Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐกิจพอเพียง ทช31001 ม.ปลาย

เศรษฐกิจพอเพียง ทช31001 ม.ปลาย

Description: เศรษฐกิจพอเพียง ทช31001 ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชีวิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง (ทช31001) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ฉบับปรับปรุง 2560) หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 หามจาํ หนา ย หนังสือเรียนเลม น้ี จดั พมิ พด วยเงนิ งบประมาณแผน ดนิ เพ่อื การศกึ ษาตลอดชวี ิตสาํ หรบั ประชาชน ลขิ สทิ ธ์เิ ปน ของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ สํานกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ

2 | ห น้ า หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนินชวี ิต รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง (ทช31001) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ฉบับปรับปรุง 2560 ลิขสทิ ธเิ์ ปน ของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลําดบั ท่ี 20/2555

คํานาํ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เมอื่ วนั ที่ 18 กนั ยายน พ.ศ. 2551 แทนหลกั เกณฑและวิธีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาขึ้นตามหลักปรัชญาและ ความเช่ือพืน้ ฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรยี นท่มี กี ลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรยี นรูและส่ังสมความรู และประสบการณอ ยา งตอ เนอ่ื ง ในปง บประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลื่อนนโยบาย ทางการศกึ ษาเพ่อื เพมิ่ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพท่ีสามารถสราง รายไดท่ีม่ังคั่งและม่ันคง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจิตสํานึก รับผิดชอบตอตนเองและผอู ่ืน สาํ นักงาน กศน. จงึ ไดพ จิ ารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการ เรียนรูท่ีคาดหวัง และเนื้อหาสาระ ท้ัง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพิ่มและสอดแทรกเน้ือหาสาระเกี่ยวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอมเพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือที่ใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติ กจิ กรรม ทําแบบฝกหดั เพื่อทดสอบความรูค วามเขาใจ มีการอภิปรายแลกเปล่ยี นเรยี นรูกบั กลมุ หรอื ศกึ ษา เพมิ่ เตมิ จากภูมปิ ญ ญาทองถิน่ แหลงการเรยี นรูและสือ่ อ่ืน การปรับปรงุ หนังสือเรียนในครัง้ นี้ ไดร บั ความรวมมอื อยางดียงิ่ จากผูท รงคุณวุฒิในแตละสาขาวิชา และผูเ ก่ียวขอ งในการจัดการเรยี นการสอนทศ่ี กึ ษาคนควา รวบรวมขอ มูลองคความรูจากส่ือตาง ๆ มาเรียบ เรยี งเน้อื หาใหครบถว นสอดคลอ งกับมาตรฐาน ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวงั ตวั ช้ีวัดและกรอบเน้ือหาสาระของ รายวชิ า สํานักงาน กศน.ขอขอบคณุ ผูมีสวนเก่ียวของทุกทานไว ณ โอกาสน้ี และหวังวาหนังสือเรียนชุดนี้ จะเปน ประโยชนแ กผเู รียน ครู ผูสอน และผเู กย่ี วขอ งในทุกระดับ หากมขี อ เสนอแนะประการใด สํานักงาน กศน.ขอนอมรับดวยความขอบคุณย่ิง

4 | ห น้ า สารบญั หนา คํานํา คําแนะนําในการใชหนงั สอื เรียน โครงสรางรายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง บทท่ี 1 ความพอเพยี ง .............................................................................................................. 1 บทที่ 2 ชมุ ชนพอเพยี ง ............................................................................................................10 บทท่ี 3 การแกป ญหาชมุ ชน .....................................................................................................24 บทที่ 4 สถานการณข องประเทศไทยและสถานการณโลกกับความพอเพียง .............................31 บทที่ 5 การประกอบอาชีพตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียงเพอ่ื การสรางรายได อยา งม่ันคง ม่ังคงั่ และยง่ั ยนื ………………………………………………………………………………………………….43 บรรณานุกรม ภาคผนวก คณะผูจดั ทํา

คาํ แนะนาํ ในการใชห นงั สอื เรียน หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดาํ เนนิ ชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ทช31001 ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย เปน หนงั สือเรยี นทจ่ี ดั ทําข้นึ สาํ หรับผเู รียนทีเ่ ปน นกั ศึกษานอกระบบ ในการศกึ ษาหนังสือเรยี นสาระ ผเู รยี นควรปฏบิ ตั ดิ ังนี้ 1. ศึกษาโครงสรา งรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจ พอเพียง สาระสําคัญ ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวัง และขอบขา ยเน้ือหาของรายวชิ านนั้ ๆ โดยละเอยี ด 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด และทํา กิจกรรมตามกําหนด แลว ตรวจสอบกับแนวตอบกจิ กรรมตามที่กําหนดถาผูเ รียนตอบผิดควรกลับไปศึกษา และทาํ ความเขาใจในเน้อื หานัน้ ใหมใ หเ ขา ใจ กอนทีจ่ ะศกึ ษาเรอื่ งตอๆ ไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเร่ืองของแตล ะเร่ือง เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเน้ือหาใน เรื่องนน้ั ๆ อกี ครง้ั และการปฏบิ ัติกิจกรรมของแตล ะเน้ือหา แตละเรื่อง ผูเ รียนสามารถนําไปตรวจสอบกับ ครแู ละเพ่ือนๆ ทร่ี ว มเรียนในรายวชิ าและระดบั เดยี วกนั ได หนงั สอื เรียนเลม น้ีมี 5 บท บทที่ 1 ความพอเพยี ง บทที่ 2 ชุมชนพอเพยี ง บทท่ี 3 การแกปญ หาชมุ ชน บทท่ี 4 สถานการณของประเทศไทยและสถานการณโ ลกกบั ความพอเพียง บทท่ี 5 การประกอบอาชพี ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งเพอื่ การสรา งรายได อยางมัน่ คง ม่ังคั่ง และยัง่ ยนื

6 | ห น้ า โครงสรา งรายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ทช31001 สาระสาํ คัญ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน ปรัชญาท่พี ระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลท9่ี ) ทรงพระราชดาํ รัสช้ีแนะแนวทางการดํารงอยแู ละการปฏบิ ตั ิตนของประชาชนในทุกระดบั ใหด ําเนนิ ชีวิตไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหก า วทันตอ โลกยคุ โลกาภวิ ัตน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถึงความจําเปน ท่จี ะตอ งมรี ะบบภูมคิ ุมกันในตวั ทด่ี ี พอสมควรตอ ผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลยี่ นแปลงทัง้ ภายนอกและภายใน ทงั้ นจี้ ะตองอาศยั ความ รอบรู ความรอบคอบและความระมัดระวังอยางยง่ิ ในการนาํ วิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและ ดาํ เนนิ การทุกขั้นตอน และขณะเดยี วกันจะตอ งเสรมิ สรา งพนื้ ฐานจิตใจของคนในชาติใหม สี ํานึกใน คุณธรรม ความซ่อื สัตยสุจริตและใหมคี วามรอบรทู เ่ี หมาะสมดาํ เนนิ ชวี ิตดวยความอดทน ความเพยี ร มีสตปิ  ญญาและความรอบคอบ เพ่ือใหสมดลุ และพรอมตอ การรองรับการเปลยี่ นแปลงอยางรวดเรว็ และกวา งขวาง ทง้ั ดานวตั ถุ สังคม สง่ิ แวดลอมและวฒั นธรรมจากโลกภายนอกได พรอมทง้ั สามารถนาํ แนวคิดตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชป ระกอบอาชีพไดอยางเหมาะสม ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวงั 1. อธบิ ายแนวคิด หลักการ ความหมาย ความสาํ คัญของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได 2. บอกแนวทางในการนาํ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ตใ ชในการดําเนนิ ชีวิต 3. เหน็ คุณคาและปฏิบตั ติ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. ปฏิบตั ติ นเปนแบบอยางในการดาํ เนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน 5. เผยแพรห ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใหชมุ ชนเหน็ คุณคาแลว นําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวติ 6. มีสว นรวมในชุมชนในการปฏิบัตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 7. สามารถนาํ แนวคิดตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชป ระกอบอาชพี ได

ขอบขา ยเนอ้ื หา บทที่ 1 ความพอเพียง บทที่ 2 ชมุ ชนพอเพยี ง บทที่ 3 การแกปญ หาชมุ ชน บทที่ 4 สถานการณของประเทศไทยและสถานการณโลกกบั ความพอเพยี ง บทที่ 5 การประกอบอาชพี ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อการสรางรายได อยางม่นั คง ม่ังค่งั และย่งั ยืน



ห น้ า | 1 บทท่ี 1 ความพอเพียง สาระสาํ คัญ เศรษฐกิจพอเพียงเปน ปรัชญาที่ยึดหลักทางสายกลาง ท่ีช้ีแนวทางดํารงอยูแ ละปฏิบัติของ ประชาชนในทุกระดับ ตง้ั แตครอบครัวไปจนถึงระดบั รฐั ทง้ั ในการพัฒนาและบริหารประเทศ ใหดําเนินไป ในทางสายกลางมีความพอเพยี ง และมคี วามพรอ มท่จี ะจัดการตอผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอก และภายใน ซ่งึ จะตองอาศยั ความรู ความรอบคอบ และระมดั ระวัง ในการวางแผน และดําเนนิ การทกุ ขั้นตอน เศรษฐกจิ พอเพียงไมใ ชเพ่ือการประหยัด แตเ ปน การดาํ เนนิ ชีวิตอยา งสมดลุ และยง่ั ยืน เพือ่ ใหสามารถอยูได แมใ นยคุ โลกาภวิ ัตนท่มี กี ารแขง ขันสงู ผลการเรียนรูท ค่ี าดหวงั ผเู รยี นสามารถอธบิ ายแนวคดิ หลักการ ความหมาย ความสาํ คัญของปรญั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขอบขา ยเนอ้ื หา เร่ืองท่ี 1 ความเปน มา ความหมาย หลกั แนวคดิ เรื่องท่ี 2 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั การจดั การความรู

2 | ห น้ า เรื่องท่ี 1 ความเปน มา ความหมาย หลกั แนวคดิ ความเปนมา พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท9่ี )ไดพ ฒั นาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพ่ือที่จะใหพสกนกิ รชาวไทยไดเขาถงึ ทางสายกลางของชีวติ และเพอื่ คงไวซ ึง่ ทฤษฎีของการพฒั นาทยี่ ่งั ยืน ทฤษฎนี เ้ี ปน พื้นฐานของการดํารงชวี ติ ซ่งึ อยูระหวาง สงั คมระดบั ทองถ่ินและตลาดระดบั สากล จดุ เดน ของแนวปรชั ญานีค้ อื แนวทางที่สมดลุ โดยชาติสามารถทนั สมยั และกา วสูความเปนสากลได โดย ปราศจากการตอ ตา นกระแสโลกาภิวฒั น ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง มีความสําคญั ในชวงป พ.ศ. 2540 เม่ือปท่ี ประเทศไทยตอ งการรกั ษาความมัน่ คงและเสถยี รภาพเพือ่ ท่ีจะยืนหยดั ในการพง่ึ ตนเองและพฒั นานโยบายท่ี สําคัญเพอื่ การฟนฟูเศรษฐกจิ ของประเทศโดยการสรางแนวคิดเศรษฐกิจทพ่ี ึ่งตนเองได ซง่ึ คนไทยจะ สามารถเลีย้ งชพี โดยอยบู นพืน้ ฐานของความพอเพียงพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลที่9)มพี ระราชดาํ รวิ า “มนั ไมไ ดม คี วามจําเปนทเี่ ราจะกลายเปนประเทศอุตสาหกรรมใหม (NIC)” พระองคไดท รงอธิบายวา ความพอเพียงและการพึง่ ตนเอง คือ ทางสายกลางท่จี ะปองกนั การเปลี่ยนแปลงความไมมนั่ คงของ ประเทศได เศรษฐกิจพอเพยี งเปน ปรัชญาทช่ี แ้ี นวทางการดํารงอยแู ละปฏบิ ตั ิตน ที่พระบาทสมเด็จพระ ปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลท่9ี ) มีพระราชดาํ รสั แกพ สกนกิ รชาวไทยมาตั้งแตป  พ.ศ. 2517 มี ใจความวา “...การพฒั นาประเทศจาํ เปน ตอ งทําตามลําดบั ขน้ั ตอ งสรา งพนื้ ฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช ของประชาชนสวนใหญเ ปนเบื้องตน กอนโดยใชว ธิ กี ารและใชอ ุปกรณท ปี่ ระหยดั แตถ กู ตอ งตามหลกั วิชา เม่ือไดพ้ืนฐานมั่นคงพรอ มพอควร และปฏิบตั ไิ ดแ ลว จงึ คอยสรา งคอยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกจิ ข้ันทสี่ ูงข้นึ โดยลําดบั ตอ ไป...” และนับจากนนั้ เปน ตนมาพระองคไดท รงเนนยา้ํ ถึงแนวทางการพฒั นา หลกั แนวคิดพงึ่ ตนเองเพอื่ ใหเกดิ ความพอมี พอกิน พอใชข องคนสวนใหญ โดยใชห ลักความพอประมาณ การคาํ นงึ ถงึ ความมเี หตผุ ล การสรางภูมคิ ุมกันในตัวท่ดี ี ตลอดจนทรงเตือนสตปิ วงชนชาวไทยไมใ หป ระมาท มคี วามตระหนกั ถึงการพฒั นาอยา งเปนขน้ั เปน ตอนที่ถกู ตองตามหลกั วชิ า และการมีคณุ ธรรมเปน กรอบใน การปฏบิ ัติและการดํารงชีวติ ในป พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบกบั ภาวะวิกฤตเิ ศรษฐกจิ นบั วา เปน บทเรยี นของการพฒั นาท่ี ไมส มดลุ และไมม ีเสถยี รภาพ ซึ่งสงผลกระทบตอความเปนอยขู องประชาชนสว นใหญ สวนหนงึ่ เปน ผลมา จากการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมท่ไี มไดคาํ นงึ ถึงระดับความเหมาะสมกบั ศักยภาพของประเทศ หรอื ความ พรอมของคนและระบบและอีกสว นหนึง่ นั้น การหวังพง่ึ พงิ จากตา งประเทศมากเกินไปทง้ั ในดานความรู เงนิ

ห น้ า | 3 ลงทุน หรอื ตลาด โดยไมไดเ ตรียมสรางพืน้ ฐานภายในประเทศใหมคี วามม่นั คงและเขม แขง็ หรือสรา ง ภูมคิ มุ กันทดี่ เี พอื่ ใหส ามารถพรอ มรับความเสยี่ งจากความผกผนั เปล่ยี นแปลงของปจ จยั ภายในและภายนอก บทเรยี นจากการพัฒนาทผี่ านมาน้นั ทาํ ใหป ระชาชนคนไทยทุกระดบั ในทกุ ภาคสวนของสงั คม ทั้งภาครฐั เอกชน ประชาสังคม นักวิชาการ หันกลับมาทบทวนแนวทางการพัฒนาและการดําเนินชีวิตของคนในชาติ แลวมุง ใหค วามสาํ คญั กบั พระราชดาํ รขิ องพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่9ี )ใน เรอ่ื งการพัฒนาและการดาํ เนินชีวิตแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และศึกษาคน ควาพฒั นาความรู ความเขาใจ เก่ียวกบั แนวคิดเศรษฐกจิ พอเพยี งท้ังในเชงิ กรอบแนวคดิ ทางทฤษฎแี ละใชเปนแนวในการนําไปประยุกตใช ในชวี ิตประจาํ วนั มากขนึ้ สํานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติไดเชญิ ผทู รงคณุ วุฒิจากหนวยงาน ตา งๆ มารว มกนั พิจารณา กลน่ั กรอง พระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท9ี่ )ทีไ่ ดพ ระราชทานแกปวงชนชาวไทยในโอกาสตางๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงแลว สรุปเปนนิยามความหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และไดอัญเชิญเปนปรัชญานําทางในการจัดทํา แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) และฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) เพื่อสงเสริมใหประชาชนทุกระดับและทุกภาคสวนของสังคมมีความเขาใจในหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงและนาํ ไปเปนพื้นฐานและแนวทางในการดาํ เนินชีวติ อนั จะนาํ ไปสูการพัฒนาท่ีสมดุลและ ย่งั ยืน ประชาชนมีความเปนอยูรม เยน็ เปน สุข สงั คมมีความเขมแข็ง และประเทศชาตมิ ีความม่นั คง ความหมาย ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาท่ีเปนแนวคิด หลักการ และแนวทางปฏิบัติตนของ แตล ะบุคคลและองคก รทกุ ระดับตั้งแตร ะดับครอบครวั ระดบั ชุมชน และระดบั ประเทศทัง้ ในการพัฒนาและ บริหารประเทศใหดาํ เนนิ ไปในทางสายกลาง โดยคํานึงถงึ ความพอประมาณกับศักยภาพตนเองและสภาวะ แวดลอม ความมีเหตุผลและการมีภูมิคุมกันท่ีดีในตัวเองโดยใชความรูอยางถูกหลักวิชาการดวยความ รอบคอบและระมดั ระวงั ควบคูไปกับการมีคุณธรรม ไมเ บียดเบียนกนั แบงปน ชวยเหลือซ่ึงกันและกันและ รวมมือปรองดองกันในสังคม ซ่ึงนําไปสูความสามัคคี การพัฒนาท่ีสมดุลและยั่งยืนพรอมรับตอการ เปล่ียนแปลงภายใตก ระแสโลกาภวิ ัตนไ ด

4 | ห น้ า หลกั แนวคิด การพฒั นาตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื การพฒั นาทตี่ ั้งอยูบ นพน้ื ฐานทางสายกลางและความไม ประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันในตัวท่ีดีตลอดจนใชความรู ความรอบคอบ และคณุ ธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทาํ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมหี ลักการพจิ ารณา 5 สว น ดงั นี้ 1. กรอบแนวคดิ เปน ปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงชีวติ และการปฏบิ ตั ติ นในทางท่คี วรจะเปน โดยมพี ืน้ ฐานจากวิถีชีวติ ด้ังเดมิ ของสงั คมไทยทน่ี ําประยุกตใ ชไ ดตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชงิ ระบบท่ี มีการเปลยี่ นแปลงอยูต ลอดเวลา มุง เนนการรอดพน จากภัยและวิกฤติเพื่อความม่ันคงและความยั่งยืนของ การพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกจิ พอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับโดย เนน การปฏบิ ตั บิ นทางสายกลางและการพฒั นาอยา งเปนขั้นตอน 3. คํานิยามความพอเพียง ประกอบดว ย 3 คุณลักษณะ ดงั นี้ 3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไม เบยี ดเบยี นตนเองและผอู ่ืน การจะทาํ อะไรตองมคี วามพอดี พอเหมาะ พอควร ตอความจําเปน เหมาะสม กับฐานะของตนเอง สภาวะสงั คมแวดลอม รวมทง้ั วัฒนธรรมในแตละทอ งถ่ิน และไมนอยเกินไปจนกระท่ัง ไมเพียงพอท่ีจะดําเนินการได ซ่ึงการตัดสินวาในระดับพอประมาณน้ันจะตองอาศัยความรอบรู ความ รอบคอบในการวางแผนและตัดสินใจอยางมีคุณธรรมดวย เชน ไมเบียดเบียนตนเองและผูอ่ืน ไมทําให สังคมเดอื ดรอน ไมท ําลายธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม 3.2 ความมเี หตผุ ล หมายถงึ การตัดสินใจเกยี่ วกบั ระดับความพอเพียงนนั้ จะตอ งเปน ไปอยางมี เหตุผล โดยพจิ ารณาจากเหตปุ จจยั ท่เี กย่ี วของ ตลอดจนคํานึงถึงผลท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนจากการกระทําน้ัน อยางรอบคอบ ครบวงจรบนพนื้ ฐานของความถกู ตอง ความเปนจรงิ ตามหลักวิชาการ หลักกฎหมาย หลัก ศีลธรรม จรยิ ธรรม และวัฒนธรรมทดี่ งี าม ท้ังในระยะยาว ท้ังตอตนเอง ผูอ ่ืน และสวนรวม การคิดพจิ ารณา แยกแยะใหเ หน็ ความเชอื่ มโยงของเหตุ ปจจยั ตา งๆ อยางตอ เนอ่ื ง อยา งเปน ระบบจะทาํ ใหบรรลุเปาหมาย ไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ มขี อ ผดิ พลาดนอ ย การทจ่ี ะวางแผนดําเนินการส่ิงใดอยางสมเหตุสมผล ตองอาศัย ความรอบรู ขยันหม่ันเพียร อดทนท่ีจะจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบและแสวงหาความรูท่ีถูกตองอยาง

ห น้ า | 5 สมา่ํ เสมอ มคี วามรอบคอบในความคดิ พิจารณาตัดสินใจ โดยใชสติ ปญญา อยางเฉลียวฉลาดในทางท่ีถูก ท่คี วร 3.3 การมีภมู คิ ุมกันในตวั ทดี่ ี หมายถงึ การเตรยี มตวั ใหพรอมรบั ผลกระทบและการเปลีย่ นแปลง ดา นตางๆ ทจี่ ะเกิดทงั้ ในดานเศรษฐกจิ สงั คม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม เพื่อใหส ามารถปรับตัวและรับมือ ไดทนั ที หรอื กลาวไดวาการทีจ่ ะทาํ อะไรอยางไมเ สี่ยงเกินไป ไมป ระมาท คดิ ถึงแนวโนมความเปนไปไดของ สถานการณต างๆ ท่ีอาจจะเกิดข้ึนได แลวเตรียมตนเอง เตรียมวิธีการทํางานรองรับกับการเปล่ียนแปลง ตางๆ เพ่อื ใหการทํางานสามารถดําเนินเปนไปไดอยางราบรื่นและนํามาซึ่งผลประโยชนในระยะยาวและ ความสขุ ทย่ี ัง่ ยืน 4. เงื่อนไข การตัดสินและการดาํ เนินกิจกรรมตางๆ ใหอยูในระดับพอเพียง ตองอาศัยทั้งความรู และคุณธรรมเปน พนื้ ฐาน ดงั นี้ 4.1 เงอ่ื นไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกีย่ วกับวิชาการตางๆ ท่ีเกี่ยวของอยางรอบดาน ความรอบคอบท่ีจะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกันเพื่อประกอบการวางแผนและความ ระมัดระวังในข้นั ปฏิบัติ 4.2 เงื่อนไขคณุ ธรรม คณุ ธรรมท่ีจะตองเสริมสรา งใหเ ปนพ้ืนฐานของคนในชาติ ประกอบดวย มคี วามตระหนกั ในคณุ ธรรม มีความซื่อสัตยสุจริต มีความอดทน มีความเพียร รูผิดรูชอบ ใชสติปญญาใน การดําเนินชีวิตอยางถูกตองและเหมาะสม ไมโลภและไมตระหนี่ รูจักแบงปนและรับผิดชอบในการอยู รว มกบั ผูอ น่ื ในสังคม 5. แนวทางการปฏบิ ัต/ิ ผลท่ีคาดวา จะไดร บั จากการนาํ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ตใช คือ การพฒั นาทส่ี มดุลและยงั่ ยนื พรอ มรับการเปลี่ยนแปลงในทกุ ดา นทงั้ ดานเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอม ความรูและเทคโนโลยี

6 | ห น้ า สรุปปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เงือนไข ความรู้ นํา ู่ส เงือนไข คุณธรรม (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) (ซือสัตย์ สุจริต ขยนั อดทน แบ่งปัน) แผนภาพแสดงแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง 3 หว ง 2 เงื่อนไข ความสําคญั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมคี วามสําคญั ตอ การพัฒนาประเทศและพัฒนาคน ดังนี้ 1. เศรษฐกจิ พอเพียงเปน ปรชั ญาที่มคี วามสาํ คัญย่ิงสาํ หรบั การขจดั ความยากจน และการลดความ เสีย่ งทางเศรษฐกจิ 2. ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเปนพ้ืนฐานของการสรางพลังอํานาจของชุมชนและการพัฒนา ศักยภาพชมุ ชนใหเขมแขง็ เพ่อื เปน รากฐานของการพัฒนาประเทศ 3. เศรษฐกจิ พอเพยี งชว ยยกระดับความรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทดวยการสรางขอปฏิบัติใน การทาํ ธรุ กิจทเ่ี นน ผลกําไรระยะยาวในบริบทท่ีมีการแขงขัน 4. หลักการเศรษฐกิจพอเพียงมีความสําคัญเปนอยางย่ิงตอการปรับปรุงมาตรฐานของ ธรรมาภบิ าลในการบริหารงานภาครฐั 5. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถใชเ ปน แนวทางในการกําหนดนโยบายของชาติ เพือ่ สราง ภมู ิคมุ กันตอ สถานการณท่ีเขา มากระทบโดยฉับพลัน เพื่อปรับปรุงนโยบายตางๆ ใหเหมาะสมย่ิงขึ้น และ เพ่อื วางแผนยทุ ธศาสตรในการสงเสรมิ การเติบโตทีเ่ สมอภาคและยง่ั ยนื 6. ในการปลูกฝงจิตสํานึกพอเพียงจําเปนตองมีการปรับเปล่ียน คานิยม และความคิดของคน เพอ่ื ใหเ อ้ือตอการพฒั นาคน

ห น้ า | 7 7. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงชวยใหมนุษยมีความพออยู พอกิน พอใช พ่ึงตนเองได และมี ความสขุ ตามอตั ภาพ 8. ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งชวยใหม นษุ ยอยูร วมกบั ผูอ น่ื ตลอดจนมีเสรีภาพในสังคมไดอยาง สันติสขุ ไมเ บียดเบียน ไมเ อารัดเอาเปรยี บ แบง ปน เอ้ือเฟอเผอื่ แผ มจี ิตเมตตาและจติ สาธารณะ 9. ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงชวยใหม นษุ ยอ ยูรวมกับธรรมชาติและส่ิงแวดลอมไดอยางย่ังยืน โดยไมท าํ ลาย เหน็ คณุ คา และมจี ติ สํานกึ ในการอนุรักษท รัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม 10. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงชวยใหมนุษยอยูอยางมีรากเหงาทางวัฒนธรรม ประเพณี ประวัตศิ าสตร ภูมิปญญา คานยิ ม และเอกลักษณข องแตละบคุ คล/สังคม เรอ่ื งท่ี 2 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งกบั การจัดการความรู “ การพัฒนาประเทศจําเปนตองทําตามลําดับข้ัน ตอ งสรา งพื้นฐาน คือ ความพอมีพอกิน พอใช ของประชาชนสว นใหญเ ปน เบื้องตน กอน โดยใชวิธีการและใชอ ุปกรณท่ีประหยัด แตถูกตองตามหลักวิชา เมื่อไดพ ้ืนฐานมนั่ คงพรอมพอควรและปฏบิ ตั ไิ ดแ ลว จงึ คอ ยสรางคอยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกจิ ขนั้ ที่สงู ขนึ้ โดยลาํ ดบั ตอ ไป หากมุงแตจะทมุ เทสรางความเจรญิ ยกเศรษฐกจิ ขนึ้ ใหร วดเรว็ แตประการเดียว โดย ไมใ หแ ผนปฏิบัตกิ ารสัมพันธกบั สภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคลอ งดวย ก็จะเกิดความไม สมดลุ ในเรือ่ งตางๆ ขึน้ ซ่งึ อาจกลายเปนความยุงยากลม เหลวไดในท่ีสุด” พระบรมราโชวาท ในพธิ ีพระราชทานปริญญาบัตรของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ณ หอประชุมมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร วนั พฤหสั บดีท่ี 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 “คนอน่ื จะวาอยางไรก็ชา งเขาจะวา เมืองไทยลาสมยั วา เมืองไทยเชย วาเมืองไทยไมม ีสิ่งใหมแ ตเรา อยูอ ยางพอมีพอกิน และขอใหทุกคนมีความปรารถนาที่จะใหเมืองไทยพออยูพอกิน มีความสงบชวยกัน รักษาสวนรวม ใหอยูที่พอสมควร ขอย้ําพอควร พออยูพ อกิน มีความสงบไมใ หคนอ่ืนมาแยงคุณสมบัติไป จากเราได” พระราชกระแสรบั สง่ั ในเร่อื งเศรษฐกจิ พอเพียงแกผ เู ขา เฝา ถวายพระพรชยั มงคล เน่อื งในวนั เฉลิมพระชนมพรรษา แตพทุ ธศกั ราช 2517 “การจะเปนเสือนั้นมันไมส ําคัญ สําคัญอยูที่เราพออยูพอกิน และมีเศรษฐกิจการเปนอยูแ บบ พอมีพอกิน แบบพอมีพอกนิ หมายความวา อุมชูตัวเองได ใหมีพอเพียงกบั ตวั เอง ” พระราชดาํ รัส “เศรษฐกจิ แบบพอเพยี ง” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทาน เมื่อวันที่ 4 ธนั วาคม พ.ศ. 2540 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงทีท่ รงปรับปรงุ พระราชทานเปนท่ีมาของนิยาม“3 หว ง 2 เง่ือนไข” ทค่ี ณะอนกุ รรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม

8 | ห น้ า แหงชาติ นาํ มาใชในการรณรงคเผยแพร ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผา นชองทางตา งๆ อยูใ นปจ จุบัน ซ่ึงประกอบดว ยความ “พอประมาณ มีเหตผุ ล มภี มู คิ ุมกัน” บนเงอ่ื นไข “ความรู และ คุณธรรม” อภิชัย พนั ธเสน ผูอํานวยการสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม ไดจัดแนวคิดเศรษฐกิจพอ เพยี งวา เปน “ขอเสนอในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวทางของพุทธธรรมอยางแทจ ริง” ทั้งน้ี เน่ืองจากในพระราชดํารัสหน่ึง ไดใหคําอธิบายถึง เศรษฐกิจพอเพียงวา “คือความพอประมาณ ซ่ือตรง ไมโ ลภมาก และตอ งไมเบียดเบียนผอู ืน่ ” ระบบเศรษฐกจิ พอเพียง มงุ เนน ใหบ ุคคลสามารถประกอบอาชีพไดอ ยางย่งั ยืน และใชจา ยเงินท่ีได มาอยางพอเพยี งและประหยดั ตามกาํ ลงั ของเงินของบุคคลน้ัน โดยปราศจากการกูหน้ียืมสิน และถามีเงิน เหลือก็แบงเกบ็ ออมไวบ างสว น ชว ยเหลือผูอื่นบางสว น และอาจจะใชจา ยมาเพ่ือปจจัยเสริมอีกบางสวน (ปจจัยเสรมิ ในท่ีนีเ้ ชน ทอ งเท่ียว ความบนั เทงิ เปน ตน) สาเหตทุ ี่แนวทางการดํารงชีวิตอยางพอเพียง ไดถูก กลา วถงึ อยา งกวา งขวางในขณะนี้เพราะสภาพการดาํ รงชวี ติ ของสงั คมทุนนยิ มในปจ จบุ นั ไดถ ูกปลกู ฝง สราง หรือกระตุน ใหเกดิ การใชจ า ยอยางเกนิ ตวั ในเร่ืองที่ไมเกี่ยวขอ งหรอื เกินกวา ปจจัยในการดํารงชีวิต เชน การ บริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบความสวยความงาม การแตง ตัวตามแฟช่ัน การพนันหรือ เส่ยี งโชค เปนตน จนทาํ ใหไมม ีเงนิ เพยี งพอเพอ่ื ตอบสนองความตองการเหลานั้น สงผลใหเ กิดการกหู นี้ยมื สนิ เกิดเปน วัฏจักรทบ่ี คุ คลหนึ่งไมส ามารถหลดุ ออกมาได ถาไมเ ปลีย่ นแนวทางในการดาํ รงชีวิต แมว าการอธิบาย ถงึ คุณลกั ษณะและเง่อื นไขในปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จะใชค าํ วาความรู อันเปนท่ตี กลงและเขา ใจกนั ท่ัวไป แตห ากพจิ ารณาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งทไี่ ดท รงพระกรณุ า ปรับปรงุ แกไขและพระราชทานพระบรมราชานญุ าต ใหน ําไปเผยแพรอยางละเอยี ดนัน้ กลบั พบคําวา “ความรอบร”ู ซ่งึ กินความมากกวา คาํ วา “ความร”ู คอื นอกจากจะอาศัยความรใู นเชงิ ลึกเกย่ี วกบั งานท่ีจะ ทําแลว ยังจําเปนตอ งมีความรใู นเชิงกวาง ไดแกค วามรคู วามเขา ใจในขอเทจ็ เก่ียวกับสภาวะแวดลอ ม และ สถานการณทเ่ี กย่ี วพันกบั งานท่จี ะทาํ ทัง้ หมด โดยเฉพาะทพ่ี ระองคทา นทรงเนน คอื ระบบชีวิตของคนไทย อันไดแ กค วามเปน อยู ความตองการ วฒั นธรรม และความรูสํานกึ คิดโดยเบด็ เสรจ็ จึงจะทาํ งานใหบรรลุ เปา หมายได การนําองคประกอบดานความรูไปใชใ นปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกตใ ชในทางธุรกิจ จึงมิ ไดจาํ กัดอยูเพียงความรู ท่เี กยี่ วของกบั มิตทิ างเศรษฐกจิ ทค่ี าํ นงึ ถึงความอยูร อด กาํ ไร หรือการเจรญิ เติบโต ของกจิ การแตเพียงอยา งเดียว แตร วมถึงความรูที่เกี่ยวของกบั มติ ิทางสงั คม สิง่ แวดลอม และวัฒนธรรมของ คนในทอ งถ่ินน้นั ๆ สอดคลองตามหลกั การไมตดิ ตาํ รา เชน ไมควรนาํ เอาความรูจากภายนอก หรือจากตา ง ประเทศ มาใชก ับประเทศไทยโดยไมพ ิจารณาถึงความแตกตาง ในดา นตา งๆอยา งรอบคอบระมัดระวัง หรือไมควรผูกมดั กบั วชิ าการทฤษฎี และเทคโนโลยที ไี่ มเหมาะสมกับสภาพชีวติ และความเปนอยทู ี่แทจ ริง ของคนไทยและสงั คมไทย

ห น้ า | 9 ยง่ิ ไปกวา นน้ั ความรู ท่ปี รากฏในปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ยังประกอบไปดวยความระลึกรู (สติ)กบั ความรูชัด (ปญญา) ซง่ึ ถอื เปน องคป ระกอบสําคัญที่วิชาการหรือทฤษฎี ในตะวันตกท่ีเก่ียวกับการ จดั การความรู ยงั ไมครอบคลุมถึง หรือยังไมพฒั นากาวหนา ไปถึงขนั้ ดังกลาว จงึ ไมมีแนวคดิ หรือเครื่องมอื ทางการบริหารจัดการความรูใ ดๆ ท่ีมีความละเอียดลึกซ้ึงเทากับท่ีปรากฏอยูในปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งอีกแลว พิพัฒน ยอดพฤติการ ไดกลาวไวใ นบทความ เรื่องที่มักเขา ใจผิดเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง วาเศรษฐกิจพอเพียงมีรากฐานมาจากแนวคิดในการสรา งความ “พอมี” (คือการผลิต) “พอกิน-พอใช” (การบรโิ ภค)ใหเ กดิ ข้ึนแกประชาชนสว นใหญข องประเทศ เพราะถา ประชาชนสว นใหญข องประเทศยงั ยากไรขดั สน ยงั มชี ีวิตความเปน อยอู ยางแรนแคน การพฒั นาประเทศก็ยังถอื วา ไมป ระสบความสาํ เรจ็ เศรษฐกิจพอเพียง สําหรับคนทุกกลุม มิใชแคเกษตรกร การสรา งความ“พอกิน-พอใช” ในเศรษฐกจิ พอเพยี งนี้ มงุ ไปที่ประชาชนในทกุ กลุม สาขาอาชีพท่ียังมีชีวิตแบบ “ไมพอกิน-ไมพ อใช” หรือ ยังไมพอเพียง ซ่ึงมิไดจํากัดอยูเ พียงแคคนชนบท หรือเกษตรกร เปน แตเ พียงวา ประชาชนสวนใหญของ ประเทศท่ียังยากจนน้ันมีอาชีพเกษตรกรมากกวา สาขาอาชีพอื่น ทําใหความสําคัญลําดับแรกจึงมุง เขา สู ภาคเกษตรหรือชนบทที่แรน แคน จนมีรูปธรรมของการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงออกมาเปน เกษตรทฤษฎีใหม อันเปนท่ีประจักษในความสําเร็จของการยกระดับชีวิตความเปนอยูของเกษตรกรให “พอม”ี “พอกนิ -พอใช” หรอื สามารถพึง่ ตนเองได ในหลายพ้นื ที่ทว่ั ประเทศ ฀฀฀฀ กจิ กรรมท่ี 1 1. ใหผ ูเรียนบอกถึงความเปน มาของเศรษฐกจิ พอเพียงโดยสงั เขป 2. ใหผ ูเรยี นเขยี นอธิบายความหมายของเศรษฐกจิ พอเพียง 3. เศรษฐกจิ พอเพียงมหี ลักแนวคดิ อยา งไร จงอธิบาย 4. ใหผ ูเรยี นบอกถงึ ความสําคญั ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งวามีความสําคญั อยางไร

10 | ห น้ า บทที่ 2 ชมุ ชนพอเพยี ง สาระสาํ คัญ ชุมชนทมี่ คี วามสามารถในการบริหารจัดการชุมชนอยางมปี ระสิทธภิ าพ เปนกําลังสําคัญในการขับ เคลือ่ นเศรษฐกิจพอเพียง นกั วิชาการหลายทานไดศ ึกษาและวิเคราะหเ รื่องการพัฒนาชุมชน เพื่อมุง สูก าร เปน ชุมชนท่ีพอเพียง รวมทั้งตัวอยางของชุมชนพอเพียงที่ประสบความสําเร็จ และตัวอยางของชุมชน พอเพียงดานพลงั งาน ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวงั ผเู รียนสามารถบอกแนวทางในการนาํ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ตใชใ นชุมชน ขอบขา ยเนื้อหา เร่อื งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญการบริหารจัดการชมุ ชน เรอ่ื งที่ 2 การบริหารจดั การชมุ ชนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ห น้ า | 11 เร่อื งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญการบริหารจัดการชุมชน ความหมายของชมุ ชน ชุมชน หมายถงึ ถ่นิ ฐานท่ีอยูของกลมุ คน ถิ่นฐานนมี้ พี ้ืนท่ีอา งองิ ได และ กลุมคนนี้มีการอยูอาศัยรว มกัน มีการทํากิจกรรม เรียนรู ติดตอ ส่ือสาร รวมมือและพึ่งพาอาศัยกัน มี วัฒนธรรมและภูมิปญ ญาประจําถิ่น มีจิตวิญญาณ และความผูกพันอยูก ับพื้นท่ีแหง นั้น อยูภ ายใตการ ปกครองเดยี วกนั โครงสรา งของชมุ ชน ประกอบดว ย 3 สวนคอื 1. กลมุ คน หมายถึง การที่คน 2 คนหรือมากกวานั้นเขามาติดตอ เก่ียวของกัน และมีปฏิสัมพันธ ตอ กันทางสังคมในชว่ั เวลาหนง่ึ ดว ย ความมุงหมายอยา งใดอยางหน่งึ รวมกัน 2. สถาบนั ทางสงั คม เม่ือคนมาอยูรวมกันเปนกลุมแลว และมีวิวัฒนาการไปถึงข้ันต้ังองคก รทาง สงั คมแลว กจ็ ะมีการกาํ หนดแบบแผนของการปฏบิ ัตติ อกนั ของสมาชิกในกลุม เพื่อสามารถดําเนินการตาม ภารกิจ 3. สถานภาพและบทบาทสถานภาพ หมายถึง ตําแหนง ทางสังคมของคนในกลุม หรอื สังคมบทบาท หมายถึง พฤติกรรมท่ีคนในสังคมตอ งทําตามสถานภาพในกลุม หรือสังคม ชมุ ชนทม่ี ีความสามารถในการบรหิ ารจดั การชุมชนอยางมปี ระสทิ ธิภาพ ตอ งมีองคป ระกอบสําคัญ หลายประการและสามารถพัฒนาหรือควบคุมองคประกอบเหลาน้ันได โดยมีนักวิชาการหลายทานท่ีได ศกึ ษาและวิเคราะหอ งคประกอบการพัฒนาชมุ ชนไวต ามแนวคิดการพฒั นาชุมชน ดังตอไปนี้ สนทยา พลตรี (2533 : 65 – 68) ไดก ลา วถงึ การพฒั นาชุมชนวา มีองคป ระกอบ 2 ประการ สรุปได ดงั นี้ 1. การเขา มีสว นรว มของประชาชน เพ่ือที่จะปรับปรุงระดับความเปน อยูใ หดีขึ้น โดยจะตอ ง พง่ึ ตนเองใหม ากที่สดุ เทา ทจ่ี ะเปนได และควรเปนความรเิ รมิ่ ของชุมชนเองดวย 2. การจัดใหม ีการบริการทางเทคนิคและบริการอื่นๆที่จะเรง เราใหเ กิดความคิดริเร่ิม การชวย เหลอื ตนเอง ชวยเหลอื กนั และกนั อนั เปน ประโยชนมากที่สุด คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ (2539 : 1 – 2) ไดกลาวถึงลักษณะการ พัฒนาคนและสิง่ แวดลอม ซง่ึ อาจถอื วา เปน องคการพัฒนาชุมชนดวย สรปุ ไดด ังน้ี 1. การพัฒนาคนประกอบดวย 4 ดานดงั นี้ ดา นจิตใจ ดานรา งกาย ดานสตปิ ญ ญา ดานบคุ ลิกภาพ

12 | ห น้ า 2. การพฒั นาสภาพแวดลอมใหเอ้ือตอการพัฒนา ประกอบดว ย 4 ดา นดงั น้ี ดา นเศรษฐกิจ ดานครอบครวั และชุมชน ดา นทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ ม ดานการบรหิ ารจัดการและการเมือง สุพัตรา สุภาพ (2536 : 124 – 126) ไดก ลา วถึงปจ จัยที่มีอิทธิพลตอการเปล่ียนแปลงทางสังคม ซ่งึ เปนองคประกอบการพัฒนาชมุ ชน วา มี 7 ประการดังน้ี 1. ส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติ หากมีความสมบูรณจ ะสงผลใหชุมชนมีการพัฒนาไดรวดเร็วและ ม่นั คง 2. การเปล่ียนแปลงดา นประชากร การเพ่ิมประชากรท่ีมีคุณภาพสามารถทําใหเ กิดการพัฒนา ดา นเศรษฐกิจ สังคม และการเมอื งทีท่ นั สมัยขน้ึ 3. การไดอ ยูโดดเด่ียวและติดตอ เกี่ยวขอ ง ชุมชนใดที่มีการติดตอกันทําใหการพัฒนาเปน ไปอยาง รวดเร็ว 4. โครงสรางของสังคมและวัฒนธรรม ชุมชนท่ีมีการเคารพผูอ าวุโสจะมีการเปล่ียนแปลงนอย คา นยิ มตางๆ ชว ยใหรูวา ชมุ ชนมีการเปลย่ี นแปลงเกิดการพัฒนาขึ้นมากนอ ยเพียงไร 5. ทัศนคติและคานิยม การมีคานิยมดา นอาชีพ ดา นบริโภค เปนสวนของการจัดการ พัฒนาในชมุ ชนนน้ั ได 6. ความตอ งการรับรู การยอมรับส่ิงประดิษฐใหมๆ จะเปน เคร่ืองช้ีทิศทางและอัตราการ เปลี่ยนแปลงของชมุ ชน 7. พื้นฐานทางวฒั นธรรม ถา มีฐานทดี่ สี ิ่งใหมทจ่ี ะเกิดขน้ึ ยอมดีตามพน้ื ฐานเดมิ ดวย พลายพล คุมทรพั ย (2533 : 44 – 47) ไดก ลา วถงึ ปจ จัยที่สามารถใชในการพัฒนาชุมชน ซ่ึงเปน องคป ระกอบการพัฒนาชมุ ชน วา ประกอบดว ย 3 ปจ จัย ดงั น้ี 1. โครงสรา งทางสังคม ครอบครัวท่ีมีขนาดเล็กและมีโครงสรางไมซับซอ นจะสงผลใหช ุมชนน้ัน พฒั นาไดดีกวา ชมุ ชนทีม่ ีโครงสรา งทางครอบครวั ทีซ่ บั ซอ น 2. โครงสรางทางชนชั้น ในชุมชนที่มีโครงสรา งแบบเปด ท่ีสามารถเปล่ียนแปลงฐานะทางสังคม ไดงาย ชุมชนนน้ั จะเกดิ การพัฒนา 3. ความแตกตางทางเผาพนั ธุ เชื้อชาติ และศาสนา ความแตกตา งหากเกิดขึ้นในชุมชนใดยอ มเปน อุปสรรคตอ การพฒั นา ตามลาํ ดบั ความแตกตา ง ยุวัฒน วุฒิเมธี (2531 : 58 – 63) กลา วถึงปจจัยท่ีเกื้อกูลใหก ารพัฒนาชนบทบรรลุความสําเร็จ จําเปน ตอการพฒั นา วา ดว ยองคประกอบ และสว นประกอบยอยขององคป ระกอบ ดงั นี้

ห น้ า | 13 1. นโยบายระดบั ชาติ ฝา ยบริหารจะสามารถดาํ เนินการแผนพัฒนาไดตอ เนือ่ ง และมีเวลาพอท่ีจะ เห็นความถูกตอง คุมคา มีแนวทางประสานประโยชนร ะหวา งรัฐและเอกชน และความรวมมือระหวาง ประเทศจะตองเก้ือกูลตอการพฒั นา 2. องคก ารบริหารการพัฒนาชนบท ที่มีองคกรกลางทําหนา ที่ประสานนโยบาย แผนงานและโครงการอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพและมอี ํานาจเดด็ ขาดในการลงทุนในหนวยปฏิบัตติ อ งดําเนินการ ตามนโยบาย แผนงาน และโครงการในแผนระดับชาติ และจัดงบประมาณการติดตามควบคุมท่ีมี ประสทิ ธิภาพ 3. วิทยาการทีเ่ หมาะสมและการจดั การบริการท่ีสมบูรณ เลือกพ้ืนที่และกลุมเปาหมายท่ีสอดคลอ ง กบั ความเปนจริง และเลือกวทิ ยาการท่ปี ระชาชนจะไดร ับใหเ หมาะสม 4. การสนับสนุนระดับทอ งถิ่น ความรบั ผิดชอบของการสนับสนุนงานในทองถิ่นท่ีมีประสิทธิภาพ จะเกดิ การพฒั นาอยางแทจรงิ ในระยะยาว 5. การควบคุมดแู ลและติดตามผลการปฏบิ ัติงาน ควรเปน ไปตามแผนงานและโครงการทุกระดับ และครอบคลมุ ทกุ พน้ื ที่ พรอ มท้งั ใหส ถาบันการศกึ ษาทอ งถิ่นติดตามประเมินผล อชั ญา เคารพาพงศ (2541 : 82 – 83) กลาวถงึ ปจจยั สวนประกอบที่มีอิทธพิ ลตอการพัฒนา สรุป ไดดังน้ี 1. ผูนํา ไดแ ก ผูน าํ ทอ งถ่ิน ทั้งเปนทางการและไมเปนทางการในหมูบ า น และจากองคกรภาครัฐ มี สว นใหชมุ ชนพัฒนาในทางท่ีดีขน้ึ เปน ประโยชน ชมุ ชนมีเจตคตทิ ด่ี ยี อมรบั สงิ่ ใหมแ ละสรา งพลงั ตอ สเู พ่ือการ เปลย่ี นแปลง 2. สังคม – วัฒนธรรม การไดร ับวัฒนธรรมจากสังคมเมืองมาปฏิบัติทําใหช ุมชนเกิดการ เปล่ยี นแปลง 3. ส่ิงแวดลอม การปรับปรุงสภาพแวดลอ มภูมิศาสตรช ุมชน สง ผลใหท่ีดินอุดมสมบูรณ ราคาสนิ คา เกษตรดี ความเปนอยูสะดวกสบายกวา เดมิ 4. ประวตั ศิ าสตร เหตกุ ารณส ําคัญในอดตี มผี ลตอ การพฒั นาความสามัคคี รักพวกพอง ชว ยเหลือซึ่ง กันและกัน ปรียา พรหมจนั ทร (2542 : 25) ไดสรุปองคป ระกอบท่ีเปน ปจจยั การพัฒนาชมุ ชนไดดงั น้ี 1. ดา นเศรษฐกิจ ชมุ ชนท่ีเศรษฐกจิ ดีการพัฒนาชมุ ชนสามารถพัฒนาไดด ีดว ย 2. ดา นสงั คม วัฒนธรรม และส่งิ แวดลอม เปนบรบิ ทท่ปี รับเปลี่ยนสภาพชมุ ชนไปตามปจ จัย 3. ดานการเมือง หมายรวมถึงการเมืองระดับชาติและชมุ ชนระดบั ทองถิ่น 4. ดา นประวัติศาสตร โดยอาศัยประสบการณแ ละวิกฤตของชุมชนเปนฐานและบทเรียนการ พฒั นาชมุ นมุ

14 | ห น้ า นอกจากนี้ปรียา พรหมจันทร ยังไดจําแนกออกเปน องคป ระกอบท่ีเปน ปจจัยการพัฒนาชุมชน ปจ จยั โดยตรง เชน คน ทุน ทรพั ยากร การจัดการ เปน ตน และปจ จัยโดยออม เชน ภาวะเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง การปกครอง เปนตน ไพบูลย วัฒนศิริธรรม (2549) ไดก ลาวถึงการสรา งและพัฒนาคนรุน ใหมเพื่อ พฒั นาชมุ ชนทองถ่ิน มปี จจัยสาํ คญั 4 ประการ ซึ่งถือเปนองคประกอบการพฒั นาชุมชน ดงั นี้ 1. สังคมดี ส่ิงแวดลอ มดี มีโอกาสในอาชีพ และกิจกรรมที่หลากหลาย รวมไปถึงวิถีชีวิต ศลิ ปวฒั นธรรม ความอบอนุ ความสุข ความเจริญกา วหนาที่พงึ คาดหวังในอนาคตดวย 2. ระบบการศกึ ษาของชาติ มีเปาหมายในการผลิตคนเพื่อการพัฒนาชุมชนหรือทอ งถ่ิน ใหเปน ท่ี พึงปรารถนาของทอ งถน่ิ เพียงไร 3. รัฐธรรมนูญและนโยบายของรัฐ ท่ีเอ้ือตอการพัฒนาชุมชนทองถ่ินใหเ ปนท่ีพึงปรารถนานาอยู บทบาทของชุมชน มีสิ่งสําคัญ 3 ประการ คือ ความรักและความดี การเรียนรูที่มากกวาความรู และการ จัดการกับปจ จัยชุมชนตางๆ กิจกรรมท่ชี มุ ชนตองรบั ผิดชอบคอื จะตอ งมีการติดตามและการบริหารท่ีมี - ตง้ั คณะกรรมการบริหาร - ประเมนิ สภาพของชุมชน - เตรียมแผนการปฏบิ ตั ิ - หาทรพั ยากรทจ่ี ําเปน - ทําใหแนใ จวา กิจกรรมของชุมชนท้ังหมด ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ สําหรบั การปฏบิ ตั ิงาน

ห น้ า | 15 แบบจาํ ลองชมุ ชนท่มี กี ารบริหารจัดการทดี่ ี แผนชมุ ชนท่ีมพี ลงั

16 | ห น้ า กระบวนการชุมชน 1. วิเคราะหช ุมชน 2. การเรยี นรูและการตดั สนิ ใจของชุมชน 3. การวางแผนชุมชน 4. การดาํ เนินกจิ กรรมชุมชน 5. การประเมนิ ผลการดําเนินงานของชมุ ชน องคป ระกอบการขับเคล่อื นชมุ ชน 1. โครงสรา งพ้ืนฐานทางสงั คมของชมุ ชน 2. ความคิดพนื้ ฐานของประชาชน 3. บรรทัดฐานของชมุ ชน 4. วถิ ีประชาธปิ ไตย เรอื่ งที่ 2 การบรหิ ารจดั การชุมชนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตวั อยางชุมชนพอเพียงท่ปี ระสบความสาํ เรจ็ กดุ กะเสยี น วันนีท้ ่ยี ม้ิ ได “เวลาติดขัดก็ไปกู...เขามาทําทุน พอหาได ขายไดก็เอาไปฝาก...เขา” เขาในความหมาย ของคนในชมุ ชนกุดกะเสียน คือ สถาบันการเงินชุมชนกดุ กะเสยี นรว มใจ

ห น้ า | 17 ทา มกลางภาวะเศรษฐกิจเงินเฟอพุง ดอกเบ้ียเพิ่ม ทั้งเงินกู เงินฝาก (ติดลบเมื่อเทียบกับเงินเฟอ ) ทุกอยางอยูในชวงขาขึ้น(ราคา) จะมีที่ลดลงคงเปน กําลังใจประชาชนโดยเฉพาะคนเมือง ย้ิมฝนๆ เผชิญ ชะตาในยุคขา ว(แก) ยาก นํ้ามันแพงกนั ไป แตกตางจากคนในชุมชนบานกุดกะเสียน ต.เขื่องใน อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี หมูบา นรางวัล พระราชทาน “เศรษฐกจิ พอเพียง อยเู ยน็ เปน สุข” สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ซ่ึงมี นายสมาน ทวีศรี กาํ นันตาํ บลเขื่องใน เปน ผูน ําสรางรอยยิม้ ใหค นในชมุ ชน จากหมบู านทีม่ อี าชีพทํานาปละ 2 คร้ัง แตเ นื่องจากสภาพพ้ืนท่ีเปน ท่ีลุม มีน้ําทวมถึง ทําใหมี ปญหานํ้าทว มนา จงึ ตอ งหาปลาแลกขาว ตอมาประกอบอาชพี คา ขายสียอมผา ทําใหมีปญ หาหนี้สินเพราะ ตอ งไปกูนายทนุ ดอกเบย้ี สูง แตสภาพในปจจบุ นั ของกดุ กะเสยี น ผคู นย้ิมแยมแจมใจ เนอื่ งจากเศรษฐกจิ ของหมูบ า นดขี น้ึ มาก สบื เนื่องจากการรเิ รมิ่ ของผนู ําชมุ ชนที่เห็นปญ หาของหมูบาน จึงไดส ง เสริมใหมกี ารตงั้ กลมุ ออมทรัพย

18 | ห น้ า จนกระท่งั พฒั นามาเปน ธนาคารกดุ กะเสียนรวมใจ โดยการปลอยสินเชื่อในอัตราดอกเบีย้ ตา่ํ ใหค นในชุมชน ไปประกอบอาชีพ อาชพี หลักทํานา คาขายเฟอรนเิ จอร เคร่อื งใชไ ฟฟา ชุดเครือ่ งนอน ชุดเครอ่ื งครัวฯลฯ ท้ังมีการรวมกลุมอาชีพ กลุม เลี้ยงโค กลุมทํานํ้ายาลางจาน กลุมนํ้ายาสระผม กลุมเพาะเห็ด กลมุ เกษตรกรทาํ นา กลมุ จกั สาน หนง่ึ ในชุมชนตวั อยา งท่ีกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย คัดเลอื กมาเปน ตน แบบในการ สง เสรมิ การบริหารจัดการชุมชนใหเ ขมแขง็ อยา งย่งั ยืน นายปรชี า บุตรศรี อธิบดกี รมการพฒั นาชมุ ชนกลา ววา ประเด็นยุทธศาสตรหนึ่งในการสง เสรมิ การบรหิ ารการจดั การชมุ ชน คอื การเพิ่มขดี ความสามารถผนู าํ ชุมชน เพอ่ื ใหผูนาํ ชมุ ชนเปน กําลังหลักในการบรหิ ารจดั การชมุ ชนใหชุมชนเขมแขง็ และพง่ึ ตนเองไดใ นทส่ี ุด ยุทธศาสตรใ นการทํางานของกรมการพัฒนาชุมชน ทั้ง 5 ประเด็น ประกอบดว ย การพัฒนาทุน ชมุ ชนการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนใหเ ขมแข็ง การเพ่ิมขีดความสามารถผูน ําชุมชนนําขับเคลื่อนแผนชุมชน และการสงเสริมการจดั การความรชู มุ ชน บนพนื้ ฐานปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ซ่งึ มีเปา หมายสรางผนู ําชมุ ชน ระดบั แกนนําทัว่ ประเทศจาํ นวน 691,110 คน ภายใน 4 ป ในป 2551ดําเนนิ การใน 217 หมูบานทว่ั ประเทศ เพอื่ ใหไ ดผ นู าํ ชมุ ชน ทมี่ ีภาวะผนู ํา มคี ณุ ธรรม จริยธรรม องคความรู เปนกลมุ แกนนําในการขับเคลื่อนและ ผลักดนั นโยบายของรฐั ในระดบั ชมุ ชน ใหม ที ิศทางการพฒั นาชุมชน สอดคลองกบั การพัฒนาประเทศ “ส่ิงท่ีทําใหหมูบานไดร ับการคัดเลือกมาจากการดําเนินการท้ัง 6 ดาน ประกอบดวย การลด รายจา ย เพิม่ รายได การเรยี นรู อนรุ กั ษ เอื้ออาทร และการประหยัด สงิ่ ท่คี ณะกรรมการมาดูแลว ประทับใจ ที่สุด คือ สถาบันการเงนิ ” นายสมานกลา ว ซึง่ ไดน ําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดําเนินการบริหาร ธนาคารชมุ ชน กุดกะเสยี นรว มใจ การประหยัด อดออม ออมเพื่อนาํ ไปใชใ นการผลิต ไมน ําไปใชฟ ุมเฟอย ใหก ู โดยถอื หลักความพอประมาณ ถอื หลกั มเี หตุมีผล และมีภูมิคุม กนั ในตัวทดี่ ี ภายใตเ งื่อนไขความรู คอื รอบรู

ห น้ า | 19 รอบคอบ ระมัดระวัง และเงอื่ นไขคณุ ธรรม ซื่อสตั ย สจุ ริต ขยัน อดทนและแบง ปน ปจจุบันมเี งินทนุ หมุนเวียนประมาณ 14 ลา นบาท สมาชกิ สถาบนั การเงนิ ชุมชน ประกอบดว ยหมูที่ 10,11,12 บานกดุ กะเสียน ตําบลเข่อื งใน ซึง่ มสี มาชกิ 246 ครวั เรอื น 285 คน มจี ํานวนสมาชกิ เงนิ ฝาก 464 คน “สรา งผลดีใหชุมชน ผูก ูกูถ ูก คนฝากไดดอกเบ้ียสูง ตั้งแตรอ ยละ 2 สูงสุดหากมีเงินฝาก 5 แสน บาทขึ้นไปดอกเบ้ียรอยละ 5 บาทไมห ักภาษีดอกเบี้ยกูงายกวา แตใ หก ูเ ฉพาะคนในชุมชน เทา นั้น สว นผูฝากนอกชุมชน ก็ฝากไดดอกเบี้ยเทา คนในชุมชน แตก ไู มได ทําใหประชาชนประหยัดดอกเบ้ียเงินกูไ ด ชุมชน ก็พึงพอใจ เสียดอกเบ้ียนอยกวา และยังไดส วัสดิการกลับคืนสูช ุมชน “ นายสมาน ทวีศรี ประธาน กรรมการสถาบันการเงินชมุ ชนกุดกะเสยี นรว มใจกลาว ในมุมมองของคนในชุมชน บานกุดกะเสียนตา งบอกเปนเสียงเดียวกันวาท่ีมีวันนี้ไดเ พราะ “ผูน ําด”ี เปนผูนําชุมชน ที่เขม แข็ง นอกจากการยอมรับของคนในชุมชน แลว ยังมีรางวัลมากมายรับรอง อาทิ ผูใหญบ า นยอดเยย่ี มแหนบทองคาํ ป 2523 กาํ นนั ยอดเยี่ยมแหนบทองคําป 2546 ประกาศเกียรติคุณ “คนดศี รีอุบล” ป 2550 และรางวลั ผูน าํ ชมุ ชน ดีเดน ระดับเขตป 2550 ในฐานะท่ีเปน แกนนําสรางรอยย้ิม ใหช ุมชน ตวั อยางของชุมชนพอเพียงดานพลังงาน ตลอด 3 ป (2549-2551) ของการเดินหนาโครงการจัดทําแผนพลังงานชุมชน 80 ชุมชน สนองพระราชดําริ “เศรษฐกิจพอเพียง” ของสํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานปลัดกระทรวง พลงั งาน ดว ยมองเห็นศกั ยภาพชุมชนในการจัดการดา นพลังงานท่ชี ุมชนทาํ เองได ภายใตก ารบริหารจัดการ ทรัพยากรทองถิน่ ทีส่ ามารถนํามาเปลี่ยนเปนพลงั งานทดแทนใชในการดาํ เนินชีวติ นน้ั ทําไดจริง “แผนพลงั งานชมุ ชน” คือ สิ่งท่ีเกดิ ข้ึนกับทุกชุมชนที่เขา รวมในระยะเวลาท่ตี า งกันพรอมกับกลไก การทาํ งานรว มกัน ระหวางภาคชุมชนและภาควิชาการ โดยเฉพาะเจาหนา ท่พี ลังงานจงั หวัด หรือสํานักงาน พลงั งานภูมิภาค ซ่ึงเปน ตัวแทนกระทรวงพลังงานไปเผยแพรความรูส รา งความเขา ใจ “พลังงานเร่ืองใกล ตัว” และนําเสนอเทคโนโลยีพลงั งานทางเลือก หรอื พลงั งานทดแทนหลากหลายประเภท ใหช าวบานเลือก นําไปใชไดอยางเหมาะสมกับความตอ งการ เพื่อประโยชนส ูงสุดของการใชพลังงานอยางคุม คา และไม ทาํ ลายสิง่ แวดลอ มปรากฏการณท่เี กิดขนึ้ ในชมุ ชนสว นใหญท ่ีเขารวม คือ การตอ ยอด หรือนําเทคโนโลยีท่ี กระทรวงพลงั งานนํามาใหนนั้ นําไปประยุกตตอ เพ่อื การใชงานทสี่ ะดวก และสอดคลอ งกับความตอ งการ

20 | ห น้ า ของแตล ะคน แตล ะชมุ ชนท่ีแตกตางกนั การลองทาํ ลองใช ใหเห็นผลกระจางชัดแลว จงึ บอกตอ “สาธติ พรอมอธิบาย” จงึ เปนพฤตกิ รรมท่เี กิดขึ้นโดยอตั โนมัติของวิทยากรตัวคูณพลงั งาน หรือนกั วางแผน พลังงานชุมชนท่ีไมห วงแหนความรู เกดิ เครอื ขายวทิ ยากรตวั คณู พลังงานขึน้ อยใู นทุกกลมุ คนของชุมชนไมว า จะเปนอันดบั แรก คอื แกนนํา ตอ มาคือชาวบานทส่ี นใจ และนําไปทําจริงจึงขยายผลตอ กบั เพื่อนบา นใกล เคียงหรือในหมูญ าติมติ ร กบั อีกกลุม คอื เยาวชนทีเ่ ปนพลงั เสรมิ แตย ่งั ยนื ภาพทเี่ กิดขึ้นในชุมชนที่ทําตามแผนพลังงานชุมชนอยา งแข็งขัน คือ เกิดการเปล่ียนแปลงวิถีชีวิต สรา งวิถีพลังงานชุมชนที่ไปไดด ีกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จุดเดนของเทคโนโลยีพลังงานท่ีถูกนําไป ปรบั ใช ไมไ ดเกิดประโยชนเฉพาะตัวผูป ฏิบัติ แตยังสรา งผลดีตอ ชุมชนคนรอบขาง และสังคมประเทศโดย รวมเมอื่ เราสามารถสรา งทางเลอื กการใชพ ลังงานทดแทนข้ึนไดเ อง และมีการจัดการอยา งครบวงจร การ จัดการพลงั งานอยา งยงั่ ยืนจึงเกดิ ขนึ้ ไดภ ายใตส องมือของทกุ คนท่ชี วยกัน ไมต องหวั่นวิตกกับภาวะความไม แนนอนของนา้ํ มัน ท่ตี องนาํ เขาจากตางประเทศอีกตอ ไป เมื่อยอมรับวาพลังงานเปน เรื่องใกลต ัวการจัดการพลังงานของชุมชนที่ชว ยเสริมสรา งความ เขม แข็งชุมชนจงึ เกดิ ขน้ึ ในหลายดาน อาทิ 1. ดา นเทคโนโลยีพลงั งานชมุ ชนเกดิ ผลชดั เจนในหลายตาํ บล ตัวอยา งเชน ชาว อบต.พลบั พลาชัย จ.สพุ รรณบรุ ี สง่ิ ท่เี กิดคอื ความคกึ คักของชมุ ชนกับการเลอื กใชเทคโนโลยปี ระหยดั พลังงาน การทําถา นอัดแทง จากขี้เถาแกลบดาํ ของโรงไฟฟา ชีวมวลในพืน้ ทคี่ ลายกนั กับ อบต.นาหมอบญุ จ.นครศรีธรรมราช ท่ี อบต.และบรรดาแกนนาํ พรอ มใจกนั ผลักดนั เต็มที่ ทั้งคน เครื่องมอื และงบประมาณ ทาํ ใหยงั คงใชพลังงานเทาเดมิ แตคาใชจายดานพลงั งานกลบั ลดลงเรือ่ ยๆ โดยมเี ทคโนโลยเี พ่ือการจัดการ พลังงานในแบบเฉพาะของคนนาหมอบุญเปน เคร่ืองมอื 2. ดานการพัฒนาประชาธิปไตย (การมีสว นรว ม) ตัวอยางเชน อบต.ถ้ํารงค อ.บานลาด จ.เพชรบุรี มีจุดเดนของการขยายผลแผนพลังงานชุมชน ผา นกระบวนการจัดทําแผนพลังชุมชนทุกดา น เกดิ ขนึ้ จากการมสี ว นรวมของชาวชมุ ชน ท่มี ีกิจกรรมพลังงานแทรกอยูในวิถีชีวิตประจําวัน และวิถีอาชีพที่ เหน็ ตรงกันวา ตอ งเปนไปเพื่อการอนรุ กั ษพ ลงั งานดวย เชน กจิ กรรมทองเทยี่ วชุมชนทใี่ หใชจ กั รยานแทนการ ใชร ถยนต 3. ดานการพฒั นาวิสาหกิจชุมชน (กลุม อาชีพดานพลังงาน) มี 7ชุมชนที่ไดรับการนําเสนอวาเกิด รูปธรรมจรงิ คอื อบต.หนองแซง อ.หนั คา จ.ชัยนาท อบต.หนองโพรง อ.ศรีมหาโพธิ จ.ปราจีนบรุ ี

ห น้ า | 21 อบต.ตาอ็อง อ.เมืองสุรนิ ทร จ.สรุ นิ ทร อบต.กดุ นํ้าใส อ.น้ําพอง จ.ขอนแกน อบต.กอ เอ อ.เข่อื งใน จ.อบุ ลราชธานี อบต.ทงุ อ.ไชยา จ.สรุ าษฎรธานี อบต.ทาขาม อ.หาดใหญ จ.สงขลา ในทุกชุมชนเกิดอาชีพท่ีมาจากการตอยอดเทคโนโลยีพลังงานชุมชนออกมาเปน ผลิตภัณฑส ินคา ชุมชน ทํารายไดเ ปนอาชีพเสริม จากผลพวงการบริหารจัดการพลังงานทดแทนในชุมชนไมว าจะเปน ถานจากกิ่งไมที่เคยไรคาถา นผลไมเ หลือทิ้งในบรรจุภัณฑเ กๆ ใชด ูดกลิ่นในตูเย็น น้ําสมควันไมที่ใช ประโยชนไ ดส ารพดั ที่สําคัญหลายชุมชนเกิดกลุม อาชีพชา งผลิตเตาเผาถา น เตาซูเปอรอ ั้งโลประหยัดพลังงาน เตาชีวมวล ในแบบที่ถูกประยุกตใหเ หมาะกับการใชข องแตละพ้ืนท่ี จําหนา ยใหก ับคนในตําบลและ นอกพืน้ ที่ 4. ดานการศกึ ษา (กิจกรรมการเรยี นการสอนดา นพลงั งาน) ชุมชนสว นใหญม องภาพความย่ังยืน ดา นการจดั การพลงั งานชุมชน โดยมุงเปา หมายไปทกี่ ารปลูกฝง เดก็ และเยาวชน ในรั้วโรงเรียนและในชุมชน เกิดความรู ความเขาใจวาเร่ืองพลังงานเปนอีกปจจัยหนึ่งท่ีเก่ียวขอ งในชีวิตประจําวันของทุกคน และมี พลังงานหลายชนิดสามารถบริหารจัดการใหเกิดความย่ังยืนไดจากทรัพยากรท่ีมีอยูใ นชุมชน สรางพฤติกรรมการใชพ ลังงานอยา งรคู ณุ คา 5. ดา นการทอ งเที่ยว (ศูนยการเรียนรูเ พื่อเปน ที่ศกึ ษาดูงาน) มตี วั อยา งชมุ ชนที่ทําเรอ่ื งนอี้ ยา ง เขมขน คือ อบต.ดอนหญานาง อ.ภาชี จ.พระนครศรีอยุธยา เปน ชุมชนท่ีเนน การเลือกนําเทคโนโลยี พลังงานไปใชใหส อดคลองกบั ความตอ งการทีห่ ลากหลายของคนในชมุ ชน ซง่ึ มที ้งั ทาํ นา ทาํ สวน และคาขาย รวมทง้ั เดินหนาสรา งจิตสํานึกผานการทํางานกับโรงเรียน และนักเรียนในพ้ืนที่หวังการเรียนรูท่ีซึมลึกวา พลังงาน คือ สวนหน่ึงของชีวิตท่ีตองใสใจและจัดการ จึงเกิดแหลงเรียนรูจากการ ทําจริงกระจายอยูท ่ัว ชุมชน 6. ดา นสุขภาวะและสิ่งแวดลอ ม ผลอีกดานหน่ึงของการจัดการพลังงานชุมชนไปใชอ ยางมี เปาหมาย ดังตัวอยาง ต.คอรุม อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ ท่ีมีสํานักงานพลังงานภูมิภาคท่ี 9 เขามาเสริมตอ แนวทางเศรษฐกิจพอเพยี ง ท่ชี มุ ชนทําอยูเดมิ อยางเขม แขง็ นั้นใหมนั่ คงยิ่งข้ึน มกี ารอบรมทําปุยอนิ ทรีย ซ่งึ การลดการใชสารเคมีจะชวยใหส ุขภาพของคนในชุมชนและสิ่งแวดลอ มดีขึ้น มีจุดเผยแพร ศูนยเ รียนรู พลังงาน มีการอบรมการทําไบโอดเี ซล อบรมเผาถาน เปนตน

22 | ห น้ า 7. ดา นบญั ชพี ลังงานครัวเรอื น การทาํ บญั ชคี า ใชจ ายดานพลังงานถือเปน หัวใจ หรือจุดเริ่มตนของ การไดมาซ่ึงขอ มลู ในการสรางความรว มมอื หาทางออกของการประหยัด ลดคาใชพ ลังงาน แทบทุกชุมชนใช เปนเครอ่ื งมือ รวมท้ัง อบต.บางโปรง อ.เมอื งจ.สมุทรปราการ ท่ีสํานักงานพลงั งานภูมิภาคท่ี 1 ไดเ ขา ไปเช่ือม ตอ แนวทางการพฒั นาชุมชนในวิถีเศรษฐกิจพอเพียง ในแบบเฉพาะของสังคมกึ่งเมืองก่ึงอุตสาหกรรม ท่ีมี ทรพั ยากรท่จี ะแปลงมาเปนพลังงานทดแทนไดนั้นมนี อย ชมุ ชนจงึ เดนิ หนาดวยการสรางจติ สํานกึ กบั เครอ่ื งมือ “บัญชพี ลงั งานครวั เรอื น” ที่ไมต องลงทนุ เพราะทุกคนทําไดด ว ยตวั เองและทําไดตลอดเวลา น่ีคือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนจากการรูจักการบริหารจัดการและการใชพ ลังงานชุมชนอยางมี ประสิทธิภาพ เปน วิถีพลังงานชมุ ชนของคนพอเพียง ท่ีกาํ ลังขยายผลออกไปอยางกวา งขวาง และเราทุกคน สามารถมสี วนรวมได และเร่มิ ไดตลอดเวลา เราสามารถชวยจดั การกับปญ หาพลังงานใหห มดไปได เมอื่ เรารู จักพ่ึงตนองและใชช ีวิตดว ยความพอประมาณ ความมีเหตุผล และมีภูมิคุม กัน อันเปน หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งทจ่ี ะนาํ ไปสูก ารจดั การพลังงานชุมชนอยางยงั่ ยนื

ห น้ า | 23 กิจกรรมท่ี 2 จากขอความตอ ไปน้ี ใหผเู รียน วเิ คราะหเขยี นสงอาจารยป ระจาํ กลมุ และ นาํ เสนอเพอื่ แลกเปล่ยี น เรียนรู “การโฆษณาในโทรทัศน และวทิ ยปุ จ จบุ นั ถา ยังโฆษณากันอยางบา เลือดอยอู ยา งน้ี จะไปสอนใหคน ไมซ ื้อไมจ า ย และใหบรโิ ภคตามความจาํ เปน ไดอยา งไร ในเม่ือปลอ ยใหมกี ารกระตุนการบรโิ ภคแบบเอาเป นเอาตายอยูเ ชน นี้ ผคู นก็คิดวา อะไรทต่ี วั เองตองการตองเอาใหไ ด ความตอ งการถูกทาํ ใหกลายเปนความจําเป นไปหมด” ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................

24 | ห น้ า บทที่ 3 การแกป ญ หาชมุ ชน สาระสาํ คัญ การแกปญหาชมุ ชนโดยใชป รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยพืน้ ฐานก็คอื การพ่งึ พาตนเอง เป นหลักการทําอะไรเปน ข้ันตอน รอบคอบ ระมดั ระวงั พิจารณาถึงความพอดีพอเหมาะพอควร ความ สมเหตสุ มผล และการพรอมรบั ความเปล่ยี นแปลง การสรา งความสามัคคีใหเกดิ บนพ้นื ฐานของความสมดลุ ในแตละสดั สวนแตล ะระดับครอบคลุมทงั้ ดานจติ ใจ สังคม เทคโนโลยีทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม รวมถงึ เศรษฐกจิ ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั 1. สาํ รวจและวเิ คราะหปญ หาของชุมชนดานสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอ มและวัฒนธรรม พ้ืนฐาน ของหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. อธบิ ายแนวทางพัฒนาชุมชนดา นสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอ มและวัฒนธรรมตามหลักแนวคิด ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได 3. เสนอแนวทางและมีสว นรว มในการแกปญ หา หรือพัฒนาชุมชนดานสังคม เศรษฐกิจ ส่งิ แวดลอมและวฒั นธรรมโดยใชป รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. มีสวนรว มในการสงเสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ของบคุ คล ชมุ ชนทปี่ ระสบผลสาํ เรจ็ ขอบขา ยเน้ือหา เร่ืองท่ี 1 ปญ หาของชมุ ชน เรอื่ งที่ 2 การจัดทาํ แผนชมุ ชน เรอ่ื งท่ี 3 การประยุกตใชเ ศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่ือแกไ ขปญ หาชุมชน

ห น้ า | 25 เร่ืองที่ 1 ปญหาชุมชน ในแตล ะชุมชนจะมีปญ หาที่แตกตา งกันออกไป ข้ึนอยูกับบริบทของชุมชน แตโ ดยทั่วไป เราสามารถแบง ปญ หาของชมุ ชน ออกในดานตา งๆ ดงั นี้ 1. ปญ หาดา นการศึกษา อาทิเชน จํานวนผูไมร ูห นังสือ ระดับการศึกษาของประชาชนอัตรา การศึกษาในระดบั ตา งๆ และแหลงเรียนรูในชมุ ชน เปนตน 2. ปญ หาดานสุขภาพอนามัย ไดแ ก ภาวะทุโภชนาการ คนพิการ โรคติดตอ โรคประจําตัว อัตราการตายของทารกแรกเกิด สถานพยาบาลในชุมชน การรับบริการดานสาธารณสุข เปนตน 3. ปญหาดานสังคม การเมือง การปกครอง ไดแก การเกิดอาชญากรรม แหลง อบายมขุ ความขดั แยงทางการเมือง กิจกรรมทเ่ี กีย่ วขอ งกับการเลือกตงั้ ในระดับตา งๆ 4. ปญหาดานส่ิงแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติไดแก ปญหามลภาวะตา งๆ การทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ของมลู ฝอยกับธรรมชาติตา งๆ 5. ปญหาดานศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ไดแ ก การสืบทอด อนรุ ักษแ ละการปฏิบัติศาสนกิจของ ประชาชน ท่ีสง ผลถงึ ความรกั และความสามคั คขี องคนในชาติ เชน - ดา นการศึกษา - สขุ ภาพอนามยั - ดา นสังคม/การเมืองการปกครอง - สงิ่ แวดลอ ม - ศาสนาวัฒนธรรม คณุ ธรรม ควรแยกปญหาเปนดา นๆมากกวา การยกมาเปนอยา งๆ ใหผเู รียนจําแนกและคน หาปญ หาในชุมชน ของตนเอง แนวทางการแกปญหาชุมชน เนนเร่ืองปญ หา เปนการเปล่ียนแปลงที่เอาปญหามาเปน ตัวตั้ง แลว หาแนวทางจัดการหรือ แกปญ หาน้นั ๆ ชุมชนเปลี่ยนแปลงไปหรือไมอ ยางไร ดูทีป่ ญหาวา มีอยแู ละแกไ ขไปอยางไร เนนเรื่องอํานาจ เปนการเปล่ียนแปลงที่มองตัวอํานาจเปนสําคัญชุมชนเปลี่ยนแปลงไปหรือไม อยางไร ดทู ่ีใครเปน คนจดั การ อํานาจในการเปลยี่ นแปลงอยูทไี่ หน ศกั ยภาพในการเปล่ียนแปลงเพ่มิ ข้ึนหรอื ไมและสุดทายมีการเปลี่ยนโครงสรางอาํ นาจหรือไม เนนการพฒั นา เปน การเปลี่ยนแปลงทีเ่ นน ที่พลังจากภายในชมุ ชน ดาํ เนินการเปลีย่ นแปลงชุมชน โดยการตดั สินใจ การกระทําของคนในชุมชนเอง ไมไ ดไปเปลี่ยนที่คนอื่น หากเปน การเปล่ียนท่ีชุมชน และ ไมไ ดเ อาตวั ปญหาเปน ตวั ตง้ั แตเ ปนความพยายามทจ่ี ดั สรางชุมชนทีพ่ ่งึ ตนเอง และสามารถยนื อยไู ดดว ยตน เอง

26 | ห น้ า เรอื่ งท่ี 2 การจดั ทําแผนชมุ ชน การแกปญหาชุมชนท่เี ปนรูปแบบและขน้ั ตอน นา จะใชการแกป ญ หาในรูปแบบชมุ ชนโดยชุมชนจะ ตอ งมคี ณะทาํ งานที่มาจากหลายภาคสวน เขามามีสว นรว มในการแกปญ หาของชุมชนดว ยตนเอง โดยนํา เอาปญหา และประสบการณของชุมขน มาวิเคราะห จัดลําดับและแนวทางการแกไ ข มารวมกัน พิจารณา ปญหาในบางเร่ือง ชมุ ชนสามารถแกไ ขไดด วยตนเอง ปญหาใหญๆ และซบั ซอนอาจตองจัดทาํ เป นโครงการ ประสานงาน หนวยงาน องคการภาครัฐ หรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือหนว ยงานท่ีมี การรบั ผดิ ชอบ และมศี ักยภาพโดยตรง ตลอดจนโครงการของรัฐบาล การจัดทําแผนชุมชนนาจะเปน เนื้อหา สาระหน่ึงที่ ชุมชนจะตองไดรับการฝกฝน เพราะใน ปจ จุบันนี้ ทางราชการไดใ ชแ นวทางของแผนชุมชนเปนแนวทางในการพัฒนา ไมวาจะเปน โครงการ กองทนุ เศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการ SML และโครงการขององคการตา งๆ แมก ระท่งั องคการปกครองสว น ทองถ่นิ เรอ่ื งที่ 3 การประยกุ ตใ ชเศรษฐกิจพอเพยี งเพอื่ แกปญ หาชุมชน ดา นจติ ใจ มจี ติ ใจเขม แข็ง พึง่ ตนเองได / มีจิตสํานึกท่ีดี / เอื้ออาทร / ประนีประนอม นึกถึงผล ประโยชนสว นรวมเปนหลกั ดานสังคม ชว ยเหลือเกือ้ กลู กัน / รรู กั สามคั คี / สรางความเขมแข็งใหค รอบครวั และชมุ ชน ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รูจักใชแ ละจัดการอยา งฉลาดและรอบคอบ / เลือกใช ทรัพยากรทีม่ ีอยูอยางคุมคา และเกดิ ประโยชนสงู สดุ / ฟนฟทู รพั ยากรเพ่อื ใหเกดิ ความยงั่ ยนื สงู สดุ ดานเทคโนโลยี รูจักใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคลองกับความตองการและสภาพแวดลอม (ภูมิสังคม) / พฒั นาเทคโนโลยีจากภมู ิปญ ญาชาวบานเองกอ น / กอใหเกิดประโยชนก บั คนหมมู าก การประยกุ ตใ ชปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง - โดยพนื้ ฐานกค็ อื การพงึ่ พาตนเอง เปนหลัก การทําอะไรเปน ขัน้ ตอน รอบคอบ ระมัดระวัง - พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะพอควร ความสมเหตุสมผลและการพรอมรับความ เปลีย่ นแปลง - การสรา งสามคั คีในเกดิ ข้ึนบนพืน้ ฐานของความสมดุลในแตล ะสัดสวนแตละระดบั - ครอบคลุมทั้งดานจิตใจ สังคม เทคโนโลยีทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอมรวมถึงเศรษฐกจิ การจัดระเบียบชมุ ชน 1. การชว ยตนเอง (Self – help) หมายถึงการเปล่ียนแปลงทชี่ มุ ชนคน หาปญหา รับสมัครสมาชิก และใหบ ริการกันเอง โดยรบั ความชวยเหลอื จากภายนอกใหนอยทสี่ ุด

ห น้ า | 27 2. การสรางพนั ธมติ ร (Partnership) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงการดําเนินการโดยคนในชุมชนที่ มปี ญหา รวมตัวกนั รับความชวยเหลอื จากภายนอก โดยเฉพาะดานการเงนิ 3. การทาํ งานรวมกนั (Co production) หมายถงึ การจดั ตัง้ กลุม องคก รในชุมชนข้ึนมารับผิดชอบ กจิ กรรมรวมกบั หนว ยงานภาครฐั 4. การกดดนั (Pressure) หมายถึงการเปล่ียนแปลงทค่ี นในชุมชนคนหาประเด็นปญ หาของตนมา จดั การ แตเปน การจัดการภายใตก ฎเกณฑของบา นเมือง ดวยการโนม นา วใหนักการเมืองและขาราชการ เปลี่ยนแปลงนโยบาย 5. การประทว งคดั คา น (Protest) หมายถึงการรวมตัวกันของประชาชน และมีการจัดระเบียบท่ี มุงกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกจิ และการเมือง ทาํ อยา งไรจงึ จะจัดชุมชนใหมกี ารทํางานอยางมีประสิทธิภาพ กจิ กรรมทชี่ มุ ชนตอ งรบั ผดิ ชอบคอื - ตงั้ คณะกรรมการบรหิ าร - ประเมนิ สภาพของชมุ ชน - เตรียมแผนการปฏิบตั ิงาน - หาทรพั ยากรท่จี าํ เปน - ทําใหแนใจวา กิจกรรมของชุมชนทง้ั หมด จะตองมกี ารติดตามและการบริหารที่มีประสิทธิภาพ สงู สดุ สาํ หรบั การปฏิบัติงาน การประเมินสภาพชมุ ชน - ชมุ ชนการดาํ เนนิ กจิ กรรมของตนเองโดยองิ ขอมลู สารสนเทศ - วิเคราะหช ุมชนหรือเร่ืองราวของชุมชน คณะกรรมการบริหารจะตอ งทําการประเมินดว ย คณะกรรมการเอง - มองปญหาและหาทางแกไข ทรัพยากรและขอจํากัด - ประเมินสิ่งท่คี นพบใหผสมผสานกันเปนองคร วมท่ีจะเสนอใหชมุ ชนไดร บั ทราบ - การประเมินเปน ส่ิงที่ตอ งกระทาํ กอนท่ีจะมีการวางแผนปฏิบตั ิงานของชมุ ชนใหแ นใ จวาชุมชนมี ความเขาใจท่ีถกู ตองตรงกันกับสิ่งท่ีคณะบริหารไดส ังเกตมา และเปนความเห็นรว มกันเก่ียวกับธรรมชาติ และขอบเขตของปญหาและศักยภาพ การเตรยี มแผนปฏิบัติการชุมชน - ชุมชนเปน ผกู ําหนดอนาคตของตนเอง - การตดั สนิ ส่ิงทต่ี องการเฝาสังเกตสงิ่ ทม่ี อี ยู และทําความเขาใจขั้นตอนที่ตองการ เพ่ือใหไดส ่ิงที่ ตองการทัง้ หลายทง้ั ปวง คือพน้ื ฐานการวางแผน

28 | ห น้ า - เนื้อแทของการวางแผนการจัดการ ฀ เราตองการอะไร ฀ เรามอี ะไรอยูในมอื ฀ เราจะใชส ิง่ ทอ่ี ยใู นมืออยา งไร ใหไดส ่งิ ทเ่ี ราตอ งการ ฀ อะไรจะเกิดข้นึ เมื่อเราทํา แผนปฏบิ ัตกิ ารของชมุ ชน ควรชี้ใหเ ห็นถงึ - เดยี๋ วนี้ ชุมชนเปน อยา งไร - เมื่อสิ้นสุดแผนแลวตองการทจี่ ะเปนอยา งไร - จะไดอ ะไรจากการเปล่ยี นแปลง - คณะกรรมการบริหารจะเปนผูรา งแผนปฏิบัติจากขอมูลสะทอนกลับของชุมชน จากการ ประเมินปจจุบันรางแผนปฏิบัติการ ควรนําเสนอตอชุมชนท้ังหมดเพื่อการปรับแผน และการอนุมัติจาก ชมุ ชน ฀฀฀฀

ห น้ า | 29 กจิ กรรมท่ี 3 ใหผ ูเรียนแบง กลมุ กลุมละ 5-10 คน ศกึ ษาปญ หาของชมุ ชน จัดปญ หาเปนกลมุ ๆ และหาแนวทาง แกป ญ หา ทานคดิ อยา งไรเกีย่ วกับประเดน็ ตอ ไปนี้ “มีเรื่องจริงเกี่ยวกับนา สาวกับหลานชายจากปลายทุง อยุธยาซ่ึงมีท้ังปลาและพืชผักพ้ืนบานอุดม สมบูรณ นา มีการศึกษาสูงจึงยายไปเปน ครูอยูในเมืองใหญ เวลากลับไปเยี่ยมบานเธอจะรับประทาน อาหารจําพวกปลาและผักพ้ืนบา นดว ยความพอใจ สว นหลานชายมักบน วาปลาและผักพื้นบา นเปน อาหารลา สมัย หนุม นอยคนน้ันจึงชอบขับมอเตอรไซค เขาไปในตลาดเพื่อรับประทานอาหารทันสมัย ไดแกบะหมส่ี ําเรจ็ รปู นํา้ อัดลม ขนมกรุบกรอบ” ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................

30 | ห น้ า กิจกรรมท่ี 4 ใหผเู รยี นแบง กลมุ 5-10 คน ใหว ิจารณส ถานการณโ ลกวาเหตุใดประเทศท่ีมีความเจรญิ กาวหนา อยา งประเทศสหรฐั อเมรกิ าจึงประสบปญ หาเศรษฐกิจตกตํา่ ใหผ เู รียนบนั ทกึ สาเหตทุ ีท่ ําใหภ าวะเศรษฐกจิ ตกตํ่าท่ัวโลก ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................

ห น้ า | 31 บทท่ี 4 สถานการณข องประเทศไทย และสถานการณโลกกบั ความพอเพียง สาระสําคญั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มุงเนนใหเ กิดการพิจารณาอยางรอบดาน มีความรอบคอบ และ ระมัดระวังในการวางแผนและการดําเนินงานทุกขั้นตอน เพื่อมิใหเกิดความเสียหายตอการพัฒนา เปนการพฒั นาทค่ี ํานงึ ถงึ การมรี ากฐานท่ีม่ันคงแข็งแรง สรางการเจริญเติบโตอยางมลี ําดับข้นั ตอน สามารถ ยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ทงั้ ทางกายภาพและทางจิตใจควบคูกนั หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียงจึงมิไดข ัดกับ กระแสโลกาภวิ ัฒน ตรงกันขามกลับสง เสรมิ ใหกระแสโลกาภวิ ัฒนไ ดรับการยอมรับมากข้ึน ดวยการเลือก รับการเปลี่ยนแปลงท่ีสง ผลกระทบในแงด ีตอประเทศ ในขณะเดียวกันตองสรา งภูมิคุมกันในตัวท่ีดี พอสมควรตอการเปลี่ยนแปลงในแงทไี่ มด ีและไมอาจหลีกเล่ียงได เพ่ือจํากดั ผลกระทบใหอ ยใู นระดับไมกอ ความเสียหายหรือไมเปนอันตรายรา ยแรงตอประเทศ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตระหนักในความสําคัญของการพัฒนาประเทศภายใตก ระแสโลกาภิวัฒนแ ละเลือกแนวทางหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใ ชในการดําเนินชีวิตอยางสมดุลและพรอ มรับตอ ความเปลี่ยน แปลงของประเทศภายใตกระแสโลกาภวิ ัฒน ขอบขา ยเนอ้ื หา เร่ืองที่ 1 สถานการณโ ลกปจจบุ นั เร่อื งท่ี 2 สถานการณพลงั งานโลกกับผลกระทบเศรษฐกิจไทย

32 | ห น้ า เร่ืองที่ 1 สถานการณโลกปจ จบุ ัน ( ชวงป 2551-2552 ) เมือ่ สหรฐั อเมรกิ าไดพัฒนาเศรษฐกจิ ของตน สูสงู สุดของทนุ นิยมโลก เนือ่ งจากตลาดทนุ จากทั่วโลก หล่ังไหลสูตลาดทุนในสหรัฐอเมริกา หลังจากเกิดวิกฤตเศรษฐกิจเอเซียและขยายตัวออกไปท่ัวโลก สตอกทุนจํานวนมหาศาลในแตล ะประเทศ ไมสามารถนําไปลงทุนได เน่ืองจากเศรษฐกิจชะลอตัวถึงขั้น วกิ ฤต เมด็ เงนิ จากสตอกทนุ ทัว่ ทุกมุมโลกไดไหลบาทะลักสูต ลาดทุนในสหรัฐอเมริกา ปญหาจากการเติบ ใหญของทนุ ในสหรัฐอเมริกาก็คือการขยายพืน้ ทก่ี ารลงทุน เพ่อื กระจายทนุ ออกไป ในขอบเขตปริมณฑลให กวางที่สุด เพอื่ รองรับการขยายตัวของทนุ ทน่ี บั วันจะเตบิ ใหญ ป พ.ศ.2541 ขณะท่ีวิกฤตเศรษฐกิจกําลังเปน ภัยคุกคามประเทศตา งๆ จากท่ัวโลก ตลาดทุนใน สหรฐั อเมรกิ า กลบั พงุ ทะยานอยางรวดเรว็ ดัชนีหนุ Dow Jones พงุ ทะยานทะลุ 10,000 จุดเปนครั้งแรก และสูงสุดกวา 11,000 จุด Nasdaq สูงกวา 3,800 จุดสรา งความเลื่อมใสศรัทธา งุนงง และไมเขาใจตอ เศรษฐกจิ อเมรกิ า ท่สี วนทางกับวิกฤตเศรษฐกิจโลก ซ่ึงจริงๆ แลวเปน เร่ืองท่ีสามารถทําความเขา ใจไดไม ยาก เมื่อสตอกทุนในแตละประเทศ ไมส ามารถนําไปลงทนุ ภายในประเทศได และความเช่ือม่ันในตลาดทุน อเมริกา ยังคงอยูใ นความรูสึกที่ดีของนักลุงทุน ดังน้ัน ทุนจากท่ัวทุกมุมโลกจึงหล่ังไหลเขาสูตลาดทุนใน อเมริกา เม่ือตลาดทุนในอเมริกาไมไดเ ติบโตบนพื้นฐานของความเปนจริง การเติบโตทางเศรษฐกิจแบบ ฟองสบูข องสหรัฐอเมรกิ า จึงนา จะยนื อยูไดไมน าน ป 2001 ปฐมวัยยา งกาวแรก ของรอบพันปท ี่ 3 บริษัทยักษใ หญใ นสหรัฐอเมริกาเริ่มทยอย ประกาศผลประกอบการกาํ ไรทลี่ ดลง และการประกาศปลดพนกั งาน เชนเม่ือเดือนธนั วาคม 2543 เจเนอรลั มอเตอรส (จีเอม็ ) ปลดพนักงาน 15,000 คน วันพุธท่ี 24 มกราคม 2544 ลูเซนตเ ทคโนโลยี ผูผลิตอุปกรณ โทรศัพทย ักษใ หญป ระกาศปลดพนักงาน 16,000 ตําแหนง เวิรลพูลผูผลิตเคร่ืองใชไ ฟฟาปลดพนักงาน 6,000 คน เอโอแอลไทม วอรเ นอร กิจการส่ือยุคใหมจากการผนวกระหวางอเมริกาออนไลน กับ ไทม วอรเนอรป ลดพนกั งาน 2,000 คน การแกวงตัวอยา งไรทิศทางและไมชัดเจนของตลาดทุนในสหรัฐอเมริกา เริ่มท่ีจะผันผวนและไมแน นอน นักลงทุนเร่ิมไมแนใจตอ ความเชื่อมั่นตลาดทุนอเมริกา และเมื่อนายคิอิชิ มิยาซาวา รัฐมนตรีคลัง ญี่ปุน กลา วเมื่อวันท่ี 8 มีนาคม 2544 ในการชี้แจงตอ คณะกรรมาธิการงบประมาณของวุฒิสภา ยอมรับ ความปราชัยทางเศรษฐกิจอยา งเปน ทางการครั้งแรก หลังจากท่ีเศรษฐกิจญ่ีปุนผุกรอนเปนปญ หายืดย้ือ ยาวนานมารวม 10 ป วา ฐานะการเงินของประเทศกําลังย่ําแยเต็มที หรืออาจกลาวไดว า ใกลจะลม ละลายแลว สัปดาหร งุ ขึน้ หลงั การแถลงของมยิ าซาวา ตลาดทนุ ในสหรฐั อเมรกิ า นําโดย NASDAQ รวงลงกวา 30% ตามดว ย Dow Jones, S&P และตลาดทุนท่ัวโลก พังทะลายลงทันที จอรจ บุช เรยี กสถานการณน ้ี วาเปน World Stock Crisis

ห น้ า | 33 ขณะท่นี ักลงทุนจากทว่ั โลก เกิดความไมเ ชอื่ ม่นั ตลาดทนุ ในสหรฐั อเมรกิ า เหตุการณค วามตึงเครียด ในภูมิภาคตา งๆ ทั่วโลก ในชว งของเดือนมีนาคม 2544 ไลต ้ังแตก ารประกาศจะพัฒนาขีปนาวุธ ปองกนั ตนเองของสหรัฐอเมรกิ า การจับตัว มโิ ลเซวิช อดตี ผูนาํ ยูโกสลาเวีย การตอ สูข องชาวปาเลสไตนท่ี พัฒนาจากการขวา งกอ นอิฐกอนดิน มาเปนการวางระเบิดและมีการใชป น ความตึงเครียดในเชสเนีย การทําลายพระพุทธรูปทใี่ หญท่ีสุดในโลกของกลุมตาลีบัน ในอัฟกานิสถาน ไดส รางแผลลึกในจิตใจของ ชาวพทุ ธ ตอ ชาวมุสลมิ องคทะไลลามะธเิ บต เยือนใตห วัน เรือดําน้ําอเมริกาโผลท ่ีเกาะแหงหนึ่งในญ่ีปุน โดยไมม ีการแจงลวงหนา สหรัฐอเมริกาประกาศขายอาวุธแกใตห วัน ปดทา ยดวยการยั่วยุจีน ดว ยการใช เครื่องสอดแนมบินรุกลํ้าเขาไปในนา นฟา จีน กระท่ังทําใหจ ีนตอ งใชเ คร่ืองบินขับไลสองลํา ข้ึนบังคับให เครือ่ งบนิ สอดแนมของสหรัฐลงจอดบนเกาะไหหลาํ เหตุการณท่ีเกิดความตึงเครียดดังกลา ว ลวนเกิดขึ้นใน เดือนมนี าคม ขณะท่วี ิกฤตตลาดทุนของสหรัฐอเมริกากําลังเกิดขึ้นพอดี โดยเบ้ืองลึกจะเกิดจากการสรา ง สถานการณโ ดยสหรัฐอเมริกาหรือไมก ็ตามภายในระยะเวลาเพียงหน่ึงเดือน ดัชนีตลาดหุน Dow Jones ก็ดีดกลบั ขน้ึ มายืนอยูในระดับท่ีสงู กวา เดือนมกราคมเสียอีก ทั้งท่ีเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา ยังตกอยูใ น ภาวะท่ีเลวราย สถานการณเ ศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา – ญี่ปุน กําลังจะนําไปสูวิกฤตเศรษฐกิจทุนนิยม การเตรียม พรอ มของสหรัฐอเมริกาในการต้ังรบั และเปด แนวรกุ ตอสถานการณดงั กลา วมานานกวา 20 ป น่ันก็คือการ เตรียมพรอ มดา นยทุ ธศาสตร “การทาํ สงครามเลี้ยงเศรษฐกิจ” เนอ่ื งจากสหรัฐอเมรกิ า ไดพัฒนาปจจัยการ ผลิตสูยุค IT (Information Technology) ดังน้ัน ยุทธศาสตร ยุทธวิธี ทางสงคราม ไดถูกพัฒนารูปแบบ สงครามสูย ุค IT ขณะที่รูปแบบยุทธศาสตร - ยุทธปจจัย ของประเทศตา งๆ ท่ัวโลก ยังคงใชรูปแบบของ สงครามในยุคอุตสาหกรรม (บางประเทศมหาอาํ นาจอยาง จีน –รัฐเซยี รปู แบบสงครามอาจพฒั นาสูย ุค IT แลว แตย งั ไมม ีการสาธติ เชน สหรัฐอเมริกาทไี่ ดผ า นการสาธติ แลวในสงครามอาว) ประเทศจีนหลังจากท่ี เติ้งเซี่ยวผิง ไดประกาศนโยบายสี่ทันสมัย นําประเทศจีน สูการพัฒนาดา นพลัง การผลิต ดว ยนโยบาย หน่ึงประเทศสองระบบ ทําให GDP จีน เติบโตระหวาง 8–12% มาโดยตลอด แมป จจุบนั ทว่ี ิกฤตเศรษฐกจิ โลกสงผลกระทบกบั ทกุ ประเทศ การเติบโตทางเศรษฐกิจ ของจนี กย็ ังยืนอยใู นระดับ7-8% จากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนดังกลา ว ยอมที่จะไปกระทบ และขดั ขวางตอ ผลประโยชนของสหรฐั อเมริกา ในการที่จะแผอิทธิพลสูก ารเปนจักรวรรดินิยมจาวโลก ดัง นั้น ความพยายามในการที่จะทําลายจีนใหออนกําลังลง ดว ยการแยกสลายจีนจาก 8 เขตปกครองตน ใหเ ปน ประเทศเชนเดยี วกับรัสเซียจึงนับเปนสุดยอดของยุทธศาสตร อันจะนําไปสูค วามสําเร็จของการ เปนจกั รวรรดนิ ิยมจาวโลก

34 | ห น้ า เรอ่ื งท่ี 2 สถานการณพ ลังงานโลกกบั ผลกระทบเศรษฐกิจไทย ปญหาเรงดวนในปจ จุบันท่สี งผลกระทบตอเกอื บทกุ ประเทศในโลก คือ การท่ีราคานํ้ามันไดส ูงข้ึน อยา งรวดเรว็ และตอเน่อื งในชวงเวลา 4-5 ปท ผ่ี า นมา และ ดเู หมือนน้ํามันในปน้ี (พ.ศ.2551) จะแพงสูงสุด เปน ประวตั ิการณแ ลว ภาวะน้ํามันแพงทําใหต น ทุนดานพลังงาน (โดยเฉพาะอยา งยิ่งในการขนสง ) สูงข้ึน อยา งรวดเร็ว มีผลลูกโซตอไปยงั ราคาสนิ คา และบรกิ ารตา งๆ นอกจากจะทําให คาครองชีพสูงข้ึนมากแลว ยงั เปน อปุ สรรคตอ การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ อีกดวย ผลกระทบเหลา น้ีไดก อ ใหเกิดการประทว งของกลุม ผูท ่ีตองแบกรับภาระ เชน คนขับรถบรรทุก และชาวประมงในหลายประเทศ รวมทั้งการเรียกรอ งใหรัฐบาลยื่นมือเขามาแทรกแซงและใหค วามชว ย เหลอื ปญ หาราคานํา้ มันแพงมากในชว งนถ้ี อื ไดว า เปน วกิ ฤตการณน ํา้ มนั ครง้ั ที่ 3 ของโลกก็วาได 7 ปจ จัย ตนเหตุน้าํ มันแพง ! ราคานํา้ มันดบิ ในตลาดโลกเร่ิมขยับตัวขึ้นสูงอยา งเห็นไดช ัดในป 2547 โดยราคาน้ํามันดิบ สูงข้ึน บารเ รลละประมาณ $10 เปนกวา $38 ตอ บารเรล และหลังจากน้ันเปน ตน มา ราคาก็มีแนวโนม สูงข้ึนโดย ตลอด จะมลี ดลงบา งในบางคร้ังเปน ชวงสั้นๆ เทาน้ัน โดยความผันผวนของราคามีมากข้ึน แตก ารเปล่ียน แปลงเปนไปในทางเพิ่มมากกวา ทางลด ในชว งปลายป 2550 ราคานํ้ามนั ดบิ พุง สงู เกิน $100 ตอ บารเรล ซึ่งนอกจากจะเปน ระดบั ท่ีสูงท่ีสุด เปน ประวัติการณในรปู ของราคาปปจ จบุ ัน ในชวงครึง่ ปแรกของป 2551 ราคาน้ํามนั กย็ ังคง ขยับสงู ขึ้นอยาง ตอ เนอ่ื งและอยูในระดับกวา $130 ตอ บารเรลในสัปดาหท่ี 2 ของเดือนมถิ ุนายน 2551 มีบทความขอเขียน จํานวนมากทไี่ ดวเิ คราะหแ ละอธิบายสาเหตุของภาวะนํ้ามันแพงดังกลาว สว นใหญมีประเด็นท่ีเหมือนกัน และสอดคลอ งกัน ดังน้ี 1 กําลังการผลิตสว นเกิน (excessproduction capacity) ในตลาดน้ํามันดิบอยูในระดับท่ี คอนขา งตา่ํ มาตลอด 5 ปท ผี่ านมา ทัง้ นี้ เปน ผลจากการท่ีประเทศ ผูผลิตน้ํามันหลายแหง ขาดแรงจูงใจใน การขยายกําลงั การผลติ ในชว งท่ีราคานํ้ามนั อยูใ นระดบั คอ นขา งต่ําในชวงทศวรรษ 1990 หนวยงานพลังงาน ของสหรัฐ (EIA) รายงานวา ในเดือนกันยายน 2550 OPEC มีกําลังการผลิตสวนเกินเพียง 2 ลา นบารเ รลตอวัน (ประมาณ 2% ของปรมิ าณการใชน้ํามันของโลก) โดยประมาณ 80% ของสวนเกินนี้ อยูใ นซาอดุ ีอาระเบียเพียงประเทศเดยี ว 2 การผลติ น้าํ มนั จากแหลงใหมๆ ในโลก เริ่มมีตน ทนุ ท่ีสูงมากขึ้น ท้ังน้ีอาจเปนเพราะแหลงน้ํามัน ขนาดใหญๆ ถูกคนพบและใชงานเปนสว นใหญแลว ยังเหลืออยูก ็จะเปน แหลงน้ํามันขนาดเล็ก หรือท่ีมี คุณภาพต่ํา หรือท่ีอยูในถ่ินทุรกันดาร/นํ้าทะเลลึกๆ ซ่ึงมีตนทุนการสํารวจและการผลิตที่สูงมาก มีการ วเิ คราะหพบวา ในปจ จุบันตน ทนุ การผลิตนํ้ามันในปริมาณ 4 ลานบารเรลตอ วัน (คิดเปน 5% ของปริมาณ

ห น้ า | 35 การผลติ ของโลกในปจจุบัน) มีตนทุนการผลิตสูงถึง $70 ตอ บารเรล ตัวอยางท่ีเห็นไดช ัด คือ ทรายน้ํามัน (tars sands) ในแคนาดา ซึ่งเรม่ิ ผลิตออกมาแลว และมีตนทนุ การผลิตไมตาํ่ กวา $60 ตอ บารเรล 3 ในประเทศผูผ ลิตและสง ออกน้ํามันรายใหญห ลายราย การผลิตน้ํามันมีโอกาสหยุดชะงักได (supply disruption) เพราะเหตุจากความไมส งบทางการเมือง สงคราม และภัยธรรมชาติ เหตุการณ สําคัญทบ่ี ง ชถี้ ึงปญ หานี้ ไดแก การบุกอิรกั ของกองทัพสหรัฐในป 2546 ทําใหก ําลังการผลิตน้ํามันของอิรัก ลดลงระดับหนงึ่ และความไมส งบซงึ่ ยงั คงเกดิ ข้นึ ในประเทศหลงั จากน้นั ยงั เปน อุปสรรคสําคัญตอ การผลิต และการสงออกนาํ้ มันของอริ กั ใหก ลับไปสรู ะดบั ปกติ ความขัดแยง ระหวา งอิหรานกับประเทศตะวันตกเกี่ยวกับโครงการพัฒนานิวเคลียรของอิหราน (ซึง่ เปน ผผู ลติ นํ้ามนั มากเปนอันดับที่ 4 ของโลก) กอใหเกิดความตึงเครยี ดในภูมภิ าคตะวนั ออกกลางระหวาง อิหรา นและสหรฐั โดยอหิ รานประกาศวาจะใชน า้ํ มันเปน อาวุธเพื่อตอบโตมาตรการควา่ํ บาตรของสหรฐั และ ในป 2551 ไดม กี ารเผชญิ หนากันระหวางทหารอิหรานและทหารสหรัฐในบริเวณชองแคบฮอรมุซ ซึ่งเปน ทางผานสําคญั สําหรับการขนสง นา้ํ มันจากตะวันออกกลาง พายุเฮอรริเคนในแถบอาวเม็กซิโกในเดือนกันยายน 2548 มีผลกระทบตอ แทน ผลิตนํ้ามันของ เม็กซิโก และโรงกล่ันท่ีต้ังอยูต อนใตของสหรัฐ มีผลใหราคานํ้ามันเบนซินในสหรัฐเพิ่มสูงขึ้นเปน $3 ตอ แกลลอน ซ่ึงเปนระดบั ที่สงู สุดในรอบ 25 ป ผกู อการรายในไนจีเรยี คกุ คามแหลง ผลติ น้ํามันหลายครงั้ ทําใหป ระมาณการผลติ และสงออกนํ้ามัน จากไนจีเรยี ลดลงประมาณ 500,000 บารเ รลตอวัน ความขัดแยงทางการเมืองระหวา งรัฐบาลเวเนซุเอลา และรัฐบาลสหรฐั ทาํ ใหการนําเขาน้าํ มันจากเวเนซเุ อลาของสหรฐั มคี วามเส่ียงมากขนึ้ 4 ในหลายประเทศที่สง ออกน้ํามนั ได มกี ารผลิตน้ํามันในปริมาณท่ีลดลงไป เพราะปริมาณสํารอง เรมิ่ มขี อ จํากดั มากข้นึ ในขณะเดียวกันความตอ งการใชน้ํามันในประเทศเหลานี้ก็เพ่ิมข้ึนตามการขยายตัว ของประชากรและเศรษฐกิจดว ย ทําใหห ลายประเทศตอ งลดการสง ออกลง เชน อินโดนีเซีย เม็กซิโก นอรเ วย และองั กฤษ ในระหวางป 2005 ถงึ 2006 การบริโภคนํา้ มันภายในประเทศผสู ง ออก 5 อนั ดับแรก คือ ซาอดุ ิอาระเบีย รัสเซีย นอรเวย อิหราน และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส ไดเ พิ่มสูงข้ึนถึงรอยละ 5.9 และ มีปริมาณการสง ออกลดลงกวารอยละ 3 เมื่อเทียบกับปกอนหนา น้ี หรือในกรณีของอินโดนีเซียท่ีรัฐบาล มกี ารอุดหนุนผูบริโภคภายในประเทศ และกรณีของซาอุดิอาระเบียที่ราคานํ้ามันเบนซินในประเทศอยูท่ี 5 บาทตอ ลิตร ขณะที่มาเลเซียอยใู นระดบั 20 บาทตอลิตร จงึ ทาํ ใหเกิดการคาดการณวา ปรมิ าณการสงออก นํา้ มนั ดบิ ของประเทศผสู งออกนํา้ มันจะลดลงถึง 2.5 ลานบารเรลตอ วนั ภายในชว ง 10 ปนี้ เมื่อไมก เ่ี ดือนมา นี้ขาววารัฐบาลอินโดนีเซียกําลังพิจารณาจะถอนตัวจากการเปนสมาชิก OPEC เพราะอินโดนีเซียจะไม สามารถสง ออกน้าํ มันไดอ ีกตอไปในอนาคตอนั ใกลนี้ 5 นอกจากกาํ ลังการผลติ สวนเกนิ ของนํ้ามนั ดิบจะมนี อย กาํ ลงั การกลนั่ นํา้ มัน ของโลกกม็ ปี ญหาคอ ขวด โดยมีสว นเกนิ นอ ยกวา 1 ลานบารเ รลตอวัน ในขณะเดียวกันตลาดน้ํามันมีแนวโนม ตอ งการใชน้ํามัน ชนิดเบาและสะอาดมากขึน้ จึงสรางแรงกดดันใหโ รงกลัน่ น้ํามันตองลงทนุ ปรับปรงุ คณุ ภาพอกี ดว ย ขอ จํากัด

36 | ห น้ า น้ีจงึ ทาํ ใหร าคาผลติ ภณั ฑน ํา้ มนั มรี าคาสูงข้ึนเพ่ิมไปจากการเพิ่มของราคาน้ํามันดิบ และกําไรของโรงกล่ัน น้ํามันอยใู นระดับที่คอนขา งสูงมาโดยตลอด เปน ท่นี า สังเกตดว ยวาสหรัฐซง่ึ เปน ผูใชน า้ํ มนั รายใหญที่สุดของ โลกไมไดก อสรา งโรงกลั่นนาํ้ มัน แหง ใหมมาเลยตงั้ แตท ศวรรษ 1970 6 ถงึ แมวาราคานํ้ามนั ระหวา งป 2546 ถึงป 2550 จะสงู ข้ึนกวา 3 เทา ตัวแลว แตค วามตองการใช นํา้ มันของโลกก็ไมไดล ดลงเลย กลบั ยังคงเพมิ่ ขนึ้ ในอตั รา 3.55% ในป 2548 และในอัตราท่ียังสูงกวา 1% ใน ปต อ ๆ มา ปรากฏการณเ ชน นแ้ี ตกตางจากท่ีเกดิ ข้นึ ในชวงวกิ ฤตนา้ํ มันสองครั้งแรก (ป 2516/17 และป 2522/23) ซึ่งเราพบวา ราคานํ้ามันที่สูงข้ึนมากทําใหความตองการน้ํามันลดลงในปตอมา ในชว ง 4-5 ป ท่ผี า นมา เศรษฐกิจโลกยงั ขยายตวั ได คอนขา งดี และดเู หมือนจะยังไมไ ดรับผลกระทบจากภาวะราคานํา้ มัน แพงมากนัก จนี และอนิ เดียเปนผูใชพ ลังงานทมี่ อี ทิ ธิพลตอ ตลาดนาํ้ มนั โลก 7 กองทนุ ประเภท hedge funds หันไปลงทนุ ซือ้ ขายเกง็ กําไรในตลาดนํ้ามนั ลวงหนา มากข้ึน ท้ังน้ี เพื่อหลีกเลี่ยงการลงทุนในรูปของเงินดอลลารสหรัฐ ซึ่งในระยะหลังมีแนวโนมออ นคาลงมากเม่ือเปรียบ เทียบกับเงนิ สกุลอน่ื ๆ เนื่องจากภาวะตลาดนํ้ามนั ตามท่ีกลา วมาแลว ช้ีใหเห็นวาราคานํ้ามันมีแนวโนม ที่จะ สูงข้ึน ผจู ดั การกองทุนเหลา นีจ้ งึ เกง็ กาํ ไรโดยการซื้อนํ้ามันไวล ว งหนา เพ่ือขายเอากําไรในอนาคต สง ผลให ราคานา้ํ มันทงั้ ในตลาด spot และตลาดลว งหนา สูงขนึ้ อีกระดบั หน่ึง ปรากฏการณโ ลกรอนและปรากฏการณเรอื นกระจก คา ผิดปกติของอุณหภูมิเฉลี่ยท่ีผิวโลกท่ีเพ่ิมขึ้นในชว งป พ.ศ. 2403–2549 เทียบกับอุณหภูมิ ระหวาง พ.ศ. 2504–2533 คาเฉล่ียอุณหภมู ิผิวพืน้ ทผี่ ิดปกติทีเ่ ทียบกบั อุณหภมู ิเฉล่ยี ระหวา งป พ.ศ. 2538 ถงึ พ.ศ. 2547 ในชว ง 100 ปท ่ีผานมา นับถึง พ.ศ. 2548 อากาศใกลผ ิวดินท่ัวโลกโดยเฉลี่ยมีคา สูงขึ้น 0.74 ± 0.18 องศาเซลเซียส ซึ่งคณะกรรมการระหวา งรัฐบาลวาดว ยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ของสหประชาชาติไดส รุปไววา “จากการ สังเกตการณการเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉล่ียของโลกที่เกิดขึ้นต้ังแตก ลางคริสตศตวรรษท่ี 20 (ประมาณตั้งแต พ.ศ. 2490) คอ นขางแนชัดวา เกิดจากการเพ่ิมความเขม ของแกสเรือนกระจกท่ีเกิดขึ้นโดยกิจกรรมของ มนุษยท ่เี ปน ผลในรูปของปรากฏการณเรอื นกระจก” ปรากฏการณธรรมชาติบางอยาง เชน ความผันแปร ของการแผร ังสจี ากดวงอาทิตยแ ละการระเบิดของภูเขาไฟ อาจสง ผลเพียงเล็กนอ ยตอ การเพ่ิมอุณหภูมิใน ชวงกอ นยุคอุตสาหกรรมจนถึง พ.ศ. 2490 และมีผลเพียงเล็กนอ ยตอการลดอุณหภูมิหลังจากป 2490 เปน ตนมา ขอสรปุ พนื้ ฐานดงั กลาวนไี้ ดร บั การรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตรไม นอยกวา 30 แหง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตรระดับชาติที่สําคัญของประเทศอุตสาหกรรมตา งๆ แมน ักวิทยาศาสตรบ างคนจะมีความเห็นโตแ ยง กับขอ สรุปของ IPCC อยูบาง [4] แตเ สียงสวนใหญข อง นักวทิ ยาศาสตรท ี่ทํางานดา นการเปลี่ยนแปลงของภูมอิ ากาศของโลกโดยตรงเหน็ ดวยกับขอสรุปนี้

ห น้ า | 37 แบบจําลองการคาดคะเนภูมิอากาศ บงชี้วาอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยท่ีผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส ในชวงคริสตศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2544–2643) คา ตัวเลขดังกลา วไดมาจากการจําลอง สถานการณแ บบตา งๆ ของการแผข ยายแกสเรอื นกระจกในอนาคต รวมถงึ การจาํ ลองคาความไวภูมิอากาศ อีกหลากหลายรูปแบบ แตความรอนจะยังคงเพ่ิมข้ึนและระดับน้ําทะเลก็จะสูงขึ้นตอ เนื่องไปอีกหลาย สหัสวรรษ แมว าระดับของแกส เรอื นกระจกจะเขาสภู าวะเสถยี รแลวก็ตาม การทอ่ี ุณหภมู ิและระดบั นํ้าทะเล เขา สูส ภาวะดุลยภาพไดชาเปน เหตุมาจากความจุความรอนของน้ําในมหาสมุทรซึ่งมีคาสูงมาก การท่ี อุณหภูมิของโลกเพ่ิมสูงข้ึนทําใหระดับนํ้าทะเลสูงขึ้น และคาดวา ทําใหเ กิดภาวะลมฟา อากาศ ที่รุนแรง มากขน้ึ ปรมิ าณและรปู แบบการเกดิ หยาดน้าํ ฟา จะเปลี่ยนแปลงไป ผลกระทบอ่ืนๆ ของปรากฏการณโลก รอนไดแ ก การเปลี่ยนแปลงของผลิตผลทางเกษตรการเคลื่อนถอยของธารน้ําแข็ง การสูญพันธุพืช-สัตว ตา งๆ รวมท้งั การกลายพันธุและแพรข ยายโรคตางๆ เพ่ิมมากข้ึนรัฐบาลของประเทศตางๆ แทบทุกประเทศ ไดล งนามและใหส ตั ยาบนั ในพธิ ีสารเกียวโต ซ่งึ มงุ ประเดน็ ไปทกี่ ารลดการปลอ ยแกส เรอื นกระจก แตย ังคงมี การโตเถียงกันทางการเมืองและการโตวาทีสาธารณะไปทั่วทั้งโลกเกี่ยวกับมาตรการวา ควรเปนอยางไร จึงจะลดหรอื ยอ นกลบั ความรอ นท่ีเพ่ิมข้ึนของโลกในอนาคต หรือจะปรับตัวกันอยา งไรตอ ผลกระทบของ ปรากฏการณโ ลกรอ นท่คี าดวา จะตอ งเกดิ ขึ้น พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช (รัชกาลที9่ ) มพี ระราชดาํ รสั เกี่ยวกับปรากฏ การณเรอื นกระจก ทศี่ าลาดสุ ดิ าลัย อยา งลกึ ซงึ้ กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี จงึ ไดร บั สนองกระแส พระราชดาํ รัส นําเขาประชมุ คณะรัฐมนตรี จนกระทงั่ ทาํ ใหว ันที่ 4 ธ.ค. ของทกุ ป เปนวนั สิง่ แวดลอ ม แหงชาติ ตัง้ แตป 2534 เปน ตนมา จากผลงานพระราชดําริและการทรงลงมือปฏบิ ตั ิพฒั นาดวยพระองคเ อง เกี่ยวกับสภาพแวดลอม โดยเฉพาะอยา งย่ิง ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีมีคุณประโยชนตอ คนชนชาติตา งๆ ท้ังดานเศรษฐกิจ สังคม ความมนั่ คงของมนุษยแ ละการเมือง ซึ่งเปน ที่ประจักษไ ปทั่วโลก องคการสหประชาชาติ โดยนายโคฟ อันนัน อดตี เลขาธิการองคการสหประชาชาติ จงึ ไดเ ดินทางมาประเทศไทย ในวาระมหามงคลฉลองสิริราช สมบัตคิ รบ 60 ป เขาเฝาพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห ัว วันที่ 26 พ.ค. 2549 เพ่ือถวายรางวัล “UNDP Hu man Development Lifetime Achievement Award” (รางวลั ความสาํ เรจ็ สูงสดุ ดานการพัฒนามนุษย) ซึ่งเปน รางวัลประเภท Life - Long Achievement และพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัวทรงเปน พระมหากษัตริยพระองคแรกในโลกทไี่ ดรบั รางวลั นี้ องคการสหประชาชาติ ไดย กยองพระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัว เปน “พระมหากษตั ริยนกั พฒั นา” และกลาวถึงปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง (Sufficiency Economy) ของพระองควา เปน ปรชั ญาหรอื ทฤษฎี ใหมท ่ีนานาประเทศรูจ กั และยกยอง โดยท่ีองคการสหประชาชาติไดสนบั สนุนใหป ระเทศตางๆ ทเ่ี ปน สมาชิก ยึดเปนแนวทางสูก ารพัฒนาประเทศท่ยี ่งั ยนื ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มิใชเปนเพียงปรัชญานามธรรม หากเปนแนวทางปฏิบัติซึ่งสามารถ จะชวยท้งั แกไ ขและปองกันปญหาที่เกิดจากกเิ ลสมนุษย และความเปลยี่ นแปลงทซี่ บั ซอนรุนแรงขน้ึ ทกี่ ําลัง

38 | ห น้ า เกดิ ขน้ึ กับมนษุ ยท ง้ั โลก และปญหาทล่ี กุ ลามตอ ถึงธรรมชาตกิ อ ใหเกดิ ความเปล่ียนแปลงใหญใ นเชงิ รนุ แรง และสรา งปญ หายอนกลบั มาทมี่ นษุ ย โดยท่ัวไป มักเขาใจกันวา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เหมาะท่ีจะใชเ ฉพาะกับคนยากจน คน ระดับรากหญา และประเทศยากจน อีกท้ังเคร่ืองมือ เทคโนโลยี ก็จะตองใชเฉพาะเคร่ืองมือราคาถูก เทคโนโลยตี าํ่ การลงทนุ ไมค วรจะมีการลงทุนระดบั ใหญ แตใ นความเปน จริง ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ก็ตอ งการคนและความคิดทก่ี าวหนา คนทก่ี ลา คดิ กลาทําในส่งิ ใหมๆ เนอ่ื งจากการนําปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปใชประโยชนใ นดา นตางๆ ไมมสี ตู รสําเรจ็ หรือคมู ือการ ใชปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสาํ หรบั ภารกจิ ดงั เชน วิกฤตโลกรอ นผูเ กยี่ วของจึงตอ งศกึ ษาทาํ ความเขา ใจ แลว กพ็ ฒั นาแนวทางหรือแนวปฏบิ ตั สิ ําหรับแตล ะปญ หาขนึ้ มา โดยยดึ หลกั ทีส่ ําคญั ดังเชน - การคิดอยา งเปนระบบ อยา งเปนกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร - หลักคิดท่ีใช ตองเปน หลักการปฏิบัติที่เปน สายกลาง ท่ีใหค วามสําคัญของความสมดุลพอดี ระหวา งทุกสงิ่ ทเี่ ก่ียวของ ดังเชน ระหวา งธรรมชาติกบั มนุษย - ขอมูลทใ่ี ช จะตองเปน ขอมูลจริง ที่เกิดจากการศึกษา การวิจัย หรือการลงสนามใหไดขอมูลท่ี เปน จริง - การสรางภูมติ า นทานตอ ความเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกดิ ขน้ึ - การยึดหลักของความถูกตอ ง คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ ในทุกขั้นตอนของการ ดาํ เนนิ งานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงเปนกระบวนการสําคัญของการสรา งภูมิตา นทานตอ ผล กระทบและความเปลี่ยนแปลงทีก่ ําลังเกดิ ขนึ้ หรือท่จี ะเกดิ ขน้ึ เหลา นเ้ี ปน หลักการใหญๆ ซึง่ ผทู ีร่ ับผิดชอบหรือเก่ียวขอ งหรือคิดจะทํา โครงการหรือกิจกรรมใน ระดับคอ นขางใหญ จะตอ งคํานึงถึง และสามารถจะนําปรัชญานี้ไปใชไดท ันที และมีผูท่ีไดใ ชลว นประสบ ความสาํ เรจ็ สูงสุดทีม่ นษุ ยพงึ จะมี คอื ความสุขทีย่ ่งั ยืน แลว เรื่องของการแขงขัน ชิงไหวชิงพริบ การวางแผนยุทธศาสตรแ ละโลจิสติกส (การจัดซื้อจดั หา การจัดสง การบาํ รุงรักษาอุปกรณ และการรักษาพยาบาลบุคลากร ) ในการบริหารจดั การ ระบบ หรอื โครงการใหญๆ การใชจ ิตวิทยามวลชน การใชเทคโนโลยีกาวหนา การกําหนดแผนหรอื ตนเองให เปน “ฝา ยรุก” มิใช “ฝา ยตง้ั รับ” ละ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปฏิเสธหรอื ไม? คาํ ตอบคือ ปฏเิ สธ ถา ใชอ ยา งไมถกู ตอง อยา งหลกี เลยี่ งกฎหมาย อยา งผิดคุณธรรม-จรยิ ธรรม-และ จรรยาบรรณ อยา งไมซ ่อื ตรงตอ หนา ท่ีและความรบั ผดิ ชอบ อยา งมีเจตนาเพ่อื ผลประโยชนท ีไ่ มส ุจรติ ของตน เอง และพวกพอง แตจ ะตอ งรูจกั และใชอยา งรเู ทา ทัน ปกปอ ง และรกั ษาผลประโยชนข องสว นรวม อยา งมี ความคิดกาวหนา ในเชงิ สรางสรรค

ห น้ า | 39 สาํ หรับการแกปญ หา หรอื การเตรยี มเผชิญกบั ปญหาจากวิกฤตโลกรอน มีประเดน็ และเร่อื งราวทงั้ เกาและใหม ดังเชน เร่ืองของมาตรการที่ถูกกําหนดข้ึนมา เพื่อเผชิญกับภาวะโลกรอ น เพ่ือใหป ระเทศท่ี พฒั นาแลว และท่กี าํ ลังพฒั นา (ดังเชน ประเทศไทย) ไดดํารงอยูร วมกัน พ่ึงพิง และเอื้ออาทรตอ กัน อยา ง เหมาะสม ดังเชน เรื่อง คารบอนเครดิต ท่ีเปน เร่ืองคอ นขางใหมของประเทศไทย แตก ็เปนท้ัง “โอกาส” และ “ปญหา” ทปี่ ระเทศไทยตองเผชญิ ซ่งึ กข็ ึน้ อยกู ับคนไทยเราเองวา จะตอ งเตรียมตัวกนั อยา งไร เพ่ือให สามารถเปน “ท่ีพง่ึ ” ของโลกหรอื ประเทศอ่ืน แทนทจ่ี ะเปน “ปญ หา” ทเ่ี กดิ จากความไมใ สใจ หรือความใส ใจ แตเพอ่ื จะกอบโกยผลประโยชนเทา น้นั เร่ืองของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งกับวิกฤตโลกรอน จึงมีโจทย มเี ปา หมายมากมาย ทีท่ า ทาย เชญิ ชวนใหผูคนและประเทศ ที่ตองการมีชวี ติ สรางสรรคและมีความสขุ อยา งย่งั ยืนไดนําไปใช โดยใชปญญาเปน ตัวนาํ กํากับดว ยสติ และควบคมุ ดว ยคุณธรรมกับจริยธรรม ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ี ถกู ใชเ ปน กรอบแนวคดิ และทศิ ทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาค ของไทย ซ่ึงบรรจุอยใู นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 10 ( พ.ศ. 2550 – 2554 ) เพื่อมุง สู การพัฒนาที่สมดุลยิ่งขึ้น และมีภูมิคุมกัน เพ่ือความอยูดีมีสุข มุง สูส ังคมท่ีมีความสุขอยา งยั่งยืน ดวย หลกั การดงั กลาวแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 10 น้ีจะเนนเรอ่ื งตัวเลขการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ แตย ังใหความ สําคญั ตอระบบเศรษฐกจิ แบบทวลิ กั ษณห รอื ระบบเศรษฐกิจ ที่มีความแตกตา งกันระหวางเศรษฐกิจชุมชน เมืองและชนบท แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงยังถูกบรรจุในรัฐธรรมนูญของไทย เชน รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ในสวนที่ 3 แนวนโยบายดา นการบริหารราชการแผน ดิน มาตรา 78 (1) บรหิ ารราชการแผน ดินใหเปนไปเพอื่ การพฒั นาสงั คม เศรษฐกิจ และความมนั่ คงของประเทศอยา งยัง่ ยืน โดยตอ งสงเสรมิ การดาํ เนนิ การตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง และคาํ นงึ ถงึ ผลประโยชนข องประเทศชาติใน ภาพรวมเปนสาํ คญั นายสุรเกียรติ เสถียรไทย ในฐานะรัฐมนตรีกระทรวงการตางประเทศไดก ลาวเมื่อวันท่ี 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ในการประชุมสุดยอด The Francophonic Ouagadougou คร้ังที่ 10 ที่ Burkina Faso วาประเทศไทยไดย ึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ควบคูกับ “การพัฒนาแบบยั่งยืน” ในการพิจารณาประเทศทั้งทางดา นการเกษตรกรรม เศรษฐกิจและการแขง ขันซ่ึงเปน การสอดคลอ งกับ แนวทางของนานาชาตใิ นประชาคมโลก การประยุกตนําหลักปรัชญาเพื่อนํามาพัฒนาประเทศในตางประเทศนั้น ประเทศไทยไดเ ปน ศนู ยก ลางการแลกเปลย่ี นผานทางสาํ นักงานความรวมมือเพอื่ การพฒั นาระหวางประเทศ(สพร.) โดย สพร. มีหนา ท่ีคอยประสานงานรับความชวยเหลือทางวิชาการดานตางๆ จากตางประเทศมาสูภาครัฐ แลว ถายทอดตอไปยังภาคประชาชน และยังสง ผานความรทู ม่ี ไี ปยังประเทศกาํ ลังพฒั นาอ่ืนๆ เรอ่ื งปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงน้นั สพร. ถายทอดมาไมต ํ่ากวา 5 ป ประสานกบั สาํ นักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่อื ประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ (กปร.) และคณะอนุกรรมการขบั เคล่อื นเศรษฐกจิ พอเพียง ซ่ึงตา งชาติกส็ นใจเร่อื งเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพราะพิสจู นแ ลววาเปน ส่งิ ทดี่ แี ละมีประโยชน ซง่ึ แตล ะ

40 | ห น้ า ประเทศมคี วามตองการประยุกตใ ชปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งไมเหมอื นกนั ขึน้ อยูกับวิถชี วี ติ สภาพ ภูมศิ าสตร ฯลฯ เชน พมา ศรีลังกา เลโซโท ซูดาน อัฟกานิสถาน บังกลาเทศ ภูฎาน จีน จิบูดี โคลัมเบีย อียิปต เอธิโอเปย แกมเบีย อินโดนิเซีย เคนยา เกาหลีใต มาดากัสการมัลดีฟส ปาปวนิวกินี แทนซาเนีย เวียดนาม ฯลฯ โดยไดใหประเทศเหลาน้ีไดม าดูงาน ในหลายระดับ ทั้งเจาหนาท่ีปฏิบัติงาน เจา หนา ท่ฝี า ยนโยบาย จนถึงระดบั ปลดั กระทรวง รัฐมนตรีกระทรวงตางๆ[14] นอกจากนัน้ อดิศักดิ์ ภาณุพงศ เอกอัครราชทูตไทยประจาํ กรงุ เวยี นนา ประเทศออสเตรีย ไดก ลา ว วาตางชาตสิ นใจเร่อื งเศรษฐกจิ พอเพียง[14] เนอ่ื งจากมาจากพระราชดํารใิ นพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวท่ี ทรงหวงใยราษฎรของพระองค และอยากรวู า ทาํ ไมรฐั บาลไทยถึงไดนาํ มาเปน นโยบาย สวนประเทศทีพ่ ฒั นา แลวกต็ อ งการศกึ ษาพจิ ารณาเพอ่ื นําไปชวยเหลอื ประเทศอ่นื 13 นักคิดระดับโลกเห็นดว ยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และมีการนําเสนอบทความ บทสมั ภาษณ เปนการย่นื ขอเสนอแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียงใหแ กโลก เชน ศ.ดร.วูลฟ กัง ซัคส นักวิชาการ ดานสิ่งแวดลอ มคนสําคัญของประเทศเยอรมนี สนใจการประยุกตใชห ลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อยา งมาก และมองวานา จะเปน อีกทางเลือกหนึ่งสําหรับทุกชาติในเวลานี้ ท้ังมีแนวคิดผลักดันเศรษฐกิจ พอเพียงใหเปนท่ีรูจักในเยอรมนี, ศ. ดร.อมาตยา เซน ศาสตราจารยช าวอินเดีย เจาของรางวัลโนเบล สาขาเศรษฐศาสตรป 1998 มองวา ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปนการใชส ง่ิ ตา งๆ ทีจ่ ําเปน ตอการดํารงชีพ และใชโ อกาสใหพอเพียงกับชีวิตที่ดี ซึ่งไมไ ดห มายถึงความไมตอ งการ แตตองรูจักใชช ีวิตใหด ีพอ อยาให ความสําคัญกับเรื่องของรายไดแ ละความรํ่ารวย แตใหม องท่ีคุณคา ของชีวิตมนุษย, นายจิกมี ทินเลย นายกรฐั มนตรแี หงประเทศภูฎาน ใหท รรศนะวา หากประเทศไทยกําหนดเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงใหเ ปน วาระระดับชาติ และดําเนินตามแนวทางน้ีอยางจริงจัง “ผมวา ประเทศไทยสามารถสรา งโลกใบใหมจาก หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สรางชีวิตท่ีย่ังยืน และสุดทา ยจะไมหยุดเพียงแคใ นประเทศแตจ ะเปน หลักการและแนวปฏบิ ตั ิของโลก ซ่งึ หากทําไดสําเรจ็ ไทยก็คอื ผนู ํา” [15] ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ี ไดรับการเชิดชูสูงสุดจากองคการสหประชาชาติ(UN) โดยนายโคฟ อันนัน ในฐานะเลขาธิการองคก ารสหประชาชาติ ไดทูลเกลาฯ ถวายรางวัล The Human Development lifetimeAchievement Award แกพ ระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัว เมือ่ วันท่ี 26 พฤษภาคม 2549 และไดมี ปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง วาเปนปรัชญาท่ีมปี ระโยชนต อประเทศไทยและนานาประเทศ[6] และ สามารถเร่ิมไดจากการสรา งภูมิคุมกันในตนเอง สูห มูบ าน และสูเศรษฐกิจในวงกวา งข้ึนในที่สุด นาย Hakan Bjorkman รักษาการผูอํานวยการ UNDP ในประเทศไทยกลา วเชิดชูปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง และ UNDP น้ันตระหนักถึงวิสัยทัศนแ ละแนวคิดในการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวฯ[16] โดยที่องคก ารสหประชาชาติไดสนับสนุนใหป ระเทศตา งๆ ที่เปน สมาชิก 166 ประเทศยึดเปน แนวทางสู การพฒั นาประเทศแบบยั่งยนื [7] อยางไรก็ตาม ศ. ดร.เควนิ ฮวิ วสิ นั อาจารยป ระจํามหาวทิ ยาลยั นอรธ แคโรไลนา ที่แซพเพลฮิลล ไดวิจารณร ายงานขององคการสหประชาชาติโดยสํานกั งานโครงการพัฒนาแหง สหประชาชาติ (UNDP) ท่ี

ห น้ า | 41 ยกยองปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง[17]วา รายงานฉบับดงั กลา ว ไมไ ดมเี น้อื หาสนบั สนนุ วา เศรษฐกิจพอเพยี ง “ทางเลอื กท่ีจําเปน มากสาํ หรับโลกทก่ี าํ ลังดําเนินไปในเสนทางที่ไมยั่งยนื อยใู นขณะน้”ี (น. V . ในรายงาน UNDP) โดยเนื้อหาแทบทั้งหมดเปน การเทิดพระเกียรติ และเปนเพียงเครอื่ งมือในการโฆษณาชวนเช่ือ ภายในประเทศเทา นน้ั (18) สวนHakan Bjorkman รกั ษาการผูอ ํานวยการ “ UNDP” ตอ งการที่จะทําให  เกดิ การอภิปรายพิจารณาเร่อื งนี้ แตก ารอภิปรายดังกลาวนน้ั เปนไปไมไ ด เพราะอาจสมุ เสยี่ งตอการหมนิ่ พระบรมเดชานภุ าพ ซึง่ มโี ทษถงึ จาํ คุก (10) เมื่อปลายเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2549 นายโคฟ อันนัน เลขาธิการสหประชาชาติไดเ ขา เฝา ทูลเกลา ฯ ถวายรางวัล Human Development Lifetime Achievement Award หมายความวา พระเจา อยูหัวสละ ความสขุ สว นพระองค และทุม เทพระวรกาย ในการพัฒนาคนไทยในชวง 60 ป จนเปน ที่ประจักษในความ สําเร็จ ของพระราชกรณียกจิ พระบรมราโชวาท และเปน แบบอยางทว่ั โลกได คาํ กราบบงั คมทูลของนายโคฟ บง บอกใหเ หน็ เขาศึกษาเร่อื งปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยางละเอยี ด และรับปากวาจะนําไปเผยแพรทวั่ โลก รวมทงั้ ประมุขหรือผูแทนของประเทศตา งๆ ท่ีไดมาเขาเฝา และขออัญเชิญไปใชในประเทศของเขา เพราะเหน็ วาเปน แนวทางท่ีดี นอกจาก United Nation Development Program ( UNDP ) เปนองคก รหน่ึงภายใต สหประชาชาติที่ดแู ลเกี่ยวกับการพัฒนา ดา นหนึ่งที่เขาตองดูแล คือการพัฒนาคน มีหนาท่ีจัดทํารายงาน ประจําป โดยในปห นาจะเตรียมจัดทําเร่ืองการพัฒนาคนของโลก และคนในแตละประเทศ ( Country report และ Global report ) โดยในสว นของประเทศไทยจะนําเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงเปน หลกั ในการรายงานและเผยแพร ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อท่ีประเทศอ่ืนจะไดร ับประ โยชนจ ากของพระราชทานที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทานใหค นไทยมากกวา 30 ป แลว จะเหน็ ไดวา ขณะน้ีปรชั ญาฯ นี้ ไดเ ผยแพรโ ดยองคกรระดับโลกแลว เราในฐานะพสกนิกรของพระองคท าน นาจะภมู ิใจหันมาศึกษาและนําไปปฏบิ ตั อิ ยางจริงจงั กจ็ ะบงั เกดิ ผลดียง่ิ ฀฀฀฀