ประจำตำบลอย่างกว้างขวางและทั่วถึง โดยส่งเสริมให้คนชุมชนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานในลักษณะ การศึกษาตามอัธยาศัยและเข้ามาใช้บริการศูนย์การเรียนชุมชน เพื่อเป็นศูนย์กลางในการจัดการศึกษา รวมทั้งสนบั สนนุ ส่งิ จำเป็นต่าง ๆ ที่ใช้ในการดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ เครอื ข่ายท้ังภาครฐั และเอกชน เพอื่ ใหเ้ กดิ กระบวนการเรียนการสอนและบริการแก่กลุ่มเปา้ หมายและกำกับ ดูแลติดตามและรายงานการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเขตตำบลโคกงาม อำเภอด่านซ้าย สำนักงาน กศน.ได้จัดงาน “สัมมนาสมัชชา กศน.ตำบล : ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตลอดชีวิต เมื่อวันอังคาร 12 ตุลาคม 2553 เวลา 09.30 – 10.30 น. ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพมหานคร ได้มอบหมายนโยบายให้สำนักงาน กศน.จังหวัดทุกจังหวัด / กทม.จัดให้มี กศน.ตำบล : ศูนย์การเรียนชุมชนตลอดชีวิต ซึ่งมีวิสัยทัศน์ คือ “คนไทยได้รับการศึกษาตลอดชีวิตที่มีคุณภาพ อย่าง ทั่วถึง และเท่าเทียมกันเพื่อให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้”โดยให้ความสำคัญกับการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยเทา่ เทยี มกันเพือ่ ส่งเสริมการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ และการสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้พร้อม ท้ังใหป้ รับบทบาทสำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเปน็ สำนักงานการศึกษา ตลอดชีวิตเพ่ือเตมิ เตม็ ระบบการศกึ ษาให้รองรับการเป็นสงั คมแหง่ การเรยี นรู้อย่างแทจ้ ริง เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2552 สำนักงาน กศน.จังหวัดเลยได้ปรับศูนย์การเรียนชุมชน ในทกุ ตำบลให้เปน็ กศน.ตำบล จงึ ได้เปลย่ี นช่ือเป็น “กศน.ตำบลโคกงาม”

หนา้ 5 2.3 ทำเนียบบุคลากร กศน.ตำบลโคกงาม ลำดับท่ี ชอ่ื – สกลุ ตำแหน่ง วฒุ กิ ารศึกษา สาขาวิชาเอก 1 นายไพบรู ณ์ ไชยวงค์ ครู กศน.ตำบล ปริญญาตรี วทิ ยาศาสตรบัณฑติ (วท.บ.) วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ 2 นางอรุณรตั น์ พรหมดี ครู กศน.ตำบล ปรญิ ญาตรี บรหิ ารธุรกจิ บณั ฑติ (บธ.บ.) บริหารงานบคุ คล 3 นายเอกวฒั น์ จันดาหาร ครผู ูส้ อนคนพิการ ปริญญาตรี คุรุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) พลศกึ ษา 2.4 ทำเนยี บคณะกรรมการ กศน.ตำบล ลำดบั ท่ี ชอื่ – สกลุ ตำแหน่ง ประธานกรรมการ 1 นายพิรุณ ทมเจริญ รองประธานกรรมการ กรรมการ 2 นายสงคราม คำแกว้ กรรมการ กรรมการ 3 นายเจรญิ ทองหล่อ กรรมการ กรรมการ 4 นายกรงชิด โสปรดิษฐ์ กรรมการ กรรมการ 5 นายบญุ เตรียม สารมะโน กรรมการ กรรมการ 6 นายสำราญ วงั คีรี กรรมการ กรรมการ 7 นายสวุ รรณ อินปลดั กรรมการ กรรมการ 8 นายสิทธิชัย ฤทธ์ศิ ักด์ิ กรรมการ กรรมการ 9 นายสุด ฤทธิศ์ ักดิ์ กรรมการและเลขานุการ 10 นายสกุล โสประดษิ ฐ์ 11 นายวิเชียร คำแกว้ 12 นางสงกรานต์ สนิ ดี 13 นางสายพณิ วงค์บญุ เกื้อ 14 นางอจริ ภา หุนสาย 15 นางสาวสภุ าพร พรมมาวนั 16 นางสาวเจนจิรา วังครี ี 17 นางนฤนาถ ไพศาลธรรม 18 นางไพบูรณ์ ไชยวงค์

หนา้ 6 ลำดบั ท่ี ชื่อ – สกลุ ตำแหนง่ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร 19 นางอรุณรัตน์ พรหมดี กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ 20 นายเอกวฒั น์ จันดาหาร 2.5 จำนวนบุคลากร ตำ่ กว่าปรญิ ญาตรี จำนวน ป.เอก รวมจำนวน - ป.ตรี ป.โท -2 ประเภท/ตำแหนง่ - 2- -1 - 1- -3 พนกั งานราชการ 3- ครผู ู้สอนคนพิการ รวมจำนวน

หนา้ 7 2.6 โครงการ กศน.ตำบล หัวหน้า กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล /ครูผสู้ อนคนพิการ คณะกรรมการ กศน.ตำบล งานการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน งานการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง งานการศกึ ษาตามอธั ยาศัย งานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงาน 1. ระดบั ประถมศึกษา 1. โครงการศูนย์ฝึก 1. กจิ กรรมส่งเสรมิ การ 1. โครงการพฒั นาสงั คมดจิ ทิ ัล - นายไพบูรณ์ ไชยวงค์ อาชีพชมุ ชน (ชน้ั เรยี น อา่ น/ห้องสมดุ เคลือ่ นที่ - นายไพบรู ณ์ ไชยวงค์ - นายเอกวฒั น์ จนั ดาหาร วิชาชีพ 31 ชม.ขนึ้ ไป) สำหรบั ชาวตลาดฯ - นางอรณุ รตั น์ พรหมดี - นายไพบรู ณ์ ไชยวงค์ - นายไพบูรณ์ ไชยวงค์ 2. โครงการภาษาตา่ งประเทศเพื่อ 2. ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น -นางอรุณรตั น์ พรหมดี - นางอรุณรตั น์ พรหมดี การสอ่ื สารดา้ นอาชีพ - นายไพบรู ณ์ ไชยวงค์ 2. โครงการศนู ยฝ์ กึ 2. กิจกรรมสง่ เสรมิ การ - นายไพบรู ณ์ ไชยวงค์ - นางอรณุ รัตน์ พรหมดี อาชีพชุมชน (กลมุ่ สนใจ อา่ น/หนว่ ยบริการเคลอื่ นที่ - นางอรณุ รตั น์ พรหมดี - นายเอกวัฒน์ จันดาหาร ไมเ่ กนิ 30 ชม.) (รถโมบาย) 3. โครงการหลักสตู รการดแู ล - นายไพบูรณ์ ไชยวงค์ - นายไพบรู ณ์ ไชยวงค์ ผสู้ งู อายุ ( 70 ช่วั โมง 3. ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย - นางอรุณรตั น์ พรหมดี - นางอรณุ รตั น์ พรหมดี - นายไพบูรณ์ ไชยวงค์ - นายไพบรู ณ์ ไชยวงค์ 3. การศึกษาเพ่ือพฒั นา 3. กจิ กรรมสง่ เสรมิ การ - นางอรุณรตั น์ พรหมดี - นางอรณุ รตั น์ พรหมดี ทักษะชีวติ อ่าน/บ้านหนังสือชุมชน - นายเอกวฒั น์ จนั ดาหาร - นายไพบูรณ์ ไชยวงค์ - นายไพบรู ณ์ ไชยวงค์ - นางอรุณรตั น์ พรหมดี - นางอรณุ รตั น์ พรหมดี 4. การจดั การศึกษาสำหรบั 4. การศกึ ษาเพ่อื พฒั นา 4. กจิ กรรมสง่ เสริมการ คนพกิ าร สงั คมและชุมชน อ่าน/หน่วยบริการเคลอ่ื นท่ี - นายไพบรู ณ์ ไชยวงค์ (รถโมบายขนาดเล็ก) - นายเอกวฒั น์ จนั ดาหาร - นางอรณุ รตั น์ พรหมดี - นายไพบรู ณ์ ไชยวงค์ 5. การเรียนรหู้ ลกั - นางอรุณรตั น์ พรหมดี ปรัชญาของเศรษฐกจิ 5. กจิ กรรมสง่ เสรมิ การ พอเพยี ง อา่ น/อาสาสมคั รสง่ เสริม - นายไพบูรณ์ ไชยวงค์ การอ่าน - นางอรณุ รตั น์ พรหมดี - นายไพบรู ณ์ ไชยวงค์ - นางอรุณรตั น์ พรหมดี

หนา้ 8 2.7 แหลง่ เรียนรู้และภาคีเครอื ข่าย กศน.ตำบล ทตี่ ้งั ผรู้ บั ผิดชอบ 1.กศน.ตำบลโคกงาม 242 หมู่ 1 ตำบลโคกงาม อำเภอด่านซ้าย นายไพบูรณ์ ไชยวงค์ จังหวัดเลย 42120 นางอรุณรัตน์ พรหมดี รวมจำนวน 1 แห่ง ภาคีเครือขา่ ย ทอี่ ยู่/ทต่ี ั้ง 1.สถานีตำรวจภธู รโคกงาม หมู่ท่ี 1 บา้ นโคกงาม ตำบลโคกงาม อำเภอด่านซา้ ย จังหวัดเลย 42120 2.โรงเรยี นบ้านโคกงาม หมทู่ ี่ 1 บ้านโคกงาม ตำบลโคกงาม อำเภอดา่ นซ้าย จังหวัดเลย 42120 3.วิทยาลัยการอาชีพดา่ นซา้ ย หมทู่ ่ี 1 บา้ นโคกงาม ตำบลโคกงาม อำเภอด่านซ้าย จงั หวัดเลย 42120 4.องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลโคกงาม หมูท่ ี่ 1 บา้ นโคกงาม ตำบลโคกงาม อำเภอด่านซา้ ย จงั หวดั เลย 42120 5.สำนกั งานเขตพ้นื ที่ประถมศกึ ษาเลยเขต 3 หมทู่ ่ี 1 บา้ นโคกงาม ตำบลโคกงาม อำเภอดา่ นซ้าย จงั หวัดเลย 42120 6.โรงเรยี นบา้ นหว้ ยตาด หมูท่ ี่ 2 บา้ นหว้ ยตาด ตำบลโคกงาม อำเภอด่านซ้าย จงั หวัดเลย 42120 7.โรงเรยี นบา้ นนาเจียง หมู่ที่ 3 บ้านนาเจียง ตำบลโคกงาม อำเภอดา่ นซา้ ย จังหวดั เลย 42120 8.โรงเรยี นบ้านหนองหลวง หมู่ท่ี 4 บา้ นหนองหลวง ตำบลโคกงาม อำเภอดา่ นซ้าย จังหวดั เลย 42120 9.โรงเรียนบา้ นหนองสน่นุ หมทู่ ่ี 7 บา้ นหนองสนนุ่ ตำบลโคกงาม อำเภอดา่ นซ้าย จงั หวดั เลย 42120 10.นายพิรุณ ทมเจรญิ นายกองคก์ ารบริหารส่วนตำบลโคกงาม รวมจำนวน 9 แห่ง 1 คน

หนา้ 9 สว่ นท่ี 2 ยุทธศาสตร์และจดุ เน้นการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564  วิสัยทศั น์ คนไทยทุกช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีทักษะท่ี จําเป็น และสมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดํารงชีวิตได้อย่างเหมาะสมบน รากฐานของหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง  พนั ธกิจ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ทมี่ คี ุณภาพ สอดคล้อง กบั หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสงั คม เพอื่ ยกระดับการศึกษา และ พัฒนาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรขู้ องประชาชนกลุม่ เป้าหมายใหเ้ หมาะสมในแตล่ ะช่วงวยั ให้พรอ้ มรับ การ เปล่ียนแปลงและการปรับตัวในการดาํ รงชีวิตได้อยา่ งเหมาะสม กา้ วสกู่ ารเป็นสังคมแห่งการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ อย่างยง่ั ยืน 2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา การวัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้และ บริบท ในปัจจุบนั 3. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนําเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทางและ โอกาส การเรียนรู้ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย ให้กับประชาชนกลุ่มเปา้ หมายอยา่ งทั่วถงึ 4. สง่ เสริมสนบั สนนุ แสวงหา และประสานความร่วมมือเชงิ รุกกบั ภาคีเครือขา่ ย ให้เขา้ มามสี ว่ นร่วม ในการสนับสนุนและจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิตในรูปแบบ ตา่ ง ๆ ใหก้ ับประชาชน 5. ฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพื่อการบริหารราชการที่ดี บนหลัก ของธรรมาภบิ าล มปี ระสิทธภิ าพ ประสิทธิผล และคล่องตัวมากย่งิ ข้ึน 6.ยกระดับการบริหารและการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทกั ษะ สมรรถนะ คุณธรรม และ จรยิ ธรรมท่ีดี เพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพของการให้บรกิ ารทางการศึกษาและการเรยี นรู้ท่ีมคี ุณภาพมากย่งิ ขน้ึ  เป้าประสงค์ 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาส ทาง การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศกึ ษาต่อเน่ือง และการศึกษา ตาม

หนา้ 10 อัธยาศัยที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามบริบท สภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย 2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม หน้าที่ความ เป็น พลเมืองที่ดีภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ที่สอดคล้อง กับหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง อันนําไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ ชุมชน เพื่อพัฒนา ไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และ ส่ิงแวดล้อม 3. ประชาชนได้รับการพฒั นาทักษะการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองผ่านแหลง่ เรียนรู้ ช่อง ทางการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรยี นรรู้ ูปแบบตา่ ง ๆ รวมทั้งมีเจตคติทางสังคม การเมอื ง วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถคิดวิเคราะห์ แยกแยะอย่างมีเหตุผล และนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน รวมถงึ การแกป้ ัญหาและพฒั นาคุณภาพชวี ติ ได้อย่างสร้างสรรค์ 4. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษา กศน. มหี ลกั สูตร ส่อื นวัตกรรม ชอ่ งทางการเรยี นรู้ และกระบวนการ เรยี นรใู้ นรปู แบบที่หลากหลาย ทนั สมัย และรองรบั กับสภาวะการเรียนรู้ในสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหา และพัฒนาคุณภาพชีวิตตามความต้องการของประชาชนและชุมชน รวมทั้งตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลง บรบิ ท ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสงิ่ แวดล้อม 5. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัล มา พัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ และนํามาใช้ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้และโอกาสการ เรียนรู้ ใหก้ บั ประชาชน 6. ชมุ ชนและภาคเี ครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัด สง่ เสริม และสนบั สนุนการศกึ ษา นอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย รวมท้งั การขับเคล่อื นกจิ กรรมการเรยี นรู้ของชุมชน 7. หน่วยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการองคก์ รทท่ี นั สมยั มีประสทิ ธภิ าพ และเป็นไป ตามหลักธรรมาภิบาล 8. บุคลากร กศน. ทุกประเภททุกระดับได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มทักษะและสมรรถนะในการ ปฏบิ ัติงาน และการให้บริการทางการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั รวมถงึ การปฏิบัติงานตาม สายงานอยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ

หนา้ 11

หนา้ 12  จดุ เนน้ การดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 1. นอ้ มนําพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 1.1 สืบสานศาสตร์พระราชา โดยการสร้างและพัฒนาศูนย์สาธิตและเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบต่าง ๆ ทั้งดิน น้ำ ลม แดด รวมถึงพืชพันธุ์ ตา่ ง ๆ และสง่ เสริม การใช้พลังงานทดแทนอย่างมีประสทิ ธิภาพ 1.2 จัดใหม้ ี “หนึ่งชมุ ชน หนง่ึ นวัตกรรมการพัฒนาชมุ ชน” เพ่ือความกนิ ดี อยดู่ ี มงี านทํา 1.3 การสร้างกลุ่มจิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมทั้งปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง และเป็นผู้มีความพอเพียง ระเบียบวินัย สุจริต จิตอาสา ผ่านกิจกรรม การพฒั นา ผู้เรียนโดยการใช้กระบวนการลูกเสือและยวุ กาชาด 2. สง่ สริมการจดั การศึกษาและการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ สําหรบั ประชาชนทีเ่ หมาะสมกับทุกช่วงวัย 2.1 ส่งเสริมการจดั การศกึ ษาอาชีพเพือ่ การมีงานทํา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความต้องการของ ประชาชน ผู้รบั บริการ และสามารถออกใบรบั รองความรคู้ วามสามารถเพ่ือนาํ ไปใชใ้ นการพฒั นาอาชพี ได้ 2.2 ส่งเสรมิ และยกระดบั ทกั ษะภาษาองั กฤษให้กับประชาชน (English for ALL) 2.3 ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสําหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ การฝึกอบรมอาชีพ ที่เหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมสมรรถนะผู้สูงวัย และหลักสูตร การดูแลผู้สูงวัย โดยเน้นการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคม สงู วยั 3. พฒั นาหลักสตู ร สอื่ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางการศกึ ษา แหลง่ เรยี นรู้ และรปู แบบ การจดั การ ศกึ ษาและการเรยี นรู้ ในทกุ ระดบั ทุกประเภท เพอ่ื ประโยชน์ต่อการจดั การศึกษาทีเ่ หมาะสม กับทกุ กลุ่มเปา้ หมาย มีความทนั สมัย สอดคล้องและพร้อมรองรบั กับบริบทสภาวะสงั คมปัจจุบนั ความตอ้ งการ ของผเู้ รียน และสภาวะการเรียนรูใ้ นสถานการณต์ ่าง ๆ ท่ีจะเกดิ ขึน้ ในอนาคต 3.1 พ ั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ONIE Digital Leaming Platform ท ี ่ ร อ ง ร ั บ DEEP ข อ ง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และช่องทางเรยี นร้รู ปู แบบอน่ื ๆ ทง้ั Online On-site และ On-air 3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพอื่ ใหส้ ามารถ “เรยี นรูไ้ ด้อยา่ งทัว่ ถงึ ทุกที่ ทกุ เวลา”

หนา้ 13 3.3 พัฒนาระบบรับสมัครนักศึกษาและสมัครฝึกอบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอนความรู้ ระบบสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการให้บริการระบบทดสอบ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-exam) 4. บูรณาการความร่วมมือในการส่งเสรมิ สนบั สนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรูใ้ หก้ บั ประชาชน อยา่ งมคี ุณภาพ 4.1 ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้ง ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน อาทิ การส่งเสริมการฝึกอาชีพที่เป็นอัตลักษณ์และ บรบิ ทของชุมชน สง่ เสรมิ การตลาดและขยายช่องทางการจําหน่ายเพื่อยกระดับผลิตภณั ฑ์/สนิ ค้า กศน. 4.2 บูรณาการความร่วมมือกับหนว่ ยงานต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ท้ังในสว่ นกลาง และ ภูมิภาค 5. พัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพในการทํางานของบคุ ลากร กศน. 5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills) ให้กับบุคลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง พัฒนาครูใหม้ ที ักษะ ความรู้ และความชาํ นาญในการใช้ภาษาอังกฤษ การผลิตสือ่ การเรียนรู้และการจัดการ เรยี นการสอนเพอ่ื ฝึกทักษะ การคิดวเิ คราะหอ์ ย่างเปน็ ระบบและมีเหตผุ ล เป็นขั้นตอน 5.2 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ ของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพ ในการ ทํางานร่วมกันในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการ ทํางาน 6. ปรับปรุงและพัฒนาโครงสรา้ งและระบบบรหิ ารจดั การองค์กร ปัจจัยพ้นื ฐานในการจัดการศึกษา และ การประชาสมั พนั ธส์ ร้างการรับรู้ตอ่ สาธารณะชน 6.1 เร่งผลักดันร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. ... ให้สําเร็จ และปรับโครงสร้าง การ บรหิ ารและอตั รากาํ ลังให้สอดคล้องกบั บรบิ ทการเปล่ียนแปลง เร่งการสรรหา บรรจุ แตง่ ตัง้ ที่มีประสิทธภิ าพ 6.2 นํานวตั กรรมและเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใช้ในการบริหารจดั การ พฒั นาระบบการทาํ งานและข้อมูล สารสนเทศด้านการศึกษาที่ทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใช้งานทันที โดยจัดตั้งศูนย์ข้อมูลกลาง กศน. เพื่อ จัดทาํ ข้อมลู กศน. ทัง้ ระบบ (ONE ONIE) 6.3 พัฒนา ปรับปรุง ซ่อมแซม ฟื้นฟูอาคารสถานที่ และสภาพแวดล้อมโดยรอบของหน่วยงาน สถานศึกษา และแหลง่ เรยี นรูท้ กุ แห่ง ให้สะอาด ปลอดภัย พรอ้ มใหบ้ รกิ าร 6.4 ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับการบริการทางวิชาการ/กิจกรรม ด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการ

หนา้ 14 ของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ข่าวประชาสมั พันธ์ ผ่านสื่อรูปแบบต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ/ มหกรรม วิชาการ กศน. การจดั การศึกษาและการเรียนรใู้ นสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ของสาํ นักงาน กศน. จากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เมื่อเดือนธนั วาคม 2562 ส่งผลกระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศและมีมาตรการเฝา้ ระวังเพ่ือป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสดังกล่าว อาทิ กําหนดให้มี การเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานที่ของโรงเรียนและ สถาบันการศึกษา ทุกประเภท เพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทํากิจกรรมใด ๆ ที่มี ผู้เข้าร่วมเป็นจํานวนมาก การปิดสถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกําหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการสอน รูปแบบใหม่ อาทิ การจดั การเรยี นรู้ แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทางโทรทัศน์ วิทยุ และโซเซยี ลมีเดยี ตา่ ง ๆ รวมถงึ การสอื่ สารแบบทางไกลหรือดว้ ยวิธอี ิเล็กทรอนิกส์ ในส่วนของสํานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนินงานใน ภารกิจ ต่อเนื่องต่าง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชีวิตประจําวัน และการจัดการเรียนรู้เพื่อรองรับการชีวิตแบบ ปกติวถิ ใี หม่ (New Normal) ซงึ่ กิจกรรมการเรียนรู้ตา่ ง ๆ ไดใ้ หค้ วามสําคญั กับการดาํ เนนิ งานตามมาตรการ การป้องกัน การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุก ประเภท หากมีความจําเป็นต้องมาพบกลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการป้องกันท่ี เข้มงวด มีเจล แอลกอฮอลล้างมือ ผู้รับบริการต้องใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้น ระยะหา่ งระหว่างบุคคล เน้นการใช้สื่อดจิ ิทัลและเทคโนโลยีออนไลนใ์ นการจัดการเรียนการสอน ภารกิจตอ่ เนือ่ ง ๑. ดา้ นการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 1) สนบั สนนุ การจัดการศกึ ษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวยั จนจบการศึกษาข้ันพน้ื ฐานโดยดําเนินการ ให้ ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการเ รียน การสอนอย่างทั่วถึงและเพียงพอเพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสีย ค่าใช้จ่าย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาด โอกาสทางการศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจัด การศกึ ษาทางไกล

หนา้ 15 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้น พื้นฐาน ทงั้ ด้านหลกั สตู รรปู แบบ/กระบวนการเรียนการสอน สอื่ และนวตั กรรม ระบบการวดั และประเมินผล การเรียน และระบบการให้บริการนักศกึ ษาในรูปแบบอื่น ๆ 4) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ที่มี ความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กําหนด และสามารถตอบสนองความต้องการ ของ กลมุ่ เป้าหมายได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 5) จดั ใหม้ กี จิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี นที่มีคุณภาพท่ีผู้เรยี นต้องเรียนรแู้ ละเข้าร่วมปฏบิ ัติ กิจกรรม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดการแข่งขันกีฬา การบําเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการ ปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุว กาชาด กิจกรรม จิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนมุ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนํากิจกรรมการบําเพญ็ ประโยชนอ์ ่ืน ๆ นอกหลกั สตู รมาใชเ้ พ่ิมชวั่ โมงกิจกรรมให้ผ้เู รียนจบตามหลักสูตรได้ 1.2 การส่งเสรมิ การรหู้ นังสือ 1) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลผูไ้ ม่รูห้ นังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็นระบบเดยี วกัน ท้ังส่วนกลางและส่วนภมู ิภาค 2) พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร สื่อ แบบเรียนเครื่องมือวัดผลและเครื่องมือการดําเนินงานการ ส่งเสริมการรหู้ นงั สือทสี่ อดคล้องกบั สภาพและบรบิ ทของแต่ละกลมุ่ เป้าหมาย 3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถ และทักษะการ จัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้ไม่รู้หนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมัครส่งเสริมกา รรู้ หนังสือใน พื้นทท่ี ีม่ คี วามตอ้ งการจําเป็นเปน็ พเิ ศษ 4) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้สถานศึกษาจดั กจิ กรรมสง่ เสริมการรูห้ นังสือ การคงสภาพการร้หู นังสือ การ พัฒนาทักษะการรู้หนงั สือให้กบั ประชาชนเพื่อเปน็ เคร่ืองมอื ในการศึกษาและเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ ของประชาชน 1.3 การศึกษาต่อเนื่อง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําอย่างยั่งยืน โดยให้ความสําคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานทําในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือ การบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและ ศักยภาพของแต่ละพื้นที่ มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจน สร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน โดยจัดให้มกี ารส่งเสรมิ การ

หนา้ 16 รวมกลุม่ วสิ าหกิจชุมชน การพฒั นา หนง่ึ ตาํ บลหน่งึ อาชีพเดน่ การประกวดสินคา้ ดีพรีเม่ียม การสรา้ งแบรนด์ ของ กศน. รวมถึงการส่งเสริมและจัดหาช่องทางการจําหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ และให้มีการกํากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพ เพอื่ การมงี านทาํ อยา่ งเป็นระบบและต่อเน่อื ง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ท่ี สอดคล้องกับความต้องการจําเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดํารงชีวิต ตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองไดม้ ีความรู้ความสามารถในการบรหิ ารจัดการชีวิตของตนเอง ให้อยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุขสามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสําหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและ เทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรมที่มีเน้ือหาสําคญั ต่าง ๆ เช่น การอบรมจิตอาสา การให้ความรู้ เพื่อการป้องการการแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกาย และสุขภาพจิต การอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา การปลูกฝังและการ สร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการอบรมเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชวี ิต การจัดต้ังชมรม/ชุมนมุ การอบรมส่งเสรมิ ความสามารถพิเศษตา่ ง ๆ เป็นตน้ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ บูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูก้ ารจัดกจิ กรรม จิต อาสา การสรา้ งชุมชนนักปฏบิ ัติ และรปู แบบอ่นื ๆ ทเ่ี หมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย และบรบิ ทของชุมชน แต่ละ พื้นที่ เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้ง สังคม พหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันสร้างกระบวนการ จิตสาธารณะ การสร้างจิตสํานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบต่อ หนา้ ท่ีความเป็นพลเมือง ที่ดภี ายใตก้ ารปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การเป็นจิตอาสา การบําเพ็ญประโยชน์ในชุมชนการ บริหารจัดการน้ํา การ รับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การช่วยเหลือซึ่งกันและกนั ในการพฒั นาสงั คมและชมุ ชนอยา่ งยั่งยืน 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการ บรหิ ารจดั การ ความเส่ียงอยา่ งเหมาะสม ตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยัง่ ยืน 1.4 การศกึ ษาตามอัธยาศยั 1) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพ การเรยี นรใู้ หเ้ กิดข้ึนในสงั คมไทย ให้เกิดข้นึ อย่างกวา้ งขวางและทวั่ ถึง เช่น การพฒั นา กศน. ตาํ บล หอ้ งสมุด

หนา้ 17 ประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้าง เครือข่าย สง่ เสริมการอ่าน จัดหนว่ ยบรกิ ารห้องสมุดเคลื่อนท่ี หอ้ งสมุดชาวตลาด พรอ้ มหนังสือและอุปกรณ์ เพื่อจัดกิจกรรม ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้บริการกับประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆ อย่าง ทั่วถึง สม่ำเสมอ รวมทั้ง เสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร สื่ออุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่าน และการ จดั กจิ กรรมเพอ่ื ส่งเสรมิ การอา่ น อยา่ งหลากหลายรูปแบบ 2) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต ของประชาชน เปน็ แหล่งสร้างนวตั กรรมฐานวิทยาศาสตร์และเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชงิ ศลิ ปะวิทยาการประจํา ท้องถ่ิน โดยจัดทําและพัฒนานิทรรศการสื่อและกจิ กรรมการศึกษาท่เี นน้ การเสริมสร้างความรู้และสร้างแรง บันดาลใจ ด้านวิทยาศาสตร์สอดแทรกวิธีการคดิ เชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทาง วิทยาศาสตร์ ผ่านการกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณติ ศาสตร์ รวมทั้งสอดคล้องกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมท้งั ระดบั ภูมิภาค และระดับโลกเพ่ือใหป้ ระชาชนมคี วามรู้และสามารถนําความรู้และทักษะ ไปประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิต การพัฒนา อาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถในการปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นไป อยา่ งรวดเรว็ และรนุ แรง (Disruptive Changes) ได้อย่าง มีประสทิ ธภิ าพ 3) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพื่อส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบที่หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น พพิ ธิ ภัณฑ์ ศนู ย์เรียนรู้ แหลง่ โบราณคดี วดั ศาสนาสถาน หอ้ งสมดุ รวมถึงภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ เป็นต้น 2. ด้านหลักสูตร สือรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลงานบริการ ทางวิชาการ และการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐาน สมรรถนะ และ หลักสูตรท้องถิ่นที่สอดคล้องกับสภาพบริบทของพื้นที่และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และชมุ ชน 2.2 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และส่ืออื่น ๆ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรยี น กลุ่มเป้าหมายทั่วไปและกลมุ่ เปา้ หมายพิเศษ เพ่ือให้ผเู้ รยี นสามารถเรยี นรู้ไดท้ ุกท่ี ทกุ เวลา 2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลใหม้ ีความทันสมัย หลากหลายช่องทางการเรียนรู้ ด้วย ระบบหอ้ งเรียนและการควบคุมการสอบรูปแบบออนไลน์

หนา้ 18 2.4 พัฒนาระบบการประเมนิ เพ่ือเทยี บระดับการศกึ ษา และการเทยี บโอนความรูแ้ ละประสบการณ์ เพื่อให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ รวมทงั้ มีการประชาสมั พนั ธ์ให้สาธารณชนได้รบั รู้และสามารถเขา้ ถงึ ระบบการประเมนิ ได้ 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ใน ระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานให้ได้มาตรฐานโดยการนําแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Exam) มาใชอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การ วัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษา ตามอัธยาศัย รวมทั้งให้มีการนําไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับ บริบทอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาให้ได้มาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพ ภายในท่สี อดคล้องกับบรบิ ทและภารกิจของ กศน. มากขนึ้ เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดย พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ดาํ เนนิ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อยา่ งต่อเนื่องโดยใชก้ ารประเมินภายในดว้ ยตนเอง และ จัดให้มี ระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สําหรับสถานศึกษาที่ยังไม่ได้เข้ารับการ ประเมินคุณภาพ ภายนอก ให้พัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาให้ไดค้ ุณภาพตามมาตรฐานทก่ี ําหนด 3. ดา้ นเทคโนโลยเี พอื่ การศึกษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพือ่ การศกึ ษาเพื่อให้เชื่อมโยงและตอบสนอง ต่อการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจายโอกาสทาง การศึกษา สําหรับกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลายและมีคุณภาพ สามารถ พัฒนาตนเองให้รู้เท่าทัน สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมี งานทํา รายการติวเข้มเติมเต็มความรู้ รายการ รายการทํากินก็ได้ ทําขายก็ดี ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุ ศึกษา สถานีวทิ ยุโทรทัศน์เพอื่ การศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ (ETV) และทางอนิ เทอร์เนต็ 3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยผ่านระบบ เทคโนโลยีดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อื่น ๆ เพื่อ ส่งเสริม ให้ครู กศน. นําเทคโนโลยีดิจทิ ัลมาใชใ้ นการสรา้ งกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และ การออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

หนา้ 19 โดยขยายเครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทกุ ที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศและเพิ่มช่องทาง ให้สามารถรับชมรายการโทรทัศน์ไดท้ ้งั ระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอนิ เทอรเ์ น็ต พรอ้ ม ทจ่ี ะ รองรับการพฒั นาเปน็ สถานีวิทยุโทรทัศนเ์ พ่อื การศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการให้บริการสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพื่อให้ได้หลายช่องทางทั้งทาง อินเทอร์เน็ต และรูปแบบอื่น ๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Tablet รวมทั้งสื่อ Offline ในรูปแบบ ตา่ ง ๆ เพื่อให้กลุ่มเปา้ หมายสามารถเลือกใชบ้ รกิ ารเพื่อเขา้ ถึงโอกาสทางการศกึ ษาและการเรียนรู้ ไดต้ ามความตอ้ งการ 3.5 สํารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้สื่อเทคโนโลยเี พื่อการศึกษาอยา่ งต่อเนื่องเพื่อนําผล มาใช้ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของประชาชนได้อยา่ งแทจ้ รงิ 4. ดา้ นโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดําริ หรือโครงการอนั เกย่ี วเนื่องจากราชวงศ์ 4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริหรือโครงการ อัน เกย่ี วเนื่องจากราชวงศ์ 4.2 จัดทําฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ที่สนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริหรือโครงการอันเกี่ยวเน่ืองจากราชวงศ์เพื่อนําไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและ การ พัฒนางานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดําเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพอ่ื ให้เกิดความเขม้ แขง็ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4.4 พัฒนาศนู ย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ า้ หลวง”เพ่อื ให้มคี วามพรอ้ มในการจดั การศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยตามบทบาทหน้าทท่ี ก่ี ําหนดไวอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 4.5 จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นที่สูง ถ่ิน ทรุ กนั ดาร และพืน้ ทชี่ ายขอบ 5. ดา้ นการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พนื้ ท่เี ขตเศรษฐกจิ พิเศษและพืน้ ทีบ่ รเิ วณ ชายแดน 5.1 พัฒนาการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ 1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหา และ ความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายรวมทัง้ อัตลักษณแ์ ละความเปน็ พหุวฒั นธรรมของพืน้ ท่ี 2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเข้มข้นและต่อเนื่องเพื่อให้ ผู้เรยี นสามารถนําความรู้ทไี่ ด้รับไปใช้ประโยชน์ไดจ้ รงิ

หนา้ 20 3) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ นักศึกษา กศน.ตลอดจนผู้มาใชบ้ ริการอยา่ งทว่ั ถงึ 5.2 พฒั นาการจดั การศกึ ษาแบบบรู ณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษ 1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทําแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และ บรบิ ทของแตล่ ะจังหวัดในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษ 2) จดั ทําหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพนื้ ที่ โดยเนน้ สาขาท่เี ป็นความต้องการของตลาด ให้เกิด การพัฒนาอาชพี ไดต้ รงตามความต้องการของพื้นที่ 5.3 จดั การศึกษาเพอื่ ความม่ันคงของศูนย์ฝกึ และพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน(ศฝช.) 1) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การ ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดําริปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง สําหรบั ประชาชนตามแนวชายแดนด้วยวิธีการเรียนรทู้ ่ีหลากหลาย 2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลายใช้รูปแบบเชิงรุกเพื่อการเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมอื กับเครือข่าย การจัดอบรมแกนนําด้าน อาชีพ ที่เน้นเรื่องเกษตรธรรมชาติที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนชายแดน ให้แก่ประชาชนตามแนว ชายแดน 6. ดา้ นบคุ ลากรระบบการบริหารจัดการ และการมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ น 6.1 การพัฒนาบคุ ลากร 1) พฒั นาบคุ ลากรทกุ ระดับทุกประเภทให้มสี มรรถนะสงู ข้ึนอย่างต่อเน่ือง ทั้งกอ่ นและระหว่าง การ ดํารงตําแหน่งเพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตําแหน่ง ให้ตรงกับ สายงาน ความชํานาญ และความต้องการของบุคลากรสามารถปฏิบตั ิงานและบริหารจัดการการดําเนินงาน ของหน่วยงานและ สถานศกึ ษาได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพรวมทั้งส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกัดพฒั นาตนเองเพ่ือ เลอ่ื นตําแหน่ง หรอื เลอื่ นวทิ ยฐานะโดยเน้นการประเมินวิทยฐานะเชงิ ประจกั ษ์ 2) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะที่จําเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยในสถานศกึ ษา 3) พัฒนาหัวหน้า กศน.ตําบล/แขวงให้มีสมรรถนะสูงข้ึน เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ตําบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อํานวย ความสะดวกในการเรียนรู้เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรียนรู้ที่มปี ระสิทธิภาพอย่างแทจ้ ริง

หนา้ 21 4) พฒั นาครู กศน. และบุคลากรท่เี กีย่ วข้องกบั การจัดการศึกษาใหส้ ามารถจัดรปู แบบการเรียนรู้ ได้ อย่างมีคุณภาพโดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล และการวจิ ยั เบอ้ื งต้น 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถและมีความเปน็ มืออาชีพในการจัดบริการส่งเสรมิ การเรียนรูต้ ลอดชีวติ ของประชาชน 6) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการ บริหารการดาํ เนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน.อย่างมีประสิทธิภาพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทําหน้าที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัยได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรรวมทั้งภาคีเครือข่ายทั้งใน และ ต่างประเทศในทกุ ระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพือ่ เสริมสรา้ งสัมพันธภาพและเพิม่ ประสิทธิภาพในการทํางาน ร่วมกันในรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนื่องอาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา ประสทิ ธิภาพ ในการทาํ งาน 6.2 การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานและอตั รากาํ ลัง 1) จัดทําแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและดําเนินการปรับปรุงสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ ให้มี ความพรอ้ มในการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ 2) สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง และบริหารอัตรากําลังที่มีอยู่ทั้งในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจา้ ง ให้เปน็ ไปตามโครงสร้างการบรหิ ารและกรอบอัตรากําลัง รวมทั้งรองรับกบั บทบาทภารกิจตามที่ กาํ หนดไว้ ให้เกดิ ประสทิ ธิภาพสงู สดุ ในการปฏิบตั ิงาน 3) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพื่อนํามาใช้ ในการ ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้มีความพร้อมสําหรับดําเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม อธั ยาศัย และการส่งเสรมิ การเรียนรู้สาํ หรบั ประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันทั่วประเทศ อย่าง เป็นระบบเพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใช้เป็นเครื่องมือสําคัญในการบริหาร การ วางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษ าตาม อัธยาศัย อย่างมีประสิทธภิ าพ 2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากับ ควบคุม และเร่งรัด การเบกิ จา่ ยงบประมาณใหเ้ ปน็ ตามเปา้ หมายทกี่ ําหนดไว้

หนา้ 22 3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และ เชื่อมโยงกันทั่วประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษา ให้กบั ผู้เรียนและการบริหารจดั การอย่างมปี ระสิทธภิ าพ 4) ส่งเสริมให้มกี ารจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัย เพ่ือ สามารถนํามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนนิ งานที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และ ชมุ ชนพร้อมทง้ั พัฒนาขดี ความสามารถเชิงการแข่งขันของหน่วยงานและสถานศึกษา 5) สร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งในประเทศ และต่างประเทศ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิด ความร่วมมอื ในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และจัดการศกึ ษาและการเรยี นรใู้ หก้ บั ประชาชนอยา่ งมีคณุ ภาพ 6) สง่ เสรมิ การใช้ระบบสํานักงานอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-office) ในการบรหิ ารจดั การ เช่น ระบบการ ลา ระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใช้ห้องประชุม เปน็ ต้น 7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และ ประพฤติมชิ อบ บริหารจดั การบนข้อมูลและหลกั ฐานเชิงประจักษ์ มงุ่ ผลสัมฤทธิม์ คี วามโปรง่ ใส 6.4 การกาํ กบั นิเทศตดิ ตามประเมิน และรายงานผล 1) สรา้ งกลไกการกํากบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการดําเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหเ้ ชือ่ มโยงกับหนว่ ยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครือขา่ ยทงั้ ระบบ 2) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตามและ รายงานผลการนํานโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบายในแต่ละเรื่องได้ อย่างมี ประสทิ ธิภาพ 3) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสื่ออื่น ๆ ที่เหมาะสม เพื่อการกํากับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการประจาํ ปี ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปี ของ สาํ นกั งาน กศน.ใหด้ ําเนนิ ไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เป็นไปตามเกณฑ์ วธิ ีการ และระยะเวลาทกี่ าํ หนด 5) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ตั้งแต่ สว่ นกลาง ภมู ิภาค กลุ่มจงั หวัด จงั หวัด อาํ เภอ/เขต และตาํ บล/แขวง เพอ่ื ความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และการพัฒนางานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

หนา้ 23 วาระการขับเคลือ่ นจังหวัดเลย (THAILOEI 4.0) เพ่อื ให้จงั หวัดเลยสามารถดำเนินการตามนโยบาย คสช.รัฐบาล และสอดรบั กบั แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 12 นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ตลอดจนวิสัยทัศน์ของ จังหวัดเลย “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า และการลงทุนภายการพัฒนาที่ยั่งยืน” ซึ่งหัวหน้า ส่วนราชการและคณะกรรมการจังหวัดเลย มีมติเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2560 กำหนดวาระการขับเคลื่อน จงั หวดั เลย (THAILOEI 4.0) รวม 8 ประเด็น เพ่ือให้เกดิ ความมั่นคง มง่ั ค่ัง ยง่ั ยนื ดงั น้ี Tourism and Sports ยะระดับแหล่งท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐานสร้างมูลค่าผลิตภัณฑ์และบริการ ด้านการท่องเที่ยว ส่งเสรมิ การตลาดและพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการท่องเที่ยว อนุรักษ์ฟื้นฟูธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกทีเ่ ป็นมิตรกับคนทั้งมวลเสรมิ สรา้ งการ ท่องเที่ยวชุมชน การท่องเที่ยวเชิงสรา้ งสรรค์ ภูมิปัญญา การเกษตร และศิลปวัฒนธรรมไปสูก่ ารสร้างมูลค่า ด้านการท่องเทีย่ วใหส้ ามารถสร้างและกระจายรายได้แก่ประชาชน ส่งเสรมิ ให้ประชาชนออกกำลังกาย เล่น กีฬา เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพชีวิต และพฒั นากฬี าส่คู วามเป็นเลิศ Health ส่งเสริมประชาชนชาวเลยให้มีการกินดีอยู่ดี มีความรู้ความเข้าใจและตระหนัก ในการดูแล สุขภาพอนามัยทัง้ ทางร่ายกายและจิตใจของตนเองทีเ่ หมาะสม สามารถถงึ การรักษาพยาบาลอย่างเท่าเทียม และท่ัวถงึ ยกระดับการบริการสาธารณสุข สรา้ งวฒั นธรรม การบริโภคท่ปี ลอดภยั Aqriculture ส่งเสริมการเกษตรแบบผสมผสาน และทันสมัย โดยการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรม มาใช้ในการยกระดับคุณภาพและผลผลิตทาการเกษตร การแปรรู้สินค้าภาคเกษตรให้มีคุณภาพและ มาตรฐาน พัฒนาและเพิ่มแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร ผลักดันการพัฒนาเกษตรกรให้เป็น Young Smart Farmer/Samar Farmer สร้างความเข็มแข็งให้กับ สถาบันเกษตรกร สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรรวมทั้งมี เครือข่ายธุรกิจ มุ่นเน้นการส่งเสริมและการพัฒนาที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมีการบริหารจัดการทรัพยากร อย่างค้มุ คา่ และยัง่ ยนื ควบคไู่ ปกับการนอ้ มนำปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรบั ใช้ในการดำเนินชวี ติ เพอ่ื สร้างความม่ันคง และความปลอดภยั ทางอาหารแกช่ าวเลย ชาวไทยและนานาประเทศ Investment and Trade เพม่ิ ศกั ยภาพและความสามารถในการแขง่ ขันของผู้ประกอบการคา้ การ บรกิ าร และการผลติ การส่งเสรมิ SMEs/ Start up วสิ าหกจิ ชุมชน สถาบันสหกรณ์ กลมุ่ อาชพี ตา่ งๆ อำนวย ความสะดวกด้านการค้าและการลงทุน ส่งเสริมการค้าชายแดน การจ้างงานที่มีคุณค่า การพัฒนาสัมมาชีพ เศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ OTOP ส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิตและ บริการภายใต้การพฒั นาที่ยงั่ ยืน

หนา้ 24 Loei for All ยกระดับคุณภาพชีวิต สร้างศักยภาพคนและชุมชนให้เข้มแข็ง ปรับปรุงและพัฒนา บริการภาครฐั มุ่งสู่ความเปน็ สากล โดยการมีสว่ นร่วมของทุกภาคสว่ นตามแนวทางประชารฐั การพัฒนาเพ่ือ เสริมสร้างความมั่นคง การลดความเหลื่อมล้ำ ส่งเสริมคามเสมอภาคทางสังคมและความเท่าเทียมทางเพศ การขจัดความยากจน สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ มุ่นเน้นการพัฒนาเด็กและเยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการผู้ด้อยโอกาส และ “บำบัดทุกข์ บำรุงสุข” แก่ทุกกลุ่ม พัฒนาบ้านเมืองให้สะอาด แก้ไขปัญหายา เสพติด อำนวยความยุติธรรม สร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อย มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ให้มี ความมน่ั คงและความสงบเรียบร้อย เสรมิ สร้างวนิ ยั จราจร เปน็ ถนิ่ ฐานท่ีปลอดภัยสำหรบั อยู่อาศัย เพื่อความ สงบสุขอย่างยง่ั ยนื Open Town to arts and Culture เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และทำนุบำรุง ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภาษาพื้นถิ่นให้มีการรักษา สืบทอดและพัฒนาอย่างยั่งยืน สร้างจิตสำนึก ค่านิยม และวิถีชีวิตที่ดีงามในสังคม ส่งเสริมต่อยอดทุนทางศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อนำเลยไปสู่ สากล Education ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐานสากล ส่งเสริมการเรียนรู้และทักษะวิชาชีพ ตลอดชีวิต จัดการเรียนรู้อย่างมีเป้าหมายเพื่อส่วนรวม เน้นการนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติ สามารถใช้ความรู้ สร้างนวตั กรรม เป็นพลเมอื งทดี่ แี ละพัฒนาทักษะชีวิตส่งู านอาชีพ ภายใตก้ ารเตรยี มคนในศตวรรษที่ 21 โดย การมสี ่วนรว่ มของทุกภาคส่วนตามแนวทางประชารัฐ Integrity สง่ เสริมการใชห้ ลักธรรมาภิบาล การบริหารจัดการบ้านเมืองทด่ี ีในทุกภาคส่วนเสริมสร้าง คุณธรรม จริยธรรมและรู้จกั พอเพียง มีความสามัคคี มีวินยั ทำนุบำรงุ และสง่ เสริมศาสนา จารีตประเพณีอัน ดีงาม ส่งเสริมให้ชาวเลยมีความปรองดองสมานฉันท์ เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ยึดมั่นการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขใช้วิถีวัฒนธรรม และแนวทางศาสนาในการดำรงชีวิต ส่งเสริมให้ชุมชนเข้มแข็งสงบสุข ส่งเสริมและปลูกฝังให้ชาวเลยมีความเข้าใจในสิทธิและหน้าที่ ความ รับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์สุจริต เอื้ออาทร ช่วยเหลอื เกื้อกูล เคารพกฎหาย กติกาสังคม และครรลองคลอง ธรรมทด่ี ี

หนา้ 25 สว่ นท่ี 3 การบริหารจัดการด้านการศึกษาของ กศน.ตำบลโคกงาม 1.การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม กศน.ตำบล (SWOT Analysis) 1.1 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน 1.1.1 จุดแข็งของ กศน.ตำบล (Strengths - S) ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตำบล คณะกรรมการ กศน.ตำบล) ด้านงบประมาณ ดา้ นอาคารสถานท่ี สอ่ื วัสดุอปุ กรณ์ และดา้ นโครงสร้างองคก์ ร/การบริหารจัดการ คา่ นิยมองค์กร 1) กศน.ตำบล มีปรัชญา วิสัยทัศน์ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ การดำเนนิ งานทีส่ อดคล้องกัน 2) กศน.ตำบล มีแผนปฏิบัตงิ านประจำปี ครอบคลุมทกุ พนั ธกจิ 3) การกำกับ ติดตามการดำเนินงานเป็นไปตามแผนและนำผลไปใช้ในการพัฒนา 4) เข้าถงึ กลุ่มเป้าหมายโดยการสำรวจขอ้ มลู ประชากรถงึ ปญั หาและความต้องการ ทางการศกึ ษาทกุ หมูบ่ ้านเปน็ ปจั จุบัน 5) การจัดกระบวนการเรยี นรู้ มีรูปแบบที่หลากหลาย 6) มีแผนปฏิบัติงานของ กศน.ตำล ที่สอดคล้อง แผนปฏิบัติงานของ กศน.อำเภอ 7) กศน.ตำบล มีหัวหน้า กศน.ตำบลและครูผู้สอนคนพกิ ารปฎบิ ตั ิงานประจำพื้นท่ี 8) การบริการนกั ศกึ ษารายบุคคลทำใหท้ ราบปัญหาของแต่ละคน 9) มีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและ ความตอ้ งการของชุมชน 10) มวี ทิ ยากรท่ีเป็นภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ และมีสื่อการเรียนรู้ท่สี อดคล้องกับหลักสูตร และกิจกรรมการเรียนรู้ 11) วิทยากรสอนการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ ความสามารถ ในการถ่ายทอด ความรูต้ ามหลกั สูตร 12) ผู้เรยี นหลกั สูตรวชิ าชพี ไดร้ ับความรู้ สามารถประกอบอาชพี ไดบ้ างส่วน 13) กศน.ตำบล มสี ่อื การเรยี นรู้ 14) ส่ือมคี ณุ ภาพตรงกบั ความตอ้ งการของผูร้ บั บริการ 15) มีหนังสอื สามญั ประจำบ้าน 8 ชุด เพื่อบริการส่งเสรมิ การอา่ น 16) มอี าสาสมัครส่งเสรมิ การอ่านในหมู่บา้ นๆละ 2 คน

หนา้ 26 17) ไดร้ ับความรว่ มมือจากภาคีเครือข่ายมาเป็นคณะกรรมการ กศน.ตำบล 18) สนับสนุนและสง่ เสรมิ ให้ภาคเี ครือข่ายร่วมมือจัดการศึกษา 19) ภาคเี ครือขา่ ยเหน็ ความสำคัญและยอมรับ กศน.ตำบล 1.1.2 จดุ ออ่ นของ กศน.ตำบล (Wesknesses - W) ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตำบล คณะกรรมการ กศน.ตำบล) ด้านงบประมาณ ดา้ นอาคารสถานที่ ส่ือ วสั ดุอปุ กรณ์ และดา้ นโครงสร้างองค์กร/การบริหารจดั การ คา่ นิยมองค์กร 1) การจัดหาหนังสอื เรียนลา่ ช้าและสื่อการสอนไม่เพียงพอต่อการจัดการศึกษาข้ัน พืน้ ฐานในแตล่ ะภาคเรียน 2) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ทนั สมัยใน กศน.ตำบล ยังไมเ่ พยี งพอในการให้บริการ แก่นกั ศึกษาและประชาชนในพน้ื ทีต่ ำบล 3) ครูมีภาระงานมากเกินไป ขาดโอกาสในการพัฒนาตนเอง ส่งผลต่อคุณภาพ การจัดการเรียนการสอนการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 4) ครูผู้สอนมีไม่เพียงพอกับจำนวนนักศึกษาหลายระดับ หลากหลายวิชา โดยเฉพาะรายวชิ าบังคบั ทมี่ ีเนอื้ หาค่อนข้างยาก 5) นักศึกษามีความรู้พื้นฐานไม่เท่ากันทำให้การจัดการเรียนการสอนยากลำบาก โดยเฉพาะในรายวิชาบงั คับ ได้แก่ วชิ าภาษาอังกฤษ วชิ าคณติ ศาสตร์ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 6) นักศึกษาขาดการพบกลุ่มเนื่องจากติดภารกิจในการทำงาน งานกิจกรรมใน ชุมชน และไมใ่ หค้ วามสำคัญในการศึกษาตอ่ เนื่องให้จบภาคบังคับ 7) นักศึกษามีความท้อแท้ต่อการเรียนในเนื้อหารายวิชาที่หลากหลายของ หลักสูตร กศน. 51 ทำให้ไมอ่ ยากมาเรยี น 8) การบรกิ ารจัดการศึกษาแก่ประชาชนในพ้ืนที่ยังไม่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย ในทุกพื้นที่ เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มเด็กเยาวชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยง กลุ่มอาชีพที่ขาดความรู้ด้านการบริหาร จดั การ และขาดการพัฒนาทักษะฝีมอื ต่อเน่ือง เปน็ ต้น 2. การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก 2.1 โอกาส (Opportunities - O) ด้านนโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้านความปลอดภัยในพื้นที่ ด้านสังคม-วัฒนธรรม ดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ นเทคโนโลย/ี การคมนาคม ติดต่อสอ่ื สาร และดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม 1) มีการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานระดับอำเภอและผู้นำท้องถิ่นอย่าง สม่ำเสมอและต่อเน่ืองสังคมชนบท ทำให้สามารถจัดกิจกรรมไดส้ ะดวก

หนา้ 27 2) กศน.ตำบล เขา้ ไปมสี ่วนรว่ มในการจดั กิจกรรมของชุมชน 3) ประชาชนตอ้ งการรบั การศึกษาเพม่ิ ขึ้น 4) มภี มู ปิ ัญญาและแหลง่ เรยี นรู้ ทำใหผ้ รู้ ับบริการได้ศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง 5) มเี ทคโนโลยที ่หี ลากหลายทำใหก้ ารประสานงานได้สะดวกและทนั เวลา 6) พร.บ.การศึกษาเปิดโอกาสให้ท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษามากข้ึน ทำใหเ้ กิดการระดมความคิดในการพฒั นาการศึกษา 7) ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายองค์กรท้องถิ่น ประชาชนหรือชุมชน บางสว่ นในดา้ นการจัดการศึกษา 8) ผู้เรียน/ผู้รับบริการ ประกอบอาชีพเกษตร และอยู่ในวัยทำงานที่มีรายได้น้อย ทำใหส้ ามารถเข้าศึกษาอบรมจากหน่วยงานทส่ี นบั สนุน สามารถนำความรู้ไปใชใ้ นการประกอบอาชีพได้ 2.2 อุปสรรค/ความเสย่ี ง (Threats - T) ด้านนโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้านความปลอดภัยในพื้นที่ ด้านสังคม-วัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลย/ี การคมนาคม ตดิ ต่อส่ือสาร และด้านสง่ิ แวดลอ้ ม 1) นโยบายการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ หลักสูตร กศน.51 ซ่ึงมเี นือ้ หาค่อนข้างหลากหลาย ยากต่อการเรยี นรู้สำหรับกลุ่มเป้าหมายท่มี วี ยั และพ้ืนฐานความรู้ที่แตกต่าง กนั 2) เทคโนโลยกี ารสอื่ สารท่ีทนั สมัยมากเกนิ ไปสง่ ผลให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายบางกลุ่มขาด ความตระหนักรู้และให้ความสำคญั ในการบริโภคข้อมูลความบันเทงิ มากกว่าการศึกษาหาความรู้ดา้ นวิชาการ เพอ่ื การศกึ ษา การอาชพี หรอื การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ 3) สถานการณ์ปัญหายาเสพติดยังคงแพร่กระจายอยู่ทุกพื้นที่ส่งผลกระทบ ตอ่ กลมุ่ เปา้ หมายผู้เรียนหรอื ผู้รบั บริการการศึกษาบางกลุ่ม 4) สภาวะทางเศรษฐกิจ และการเมืองที่ไม่มีความแน่นอนทำให้ขาดความมั่นใจในการ ตัดสนิ ใจเพ่อื การเรียนรู้ในการประกอบอาชพี หรือทำธุรกิจเพ่ือสร้างความม่ันคงในอาชพี 5) งบประมาณที่ได้รบั จดั สรรใหใ้ นการจัดการศกึ ษาต่อเน่ืองไมส่ ามารถบริการจดั การศึกษา ได้สอดคลอ้ งกบั จำนวนกล่มุ เปา้ หมายในพ้นื ที่อยา่ งทัว่ ถงึ 2.ทิศทางการดำเนินงานของ กศน.ตำบล 2.1 ปรชั ญา กศน.ตำบล กศน.ตำบลโคกงาม ได้ดำเนนิ งานตามปรชั ญาท่ีสถานศกึ ษากำหนดไว้ ดงั นี้คือ

หนา้ 28 “คิดเป็น” เปน็ กระบวนการคดิ เพอ่ื แก้ไขปัญหานำพาไปสคู่ วามสุขความสำเร็จโดย ใช้ข้อมูล 3 ด้าน มาประกอบการจัดสินใจ คือ ข้อมูลด้านวิชาการ ตนเอง และสังคมตัดสินใจและลงมือ ปฏบิ ตั ิถ้าสำเรจ็ กม็ ีความสุข ถ้าไมพ่ อใจกก็ ลับไปทบทวนใหม่” 2.2 วิสยั ทศั น์ “ประชาชนตำบลโคกงามทุกช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีทักษะที่จําเป็น และสมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถ ดํารงชวี ติ ไดอ้ ย่างเหมาะสมบนรากฐานของหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง” 2.3 อัตลกั ษณ์ กศน.ตำบลโคกงาม ได้กำหนดอัตลักษณ์ของกศน.ตำบล คือ “ใฝ่เรียนรู้ คู่วัฒนธรรม นำสอู่ าชพี ท่พี อเพยี ง” มีความหมาย ดงั น้ี 2.3.1 ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามใน การเรียนรู้ แสวงหาความรจู้ ากแหล่งเรียนรูท้ ้ังภายในและภายนอกชุมชน รวมถึงการมที ักษะพื้นฐานที่จำเป็น ในแสวงหาความรู้ 2.3.2 คู่วัฒนธรรม หมายถึง ผู้เรียน และครู บุคลากร สืบสานประเพณีท้องถิ่น และรักษาวฒั นธรรมอำเภอดา่ นซ้ายต่อไป 2.3.3 นำสู่อาชีพที่พอเพียง หมายถึง นักศึกษา และประชาชนมีอาชีพที่พอเพียง สามารถพงึ่ พาตัวเองได้ 2.4 เอกลักษณ์ “ใหโ้ อกาสทางการศกึ ษา ภาคีเครอื ขา่ ยให้ความรว่ มมือ” 2.5 พันธกจิ 2.5.1 จัดและสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคล้อง กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพ่ือ ยกระดับการศึกษา และพัฒนาสมรรถนะ ทกั ษะการเรยี นร้ขู องประชาชนกลุ่มเปา้ หมายให้เหมาะสมในแต่ละ ชว่ งวัย ให้พรอ้ มรับ การเปล่ยี นแปลงและการปรับตัวในการดํารงชีวิตได้อย่างเหมาะสม ก้าวสู่การเป็นสังคม แห่งการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ อยา่ งยง่ั ยืน 2.5.2 พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา การวัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับ รูปแบบการจัดการเรยี นรูแ้ ละบรบิ ท ในปัจจุบัน

หนา้ 29 2.5.3 ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนําเทคโนโลยีมาพัฒนา เพื่อเพิ่มช่องทางและโอกาส การเรียนรู้ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดและให้บริการการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ให้กับประชาชนกลมุ่ เป้าหมายอย่างทวั่ ถงึ 2.5.4 ส่งเสริมสนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคี เครือข่าย ให้เข้ามามีส่วนร่วม ในการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย และ การเรยี นรูต้ ลอดชีวติ ในรปู แบบต่าง ๆ ใหก้ บั ประชาชน 2.5.5 พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพื่อการบริหาร ราชการทดี่ ี บนหลกั ของธรรมาภิบาล มปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธิผล และคล่องตวั มากยง่ิ ข้นึ 2.5.6 ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คณุ ธรรม และจรยิ ธรรมทีด่ ี เพ่อื เพ่ิมประสิทธิภาพของการให้บริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ ทีม่ คี ณุ ภาพมากย่ิงขน้ึ  งบประมาณ(ปปี จั จุบัน) ประเภทงบประมาณ งบประมาณทไ่ี ดร้ ับ เงนิ งบประมาณ 58,418 เงนิ นอกงบประมาณ 0 รวม 58,418  จำนวนผเู้ รียน/ผู้เขา้ รบั การอบรม /ผูร้ ับบริการ และจำนวนคร/ู วทิ ยากร/ผจู้ ดั กิจกรรม (ปปี ัจจุบัน) ที่ งาน/โครงการ จำนวนผู้เรยี น (คน) งบประมาณ จำนวนครู/ 2/63 1/64 รวม (บาท) วทิ ยากร/ งานที่ 1 การจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ ผู้จัดกจิ กรรม การจัดการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานนอกระบบ 23 21 44 - ระดบั ประถมศึกษา 74 71 145 83,600 3 - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น 51 52 103 333,500 3 - ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 148 144 292 236,900 3 รวม 654,000 3

หนา้ 30 ท่ี งาน/โครงการ จำนวน งบประมาณ จำนวนครู/วทิ ยากร (บาท) /ผจู้ ัดกจิ กรรม ผู้เรียน (คน) 900,000 1 12,860 3 การจัดการศกึ ษาสำหรบั คนพิการ 20 17,000 2 งานที่ 2 การศกึ ษาต่อเนื่อง 3,910 3 กจิ กรรมศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชนโครงการ 27 8,800 3 4,800 3 ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน เพื่อจัดแบบ - 5 พฒั นาอาชีพระยะส้ัน(กลุ่มสนใจไมเ่ กิน - 3 - 3 30 ชั่วโมง) - 3 7,128 3 กจิ กรรมส่งเสริมศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน 28 1,960 3 โครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน เพื่อจดั 1,960 3 ชน้ั เรียนวิชาชีพ ( 31 ชัว่ โมงขึ้นไป) การจัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวติ 34 การจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาสังคมและ 32 ชุมชน การจัดการศกึ ษาการเรียนรู้ตามหลกั 12 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง งานท่ี 3 การศกึ ษาตามอธั ยาศัย กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน -บา้ นหนงั สอื ชมุ ชน 526 -หน่วยบริการเคล่ือนที่(รถโมบาย) 84 -อาสาสมัครส่งเสรมิ การอ่าน 30 -หอ้ งสมดุ เคลื่อนที่สำหรับชาวตลาดฯ 106 โครงการ 1 โครงการพฒั นาเศรษฐกจิ ดิจิทัล 27 2 โครงการสง่ เสรมิ การจดั การศึกษา 28 ตลอดชีวติ เพ่อื พัฒนาการทางกาย จติ และสมอง ของผู้สูงอายุ (งวดที่ 1) โครงการสง่ เสรมิ การจัดการศึกษา 28 ตลอดชวี ิตเพ่ือพฒั นาการทางกาย

หนา้ 31 ที่ งาน/โครงการ จำนวนผู้เรียน งบประมาณ จำนวนครู/วทิ ยากร (คน) (บาท) /ผ้จู ัดกจิ กรรม จติ และสมอง ของผสู้ ูงอายุ (งวดที่ 2) 28 1,960

หนา้ 32 สว่ นท่ี 4 แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 และรายละเอยี ดงาน/โครงการ กศน.ตำบลโคกงามสังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอด่านซ้าย จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 3 งาน 2 โครงการ ที่ต้องปฏิบัติงาน ตามนโยบายและจุดเน้นที่สำคัญของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สำนักงาน กศน.) ตามบทบาทภารกิจของหน่วยงานและความตอ้ งการของประชาชนกลุม่ เปา้ หมาย จดุ เนน้ การดำเนินงานของงาน/โครงการ ในปีงบประมาณ 2564 งาน 1.การจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ 1.1 การจัดการศึกษาขนั้ พื้นฐานนอกระบบ 2. การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง 2.1 ศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน 2.2 การจัดการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ติ 2.3 การจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชุมชน 2.4 การจัดการศึกษาการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 3. การศกึ ษาตามอัธยาศัย 3.1 แหลง่ เรียนรู้ กศน.ตำบล 3.2 กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น โครงการ 1.โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดจิ ิทลั 2.โครงการส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาตลอดชีวิตเพื่อพัฒนาการทางกายจิต และสมอง ของผูส้ งู อายุ

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บ กศน.ตำบลโ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตา (งาน/โครงการใ (1)  หนว่ ยงาน.....กศน.ตำบลโคกงาม......  สถานศกึ ษา ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม (2) (3) (4) (5) ท่ี ช่อื งาน/โครงการ วตั ถุประสงค์ กจิ กรรมหลัก 1. โครงการจดั การศกึ ษา 1) เพมิ่ สนบั สนนุ การจัดการศึกษานอก 1จดั การศึกษานอกระบบ 1. จำน นอก ระบบระดบั ระบบตัง้ แตป่ ฐมวยั จนจบการศกึ ษาขั้น ระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ตามเป การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พนื้ ฐานโดยดำเนินการใหผ้ ู้เรยี นไดร้ ับการ ระดับประถม ม. ต้น ม.ปลาย 2.ร้อย พ.ศ.2551 ( ปรับปรงุ สนับสนุนคา่ จดั ซ้ือตำราเรยี น คา่ จดั 2.จดั ซอื้ สื่อการเรียนการ สอน/ รบั การ พ.ศ. 2559) กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน และคา่ เลา่ หนงั สอื เรียน 3.รอ้ ย เรียนอย่างทวั่ ถึงและเพียงพอเพอ่ื เพ่มิ 3.จัดกิจกรรมปฐมนเิ ทศ 4. ควา โอกาสในการรับการศกึ ษาทีม่ คี ุณภาพโดย นกั ศึกษา กศน./กจิ กรรม ส่ือ/สิ่ง ไม่เสยี คา่ ใชจ้ า่ ย ปรับพ้นื ฐานความรู้ 5.รอ้ ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับ 4.กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ความร การศกึ ษา ขัน้ พน้ื ฐานใหก้ ับกลุ่มเปา้ หมาย ผูเ้ รยี น พฒั นา ผู้ดอ้ ย พลาด และขาดโอกาสทาง 5.การประเมินระดบั การรู้ 6.ควา การศึกษา ทง้ั ระบบการใหบ้ ริการ ระบบ หนังสอื ของนักศกึ ษา กศน. ข้ึนไป การเรียนการ สอน ระบบการวดั และ 6.กจิ กรรมตวิ เขม้ /สอนเสริม 7. ประเมนิ ผลการ เรียน ผา่ นการเรียนแบบ การวัดและประเมินผล เรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลมุ่ และการ เรยี นแบบชนั้ เรียน

หนา้ 33 บประมาณ พ.ศ.2564 กศน-กผ-01/64 โคกงาม ามอัธยาศัยอำเภอด่านซา้ ย จังหวดั เลย ในภาพรวม) มอัธยาศัยอำเภอด่านซา้ ย  ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั เลย (6) (7)เป้าหมาย (8)งบประมาณ ตัวช้วี ดั ความสำเร็จ อดุ หนุน ดำเนนิ รายจ่าย ประเภท จำนวน นวนผูเ้ รยี นเปน็ ไป งาน อนื่ ป้าหมายท่ีกำหนดไว้ กลมุ่ เป้าหมาย เปา้ หมาย ยละของผเู้ รียนทเ่ี ข้า รศึกษา ผู้ดอ้ ย พลาด และ -ระดับ ยละของผู้เรยี นทจ่ี บหลักสูตร ามเหมาะสมของ สถานที่/ ขาดโอกาส ประถมศกึ ษา 44 คน 83,600 - - งอำนวยความสะดวก 333,500 - - ยละของผ้เู รยี นท่ี สามารถนำ ทางการศกึ ษา -ระดับ ม.ต้น 145 คน 236,900 - - รไู้ ปใช้ ในการศกึ ษาตอ่ หรือ าคุณภาพชวี ิต อายุ 15-59 ปี -ระดบั ม.ปลาย 103 คน ามพึงพอใจทอ่ี ยูใ่ น ระดับ ดี ท่ไี ม่จบ การศกึ ษา รวม 292 คน ภาค บงั คบั และไม่ อยู่ ในระบบ โรงเรยี น

(2) (3) (4) (5) ที่ ชื่องาน/โครงการ วัตถุประสงค์ กิจกรรมหลกั 3) จดั ให้มกี ารประเมนิ เพอื่ เทยี บระดับ การศกึ ษา และการเทียบโอนความรูแ้ ละ ประสบการณท์ ่ีมคี วามโปร่งใส ยตุ ิธรรม ตรวจสอบได้ มมี าตรฐานตามทก่ี ำหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ กลุม่ เปูาหมายไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ 4) สง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รยี นต้องเรียนร้แู ละ ปฏิบัติกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต เพอื่ ดำเนินกจิ กรรมเสริมสร้างความสามัคคี ป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ บำเพญ็ สาธารณประโยชนอ์ ยา่ งต่อเน่อื ง และ ส่งเสรมิ การปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ ทรง เป็นประมุข เชน่ กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี และยุวกาชาด กจิ กรรมจิต อาสา การจดั ตัง้ ชมรม/ชมุ นมุ และเปดิ โอกาส ใหผ้ ู้เรยี นน ากจิ กรรมการบำเพญ็ ประโยชน์อ่นื ๆนอกหลกั สูตร มาใชเ้ พ่ิม ชวั่ โมงกจิ กรรมให้ผูเ้ รยี นจบตาม หลกั สตู ร ได้

หนา้ 34 (6) (7)เป้าหมาย (8)งบประมาณ ตัวช้วี ัดความสำเรจ็ อุดหนุน ดำเนนิ รายจ่าย ประเภท จำนวน งาน อ่นื กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมาย รวม 654,000 - - รวมสทุ ธิ 654,000

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตา (จำแนกตามโ (1) หน่วยงาน.....กศน.ตำบลโคกงาม......  สถานศึกษา ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอ 2.สอดคล้อง ยุทธศาสตร์ขอ้ ที่ 4.2 นโยบายขบั เคลอ่ื น กศน. WOW 2.2 และ 3 วาระการขบั เคล่ือนจังหวัดเลย (THA 3.ชอื่ งาน/โครงการ การจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2551 (ปรบั ปรงุ พ.ศ.2559) 4.วตั ถปุ ระสงค์ : เพือ่ 5.กจิ กรรมหลัก 1) เพมิ่ สนับสนุนการจัดการศกึ ษานอก ระบบตั้งแต่ปฐมวยั จนจบ 1.จดั การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษ การศึกษาขนั้ พ้นื ฐานโดยดำเนนิ การใหผ้ ้เู รียนไดร้ บั การ สนับสนุนค่า ม.ต้น ม.ปลาย จัดซือ้ ตำราเรยี น คา่ จัด กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น และค่าเลา่ 2.จัดซอ้ื สอ่ื การเรยี นการสอน/หนังสือเร เรียนอยา่ งท่วั ถึงและเพยี งพอเพอื่ เพิ่ม โอกาสในการรับการศึกษาทม่ี ี 3.จัดกิจกรรมปฐมนิเทศนกั ศึกษา กศน./ คุณภาพโดย ไม่เสียค่าใชจ้ ่าย 4.กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 2) จัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษา ขน้ั พืน้ ฐานใหก้ ับ 5.การประเมินระดบั การรู้หนงั สือของนกั กลมุ่ เปา้ หมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ทง้ั ระบบ 6.กจิ กรรมติวเข้ม/สอนเสรมิ การให้บริการ ระบบการเรียนการ สอน ระบบการวัดและประเมนิ ผล 7.การวดั และประเมนิ ผล การ เรียน ผา่ นการเรียนแบบเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การพบกลมุ่ และการ เรียนแบบชัน้ เรียน 6.งบประมาณ งบอดุ หนนุ จำนวน 654 3) จดั ให้มกี ารประเมินเพื่อเทยี บระดบั การศกึ ษา และการเทียบโอน งบประมาณ ไ ความรู้และ ประสบการณ์ที่มคี วามโปรง่ ใส ยตุ ธิ รรม ตรวจสอบได้ มี อดุ หนนุ มาตรฐานตามทก่ี ำหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ รวมทง้ั ส้ิน กลุ่มเปาู หมายไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 4) สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นต้องเรยี นรแู้ ละ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมพัฒนาคุณภาพ 8.ตัวช้ีวดั ความสำเรจ็ ชวี ติ เพอ่ื ดำเนินกจิ กรรมเสริมสร้างความสามคั คี ป้องกันและแกไ้ ข 1. จำนวนผ้เู รยี นเป็นไปตามเป้าหมายทก่ี ปัญหายาเสพตดิ บำเพ็ญสาธารณประโยชนอ์ ยา่ งต่อเนือ่ ง และ 2.ร้อยละของผ้เู รียนที่เข้ารับการศึกษา ส่งเสริมการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ 3.รอ้ ยละของผเู้ รียนที่จบหลักสตู ร ทรง เป็นประมุข เช่น กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด 4. ความเหมาะสมของ สถานท/ี่ สอื่ /สงิ่ อ กจิ กรรมจติ อาสา การจัดตง้ั ชมรม/ชุมนุม และเปดิ โอกาส ให้ผู้เรียนน 5.ร้อยละของผูเ้ รียนท่ี สามารถนำความร ากิจกรรมการบำเพ็ญ ประโยชนอ์ ื่นๆนอกหลักสูตร มาใช้เพิ่ม ชั่วโมง 6.ความพงึ พอใจที่อยู่ใน ระดับ ดี ขึน้ ไป กิจกรรมให้ผ้เู รยี นจบตาม หลักสูตรได้

หนา้ 35 ณ พ.ศ.2564 กศน.ตำบลโคกงาม กศน-กผ-02/64 ามอธั ยาศัยอำเภอด่านซา้ ย จงั หวดั เลย โครงการ) อธั ยาศยั อำเภอด่านซา้ ย  ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั เลย AILOEI 4.0) ประเด็นที่ 7 E เลยเมืองแห่งการศกึ ษา ษาข้ันพ้นื ฐานระดับประถม 7.เปา้ หมาย จำนวน หนว่ ย ประเภทกลมุ่ เปา้ หมาย รยี น 44 คน /กจิ กรรมปรับพื้น ฐานความรู้ ผดู้ ้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา 145 คน อายุ 15- 59 ปที ีไ่ มจ่ บการศกึ ษาภาคบงั คบั 103 คน กศกึ ษา กศน. และไมอ่ ยู่ในระบบโรงเรียน 292 คน - ระดับประถม - ระดับม.ตน้ – ระดบั ม.ปลาย รวมทงั้ สิน้ 4,000 บาท รวมท้งั ส้นิ 654,000 บาท ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 163,500 163,500 163,500 163,500 163,500 163,500 163,500 163,500 กำหนดไว้ 9.พ้นื ทด่ี ำเนนิ การ กศน.ตำบลโคกงาม อำนวยความสะดวก รไู้ ปใช้ ในการศึกษาต่อหรอื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ 10.ผ้รู บั ผิดชอบ (ชอื่ -สกลุ ) 1.นายไพบรู ณ์ ไชยวงค์ ครู กศน.ตำบลโคกงาม 2.นางอรุณรัตน์ พรหมดี ครู กศน.ตำบลโคกงาม 3.นายเอกวัฒน์ จันดาหาร ครผู ู้สอนคนพกิ าร

หนา้ 36 1.โครงการ การจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ.2551(ปรับปรุง พ.ศ.2559) 2. สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนกั งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นโยบายเร่งดว่ นเพอ่ื ร่วมขบั เคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ ดงั น้ี ขอ้ ที่ 4 ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม และข้อท่ี 2 ยุทธศาสตรด์ า้ น การสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน ภารกจิ ตอ่ เนอ่ื ง 1. ด้านการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน 2) จดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐานให้กับกล่มุ เป้าหมายผดู้ ้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ทั้งระบบการใหบ้ ริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวดั ผลและประเมนิ ผล การเรียน ผ่านการเรยี นรู้แบบเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชน้ั เรียน และการจัดการศึกษาทางไกล 2.2 สอดคลอ้ งกบั แนวทางการดำเนินงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของรัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร นโยบายขบั เคลือ่ น กศน. WOW ดา้ นที่ 2 การพัฒนาหน่วยงาน/สถานศึกษา ให้มบี รรยากาศและ สภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้ือตอ่ การเรียนรู้ : Good Place – Best Check in สอดคลอ้ งกับวาระการขับเคลื่อนจังหวดั เลย (THAILOEI 4.0) ประเดน็ ท่ี 7 Education เลยเมอื งแห่งการศึกษา ยกระดับคุณภาพการศึกษาใหไดมาตรฐานสากล สงเสรมิ การเรยี นรูและทกั ษะวิชาชพี ตลอดชวี ติ จดั การเรียนรูอยางมีเปาหมาย เพ่ือสวนรวม เนนการนําความรูไปสูการ ปฏบิ ตั ิ สามารถใชความรูสรางนวัตกรรม เปนพลเมืองทีด่ แี ละพฒั นาทักษะชวี ิตสูงานอาชีพ ภายใตการเตรียมคนใน ศตวรรษที่ 21 โดยการมสี วนรวมของทุกภาคสวนตามแนวทางประชารัฐ สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอดา่ นซา้ ย มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น/ผรู้ บั บริการ ตวั บง่ ชีท้ ี่ 1.1 ผูเ้ รียนการศกึ ษาข้ันพื้นฐานมีคุณธรรม ตวั บ่งชี้ท่ี 1.2 ผูเ้ รยี นการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานมีทกั ษะกระบวนการคดิ ทักษะการแสวงความรู้ เรียนรู้อยา่ งต่อเนอ่ื ง และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในการดำรงชวี ติ ตวั บ่งช้ีที่ 1.3 ผเู้ รียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความรู้พ้นื ฐาน มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษา/การใหบ้ ริการ ตัวบง่ ช้ที ่ี 2.1 คุณภาพครูการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

หนา้ 37 ตวั บง่ ช้ีที่ 2.2 คุณภาพของหลักสูตรสถานศกึ ษา ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.3 คณุ ภาพส่อื ตามหลักสตู รสถานศึกษา ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2.4 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามหลกั สูตรสถานศึกษา 3. หลักการและเหตผุ ล ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 และตามนโยบาย สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปีงบประมาณ 2564 การจัดและส่งเสริมการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพื่อยกระดับการศึกษา สมรรถนะในการเรียนรู้และการ แก้ปัญหา พัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิตและสังคม และเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ของประชาชน อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยของภาคเี ครือข่ายทั้งในและตา่ งประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกลุม่ ประเทศอาเซียนเพือ่ ผนกึ กำลังในการ พัฒนาคุณภาพของประชากร พัฒนาสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา และส่งเสริมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เพื่อให้รู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ชุมชน โดยการพฒั นาศกั ยภาพการเรยี นรู้ของคนในชุมชน ส่งเสรมิ บทบาทของภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้และศูนย์การเรียนในรูปแบบต่างๆ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการให้สามารถดำเนินงานการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยเพ่ือส่งเสริมการศกึ ษาตลอดชีวิตได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ตามนโยบายดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอด่านซ้าย เห็นความสำคัญ ในการจัดกระบวนการเรยี นรขู้ องสถานศึกษา จึงจดั ทำโครงการการจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551(ปรับปรุง พ.ศ.2559) ขน้ึ 4.วัตถุประสงค์ 1) เพมิ่ สนับสนุนการจดั การศึกษานอก ระบบตง้ั แต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ัน พื้นฐานโดยดำเนนิ การให้ ผู้เรยี นได้รบั การ สนับสนนุ ค่าจัดซอ้ื ตำราเรยี น ค่าจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และคา่ เลา่ เรยี นอย่างทวั่ ถงึ และ เพียงพอเพอ่ื เพ่ิม โอกาสในการรับการศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพโดย ไมเ่ สียคา่ ใช้จ่าย 2) จดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐานให้กับกลมุ่ เปา้ หมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทาง การศึกษา ทัง้ ระบบการให้บริการ ระบบการเรียนการ สอน ระบบการวัดและประเมินผลการ เรยี น ผา่ นการเรยี นแบบ เรยี นรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม และการเรยี นแบบช้ันเรียน 3) จดั ให้มกี ารประเมนิ เพื่อเทียบระดับ การศึกษา และการเทียบโอนความร้แู ละ ประสบการณท์ ่ีมีความ โปร่งใส ยุตธิ รรม ตรวจสอบได้ มมี าตรฐานตามที่กำหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ กลมุ่ เปาู หมายได้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

หนา้ 38 4) ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นตอ้ งเรยี นรแู้ ละ ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชวี ติ เพ่ือ ดำเนินกจิ กรรมเสริมสรา้ งความ สามคั คี ป้องกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ บำเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเน่อื ง และส่งเสริมการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรง เปน็ ประมุข เช่น กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กจิ กรรมจติ อาสา การจดั ตั้งชมรม/ชุมนุม และเปดิ โอกาส ให้ผู้เรียนน ากจิ กรรมการบำเพ็ญ ประโยชนอ์ นื่ ๆนอกหลกั สูตร มาใชเ้ พมิ่ ชั่วโมง 5.เป้าหมายการดำเนนิ งาน 5.1 เชงิ ปรมิ าณ ประชากรวัยแรงงานท่ไี ม่จบการศกึ ษาภาคบังคบั และไม่อยใู่ นระบบโรงเรียน ระดับประถมศึกษา จำนวน 44 คน ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 145 คน ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 103 คน รวมจำนวนท้ังส้ิน จำนวน 292 บาท 5.2 เชงิ คณุ ภาพ ประชากรวัยแรงงานอายุระหวา่ ง 15 – 59 ปี ที่ไมจ่ บการศกึ ษาภาคบังคบั และไม่อยู่ในระบบโรงเรยี น เกิดการ เรียนรูม้ ีการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน และยกระดบั การศกึ ษาภาคบงั คับมีระดบั การศกึ ษาสูงขึน้ 6. วธิ ีดำเนินการ กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พนื้ ท่ี ระยะ งบ ดำเนินการ เวลา ประมาณ 1.จดั การศึกษานอก 1) เพิ่มสนบั สนุนการ ผดู้ ้อย พลาด -ระดบั กศน.ตำบล 1 ต.ค. 63 – 654,000 ระบบระดับ จดั การศึกษานอก และขาด ประถมศึกษา 44 คน โคกงาม 30 ก.ย.64 การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ระบบต้ังแตป่ ฐมวยั โอกาส -ระดบั ม.ต้น 145 ระดับประถม จนจบการศกึ ษาขนั้ ทางการศึกษา คน -ระดบั ม.ปลาย ม.ตน้ ม.ปลาย พื้นฐานโดย อายุ 15-59 ปี 103 คน รวม 292 2.จัดซ้อื สือ่ การเรียน ดำเนินการใหผ้ เู้ รียน ทีไ่ มจ่ บ คน การสอน/หนงั สอื ได้รบั การ สนับสนนุ การศกึ ษาภาค เรียน ค่าจัดซื้อตำราเรียน บงั คับและไม่ 3.จดั กิจกรรม ค่าจัด กจิ กรรม อยู่ ในระบบ ปฐมนิเทศ พัฒนาคุณภาพ โรงเรียน ผู้เรยี น และคา่ เลา่ เรยี นอย่างทัว่ ถึงและ เพียงพอเพ่อื เพม่ิ

หนา้ 39 กจิ กรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ หมาย พ้นื ที่ ระยะ งบ ดำเนนิ การ เวลา ประมาณ นกั ศกึ ษา กศน./ โอกาสในการรบั กิจกรรมปรับพ้ืน การศกึ ษาทม่ี ี ฐานความรู้ 4. คุณภาพโดย ไมเ่ สยี กจิ กรรมพฒั นา ค่าใชจ้ ่าย คุณภาพผเู้ รยี น 2) จดั การศกึ ษานอก 5.การประเมนิ ระดับ ระบบระดบั การรู้หนงั สือของ การศึกษา ขั้น นกั ศกึ ษา กศน. พ้นื ฐานใหก้ ับ 6.กจิ กรรมตวิ เขม้ / กลุม่ เป้าหมายผูด้ อ้ ย สอนเสริม พลาด และขาด 7.การวัดและ โอกาสทาง ประเมนิ ผล การศกึ ษา ทง้ั ระบบ การใหบ้ รกิ าร ระบบ การเรยี นการ สอน ระบบการวดั และ ประเมนิ ผลการ เรียน ผา่ นการเรยี น แบบเรียนรู้ดว้ ย ตนเอง การพบกล่มุ และการเรยี นแบบ ช้นั เรียน 3) จัดใหม้ ีการ ประเมินเพ่อื เทียบ ระดับ การศกึ ษา และการเทยี บโอน ความรู้และ ประสบการณท์ ม่ี ี ความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบ ได้ มมี าตรฐานตามที่ กำหนด และ

หนา้ 40 กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พืน้ ที่ ระยะ งบ ดำเนนิ การ เวลา ประมาณ สามารถตอบสนอง ความตอ้ งการของ กล่มุ เปาู หมายได้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4) สง่ เสริมใหผ้ ู้เรียน ตอ้ งเรยี นรู้และ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม พฒั นาคุณภาพชวี ติ เพ่อื ดำเนินกจิ กรรม เสรมิ สร้างความ สามคั คี ป้องกนั และ แกไ้ ขปญั หายาเสพ ติด บำเพญ็ สาธารณประโยชน์ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง และ สง่ เสริมการปกครอง ในระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษตั ริย์ ทรง เป็นประมขุ เช่น กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี และยวุ กาชาด กจิ กรรมจติ อาสา การจดั ตงั้ ชมรม/ชุมนมุ และ เปดิ โอกาส ให้ ผ้เู รยี นน ากจิ กรรม การบำเพญ็ ประโยชน์อ่นื ๆนอก หลกั สตู ร มาใช้เพม่ิ ช่ัวโมง

หนา้ 41 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนนุ 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.-ธ.ค.63) (ม.ค.-ม.ี ค.64) (เม.ย.-มิ.ย.64) (ก.ค.-ก.ย.64) การจัดการศึกษานอกระบบระดบั 163,500 163,500 163,500 163,500 การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พ.ศ.2551 (ปรับปรุง พ.ศ.2559) รวม 163,500 163,500 163,500 163,500 9.ผ้รู ับผิดชอบโครงการ กศน.ตำบลโคกงาม 10.เครอื ขา่ ย 10.1 คณะกรรมการ กศน.ตำบล 10.2 องค์การบริหารส่วนตำบลโคกงาม 10.3 ผนู้ ำชมุ ชน 11.โครงการ/กิจกรรมท่เี ก่ยี วขอ้ ง 11.1 โครงการจัดกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน 11.2 โครงการ การจดั และส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาตลอดชีวิต เพื่อคงพฒั นาการทางการกาย จติ และ สมอง ของผูส้ ูงอายุ 11.3 โครงการจัดการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสังคมและชุมชน 11.4 4 โครงการจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวติ 12.ผลลัพธ์ ผดู้ อ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา อายุ 15-59 ปี ได้รบั การจดั กิจกรรมอยา่ งทว่ั ถึง 13.ดชั นีช้ีวัดผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) จดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ.2551 (ปรับปรงุ พ.ศ.2559) จำนวน 292 คน