243 4.2 ขอ เสยี ของระบอบประชาธปิ ไตย 1) ประชาชนสรา งความวนุ วาย เพราะไมเ ขาใจสิทธิ เสรีภาพและหนาทข่ี องตนเองมักใชส ทิ ธิ เสรภี าพเกนิ ขอบเขต เชน ประชาชนปด ถนนเพราะไมพอใจราคาพชื ผลตกตํ่า 2) ผแู ทนราษฎรสรา งผลงานในเฉพาะทองถน่ิ ของตน แตไ มส นใจปญ หาประเทศชาติเทาทค่ี วร 3) ประชาชนไมเขา ใจระบอบประชาธิปไตย ขาดสาํ นกึ ของประชาธปิ ไตย จงึ เกดิ การขายเสียง 4) รฐั บาลท่ีมเี สยี งขา งมากในรัฐสภา อาจใชความไดเ ปรยี บนจี้ นกลายเปนระบอบ คณาธิปไตยได 5) ประชาชนเกิดความเบอ่ื หนาย เพราะเมื่อเลอื กตั้งไปแลว ผูแ ทนขาดความจรงิ ใจตอ ประเทศชาติ 6) ในระหวา งการหาเสียง อาจเกดิ การสาดโคลนทําใหประชาชนเกิดความเบอื่ หนายไดเ ชน กนั 7) คาใชจา ยสูง เนื่องจากระบอบประชาธิปไตยจะตอ งทาํ การเลือกตั้งผูแทนราษฎรท่ัวประเทศ ซงึ่ การเลือกตัง้ แตละครั้งจะตองเสียคา ใชจ ายเปน จาํ นวนมาก และเมือ่ ไดผ ูแ ทนเหลาน้ีมาแลวก็ตองมีคาใชจาย ดานเงินเดือนดว ย 8) กอ ใหเกิดความลา ชา ในการตัดสนิ ใจ การปกครองระบอบประชาธิปไตยจําเปน ตอ งใช การอภิปราย แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ปรึกษาหารอื ถกเถยี งปญ หาและลงมติ ซึง่ แตละข้ันตอนจะตองใช เวลานาน 9) การปกครองระบอบประชาธิปไตย เปนการปกครองที่ประชาชนปกครองตนเองเปน ระบอบการปกครองที่ดีแตใ ชยาก เพราะประชาชนจะตอ งมีความรูความเขาใจถึงระบอบประชาธิปไตย ดังน้ัน ในทางปฏบิ ัตปิ ระเทศทส่ี ามารถใชการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอยา งไดผ ล จึงเปนประเทศที่ประชาชนมี การศกึ ษาสูงหรอื ไดม กี ารปพู น้ื ฐานการศกึ ษา กจิ กรรม ใหผ ูเรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปนแ้ี ลว บนั ทึกคาํ ตอบลงในแบบบันทึกผลการเรียนรู เร่ือง การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 1. จงอธบิ ายความหมายของคําวาการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 2. จงเปรยี บเทียบขอดแี ละขอ เสียของการปกครองระบอบประชาธิปไตย 3. ผูเรียนมีสวนรว มในกจิ กรรมทางการเมืองตามระบอบประชาธปิ ไตยในเร่อื งใดบาง
244 แบบบันทึกผลการเรยี นรู เร่อื ง การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 1. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย หมายถงึ ....................................................................................……………………………………………………………………………… ……………….…………………………………………………………… 2. เปรียบเทียบขอ ดแี ละขอ เสยี ของระบอบประชาธิปไตย ขอดี ขอเสีย 3. การมสี ว นรว มในกจิ กรรมทางการเมอื งตามระบอบประชาธปิ ไตย ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………… …………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………… …………………….…………………………………………………………………………………………………………………………..……..
245 เรื่องท่ี 2 การปกครองระบอบเผด็จการ 1. ความหมายของการปกครองระบอบเผด็จการ การปกครองระบอบเผดจ็ การ หมายถงึ การปกครองทใี่ หความสาํ คัญแกอํานาจรัฐและผูปกครอง อาํ นาจรัฐจะอยเู หนือเสรีภาพของบุคคล คณะบคุ คลเด่ยี ว หรอื พรรคการเมืองเด่ยี ว โดยจะถอื ประโยชนข องรัฐ มากกวา ของประชาชน การปกครองระบอบเผดจ็ การมลี กั ษณะแตกตางจากประชาธิปไตย เพราะระบอบเผด็จการมุงให ประชาชนมีสวนรวม “นอยท่สี ดุ ” หรือ “ไมม ี” เลย อกี ทง้ั ยงั ไมต องการใหมีฝายคานแตต องการใหมีการปฏบิ ตั ิ ตามอยา งเต็มที่ เพราะถือวาฝายคานเปน ศัตรหู รืออุปสรรคของชาติ ระบอบเผด็จการเปน ระบอบการเมืองการ ปกครองท่มี ีมาชา นานแลว และไดว วิ ฒั นาการไปตามกาลเวลา ซ่ึงผนู าํ ประเทศตา ง ๆ มีการนําระบอบเผดจ็ การ มาปรับปรงุ เพอ่ื ใหส อดคลอ งกับสถานการณท นั สมยั และนาเลือ่ มใส เพ่อื ใหเ ปนทยี่ อมรับของประชาชน 2. หลกั การปกครองระบอบเผดจ็ การ 2.1 ยดึ หลักรวมอาํ นาจการปกครองไวท ีส่ ว นกลางของประเทศ ใหอาํ นาจอยูใ นมอื ผนู าํ เตม็ ท่ี 2.2 ยึดหลกั การใชกําลัง การบงั คับและความรนุ แรงเพ่ือควบคุมประชาชนใหป ฏบิ ตั ติ ามความ ตอ งการของผนู าํ 2.3 ประชาชนตองเชอื่ ฟง และปฏิบัตติ ามผนู าํ อยางเครงครดั ไมมีสทิ ธิโตแยง ในนโยบายหลักการ ของรัฐได 2.4 สรา งความรสู ึกไมม ่ันคงในชีวิตใหแกประชาชน จนประชาชนเกดิ ความหวน่ั วติ กเกรงกลวั อันทาํ ใหอ ํานาจรฐั เขม็ เขง็ 2.5 ไมสนับสนุนใหป ระชาชนเขามามสี วนรว มทางการเมืองการปกครองของประเทศ 2.6 จาํ กัดสิทธภิ าพของประชาชนทง้ั ดา นเศรษฐกิจ สงั คมและการเมอื ง 2.7 ยึดหลักความมนั่ คง ปลอดภัยของรัฐเปน สาํ คัญ ยกยอ งอํานาจและความสําคัญของรัฐเหนือ เสรีภาพของประชาชน 2.8 การใหความสําคัญตอการศกึ ษาความมนั่ คงของอํานาจรัฐ ชาติและผนู าํ 2.9 ผนู ําหรือคณะผนู าํ มักจะดาํ รงตําแหนง อยนู าน อาจนานตลอดชวี ิต 2.10 ระบอบเผด็จการอาจอนุญาตใหมีการเลือกต้ังหรือมีรัฐธรรมนูญ โดยรัฐสภาจะตองออก กฎหมายทีร่ ัฐบาลเผด็จการเหน็ สมควรเทา น้นั รฐั สภาไมมสี ทิ ธิลงมตไิ มไ ววางใจรัฐบาลอํานาจของศาลมีจํากัด ไมมีสทิ ธิทจ่ี ะพจิ ารณาคดีทางการเมอื ง หรือพิจารณาไดแตต อ งอยภู ายใตการกํากบั ดแู ลของรฐั บาลเผด็จการ 3. ประเภทของการปกครองระบอบเผด็จการ การปกครองระบอบเผด็จการแบง ออกเปน 2 ประเภท ไดแก 3.1 ระบอบเผดจ็ การอาํ นาจนิยม (Authoritarianism) ลักษณะสําคัญของระบอบเผด็จการอาํ นาจนยิ มคือ อํานาจการปกครองจะผกู ขาดอยูในมือของคน กลุมเดียว คือ รัฐบาลและจะจาํ กัดสทิ ธเิ สรีภาพทางการเมอื งของประชาชน เชน หา มประชาชนวิจารณ
246 การทาํ งานของรฐั บาล หามแสดงความคดิ เห็นท่ีเปนปรปกษกับรัฐบาล หามเผยแพรบทความดานประชาธิปไตย หา มชุมชนประทว งรัฐบาล สรุปก็คือหามทาํ กิจกรรมการเมอื งทุกกิจกรรม แตส ่งิ ทีร่ ะบอบเผด็จการอํานาจนิยมยังสามารถใหเสรีภาพกับประชาชน คือ ดานเศรษฐกิจและ สงั คม ไดแก 1) ประชาชนมีเสรีภาพท่จี ะเลอื กนับถือศาสนา 2) มเี สรีภาพในการดํารงชวี ติ สวนตัว 3) มสี ิทธิในครอบครวั 4) สามารถกอตั้งกลุมเศรษฐกิจและสังคมได เชน จัดตั้งสมาพันธและสมาคมตาง ๆ ท่ีไม เกีย่ วขอ งกบั การเมอื ง 5) มีเสรีภาพในทางเศรษฐกจิ เชน สามารถเลือกประกอบอาชีพได เปนตน หากกิจกรรมใด คมุ คามตอเสถียรภาพของรฐั บาลก็จะถกู หา ม ระบอบเผด็จการอํานาจนิยมแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ เผด็จการอํานาจนิยมทหารและ ระบอบเผดจ็ การฟาสซิสต 3.1.1 ระบอบเผด็จการทหาร ระบอบเผด็จการทหาร เปนระบอบทผ่ี นู ําฝายทหารเปน ผูใชอ ํานาจเผด็จการปกครองประเทศ โดยตรง โดยใชกฎอยั การศกึ หรอื รัฐธรรมนญู เผดจ็ การทรี่ ัฐบาลหรือคณะของคนสรางข้ึนเพ่ือใชเปนเคร่ืองมือ การลดิ รอนสิทธเิ สรภี าพทางการเมืองของประชาชนและเปน เครอื่ งมอื ในการปกครองของประเทศ รัฐบาลเผดจ็ การทหารของทุกประเทศมักจะใชวธิ เี ดียวกันในการคุมอํานาจกลาวคือ ในชวงที่ ประเทศไดรับภัยคุกคามจากคอมมิวนิสต หรือมีภัยคุกคามดานความม่ันคงหรือเกิดความระส่ําระสาย ภายในประเทศ หรอื อยใู นภาวะสงคราม ผนู าํ ฝา ยทหารจะใชช ว งจงั หวะดงั กลาวทําการยดึ อํานาจ โดยฝายผูนาํ ทหารมักจะใหคําสัญญาวาเม่ือประเทศคืนสูภาวะปกติก็จะคืนอํานาจการปกครองหรืออํานาจอธิปไตยให ประชาชนดังเดมิ แตเม่ือเวลาผานพนไปก็จะยังคงอยูในอํานาจ โดยอางวาสถานการณดานความมั่นคงยังไม เปน ทไี่ ววางใจ จนกระท่งั ประชาชนหมดความอดทนตอ ระบอบเผดจ็ การ จงึ ทาํ การเรยี กรอ งเดินขบวน ในที่สุด กส็ ามารถโคนลม ระบอบเผด็จการทหารได ตวั อยางการเรยี กรองประชาธิปไตยของประชาชน เชน ในประเทศ ไทย คือเหตุการณว ันมหาวิปโยคหรือ วันท่ี14 – 16 ตุลาคม 2516 เหตุการณนองเลือดวันท่ี 6 ตุลาคม 2519 เหตกุ ารณน องเลอื ด 17 พฤษภาคม 2535 เหตกุ ารณท เี่ กดิ ขึน้ ในประเทศฟล ปิ ปนส เพอื่ เรียกรองประชาธปิ ไตย จากประธานาธบิ ดมี ารกอส จนประธานาธิบดมี ารก อส ตองหนไี ปตา งประเทศ เปน ตน 3.1.2 ระบอบเผดจ็ การฟาสซสิ ต ระบอบเผดจ็ การฟาสซสิ ต เปนระบอบเผด็จการที่ไดรับการสนับสนุนจากกลุมนักธุรกิจและ กองทัพ มีช่ือสิทธิทางการเมืองวา “ลิทธิฟาสซิสม” เกิดข้ึนคร้ังแรกในประเทศอิตาลีชวงหลังสงครามโลก ครัง้ ท่ี 1 โดยมผี ูน าํ คือมุสโสลนิ ใี นสมยั ป พ.ศ. 2473 – 2486 ตอ มาไดป ระสานสอดคลองกับขบวนการทางการ เมอื งของเยอรมัน นัน่ คอื “ขบวนการนาซี” ซ่งึ มีฮิตเลอร เปน ผูนําในสมัยป พ.ศ. 2476 – 2488
247 แมว า เผด็จการนาซจี ะมีหลกั การคลายคลึงกบั ฟาสซสิ ต แตหลกั การชาตินิยมของเผดจ็ การ นาซีจะรุนแรงกวาเผด็จการฟาสซิสต กลาวคือ เผด็จการนาซีมีความเชื่อวา มนุษยแตละชาติพันธุ มีความสามารถตางกัน ชนชาติเยอรมันเปนชาติพันธุท่ีเข็มแข็งฉลาดท่ีสุด จึงสมควรที่จะเปนปกครองโลก รวมท้ังการโยนความผิดของทุกปญหา เชน ปญหาเศรษฐกิจตกตํ่า ตัวการสําคัญที่กัดกรอนเศรษฐกิจของ เยอรมัน ฯลฯ ไปใหช าวยิวเปนแพะรับบาป ชาวยิวนับพันนับหมื่นคนจึงตองสูญเสียชีวิตเพราะลัทธิชาตินิยม ของนาซี ระบอบเผด็จการฟาสซิสต จะมีนโยบายการขยายอาณาเขตเปนจักรวรรดินิยมดังจะเห็นได จากหลังสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 ไดม ีการประชุมของสหประชาชาติ ซึ่งทกุ ชาตทิ ่ีประชมุ ตา งเห็นตองตอ งกันวา ลัทธิ จักรวรรดินิยมเปนตัวการสําคัญท่ีกอใหเกิดสงครามโลกทั้ง 2 คร้ัง ดังนั้น ประเทศอังกฤษ ฝร่ังเศส เนเธอรแลนดและสเปน จึงปลดปลอยประเทศในอาณานิคมของตน เชน มาเลเซีย อินเดีย พมา เวียดนาม กัมพูชา ลาว อินโดนีเซีย ฯลฯ พรอมกันน้ีประเทศเยอรมันก็ถูกแบงออกเปน 2 สวนคือเยอรมันตะวันออก มรี ัสเซยี เปน ผคู วบคุม และเยอรมันตะวันตกมสี หรัฐอเมรกิ าเปน ผคู วบคมุ ญ่ปี ุนถกู สหรัฐอเมริกาเปนผูควบคุม ทําใหล ัทธิเผดจ็ การฟาสซสิ ตซงึ่ เปน ลทั ธจิ กั รวรรดนิ ยิ มสญู สิน้ ไป 3.2 ระบอบเผดจ็ การเบ็ดเสรจ็ นิยม (Totalitarianism) ประชาชนถูกจํากัดสิทธิเสรีภาพทุกดาน คือ ท้ังดานการเมืองการปกครองเศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งถกู ควบคุมในดานวิถีชีวิตความเปนอยู การศึกษา มีการลงโทษผูแสดงตัวเปนปฏิปกษตอรัฐบาลอยาง รุนแรง กลา วคือ ระบอบเผด็จการเบด็ เสร็จนยิ ม ไมเพยี งควบคุมประชาชนในดา นการเมอื ง เชน หามการแสดง ความคิดเหน็ การรวมกลมุ การชมุ ชนท่ีเปนปฏิปกษกับรัฐบาล ยังควบคุมท้ังดานเศรษฐกิจและสังคมอีกดวย เชน ศาสนา (สอนวาศาสนาเปนสิ่งงมงาย) วัฒนธรรมและการศึกษา (รัฐหรือคอมมูนจะทําหนาท่ีชวยพอแม ในการเลย้ี งดเู ดก็ ในชวงทพ่ี อ แมไ ปทาํ งานและจะสอนใหเดก็ รับใชสงั คม ซง่ึ หมายถงึ ชนชน้ั กรรมาชีพหรือชนช้ัน กรรมกร การศึกษาในระดับสูงก็ยังคงเนนการรับใชชนชั้นกรรมาชีพ) หรือแมแตการประกอบอาชีพ การพักผอนหยอ นใจ ทกุ อยางทําเพื่อชนช้นั กรรมาชีพท้งั สิน้ ระบอบเผด็จการประเภทนี้เขาไปควบคุมท้ังทาง การเมอื ง เศรษฐกิจสงั คม รวมทั้งความคิดจติ สํานึกของคนในสงั คม 4. ความเช่ือของระบอบเผด็จการ การปกครองระบอบเผดจ็ การไมว าจะเปนประเภทใด มคี วามเชอ่ื ดงั น้ี 4.1 รฐั หรือพรรคทปี่ กครองรัฐเปนผูท่ีสามารถนําความผาสุกมาสูประชาชนอยางแทจริง ฉะนั้น ประชาชนจึงตองเหน็ คณุ คาของรฐั และตองใหความชวยเหลือกิจการของรัฐทุกประการ 4.2 จุดหมายของรัฐ ความตองการของพรรคถอื เปน วตั ถุประสงคสาํ คัญประการแรกสิทธิเสรีภาพ ของประชาชนไมมีความสาํ คญั เทากับความตองการของพรรคหรอื รัฐ 4.3 เช่อื วารัฐหรือพรรคมีอาํ นาจ มฐี านะเหนือประชาชนทัว่ ไป 4.4 ประชาชนยอมเกิดมาเพื่อเปนเคร่ืองมือรัฐ และมีหนาที่ประการเดียว คือใหความรวมมือ ตอ รัฐ เช่ือฟงรฐั เพ่อื ใหร ฐั ไดบ รรลถุ งึ วตั ถปุ ระสงคที่กําหนดไว 4.5 รัฐหรือพรรคท่ปี กครองรัฐ ควรจะอาํ นาจ มสี ิทธิ ประชาชนมีหนาท่ีเพียงอยา งเดียว
248 5. ขอ ดีและขอ เสียของการปกครองระบอบเผดจ็ การ 5.1 ขอดีของการปกครองระบอบเผดจ็ การ 1) สามารถตดั สนิ ปญ หาตา ง ๆ ไดร วดเร็ววา ระบอบประชาธปิ ไตย เพราะไมตอ งรอผลประชมุ 2) การแกป ญ หาบางอยาง สามารถทําไดดกี วา ระบอบประชาธปิ ไตย เชน การปราบ การจลาจล การกอ การรา ยหรอื ปญหาท่ีเปนภัยตอ สังคม เพราะสามารถใชวธิ กี ารทีร่ นุ แรงและเฉยี บขาดกวา 3) สามารถแกปญหาวกิ ฤตหรอื เหตกุ ารณฉ กุ เฉินไดอยา งรวดเรว็ 4) มีกําลงั กองพนั และอาวุธเขม แข็ง เปนทีย่ ําเกรงของประเทศเพ่อื นบาน 5) มสี ว นใหเ กดิ ความเจริญกา วหนา ในการพฒั นาประเทศดา นตาง ๆ โดยเฉพาะดานเศรษฐกจิ 6) มีสว นกอ ใหเกิดการปกครองที่มปี ระสทิ ธิภาพเพราะมีการใชอ าํ นาจบังคับโดยเดด็ ขาด และรวดเร็วทนั ทีทันใด ทําใหข า ราชการของรัฐมีความกระตอื รอื รน 5.2 ขอเสียของการปกครองระบอบเผด็จการ 1) เปนการลิดรอนสิทธิและเสรีภาพขั้นพ้ืนฐานของประชาชน ซ่ึงเปนส่ิงที่สําคัญท่ีสุดของ การเมอื งการปกครอง 2) เปน การปกครองของคนกลุม นอย จงึ ทําใหเ กดิ ความผดิ พลาดในการทํางานไดง า ย 3) มุงผลประโยชนเ ฉพาะกลุมหรอื พรรคพวกของตน 4) จาํ กัดและขดั ขวางสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนเปนการละเมดิ สิทธิมนษุ ยชน 5) สกัดก้ันมิใหผูมีความสามารถเขามามีสวนรวมในการสรางสรรคความเจริญกาวหนาของ ประเทศ 6) บานเมืองไมสงบสุขมีผตู อตานดา นใชกาํ ลงั อาวุธเขา ตอ สกู บั รฐั บาล 7) ผูปกครองอาจเหลิงอํานาจหรือปลอยใหพรรคพวกบริวารเขามาแสวงหาผลประโยชน สว นตวั โดยไมสุจริต 8) เปดชอ งใหมหาอํานาจเขามาแทรกแซงได 9) กอ ใหเกิดการนองเลอื ดตดิ ตามมาในภายหลงั เพราะประชาชนยอมตองเรียกรองอํานาจ อธปิ ไตยกลบั คืน 10) นําประเทศไปสูความหายนะ เชน ฮิตเลอร มุสโสลินีและนายพลโตโจ นําประเทศเยอรมัน อิตาลีและญปี่ ุนเขา สูสงครามโลกครั้งท่ี 2 และแพสงครามในที่สุด กิจกรรม ใหผ เู รียนตอบคาํ ถามตอ ไปนแี้ ลว บันทกึ ผลการเรยี นรู เรือ่ ง การปกครองระบอบเผดจ็ การ 1. จงสรปุ หลักการของการปกครองระบอบเผด็จการมาสกั 3 ขอ 2. จงเปรียบเทียบขอดแี ละขอ เสียของการปกครองระบอบเผด็จการ
249 แบบบันทึกผลการเรียนรู เร่อื ง การปกครองระบอบเผด็จการ 1. สรุปหลักการของการปกครองระบอบเผด็จการ 3 ขอ 1.1. ..............................................................……………………………………………………………………… 1.2...............................................................……………………………………………………………………… 1.3..............................................................……………………………………………………………………… 2. เปรยี บเทียบขอดีและขอเสยี ของระบอบเผด็จการ ขอ เสยี ขอ ดี เร่อื งที่ 3 พัฒนาการของระบอบประชาธปิ ไตยของประเทศตา ง ๆ ในโลก 1. จดุ เร่มิ ตนของระบอบประชาธปิ ไตย “ยคุ โบราณ” มีหลายประเทศ เชน 1.1 ประเทศกรีก ระบอบประชาธิปไตย มจี ุดเร่มิ ตนเกดิ ขึน้ ณ นครรัฐกรีกโบราณ ในชวงคริสตศตวรรษที่ 5 ซ่ึงเปน “ยคุ โบราณ” หรอื บางท่ี เรียกวา “ยุคกรซี โบราณ” โดยในยคุ นี้ ถือวา เปน การปกครองระบอบประชาธิปไตย “โดยทางตรง” ซ่งึ แตเดมิ นนั้ มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบ “เอเธนส” กลาวคอื 1. มีการคดั เลอื กพลเมอื งธรรมดาจาํ นวนมากเขา สรู ะบบรัฐบาล และศาล 2. มีการชุมนุมของพลเมืองทุกชนชั้น โดยชายชาวเอเธนสทุกคนจะไดรับอนุญาต ใหอ ภปิ รายและลงคะแนนเสียง ในสมัชชาได แตคําวา “พลเมือง” น้ันไมรวมไปถึง “ผูหญิง” และ“ทาส” ซึง่ จากจาํ นวนประชาชนผูอยูอาศยั กวา 250,000 คน จะมผี ูไดรับสถานการณเปน “พลเมือง” เพียง 30,000 คนเทา นัน้ และคนทจ่ี ะไปปรากฏตวั ในสมชั ชาประชาชนเพยี ง 5,000 คนเทา น้ัน
250 1.2 ประเทศซเี รยี ประเทศซีเรียในยุคโบราณเปน เพียงเกาะช่ือ “เกาะอารว ัด” ไดถ กู กอ ต้ังข้ึนเมื่อคริสตสหสั วรรษ ท่ี 2 กอ นครสิ ตกาลโดยชาว “ฟนเิ ซยี น” ซ่ึงถูกนบั วา เปน ตัวอยา งของประชาชาธิปไตยท่ีพบในโลก เน่ืองจาก ประชาชนจะถอื อาํ นาจ “อธปิ ไตย” ของตนเอง 1.3 ประเทศอนิ เดยี ประเทศอินเดีย เปนอีกประเทศหนึ่งซ่ึงมีการพิจารณาไดวามีการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยการปกครองของ “เวสาลี” (ปจจุบัน คือ รัฐพิหาร” นับเปนรัฐบาลแรกของโลก แตอยางไรก็ตามก็ยังมี เสียงคัดคานวา “เวสาลี” นา จะเปนการปกครอง แบบ “คณาธปิ ไตย” มากกวา 1.4 สาธารณรัฐโรมนั สวนสาธารณรัฐโรมันนน้ั กม็ กี ารสนบั สนนุ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย เชน มีการออก กฎหมาย แตก็ไมเปนประชาธิปไตยอยางสมบูรณ เนื่องจากชาวโรมัน มีการเลือกผูแทนเขาสูสภาก็จริง แตไมรวมถงึ สตรี ทาสและคนตา งดา วทมี่ มี ากจาํ นวนมหาศาล 2. ยคุ กลาง ในชวงยคุ กลาง ไดมีรูปแบบหลายอยางที่เก่ียวของกับการเลือกต้ังหรือสมัชชา ถึงแมวาบอยคร้ัง จะเปดโอกาสใหกับประชาชนเพียงสวนนอยเทานั้น อยางเชน เครือจักรภพโปแลนด – ลิทัวเนีย ในนครรัฐ เวนิช ชวงอิตาลียุคกลาง รัฐในไทรอลเยอรมัน และสวิตเซอรแลนด รวมไปถึงนครพอคาอิสระซะไก ในชวง คริสตศตวรรษท่ี 16 ในญีป่ นุ เนอ่ื งจากการปกครองรปู แบบตาง ๆ ทีก่ ลา วมานนั้ ประชาชนมีสวนรว มเพียงสวน นอยเทา นนั้ จึงมกั จะถูกจดั วาเปนคณาธปิ ไตยมากกวา และดนิ แดนยุโรปในสมยั นั้นยังคงปกครองภายใตน กั บวช และขนุ นางในยคุ ศกั ดินาเปน สว นมาก อยางไรก็ตามในชวง “ยุคกลาง” รูปแบบการปกครองของหลายประเทศก็มีลักษณะใกลเคียงกับ “ระบอบประชาธิปไตย” แตกย็ งั เปน ประชาธปิ ไตยที่ไมสมบรู ณ เชน 2.1 ระบบกลุมสาธารณรัฐคอสแซ็คในยูเครน (คริสตศักราช 16 – 17) มีการเปดโอกาสให ผูแทนจากตําบลตาง ๆ เลือกตําแหนงสูงสุด ซึ่งเรียกวา “เฮ็ดมัน” (Hetman) แตเน่ืองจากสาธารณรัฐ คอสแซค็ เปนรัฐทางการทหารอยางเต็มตัว จึงทําใหการเลือก “เฮ็ดมัน” จํากัดอยูเฉพาะผูรับราชการทหาร คอสแท็คเทา นนั้ 2.2 ประเทศอังกฤษ (ค.ศ. 1265) แมจะมกี ารจัดตง้ั รัฐสภาพทีม่ าจากการเลอื กตัง้ ก็จริง แตข นึ้ อยู กบั ความพงึ พอใจของกษัตรยิ มากกวา เสียงของประชาชน ดังนัน้ ภายหลงั จากมีการปฏิวตั ิ ในป ค.ศ. 1688 และมีการบงั คบั ใชพระราชบัญญตั ิสทิ ธิในป ค.ศ. 1689 ทาํ ใหป ระชาชนมีสิทธิในการเลือกสมาชิกรัฐสภา เพ่ิมมากขนึ้ ทีละนอ ย จนกระทงั่ กษัตริยเ ปน ประมุขแตเพยี งในนามเทานั้น 2.3 สหพันธไ อโรโควอิส (Inqeeois Confederacy) รปู แบบประชาธิปไตยของสหพันธ ไอโรโควอิส ปรากฏในแบบการปกครอง “ระบบชนเผา” ซ่ึงผูท่ีจะสามารถเปนผูนําไดตองมาจาก สมาชิกเพศชายของ “ชนเผา” เทาน้นั
251 3. ครสิ ตศตวรรษท่ี 18 – 19 ในชวงครสิ ตศตวรรษที่ 1 8 -19 ก็ไดเ หน็ พฒั นาการของระบอบประชาธิปไตยชัดเจนขึ้น สมบูรณ ขน้ึ กวายุคกลางในหลายประเทศ ถึงแมวาจะเปนประชาธิปไตยทเี่ คารพเสยี งสว นนอ ยก็ตาม เชน 3.1 ประเทศสหรัฐอเมริกา (ค.ศ. 1788) แมวาจะไมมีคําจํากัดความของคําวาประชาธิปไตย แตว าเหลา ผูกอ ตัง้ สหรฐั อเมริกาไดกาํ หนดรากฐานของแนวปฏิบัติของอเมริกันเก่ียวกับเสรีภาพและความเทา เทียมใหกับบุรุษเจาของที่ดินผิวขาว รัฐธรรมนูญแหงสหรัฐอเมริกา ซ่ึงมีผลบังคับใชต้ังแตป ค.ศ. 1788 เปน ตน มา ไดก าํ หนดใหมรี ัฐบาลทีม่ าจากการเลอื กต้งั รวมไปถึงการปกปองสิทธแิ ละเสรภี าพของประชาชน 3.2 ประเทศฝรั่งเศส (ค.ศ. 1789) ในป ค.ศ. 1789 ภายหลังจากการปฏิวัติฝร่ังเศส ไดมีการ ประกาศใชคําประกาศวาดวยสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมือง และมีการเลือกตั้งสมัชชาแหงชาติฝร่ังเศส โดยบุรษุ ทกุ คน แตก็มอี ายไุ มยนื ยาวนกั 3.3 ประเทศนิวซีแลนด (ค.ศ. 1867) แนวซีแลนดไดใหสิทธิการเลือกต้ังกับชาวเมารีพื้นเมือง ในป ค.ศ. 1867 ชายผิวขาวในป พ.ศ. 1876 และผูหญิงในป ค.ศ. 1893 ซ่ึงนับเปนประเทศแรกท่ีใหสิทธิ การเลอื กตัง้ กบั พลเมืองทง้ั หมด แตสตรยี ังไมไดร ับอนญุ าตใหสมัครรบั เลอื กต้งั ไดจ นกระทั่งป ค.ศ. 1910 สรปุ ในชว งปลายคริสตศตวรรษท่ี 19 ประชาธิปไตยที่เคารพเสียงขางนอยยังคงมีอายุส้ันและหลายประเทศ มักจะกลาวอา งวา ตนไดใหส ทิ ธกิ ารเลอื กตั้งกับพลเมอื งท้ังหมดแลว 4. ชว งครสิ ตศตวรรษที่ 20 4.1 ในชว งคริสตศตวรรษท่ี 20 ไดมกี ารเปลีย่ นแปลงรปู แบบการปกครองเปน ระบอบประชาธิปไตย ท่ีเคารพสิทธิของเสียงขางนอยจํานวนมาก จนทําใหเกิด “กระแสประชาธิปไตย” ซึ่งประสบความสําเร็จ ในหลายพน้ื ทข่ี องโลก ซงี่ มักเปนผลมาจากสงคราม การปฏิวัติ การปลดปลอยอาณานิคมและสภาพแวดลอม ทางเศรษฐกจิ และศาสนา ภายหลังจากการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งท่ีหน่ึง และการลมสลายของจักรวรรดิออสเตรีย– ฮังการี และจักวรรดิออตโตมัน ทาํ ใหเกดิ รัฐชาติจาํ นวนมากในทวปี ยุโรป ซง่ึ สวนใหญมีการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตย ในชว งคริสตท ศวรรษ 1920 ระบอบประชาธิปไตยไดเจริญขึ้น แตผลของภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา คร้ังใหญ ไดทําใหความเจริญดังกลาวหยุดชะงักลง และประเทศในแถบยุโรป ละตินอเมริกา และเอเชีย ไดเปลีย่ นแปลงรปู แบบไปสูการปกครองในระบอบเผดจ็ การมากขน้ึ ทาํ ใหเ กดิ เปน สิทธิฟาสซสิ ต ในนาซีเยอรมนี อิตาลี สเปนและโปรตุเกส รวมไปถึงรัฐเผด็จการในแถบคาบสมุทรบอลติก คาบสมุทรบอลขาน บราซิล คิวบา สาธารณรฐั จีนและญป่ี นุ เปน ตน ภายหลังจากการสน้ิ สุดของสงครามโลกครั้งทส่ี อง ทาํ ใหเกิดผลกระทบในดานตรงกันขามในทวีป ยุโรปตะวันตก ความสําเรจ็ ในการสรา งระบอบประชาธปิ ไตยในออสเตรีย อิตาลี และญี่ปุนสมัยยึดครอง ซ่ึงได เปน ตน แบบของทฤษฎกี ารเปล่ียนแปลงระบอบการปกครอง อยางไรก็ตาม กลุมประเทศในยุโรปตะวันออก รวมไปถึงเขตยึดครองของโซเวียตในเยอรมันนี ซ่ึงถูกบังคับใหมีการเปลี่ยนแปลงไปสูการปกครองในระบอบ
252 คอมมิวนิสตตามคายตะวันออก หลังจากการสิ้นสุดของสงครามโลกคร้ังที่สองยังสงผลใหเกิดการปลดปลอย อาณานิคม และประเทศเอกราชใหมสว นใหญจะสนับสนนุ ใหมีการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยและอนิ เดยี ไดกลายมาเปนประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยท่ีมีจํานวนประชากรมากที่สุดในโลกและดําเนิน ตอ ไปอยางไมห ยดุ ยัง้ ในชว งหนึ่งทศวรรษภายหลังสงครามโลกครั้งท่ีสอง ชาติตะวันตกที่ปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยสว นใหญไดม ีระบบเศรษฐกิจแบบผสม และดําเนินการตามรูปแบบรัฐสวัสดิการ สะทอนใหเห็น ถึงความสอดคลองกันระหวางราษฎรกับพรรคการเมืองในชวงคริสตทศวรรษ 1950 และ 1960 เศรษฐกิจ ทงั้ ในกลุมประเทศตะวันตกและกลุมประเทศคอมมิวนิสต ในภายหลังเศรษฐกิจที่อยูภายใตการควบคุมของ รัฐบาลไดลดลง เมื่อถึงป ค.ศ.1960 รัฐชาติสวนใหญไดมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ถึงแมวา ประชากรสวนใหญของโลกจะยังคงมกี ารจัดการเลือกต้งั แบบตบตา และการปกครองในรูปแบบอ่ืน ๆ อยู กระแสของการเปลี่ยนแปลงไปสูระบอบประชาธิปไตย นําไปสูความเจริญกาวหนาของรูปแบบ ประชาธิปไตยทเ่ี คารพสิทธขิ องเสียงขา งนอยในหลายรฐั ชาติ เร่ิมจากสเปน โปรตุเกส ในป ค.ศ. 1974 รวมไป ถึงอกี หลายประเทศในทวีปอเมริกาใต เม่ือถึงปลายคริสตทศวรรษ 1970 และตนคริสตทศวรรษ 1980 ซึ่งได เปลยี่ นแปลงมาจากระบอบเผด็จการทหาร มาเปนรัฐบาลพลเรือน ตามดวยประเทศในเอเชียตะวันออกและ เอเชยี ใต ระหวา งชว งตนถงึ กลางคริสตทศวรรษ 1980 และเนอ่ื งจากความเสอื่ มถอยทางเศรษฐกิจของสหภาพ โซเวียต รวมไปถึงความขัดแยงภายในทําใหสหภาพโซเวียตลมสลายและนําไปสูจุดสิ้นสุดของสงครามเย็น ตามมาดวยการเปลีย่ นแปลงระบอบการปกครองภายในกลุมประเทศยโุ รปตะวันออก ในคายตะวนั ออกเดมิ นอกเหนือจากน้ัน กระแสของระบอบประชาธิปไตย ไดแพรขยายไปถึงบางสวนของทวีปแอฟริกา ในชว งคริสตทศวรรษ 1990 โดยเฉพาะอยางยิ่งในแอฟริกาใต ความพยายามบางประการในการเปล่ียนแปลง ระบอบการปกครองยงั พบเหน็ อยูในอินโดนเี ซีย ยโู กสลาเวยี ยเู ครน เลบานอนและคีรกีซสถาน 4.2 ระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย ประเทศไทยไดเขาสูการปกครองระบอบประชาธิปไตยอยางเปนทางการในป พ.ศ. 2475 สมัยรัชกาลท่ี 7 โดยมีเหตกุ ารณส าํ คัญที่แสดงถงึ ความพยายามทจ่ี ะพฒั นาประชาธิปไตยอยา งแทจริง ดังนี้ 1) เหตุการณสมยั ประชาธปิ ไตย พ.ศ. 2475 – 2535 (สมัยรัชกาลท่ี 7 – กอน 14 ตุลาคม 2516) รปู แบบการปกครองสมัยรัชกาลที่ 6 -7 ยังคงยึดรูปแบบการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5 มีการปรับปรุง แกไ ขบางเพียงเลก็ นอ ย ทง้ั 2 พระองคไดต ระหนกั ถงึ การเปลี่ยนแปลงการปกครองท่ีคงจะมขี ้นึ ในภายขางหนา สมัยรัชกาลท่ี 6 ไดมกี ารจัดต้งั “ดุสิตธาน”ี ใหเ ปนนครจาํ ลองในการปกครองแบบประชาธิปไตย จนเม่ือวันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 หลังจากท่ีรัชกาลท่ี 7 ทรงครองราชยได 7 ป คณะผูกอการซ่ึงเรียกตัวเองวา “คณะราษฎร” ประกอบดวยทหารบก ทหารเรือและพลเรือน จํานวน 99 คน ไดทําการยึดอํานาจและ เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยหรือ “ราชาธิปไตย” มาเปนระบบการปกครอง แบบ “ประชาธิปไตย” และไดอัญเชิญรัชกาลท่ี 7 ขึ้น เปนกษัตริยภายใตรัฐธรรมนูญ นับไดวารัชกาลที่ 7 ทรงเปนกษัตรยิ อ งคแ รกในระบอบประชาธปิ ไตย
253 2) มูลเหตุของการเปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 1. ภาวะเศรษฐกิจตกต่ําทั่วโลก หลังสงครามโลก รัฐบาลตองการลดรายจาย โดยปลด ขา ราชการบางสว นออก ผูถูกปลดไมพอใจ 2. ผูท่ีไปเรียนจากตางประเทศเม่ือกลับมาแลวตองการเปล่ียนแปลงประเทศใหทันสมัย เหมอื นประเทศที่เจริญแลว 3. ความเหลอื่ มลํา้ ต่าํ สูงระหวา งขาราชการและประชาชน จงึ ตอ งการสิทธเิ สมอภาคกัน 4. ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยไมสามารถแกป ญ หาพ้นื ฐานชวี ิตของราษฎรได 3) ลักษณะการปกครองหลงั เปลยี่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 1. พระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมขุ ภายใตร ฐั ธรรมนญู 2. รัฐธรรมนูญเปน กฎหมายสูงสดุ ในการปกครองประเทศ 3. อํานาจอธิปไตยเปน ของปวงชนชาวไทยและเปนอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ 4. ประชาชนใชอ ํานาจอธิปไตยผา นทางรัฐสภา รฐั บาลและศาล 5. ประชาชนมีสทิ ธเิ สรีภาพเทา เทียมกนั 6. ประชาชนเลือกตวั แทนในการบรหิ ารประเทศ ซงึ่ เรียกวา รฐั บาล หรอื คณะรฐั มนตรี 7. ในการบรหิ ารราชการแผน ดิน แบงเปน 3 สวนคือ 1) การปกครองสว นกลาง แบง เปน กระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ 2) การปกครองสวนภูมิภาค แบงเปน จงั หวัด และอาํ เภอ 3) การปกครองสว นทอ งถิน่ แบง เปน องคก ารบรหิ ารสวนจงั หวัด เทศบาล สขุ าภิบาล และ องคก ารบริหารสวนตําบล การเปลี่ยนแปลงการปกครองของไทยเปนไปอยางสงบไมรุนแรงเหมือนบางประเทศอยางไรก็ตาม ลกั ษณะการเมอื งการปกครองมไิ ดเปน ประชาธปิ ไตยโดยสมบูรณ อํานาจบางสวนตกอยูกับผูนําทางการเมือง หรือผูบริหารประเทศ มีการขัดแยงกันในดานนโยบายมีการแยงชิงผลประโยชน เปนเหตุใหเกิดการปฏิวัติ รัฐประหารข้ึนหลายคร้ังระบบการปกครองของไทย จึงมีลักษณะกลับไปกลับมาระหวางประชาธิปไตยกับ คณาธิปไตย (การปกครองโดยคณะปฏวิ ตั ิ) 4. ประชาธิปไตย หลงั 14 ตลุ าคม 2516 จอมพลถนอม กติ ติขจร ไดข้ึนเปนนายกรัฐมนตรี เมื่อป 2511 หลังมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญ แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2511 ซึ่งใชเวลารา งถงึ 10 ป แตหลงั จากบริหารประเทศมาเพียง 3 ปเ ศษ จอมพลถนอม กิตติขจร และคณะไดทําการปฏิวัติตนเองและลมเลิก รัฐธรรมนูญฉบับน้ี เม่ือวันที่ 17 พฤศจกิ ายน 2514 และไดเ ขาควบคุมการบริหารประเทศ ในฐานะหัวหนา คณะปฏิวัติ การบรหิ ารประเทศ โดยคณะปฏิวัติ ซง่ึ นําโดย จอมพลถนอม กติ ติขจร จอมพลประภาส จารเุ สถียร และ พ.อ.ณรงค กติ ตขิ จร หรอื กลุมถนอม ประภาส – ณรงค ถูกมองวาเปนการทําการปฏิวัติเพ่ือผลประโยชนของตนเองและกลุม มีการ คอรรัปชั่นเกิดข้ึนมากมายในท่ีสุด นิสิต นักศึกษาและประชาชนไดรวมกันเรียกรองรัฐธรรมนูญและขับไล
254 รัฐบาลจนนําไปสูเหตุการณนองเลือดในวันที่ 14 ตุลาคม 2516 ซ่ึงเรียกเปน “วันมหาวิปโยค”และในท่ีสุด จอมพลถนอม กิตติขจร และคณะตองลาออกจากตําแหนงและเดินทางออกนอกประเทศภายหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 นายสัญญา ธรรมศักด์ิ ไดขึ้นเปนนายกรัฐมนตรีระยะหน่ึงในระยะน้ีถือวาเปนการตื่นตัวในทาง ประชาธปิ ไตยอยา งมาก มีการเรียกรองสทิ ธิเสรภี าพมากขน้ึ มีการจัดหยดุ งาน (Strife) มกี ารแสดงออกในทาง เสรภี าพดานการพูด การเขยี น จาํ นวนหนังสือพิมพไดมีออกจําหนายมากข้ึน มีกลุมพลังทางการเมืองเกิดขึ้น มากมาย มีการเดินขบวน เพ่ือเรียกรองสิทธิและผลประโยชนหลายคร้ังเหตุการณเหลานี้ไดสรางความเบื่อ หนายใหก บั ประชาชนเร่อื ยมา อกี ท้ังคณุ ภาพของผแู ทนราษฎรไมดีไปกวาเดิม นิสิตนักศึกษาไดเขาไปยุงเก่ียว ในเหตกุ ารณว ุนวายตา ง ๆ จนในทสี่ ุดเกดิ วิกฤตกิ ารณนองเลือด 6 ตุลาคม 2519 ทหารในนาม “คณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน” ไดเ ขายึดอํานาจจากรัฐบาล ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช และคณะปฏิรูปการปกครองแผน ดินไดแตงต้ังนายธานินทร กรัยวิเชียร เปน นายกรัฐมนตรี นายธานนิ ทร กรยั วิเชยี ร บรหิ ารประเทศมาไดเ พียง 1 ป คณะปฏิรูปฯ ไดยึดอํานาจอีกครั้งหนึ่ง และคร้ังหลังนี้ไดแตงต้ังพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท เปนนายกรฐั มนตรี พลเอก เกรยี งศักด์ิ ชมะนันท เปน นายกรัฐมนตรถี ึงวันท่ี 29 กมุ ภาพนั ธ 2523 จึงไดลาออก จากตาํ แหนง พลเอก เปรม ตณิ สลู านนท ไดขน้ึ เปน นายกรฐั มนตรีตอจาก พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท ดํารง ตําแหนงมาจนถึงวันท่ี 4 สิงหาคม 2531 รวมระยะเวลา 8 ปเศษ ไดมีการปรับปรุงคณะรัฐบาลหลายคร้ัง ในระหวางดาํ รงตําแหนง มผี ูพ ยายามทาํ การรัฐประหารถงึ 2 ครั้ง แตไมสําเร็จสมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท ไดชอ่ื วา เปนหัวเลี้ยวหวั ตอท่สี าํ คญั ทางดา นการเมอื งการปกครองมกี ารพัฒนาโครงสรางทางการเมืองใหเ ขมแขง็ รวมถงึ การพฒั นาโครงสรางทางดา นเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศใหกาวหนา ดวย พลเอกชาติชาย ชุณหะวัน ไดข้ึนเปนนายกรัฐมนตรี ตอจากพอเอกเปรม ติณสูลานนท เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2531 และถือไดวาเปนคณะรัฐมนตรีท่ีมาจากการเลือกต้ัง ซึ่งเปนความชอบธรรมในกระบวนการ บริหารตามระบอบประชาธปิ ไตย รัฐบาลพลเอกชาตชิ าย ชุณหะวัณ ไดถูกคณะทหารซึ่งเรียกตนเองวา คณะรักษาความสงบเรียบรอย แหงชาติทําการยึดอํานาจ เม่ือวันที่ 23 กุมภาพันธ 2534 และไดแตงตั้งใหนายอานันท ปนยารชุน เปนนายกรฐั มนตรี คณะรฐั บาลของนายอนนั ท ปน ยารชุน ทาํ การบริหารประเทศมาไดปเศษจึงพนจากตําแหนงไปเม่ือมี รัฐบาลชุดใหมน าํ โดย พลเอกสุจินดา คราประยูร เปนนายกรฐั มนตรี รัฐบาลโดยพลเอก สุจินดา คราประยูร ไมไดผานการเลือกต้ังจึงถูกตอตานจากพรรคการเมืองบาง พรรค นิสิตนักศึกษาและประชาชนบางกลุม จนนําไปสูเหตุการณ “พฤษภาทมิฬ” เมื่อวันที่ 15 – 17 พฤษภาคม 2535 ในท่ีสดุ พลเอกสุจนิ ดา คราประยรู ไดล าออกจากตาํ แหนง นายอานนั ท ปน ยารชุน ไดกลบั มาเปน นายกรัฐมนตรีอีกครงั้ หนึง่ โดยมีเปาหมายสําคัญท่ีการยุบสภา เพอื่ เลอื กตงั้ ใหมและเมื่ออยูในตําแหนงไดประมาณ 3 เดือนเศษ จึงไดทําการยุบสภา เมื่อมีการเลือกต้ังใหม นายชวน หลกี ภัย ไดเปน นายกรฐั มนตรี ต้ังแตว ันท่ี 23 กันยายน 2535 เปน ตนมา
255 5. ประชาธปิ ไตยกบั การมสี ว นรว มในประเทศไทย การเปด โอกาสใหป ระชาชนไดม สี วนรว มในทางการเมืองเปน พัฒนาการมสี วนรว มในทางการเมอื งไทย แบบพหุนยิ ม (Pluralism) หรือเปนแนวความคิดท่ีเคารพความแตกตาง (Difference) และความหลากหลาย (Diversity) ในมิติตาง ๆ ของผูคนในสังคมตั้งแตการเมือง ชีวิตทางสังคม และวัฒนธรรม (ธีรยุทธ บุญมี , 2543) อันเปนการสง เสรมิ ใหประชาชนไดม สี ว นรวมในการผลักดนั หรอื การพฒั นาทางการเมือง เศรษฐกิจและ สงั คม กอใหชุมชนเขม แข็ง หรอื ท่เี รียกวา “ประชาสงั คม” ในปจจุบัน ทงั้ นี้ ไดมีการนาํ เสนอแนวความคดิ เร่ือง พหุนิยมกนั มาตั้งแตย คุ แหงการตอสเู พอ่ื ประชาธิปไตย 14 ตุลาคม 2516 แตช วงนนั้ อุดมการณประชาธิปไตยได เลอื นหายไป โดยมแี นวความคดิ เกี่ยวกับสงั คมนิยมมาแทนท่ี จนกระทัง้ ทศวรรษท่ผี า นมา (นับจากเหตกุ ารณพฤษภา 2535) เปนชว งหวั เลีย้ วหวั ตอของการปฏิรูป การเมืองไทย ประชาชนนักการเมือง นักวิชาการ สื่อมวลชน องคกรเอกชนและสภารางรัฐธรรมนูญไดให ความสาํ คัญกับ “การมสี ว นรว มในทางการเมือง” (Political Participation) มากเปนพิเศษ จนดูเหมือนวา จะเปน คําท่ีมีความหมายยง่ิ ใหญ รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2540 นบั ต้งั แตก รอบเบื้องตน ของรางรัฐธรรมนูญ เจตจํานงของสภารางรฐั ธรรมนญู สาระสาํ คัญของรัฐธรรมนูญจงึ ลว นแตม ผี ลใหประชาชน ไดมีสวนรว มในทางการเมืองทุกระดับในกระบวนทางการเมืองมากยิ่งขึ้น และยังไดขยายการรับรองสิทธิขั้น พื้นฐาน (Basic Rights or Fundamental Rights) สิทธิในการแสดงความคิดเห็น โดยการพูด การเขียน การพิมพ การโฆษณา และการสื่อความหมาย โดยวิธีอื่น เปนตน และสิทธิของพลเมือง (Citizen’s Rights) เชน สทิ ธิออกเสยี งเลอื กต้ังและสมคั รรับเลือกตั้ง เสรีภาพในการรวมกันเปนพรรคการเมือง เปนตน เพื่อเอื้อ ประโยชนต อการมีสวนรว มในทางการเมอื งของประชาชน ตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 น้ัน นับเปนคุณูปการ อันยิ่งใหญของการปฏิรูปการเมือง มีผลใหประชาชนมีชองทางเขามีสวนรวมในทางการเมือง ในทุกมิติแหง กระบวนการทางการเมอื งการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยทงั้ ในแนวราบ (รปู แบบหรอื วิธีการ) และแนวตง้ั (ขอบเขตหรือจํานวนของประชาชนผูมีสิทธิสวนรวมในทางการเมือง) โดยบัญญัติไวชัดเจนในหมวด 5 แนวนโยบายพ้ืนฐานแหงรฐั มาตรา 76 ดงั น้ี “มาตรา 76 รัฐตองสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการกําหนดนโยบาย การตดั สินใจทางการเมือง การวางแผนพฒั นาทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทง้ั การตรวจสอบการใช อาํ นาจรฐั ทุกระดบั ” นอกจากน้ัน บทบัญญัติแหงรัฐธรรมฉบับใหมอีกหลายมาตราก็ไดเปดโอกาสใหประชาชนมี สวนรวมในทางการเมืองอยางเปนรูปแบบเดนชัดอยางท่ีไมเคยปรากฏมากอนในรัฐธรรมนูญท้ัง 15 ฉบับที่ ประเทศไทยเคยใชม า สิทธมิ ีสว นรวมในทางการเมอื งของประชาชนตามรฐั ธรรมนูญฉบบั ใหมจึงไดเปด กวา งขึ้น ท้ังดานรูปแบบหรอื วธิ ีการของการมีสวนรว มในทางการเมอื งของประชาชน และขอบเขตกลุมหรือจํานวนของ ประชาชนผูมีสิทธิสว นรวมในทางการเมือง กอ ใหเ กิด “ระบอบประชาธปิ ไตยแบบมสี วนรว ม” (Participatory Democracy) และสราง “ระบบพหุการเมือง” (Plural Politics) ทีน่ ําไปสู “การเมอื งภาคประชาชน”
256 สรปุ จนถึงปจจุบันนี้ ท่ัวโลกไดมีประเทศท่ีปกครองในระบอบประชาธิปไตย จํานวน 123 ประเทศ (ค.ศ. 2007) และกําลังมีจํานวนเพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ ซึ่งไดมีการคาดเดากันวา กระแสดังกลาวจะเกิดข้ึนตอไป ในอนาคตท่ีซึ่งประชาธิปไตยท่ีเคารพสิทธิของเสียงขางนอยจะกลายเปนมาตรฐานสากลสําหรับสังคม มนษุ ยชาตสิ มมตุ ฐิ านดังกลาวเปน หัวใจหลักของทฤษฎี “จุดส้ินสุดของประวัติศาสตร” โดยฟรานซิส ฟุกุยะ มะ ซึ่งทฤษฎดี งั กลาวเปนการวพิ ากษวิจารณบ รรดาผทู ่เี กรงกลวั วา จะมวี วิ ัฒนาการของประชาธิปไตยที่เคารพ สิทธขิ องเสยี งขา งนอ ยไปยังยุคหลงั ประชาธิปไตยและผูทช่ี ้ใี หเหน็ ถึงประชาธปิ ไตยไมเ สรี เรอื่ งท่ี 4 เหตุการณสาํ คญั ทางการเมืองการปกครองของประเทศไทย ประเทศไทยแมจะมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและมี นายกรฐั มนตรีเปน หวั หนา สูงสุดของรัฐบาลมาต้งั แตปพ ุทธศกั ราช 2475 แลว ก็ตาม ยังพบวามีเหตุการณสาํ คัญ ทางการเมอื งการปกครองของประเทศไทยตอมา โดยมที ง้ั การกบฎปฏิวตั แิ ละรัฐประหาร ซ่ึงลวนแตเปนการใช กําลังอํานาจท่ีไมถูกตองตามรัฐธรรมนูญเขายึดอํานาจทั้งส้ิน นอกจากน้ียังพบวาการใชกําลังอํานาจมี ความหมายแตกตา งกนั ออกไป กลาวคอื บางครงั้ เปน “การปฏวิ ตั ”ิ เพ่อื ไลน กั การเมอื งท่คี ดโกงออกไปเทาน้ัน หรอื บางครงั้ หากกลุม ทีต่ องการยึดอาํ นาจทางการเมืองแตทาํ ไมสําเร็จก็จะถูกเรียกวา “กบฏ” แตถาสามารถ ยึดอาํ นาจทางการเมอื งสาํ เรจ็ มีการเปล่ียนแปลง แตย งั คงใชร ัฐธรรมนูญฉบับเกาหรือใชรัฐธรรมนูญฉบับใหม เพอ่ื ใหมกี ารเลอื กตั้งในระยะเวลาท่ไี มนานนักกจ็ ะเรียกการกระทาํ คร้งั นวี้ า “รฐั ประหาร” ซ่ึงบางคร้ังกม็ ีการให ความหมายผิดจากการกระทําครั้งน้ีวาเปน “การปฏิวัติ” ก็คือ การใชอํานาจ การยึดอํานาจทางการเมือง แลว ทําการเปลี่ยนแปลงผนู ําการปกครอง ซึ่งแทจรงิ แลวการเปล่ยี นแปลงรัฐบาลบอยครั้งท่ีเกิดข้ึนในประเทศ ไทยมาจาก “การแยง ชงิ อาํ นาจ” ของกลุมทีม่ ีอาํ นาจอยางไรกต็ ามเหตุการณสาํ คญั ทางการเมอื งการปกครอง ของประเทศไทยภายหลังปพ ทุ ธศกั ราช 2475 มีดงั นี้ 1. กบฏบวรเดช พ.ศ. 2476 ผูน าํ การเปลย่ี นแปลง คอื พลเอกพระวรวงศเ ธอ พระองคเจาบวรเดชและพระยาศรีสิทธิสงคราม (ถิ่น ทา ราม) สาเหตุของการเปล่ยี นแปลง คือ เพ่อื ลม ลา งการปกครองระบอบประชาธิปไตยและนาํ ประเทศกลบั สูการปกครองระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธิราชย ผลการของการเปลีย่ นแปลง คือ การปฏิวัติครั้งนี้ลมเหลว ฝายกบฏถูกฝายรัฐบาลปราบปรามได สําเรจ็ 2. การรฐั ประหาร พ.ศ. 2490 ผูนําการเปลี่ยนแปลง คือ พนั เอกหลวงกาจสงครามและพลโทผิน ชณุ หะวนั สาเหตขุ องการเปลยี่ นแปลง กรณีสวรรคตของรชั กาลที่ 8 และปญหาการฉอราษฎรบังหลวง
257 ผลของการเปลย่ี นแปลง ทําใหจ อมพล ป.พบิ ูลสงครามกลับมามบี ทบาททางการเมืองอกี คร้ัง และ กลุม ซอยราชครมู บี ทบาทสําคัญทางการเมืองมากข้นึ ความสัมพนั ธร ะหวา งไทยกับสหรัฐอเมริกาแนนแฟนมาก 3. การรฐั ประหาร พ.ศ. 2501 ผนู าํ การเปลี่ยนแปลง คือ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรชั ต สาเหตุของการเปล่ยี นแปลง อางสาเหตุจากภยั คุกคามของลัทธคิ อมมิวนิสต ผลของการเปล่ียนแปลง ทําใหป ระเทศไทยเขา สูร ะบอบเผด็จการอาํ นาจนยิ ม 4. วันมหาวปิ โยค 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ผูนําการเปลี่ยนแปลง คือ ประชาชน นสิ ิต นกั ศึกษา สาเหตุของการเปล่ียนแปลง เพ่ือตอตานเผด็จการทหารท่ีครอบงําและลิดรอนสิทธ์ิเสรีภาพทาง การเมอื งของประชาชน ผลของการเปลยี่ นแปลง ประเทศไทยเขาสูระบอบประชาธปิ ไตยอยางสมบรู ณ ประชาชนมเี สรีภาพ ในการแสดงออกทางการเมืองอยางกวางขวาง และมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 (ที่ถือวามีความ เปน ประชาธปิ ไตยมากที่สุดฉบบั หนึง่ ) 5. เหตกุ ารณ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ผนู าํ การเปล่ยี นแปลง คอื พลเรอื เอกสงัด ชะลออยู สาเหตุของการเปล่ยี นแปลง อา งวานสิ ิตนกั ศกึ ษาทเ่ี ปน ผนู าํ การเปลย่ี นแปลงทางการเมืองในวันที่ 14 ต.ค. 2516 ไดร บั การสนบั สนุนจากคอมมิวนิสต ผลของการเปล่ยี นแปลง ระบอบประชาธิปไตยถูกลมลา งและกลับไปสกู ารปกครองแบบเผด็จการ อํานาจนยิ มอกี ครั้ง สภาพการเมืองขาดเสถยี รภาพและเกดิ ความแตกแยกอยางรนุ แรง 6. การรัฐประหาร พ.ศ. 2520 ผนู าํ การเปล่ยี นแปลง คอื พลเรือเอกสงัด ชะลออยู สาเหตกุ ารเปลีย่ นแปลง การคัดคานนโยบายแบบขวาจัดของนายธานินทร กรยั วิเชียร (เผดจ็ การโดยพลเรือน) ผลของการเปลยี่ นแปลง มีการประกาศใชร ฐั ธรรมนญู ฉบับ พ.ศ. 2521 พลเอกเกรยี งศกั ดิ์ ชมะนันท และพลเอกเปรม ติณสูลานนท เปนนายกรฐั มนตรคี นตอ มา 7. การรฐั ประหาร พ.ศ. 2534 (รสช.) ผนู ําการเปลย่ี นแปลง คือ พลเอกสุนทร คงสมพงษ, พลเอกสจุ ินดา คราประยรู , พลอากาศเอก เกษตร โรจนนลิ สาเหตขุ องการเปลี่ยนแปลง การฉอราษฎรบงั หลวงของคณะรฐั บาลที่มีพลเอกชาตชิ าย ชุณหะวัณ เปน นายกรฐั มนตรี ผลของการเปลยี่ นแปลง นายอานนั ท ปน ยารชนุ ไดร ับการแตง ตง้ั ใหเ ปนนายกรัฐมนตรี 8. เหตุการณพ ฤษภาทมฬิ (17 – 19 พ.ค. 2535) ผนู าํ การเปลยี่ นแปลง คือ ประชาชนทั่วไป นักเรียน นักศึกษา
258 สาเหตขุ องการเปลีย่ นแปลง นกั ศึกษา ประชาชนและนกั การเมืองบางกลุมรวมกันตอตานการเขา ดํารงตาํ แหนงผูนาํ ของพลเอกสุจินดา คราประยูร ผลของการเปลยี่ นแปลง เกดิ เหตุการณนองเลอื ดอีกครง้ั และนายอานันท ปนยารชุน กลับเขามา ดาํ รงตาํ แหนงนายกฯ อีกวาระหนง่ึ กบฏ 12 คร้งั – ปฏวิ ตั ิ 1 คร้ัง – รฐั ประหาร 8 ครั้ง การเปลีย่ นแปลงทางการเมอื งไมว า จะเปน การเปลี่ยนรฐั บาลหรอื คณะผูป กครองหรือการเปล่ียนกติกา การปกครองหรือรัฐธรรมนูญยอมเปนส่ิงท่ีเกิดข้ึนไดในทุกประเทศปกติรัฐธรรมนูญของแตละประเทศยอม กําหนดวิธีการเปลี่ยนแปลงไว เชน ใหมกี ารเลือกต้ังทั่วไปทุก 4 ป หรือ 5 ป หรือเลือกประธานาธิบดีทุก 4 ป หรอื 6 ป เพือ่ ใหโ อกาสประชาชนตัดสินใจวาจะใหบ ุคคลใดหรือกลุมพรรคการเมืองใดไดเปนผูปกครอง และ กําหนดวิธกี ารเปลยี่ นแปลงหลักการหรอื สาระของรฐั ธรรมนูญหรอื แมกระทั่งสรา งรัฐธรรมนูญใหมแทนฉบับเดิม การเปลี่ยนแปลงตามกระบวนการดังกลาวขางตนถือวาเปนการเปลี่ยนแปลงโดยสันติวิธีและเปน วถิ ที างท่ถี ูกตองตามกฎหมาย อยา งไรกต็ าม การเปลยี่ นแปลงอกี วิธีหน่ึงท่ีถอื วา เปน วธิ ีการรนุ แรงและไมถ ูกตอง ตามกฎหมาย น่ันก็คือ การใชกําลังเขาขมขู เชน ใชกองกําลังติดอาวุธเขายึดอํานาจจากรัฐบาลเดิมไล คณะรัฐมนตรอี อกไปและต้งั คณะรฐั มนตรใี หม โดยกลมุ ของคนท่ียึดอาํ นาจเขามาแทนทห่ี รือยกเลิกรัฐธรรมนูญ ฉบับเดิมแลวรางรัฐธรรมนูญฉบับใหม วางกฎและกติกาตามที่กลุมผูมีอํานาจปรารถนา โดยปกติคณะหรือ กลมุ บุคคลทีจ่ ะเขามาเปลี่ยนแปลงดวยวธิ ีนี้ จะตองมีกองกําลังติดอาวุธเขาปฏิบัติการ มิฉะน้ันแลวก็ยากท่ีจะ สาํ เรจ็ และถึงมีกาํ ลงั กไ็ มอ าจไมสําเร็จเสมอไปเพราะมีองคประกอบการสนับสนุนหรือตอตานจากประชาชน เขามาเปนปจจยั ประกอบดวย ปญหาทเ่ี กิดขน้ึ กับประเทศท่ีไมมีเสถียรภาพทางการเมืองก็คือวา การเปลี่ยนรัฐบาลหรือผูปกครอง ประเทศมักไมเ ปนไปตามกตกิ า หรือระเบยี บแบบแผนโดยสันติวธิ ี ตรงกันขามมกั เกิดการแยง ชงิ อํานาจดว ยการ ใชกําลงั อยูเนอื ง ๆ ไมวา จะเปนไปในรูปของการจลาจลกบฏ ปฏิวัติหรือรัฐประหารความหมายของคําเหลาน้ี เหมือนกันในแงท ่ีวาเปนการใชก าํ ลังอาวธุ ยึดอาํ นาจทางการเมอื ง แตม ีความหมายตา งกนั ในดานผลของการใช กําลังความรุนแรงน้ัน หากทําการไมสําเร็จจะถูก เรียกวา กบฏจลาจล (rebellion) ถาการยึดอํานาจน้ัน สมั ฤทธผิ ล และเปลีย่ นเพียงรัฐบาลเรยี กวา รัฐประหาร (coupd etat) แตถ ารัฐบาลใหมไดท าํ การเปลี่ยนแปลง มลู ฐานะระบอบการปกครอง ก็นบั วา เปนการปฏวิ ัติ ในการเมอื งไทยคาํ วา ปฏวิ ตั ิ กบั รัฐประหารมักใชป ะปนกัน แลว แตผ ูย ดึ อาํ นาจไดน้ันจะเรียกตัวเองวา อะไร เทาท่ีผานมามักนิยมใชคําวา ปฏิวัติเพราะเปนคําท่ีดูขึงขังนาเกรงขามเพ่ือความสะดวกในการธํารงไว ซึ่งอาํ นาจท่ไี ดม านั้น ทัง้ ทโี่ ดยเน้อื แทแลว นับแตมกี ารเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถนุ ายน 2475 ซงึ่ อาจ ถือไดว าเปนการปฏวิ ตั ทิ แี่ ทจริงครั้งเดียวที่เกิดข้ึนในประเทศไทย การยึดอํานาจโดยวิธีการใชกําลังคร้ังตอ ๆ มาในทางรัฐศาสตรถือวาเปนเพียงการรัฐประหารเทานั้น เพราะผูยึดอํานาจไดนั้นไมไดทําการเปลี่ยนแปลง หลกั การมูลฐานของระบอบการปกครองเลย
259 ดังนน้ั เพื่อใหสอดคลองกับพฤติกรรมทางการเมอื งและมใิ หส บั สนกบั การใชชื่อเรยี กตวั เองของคณะท่ี ทําการยึดอํานาจทั้งหลาย อาจสรปุ ความหมายแคบ ๆ โดยเฉพาะเจาะจงสําหรบั คําวา ปฏิวัติ และรัฐประหาร ในบรรยากาศการเมอื งไทย เปน ดงั น้ี คือ “ปฏวิ ตั ”ิ หมายถึง การยดึ อํานาจโดยวิธีการที่ไมถูกตองตามรัฐธรรมนูญ ยกเลิกรัฐธรรมนูญที่ใชอยู อาจมหี รือไมมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับใหม และรัฐบาลใหมไดทําการเปลี่ยนแปลงฐานะระบอบการ ปกครอง เชน เปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย เปนระบอบประชาธิปไตยหรือ คอมมิวนิสต ฯลฯ สวน “รัฐประหาร” หมายถึง การยึดอํานาจโดยวิธีการท่ีไมถูกตองตามรัฐธรรมนูญ แตยังคงใช รัฐธรรมนูญฉบับเกาตอไป หรือประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับใหม เพ่ือใหมีการเลือกต้ังเกิดขึ้นในระยะเวลา ไมนานนกั ในประเทศไทย ถือไดวา มีการปฏิวัติเกิดข้ึนครั้งแรกและครั้งเดียว คือ การเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง 2547 โดยคณะราษฎร จากระบบสมบรู ณาญาสิทธริ าชยม าเปน ระบอบประชาธปิ ไตย และมีการกบฏ เกดิ ขน้ึ 12 คร้ัง และรฐั ประหาร 8 ครั้ง ดังน้ี กบฏ 12 ครง้ั กบฏ ร.ศ. 130 กบฏบวรเดช (11 ตุลาคม 2476) กบฏนายสิบ (3 สงิ หาคม 2478) กบฏพระยาทรงสรุ เดช หรือกบฏ 18 ศพ (29 มกราคม 2482) กบฏเสนาธกิ าร (1 ตุลาคม 2491) กบฏแบง แยกดินแดน (พ.ย. 2491) กบฏวังหลวง (26 กมุ ภาพันธ 2492) กบฏแมนฮัตตัน (29 มถิ นุ ายน 2494) กบฏสันติภาพ (8 พฤศจิกายน 2497) กบฏ 26 มนี าคม 2520 กบฏยงั เตอรก (1- 3 เมษายน 2524) กบฏทหารนอกราชการ (9 กนั ยายน 2528) รัฐประหาร 8 ครง้ั พ.อ.พระยาพหลฯ ทาํ การรัฐประหาร (20 ม.ิ ย. 2476) พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ และคณะนายทหารบก ทําการรัฐประหาร (8 พ.ย. 2490) จอมพล ป.พิบูลสงคราม ทาํ การรัฐประหาร (29 พ.ย. 2494) จอมพลสฤษดิ์ ธนะรชั ต ทาํ การรัฐประหาร (16 กันยายน 2500) จอมพลถนอม กติ ตขิ จร ทาํ การรัฐประหาร (20 ตลุ าคม 2501) จอมพลถนอม กิตติขจร ทําการรัฐประหาร (17 พฤศจิกายน 2514) พล.ร.อ. สงดั ชะลออยู ทาํ การรฐั ประหาร (20 ตุลาคม 2520)
260 พล.อ. สนุ ทร คงสมพงษ ทาํ การรัฐประหาร (23 กุมภาพันธ 2534) คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยเปน ประมขุ ทําการ รฐั ประหาร (19 กนั ยายน 2549) กจิ กรรม ใหผูเรียนตอบคาํ ถามตอไปน้แี ลว บันทึกผลการเรียนรูลงในแบบบนั ทึกผลการเรียนรู เร่ือง เหตกุ ารณที่สําคญั ทางการเมอื งการปกครองของไทย 1. ใหผเู รียนสรปุ เหตกุ ารณทางการเมอื งการปกครองของประเทศไทยในชว งป 2475 จนถงึ ป 2550 ทผ่ี ูเ รียนเห็นวาเปนเหตุการณร ฐั ประหารเทานน้ั ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 2. ใหผ เู รยี นวเิ คราะหเ หตุการณทางการเมอื งของไทยในปจ จบุ นั (ป 2551 – 2552) วาเปนอยางไร เพียงส้ัน ๆ ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... แบบบันทึกผลการเรียนรู เรือ่ ง เหตุการณส ําคญั ทางการเมอื งการปกครองของไทย สรปุ เหตุการณส ําคญั ทางการเมืองของไทยระหวางป พ.ศ. 2475 – 2549 เฉพาะเหตุการณทเ่ี ปน รฐั ประหาร ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................
261 วิเคราะหเ หตุการณท างการเมอื งของไทยในปจ จบุ ัน (ป 2551 – 2552) ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... เร่ืองท่ี 5 เหตกุ ารณส ําคญั ทางการเมืองการปกครองของโลก ท่สี ง ผลกระทบตอ ประเทศไทย เหตุการณสําคัญทางการเมืองการปกครองของโลก นับเปนมูลเหตุใหญที่ทําใหสังคมไทยเกิดการ เปลยี่ นแปลง โดยเฉพาะอยางยิ่งสงผลกระทบตอการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจของประเทศไทยอยาง หลกี เลยี่ งไมไ ด ซ่งึ เหตุการณส ําคัญตา ง ๆ ทเ่ี กดิ ข้ึนในชว งศตวรรษท่ี 20 (ค.ศ. 1900 – 2000) ดังนี้ 1. สงครามโลกครัง้ ท่ี 1 (ค.ศ. 1914 – 1918) สงครามโลกคร้งั ที่ 1 เพ่มิ ความขดั แยงระดบั โลกทเี่ กิดข้ึน ตัง้ แตค.ศ. 1914 ระหวางฝายพันธมิตรและ ฝายมหาอาํ นาจกลาง ซึง่ ไมเคยปรากฏสงครามขนาดใหญท ่ีมที หารหรือสมรภมู ทิ เี่ กี่ยวของมากขนาดนี้มากอน นบั ยุคสมยั แหง ความหายนะ โดยสาเหตขุ องการเกิดสงครามครัง้ น้ี เกดิ จากความขัดแยงทางการเมืองของทวีป ยุโรป ซึ่งเปนจุดเร่ิมตนของการส้ินสุดของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยของยุโรปและการสิ้นสุดของ “จกั รวรรดิออตโตมนั ” อันเปนตน เหตขุ องการปฏิวัตริ ัสเซยี นอกจากนกี้ ารพายแพข องประเทศเยอรมนใี นสงครามครั้งน้ี สง ผลใหเ กดิ ลัทธิชาตินิยมขึ้นในประเทศ อนั เปน จุดเร่ิมตนของสงครามโลกครัง้ ท่ี 2 (ค.ศ. 1939) 2. สงครามโลกครงั้ ที่ 2 (ค.ศ. 1939 – 1945) สงครามโลกคร้ังที่ 2 อุบัติขึ้นอีกครัง้ ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1939 นบั เปน การประลองความย่ิงใหญอีก ครง้ั ระหวางเยอรมนั และอังกฤษเพยี ง 1 ป เยอรมันกส็ ามารถยดึ ครองยุโรปไวเ กอื บท้ังทวีป องั กฤษตอ งสูญเสีย อาํ นาจโดยส้นิ เชงิ สงครามครัง้ นไี้ มเพยี งแตเกดิ ข้นึ ในยโุ รปเทา นัน้ ทางดานเอเชียญ่ีปุนไดเขายึดครองประเทศ ตาง ๆ โดยไดบุกยึดจีนแผนดินใหญและดินแดนตาง ๆ ในเอเชียตะวันตะวันออกเฉียงใตสงผลใหสหรัฐฯ เขา รวมสงครามในคร้งั นอี้ ีก สงครามเร่ิมทวคี วามรุนแรงขึ้นเม่ือเยอรมนั ไดบ ุก โจมตี สหภาพโซเวยี ตและเขา ยึด ครองไดเกือบท้ังหมด สวนญป่ี ุนเองก็โจมตกี องทัพเรือของสหรัฐฯ ท่ีเพริลฮาเบอร ทําใหสหรัฐฯ ใชมาตรการ เดด็ ขาดโจมตีญีป่ ุนซ่ึงจบลงดวยการทิง้ ระเบิดปรมาณู 2 ลกู ทีเ่ มืองฮโิ รชมิ าและนางาซากิ กลาวโดยสรุปไดวา การทําสงครามคร้ังนี้เปนสงครามระหวาง 2 ฝาย คือ สหรัฐฯ กับญี่ปุน เพ่ือครอบครองเอเชียและระหวาง เยอรมนั กับสหภาพโซเวียต เพอ่ื แยง ชิงความเปนใหญในยุโรป
262 ผลกระทบของสงครามโลกท้ัง 2 ครัง้ มผี ลกระทบหลายดาน ซง่ึ สรปุ ได ดังนี้ ประการแรก อาณานิคมของยุโรปเร่ิมไดรับอิสรภาพมากข้ึนเพราะผลของสงครามนั้น ทั้งผูแพและ ผชู นะในยโุ รปตางก็หมดกาํ ลัง ไมวา กาํ ลงั ทรพั ยหรือกําลังคน ประเทศอยูในสภาพบอบช้ํา จึงไมมีพลังตอตาน กระแสการด้ินรนแหงเสรีภาพของประเทศอาณานิคมไดอีก อังกฤษ ฝรั่งเศสตางตองผอนปรนตามกระแส ตอ ตา นของประเทศอาณานคิ ม ประการที่สอง ผลพลวงจากสงครามทง้ั 2 ครง้ั นี้ กอใหเ กดิ ลทั ธคิ อมมิวนสิ ตใ นสหภาพโซเวียต ซ่ึงเริ่ม ตง้ั แตสงครามโลกคร้งั ท่ี 1 จนกระทัง่ เมอื่ สน้ิ สดุ สงครามโลกครั้งท่ี 2 แลวลัทธิคอมมวิ นสิ ตใ นสหภาพโซเวยี ต กย็ ังอยูแ ละเติบโตข้นึ เรอื่ ย ๆ ทงั้ ในทวีปยโุ รปและเอเชีย จึงกลาวไดวาผลของสงครามโลก ครั้งท่ี 2 ทําใหโลก ตองพบปญ หาทรี่ า ยแรงกวา เดิม เพราะเมื่อลัทธินาซีในเยอรมันลมสลายไปเนื่องจากแพสงคราม ยุโรปกลาง และยุโรปตะวนั ออกตองอยูใตอทิ ธพิ ลของลทั ธิคอมมิวนิสตจนหมดส้ิน โดยมีผูนําคือ สหภาพโซเวียต ในที่สุด สหภาพโซเวียตจึงกาวข้ึนมาเปนประเทศมหาอํานาจแทนเยอรมันและมีความมุงหวังจะเปนจาวโลกใหได แตสหภาพโซเวียตก็ตองพบคูแขงท่ีสําคัญท่ีมีแนวความคิดท่ีแตกตางกัน คือ สหรัฐอเมริกากลาวโดยสรุป สงครามทั้ง 2 คร้ังไดเปลี่ยนยุโรปจากการเปนผูนําของโลก กลายมาเปนยุโรปตองตกอยูภายใตอิทธิพลของ สหภาพโซเวียตของฝายสหรัฐอเมริกา นับเปนการเปลี่ยนโฉมหนาคร้ังสําคัญของประวัติศาสตรโลกและลัทธิ ลาอาณานคิ มของยุโรปที่เจรญิ ตง้ั แตกอนศตวรรษท่ี 20 อนั ยาวนานกถ็ ึงจุดอวสานไปดว ย หากจะสรุปรวม ๆ เม่ือสงครามโลกครั้งท่ี 2 ยุติลง สถานการณโลกไดเปลี่ยนแปลงคร้ังใหญ คือ ยุโรปไมไดครอบครองแอฟริกา และเอเชียตอไป อํานาจโลกข้ึนอยูกับ 2 ประเทศ คือ สหภาพโซเวียตและสหรัฐอเมริกา ความขัดแยงทาง อดุ มการณทางการเมืองของประเทศมหาอํานาจทัง้ สองหลังสงครามโลกคร้งั ที่ 2 ไดนาํ ไปสูเหตุการณสงครามเย็น 3. สงครามเย็น สงครามเย็น คือ การตอสูระหวางคายประชาธิปไตยกับคายคอมมิวนิสต เปนการทําสงครามกัน โดยปราศจากเสียงปนหรือการเขนฆา อันเปนผลสืบเน่ืองจากการขยายอิทธิพลทางดานอุดมการณทาง การเมืองของสองคาย ตางฝายตางก็แสวงหาพรรครวมอุดมการณท้ัง 2 คายตางใชยุทธวิธีตาง ๆ ท่ีจะดึง ประเทศตาง ๆ ทั่วโลกมาเปนฝายตนใหได ไมวาจะเปนการโฆษณา ประชาสัมพันธ การชวยเหลือทางดาน เศรษฐกิจ การเมอื งหรืออาวธุ ยุทโธปกรณตาง ๆ แกป ระเทศในโลกทสี่ ามแมจะมปี ระเทศเล็ก ๆ จะรวมตัวเปน กลุม “ผไู มฝก ใฝฝายใด”กต็ ามก็ไมสงผลกระทบตอ ประเทศมหาอํานาจทั้งสองลดการแขงขนั กนั สหรัฐอเมรกิ า ซ่ึงเปนประเทศท่ีมีเศรษฐกิจที่ดีมากเพราะไมไดรับผลจากสงครามมากนักและสามารถขายอาวุธใหกับชาติ พันธมิตร ซ่ึงตางจากสหภาพโซเวยี ตทมี่ ีอาํ นาจมาก แตส ภาพเศรษฐกิจตกตํา่ เน่อื งจากทาํ สงครามกับเยอรมัน อยา งไรกต็ ามสหภาพโซเวียตกย็ งั มีอดุ มการณทแ่ี นวแนทจ่ี ะแพรอ ทิ ธพิ ลทางคอมมิวนสิ ตใหกวางขวางเพ่ือครอง โลกโดยสหภาพโซเวียตมองวา เม่ือยโุ รปตะวนั ออกเปนบริวารของตนแลว 1. การส้นิ สดุ ของสงครามเยน็ และการเปล่ียนแปลงทางอํานาจในโลก ความเปลี่ยนแปลงในชวงป ค.ศ. 1989 – 1990 มีความสําคัญอยางยิ่งในแงของความสัมพันธทาง อาํ นาจ ท้งั ในระดบั โลกและภูมิภาค ในทางประวัติศาสตร กลาวไดวาการส้ินสุดของทศวรรษ 1980 เปนการ สิ้นสุดของยุคสมัยหนึ่งทีเดียว น่ันคือ ยุคสมัยท่ีรูจักกันท่ัวไปวา “สงครามเย็น” อันเปนความขัดแยงหรือ
263 ปรปกษท างอุดมการณร ะหวา งทุนนยิ มและคอมมิวนิสต สงครามเย็นเร่มิ กอตวั ตัง้ แตระหวางสงครามโลกครั้งท่ี 2 ระหวางรัสเซียและพันธมิตรตะวันตกทั้ง ๆ ท่ียังอยูในระหวางการรวมมือตอตานนาซีและมาแตกแยก กลายเปนการเผชิญหนาระหวาง “ตะวันออก” และ “ตะวันตก” อยางชัดเจน ประมาณป ค.ศ. 1946 – 1947 คําประกาศของสตาลิน ในป ค.ศ. 1946 เรียกระดมพลังในชาติเพ่ือเตรียมการเผชิญหนากับฝาย ตะวันตก (ความจรงิ จุดมุง หมายในทางปฏิวัติ นาจะเพื่อฟนฟูบูรณะและพัฒนาประเทศอยางเรงรัด) นับเปน การ “ประกาศสงครามเยน็ ” โดยฝายคอมมวิ นสิ ตแ ละการประกาศ “หลักการทรูแมน” ในปตอมาก็นับเปน การ “ประกาศสงครามเย็น” ของฝายตะวันตก การลมสลายของระบอบปกครองคอมมิวนิสตในยุโรป ตะวันออกและความเปลี่ยนแปลงในรสั เซียทีเ่ ปนแมแ บบของระบบปกครองแบบนี้ที่ส่ันคลอน ไมเพียงแตการ ผูกขาดอํานาจของพรรคคอมมิวนิสตรัสเซีย แตรวมไปถึง “จักรวรรดิ” รัสเซียเลยทีเดียว ซึ่งสงผลกระทบ สําคัญยิ่งตอความสัมพันธทางอํานาจในโลก ในชวงตอระหวางป ค.ศ. 1989 – 1990 นักสังเกตการณทาง การเมอื งบางคนระบอุ ยางไมลังเลยวา “โลกไดเปล่ียนไปแลวในชว งเวลาเพียงหน่ึงป” 5. การเมอื งโลกสสู ังคมไทย จุดเปลยี่ นแปลงทสี่ ําคัญท่ีนําสูสงั คมไทยในยุคปจจุบัน กลาวไดวาเหตุการณสําคัญก็คือการลมสลาย ของสหภาพโซเวียต ในป ค.ศ. 1997 อดีตสหภาพโซเวียตเปนประเทศท่ีมีดินแดนกวางใหญ มีอาณาเขต ครอบคลุมทั้งในทวีปยุโรปและทวีปเอเชีย นอกจากนี้สหภาพโซเวียตยังมีบทบาทในการเปนผูนําของโลก คอมมิวนิสตดวยการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสตและปญหาในสหภาพโซเวียต เริ่มจากการเปล่ียนแปลง ครง้ั แรกในการปฏิวตั ิ เมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 1917 โดยเลนินผูซึ่งนาํ สหภาพโซเวียตเขาสคู วามเปน คอมมวิ นสิ ต และทาํ ใหโ ลกแบง ออกเปน 2 ฝา ย คือ ฝา ยลัทธคิ อมมวิ นิสตโ ดยมแี กนนาํ คือ สหภาพโซเวียตและฝายโลกเสรี นาํ โดยสหรัฐอเมริกา การกระทําดังกลาวกม็ ีอาจจะลุลวงไปไดดวยดี ในชวงเวลาดังกลาวนั้นโลกจึงเต็มไปดวย ความวนุ วาย ตอมาเมื่อถึงชวงปลายศตวรรษที่ 20 ประเทศมหาอํานาจทั้ง 2 ตองประสบกับปญหาทางดาน เศรษฐกิจอันเนื่องมาจากการสนับสนุนประเทศตาง ๆ ในคายของตนท้ังทางดานอาวุธยุทโธปกรณ ทุน เทคโนโลยตี าง ๆ จนลมื ผลกระทบทจ่ี ะมีมาสปู ระเทศ นอกจากน้ี ประเทศตาง ๆ เหลา นัน้ เร่มิ จะมอี ิสระในการ ดาํ เนนิ นโยบายภายในประเทศและคาํ นึงผลประโยชนห ลกั ของตนมากขนึ้ ดังนนั้ ประเทศมหาอํานาจทง้ั สอง จึงไดต กลงเจรจาจํากัดอาวธุ ยทุ ธศาสตรขน้ึ ทาํ ใหสถานการณโลกเริ่มคล่ีคลายลง การเปล่ียนแปลงครั้งที่สอง ของสหภาพโซเวียตท่ีสงผลกระทบทั่วโลกและทําใหสหภาพโซเวียตตองลมสลายนั้น ก็คือ การปรับเปลี่ยน นโยบายบริหารประเทศแบบใหมของนายมิดาฮิล กอรบาซอฟ ประธานาธิบดีของสหภาพโซเวียต ซึ่งไดใช นโยบาย เปเรสทอยกา กลาสนอสต ซึ่งมีสาระสําคัญอยูที่การปฏิรูปโครงสรางทางการเมือง การขจัดความ เฉอ่ื ยชา การคอรัปช่ันของเจาหนาท่ีพรรคและยังรวมถึงการเปดโอกาสใหมีประชาธิปไตยในการรับขาวสาร ขอ มูลน้นั ไดท าํ ใหเกดิ ความวนุ วายในสหภาพโซเวียต ทําใหผูนําคอมมิวนิสตไมไววางใจผูนํา และนําไปสูการ ปฏิวตั ิท่ลี มเหลว การหมดอาํ นาจของพรรคคอมมวิ นิสต ประเทศบริวารของสหภาพโซเวยี ตในยุโรปตะวันออก ตางแยกตัวเปนอสิ ระและทา ยที่สดุ รฐั ตา ง ๆ ในสหภาพโซเวียตตางแยกตัวเปนประเทศอิสระปกครองตนเอง สง ผลใหส หภาพโซเวียตถงึ การลมสลายและดุลอํานาจ
264 6. เกดิ ขบวนการนักศกึ ษาเปนปรากฏการณระดับโลก ในชวงสงครามโลกท้ัง 2 ครงั้ ขบวนการนักศึกษาน้ีไดเกิดข้ึนจากแนวความคิด “การปฏิบัติวัฒนธรรม” ในเชิงการปลดปลอย ตนเองเปนรปู แบบของการตอ ตานสถาบันเดิม หรือการปลดปลอ ยตนเองจากวฒั นธรรมเกา สรางวัฒนธรรมใหม ดังจะเห็นไดจากความนิยม “เพลงร็อค” “กางเกงยีน” “บุปผาชน” “ซายใหม” โดยความคิดท่ีเกิดกับ นักศึกษาน้ีไมเพียงเกิดกับนักศึกษาของสหรัฐ ยุโรปตะวันตก ญ่ีปุนเทานั้น แตยังเขามาสูนักศึกษาไทยดวย โดยเฉพาะอยางยงิ่ ในชว งสงครามเวียดนามนกั ศึกษาไทยมีสวนรวมในขบวนการตอตานสงครามเปน อยา งมาก ขบวนการนกั ศกึ ษาโลกกลายเปน พลังทางสงั คมและการเมืองสาํ คญั โดยเฉพาะในการประทว งใหญข อง นกั ศึกษาฝรั่งเศส (ค.ศ. 1968) ทที่ าํ ใหเมืองปารีส และอีกหลายเมืองของฝร่ังเศสกลายเปนอัมพาต และในป เดียวกัน การประทวงของนักศึกษาอเมริกันก็ทําใหนายลินคอน จอหนสัน ไมกลาลงสมัครรับเลือกต้ังเปน ประธานาธิบดขี องสหรฐั สมยั ท่ี 2 สาํ หรบั ประเทศไทยน้ัน กระแสความคิดทีป่ ลดปลอยและขบวนการนักศึกษาไดเกิดขึ้น อันเปนผลมา จากระยะชวงเวลาอนั ยาวนานของการเมืองโลก โดยในชวง 14 ตุลาคม 2516 เกดิ ขบวนการนกั ศึกษาประทวง ตอตานระบอบถนอม – ประภาส – ณรงค จนนักศึกษาตองถูกรัฐทําลายชีวิตไปกวา 70 คน แตในท่ีสุดก็ สามารถไล ถนอม – ประภาส และณรงคไ ด สรุปไดวา ขบวนการนักศึกษาไทย ชวง พ.ศ. 2516 – 2519 นับเปนสวนหนึ่งของ “ชวงระยะเวลา ยาว” ของการเมอื งไทยกวา 100 ป ในขณะเดยี วกนั ก็เปน สว นหน่งึ ของ “ชวงเวลาระยะยาว” ของการเมือง โลกกวา 2 ศตวรรษ โดยมาพรอมและทนั กบั ระยะเวลาของการปลดปลอย และเปลี่ยนแปลงของโลกคร่ึงหลัง ของศตวรรษที่ 20 ซ่ึงหลังจากนั้นเพียงไมก่ีป เม่ือถึงศตวรรษ 1980 ทุกอยางก็เปลี่ยนแปลงไปโดยสิ้นเชิง โดยสหภาพโซเวียตและระบบสังคมนิยมไดล มสลาย เศรษฐกิจตลาดและโลกาภิวัตนก็เติบโตมาแทนท่ี ซ่ึงเชื่อ กันวาจะมีความกาวหนาไปพรอมกับ “ความพินาศของอดีต” และ“การสิ้นสุดของประวัติศาสตรทาง การเมอื ง” กิจกรรมท่ี 1 ใหผูเรียนเขยี นเคร่อื งหมาย √ หนาขอ ความที่ถูกตอ งและเขยี นเครอื่ งหมาย X หนาขอ ความท่ีเหน็ วา ผิด ................... 1. เมืองฮิโรชมิ าและเมอื งนาวาซากิ เปนเมอื งของประเทศญปี่ นุ ท่ถี ูกระเบิด ปรมาณูในชว งสงครามโลกคร้ังที่ 2 ................... 2. ผลกระทบจากการเกิดสงครามโลกครง้ั ที่ 2 ทม่ี ตี อสหภาพโซเวียต คือ ไดรบั ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ ................... 3. สงครามเยน็ คอื การตอสูระหวางคา ยประชาธิปไตยและคา ยคอมมิวนสิ ต ................... 4. ลทั ธนิ าซเี ปนลทั ธขิ องประเทศรสั เซยี ................... 5. ในชวงสงครามเยน็ ยโุ รปตะวันออกปกครองระบอบประชาธิปไตย ................... 6. สงั คมไทยไดร บั ผลกระทบจากเหตุการณก ารลมสลายของสหภาพโซเวียต ในป ค.ศ. 1997 ................... 7. “ขบวนการนกั ศึกษาโลก” เกิดขน้ึ จากแนวความคิด “การปฏิบตั วิ ัฒนธรรม”
265 ................... 8. นักศึกษาไทยมีสวนรว มในขบวนการตอตา นสงครามเย็น ................... 9. ในป ค.ศ. 1968 เกิด “ขบวนการนักศึกษา” ประทว งในประเทศฝรง่ั เศสและสหรฐั อเมรกิ า ................... 10. “ขบวนการนกั ศกึ ษาไทย” ไดเกดิ ขึ้นอนั เปนผลมาจาก “การเมืองโลก” ในชวง 14 ตลุ าคม 2520 เฉลย 4. 5. 1. 2. 3. 9. 10. 6. 7. 8. กิจกรรมที่ 2 ใหผ ูเรยี นศึกษาขอมูลเกี่ยวกับเหตุการณสําคัญทางการเมืองของโลกชวงสงครามโลกคร้ังที่ 1 และ สงครามโลกครั้งที่ 2 ตลอดจนเหตกุ ารณปฏวิ ตั ทิ างการเมืองของประเทศตา ง ๆ จาก Internet เรอ่ื งที่ 6 หลักธรรมาภบิ าล ความหมายของหลกั ธรรมาภิบาล หลักธรรมาภิบาล หมายถงึ แนวทางในการจัดระเบยี บเพื่อใหสงั คมของประเทศ ทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคเอกชนและภาคประชาชนสามารถอยูรว มกันไดอ ยางสงบสุข โดยต้ังอยใู นความถกู ตอ งและเปน ธรรม ปจจุบันจึงเห็นไดวา การบริหารจัดการองคกรท้ังภาครัฐและเอกชนไดใหความสําคัญกับการนํา หลกั ธรรมาภบิ าลมาใชโดยเฉพาะเรื่องคุณธรรมเนื่องจากพบวา มีการประสบกับภาวะวิกฤติอันเกิดจากการ ทุจริตที่ระบาดออกไปอยางรวดเร็วและกวางขวาง มีทั้งความไมรับผิดชอบตอสังคมหรือสวนรวมโดยคํานึง แตประโยชนข องตนเองและพวกพอง อนั เปนการบรหิ ารจัดการท่ีขาดคณุ ธรรมและจริยธรรมอยา งยงิ่ ธรรมาภิบาลในองคกรภาครัฐหรือการบริหารจัดหารท่ีดีในภาครัฐ (Good Govermnance) จะชวย กระตนุ อยางมากตอ การพฒั นาและขยายตัวของจรยิ ธรรมในทางธรุ กจิ ท้งั นี้เพราะความสัมพนั ธระหวา งภาครฐั กบั ภาคเอกชนมอี ยูอ ยางใกลชิด ภาครัฐในฐานะที่เปนผูควบคุมกติกาการดําเนินของเอกชนยอมมีผลตอการ เสริมสรางการบริหารจัดการท่ีดีในวงการธุรกิจและการยึดมั่นในหลักคุณธรรมและจริยธรรม รวมท้ังความ รับผดิ ชอบทธ่ี ุรกจิ มีตอสงั คม ถาการควบคมุ ยอหยอ นหรอื หนว ยงานในภาครฐั มีสวนรเู หน็ เปนใจกับการทุจริต หรอื การเอารัดเอาเปรยี บสังคมและผูบรโิ ภคของธุรกิจเอกชนหรือมีการรวมมือกันระหวางคนในภาครัฐกับใน ภาคเอกชนเพอื่ แสวงหาผลประโยชนอนั มิชอบแลว จะเปน อุปสรรคซง่ึ ทาํ ใหก ารเสรมิ สรางจริยธรรมในการทํา ธรุ กิจเปน ไปไดล าํ บาก
266 หลักธรรมาภิบาล หลักธรรมาภิบาลที่ทุกคนไมวาจะเปนคนทํางานในหนวยงาน ภาครัฐหรือเอกชน ตองยึดม่ัน หลักธรรมาภบิ าล 6 ประการ เปนแนวทางในการปฏิบตั ิงาน ดังน้ี 1. หลักนติ ธิ รรม (The Rule of Law) หลักนิติธรรม หมายถึง การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ โดยถือวาเปนการ ปกครองภายใตกฎหมายมิใชตามอําเภอใจหรืออํานาจของตัวบุคคลจะตองคํานึงถึงความเปนธรรมและ ความยุตธิ รรม รวมทัง้ มีความรัดกุมและรวดเร็วดวย 2. หลกั คณุ ธรรม (Morality) หลักคุณธรรม หมายถึง การยึดม่ันในความถูกตอง ดีงาม การสงเสริมใหบุคลากรพัฒนาตนเองไป พรอมกนั เพ่ือใหบุคลากรมคี วามซือ่ สัตย จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบ วินัย ประกอบอาชีพสุจริต เปนนิสัย ประจาํ ชาติ 3. หลกั ความโปรงใส (Accountability) หลักความโปรง ใส หมายถึง ความโปรง ใส พอเทียบไดวามีความหมายตรงขามหรือเกือบตรงขามกับ การทุจรติ คอรรัปชชน่ั โดยที่เรื่องทจุ รติ คอรรัปชั่นใหมีความหมายในเชิงลบและความนาสะพรึงกลัวแฝงอยู ความโปรง ใสเปนคําศัพทที่ใหแงมุมในเชิงบวกและใหความสนในเชิงสงบสุข ประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสาร ไดส ะดวกและเขาใจงา ยและมีกระบวนการใหประชาชนตรวจสอบความถูกตองอยางชัดเจน ในการนี้เพื่อเปน สิรมิ งคลแกบ ุคลากรที่ปฏบิ ตั งิ านใหมีความโปรง ใส ขออญั เชญิ พระราชกระแสรบั ส่งั ในองคพ ระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รัชกาลท่ี 9) ท่ีไดทรงมีพระราชกระแสรับส่ัง ไดแก ผูท่ีมีความสุจริตและ บริสุทธ์ิใจ แมจ ะมคี วามรูน อ ยก็ยอ มทาํ ประโยชนใ หแกส ว นรวมไดม ากกวาผทู ม่ี คี วามรูมาก แตไมมีความสุจริต ไมม ีความบรสิ ทุ ธใิ์ จ 4. หลักการมสี วนรวม (Participation) หลักการมีสวนรวม หมายถงึ การใหโ อกาสใหบ ุคลากรหรอื ผูมีสว นเก่ยี วของเขามามีสวนรวมทางการ บริหารจัดการเกี่ยวกับการตัดสินใจในเรื่องตาง ๆ เชน เปนคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการและหรือ คณะทํางานโดยใหข อ มลู ความคดิ เห็น แนะนํา ปรึกษา รว มวางแผนและรว มปฏิบัติ 5. หลกั ความรับผดิ ชอบ (Responsibility) หลักความรับผิดชอบ หมายถึง การตระหนักในสิทธิและหนาท่ี ความสํานึกในความรับผิดชอบตอ สังคม การใสใจปญหาการบริหารจัดการ การกระตือรือรนในการแกปญหาและเคารพในความคิดเห็นที่ แตกตา ง รวมทงั้ ความกลา ท่จี ะยอมรบั ผลดแี ละผลเสียจากการกระทาํ ของตนเอง 6. หลักความคุม คา (Cost-effectiveness or Economy) หลักความคุมคา หมายถึง การบริหารจัดการและทรัพยากรที่มีจํากัด เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด แกส ว นรวม โดยรณรงคใ หบุคลากรมคี วามประหยัด ใชว สั ดอุ ปุ กรณอ ยางคุมคาและรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ใหส มบรู ณย ่ังยืน
267 แนวปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรมาภิบาล แนวการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาลที่นํามาเสนอตอไปน้ีจะเปนหลักธรรมาภิบาลในภาครัฐ ซึง่ ผูปฏบิ ตั งิ านในองคก รของรัฐ ควรมแี นวทางการทาํ งานดงั นี้ 1. ยึดมั่นในวัตถุประสงคข ององคกรและผลผลิตทีจ่ ะสง มอบใหแ กประชาชนและผูที่มารับบริการ แนวการปฏิบตั ิ คอื 1) ตองมคี วามเขา ใจอยา งแจมแจง ในวตั ถุประสงคแ ละผลผลติ ทต่ี ง้ั ใจจะทําให 2) ผูรับไดผลผลติ ทมี่ ีคณุ ภาพเปนเลศิ 3) คมุ คา กบั ภาษที ่เี สยี ใหแกร ัฐบาล 2. ทํางานอยา งมีประสทิ ธภิ าพในหนาที่และบทบาทของตน แนวการปฏบิ ัติ คือ 1) บุคลากรตอ งเขาใจในหนา ทข่ี องผูบริหาร 2) เขา ใจอยางแจมชัดในความรบั ผิดชอบของผใู ตบ ังคับบัญชาและผูบรหิ าร รวมท้ังตองมนั่ ใจวาทุกคนปฏบิ ตั ิหนาที่ตามความรับผดิ ชอบของตน 3) มคี วามเขาใจอยางชดั เจนในความสมั พันธระหวา งผบู ริหารกบั ประชาชน ผรู บั บรกิ าร 3. สงเสริมคานิยมขององคกรและแสดงใหเห็นถึงคุณคาของธรรมาภิบาล โดยการปฏิบัติหรือ พฤติกรรม แนวการปฏิบตั ิ คอื 1) นําคานยิ มขององคกรมาใชป ฏิบัติ 2) ผบู รหิ ารองคกรประพฤตติ นเปน ตวั อยางที่ดี 3) ผูบ ริหารตดั สนิ และวินจิ ฉยั อยางโปรง ใสและเปด เผย 4) บริหารงานอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. มกี ารสอื่ สารทดี่ ี มกี ารตัดสนิ ใจอยางโปรงใสและมีการบรหิ ารความเส่ยี งทีร่ ัดกมุ แนวการปฏิบตั คิ อื 1) การตัดสินใจทกุ ครั้ง ตอ งกระทาํ อยา งโปรงใสและยุตธิ รรม 2) ใชข อมลู ทดี่ ี รวมทงั้ คาํ แนะนําและการสนับสนุน 3) ตองม่ันใจวามีระบบบริหารความเสี่ยงท่มี ีประสทิ ธิภาพอยใู นระบบการทํางาน 5. พัฒนาศักยภาพและความสามารถของสวนบริหารจัดการอยางตอเน่ือง พรอมท้ังใหมี ประสิทธิภาพยงิ่ ขึ้น แนวการปฏิบัติ คือ 1) ตองม่ันใจวาผูไดเลื่อนตําแหนงข้ึนมาเปนผูบริหารจัดการนั้นมีทักษะ ความรูและ ประสบการณท ีจ่ ําเปนตอ งใชใ นหนา ทนี่ น้ั ๆ 2) พฒั นาความสามารถของผูที่ทําหนาที่ในสวนบริหาร รวมท้ังมีการประเมินผลงานไมวาจะ เปนรายบุคคลหรือเปน กลุมก็ได 3) มีความเชื่อมโยงในการทดแทนบุคลากรในสายบริหารจัดการเพ่ือความตอเน่ืองในการ ปฏบิ ตั ิงานขององคก ร
268 6. เขา ถึงประชาชนและตอ งรับผิดชอบตอการทํางานและผลงานอยา งจรงิ จัง แนวการปฏบิ ตั ิ คอื 1) ตอ งมคี วามเขา ใจถึงขอบเขตของความรบั ผิดชอบ 2) ริเร่ิมการวางแผนท่ีจะติดตอกับประชาชน เพื่อใหทราบถึงหนาที่และความรับผิดชอบ ในผลงานของตน 3) ริเรม่ิ การแสดงออกถงึ ความรับผดิ ชอบตอบคุ ลากรภายในองคกร 4) ประสานงานกับหนว ยเหนือหรือผูบ งั คับบัญชาอยางใกลชดิ กจิ กรรมท่ี 1 ใหผ ูเรียนเขยี นเครื่องหมาย √ หนาขอ ความท่ถี กู ตอง และเขยี นเคร่ืองหมาย X หนา ขอความที่ผิด แลว ตรวจกบั เฉลยทายกจิ กรรม .......... 1. หลักธรรมาภบิ าล เปนแนวทางในการจดั ระเบียบเพื่อใหส ังคมของประเทศ ทง้ั ภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาชนอยูรว มกันอยางสงบสุข .......... 2. การปฏิบัตงิ านโดยยึดหลกั นติ ิธรรมนั้น ตองทําอะไรดว ยตนเองอยา งม่ันใจ อาจถูกตองตามระเบียบ หรอื ไมก ไ็ ด .......... 3. บุคคลใดก็ตามท่ียดึ ม่ันในความถกู ตอง ดงี าม จรงิ ใจ และขยนั ถอื วา เปนผูยดึ ม่ันในหลกั ความคุมคา .......... 4. “สมชาย” มักจะชว ยทํากจิ กรรมของชมุ ชนอยเู สมอ และเปน ผูทยี่ อมรบั ฟงความคดิ เห็นของเพ่ือน รว มงาน ถือวา “สมชาย” เปนผูยดึ ม่ันในหลกั การมสี ว นรว ม .......... 5. ในการทํากจิ กรรมกลมุ ทุกครงั้ “นุน” จะเปน ผทู ก่ี ลาออกความคดิ เห็น และรบั อาสาเปนผูดแู ลการ ทาํ งาน ซึง่ งานจะประสบความสาํ เรจ็ ทุกครงั้ ถือวา “นุน” เปน ผูย ดึ มัน่ ในหลกั ความโปรง ใส กจิ กรรมที่ 2 คําสัง่ หากผเู รยี นไดท ํางานเอกชนกบั บรษิ ัทแหงหนง่ึ ผูเรียนมีแนวการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล อยา งไร แบบบันทกึ ผลการเรยี นรู .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................
269 กจิ กรรมที่ 3 1. ใหผ ูเ รียนศกึ ษาเรียนรเู พ่ิมเติมเกย่ี วกบั เรอ่ื งการพฒั นาของระบอบประชาธปิ ไตยของประเทศ ตา ง ๆ ในโลกจาก Internet เอกสารแบบเรียน ตาํ ราตา ง ๆ ตลอดจนศึกษาจากผรู ู 2. ใหผเู รียนทําแบบฝกหดั แลว ตรวจเฉลยทายเรอื่ ง แบบฝกหดั คาํ สั่ง ใหผเู รียนเลอื กคําตอบท่ีถกู ตอง แลว วงกลมลอ มรอบตวั อกั ษรหนาขอ ความท่ีถกู ตอ ง 1. ประเทศใดบางท่เี ปนจดุ เรมิ่ ตนของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยใน “ยคุ โบราณ” ก. ญ่ปี นุ จนี เกาหลี ข. กรกี ซีเรยี อินเดีย ค. กรีก เกาหลี จีน ง. ไทย จนี ญ่ีปุน 2. ประเทศใดบางทจี่ ดั อยูใน “ยคุ กลาง” ของการพัฒนาการระบอบประชาธิปไตย ก. ไทย จนี ญี่ปุน ข. กรกี ซีเรยี อินเดยี ค. ยเู ครน อังกฤษ สหพันธไ อโรโควอสิ ง. อังกฤษ ฝรง่ั เศส อเมริกา 3. “คอสแซ็ค” มคี วามเกย่ี วขอ งกบั ประเทศยูเครนอยางไร ก. เปนรัฐทางการทหารของยูเครน ข. เปน รัฐทปี่ กครองโดยประชาชนของยเู ครน ค. เปน รัฐท่ปี กครองแบบประชาธปิ ไตย ง. ไมม ขี อ ใดถกู 4. รปู แบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย “สหพันธไ อโรโควอสิ ” เปน แบบใด ก. ราชาธปิ ไตย ข. รฐั อสิ ระ ค. อาณาธปิ ไตย ง. ระบบชนเผา
270 5. ประเทศใดบางที่มีการพัฒนาการระบอบประชาธิปไตยในชวง “คริสตศตวรรษที่ 18 – 19” ก. อนิ เดยี ซเี รยี เกาหลี ข. สหรัฐอเมรกิ า ฝรัง่ เศส นวิ ซีแลนด ค. สหรฐั อเมริกา รัสเซยี องั กฤษ ง. ไทย จนี ญปี่ นุ 6. ขอ ใดเปนการแสดงถงึ พฒั นาการการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยของฝร่ังเศส ก. การทาํ สงครามในประเทศ ข. การเขา รวมสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ค. ภายหลงั การปฏวิ ัติ มีการเลือกต้ังสมชั ชาแหงชาติฝรง่ั เศส ง. การยึดครองอาณานิคมในยุโรป 7. ในชวงปลายคริสตว รรษท่ี 19 ลกั ษณะของประชาธิปไตยของประเทศตา ง ๆ ในโลกเปน อยางไร ก. ประชาธิปไตยทีเ่ คารพเสียงขา งนอย ข. ประชาธปิ ไตยท่เี คารพเสยี งขา งมาก ค. ประชาชนไมส ามารถแสดงความคดิ เห็นได ง. ไมม ขี อ ใดถกู 8. ภายหลงั การสนิ้ สุดของสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เกิดเหตุการณส าํ คัญเกี่ยวกับ การเมืองการปกครองของประเทศตา ง ๆ ในโลกอยา งไร ก. ทุกประเทศแพสงคราม ข. กระแสการเปลย่ี นแปลงไปสูร ะบอบประชาธปิ ไตยในหลายประเทศ ค. กระแสของระบอบประชาธิปไตยแพรข ยายไปยังแอฟรกิ าใต ง. ขอ ข และ ค ถูก 9. ประเทศไทยเขา สกู ารปกครองระบอบประชาธปิ ไตยในรชั สมยั ใด ก. รัชกาลท่ี 6 ข. รชั กาลท่ี 7 ค. รัชกาลที่ 8 ง. รชั กาลที่ 9 10. ขอใดคอื รูปแบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยของประเทศไทย ก. ประชาชนมีสทิ ธิเสรีภาพเทาเทียมกนั ข. พระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมุขภายใตรฐั ธรรมนูญ ค. อาํ นาจอธปิ ไตยเปนของปวงชนชาวไทย ง. ถกู ทกุ ขอ
271 แนวเฉลยกิจกรรมท่ี 1 ภูมศิ าสตรกายภาพ กจิ กรรมท่ี 1.1 สภาพภูมิศาสตรก ายภาพ 1. ใหบอกลักษณะภูมปิ ระเทศและลกั ษณะเศรษฐกิจของประเทศไทยและทวีปยโุ รป พน้ื ท่ี ลักษณะภูมปิ ระเทศ ลกั ษณะเศรษฐกจิ ประเทศไทย ภาคเหนือมีเทือกเขาสูงทอดยาวนานในแนวเหนอื มีการทําเกษตรกรรม ทาํ นา ใตทม่ี รี าบลมุ สลบั อยู เปน แหลง กําเนดิ แมนาํ้ สาย ทาํ ไร ทาํ สวนผลไม ยางพารา สาํ คญั คือ ปง วัง ยม นา น พื้นท่ีสองฝง นํา้ อุดม ปาลม ปา ไม และเล้ยี งสัตว สมบรู ณ เหมาะแกก ารเพาะปลูก อตุ สาหกรรมเหมอื งแร ภาคกลางเปน ดินดอนสามเหลย่ี ม ปากแมน ้ํา อุตสาหกรรมการแปรรปู ผลผลิต เจา พระยาทเี่ กิดการรวมตัวของแมน ้าํ ปง วงั ยม นา น ทางการเกษตร ฯลฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี ราบสงู ที่มีราบลมุ แมน ้ําที่สาํ คัญคอื มูลและชี ภาคตะวนั ออก มีทร่ี าบใหญอ ยูทางตอนเหนอื ตอนกลางมเี ทือกเขาจนั ทบุรขี องภาค มีทร่ี าบ แคบ ๆ ชายฝง ทะเล
272 พน้ื ที่ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ลกั ษณะเศรษฐกิจ ทวีปยุโรป ตอนเหนอื มเี ทือกเขาสูงและทรี่ าบชายฝง ทะเล มกี ารทําเกษตรกรรม ปลกู ขา วสาลี ทเี่ วาแหวง และอา วลึกทเี่ รียกวาฟยอรด เนอื่ งจาก ไรปศสุ ัตว เล้ียงสตั วค วบคกู บั การ เกิดถูกธารนํา้ แขง็ กัดเซาะ ปลูกพชื และเล้ียงสตั วแ บบเรร อน เขตทร่ี าบสูงตอนกลาง เชน แบล็กฟอเรสตของ การทําอตุ สาหกรรมแรเ หล็กและ เยอรมัน ท่ีราบสูง โบฮีเมยี เขตตดิ ตอเยอรมนั นี้กบั ถานหนิ มกี ารทาํ ประมง เพราะมี สาธารณรัฐเชค ที่ราบเมเซตา ในเขตสเปน และ ชายฝง ท่ียาวและเวา แหวง และติด โปรตเุ กส ทะเลทัง้ 3 ดา น เขตทร่ี าบตอนกลาง ตงั้ แตช ายฝง มหาสมทุ ร แอตแลนตกิ ไปถึง เทอื กเขาอรู าลในรัสเซีย ตะวันตก ของฝรงั่ เศสตอนใตข องเบลเยี่ยม เนเธอรแ ลนด เดนมารก ภาคเหนอื ของเยอรมันนมี ปี ระชากรอาศัย อยหู นาแนน เพราะมคี วามสําคญั ทางเศรษฐกจิ เขตเทือกเขาตอนใต มเี ทอื กเขาสงู ทอดตัวยาว ต้ังแตตะวันออกเฉียงใตข องฝรง่ั เศสผานสวสิ เยอรมันนไี ปจนถงึ ทางเหนอื ของอติ าลี ยอดเขามี นํ้าแข็งปกคลมุ เกอื บตลอดป แนวตอบกจิ กรรม 1.1 สภาพภูมิศาสตรก ายภาพ 2. ปจ จยั ที่มีอิทธิพลตอ ภมู อิ ากาศของทวปี อเมรกิ าใต คอื 1. ละติจูด พ้ืนทส่ี ว นใหญข องทวปี ครอบคลมุ เขตอากาศรอน และประมาณ 1 ใน 3 ของพ้นื ท่ที วีป เปน เขตอากาศแบบอบอุน ภูมิภาคทางเหนอื ของทวีปจะมฤี ดกู าลท่ตี รงขา มกบั ภมู ิภาคทางใต 2. ลมประจาํ ไดแก 2.1 ลมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดผานมหาสมุทรแอตแลนตกิ จงึ นําความชุมชื่นเขาสูท วปี บริเวณ ชายฝง ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 2.2 ลมตะวันออกเฉยี งใต พัดผานมหาสมุทรแอตแลนติกจึงนําความชุมช่ืนเขาสูทวีปบริเวณ ชายฝง ตะวนั ออกเฉยี งใต 2.3 ลมตะวันตกเฉียงเหนือ พัดผานมหาสมุทรแปซิฟกจึงนําความชุมช่ืนเขาสูทวีปบริเวณ ชายฝง ตะวันตกของทวปี ตั้งแตป ระมาณละตจิ ดู 40 องศาใตลงไป
273 3. ทศิ ทางของเทอื กเขา ทวีปอเมรกิ าใตม เี ทือกเขาสงู อยทู างตะวนั ตกของทวีป ดังน้ันจึงเปนสิ่งท่ี ก้นั ขวางอิทธพิ ลจากทะเลและมหาสมุทร ทําใหบ รเิ วณทีใ่ กลเทือกเขาคอนขางแหงแลง แตในทางตรงกันขาม ชายฝง ดานตะวันออกจะไดร ับอทิ ธิพลจากทะเลอยา งเตม็ ท่ี 4. กระแสน้าํ มี 3 สายทสี่ ําคัญ คือ 4.1 กระแสนํา้ อุนบราซลิ ไหลเลียบชายฝงของประเทศบราซิล 4.2 กระแสนํ้าเย็นฟอลก แลนด ไหลเลยี บชายฝง ประเทศอารเจนตินา 4.3 กระแสนา้ํ เย็นเปรู (ฮมั โบลด) ไหลเลียบชายฝง ประเทศเปรแู ละชลิ ี 3. ปจ จยั สําคัญทท่ี ําใหท วอี อสเตรเลยี มีสภาพภูมิอากาศท่แี ตกตา งกนั ปจจยั สาํ คัญทท่ี าํ ใหทวีปออสเตรเลยี มีภมู ิอากาศตาง ๆ กัน คือ ต้ังอยูในโซนรอนใตและอบอุนใต มีลมประจาํ พดั ผา น ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศและมกี ระแสน้าํ อนุ และกระแสน้าํ เหน็ ไหลผาน แนวตอบกิจกรรมที่ 1.2 ลักษณะปรากฏการณทางธรรมชาติท่ีสําคญั และการปอ งกันอนั ตราย 1. ปรากฏการณเ รอื นกระจกคอื อะไร คาํ วา เรอื นกระจก (greenhouse) หมายถึง อาณาบริเวณที่ปดลอมดวยกระจกหรือวัสดุอื่น ซึ่งมี ผลในการเก็บกักความรอนไวภายใน ในประเทศเขตหนาวนิยมใชเรือนกระจําในการเพาะปลูกตนไม เพราะพลังงานแสงอาทติ ยส ามารถผานเขา ไปภายในไดแ ตความรอ นท่อี ยูภ ายในจะถูกกักเก็บโดยกระจกไมให สะทอ น หรือแผอ อกสภู ายนอกไดทําใหอ ุณหภมู ิของอากาศภายในอบอนุ และเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของ พืชแตกตางจากภายนอกทย่ี งั หนาวเยน็ นักวิทยาศาสตรจ ึงเปรียบเทียบปรากฏการณ ที่ความรอนภายในโลก ถูกกับดักความรอนหรือกาซเรือนกระจก (Greenhouse agses) เก็บกักเอาไวไมใหสะทอนหรือแผออกสู ภายนอกโลกวาเปนปรากฏการณเ รอื นกระจก โลกของเราตามปกติมีกลไกควบคมุ ภมู อิ ากาศโดยธรรมชาติอยูแลว กระจกตามธรรมชาติของโลกคือ กาซคารบ อนไดออกไซดและไอน้าํ ซ่ึงจะคอยควบคุมใหอ ณุ หภูมขิ องโลกโดยเฉล่ียมคี าประมาณ 15 °C และถา หากในบรรยากาศไมมกี ระจกตามธรรมชาตอิ ณุ หภูมิของโลกจะลดลงเหลือเพียง -20°C มนุษยและพืชก็จะลม ตายและโลกกจ็ ะเขาสยู ุคนํา้ แข็งอีกครัง้ หนงึ่ 2. ในฐานะทที่ า นเปนสวนหน่ึงของประชากรโลกทานสามารถจะชว ยปองกันและแกไขปญหา ภาวะโลกรอ นไดอยา งไรใหบ อกมา 5 วิธี 1. อาบนาํ้ ดวยฝก บวั จะชวย ประหยดั วา การตักนา้ํ อาบหรอื ใชอา งอาบน้าํ ถงึ ครงึ่ หนง่ึ ในเวลาเพียง 10 นาที และปดน้ําขณะแปรงฟน 2. ใชห ลอดไฟตะเกียบ ประหยดั กวา หลอดธรรมดา 4 เทา ใชงานนานกวา 8 เทา แตล ะหลอด ชว ยลดการปลอ ยกา ซคารบ อนไดออกไซด ได 4,500 กโิ ลกรมั หลอดไฟธรรมดาเปลย่ี นพลงั งานนอยกวา 10% ไปเปน แสงไฟ สว นทเี่ หลือถกู เปล่ียนไปเปนความรอ น เทา กบั สญู พลงั งานเปลา ๆ มากกวา 90% 3. ถอดปล๊ักเครือ่ งใชไฟฟาทกุ ครงั้ จากใชง าน
274 4. พกถงุ ผา แทนการใชถุงพลาสตกิ 5. เชค็ ลมยาง การขับรถโดยทย่ี างมลี มนอ ย อาจทาํ ใหเ ปลืองนา้ํ มนั แนวตอบ กจิ กรรมที่ 1.3 วิธใี ชเคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร 1. แผนที่ หมายถึง การแสดงลกั ษณะพ้นื ผวิ โลกลงบนแผนราบ โดยการยอสว นและการใชส ัญลักษณ ไมว าเครอื่ งหมายหรอื สี แทนสง่ิ ตาง ๆ บนพน้ื ผิวโลก แผนทจี่ งึ ตางจากลูกโลกและแผนผัง 2. จงบอกประโยชนของการใชแ ผนทม่ี า 5 ขอ 1. ประโยชนในการศึกษาลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ แผนที่จะทาํ ใหผ ศู ึกษาทราบวา พน้ื ทใ่ี ดมลี กั ษณะ ภมู ิประเทศแบบใดบาง 2. ประโยชนต อ การศกึ ษาธรณวี ิทยา เพ่ือใหท ราบความเปนมาของแหลง ทรัพยากร ดนิ หนิ แรธาตุ 3. ประโยชนด านสมุทรศาสตรแ ละการประมง เพ่ือใหท ราบสภาพแวดลอ มชายฝง ทะเล 4. ประโยชนด า นทรพั ยากรนํา้ รขู อ มลู เก่ียวกบั แมน ํา้ และการไหล อา งเกบ็ นาํ้ ระบบ การชลประทาน 5. ประโยชนดา นปา ไม เพื่อใหท ราบคุณลกั ษณะของปาไมแ ละการเปล่ยี นแปลงพ้ืนทปี่ าไม 3. ใหบอกวธิ กี ารใชเขม็ ทศิ คูกับการใชแ ผนทา พอสังเขป 1. วางเข็มทศิ ใหเ ปน ตามทิศจากจุดเริ่มตน ไปยงั จุดทจี่ ะไป 2. หมนุ ตวั เข็มทิศจนเสน เมอรเิ ดยี นในแผนท่ีขยายกบั แนว orienting lines 3. หมุนแผนที่กับเข็มทิศไปดวยกันจนกระทง่ั ปลายเขม็ แดงของเขม็ ทิศชไ้ี ปที่ทิศเหนอื 4. เดนิ ไปตามทศิ นน้ั โดยรักษาแนวไวใ หเ ขม็ ยังอยใู นแนวเดมิ ตลอด แนวตอบ กิจกรรมที่ 4 การทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม จงเลือกคาํ ตอบทีถ่ กู ตอ งทส่ี ดุ เพียงคาํ ตอบเดยี ว 1. ข 2. ค 3. ง 4. ง 5. ก 6. ข 7. ง 8. ง แนวเฉลยกจิ กรรมบทท่ี 2 เรื่องประวัตศิ าสตร เรอ่ื งที่ 1 กิจกรรมที่ 1 1. ค 2. ก 3. ง 4. ข 5. ง
275 เรือ่ งที่ 2 กิจกรรมที่ 3 1. ค 2. ก 3. ข 4. ค 5. ค เรอ่ื งที่ 5 กจิ กรรมที่ 5 1. ค 2. ข 3. ง 4. ง 5. ข เฉลยบทท่ี 4 การเมืองการปกครอง 4. ง 5. ข 9.ข 10. ง 1. ข 2. ค 3. ก 6.ค 7.ก 8.ง
276 บรรณานุกรม การศกึ ษาทางไกล, สถาบัน, กรมการศึกษานอกโรงเรียน. 2546. ชดุ การเรียนทางไกล ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน หมวดวชิ าพัฒนาสงั คมและชมุ ชน. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค ุรุสภาลาดพราว. โกเมน จิรัฐกุล, รศ.ดร.และเสรี ลลี าลัย, รศ. หนังสือเรยี น ส.504 สงั คมศึกษา ชน้ั มัธยมศึกษา ปท่ี 5. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช จาํ กดั คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ. (พ.ศ. 2553). หนังสือเรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 4-6 เลม 1 ประวัตศิ าสตรไทย. กรุงเทพมหานคร : สกสค. ลาดพราว. คมิ ไชยแสนสุข, รศ. และศนั สนยี วรรณากูร. 2545. ชุดปฏริ ูปการเรียนรูหลักสตู รการศึกษา ขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ. 2544 กลมุ สาระการเรียนรู สวนศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชว งช้นั ท่ี 4 สาระ 3 เศรษฐศาสตร. กรงุ เทพฯ : สํานักพิมพประสานมติ ร. ญาดา ประภาพนั ธ. (2548). ระบบภาษีนายอากร. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเคลด็ ไทย จาํ กัด. ดนัย ไชยโยธา. (2550). ประวตั ิศาสตรแ ละวัฒนธรรมไทย. กรงุ เทพมหานคร : โอเดียนสโตร ธนาคารกรงุ เทพ. ลักษณะไทย อิเลก็ ทรอนิกส. http://laksanathai.com.book two,/poois.aspx สบื คน วันท่ี 27 สิงหาคม 2557. นามานุกรมพระมหากษตั รยิ ไ ทย กรุงเทพ มูลนิธิสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา. (2554). กรุงเทพมหานคร : ชมุ นุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย จาํ กัด. ประเวศ วะส.ี 2544. เศรษฐกจิ พอเพยี งและประชาสงั คม : แนวทางผลติ ฟนฟเู ศรษฐกิจสังคม. กรงุ เทพฯ : พิมพด ี ปย พร บุญเพญ็ . หลักเศรษฐศาสตร 3200–0101, 05-110-103. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั บัณฑติ สาสน จาํ กดั . มปป. พรรณิภา ศรสี ุข และผดุ ผอง ปติฐพร. พัฒนาสงั คมและชมุ ชน. กรุงเทพ : บริษัท บางกอก- บุคสแอนดมเี ดีย จํากัด. 2548. พระราชพงศาวดารกรงุ เกา ฉบบั หลวงประเสริฐและประชมุ พงศาวดาร ภาคท่ี 63. (2545). กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั ดา นสทุ ธาการพมิ พ. ไพฑรู ย พงศะบตุ ร และวันชยั ศริ ิรตั น. หนังสือเรยี นสังคมศกึ ษา ส. 504 สงั คมศกึ ษา ชน้ั มธั ยมศกึ ษา ปท่ี 5. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั โรงพมิ พไ ทยวฒั นาพานชิ ย จํากดั 2537. มานติ กติ ติจูงจิต และสุรพล เอีย่ มอูทรัพย, สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม. กรุงเทพฯ : แสงจันทรก ารพมิ พ, ปป. วไิ ล ทรงโดม , พัฒนาสังคมและชมุ ชน. กรุงเทพฯ : บริษัท สามเจรญิ พาณชิ ย, 2548
277 ศิลาจารึกสุโขทัยหลักท่ี 1 จารกึ พอขนุ รามคาํ แหง. (2520). กรุงเทพมหานคร : หอสมุดแหง ชาติ กรมศลิ ปากร. ศุภรตั น เกษมศรี ม.ร.ว.; พลตร.ี การศึกษาประวตั ิศาสตรไ ทยเชงิ วิเคราะห : สถาบนั พระมหากษัตรยิ ใ น บรบิ ทสังคมไทย ปาฐกถาชุด “สิรินธร” ครง้ั ที่ 28. กรงุ เทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั . สมชาย ภคภาสนววิ ฒั น. การรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ . วารสารเอเชียปริทศั น. ปท่ี 15 ฉบบั ท่ี 1 (ประจาํ เดือนมกราคม –เมษายน 2537) : 1-7 สถาบนั การศกึ ษาทางไกล ชุดการเรยี นทางไกล หมวดวชิ าพัฒนาสังคมและชมุ ชน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2548. อภินนั ท จันตะนี. เอกสารคําสอนเศรษฐศาสตร มหภาค 1 . ภาคงิชาเศรษฐศาสตร คณะวทิ ยาการจัดการ สถาบันราชภฎั พระนครศรีอยธุ ยา. กรุงเทพฯ : พิทักษอักษร. 2541. อภินนั ท จันตะนี และชยั ยศ ผลวฒั นา. ระบบเศรษฐกิจไทยและการสหกรณ. กรุงเทพฯ : สาํ นักพิมพพทิ กั ษอักษร. 2538. http : //rirs3.royin.go.th/dictionary.asp http://st. mengrai.ac.th/users/doremon/03_SURAPONG/09.htm http://st. mengrai.ac.th/users/doremon/03_SURAPONG/20.htm http://st. mengrai.ac.th/users/doremon/03_SURAPONG/05.htm http://seas.art.tu.ac.th/6tula.htm http://th.wikipedia.orq/wiki%EO%B8%9B%E0%B8%A3%E0%b8%B0%E0%... http://www.thaigoodview.com/node/16621 http://www.parliament.go.th/parcy/889.0.htm file://C:\\DOCUME 1\\ADMINI 1\\LOCALS 1\\Temp\\1I2k4IKW.htm http://dek-d.com/board/view.php?id = 663147 http://www.kr.ac.th/ebook/saiyud/b1.htm http://www. Pathumthani.go.th/webkm/km. file / lefe –l – k .ppt#256,) http://sujitwongtheg.com.book two,/poois.aspx เขา ถงึ วันท่ี 27 สงิ หาคม 2557.
278 คณะผูจดั ทาํ ทป่ี รกึ ษา บญุ เรือง เลขาธกิ าร กศน. อ่มิ สุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. 1. นายประเสริฐ จาํ ป รองเลขาธิการ กศน. 2. ดร.ชัยยศ แกว ไทรฮะ ที่ปรกึ ษาดา นการพฒั นาหลกั สูตร กศน. 3. นายวัชรินทร ตัณฑวฑุ โฒ ผูอ าํ นวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 4. ดร.ทองอยู 5. นางรกั ขณา ผเู ขียนและเรยี บเรียง 1. นางสาวสุดใจ บุตรอากาศ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ 2. นางสาวพิมพาพร อินทจกั ร สถาบนั กศน. ภาคเหนือ 3. นางดษุ ณี เหล่ยี มพันธุ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ 4. นางดวงทิพย แกว ประเสรฐิ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ 5. นายนิพนธ ณ จันตา สถาบัน กศน. ภาคเหนือ 6. นางอุบลรัตน มโี ชค สถาบนั กศน. ภาคเหนอื 7. นางกรรณกิ าร ยศตอ้ื สถาบนั กศน. ภาคเหนอื 8. นางณิชากร เมตาภรณ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ ผบู รรณาธกิ ารและพฒั นาปรบั ปรุง 1. นางพรทพิ ย เข็มทอง กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 2. นางสาวพิมพาพร อินทจกั ร สถาบนั กศน. ภาคเหนอื 3. นางสาวสรุ ัตนา บูรณะวทิ ย สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก 4. นางสาวสปุ รดี า แหลมหลกั สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก 5. นางสาวสาลินี สมทบเจรญิ กลุ สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก 6. นายอุดมศักด์ิ วรรณทวี สาํ นกั งาน กศน. อ.โขงเจยี ม 7. นายเรืองเวช แสงรัตนา สาํ นกั งาน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 8. นางพฒั นส ดุ า สอนซอื่ ขาราชการบาํ นาญ 9. นางธญั ญาวดี เหลาพาณชิ ย ขา ราชการบํานาญ 10. นางพรทพิ ย เข็มทอง กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 11. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 12. นายเรอื งเดช แสงวัฒนา สถาบนั กศน. ภาคตะวนั นออกเฉยี งเหนอื 13. นางมยุรี สุวรรณาเจรญิ สถาบัน กศน. ภาคใต
279 14. นางสาววาสนา บูรณาวิทย สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก 15. นางสาววาสนา โกลียว ัฒนา สถาบนั การศกึ ษาทางไกล ขาราชการบํานาญ 16. นางธัญญาวดี เหลา พาณิชย กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 17. นางพรทพิ ย เข็มทอง กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน คณะทํางาน ม่ันมะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น ศรรี ัตนศิลป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 1. นายสรุ พงษ กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 2. นายศภุ โชค ปท มานนท กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาววรรณพร กุลประดิษฐ 4. นางสาวศริญญา เหลืองจติ วฒั นา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสาวเพชรนิ ทร กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น ผพู มิ พตนฉบบั คะเนสม กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น เหลืองจิตวฒั นา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 1. นางปยวดี 2. นางสาวเพชรินทร กววี งษพ ิพัฒน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 3. นางสาวกรวรรณ ธรรมธิษา 4. นางสาวชาลนี ี บา นชี 5. นางสาวอรศิ รา ผอู อกแบบปก ศรีรตั นศลิ ป นายศภุ โชค
280 คณะผูจัดทาํ เนือ้ หา เพ่ิมเติม เรื่อง “บทบาทของสถาบนั พระมหากษตั ริยใ นการพฒั นาชาตไิ ทย” ทีป่ รกึ ษา สกลุ ประดิษฐ เลขาธกิ าร กศน. ทับสพุ รรณ รองเลขาธิการ กศน. 1. นายการุณ จําจด รองเลขาธิการ กศน. 2. นายชาญวิทย ภาคพรต ขา ราชการบาํ นาญ 3. นายสรุ พงษ งามเขตต ผูอาํ นวยการกลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางระววิ รรณ 5. นางศทุ ธนิ ี ผเู ขยี น เรียบเรยี ง จากการประชมุ คร้ังท่ี 1 1. นายปณณพงศ ทาวอาจ สาํ นักงาน กศน. จงั หวัดสโุ ขทยั กศน.อาํ เภอสวรรคโลก จงั หวดั สโุ ขทัย 2. นายจริ พงศ ผลนาค กศน.อําเภอบางแกว จงั หวัดพทั ลงุ 3. นายวรวฒุ ิ จริยภคั รตกิ ร กศน.อาํ เภอจะนะ จังหวดั สงขลา กศน.อาํ เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี 4. นายรอ ศักด์ิ เหะเหร็ม กศน.อาํ เภอวังนอ ย จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา 5. นางสาวประภารสั ม พจนพิมล โรงเรยี นสตรวี ทิ ยา 2 ในพระอปุ ถัมภ สมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี 6. นางสาววนั ทนา จะระ 7. นายรุจน หาเรอื นทรง ผูเขยี น เรยี บเรียง และ บรรณาธกิ าร จากการประชมุ ครงั้ ที่ 2 1. นางอมั รา หันตรา ขา ราชการบํานาญ 2. นางนงลักษณ พรคาํ พลอย กศน.อาํ เภอเมือง จงั หวัดชลบรุ ี 3. นายนวิ ัฒน หนางเกษม โรงเรยี นสตรเี ศรษฐบตุ รบาํ เพ็ญ คณะทํางาน 1. นายสรุ พงษ ม่นั มะโน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 2. นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 3. นางสาวสลุ าง เพ็ชรสวาง กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 4. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี 5. นางสาวชมพูนท สังขพิชัย
281 คณะผูปรับปรุงขอ มลู เก่ยี วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริย ป พ.ศ. 2560 ท่ีปรกึ ษา จําจด เลขาธกิ าร กศน. หอมดี ผูต รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 1. นายสุรพงษ ปฏบิ ัติหนา ทรี่ องเลขาธิการ กศน. 2. นายประเสริฐ สขุ สเุ ดช ผอู ํานวยการกลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย 3. นางตรีนุช กศน.เขตบางซ่ือ กรงุ เทพมหานคร ผปู รบั ปรุงขอ มูล กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั นางสาวลลิตา แกว มณี กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั คณะทํางาน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 1. นายสรุ พงษ มนั่ มะโน กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 2. นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 3. นางสาวเบ็ญจวรรณ อําไพศรี 4. นางเยาวรัตน ปน มณีวงศ 5. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวาง 6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รือน 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน 8. นางสาวชมพูนท สังขพิชยั
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290