Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการโรคเบาหวาน บ้านไร่เหนือ เมธีรา ช่ว

โครงการโรคเบาหวาน บ้านไร่เหนือ เมธีรา ช่ว

Published by ใอ่ อร, 2020-04-15 07:35:14

Description: โครงการโรคเบาหวาน บ้านไร่เหนือ เมธีรา ช่ว

Search

Read the Text Version

รายงานการฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ บ้านไร่เหนือ หมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จังหวัดพทั ลงุ นางสาวเมธีรา ช่วยยก รหัสประจาตวั นักศึกษา 611250013 รายงานฉบบั นีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของวชิ าโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้ันสูงปฏบิ ตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ ช้ันปี ที่ 2 รุ่นที่ 15 วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จงั หวดั ยะลา

คานา รายงานฉบับน้ีเป็ นส่วนหน่ึงของวิชาโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ของนักศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง ปฏิบตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ วิทยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จงั หวดั ยะลา โดยการฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพคร้ังน้ี นกั ศึกษาไดฝ้ ึ กประสบการณ์ในพ้ืนท่ี บา้ นไร่เหนือ หมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง เป็ นการศึกษาชุมชนในดา้ นต่าง ๆ มีการเก็บรวบรวม ขอ้ มูลจากชุมชน โดยการสัมภาษณ์ สังเกต และจากขอ้ มูลทุติยภูมิเพ่ือให้ทราบ และเขา้ ใจถึงวิถีของคนใน ชุมชน และมองเห็นสภาพปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนภายในชุมชน โดยเฉพาะปัญหาดา้ นฉุกเฉินการแพทย์ และ นาไปสู่การวางแผนพฒั นา แกไ้ ขปัญหาชุมชนไดอ้ ยา่ งตรงจุด และสอดคลอ้ งกบั วิถีชุมชน โดยการมีส่วน ร่วมของชุมชน อนั นาไปสู่การมีสุขภาพ และคุณภาพชีวติ ท่ีดีภายในชุมชน ซ่ึงทาใหเ้ กิดการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยืน เพอ่ื เตรียมความพร้อมสู่การฝึกประสบการณ์จริง และเป็นบุคลากรทางดา้ นสาธารณสุขต่อไป คณะผูจ้ ดั ทาหวงั เป็ นอย่างยิ่งวา่ ขอ้ มูลต่าง ๆ ในเล่มรายงานฉบบั น้ีจะสามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ ห้ เกิดประโยชน์ และเป็ นแนวทางในการพฒั นา แกป้ ัญหาในดา้ นต่าง ๆ ของชุมชน และเพื่อเป็ นแนวทางใน การศึกษาตอ่ ไป ผู้จัดทา นางสาว เมธีรา ช่วยยก

กติ ติกรรมประกาศ การฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพในคร้ังน้ี นกั ศึกษาหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง ปฏิบตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ท่ี 2 วิทยาลยั การสาธารณสุขสิริธร จงั หวดั ยะลา ไดท้ าการศึกษา ในพ้ืนที่ บา้ นไร่เหนือ หมูท่ ่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง โดยการฝึ กโครงการพฒั นา ทกั ษะวชิ าชีพคร้ังน้ีนกั ศึกษาไดฝ้ ึ กประสบการณ์ในพ้ืนท่ี บา้ นไร่เหนือ หมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอ กงหรา จงั หวดั พทั ลุง ไดส้ าเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี โดยไดร้ ับความกรุณาจากบุคคลหลายท่าน ทางกลุ่มนกั ศึกษา รู้สึกซาบซ้ึงในความกรุณาท่ีมีให้ จึงใคร่ขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคุณอาจารย์ ดร.ภคั ณัฐ วรี ขจร ท่ีไดใ้ ห้คาแนะนา ท่ีไดป้ ระสิทธ์ิประสาทวชิ า ก่อใหเ้ กิด ความรู้ในการฝึกปฏิบตั ิงาน จนสามารถปฏิบตั ิงานไดเ้ ป็นอยา่ งดี ขอขอบพระคุณเจา้ หน้าท่ีอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ นในชุมชน หมู่ที่ 4 ตาบลคลอง ทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง ที่คอยให้ความช่วยเหลือ แนะนา ให้คาปรึกษา ตลอดการฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพและให้ความ ช่วยเหลือ แนะนา ใหค้ าปรึกษา ตลอดการฝึกปฏิบตั ิงานในคร้ังน้ี ขอขอบพระคุณชาวบา้ น หมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง ที่ใหข้ อ้ มูลใน การศึกษาคร้ังน้ี และเขา้ มามีส่วนร่วมในการดาเนินโครงการ ในทุกกิจกรรมที่นักศึกษาจดั ข้ึนและสาเร็จ ลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี สุดทา้ ยน้ี นกั ศึกษาขอขอบพระคุณทุกท่านที่มีส่วนเก่ียวขอ้ ง ทาให้การฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะ วชิ าชีพในคร้ังน้ี ประสบความสาเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี

สารบญั หน้า เร่ือง ก ข คานา ค กิตติกรรมประกาศ 1 สารบญั 1 บทที่ 1 บทนา 2 2 1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 3 1.2 วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 3 1.3 กระบวนการเตรียมฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 4 บทท่ี 2 บริบทชุมชน 6 2.1 เเผนท่ีเดินดิน 11 2.2 ฝังเครือญาติ 12 2.3 โครงสร้างองคก์ รชุมชน 13 2.4 ระบบสุขภาพชุมชน 14 2.5 ปฏิทินชุมชน 17 2.6 ประวตั ิศาสตร์ชุมชน 17 2.7 ประวตั ิบุคคลสาคญั 18 บทท่ี 3 การวนิ ิจฉยั ชุมชน 18 3.1 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 28 3.2 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 29 3.3 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 3.4 การวเิ คราะห์สาเหตุของปัญหา 30 3.5 ปัญหาและการจดั ลาดบั ของปัญหา 30 บทท่ี 4 แผนงาน/โครงการ 43 4.1 แผนงาน/โครงการ 4.2 ระดบั ความพึงพอใจต่อโครงการ 4.3 สรุปผลการดาเนินโครงการ

สารบญั ( ตอ่ ) เร่ือง หนา้ บทท่ี 5 สรุปผลการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ อภิปรายและขอ้ เสนอแนะ 46 5.1 สรุปผลการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 47 5.2 อภิปรายผล 5.3 ขอ้ เสนอแนะการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 48 ภาคผนวก ภาคผนวก ก ภาพทากิจกรรมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 49 50-56 การกิน เพม่ิ ออกกาลงั กาย ลดเบาหวาน 57 ภาคผนวก ข แบบสอบถามขอ้ มูลสภาพปัญหาของประชาชนในชุมชน ภาคผนวก ค แบบทดสอบความรู้เร่ืองโรคเบาหวาน 58 ภาคผนวก ง แบบประเมินความพงึ พอใจการเขา้ ร่วมโครงการปรับเปล่ียนพฤติกรรม 59 การกิน เพม่ิ ออกกาลงั กาย ลดเบาหวาน ภาคผนวก จ แบบลงทะเบียนเขา้ ร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การกิน เพ่มิ ออกกาลงั กาย ลดเบาหวาน บรรณานุกรม

บทท่ี 1 ส่ วนนาโครงการ 1.1ความเป็ นมาและความสาคญั ของการฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ พบผปู้ ่ วยโรคเบาหวานทวั่ โลกราว 425 ลา้ นคนในปี 2560 และคาดการณ์วา่ จะมีจานวนผปู้ ่ วยดว้ ย โรคน้ีมากถึง 629 ลา้ นคนในปี 2588 สาหรับสถานการณ์โรคเบาหวานในประเทศไทยพบวา่ คนไทยช่วงอายุ 20-79 ปี เป็นโรคเบาหวานร้อยละ 8.3 หรือหมายความวา่ ใน 100 คน จะพบคนท่ีป่ วยเป็นโรคเบาหวาน ประมาณ 8 คน และจานวนมากกวา่ คร่ึงไม่ทราบวา่ ตนเองเป็นโรคเบาหวาน สถิติการพบผปู้ ่ วยดว้ ยโรคน้ียงั มี จานวนมากข้ึนเร่ือย ๆ จนทาใหต้ อ้ งมีการรณรงคอ์ ยา่ งตอ่ เนื่องถึงภยั ร้ายของโรค เพราะเป็นโรคเร้ือรังท่ีรักษา ไม่หายขาด มีโอกาสเส่ียงต่อโรคแทรกซอ้ นลุกลามใหญ่โตจนตอ้ งสูญเสียอวยั วะท่ีสาคญั ของร่างกาย ทาง สหพนั ธ์เบาหวานนานาชาติ และองคก์ ารอนามยั โลก (WHO) จึงไดก้ าหนดใหว้ นั ที่ 14 พฤศจิกายนของทุกปี เป็นวนั เบาหวานโลก เพอ่ื ใหต้ ระหนกั ถึงความสาคญั ของโรคน้ี จากการสารวจขอ้ มูลครัวเรือน บา้ นไร่เหนือ หมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง มีจานวนครัวเรือนท้งั หมด 412 ครัวเรือน ชาย 327 หญิง 465 รวม 792 คน จากสถานการณ์และความสาคญั ดงั กล่าว นางสาวเมธีรา ช่วยยก นกั ศึกษาช้นั ปี ที่ 2 หลกั สูตรฉุกเฉิน การแพทย์ รุ่นที่ 15 เลง็ เห็นวา่ ประชาชนหมูท่ ่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง มีความ เสี่ยงท่ีจะเป็นโรคเบาหวานสูง เพราะสารวจแลว้ คา่ ร้อยละการเป็นโรคเบาหวานสูง ดงั น้นั เพ่ือเป็นการ ป้องกนั ไม่ใหป้ ระชาชนป่ วยเป็นโรคเบาหวานสูงเพ่ิมข้ึน ใหป้ ระชาชนควบคุมการรับประทานอาหารจาพวก รสหวานจดั แหละออกกาลงั กายวนั ละ 30 นาที เพอ่ื ลดความเส่ียงในการเป็นโรคเบาหวาน จึงจดั ทาโครงการ ใหค้ วามรู้แก่ประชาชนในเรื่องการป้องกนั พฤติกรรมการกิน และภาวะแทรกซอ้ นของโรคเบาหวาน

1.2 วตั ถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อใหป้ ระชาชนตระหนกั ถึงความอนั ตรายของโรคเบาหวาน 1.2.2 เพ่ือใหป้ ระชาชนรู้จกั การป้องกนั และหลีกเลี่ยงการเป็นโรคเบาหวาน 1.2.3 เพอื่ ใหป้ ระชาชนเกิดความรู้ ความเขา้ ใจในการควบคุมการกิน 1.3 กระบวนการเตรียมฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 1.3.1 กรอบแนวคดิ การฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ การฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ ปัญหาดา้ นสุขภาพดา้ นในชุมชนหมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดการเตรียมฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ

บทที่ 2 บริบทชุมชน เครื่องมือ 7 ชิ้น เคร่ืองมือ 7 ชิ้น เป็นเครื่องมือที่ใชใ้ นการเขา้ ถึงพ้ืนที่ของชุมชน และบ่งบอกถึงความสาคญั ของกลุ่ม ผูค้ นวา่ มีความผูกพนั ธุ์ในวงศ์สกุลเดียวกนั สามารถช่วยแนะนาปัญหาบางอย่างของครอบครัวที่สามารถ เกิดข้ึนไดแ้ ละยงั ทาใหร้ ู้จกั กลุ่มงานตา่ งๆ ในชุมชน เขา้ หาชุมชนไดง้ ่ายข้ึน ไดเ้ รียนรู้การรักษาตนเองของคน ในชุมชน เขา้ ใจวิถีชีวติ ของคนในชุมชนและที่สาคญั เป็ นเคร่ืองมือที่ใชเ้ ป็ นใบเบิกทางเพื่อการกลมกลืนเขา้ กบั ชุมชนน้นั 1.แผนทเ่ี ดินดิน

2.ผงั เครือญาติ ผงั เครือญาติคือ การถอดความสมั พนั ธ์ในเชิงเครือญาติ หรือเชิงสายเลือดในชุมชน มีความสาคญั ตอ่ การทาความเขา้ ใจชุมชนและสงั คม ไม่วา่ จะเป็นสังคมเมืองหรือสงั คมชนบท เพราะเครือญาติเป็น ความสมั พนั ธ์ที่เป็นรากฐานที่สุดของชีวติ ครอบครัว การทาผงั เครือญาติจึงมีส่วนสาคญั ในการทาความ เขา้ ใจระบบความสัมพนั ธ์ในครอบครัวและชุมชน เป้าหมายสาคญั ของผงั เครือญาติ 1.เขา้ ใจโครงสร้างความสมั พนั ธ์เชิงเครือญาติซ่ึงเป็นรากฐานของครอบครัวและชุมชน 2.รู้จกั ตวั บุคคลและความสัมพนั ธ์ทางสงั คมของเขาไดใ้ นระยะเวลาอนั ส้นั 3.ช่วยสร้างความสมั พนั ธ์และความสนิทคุน้ เคยระหวา่ งเจา้ หนา้ ที่กบั ชาวบา้ นไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว 4. ทาใหท้ ราบเก่ียวกบั สุขภาพหรือโรคติดตอ่ ของคนในครอบครัว เพ่ือป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาสุขภาพน้นั ๆ สัญลกั ษณ์แทนในผงั เครือญาติ สัญลกั ษณ์แทนบิดามารดาที่เสียชีวติ แลว้ สญั ลกั ษณ์แทนผชู้ าย สญั ลกั ษณ์แทนผหู้ ญิง สัญลกั ษณ์แทนการแตง่ งาน

ผงั เครื นายบุญ ช่วยยก/ นา นายประยรู ชายเกตุ นางสุคนธ์ ชายเกตุ นายสารวย ช่วยยก นา นาย สุภคั ชยั ชายเกตุ นางสาว นิภา ชายเกตุ นางสาว ภทั ราภรณ์ ช่วยยก นางสาว รัตนาพร

รอญาติ างคลาย ช่วยยก างกรรณิกา ช่วยยก นาย ถาวร ช่วยยก นางมาริสา ช่วยยก ช่วยยก นาย จิราวฒุ ิ ช่วยยก นางสาว เมธีรา ช่วยยก ด.ญ. ศิวาพร ช่วยยก

3. โครงสร้างองค์กรชุมชน รายชื่อประธานและอาสาสมัครชุมชน นายสอด พุมนวล ประธาน นายสมภาค เพชรโชติ รองประธาน นายมนตรี อินขาว นายพชิ ยตุ ฆ์ เขียดนิล เลขานุการ กรรมการฝ่ ายสวสั ดิการสงั คม นายโรจน์ ช่วยเทศ นายโชติ คงเกล้ียง กรรมการฝ่ ายพฒั นา กรรมการฝ่ ายป้องกนั นางสมพิศ เจริญวงศ์ นางชีพ ช่วยเทศ ฝ่ ายกลุ่มสตรี ฝ่ ายการคลงั นางจุฑาพร ดาชื่น นางเกสร หอยมณี กรรมการฝ่ ายกลุ่มสตรี กรรมการฝ่ ายการศึกษา

รายชื่อคณะกรรมการทป่ี รึกษาชุมชน นาย มนตรี อินขาว ที่ปรึกษา นายสมศกั ด์ิ สุขมิ่ง ที่ปรึกษา นายประยรู ชายเกตุ ที่ปรึกษา นายเด่นชยั เจริญผล ที่ปรึกษา คณะกรรมการท่ีปรึกษามี บทบาทการทางานของคณะกรรมการที่ปรึกษาส่วนใหญ่มีหน้าที่ปรึกษากบั ประธานชุมชน รอง ประธาน และ คณะกรรมการ ซ่ึงประธานกรรมการมีบทบาทในการบริหารชุมชนโดยมีประชาชนเป็ น ผสู้ นบั สนุน

รายช่ือประธานอาสาสมคั รสาธารณสุขชุมชน หมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลงุ นางสมพิศ เจริญวงศ์ ประธานอาสาสมคั รสาธารสุข นาสมศิลป์ พมุ นวล นางประกอบ ตาแกว้ สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางมาริสา ช่วยยก นายสุภาพ สจั เขต สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นายยพุ นิ ศรีอินทร์ นางหนูแอ๋ว พมุ นวล สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางสุภาพิชญ์ เขียดนิล นางจุฑาพร ดาช่ืน สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางชีพ ช่วยเทศ นายมนตรี อินขาว สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางสุพตั รา ชายเกตุ นางพะยอม ช่วยยก สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางจิตติมา ชายเกตุ นางสาคร ขาแกว้ สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข

อาสาสมคั รสาธารณสุขชุมชนหมู่ท่ี อาสาสมคั รสาธารณสุขชุมชนหมู่ท่ี 4 เป็ นองคก์ รที่ดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชน เฝ้าคอย ระวงั โรคต่าง ๆ ในชุมชน มีบทบาทให้ความรู้เกี่ยวกบั การดูแลสุขภาพของชุมชน โดยมี นางสมพิศ เจริญ วงศ์ เป็ นประธาน โดยบทบาทหลกั ๆ ของ อาสาสมคั รสาธารณสุขในชุมชนหมู่ที่ 4 ส่วนใหญ่จะ ประชาสัมพนั ธ์เกี่ยวกบั การตรวจสุขภาพของประชาชน รวมท้งั เชิญชวนให้ประชาชนเขา้ รับการอบรมให้ ความรู้เก่ียวกบั การดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครัวเรือน

กลุ่มสตรี นางสุธาวดี ราชเลก็ หัวหน้ากล่มุ สตรี คณะกรรมการพฒั นาสตรีเป็ นกลุ่มเป้าหมายในการดาเนินการขบั เคล่ือนการดาเนินงานจดั ประชุม สตรีในหมูบ่ า้ นเพ่อื แนะนาการจดั ทาครอบครัวพฒั นาตามคุณลกั ษณะที่กาหนดร่วมกบั ครอบครัวเป้าหมายที่ เข้าร่วมโครงการวางแผนการพฒั นาประสานองค์กรหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือร่วมส่งเสริม/และพฒั นา ครอบครัว กลุ่มผสู้ ูงอายุ นางพะยอม ช่วยยก ผู้สูงอายุ ชมรมผูส้ ูงอายเุ ป็ นการรวมกลุ่มของผูส้ ูงอายทุ ่ีมีอายุเกิน ๖๐ ปี ข้ึนไป อย่างนอ้ ย ๒๐ คน และอาจมี คนวยั อื่น ท้งั วยั ทางาน เด็ก เยาวชน เขา้ ร่วมเป็ นสมาชิกสมทบ แต่ไม่ควรเกิน ๑ ใน ๔ ของสมาชิกที่เป็ นวยั สูงอายุโดยมีวตั ถุประสงค์ตรงกนั ในการดาเนินกิจกรรมท่ีเป็ นประโยชน์ท้งั ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และมีการกาหนดระเบียบขอ้ บงั คบั ในการบริหารชมรม ท้งั น้ี ชมรมผูส้ ูงอายุอาจอยู่ภายใตส้ ังกัด ห น่ ว ย ง า น อ ง ค์ ก ร ห รื อ อ า จ เ ป็ น ช ม ร ม อิ ส ร ะ ที่ ไ ม่ สั ง กั ด ห น่ ว ย ง า น ใ ด ก็ ไ ด้

4.ระบบสุขภาพ โรงพยาบาลกงหรา สถานพยาบาล ระบบสุขภาพชุมชน หม อาเภกงหรา คลนี ิค คลินิก หมอมุย้

วดั ไร่เหนือ ศาสนา มู่ที่ 4 ตาบลคลองทรายขาว สถานทอี่ อกกาลงั กาย า จงั หวดั พทั ลงุ ร้านขายยา สนามกีฬาตาบลคลองทรายขาว ร้านขายยาผดุงครรภ์

5. ปฏิทนิ ชุมชน มกราคม กมุ ภาพนั ธ์ มีนาคม เมษายน -กิจกรรมวนั เดก็ -ตกั บาตรวนั ข้ึนปี ใหม่ไทย - ตกั บาตรวนั ข้ึนปี ใหม่ -วนั ปี ใหม่ พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม -ปันผลกองทุนหมูบ่ า้ น กนั ยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม -ทาบุญวนั สาทเดือนสิบ -จบั ของขวญั ส่งทา้ ยปี 6. ประวตั ศิ าตร์ชุมชน คาวา่ “กงหรา” มีประวตั ิความเป็นมาในเชิงนิทานปรัมปราวา่ ในสมยั ก่อนบริเวณอาเภอกง หรา เป็นทะเลกวา้ งใหญ่ มีอาณาเขตติดต่อไปถึงประเทศจีน สมยั น้นั มีครอบครัวหน่ึง บิดาชื่อพญา โฮง้ มีบุตร 3 คน คนโตเป็นชาย อยมู่ าวนั หน่ึงบุตรชายคนโตไดข้ ออนุญาตบิดาไปทางานท่ีเมืองจีน จนเป็นที่พอพระทยั ของพระเจา้ กรุงจีน จึงไดช้ วนบุตรชายพญาโฮง้ เขา้ ไปทางานในราชวงั ต่อมา พระเจา้ กรุงจีนทรงเห็นวา่ บุตรชายพญาโฮง้ ทางานดว้ ยความซ่ือสตั ยส์ ุจริต จึงยกพระราชธิดาให้ อภิเษกกนั แลว้ ยกเมืองใหป้ กครองแทนตน คนทว่ั ไปเรียกวา่ “พระเจา้ กรุงจีน” ต่อมาพระเจา้ กรุงจีน ทรงคิดถึงบา้ นเกิดจึงไดช้ วนภรรยาเดินทางกลบั มาเยย่ี มบา้ น ฝ่ ายพญาโฮง้ ทราบวา่ บุตรจะมาเยยี่ มก็ ไปรอรับอยทู่ ี่ท่าน้า คร้ันบุตรชายเดินทางมาถึง เห็นสภาพบิดาอยใู่ นฐานะยากจนเกิดความละอาย ภรรยา จึงไม่ยอมรับวา่ เป็นบิดา มารดาของตนเอง ฝ่ ายพญาโฮง้ เห็นบุตรแสดงอาการรังเกียจเกิด ความนอ้ ยใจกล้นั ใจตายกลายเป็นหิน ชาวบา้ นเรียกวา่ “เขาพญาโฮง้ ” ต้งั อยทู่ ี่บา้ นพญาโฮง้ หมู่ท่ี 6 ตาบลชะรัด อาเภอกงหรา ก่อนตายพญาโฮง้ ไดส้ าปแช่งบุตรชายไวว้ า่ หากเดินทางกลบั ขอใหเ้ รือถูก พายจุ มกลางทะเล ซ่ึงปรากฏวา่ เมื่อบุตรชายพญาโฮง้ เดินทางกลบั กไ็ ดถ้ ูกพายพุ ดั เรือล่มกลางทะเล

ทุกคนตายหมดกลายเป็นหินเรียกวา่ “เขาพญากรุงจีน” ต้งั อยใู่ นหมู่ที่ 4,8,9,11 ตาบลกงหรา ส่วนเรือ สาเภาพายพุ ดั จมลงทะเลเห็นแต่กงเรือลอยโผล่ใหเ้ ห็นเหนือผวิ น้า ชาวบา้ นเรียกวา่ “กงลอยร่า” ซ่ึง หมายถึงกงเรือลอยโผล่ใหเ้ ห็นเหนือผวิ น้า แต่ชาวปักษใ์ ตน้ ิยมเรียกชื่อส้นั ๆ จากคาวา่ “กงลอยร่า” เป็น “กงร่า” นาน ๆ เขา้ กลายเป็น “กงหรา” งานประเพณี - ลากพระ - ทาบุญวนั สาทเดือน10 สถานทส่ี าคัญ - วดั ไร่เหนือ - สนามกีฬาตาบลหมู่ 4 7.ประวตั ิชีวติ 1.ประวตั ิชีวิตมารดา นาง มาริสา ช่วยยก (อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมูบ่ า้ น หมู่ท่ี4 ) ข้อมูลทว่ั ไป - ชื่อ นางมาริสา ช่วยยก (อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมูบ่ า้ น หมู่ที่4 ) - เกิดเมื่อวนั ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ.2520 ปัจจุบนั อายุ 43 ปี

- สัญชาติไทย นบั ถือศาสนาพทุ ธ - ที่อยอู่ าศยั 96 หมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง - มีพ่นี อ้ งท้งั หมด 6 คน เป็นบุตรคนที่ 5 สมรสกบั นายถาวร ช่วยยก มีบุตรดว้ ยกนั 2 คน -ไมม่ ีโรคประจาตวั ประวตั ิด้านการศึกษา - จบช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 4 จากโรงเรียนบา้ นลาปลอก ตาบล อาเภอ จงั หวดั ตรัง ประวตั ดิ ้านการทางาน - ดารงตาแหน่งอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ น ต้งั แต่ปี พ.ศ.2539 - อายกุ ารทางาน 24 ปี ผลงานดีเด่น - เป็นอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมูบ่ า้ น ดีเด่น ปี พ.ศ.2556

บทที่ 3 การวนิ ิจฉัยชุมชน การศึกษาชุมชนหมูท่ ี่ 4 ตาบลกงหรา อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง ในคร้ังน้ีเป็ นการศึกษาในรูปแบบ การ สารวจ สังเกต การสัมภาษณ์ ซ่ึงมีข้นั ตอนในการวนิ ิจฉยั ชุมชนมี ดงั น้ี 3.1 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 3.2 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 3.3 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 3.4 ปัญหา และการจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา 3.5 การวเิ คราะห์สาเหตุของปัญหา 3.1 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.1.1 การรวบรวมขอ้ มูลปฐมภูมิ เป็ นการเก็บข้อมูลเพ่ิมเติมจากแหล่งทุติยภูมิ ซ่ึงขอ้ มูลดังกล่าวมี ความสาคญั มาก เพราะช่วยให้มองเห็นสภาพปัญหาในชุมชนชดั เจนข้ึน และขอ้ มูลท่ีไดเ้ ป็ นขอ้ มูลปัจจุบนั มาก ท่ีสุด วธิ ีการเก็บรวมรวบขอ้ มูลปฐมภูมิประกอบดว้ ย 3.1.1.1 การสังเกต เป็นการสังเกตสภาพทวั่ ไปของชุมชนและพฤติกรรมต่าง ๆ ของประชาชน ในชุมชน โดยท่ีผถู้ ูกสังเกตไมร่ ู้ตวั เพอื่ นาขอ้ มูลมาสนบั สนุนในการวเิ คราะห์ปัญหา 3.1.1.2 การสัมภาษณ์ เป็ นการสัมภาษณ์จากแบบสอบถามที่เตรียมคาถามต่าง ๆ ไวพ้ ร้อม แลว้ และ จดั พิมพไ์ วเ้ ป็นแบบฟอร์มเดียวกนั สาหรับใชก้ บั ผถู้ ูกสัมภาษณ์ทุกคน โดยคาถามจะเป็ นท้งั คาถาม แบบปลายปิ ด และแบบปลายเปิ ด เพือ่ เปิ ดโอกาสใหผ้ ถู้ ูกสมั ภาษณ์แสดงความคิดเห็น 3.1.2 การรวบรวมขอ้ มูลทุติยภูมิ เป็ นการรวบรวมขอ้ มูลทุติยภูมิ หรือขอ้ มูลที่รวบรวมไวท้ ี่องค์กรใน หมู่บา้ น ซ่ึงขอ้ มูลดงั กล่าวน้ัน ทาให้ทราบว่าควรหาขอ้ มูลดา้ นใด เพ่ิมเติม เพื่อนามาใช้ใน การสนบั สนุนใน กระบวนการวเิ คราะห์ปัญหา การเก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใชแ้ บบสอบถามแบ่งออกเป็น 5 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทวั่ ไป ตอนท่ี 2 ขอ้ มูลความรู้เกี่ยวกบั โรคเบาหวาน ตอนที่ 3 ขอ้ มูลดา้ นสุขภาพในชุมชน ตอนท่ี 4 ขอ้ มูลความรู้เก่ียวกบั โรค ตอนที่ 5 ขอ้ มูลความรู้เกี่ยวกบั การดูแลสุขภาพเบ้ืองตน้

3.2 การวเิ คราะห์ข้อมูล ขอ้ มูลที่ไดจ้ าการรวบรวมน้นั จะนามาวเิ คราะห์ตามข้นั ตอนการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดงั น้ี 3.2.1 บรรณาธิการขอ้ มูลดิบเป็นการตรวจสอบความถูกตอ้ งและความสมบูรณ์ของขอ้ มูล 3.2.2 การแจกแจงความถ่ี โดยใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูป แลว้ นามาวเิ คราะห์ขอ้ มูลในรูปแบบ ร้อยละ และ นาเสนอในรูปแบบก่ึงบทความ ก่ึงตารางเพ่ือความสะดวก การเปรียบเทียบขอ้ มูลสาหรับขอ้ มูลเชิง ปริมาณ 3.2.3 การสรุปขอ้ มูลเชิงคุณภาพ นาเสนอในรูปแบบบทความ เพื่อความเขา้ ใจ 3.3 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล จากการศึกษาชุมชนหมู่ที่ 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลงุ จานวนครัวเรือน โดยประมาณ 10 หลงั คาเรือน ไดร้ วบรวมขอ้ มูลจากรายงานตา่ ง ๆ จากองคก์ ารบริหารส่วนตาบลนาเคียนและอาสาสมคั ร สาธารณสุขประจาหมู่บา้ นในชุมชน ซ่ึงจะนาเสนอตามลาดบั ดงั ต่อไปน้ี 3.3.1 ขอ้ มูลทว่ั ไป จากการสารวจแบบสอบถามประชาชนในชุมชน หมูท่ ่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง ทาใหท้ ราบถึงบริบทของชุมชน และปัญหาดา้ นสุขภาพ ตารางท่ี 1 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านเพศ N = 10 เพศ จานวน ร้อยละ ชาย 4 40 หญิง 6 60 รวม 10 100 พบวา่ เป็นสถานภาพ1 ทว่ั ไปของจากตารางท่ี ผตู้ อบแบบสอบถามเพศหญิงร้อยละ 60 ผตู้ อบแบบสอบถามเพศ ชายร้อยละ 40 สรุปไดว้ า่ คนในชุมชน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านอายุ N = 10 อายุ จานวน ร้อยละ ต่ากวา่ 20 ปี 2 20 20 ปี ข้ึนไป 8 80 รวม 10 100 จากตารางท่ี 2 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นอายสุ ่วนใหญ่อยใู่ นช่วงอายตุ ่ากวา่ 20 ปี ร้อยละ 20 ช่วงอายุ 20 ปี ข้ึนไป ร้อยละ 80 สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนท่ีทาแบบสอบถามอยใู่ นช่วงอายุ 20 ปี ข้ึนไป มากกวา่ ช่วงอายตุ ่ากวา่ 20 ปี ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามในด้านสถานภาพสมรส N = 10 สถานภาพ จานวน ร้อยละ โสด 2 20 สมรส 8 80 หยา่ 0 0 หมา้ ยเนื่องจากคู่สมรสเสียชีวติ 0 0 แยกกนั อยู่ 0 0 รวม 10 100 จากตารางที่ 3 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามดา้ นสถานภาพสมรส ร้อยละ 80 รองลงมาอยใู่ นสถานภาพ โสด ร้อยละ 20 สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนส่วนใหญท่ ่ีทาแบบสอบถามมีสถานภาพสมรส

ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทวั่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามในด้านระดับการศึกษาสูงสุด N = 10 ระดับการศึกษาสูงสุด จานวน ร้อยละ ไมไ่ ดเ้ รียนหนงั สือ 0 0 ประถมศึกษา 0 0 มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.1-ม.3) 3 30 มธั ยมศึกษาตอนปลาย(ม.4-ม.6) 2 20 ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) 1 10 หรือเทียบเท่า ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง 2 20 (ปวส.) หรือเทียบเท่า ปริญญาตรี 2 20 ปริญญาโท 0 0 ปริญญาเอก 0 0 รวม 10 100 จากตารางท่ี 4 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.1-ม.3) ร้อยละ 30 รองลงมาระดบั การศึกษามธั ยมศึกษาตอนปลาย(ม.4-ม.6) ร้อยละ 10 รองลงมาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา่ ร้อยละ 10 รองลงมาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) หรือเทียบเทา่ ร้อยละ 20 ระดบั ปริญญาตรี ร้อยละ 10 ตามลาดบั สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนส่วนใหญ่ท่ีทาแบบสอบถามมีระดบั การศึกษามธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.1-ม.3) และปริญญาตรี

ตารางท่ี 5 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามในด้านอาชีพหลกั ของครอบครัว N = 10 จานวน ร้อยละ อาชีพหลกั ของครอบครัว รับจา้ งทว่ั ไป 2 20 เกษตรกร 1 10 ประมง 0 0 ขา้ ราชการ/ลูกจา้ งหรือพนกั งาน 1 10 ของรัฐ พนกั งานรัฐวสิ าหกิจ 0 0 เจา้ หนา้ ที่องคก์ รปกครองส่วน 3 30 ทอ้ งถิ่น 3 30 คา้ ขาย/ธุรกิจส่วนตวั 0 0 พนกั งาน/ลูกจา้ งเอกชน 0 0 0 0 วา่ งงาน/ไมม่ ีงานทา อื่นๆ รวม 10 100 จากตารางที่ 5 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นอาชีพหลกั ของครอบครัวรับจา้ งทว่ั ไป ร้อยละ 20 รองลงมาเกษตรกร ร้อยละ 10 รองลงมาขา้ ราชการ/ลูกจา้ งหรือพนกั งานของรัฐ ร้อยละ 10 รองลงมาเจา้ หนา้ ท่ี องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ร้อยละ 30 รองลงมาคา้ ขาย/ธุรกิจส่วนตวั ร้อยละ 30 ตามลาดบั สรุปไดว้ า่ ประชากร ในชุมชนส่วนใหญ่ที่ทาแบบสอบถามอาชีพหลกั ของครอบครัวคือ เจา้ หนา้ ที่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นและ คา้ ขาย/ธุรกิจส่วนตวั

ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านโรคประจาตัว N = 10 โรคประจาตวั จานวน ร้อยละ ไม่มีโรคประจาตวั 7 70 มีโรคประจาตวั 3 30 รวม 10 100 จากตารางที่ 6 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นโรคประจาตวั เป็นผทู้ ี่มีไมม่ ีโรคประจาตวั ร้อยละ 70 สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนส่วนใหญท่ ่ีทาแบบสอบถามไม่มีโรคประจาตวั ตารางที่ 7 แบบสอบถามข้อมูลสภาพปัญหาของประชาชนด้านเศรษฐกจิ ปัญหาด้านเศรษฐกจิ มากทสี่ ุด ระดบั ปัญหา 5 มาก ปานกลาง น้อย น้อยทส่ี ุด รายไดจ้ ากการประกอบอาชีพหลกั ไม่เพียงพอ 0 4 3 21 ครัวเรือนมีรายไดไ้ ม่เพยี งพอในการใชจ้ ่าย 3 6 10 ประจาเดือน 0 ไมม่ ีอาชีพเสริม 1 6 21 การวา่ งงานของคนในชุมชนมีเพ่ิมข้ึน 0 กูเ้ งินจากหน้ีนอกระบบ 1 4 4 20 ประชาชนมีการตกงานเพม่ิ ข้ึน 0 5 3 10 พืชผลการเกษตรราคาตกต่า 1 4 3 11 1 5 2 10 3 5 10 จากตารางท่ี 7 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามขอ้ มูลสภาพปัญหาของประชาชนดา้ นเศรษฐกิจ สรุปไดว้ า่ ปัญหา ปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตสูงท่ีสุดคือ 2.12 และมีค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานอยทู่ ี่ 0.81

ตารางท่ี 8 แบบสอบถามข้อมูลสภาพปัญหาของประชาชนด้านสังคม ปัญหาด้านสังคม มากทส่ี ุด มาก ระดบั ปัญหา น้อย น้อยทสี่ ุด 5 4 2 1 ยาเสพติดระบาดในชุมชนเพิ่มข้ึน 0 7 ปานกลาง 1 0 กลุ่มคนในชุมชนขาดความเขา้ ใจซ่ึงกนั และกนั 0 4 3 1 0 ทะเลาะเบาะแวง้ กนั ขาดความสามคั คี 0 5 2 0 0 คนในชุมชนขาดจิตสานึกในการพฒั นาตนเอง 0 6 5 1 0 สุขลกั ษณะเช่น ขยะมูลฝอย/ฝ่ นุ ละอองมลพิษใน 5 ชุมชนเพ่ิมข้ึน 0 4 3 1 0 สุขภาพของคนในชุมชนมีการเจบ็ ป่ วยและเกิด 1 5 1 0 โรคระบาด 0 6 5 1 1 การลกั ขโมยในชุมชนมากข้ึน 3 ขาดคนกลางในการแกป้ ัญหาความขดั แยง้ ของคน 5 ในหมู่บา้ น จากตารางที่ 8 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามขอ้ มูลสภาพปัญหาของประชาชนดา้ นสังคม สรุปไดว้ า่ ปัญหา ปัญหาดา้ นสงั คม มีคา่ เฉล่ียเลขคณิตสูงท่ีสุดคือ 2 และมีคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานอยทู่ ี่ 0.44

ตารางที่ 9 แบบสอบถามข้อมูลสภาพปัญหาของประชาชนปัญหาด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมและการท่องเทย่ี ว ปัญหาด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ มากทส่ี ุด ระดบั ปัญหา น้อยทสี่ ุด ส่ิงแวดล้อมและการท่องเทยี่ ว 5 1 0 มาก ปานกลาง น้อย 0 ระบบสาธารณูปโภคบริโภคของชุมชน เช่นประปา 0 432 0 ไฟฟ้าไม่เพยี งพอ 0 460 0 การคมนาคมและสญั จรไม่สะดวก 370 ขาดความรู้ดา้ นสุขลกั ษณะและมีการดูแลความ 0 550 0 สะอาดของหมู่บา้ น ป่ าเสื่อมโทรมและมีการทาลายทรัพยากรของชุมชน 0 460 0 เพม่ิ ข้ึน 0 0 ทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ มไม่เอ้ือต่อการบริหาร 1 460 0 จดั การท่องเท่ียว 370 มีการบุกรุกท่ีดินสาธารณะเพ่ิมข้ึน 540 แหล่งท่องเที่ยวในชุมชนขาดการส่งเสริมสนบั สนุน และพฒั นา จากตารางที่ 9 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามขอ้ มูลสภาพ ปัญหาดา้ นการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ มและการทอ่ งเที่ยว สรุปไดว้ า่ ปัญหาดา้ นการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มและการ ท่องเท่ียว มีคา่ เฉล่ียเลขคณิตสูงท่ีสุดคือ 2.06 และมีคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานอยทู่ ี่ 0.19

ตารางท่ี 10 แบบสอบถามข้อมูลสภาพปัญหาของประชาชนด้านสุขภาพ ปัญหาด้านสุขภาพ มากทส่ี ุด ระดับปัญหา น้อยทส่ี ุด 1 5 มาก ปานกลาง น้อย 0 4 32 พฤติกรรมที่ส่งผลต่อสุขภาพ เช่น การ 2 80 0 รับประทานอาหารที่ไม่ 0 5 50 0 0 มีประโยชน์ ด่ืมสุรา พกั ผอ่ นไม่เพยี งพอ 4 60 0 สามารถเตือนผอู้ ื่นท่ีมีพฤติกรรมเส่ียงตอ่ สุขภาพ 0 1 เช่น ไม่ใหส้ ูบบุหรี่ในที่สาธารณะ ใหใ้ ชผ้ า้ ปิ ดปาก 0 1 1 ไอจาม ใชช้ อ้ นกลาง เป็ นตน้ 0 สามารถไปพบแพทย์ หรือบุคลากรสาธารณสุข 0 หรือผใู้ หบ้ ริการสุขภาพไดท้ ุกเม่ือ ตามท่ีตอ้ งการ มีการจดั โครงการอบรมดา้ นสุขภาพและ 02 7 1 สุขลกั ษณะใหก้ บั คนในชุมชนอยเู่ ป็นประจา สามารถควบคุมกากบั สุขภาพตนเอง เช่น ชง่ั น้าหนกั ตรวจสุขภาพประจาปี คิดบวก ลดอาหาร 0 4 5 1 ที่ทาลายสุขภาพ ออกกาลงั กายเสมอ ในรอบ 1 ปี สมาชิกในครอบครัวมอี าการเจ็บป่ วยด้วยอาการ/โรค เจบ็ ป่ วยเลก็ นอ้ ย เช่น ไขห้ วดั ปวดกลา้ มเน้ือ/ปวด 0 1 6 3 ทอ้ ง/โรคกระเพาะ โรคติดต่อ เช่น อุจจาระร่วง ไขเ้ ลือดออก วณั โรค 0 1 5 3 ฯลฯ โรคไม่ติดต่อ เช่น ความดนั โลหิตสูง 03 4 2 โรคเบาหวาน โรคหวั ใจ ปัญหาสุขภาพจิต เช่น วิตกกงั วล/เครียด ติดยา/ 0 3 4 2 สารเสพติด ติดสุราเร้ือรัง อ่ืนๆ เช่น โรคเกี่ยวกบั ขอ้ และกระดูก 08 2 0

ตารางท่ี 10.1 แบบสอบถามข้อมูลสภาพปัญหาของประชาชนวธิ ีการดูแลสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว ( สมาชิกในครอบครัวมกี ารเจ็บป่ วยเลก็ น้อย) วธิ ีการดูแลสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว ลาดบั ปัญหา ( สมาชิกในครอบครัวมกี ารเจ็บป่ วยเลก็ น้อย) มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทสี่ ุด 54 3 21 ดูแลสุขภาพดว้ ยตนเอง เช่น ซ้ือยากินเอง เช็ดตวั 0 2 7 1 0 ลดไข้ ปรึกษา/ขอคาแนะนาจาก อสม. 01 7 20 ใชบ้ ริการสุขภาพที่สถานพยาบาล เช่น รพ.สต./ 1 1 6 2 0 คลินิก/โรงพยาบาล วธิ ีการดูแลสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว (สมาชิกในครอบครัวมีการเจ็บป่ วยรุนแรง/หมดสต)ิ ดูแลสุขภาพดว้ ยตนเอง เช่น ซ้ือยากินเอง เช็ดตวั 0 4 4 2 0 ลดไข้ มีความรู้พ้ืนฐานดา้ นการแพทยฉ์ ุกเฉิน สามารถ ปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ได้ เช่น การช่วยฟ้ื นคืนชีพ 0 5 4 2 0 ข้นั พ้นื ฐาน(CPR) ใชบ้ ริการสุขภาพที่สถานพยาบาล เช่น รพ.สต./ 0 3 7 0 0 คลินิก/โรงพยาบาล รีบโทรกชู้ ีพในพ้นื ท่ี/โทร 1669 02 8 00 จากตารางที่ 10 และ 10.1 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามขอ้ มูลสภาพปัญหาดา้ นสุขภาพ สรุปไดว้ า่ ปัญหา ดา้ นสุขภาพ มีคา่ เฉล่ียเลขคณิตสูงที่สุดคือ 2.12 และมีค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานอยทู่ ี่ 0.8

ตารางที่ 11 แสดงค่าเฉลยี่ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานของปัญหาในชุมชน ปัญหา x S.D. ปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ 2 0.37 ปัญหาดา้ นสังคม 2 0.44 ปัญหาดา้ นการจดั การ 2.06 0.19 ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ มและการท่องเท่ียว 2.12 0.81 ปัญหาดา้ นสุขภาพ 2 0.59 ปัญหาดา้ นอื่นๆ 2.04 0.23 ค่าเฉลยี่ รวม จากตารางท่ี 11 สรุปไดว้ า่ ปัญหาปัญหาดา้ นสุขภาพ มีค่าเฉล่ียเลขคณิตสูงที่สุดคือ 2.12 และมีค่า เบี่ยงเบนมาตรฐานอยทู่ ี่ 0.81 รองลงมาคือมีดา้ นการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มและการ ท่องเที่ยวค่าเฉล่ียเลขคณิตสูงที่สุดคือ 2.06 และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยทู่ ่ี 0.19 สรุปการทาประชาคม ชุมชนหมู่ที่ 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จังหวดั พทั ลงุ วนั พุธ ท่ี 10 เมษายน 2563 เวลา 13.00-16.00 น. ท่ีหอประชุมประจาหมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอ กงหรา จงั หวดั พทั ลุง ผตู้ อบแบบสอบถาม 10 ชุด สรุปปัญหาของชุมชนหมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกง หรา จงั หวดั พทั ลุง ไดด้ งั น้ี 1. ปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ มีค่าเฉล่ีย 2 มีคา่ ระดบั ความพึงพอใจ อยใู่ นเกณฑป์ านกลาง 2. ปัญหาดา้ นสังคม มีคา่ เฉล่ีย 2 มีคา่ ระดบั ความพึงพอใจ อยใู่ นเกณฑป์ านกลาง 3. ปัญหาดา้ นการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มและการท่องเท่ียว มีค่าเฉล่ีย 2.06 มี ค่าระดบั ความพงึ พอใจ อยใู่ นเกณฑป์ านกลาง 4. ปัญหาดา้ นอื่นๆ มีค่าเฉล่ีย 2 มีค่าระดบั ความพึงพอใจ อยใู่ นเกณฑป์ านกลาง 5. ปัญหาดา้ นสุขภาพ มีคา่ เฉลี่ย 2.12 มีคา่ ระดบั ความพงึ พอใจ อยใู่ นเกณฑน์ อ้ ย นกั ศึกษาไดเ้ ล็งเห็นวา่ ปัญหาดา้ นสุขภาพ ท่ีมีคา่ ระดบั ความพึงพอใจ อยใู่ นเกณฑ์นอ้ ย ท่ีควรไดร้ ับการแกไ้ ข ทาง นกั ศึกษาจึงไดม้ าทาประชาคมในวนั และเวลาดงั กล่าว

การคดิ คะแนนเพื่อจัดลาดบั ความสาคญั ของปัญหาด้านสุขภาพ เกณฑ์การจัดลาดบั ความสาคัญของปัญหาของ John J. Hanlon A = ขนาดของปัญหา ใหค้ ะแนนระหวา่ ง 0-10 B = ความรุนแรงของปัญหา ใหค้ ะแนนระหวา่ ง 0-20 C = ประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิงาน ใหค้ ะแนนระหวา่ ง 0-10 D = ขอ้ จากดั ใหค้ ะแนน 0-1 สูตร คะแนนรวม Basic priority rating (B.P.R) = ( A+B ) x C x D 3 คะแนนขององค์ประกอบ ปัญหา ขนาดของ ความ ความยาก ความ วธิ ีบวก วธิ ีคูณ ปัญหา รุนแรง ง่าย สนใจ 1.ความดนั โลหิตสูง 8 16 3 1 22 216 2.ไขห้ วดั ใหญ่ 5 10 4 1 17 128 3.ไขเ้ ลือดออก 3 6 5 1 15 90 4.วณั โรค 2 4 6 1 13 48 5.โรคกระเพาะ 2 4 5 1 12 40 จากตาราง พบวา่ ปัญหาชุมชนอนั ดบั ท่ี 1 คือ ความดนั โลหิตสูง อนั ดบั ที่ 2 คือ ไขห้ วดั ใหญ่ อนั ดบั ที่ 3 คือ ไขเ้ ลือดออกอนั ดบั ท่ี 4 วณั โรค อนั ดบั ท่ี 5 โรคกระเพาะตามลาดบั ท่ีมา:จากอา้ งอิงทฤษฏีวธิ ีของภาควชิ าบริหารสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล จาก วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข

บทที่4 แผนงานโครงการ จากการสารวจชุมชนหมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จังหวดั พทั ลุง ไดล้ งสารวจพ้ืนท่ีโดยใช้ แบบสอบถามขอ้ มูลวิเคราะห์เพื่อจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา เพื่อหาวิธีการแก้ปัญหาให้กบั ชุมชน จาก การศึกษาพบวา่ ชุมชนมีปัญหาดา้ นสุขภาพของคนในชุมชน เป็นอนั ดบั แรก ดงั น้นั จึงนาปัญหาดา้ นสุขภาพ โรคความเบาหวานในผสู้ ูงอายุ มาจดั โครงการเพื่อให้ความรู้กบั คนใน ชุมชน เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ ในการควบคุมโรค ป้องกนั โรค ควบคุมการกิน เกี่ยวกบั โรคความเบาหวาน ผสู้ ูงอายุท่ีถูกวิธีและเหมาะสม ลดการเพ่ิมการเจบ็ ป่ วยเป็ นโรคความเบาหวาน และเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในการจดั จิกรรมบรรยายใหค้ วามรู้ 4.1 แผนงาน / โครงการ จากปัญหาที่พบ พบวา่ เป็ นปัญหาที่ทางชุมชนมีความตอ้ งการใหด้ าเนินการ จากปัญหาดงั กล่าว จึงได้ จดั ทาโครงการเพ่ือแกป้ ัญหาสุขภาพของชุมชน 1 โครงการ โดยมีรายละเอียดดงั น้ี ชื่อกจิ กรรม/โครงการ : ปรับเปล่ียนพฤติกรรม ลดเส่ียง ลดโรคเบาหวาน ชื่อ-สกุล ผู้เสนอกจิ กรรม/โครงการ : นางสาวเมธีรา ช่วยยก สังกดั : หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูงสาขาปฏิบตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ที่ 2 1. หลกั การและเหตุผล/ทม่ี า/ปัญหา 1.1 หลกั การและเหตุผล พบผปู้ ่ วยโรคเบาหวานทวั่ โลกราว 425 ลา้ นคนในปี 2560 และคาดการณ์วา่ จะมีจานวนผปู้ ่ วยดว้ ยโรคน้ี มากถึง 629 ลา้ นคนในปี 2588 สาหรับสถานการณ์โรคเบาหวานในประเทศไทยพบวา่ คนไทยช่วงอายุ 20-79 ปี เป็ นโรคเบาหวานร้อยละ 8.3 หรือหมายความวา่ ใน 100 คน จะพบคนท่ีป่ วยเป็ นโรคเบาหวานประมาณ 8 คน และจานวนมากกวา่ คร่ึงไมท่ ราบวา่ ตนเองเป็นโรคเบาหวาน สถิติการพบผูป้ ่ วยดว้ ยโรคน้ียงั มีจานวนมากข้ึนเร่ือย ๆ จนทาให้ตอ้ งมีการรณรงคอ์ ย่างต่อเนื่องถึงภยั ร้ายของโรค เพราะเป็ นโรคเร้ือรังที่รักษาไม่หายขาด มีโอกาส

เส่ียงตอ่ โรคแทรกซอ้ นลุกลามใหญ่โตจนตอ้ งสูญเสียอวยั วะที่สาคญั ของร่างกาย ทางสหพนั ธ์เบาหวานนานาชาติ และองคก์ ารอนามยั โลก (WHO) จึงไดก้ าหนดใหว้ นั ท่ี 14 พฤศจิกายนของทุกปี เป็ นวนั เบาหวานโลก เพ่ือให้ ตระหนกั ถึงความสาคญั ของโรคน้ี จากการสารวจขอ้ มูลครัวเรือน บา้ นไร่เหนือ หมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง มีจานวนครัวเรือนท้งั หมด ครัวเรือน 412 ชาย 327 หญิง 465 รวม 792 คน จากสถานการณ์และความสาคญั ดงั กล่าว นางสาวเมธีรา ช่วยยก นักศึกษาช้ันปี ท่ี 2 หลกั สูตรฉุกเฉิน การแพทย์ รุ่นท่ี 15 เล็งเห็นวา่ ประชาชนหมูท่ ี่ 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง มีความเส่ียงท่ี จะเป็ นโรคเบาหวานสูง เพราะสารวจแลว้ ค่าร้อยละการเป็ นโรคเบาหวานสูง ดงั น้นั เพ่ือเป็ นการป้องกนั ไม่ให้ ประชาชนป่ วยเป็ นโรคเบาหวานสูงเพ่ิมข้ึน ให้ประชาชนควบคุมการรับประทานอาหารจาพวกรสหวานจดั แหละออกกาลงั กายวนั ละ 30 นาที เพ่ือลดความเสี่ยงในการเป็ นโรคเบาหวาน จึงจดั ทาโครงการ ให้ความรู้แก่ ประชาชนในเร่ืองการป้องกนั พฤติกรรมการกิน และภาวะแทรกซอ้ นของโรคเบาหวาน 1.2 วตั ถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อใหป้ ระชาชนตระหนกั ถึงความอนั ตรายของโรคเบาหวาน 1.2.2 เพอื่ ใหป้ ระชาชนรู้จกั การป้องกนั และหลีกเลี่ยงการเป็นโรคเบาหวาน 1.2.3 เพ่ือใหป้ ระชาชนเกิดความรู้ ความเขา้ ใจในการควบคุมการกิน 1.3 กล่มุ เป้าหมาย อสม.และตวั แทนครัวเรือนหมู่ที่ 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง จานวน 50 คน 1.4 เป้าหมาย 1.4.1 เป้าหมายเชิงคุณภาพ - ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 1.4.2 เป้าหมายเชิงปริมาณ - อสม.และตวั แทนครัวเรือนหมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง เขา้ ร่วม โครงการร้อยละ 80

1.5 ระยะเวลาดาเนินการ ต้งั แตว่ นั ท่ี 8 เมษายน – 15 เมษายน 2563 1.6 ดชั นีตวั ชี้วดั ความสาเร็จ 1.6.1. ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 1.6.2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมที่ถูกตอ้ งในการป้องกนั โรคเบาหวาน และภาวะแทรกซอ้ นได้ อยา่ งยงั่ ยนื ร้อยละ๘๐ 1.6.3. เกิดเครือข่ายกลุ่มเส่ียงโรคเบาหวานและภาวะแทรกซอ้ น 1.7 ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นางสาวเมธีรา ช่วยยก นกั ศึกษาหลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นที่ 15 ช้นั ปี ที่ 2 1.8 สถานทดี่ าเนินโครงการ หอประชุมหมู่บา้ นไร่เหนือ 1.9 ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ 1.8.1 ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมท่ีถูกตอ้ งในการป้องกนั โรคเบาหวาน และภาวะแทรกซ้อนไดอ้ ยา่ ง ยง่ั ยนื ร้อยละ๘๐ 1.8.2ประชากรกลุ่มเส่ียงมีความรู้ในการดูแลตนเองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 1.8.3ประชาชนสามารถควบคุมการกิน และป้องกนั การเกิดภาวะแทรกซอ้ นไดถ้ ูกตอ้ ง 2. แผนการดาเนินงาน 2.1 วธิ ีการดาเนินงาน กระบวนการ กจิ กรรม เวลาดาเนินการ ผู้รับผดิ ชอบ การวางแผน (P) 1. ประชุมวางแผน กาหนดวัตถุประสงค์ 8 เมษายน 2563 นางสาวเมธีรา ช่วยยก งบประมาณ ดัชนีช้ีวดั ความสาเร็จ พฒั นา นกั ศึกษาหลกั สูตรฉุกเฉิน โครงการฉบบั สมบูรณ์เพ่อื ขออนุมตั ิ การแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ท่ี 2 2. เม่ือโครงการได้รับอนุมัติแล้วจึง มอบหมายหน้าท่ีรับผิดชอบภายในกลุ่ม พร้อมท้งั ประสานผูท้ ี่เกี่ยวขอ้ งประสานงาน

กระบวนการ กจิ กรรม เวลาดาเนินการ ผ้รู ับผดิ ชอบ ชุมชน จดั เตรียมวสั ดุ อุปกรณ์ท่ีตอ้ งใช้ การปฏิบตั ิ 1.จดั โครงการตามกาหนดการ 9 เมษายน 2563 นางสาวเมธีรา ช่วยยก (D) 1.1 วนั จดั กิจกรรม นกั ศึกษาหลกั สูตรฉุกเฉิน 1.1.1 ทาแบบทดสอบก่อนใหค้ วามรู้ การแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ท่ี 2 1.1.2 การบรรยายให้ความรู้เก่ียวกับ โรคเบาหวาน และวิธี กา รป้ องการเกิ ด ภาวะแทรกซอ้ น 1.1.3 กิจกรรมตอบคาถามเก่ียวกบั ความรู้ โรคเบาหวาน 1.1.4 จดั กิจกรรมกลุ่ม ( Focus Group) ระดมสมองภายในกลุ่ม 1.1.5 ทาแบบทดสอบหลงั ใหค้ วามรู้ 1.1.6 ทาแบบประเมินความพงึ พอใจ 1.2.1 ใหค้ วามรู้เร่ืองโรคเบาหวาน 1.2.2 แจกแผน่ พบั และทรายTemephos การประเมินผล ประเมินผลตามวตั ถุประสงคด์ ว้ ย 10 เมษายน 2563 นางสาวเมธีรา ช่วยยก (C) 1. แบบลงทะเบียนเขา้ ร่วมโครงการ นกั ศึกษาหลกั สูตรฉุกเฉิน 2. ประเมินความรู้ก่อน-หลงั ใหค้ วามรู้ การแพทย์ รุ่นที่ 15 ช้นั ปี ท่ี 2 3. สังเกตการมีส่วนร่วมของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ ก า ร ป รั บ ป รุ ง 1.ประชุมผจู้ ดั ทาโครงการเพื่อสรุปผลการ 12 เมษายน 2563 นางสาวเมธีรา ช่วยยก หรื อนาผลการ ดาเนินงานและเสนอแนะแนวทางเพอื่ นกั ศึกษาหลกั สูตรฉุกเฉิน ประ เมิ นไปใช้ ปรับปรุงพฒั นา การแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ที่ 2 ประโยชน์ (A)

2.2 ผลการดาเนินงาน 2.2.1 การดาเนินงานในข้นั ตอนการวางแผน (P) - ประสานงานกบั แกนนา อสม.หมูท่ ี่ 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง นางสาวเมธีรา ช่วยยก หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ ช้นั ปี ท่ี 2 ประสานงานกบั แกนนาอสม. หมู่ท่ี4 เพ่ือ จดั การทาประชาคมหาปัญหาท่ีตอ้ งแกไ้ ขเพ่ือจดั ทาโครงการ -ประชุมวางแผนกาหนดการดาเนินงานและเขียนโครงการเพอ่ื ขออนุมตั ิ นางสาวเมธีรา ช่วยยก หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ จดั ประชุมกนั กบั แกนนาอสม.หมู่ท่ี 4 เพ่ือสอบถาม ปัญหาต่างๆที่เกิดข้ึนในชุมชน และได้มีการประชุมกันภายในกลุ่มเพื่อวางแผนการดาเนินงานกาหนด วตั ถุประสงค์ วางแผนการใชง้ บประมาณ หนา้ ท่ีรับผดิ ชอบ เพอื่ ใหก้ ารดาเนินงานโครงการเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ -ติดตอ่ ประสานงาน กบั ผทู้ ี่เก่ียวขอ้ งในชุมชน นางสาวเมธีรา ช่วยยก หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ ไดต้ ิดต่อจดั การขอสถานที่ในการทากิจกรรม เพ่ือให้ การดาเนินงานโครงการเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ - ติดต่อขอใชส้ ถานท่ี 2.2.2. การดาเนินงานในข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ (D) - เสนอร่างโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน เพิ่มออกกาลงั การ ลดเบาหวานและปรับแก้ไข โครงการรณรงค์ ป้องกนั และควบคุมโรคเบาหวานหมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง - จดั เตรียมเอกสารในการทาโครงการ - จดั เตรียมสถานที่ในการจดั ทาโครงการรณรงค์ ป้องกนั และควบคุมโรคเบาหวาน หมู่ที่ 6 ตาบลนา เคียน อาเภอเมือง จงั หวดั นครศรีธรรมราช - ดาเนินงานกิจกรรมโครงการรณรงค์ ป้องกนั และควบคุมโรคเบาหวาน หมู่ที่ 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง ดว้ ยการบรรยายใหค้ วามรู้เก่ียวกบั การป้องกนั โรคเบาหวาน นางสาวเมธีรา ช่วยยก หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ ไดเ้ ขา้ รับการอบรมใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั การดูแลตวั เองการ รักษา อาการ และการป้องกนั เกี่ยวกบั โรคเบาหวาน - รณรงคใ์ หค้ วามรู้เรื่องโรคเบาหวาน

2.3 จานวนผู้เข้าร่วมโครงการ อสม.และตวั แทนครัวเรือน หมูท่ ่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง จานวน 50 คน 2.4 สถานทดี่ าเนินการ หอประชุมหมู่บา้ นไร่เหนือ ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง 2.5 งบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2562 เงินอุดหนุนทว่ั ไป เงินอุดหนุนสาหรับการดาเนินงานตามโครงการ พระราชดาริดา้ นสาธารณสุข(สนบั สนุนจากกองทุนหมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง) จานวน 5,000 บาท (หา้ พนั บาทถว้ น) ใชจ้ ่ายดงั น้ี 1.ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองด่ืม จานวน 50 คนๆละ 1 ม้ือๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท 2.คา่ อาหารกลางวนั จานวน 50 คนๆละ 1 ม้ือๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1,250บาท 3.คา่ สมนาคุณวทิ ยากร จานวน 2 ชวั่ โมงๆละ 150 บาท เป็นเงิน 300 บาท 4.ค่าป้ายไวนิลโครงการ 150 บาท 5.ค่าวสั ดุที่ใชใ้ นโครงการ 100 บาท รวมเป็นเงิน 2,800 บาท (สองพนั แปดร้อยบาทถว้ น) หมายเหตุ : ทุกรายการสามารถถวั เฉล่ียได้ 3.เคร่ืองมือและวธิ ีการในการประเมนิ ผล หลงั จากที่ไดด้ าเนินงานตามแผนของโครงการแลว้ น้นั ซ่ึงในข้นั ตอนสุดทา้ ยจะเป็ นกิจกรรมในการ ประเมินผลโครงการ หากพิจารณาถึงความสัมพนั ธ์ระหว่างการวางแผนกบั การประเมินผลโครงการ พบว่า กิจกรรมท้งั สองมีความสมั พนั ธ์ที่ตอ้ งดาเนินการควบคูก่ นั โดยการวางแผนโครงการเป็นกิจกรรมของการกาหนด แนวทางการนาไปปฏิบตั ิเพื่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ ส่วนการประเมินผลโครงการเป็ นกิจกรรมสุดทา้ ยในการ พิจารณาผลการดาเนินงานเป็ นไปตามแผนที่กาหนดหรื อไม่ 3.1 เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการเกบ็ ข้อมูล 3.1.1แบบทดสอบความรู้ ทศั นคติและพฤติกรรม ก่อน-หลงั ใหค้ วามรู้ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลเพื่อการประเมินในคร้ังน้ี เป็ นแบบสอบถามท่ีผูร้ ับผิดชอบ โครงการไดส้ ร้างข้ึนใหส้ อดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ และตวั ช้ีวดั ของโครงการ ซ่ึงมีรายละเอียดดงั น้ี ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลพ้ืนฐานส่วนบุคคล ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ระดบั การศึกษา อาชีพ

ส่วนท่ี 2 ความรู้เรื่องการป้องกนั โรคเบาหวาน แบบสอบถามเป็ นแบบเลือกคาตอบเพียงคาตอบเดียว คือ ถูก หรือ ผดิ จานวน 10 ขอ้ กาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดงั น้ี ตอบถูก ไดค้ ะแนนเท่ากบั 1 คะแนน ตอบผดิ ไดค้ ะแนนเทา่ กบั 0 คะแนน ส่วนที่3 ทศั นคติต่อการป้องกนั และควบคุมโรคเบาหวานแบบสอบถามเป็นแบบเลือกคาตอบเพียง คาตอบเดียว คือ เห็นดว้ ยอยา่ งยงิ่ เห็นดว้ ย ไมแ่ น่ใจ ไมเ่ ห็นดว้ ย ไม่เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ ขอ้ คาถามมีท้งั ดา้ นบวกและ ดา้ นลบจานวน 10 ขอ้ กาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดงั น้ี คาถามเชิงบวก คาถามเชิงลบ เห็นดว้ ยอยา่ งยงิ่ ได้ 8 คะแนน ได้ 1 คะแนน เห็นดว้ ย ได้ 6 คะแนน ได้ 2 คะแนน ไมแ่ น่ใจ ได้ 4 คะแนน ได้ 3 คะแนน ไม่เห็นดว้ ย ได้ 2 คะแนน ได้ 4 คะแนน ไม่เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ ได้ 2 คะแนน ได้ 5 คะแนน 3.1.2 แบบประเมินความพึงพอใจการเขา้ ร่วมโครงการ โดยเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนความพึงพอใจ ดงั น้ี ระดบั ความพงึ พอใจมากที่สุด 5 คะแนน ระดบั ความพึงพอใจมาก 4 คะแนน ระดบั ความพึงพอใจปานกลาง 3 คะแนน ระดบั ความพึงพอใจนอ้ ย 2 คะแนน ระดบั ความพึงพอใจนอ้ ยที่สุด 1 คะแนน 3.2 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.4.1 ประเมินโดยการใหท้ าแบบทดสอบก่อนใหค้ วามรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรม ติดตามขอ้ มูลการเป็น โรคเบาหวาน 3.4.2 ใหท้ าแบบทดสอบหลงั ให้ความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรม จดั เกบ็ สมุดบนั ทึกการสารวจคืน จากผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ นามาประเมินผล 3.4.3 สรุปผลจากแบบทดสอบก่อนและหลงั ใหค้ วามรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรมการกิน ติดตามการเป็ น โรคเบาหวาน 3.3 การวเิ คราะห์ข้อมูล

การวเิ คราะห์ขอ้ มูลดงั รายละเอียดต่อไปน้ี 1. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลส่วนบุคคล ใชส้ ถิติการแจกแจงความถ่ี ( Frequency ) และร้อยละ( Percentage ) 2. การประเมินความพึงพอใจ การประเมินความรู้ ใชส้ ถิติค่าเฉลี่ย ( Ẋ ) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( S.D.) 3.4 เกณฑ์ทใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล 3.4.1 แบบทดสอบความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรม ก่อน-หลงั ใหค้ วามรู้ 3.4.1.1 การแปลผลคะแนน สาหรับเกณฑก์ ารประเมินระดบั ความรู้เก่ียวกบั เร่ืองโรคเบาหวาน แบ่งออกเป็ น 3 ระดบั โดยใชว้ ิธีการกาหนดเกณฑต์ ามช่วงคะแนนตามหลกั วิธีคิดของบลูม Bloom (1964อา้ งถึง ใน สมนึก แกว้ วไิ ล, 2552) ซ่ึงมีระดบั คะแนน ดงั น้ี ระดบั ความรู้ ร้อยละ (ของคะแนนเตม็ ) ระดบั ดี 80.00 ข้ึนไป (8-10ขอ้ ) ระดบั ปานกลาง 50.00 - 79.99 (5-7ขอ้ ) ระดบั ควรปรับปรุง 1.00 - 49.99 (0-5ขอ้ ) 3.4.1.2 การแปลผลคะแนนสาหรับเกณฑก์ ารประเมินทศั นคติเก่ียวกบั การป้องกนั และควบคุม โรคความดนั โลหิตสูงและภาวะแทรกซอ้ นโดยใชว้ ิธีการกาหนดเกณฑ์ตามช่วงคะแนนตามหลกั วิธีคิดของเบสท์ (Best, 1997 อา้ งถึงในกุลธิดา เหมาเพชร และคณะ, 2555) ดงั น้ี ระดบั ทศั นคติ คา่ ระดบั คะแนนเฉลี่ย ระดบั สูง 5.56- 5.00 ระดบั ปานกลาง 3.26- 3.60 ระดบั ต่า 1.10 - 2.33 3.4.1.3 การแปลผลคะแนนสาหรับเกณฑบ์ ง่ ช้ีพฤติกรรมการออกกาลงั กาย โดยใชว้ ธิ ีการกาหนด เกณฑต์ ามช่วงคะแนนตามหลกั วธิ ีคิดของเบสท์ (Best, 1997 อา้ งถึงในกุลธิดา เหมาเพชร และคณะ, 2555) ดงั น้ี ระดบั พฤติกรรม คา่ ระดบั คะแนนเฉล่ีย ระดบั สูง 5.56 - 5.00 ระดบั ปานกลาง 3.26 - 3.60 ระดบั ต่า 1.10 - 2.33

3.4.2 แบบประเมินความพึงพอใจการเขา้ ร่วมโครงการ โดยเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนความพงึ พอใจ ดงั น้ี คะแนนเฉลี่ยสูงกวา่ 4.50 มีความพึงพอใจในระดบั มากที่สุด คะแนนเฉล่ียระหวา่ ง 3.50 – 4.49 มีความพงึ พอใจในระดบั มาก คะแนนเฉล่ียระหวา่ ง 2.50 – 3.49 มีความพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง คะแนนเฉล่ียระหวา่ ง 1.50 – 2.49 มีความพงึ พอใจในระดบั นอ้ ย คะแนนเฉล่ียต่ากวา่ 1.50 มีความพึงพอใจในระดบั นอ้ ยที่สุด 4.ผลการประเมนิ การดาเนินโครงการ 4.1 ข้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบประเมนิ ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมี 89 คน จากจานวนท้งั หมด 120 คน คิดเป็นร้อยละ 74.17 ซ่ึงขอ้ มูลทว่ั ไปในเร่ือง เพศ อายรุ ะดบั การศึกษา อาชีพ สถานภาพ มีขอ้ มูลดงั ตารางต่อไปน้ี ตารางที่ 4.1.1 เพศของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ เพศ จานวน ร้อยละ หญิง 82 92.10 ชาย 7 7.90 รวม 89 100 จากตารางแสดงขอ้ มูลเพศของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ พบวา่ เพศหญิง มีจานวน 82 คน คิดเป็ นร้อยละ92.10 และเพศชายมีจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 7.90 ตารางท่ี 4.1.2 อายขุ องผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ จานวน ร้อยละ 4 4.49 อายุ 8 8.99 ต่ากวา่ 20 ปี 12 13.48 30 33.71 20-30 31-40 41-50

51 ปี ข้ึนไป 35 39.33 รวม 89 100 จากตารางแสดงขอ้ มูลอายขุ องผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ พบวา่ อายุ 51 ปี ข้ึนไป มีจานวน 35 คน คิดเป็ นร้อยละ 39.33 อายุ 41-50 ปี มีจานวน 30 คน คิดเป็ นร้อยละ 33.71 อายุ 31-40 ปี มีจานวน 12 คน คิดเป็ นร้อยละ 13.48 อายุ 20-30 ปี มีจานวน 8 คน คิดเป็ นร้อยละ 8.99 และอายุต่ากวา่ 20 ปี มีจานวน 4 คน คิดเป็ นร้อยละ 4.49 ตามลาดบั ตารางที่ 4.1.3 ระดบั การศึกษาของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ ระดบั การศึกษา จานวน ร้อยละ ประถมศึกษา 46 51.69 มธั ยมศึกษา 27 30.34 อนุปริญญา 5 5.62 ปริญญาตรี 11 12.36 อ่ืน ๆ 0 0 รวม 89 100 จากตารางแสดงขอ้ มูลระดบั การศึกษาของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ พบวา่ ระดบั ประถมศึกษา มีจานวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 51.69 ระดบั มธั ยมศึกษา มีจานวน 27 คน คิดเป็ นร้อยละ 30.34 ระดบั ปริญญาตรีมีจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 12.36 ระดบั อนุปริญญา มีจานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 5.62 และระดบั อ่ืน ๆ มีจานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ตามลาดบั ตารางที่ 4.1.4 อาชีพของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ อาชีพ จานวน ร้อยละ นกั เรียน/นกั ศึกษา 5 5.62 ขา้ ราชการ 9 10.11 เกษตรกรรม 48 53.93 คา้ ขาย/ธุรกิจ 11 12.36 รับจา้ งทว่ั ไป/ลูกจา้ ง 2 2.25 ไม่ไดป้ ระกอบอาชีพ/ทางานบา้ น 14 15.73 อื่น ๆ 0 0 รวม 89 100

จากตารางแสดงขอ้ มูลอาชีพของผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ พบวา่ อาชีพเกษตรกรรม มีจานวน 48 คน คิดเป็ น ร้อยละ 53.93 ไม่ไดป้ ระกอบอาชีพ/ทางานบา้ น มีจานวน 14 คน คิดเป็ นร้อยละ 15.73 อาชีพคา้ ขาย/ธุรกิจ มี จานวน 11 คน คิดเป็ นร้อยละ 12.36 อาชีพขา้ ราชการ มีจานวน 9 คน คิดเป็ นร้อยละ 10.11 อาชีพนกั เรียน/ นกั ศึกษา มีจานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 5.62 อาชีพรับจา้ งทว่ั ไป/ลูกจา้ ง มีจานวน 2 คน คิดเป็ นร้อยละ 2.25 อาชีพอื่น ๆ มีจานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ตามลาดบั 4.2 ผลการทดสอบความรู้จากการเข้าร่วมโครงการ ตารางท่ี 4.2.1 ผลการทดสอบความรู้จากการเข้าร่วมโครงการ รายการ สูงสุด ต่าสุด เฉลยี่ ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ ก่อนเขา้ อบรม 6 2 0.04 ผลการทดสอบ - - - -- -- หลงั เขา้ อบรม 10 8 0.02 45 50.56 44 49.44 ผลการทดสอบ - - - -- -- 73 82.02 16 17.98 จากตารางที่ 4.2.1 พบวา่ แกนนาอสม.ท่ีเขา้ ร่วมโครงการมีคะแนนทดสอบความรู้ก่อนเขา้ รับ การบรรยายเกี่ยวกบั โรคความดนั โลหิตสูง ไดค้ ะแนนสูงสุด 5 คะแนน คะแนนต่าสุด 2 คะแนน และมีคะแนน เฉลี่ย 0.04 คะแนน มีจานวนผผู้ า่ นเกณฑจ์ านวน 45 คน คิดเป็ นร้อยละ 50.56 มีจานวนผูไ้ ม่ผา่ นเกณฑ์จานวน 44 คน คิดเป็ นร้อยละ 49.44 และหลงั จากการเขา้ รับการบรรยายเกี่ยวกบั โรคไขเ้ ลือดออก มีผูท้ ดสอบความรู้ได้ คะแนนสูงสุด 10 คะแนน คะแนนต่าสุด 8 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ย 0.02 คะแนน มีจานวนผผู้ า่ นเกณฑ์จานวน 73 คน คิดเป็ นร้อยละ 82.02 ซ่ึงผา่ นตามตวั ช้ีวดั ในหวั ขอ้ จุดประสงคม์ ีผเู้ ขา้ ร่วมโครงการร้อยละ 8๐ มีความรู้ เก่ียวกบั การควบคุมป้องกนั โรคไขเ้ ลือดออกในระดบั ดี ตารางที่ 4.2.2 คะแนนการทดสอบประเมินความรู้ก่อนเข้าร่วมโครงการอย่างละเอยี ด คะแนน จานวน ( คน ) ร้อยละ 2 4 4.49 3 16 17.98 4 24 26.97 5 27 30.34

6 18 20.22 รวม 89 100 จากตารางท่ี 4.2.2 พบว่าคะแนนทดสอบการประเมินความรู้ก่อนเขา้ ร่วมโครงการ มีคะแนน สูงสุด 6 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 20.22 และคะแนนต่าสุด 2 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 4.49 ตารางท่ี 4.2.3 คะแนนการทดสอบประเมินความรู้หลงั เข้าร่วมโครงการอย่างละเอยี ด คะแนน จานวน ( คน ) ร้อยละ 8 27 30.34 9 41 46.07 10 21 23.60 รวม 89 100 จากตารางที่ 4 พบวา่ คะแนนทดสอบการประเมินความรู้หลงั เขา้ ร่วมโครงการ มีคะแนนสูงสุด 10 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 23.60 และคะแนนต่าสุด 8 คะแนน คิดเป็ นร้อยละ 30.34 4.3 ผลการทาแบบประเมินความพงึ พอใจ ระดบั ความพงึ พอใจ ตารางที่ 4.3.1 ค่าเฉลยี่ ของความพงึ พอใจต่อโครงการภาพรวม x S.D แปลผล ลาดบั ที่ ประเดน็ 4.673 0.193 มากที่สุด 4.786 0.173 มากที่สุด 1. ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการ ข้นั ตอนการจดั กิจกรรม 4.678 0.219 มากท่ีสุด 2. ความพึงพอใจดา้ นวทิ ยากร 4.743 0.183 มากที่สุด 3. ความพึงพอใจดา้ นสิ่งอานวยความสะดวก 4. ความพึงพอใจดา้ นคุณภาพการจดั กิจกรรม จากตารางท่ี 4.3.1 คา่ เฉล่ียของความพึงพอใจต่อโครงการภาพรวม พบวา่ มีความพงึ พอใจดา้ นคุณภาพ การใหบ้ ริการมากที่สุด( x = 4.833 ) รองลงมา ความพึงพอใจดา้ นเจา้ หนา้ ที่ผใู้ หบ้ ริการ ( x = 4.786 ) และความพึงพอใจ ดา้ นกระบวนการ / ข้นั ตอนการดาเนินโครง การ ( x = 4.673 ) นอ้ ยท่ีสุด

ตารางท่ี 4.3.2 ค่าเฉลย่ี ของผลประเมินความพงึ พอใจของผ้เู ข้าร่วมโครงการ รายละเอยี ด ระดบั ความพงึ พอใจ x S.D แปลผล 1. ความพงึ พอใจด้านกระบวนการ ข้ันตอนการจัดกจิ กรรม 1.1. รูปแบบกิจกรรมการจดั กิจกรรม 4.55 0.52 สูง 1.2 ลาดบั ข้นั ตอนในการจดั กิจกรรม 2.23 1.22 สูง 1.3 ระยะเวลาที่ใชใ้ นการจดั กิจกรรม 4.41 0.57 สูง 1.4 เอกสารและสื่อประกอบในการจดั กิจกรรม 2.23 1.22 ต่า 1.5 ความเหมาะสมของการจดั กิจกรรม 4.50 0.55 สูง 2. ความพงึ พอใจด้านวทิ ยากร 2.1 การถ่ายทอดความรู้ของวทิ ยากรมีความชดั เจน 4.56 0.59 สูง 2.2 การตอบขอ้ ซกั ถามในการจดั กิจกรรม 4.45 0.54 สูง 3. ความพงึ พอใจด้านสิ่งอานวยความสะดวก 3.1 สถานท่ีจดั กิจกรรม 4.43 0.61 สูง 3.2 มีการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสม 2.11 1.09 ต่า 4. ความพงึ พอใจด้านคุณภาพการจัดกจิ กรรม 4.1 ทา่ นไดร้ ับประโยชน์จากการเขา้ ร่วมกิจกรรมอยา่ งคุม้ ค่า 4.29 0.72 สูง 4.2 ท่านสามารถนาความรู้ท่ีไดร้ ับไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น 4.29 0.65 สูง ชีวติ ประจาวนั 3.84 0.34 สูง ผลรวม 4.4 สรุปผลการดาเนินงานโครงการ โครงการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการกิน เพมิ่ ออกกาลงั กาย ลดเบาหวาน หมูท่ ี่ 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ รับผดิ ชอบโครงการโดยนางสาว เมธีรา ช่วยยก หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ ช้นั ปี ท่ี 2 รุ่นท่ี 15 โครงการน้ีไดด้ าเนินโครงการท่ีหมู่ที่ 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง ต้งั แต่ วนั ท่ี 8 เมษายน – 15 เมษายน 2563 ข้นั ตอนการดาเนินงานท่ีสาคญั คือ วนั จดั กิจกรรม ให้ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการทา

แบบทดสอบก่อนและหลังให้ความรู้ มีการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกบั โรคเบาหวานและวิธีการป้องกัน โรคเบาหวานและภาวะแทรกซอ้ น รวมท้งั ทากิจกรรมกลุ่ม ( Focus Group) เพื่อระดมสมอง และทาแบบประเมิน ความพงึ พอใจ พร้อมท้งั แจกแผน่ พบั และทราย Temephos สรุปจากการทาโครงการรณรงค์ ป้องกนั และควบคุมโรคเบาหวานและภาวะแทรกซ้อน ในคร้ังน้ี พบวา่ หลงั จากท่ีกลุ่มเป้าหมายท่ีเขา้ ร่วมรับฟังการใหค้ วามรู้เร่ือง โรคเบาหวาน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเขา้ ใจ และรู้จกั เลือกใชว้ ธิ ีการป้องกนั ตนเองและคนครอบครัว 4.5 ประโยชน์จากการทาโครงการ - ทาใหเ้ กิดการพฒั นาความคิดและไดฝ้ ึกทกั ษะการวางแผนอยา่ งเป็นระบบและการกาหนด รูปแบบ ต่างๆใหส้ อดคลอ้ งกนั - ทาใหไ้ ดเ้ รียนรู้เกี่ยวกบั การทางาน ประสานงาน และติดต่อกบั หน่วยงานตา่ ง ๆ พร้อมท้งั มี การวางแผน การทางานอยา่ งมีระบบ - ไดฝ้ ึกทกั ษะการทางานร่วมกบั คนในชุมชน เพ่ือใชเ้ ป็นแนวทางแก่การทางานในอนาคต - การรู้จกั รับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืนรวมไปถึงการประสานงานหรือการติดตอ่ กบั หน่วยงานตา่ งๆ - ทาใหร้ ู้จกั การแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ เม่ือเจอเหตุการณ์ท่ีไม่ไดเ้ ป็นไปตามแผนท่ีกาหนดไว้ 4.6 ปัญหาและอปุ สรรค - การดาเนินโครงการไมเ่ ป็นไปตามระยะเวลาท่ีกาหนด - ผสู้ ูงอายมุ ีเวลาจากดั ทาใหต้ อ้ งเร่งการจดั กิจกรรม - นกั ศึกษาผบู้ รรยายใหค้ วามรู้มีความตื่นเตน้ พดู เร็ว จึงทาใหผ้ สู้ ูงอายฟุ ังไมท่ นั 4.7 ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีความพร้อมในการดาเนินโครงการ 2. การทากิจกรรมควรใชร้ ะยะเวลาใหส้ ้ันกระชบั 3. ควรใหผ้ ูเ้ ขา้ ร่วมโครงการมีส่วนร่วมมากข้ึน เช่น การถาม-ตอบ เป็นตน้ 4. สื่อที่ใชค้ วรเนน้ ท่ีรูปภาพมากกวา่ ตวั หนงั สือ รวมถึงควรใชต้ วั อกั ษรท่ีเห็นชดั เจน 5. ปรับการพูดใหช้ า้ ลง

5.แนวทางการพฒั นางาน 5.1 แนวทางการพฒั นางาน จากการจดั ประชุมกลุ่มเพอ่ื พิจารณาหาขอ้ ผดิ พลาด ปัญหาและอุปสรรคของการทางานรวม ไปถึงขอ้ เสนอแนะจากผูด้ ูแลโครงการ ปรับเปล่ียนพฤติกรรมการกิน เพ่ิมออกกาลงั กาย ลดเบาหวานซ่ึง นามาสะทอ้ นถึงขอ้ ผิดพลาดและสาเหตุท่ีเกิดข้ึน และนามาพฒั นาในการจดั โครงการหรือกิจกรรมอื่น ๆ ร่วมกบั ชุมชนตอ่ ไป ปัญหา สาเหตุ แนวทางการแก้ไข การดาเนินโครงการท่ีไม่ เวลาในการประสานงาน รวมไปถึง การดาเนินงานคร้ังต่อไป เป็ นไปตามระยะเวลาที่กาหนด การบรรยายปรับแก้ล่าช้าและการไม่รู้ จะ ต้องมี การวางแผนแล ะ และการประชาสัมพนั ธ์ยงั ไม่ กาหนดการ ทาให้ระยะเวลาดาเนินงาน จดั สรรเวลาในการดาเนินงาน ทว่ั ถึง ไม่สัมพนั ธ์กบั ระยะเวลาท่ีกาหนด และ ให้เป็ นระบบไม่ยืดย้ือเกินไป การประชาสัมพนั ธ์ไม่ทว่ั ถึง เ พ่ื อ ใ ห้ ร ะ ย ะ เ ว ล า เ ห ม า ะ ส ม ตามที่กาหนด การพูดต้องมีความม่ันใจ เน่ืองจากขาดประสบการณ์ จึงทาให้ การดาเนินงานในคร้ังต่อไป ใบหน้ายิ้มและการใช้น้าเสียง การพูดติดขดั และสถานที่เป็ นลานกวา้ ง จะมีการวางแผน การเตรี ยม ตอ้ งสม่าเสมอ จึงทาใหเ้ วลาพูดจะไม่ค่อยไดย้ นิ ค ว า ม พ ร้ อ ม ก่ อ น ก า ร ด า เ นิ น กิจกรรม นาเสนอวชิ าการสื่อที่ใชค้ วร เน่ืองจากขาดประสบการณ์ในการ นา ในการวางแผนจดั ทากิจกรรม เนน้ ท่ีรูปภาพมากกวา่ ตวั หนงั สือ เสนองานในแหล่งชุมชน จึงมีการเนน้ ไป คร้ังตอ่ ไปจะตอ้ งมีการคานึงถึง ที่วชิ าการ กลุ่มเป้าหมายและระดบั ความรู้ ความสนใจของกลุ่มเป้าหมาย ท้ังน้ี ส่ื อจะต้องมีเน้ื อหาที่ กระชบั และสื่อ ใหเ้ ขา้ ใจไดง้ ่าย

บทที่ 5 สรุปผลโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ การจดั โครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ คร้ังน้ี มีวตั ถุประสงคเ์ พือ่ ให้ นกั ศึกษาสามารถปฏิบตั ิกระบวนการ ศึกษาชุมชนและแกไ้ ขปัญหาสุขภาพที่เก่ียวขอ้ งกบั งานดา้ นสุขภาพ ซ่ึง ประกอบดว้ ยการศึกษาชุมชน การเตรียมชุมชน และการวนิ ิจฉยั ชุมชน พร้อมท้งั การแกไ้ ขปัญหาและพฒั นา ชุมชนซ่ึงประกอบไปดว้ ยการ วางแผน การดาเนินการตามแผน และการประเมินผลการดาเนินงาน โดยมี รายละเอียดดงั น้ี 5.1 สรุปผลโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 5.2 อภิปรายผลโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 5.3 ขอ้ เสนอแนะโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 5.1 สรุปผลโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 5.1.1 ขอ้ มูลทว่ั ไป จากการศึกษาชุมชนหมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง สารวจชุมชนโดยใช้ แบบสอบถาม พบวา่ ประชากรที่ตอบแบบสอบถาม มีช่วงอายตุ ่ากวา่ 20 ปี ร้อยละ 20 ช่วงอายุ 20 ปี ข้ึนไป ร้อยละ 80 สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนท่ีทาแบบสอบถามอยใู่ นช่วงอายุ 20 ปี ข้ึนไป มากกวา่ ช่วงอายตุ ่ากวา่ 20 ปี เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 60 เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 40 พบวา่ ผตู้ อบ แบบสอบถามในดา้ นการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.1-ม.3) ร้อยละ 30 รองลงมาระดบั การศึกษา มธั ยมศึกษาตอนปลาย(ม.4-ม.6) ร้อยละ 10 รองลงมาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา่ ร้อยละ 10 รองลงมาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) หรือเทียบเทา่ ร้อยละ 20 ระดบั ปริญญาตรี ร้อยละ 10 ตามลาดบั สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนส่วนใหญ่ที่ทาแบบสอบถามมีระดบั การศึกษา มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.1-ม.3) และปริญญาตรี 5.1.2 ขอ้ มูลดา้ นระบบสุขภาพจากการท่ีประชากรตอบแบบสอบถาม สรุปไดว้ า่ ปัญหาปัญหาดา้ น สุขภาพ มีคา่ เฉล่ียเลขคณิตสูงท่ีสุดคือ 2.12 และมีคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานอยทู่ ่ี 0.81 รองลงมาคือมีดา้ นการ จดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มและการท่องเท่ียวคา่ เฉลี่ยเลขคณิตสูงท่ีสุดคือ 2.06 และมีค่า เบ่ียงเบนมาตรฐานอยทู่ ่ี 0.19

5.2 อภิปรายผล จากการศึกษาชุมชนหมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง และการจดั ลาดับ ความสาคญั ของปัญหาโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนโดยการทาประชาคม ซ่ึงพบว่าปัญหาท่ีสมควร ดาเนินการแกไ้ ขเป็น อนั ดบั แรกคือ ดา้ นสุขภาพ ดว้ ยโรคเบาหวาน เหตุผลดงั กล่าวจึงไดจ้ ดั ทาโครงการเพ่ือ ดาเนินการแกไ้ ขปัญหาดา้ นสุขภาพ เร่ืองโรคเบาหวาน ในชุมชน หมู่ท่ี 4 ตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา จงั หวดั พทั ลุง โดยมีกิจกรรมในโครงการประกอบดว้ ย 3 กิจกรรมหลกั คือ การบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกบั โรคเบาหวานและการป้องกนั ภาวะแทรกซอ้ น กิจกรรมตอบคาถามเก่ียวกบั ความรู้โรคเบาหวาน หลงั จากให้ ความรู้ ซ่ึงสามารถอภิปรายผลไดด้ งั น้ีคือ 5.2.1 กิจกรรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน พบว่ามีตวั แทนครัวเรือนและผูน้ าชุมชนเขา้ ร่วมใน กิจกรรม คิดเป็ นร้อยละ 100 และผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ ไดค้ วามรู้เชิงทฤษฎีเพ่ิมมากข้ึน โดยส่วนใหญ่อยูใ่ น ระดบั ดี ซ่ึงบรรลุตามเป้าหมาย และการท่ีประชาชนมีความรู้เก่ียวกบั โรคเบาหวานมากข้ึนทาให้ประชาชนมี ความรู้ 5.2.2 กิจกรรมตอบคาถามเกี่ยวกบั ความรู้โรคเบาหวาน พบวา่ ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการใหค้ วามร่วมมือ ในการทากิจกรรม ทาใหม้ ี ความเขา้ ใจมากข้ึน โดยประเมินจากการทดสอบความรู้หลงั บรรยายโดยการ สอบถาม 5.3 ข้อเสนอแนะการจัดโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 5.3.1 ขอ้ เสนอแนะ 5.3.1.1 ในการจดั โครงการ ควรมีการประชาสัมพนั ธ์ใหท้ ว่ั ถึง และใหเ้ ขา้ ใจวตั ถุประสงคข์ อง กิจกรรม 5.3.1.2 ควรมีการดึงประชาชนเขา้ มามีส่วนร่วมในกิจกรรมใหม้ ากที่สุด โดยมีกิจกรรมสนั ทนาการ ละลายพฤติกรรมก่อนเขา้ เน้ือหาบทเรียน 5.3.1.3 ควรมีการเพมิ่ ระยะเวลาในการจดั กิจกรรมโดยการติดตามและประเมินผลโครงการอยา่ ง ตอ่ เน่ือง เพ่ือประเมินวา่ ประชาชนมีความรู้ในเร่ืองโรคไขเ้ ลือดออก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook