Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore user-manual-GECC63 (1)

user-manual-GECC63 (1)

Description: user-manual-GECC63 (1)

Search

Read the Text Version

การรขบั อรงอศงมนู ายต์รคารู่มฐชาือกน ากรสาระใดหวบ้กร ิการ คณะกรรมการอำนวยการศนู ย์ราชการสะดวก สำนกั สงำานนกั คงณานะกปรลรัดมรสก่วำามนรกักพับนฒั า นยากรระฐั บมบนรตารชี การ

คมู่ ือการรบั รองมาตรฐานการใหบ้ ริการ ของศูนยร์ าชการสะดวก คณะกรรมการอำนวยการศนู ยร์ าชการสะดวก สำนักงานปลดั สำนกั นายกรฐั มนตรี รว่ มกับ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

คู่มอื การรับรองมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารของศูนยร์ าชการสะดวก พิมพค์ รง้ั ที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๖๒ จำนวนพิมพ์ ๔๐๐ เล่ม ISBN : ๐๐๐ ๐๐๐ ๐๐๐ ๐๐๐ ๐ คณะผู้จดั ทำ คณะกรรมการอำนวยการศนู ยร์ าชการสะดวก สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ● นายสุรศักด์ ิ เรียงเครอื รองปลัดสำนกั นายกรัฐมนตร ี ● นายอทิ ธิพล ชา่ งกลงึ ด ี ผอู้ ำนวยการศูนยบ์ รกิ ารประชาชน ● นางสาวศภุ ลักษณ์ ทองเดช นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ ● นางสาวสทุ ธิดา คำมะนาง เจา้ หนา้ ท่วี เิ คราะหน์ โยบายและแผน ● นางสาวกลั ยกร ออ่ นนว่ ม เจา้ หน้าที่วเิ คราะห์นโยบายและแผน ● นางสาวภัสสุดา สมปัญญา เจ้าหนา้ ที่วิเคราะห์นโยบายและแผน สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ● นางอารีย์พันธ์ เจริญสุข รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ ● นายณฐั ฏา พาชัยยทุ ธ ผู้อำนวยการกองนวตั กรรมการบรหิ ารภาครัฐ ● นางสาวนิชา สาทรกิจ ผู้เชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นการพัฒนาระบบราชการ ● นางสาวมนพะงา เลก็ ขาว นักพฒั นาระบบราชการชำนาญการพิเศษ ● นายคณุ นั ต์ บางภมู ิ นักพัฒนาระบบราชการชำนาญการ พิมพท์ ี่ บริษัท พรกิ หวานกราฟฟิค จำกัด ๙๐/๖ ซอยจรญั สนทิ วงศ์ ๓๔/๑ ถนนจรญั สนิทวงศ์ แขวงอรณุ อมรนิ ทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๔๒๔ ๓๒๔๙ โทรสาร ๐ ๒๔๒๔ ๓๒๕๒

คำนำ นายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) ได้มอบนโยบาย ในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๘ ให้ทุกกระทรวง กรม และจังหวดั รวมทัง้ รฐั วสิ าหกิจท่ีเก่ียวข้อง จดั ใหม้ ีศูนย์ราชการสะดวก (Government Easy Contact Center : GECC) เพื่อเป็นหน่วยงาน ที่ทำหน้าที่ให้คำแนะนำและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ให้เกิด การบริการที่มีประสิทธิภาพ และสร้างความเชื่อม่ันให้แก่ประชาชน ท่ีเดินทางมาติดต่อราชการกับหน่วยงานของรัฐ ประกอบกับเป็นการ ดำเนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการ พิจารณาอนญุ าตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการอำนวยการศูนย์ราชการสะดวก จึงได้จัดทำคู่มือ การรับรองมาตรฐานการให้บริการขึ้น โดยหวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือดังกล่าว จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานของรัฐในการนำไปใช้เป็นแนวทาง การดำเนินการ และการประเมินผลการดำเนินงานของศนู ย์ราชการสะดวก เพื่อขอรับการรับรองมาตรฐานการให้บริการของศูนย์ราชการสะดวก อันจะนำไปสู่การยกระดับการให้บริการและอำนวยความสะดวกให้กับ ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ก่อเกิดความพึงพอใจ ในการให้บริการ รวมทั้งช่วยสร้างภาพลักษณ์ท่ีดีและความเช่ือม่ันต่อ หน่วยงานของรัฐ คณะกรรมการอำนวยการศนู ย์ราชการสะดวก ธันวาคม ๒๕๖๒ คู่มือการรับรองมาตรฐานการให้บรกิ ารของศูนยร์ าชการสะดวก ก

ตราสัญลักษณร์ ับรองมาตรฐานการใหบ้ ริการของ ศูนย์ราชการสะดวก มาตรฐานศูนย์ราชการสะดวกมี ๓ ระดบั คอื ระดบั เป็นเลิศ สญั ลักษณส์ ที อง : เพ่มิ เตมิ นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ำหรับใหบ้ ริการ ด้วยระบบดิจิทลั สะดวกทกุ ที่ทกุ เวลา ระดบั ก้าวหนา้ ระดบั พ้ืนฐาน สญั ลกั ษณส์ เี งนิ : เพมิ่ เตมิ นวตั กรรม สญั ลกั ษณส์ ฟี า้ : ใหบ้ รกิ ารสะดวก และเทคโนโลยใี นการใหบ้ รกิ าร รวดเรว็ เขา้ ถงึ งา่ ย ข คู่มือการรบั รองมาตรฐานการให้บริการของศูนย์ราชการสะดวก

ความหมาย ตราสญั ลักษณศ์ ูนยร์ าชการสะดวก (GECC) ๑. เลข ๑ ไทย สื่อถึงการเป็นศูนย์กลางบริการท่ีสามารถพัฒนาไปส ู่ การบรกิ ารแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop service) ณ จุดเดียวได้ ๒. รูปลักษณะของลายประจำยาม คือ การคำนึงถึงความต้องการ อำนวยความสะดวก ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการเป็นหลัก ๓. ลายเส้นตวัดรูปโค้ง ๓ เส้น เป็นการตอบสนองความต้องการและ ข้ันตอนการขอรับบรกิ ารไม่ยุ่งยากซบั ซอ้ น ๔. สัญลักษณ์ทาบหน้าอกฝั่งด้านซ้าย คือมีจิตบริการ (Service Mind) การบริการมคี ุณภาพและประสิทธภิ าพ ๕. สีทอง กากี คือ หน่วยงานราชการ สีน้ำเงินฟ้า คือ ภาคประชาชน ท่มี าติดตอ่ ราชการ จุดตดิ ตั้ง ตราสัญลกั ษณศ์ นู ยร์ าชการสะดวก (GECC) ติดไว้บริเวณท่ีประชาชนเห็นได้อย่างชัดเจน ณ จุดให้บริการที่ได้รับ การรับรองมาตรฐานการให้บริการของศูนย์ราชการสะดวก เพ่ือเป็น เครื่องหมายท่ีแสดงให้รู้ว่าประชาชนจะได้รับการบริการท่ีมีมาตรฐาน GECC สะดวก รวดเรว็ เข้าถึงง่าย คมู่ ือการรบั รองมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารของศูนยร์ าชการสะดวก ค

สารบญั หนา คาํ นํา ก ตราสญั ลักษณรบั รองมาตรฐานการใหบรกิ ารของศนู ยราชการสะดวก ข ๑. ท่ีมาและความสําคัญ ๑ ๒. วัตถุประสงคของการจัดทําเกณฑศ ูนยร าชการสะดวก ๓ ๓. จดุ มุงหมายของศูนยราชการสะดวก ๓ ๔. นยิ ามศัพท ๓ ๕. หลักเกณฑ วิธีการประเมนิ ผล และการรบั รองมาตรฐาน ๖ การใหบริการของศนู ยร าชการสะดวก ๖ ๕.๑ หลักคิด ๖ ๕.๒ ระบบการใหบริการ ๘ ๕.๓ เกณฑการพจิ ารณา ๖. แนวทางการประเมินและการรับรองมาตรฐานการใหบริการของ 65 ศนู ยราชการสะดวก ๖.๑ เกณฑการประเมนิ ๖๕ ๖.๒ การขอรบั การประเมนิ ๖๖ ๖.๓ วธิ ีการตรวจประเมนิ ๖๖ ๖.๔ ระยะเวลาในการรับรองมาตรฐานศนู ยราชการสะดวก ๖๗ ๖.๕ การใหส ่ิงจูงใจ ๖๗ ๗. แนวทางการตรวจประเมนิ รักษามาตรฐานการใหบรกิ ารของ 68 ศูนยราชการสะดวก เอกสารอางองิ ๗๐ ภาคผนวก ๗๒ - คาํ ส่งั สํานักนายกรฐั มนตรี ที่ ๒๑๕/๒๕๖๒ ลงวันท่ี ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เรอื่ ง แตงตง้ั คณะกรรมการอํานวยการศูนยร าชการสะดวก

คูมือการรับรองมาตรฐานการใหบริการ ของศูนยราชการสะดวก 1. ทม่ี าและความสําคญั ๑.๑ การประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี ๑ กันยายน ๒๕๕๘ นายกรัฐมนตรี ไดมอบนโยบายใหทุกกระทรวง กรม และจังหวัด รวมท้ัง รัฐวิสาหกิจท่ีเกี่ยวของ จัดใหมี “ศูนยราชการสะดวก (Government Easy Contact Center : GECC)” เพ่ือเปนหนวยงานท่ีทําหนาท่ีให คาํ แนะนําและอํานวยความสะดวกแกประชาชน ใหเกิดการใหบริการท่ีมี ประสิทธิภาพและสรางความเชื่อม่ันใหแกประชาชนที่เดินทางมาติดตอ ราชการกับหนว ยงานของรัฐ ๑.๒ พระราชบัญญัติการอํานวยความสะดวกในการพิจารณา อนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ ไดกําหนดเก่ียวกับการจัดใหมี ศูนยบริการรวมเพ่ืออํานวยความสะดวกแกประชาชนไวใน ๒ มาตรา ดังนี้ มาตรา ๗ วรรคสี่ กําหนดวา “เพ่ือประโยชนในการ อํานวยความสะดวกใหแกประชาชน ใหสวนราชการจัดใหมีศูนยบริการ รวมเพื่อรับคําขอและช้ีแจงรายละเอียดเกี่ยวกับการอนุญาตตาง ๆ ตาม กฎหมายวาดวยการอนุญาตไว ณ ท่ีเดียวกันตามแนวทางท่ี ก.พ.ร. กําหนด” คมู่ ือคกมู าอื รกรับารรอับงมราอตงรมฐาาตนรกฐาารนใหก้บารรกิ ใหารบขรอกิ งาศรนู ขยอร์ างชศกนู ายรรสาะชดกวากร สะดวก ๑๑

มาตรา ๑๔ วรรคหน่ึง ในกรณีจําเปนและสมควร เพื่อประโยชนในการอํานวยความสะดวกแกประชาชน ใหคณะรัฐมนตรี มมี ติจัดตั้งศูนยรับคําขออนุญาต เพื่อทําหนาที่เปนศูนยกลางในการรับคําขอ ตามกฎหมายวาดว ยการอนุญาตขึน้ ๑.๓ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหาร กิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ไดกําหนดแนวทางการปฏิบัติราชการ เพ่ือใหเกิดประโยชนสุขแกประชาชน ที่สําคัญประการหน่ึงกําหนดใหมี การจัดต้ังศูนยบริการรวม เพื่อลดระยะเวลาของประชาชนในการมา ติดตอราชการโดยไมตองเดินทางไปติดตอสวนราชการหลายแหงเพื่อ ดําเนินการในเร่ืองเดียวกัน และประชาชนสามารถติดตอสอบถาม งานที่เก่ียวของ ณ ท่ีแหงเดียวไดในทุกเร่ือง ดังน้ัน ในการปฏิบัติราชการ ของสวนราชการใหคํานึงถึงความตองการ การอํานวยความสะดวก และความพึงพอใจของประชาชนผูรับบริการเปนหลัก เพอ่ื ใหศนู ยราชการสะดวก มกี ารใหบ ริการท่ีเปนไปตามนโยบาย ของนายกรัฐมนตรี และมีมาตรฐานเดียวกัน จําเปนตองกําหนด หลักเกณฑ วิธีการในการปฏิบัติงาน รวมท้ังการติดตาม ประเมินผล ก า ร ดํ าเนิ น ก าร เพื่ อ นํ า ไป สู ก า รรั บ ร อ ง ม าต ร ฐ า น ก า ร ให บ ริ ก าร ข อ ง ศนู ยราชการสะดวกตอ ไป ๒ คู่มอื การรบั รองมาตรฐานการให้บรกิ ารของศูนย์ราชการสะดวก คมู ือการรบั รองมาตรฐานการใหบ รกิ ารของศูนยร าชการสะดวก ๒

2. วตั ถปุ ระสงคของการจดั ทาํ เกณฑศูนยราชการสะดวก 2.1 เพอ่ื ใหการดําเนินงานของศูนยราชการสะดวกมีมาตรฐาน ในแตละระดับ (ระดับพ้ืนฐาน ระดับกาวหนา และระดับเปนเลิศ) สามารถบรรลจุ ุดมุง หมายในการอํานวยความสะดวกแกป ระชาชน 2.2 เพื่ อใหสวนราชการมีแนวทางท่ีเปนบรรทัดฐาน ในการพัฒนาและยกระดับการดําเนินการของศูนยราชการสะดวก ทีช่ ดั เจน และเปนไปในทิศทางเดยี วกัน 2.3 เพ่ือเปนเคร่ืองมือในการประเมินผลการดําเนินการของ ศนู ยราชการสะดวก ท่ีนําไปสูการพัฒนา ปรับปรุง และสรางภาพลักษณ การบริการท่ีดที ี่ประชาชนสัมผัสได 3. จุดมงุ หมายของศูนยราชการสะดวก การใหบริการของทุกหนวยงานของรัฐ ตองมีความสะดวก มปี ระสิทธิภาพ และสรา งความเช่ือม่ันใหแกประชาชนทมี่ าติดตอราชการ 4. นยิ ามศัพท ศู น ย ราช ก า รส ะด ว ก (Government Easy Contact Center : GECC) เปน หนวย/จดุ บริการท่ีทาํ หนา ท่ีเกีย่ วกับการใหค ําแนะนํา แ ล ะ ก า ร อํ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก แ ก ป ร ะ ช า ช น ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ สรางความเช่ือม่ัน ความประทับใจใหแกประชาชนท่ีเดินทางมาติดตอ ราชการ คมู่ ือคกมู าือรกราบั รรรอับงมราอตงรมฐาาตนรกฐาารนใหกบ้ ารริกใหารบ ขรอกิ งาศรูนขยอ์รงาศชกูนายรรสาะชดกวากร สะดวก ๓๓

รูปแบบการบริการของศู นย ราชการสะดวก (GECC) เปนการบริการท่ีสรางภาพลักษณท่ีดีใหแกราชการ โดยอาจจัดตั้ง ศูนยราชการสะดวกข้ึนมาใหม หรือพัฒนาการบริการของศูนยบริการ ประชาชนที่ทุกหนวยงานมีการจัดต้ังไวอยูแลว (เชน ศูนยบริการรวม กระทรวง ศูนยชวยเหลือสังคม (OSCC) ศูนยดํารงธรรม ศูนยบริการวี ซาและใบอนุญาตทํางาน ศูนยรับเรื่องราวรองทุกข เปน ตน) โดย การเพิ่มคุณลักษณะของศูนยราชการสะดวกในการใหประชาชนที่ไป ขอรับบริการจากรัฐไดรับความสะดวกมากข้ึน ซึ่งคุณ ลักษณ ะ ของศูนยร าชการสะดวกมีดงั น้ี 1) เปนการบริการท่ีใหความชวยเหลือหรืออํานวย ความสะดวกใหแกประชาชนในการติดตอราชการ โดยเฉพาะกลุม ผรู ับบริการทม่ี าตดิ ตอครั้งแรก 2) เปนการบริการที่สนับสนุนใหการติดตอราชการ มีความงาย ไมยุงยากซับซอนในการขอรับบริการ เชน การใหขอมูล ขาวสารของทุกหนวยงานทั้งท่ีอยูในสังกดั เดียวกันและ/หรือตางสังกัดได การประชาสัมพันธใหเขาใจเก่ียวกับข้ันตอนการใหบริการ การสรางแนว ปฏิบัติในการใหบริการที่เปนมาตรฐานเดียวกัน ผูใหบริการมีจิต สาธารณะ/จิตบริการ การมีชองทางการขอรับบริการท่ีหลากหลาย การมแี บบฟอรม ตางๆ ท่ีไมย งุ ยากและมากเกนิ ไป เปน ตน 3) เปนการบริการที่สามารถพัฒนาไปสูการบริการ แบบเบด็ เสรจ็ (One Stop Service : OSS) ณ จดุ เดยี วได 4) เปนการบริการท่ีสามารถจัดชุดเฉพาะกิจลงไป ในพนื้ ท่ีปญหาได ๔ ค่มู ือการรบั รองมาตรฐานการให้บรกิ ารของศูนยร์ าชการสะดวก คูม ือการรับรองมาตรฐานการใหบ รกิ ารของศนู ยร าชการสะดวก ๔

ดังน้ัน ภายใตศูนยบริการตางๆ ที่หนวยงานไดจัดตั้งไว อยูเดิม ควรจะพัฒนาใหมีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลมากย่ิงข้ึนเพื่อให ครอบคลุมถงึ การเปนศนู ยราชการสะดวกดวย กลาวคือ อาจมกี ารพัฒนา โครงสราง ICT การพัฒนาชองทางการติดตอ เชน รัฐบาลไดเปด ใหบริการขอมูลขาวสารแกประชาชนผานสายดวนของรัฐบาล ๑๑๑๑ เปนตน หรือการพัฒนาการบริการใหเปนแบบ Online มากข้ึน โดยมีมุมมองท่ีสําคัญของการใหบริการของศูนยราชการสะดวก (GECC) ๔ ดา น ดงั น้ี 1) ด าน ส ถ า น ท่ี ต อ งเข า ถึ งงา ย แ ล ะ ส ะ ด ว ก ในการติดตอขอรับบริการ ไมสรางภาระใหแก ประชาชน 2) ดานบุคลากร ตองมีจิตบริการ (Service Mind) การบริการมคี ุณภาพและประสทิ ธภิ าพ 3) ดานงานที่ใหบริการ ตองสนอบตอบความตองการ ขั้นตอนการขอรับบริการของประชาชนไมยุงยาก ซับซอ น มีความงายตอ เจาหนาท่ีในการใหบ ริการ 4) ด านอื่ น ๆ ตามความเหมาะสม ตามภารกิ จ โดยทุก ๆ ดาน ตองมีมาตรฐานในการบริการ ประชาชน คูม่ ือการรับรองมาตรฐานการใหบ้ ริการของศูนย์ราชการสะดวก ๕ คูมือการรบั รองมาตรฐานการใหบ รกิ ารของศูนยร าชการสะดวก ๕

5. หลักเกณฑ วธิ ีการประเมินผล และการรบั รองมาตรฐานการ ใหบ รกิ ารของศนู ยร าชการสะดวก ๕.๑ หลักคดิ การนําพาประชาชน ในการเขา สูบรกิ ารภาครัฐไดอยางสะดวก ๕.๒ ระบบการใหบริการ ระบบการใหบรกิ าร ประกอบดว ย ๓ องคประกอบ ไดแก ระบบกอนเขาสูจุดใหบริการ ระบบจุดใหบริการ และระบบสนับสนุน การใหบ รกิ าร 1) ระบบกอ นเขาสูจ ุดใหบ ริการ เปนระบบการใหบริการ กอนที่ผูรับบริการจะเขาถึง บริเวณจุดใหบริการ ซ่ึงเปนบริเวณท่ีควรมีการออกแบบการบริการหรือ จัดสิ่งอํานวยความสะดวกใหผูรับบริการสามารถดําเนินกิจกรรมเบ้ืองตน กอนเขาสูจุดบริการได ท้ังน้ี การออกแบบการบริการควรสอดคลอง และเหมาะสมกับชองทางการบริการดวย เชน การใหบริการ ณ สํานักงาน อาจมีระบบการจัดคิว การจัดใหมีที่น่ังพักรอ การจัดทําส่ือใหขอมูล การชวยเหลือใหคําแนะนํา แบบฟอรมที่เขาใจงาย เปนตน เพื่อใหประชาชน เกิดความประทับใจ นอกจากน้ี ยังรวมถึงการเดินทางของผูรับบริการไปยัง สถานที่ใหบ รกิ ารตอ งเขา ถึงไดง าย สะดวกและไมเปน ภาระของประชาชน เชน สถานทใ่ี หบริการต้งั อยูในเสนทางทม่ี ีระบบขนสงสาธารณะ เปนตน หรือกรณี เปนการบริการผานชองทางเว็บไซตอาจมีการออกแบบระบบหนาแรก ของการใหบริการท่ีงายตอการเขาถึงและการคนหาบริการที่ตองการไดงาย และรวดเร็ว หรือเปนการบริการผานชองทางโทรศัพทอาจออกแบบ ระบบตอบรบั ณ นาทีแรกทผ่ี ูใ ชบริการเรียกเขา มา เปน ตน ๖คมู ือการรับรองมาตรฐานการใหบ รกิ ารของคศู่มูนือยกรารารชบั กราอรงสมะาดตวรกฐานการให้บริการของศนู ย์ราชกา๖รสะดวก

2) ระบบจุดใหบริการ เป น ร ะ บ บ ก า ร ใ ห บ ริ ก า ร ต้ั ง แ ต เจ า ห น า ที่ เร่ิ ม ดําเนินการใหบริการจนถึงสิ้นสุดการใหบริการ ซึ่งการออกแบบ การบริการขึ้นอยูกับชองทางการบริการ เชน การบริการ ณ สํานักงาน อาจออกแบบเปนการใหบริการในจุดบริการเดียว หรือ การบริการ ที่เกี่ยวของกันถูกจัดใหอยูในบริเวณใกลเคียงกัน ดวยความเหมาะสม มีความทันสมัย และสะอาดตา การจัดเคร่ืองมือ-อุปกรณ และเอกสาร/ แบบฟอรมท่ีเพียงพอกับการใหบริการ การดําเนินการใหบริการมีความ ถูกตอง รวดเร็ว สรางความประทับใจใหแกผูรับบริการต้ังแต เร่ิมตนจนสิ้นสุดการใหบริการ และการตอบสนองคําขอหรือขอรองเรียน ของประชาชนท่ีมารับบริการ โดยเฉพาะอยางย่ิง กรณีท่ีเกิดเหตุการณ เฉพาะหนา ในขณะที่การบริการผานชองทางเว็บไซต ควรมีการออกแบบ หนาตางของโปรแกรมประยุกตใหงายตอการสืบคนขอมูล หรือสามารถ กรอกแบบฟอรมคําขอได เปนตน 3) ระบบสนบั สนุนการใหบรกิ าร เปนระบบสนับสนุนการดําเนินการใหบริการและ การบริหารจัดการศูนยราชการสะดวกใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด เชน การพั ฒ นากลยุ ทธ การให บริ การ การบริ หารทรั พยากรบุ คคล อยางมีประสิทธิภาพ การพัฒนาทักษะความชํานาญของเจาหนาที่ การออกแบบและพัฒนาการใหบริการที่เหมาะสม การออกแบบระบบ และข้ันตอนการใหบริการ การนําเทคโนโลยีมาประยุกตใชในการใหบริการ ทส่ี ามารถอํานวยความสะดวกใหแกผูร บั บริการและเจาหนาท่ีผใู หบริการ เปน ตน ค่มู อื การรับรองมาตรฐานการใหบ้ ริการของศนู ยร์ าชการสะดวก ๗ คูม อื การรบั รองมาตรฐานการใหบรกิ ารของศนู ยร าชการสะดวก ๗

๕.๓ เกณฑการพิจารณา เพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริการ ที่อํานวยความสะดวกใหแกประชาชน รวมท้ัง สามารถติดตามและ ประเมินผลการปฏิบัติงานของศูนยราชการสะดวกไดอยางครอบคลุม ท้ั งระบ บ การให บ ริก าร แ ละก ารบ ริห ารจั ด การ จึ งได จัด ทํ า เกณฑมาตรฐานการใหบริการของศูนยราชการสะดวก ที่สามารถนําไปสู การรับรองมาตรฐานศูนยร าชการสะดวก ดงั น้ี ๑) โครงสรางของมาตรฐานการใหบริการของศูนยราชการ สะดวก แบงเปน ๓ เกณฑ ดงั นี้ (๑) เกณฑดานกายภาพ แบงเปน ๑๓ ขอ หนวยงาน ตองดําเนินการใหครบถวน และประเมินจุดบริการตามเกณฑท่ีกําหนด ไดแก เวลาเปดใหบริการ สถานที่บริการ พื้นที่ใหบริการ การจัดส่ิงอํานวยความ สะดวก ระบบคิว ระบบการประเมนิ ความพงึ พอใจ (๒) เกณฑด านคุณภาพ แบงเปน ๒ สว นรวม ๒๔ ขอ ไดแก (๒.๑) ขอกําหนดพ้ืนฐาน แบงเปน ๒ ประเด็น ไดแ ก (๒.1.1) การสนองตอบความตองการของประชาชน ประกอบดวย ๒ หัวขอ ไดแก 1) การศึกษาความตองการและความคาดหวัง ของผรู บั บรกิ าร 2) งานบรกิ าร (๒.1.2) การอํานวยความสะดวกใหแกประชาชน ในการเขา ถึงบริการ ไดแ ก สถานทใ่ี หบรกิ าร ๘คูม ือการรับรองมาตรฐานการใหบ รกิ ารขอคงู่มศอืนู กยารรารชับกราอรงสมาะตดรวฐกานการใหบ้ รกิ ารของศูนยร์ าชการ๘สะดวก

(๒.2) ขอกําหนดการใหบริการ แบงเปน ๓ ประเด็น ไดแก ๒ หวั ขอ ไดแ ก 1) การจัดระบบการใหบ ริการ ประกอบดวย ๑.๑) การออกแบบระบบงาน ๑.๒) การจดั สรรบคุ ลากร 2) การพัฒนาทักษะความชํานาญของ เจา หนาที่ ประกอบดวย 3 หัวขอ ไดแก 2.๑) บุคลากรดา นการบริการ 2.๒) บคุ ลากรดา นเทคนิค 2.๓) เจา หนา ทต่ี อบ Call center 3) การพัฒนาคุณภาพการใหบริการ ให ความสําคัญกับการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และนํามาใชเพื่อ เพมิ่ ศักยภาพในการดาํ เนนิ การใหบริการ ประกอบดว ย ๑๖ หวั ขอ ดงั นี้ 3.๑) ระบบการประเมินความพึง พอใจ 3.๒) คุณภาพการใหบริการและการ จัดการขอ รอ งเรียน 3.๓) ชองทางการใหบริการ 3.๔) ระบบการตดิ ตามผลการดําเนินงาน 3.๕) การแกไขปญ หาทีท่ า ทาย 3.๖) การทบทวนปรับปรุงการดาํ เนนิ งาน ค่มู ือการรบั รองมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารของศนู ยร์ าชการสะดวก ๙ คมู ือการรบั รองมาตรฐานการใหบรกิ ารของศูนยร าชการสะดวก ๙

3.๗) การแลกเปล่ียนเรียนรู และ การจดั อบรมเจาหนา ท่ี และผเู กี่ยวของ 3.๘) การจัดทําระบบฐานขอมลู 3.๙) การออกแบบระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ 3.๑๐) การบูรณาการวางแผนระบบ 3.๑๑) การพฒั นาระบบการใหบรกิ ารonline 3.๑๒) การพัฒนาระบบCall Center 3.13) การบ ริ ห ารความ ต อเน่ื อง ในการใหบรกิ ารทจ่ี ําเปน 3.๑๔) การขับเคลื่อนการใหบริการ ดว ยนวัตกรรม 3.๑๕) การปรบั เขาสคู วามเปนดิจิทัล 3.๑๖) การพัฒนาศูนยราชการสะดวก สคู วามเปน เลศิ ท้งั นี้ เกณฑด า นคุณภาพ แบงออกเปน ๒ ลกั ษณะ ดงั นี้ - เกณฑพื้นฐาน หมายถึง เกณฑทั่วไปท่ีจําเปน ตองมีในระบบการบริหารงานของศูนยราชการสะดวก และเปนเกณฑ การประเมินท่ีตองดําเนินการไดอยางครบถวน เพื่อใหผานการรับรอง มาตรฐานการใหบริการของศูนยราชการสะดวก โดยเกณฑพื้นฐาน ประกอบดว ยแนวทางการดําเนนิ งาน จาํ นวน 34 ขอ ๑๐ คู่มอื การรับรองมาตรฐานการใหบ้ ริการของศูนยร์ าชการสะดวก คูมอื การรับรองมาตรฐานการใหบ รกิ ารของศูนยราชการสะดวก ๑๐

- เกณ ฑขั้นสูง หมายถึง เกณฑที่สนับสนุน ใหการดําเนินการของศูนยราชการสะดวกมีมาตรฐานการบริการท่ีนําไปสู การยกระดับการใหบริการท่ีเปนเลิศตอไป ซ่ึงเปนเกณฑที่ตองดําเนินการ อยางนอย 20 คะแนน เพื่อใหผานการรับรองมาตรฐานการใหบริการ ของศูนยราชการสะดวก โดยเกณฑข้ัน สูงประกอบดวยแนวทาง การดาํ เนนิ งาน จํานวน 18 ขอ (๓) เกณฑด านผลลพั ธ แบงเปน ๓ ประเดน็ ไดแ ก (๓.๑) ความพงึ พอใจของประชาชนในการรับบริการ (๓.๒) ความสะดวกในการติดตอราชการโดยพิจารณา จากความรวดเรว็ ขัน้ ตอนสน้ั เขาถึงบรกิ ารไดหลายชองทาง (๓.๓) การนําเทคโนโลยีมาชวยในการใหบริการ ประชาชน จนทําใหสามารถใชบริการไดจากทุกท่ีทุกเวลา การติดตาม สถานะงานบรกิ ารได ระบบการรองเรียนที่มีประสิทธิภาพ ๒) แนวทางการดําเนินการของศูนยราชการสะดวก เพื่ อ ใ ห ก า ร ดํ า เนิ น ก า ร ข อ ง ศู น ย ร า ช ก า ร ส ะ ด ว ก สามารถใหบริการประชาชนจนเกิดสัมฤทธิ์ผลที่ดี จึงไดกําหนดแนวทาง ในการดําเนินการไปสูมาตรฐานศูนยราชการสะดวก โดยแบงตามระบบ การให บริการเป น 3 ระบบ ได แก ระบบก อนเขาสูจุดให บริการ ระบบจุดใหบริการ และระบบสนับสนุนการใหบริการ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ คมู่ ือการรบั รองมาตรฐานการใหบ้ ริการของศนู ย์ราชการสะดวก ๑๑ คูมอื การรบั รองมาตรฐานการใหบรกิ ารของศนู ยราชการสะดวก ๑๑

แนวทางการดาํ เนนิ งานของศูนยราชการสะดวก (GECC) เกณฑท ่ี 1 เกณฑด านกายภาพ แบบประเมนิ ตนเอง (Self Checklist) หนวยงานจะตอ งดําเนินการใหครบถว น ขอที่ การดําเนินการ 1. เวลาเปดใหบริการ : มีการใหบริการนอกเวลาราชการ หรือตามเวลาที่ สอดคลองกับผลการสํารวจความตองการของผูร ับบริการในแตล ะพ้ืนท่ี เชน - วันจันทร-ศุกร ในวันเวลาราชการ แตเพ่ิมเวลาพักเท่ียงหรือ เวลา 17.00 – 19.00 น. -วันเสาร-อาทติ ย เวลา๐๙.๐๐ –๑๒.๐๐ น. เปน ตน 2. สถานท่ีบริการ : มีระบบการขนสงที่เขาถงึ สถานท่ีบริการเพ่ือให สะดวกตอการเดินทาง 3. สถานที่บริการ : มีปาย/สัญลักษณ บอกทิศทางหรือตําแหนงใน การเขา ถึงจดุ ใหบรกิ ารไดอ ยางสะดวกและชัดเจน 4. สถานที่บริการ : มีการออกแบบสถานท่ีคํานึงถึงผูพิการ สตรีมีครรภ และผูสูงอายุ เชน จุดใหบริการอยูชั้น ๑ (กรณีไมมีลิฟท) มีทางลาด สําหรับรถเข็น มีพ้ืนที่วางใตเคานเตอรใหรถเข็นคนพิการสามารถ เขาไดโ ดยไมมีสิง่ กดี ขวาง เปน ตน 5. พื้นท่ีใหบริการ : มีการออกแบบผังงาน และระบบการใหบริการระหวาง “จุดกอนเขาสูบริการ” และ “จุดใหบริการ” ท่ีอํานวยความสะดวก ทั้งสําหรับเจาหนาท่ีและประชาชน เพื่อใหสามารถใหบริการประชาชน ไดอยางรวดเรว็ โดยคํานงึ ถึงลกั ษณะและปรมิ าณงานท่ีใหบริการ ๑๒คมู ือการรบั รองมาตรฐานการใหบรกิ ารขคอมู่ งือศกนู ายรรรับาชรอกงามราสตะรดฐวากนการใหบ้ รกิ ารของศูนยร์ าชการส๑ะด๒วก

ขอ ที่ การดําเนินการ 6. พื้นที่ใหบริการ : มีขนาดและพ้ืนท่ีใชงานสะดวกตอการเอื้อมจับ (พื้นที่วางดานขางสําหรับการเคลื่อนไหวรางกายที่สบาย) และ ออกแบบจัดวางเอกสารใหสามารถใหบริการไดอยางรวดเร็ว 7. พ้ืนที่ใหบริการ : ในจุดที่สําคัญหรืออันตรายมีการออกแบบหรือ จัดใหส ามารถมองเห็นไดช ัดเจนตามหลกั สากลทั้งขณะยืนหรอื รถลอเล่ือน 8. พื้นท่ีใหบริการ : มีการจัดใหมีแสงสวางอยางเพียงพอ 9. การจัดเตรียมวัสดุ/อุปกรณ หรือสิ่งอํานวยความสะดวกอ่ืน ๆ : มีการจัดสรรส่ิงอํานวยความสะดวกท่ีสอดคลองกับผลสํารวจ ความตองการของผูรับบริการ และความพรอมของทรัพยากรที่มี เชน นา้ํ ด่มื เกา อ้นี ่ังพักรอ เปน ตน 10. การจัดเตรียมวัสดุ/อุปกรณ หรือส่ิงอํานวยความสะดวกอ่ืน ๆ : มีหองนา้ํ ทส่ี ะอาด และถูกสขุ ลกั ษณะ 11. ระบบคิว/จุดแรกรับ : มีการจัดใหมีระบบคิวเพ่ือใหบริการ ไดอ ยางเปนธรรม 12. ระบบคิว/จุดแรกรับ : มีจุดแรกรับ ในการชวยอํานวย ความสะดวกตาง ๆ เชน คัดกรองผูรับบริการ ใหคําแนะนํา ในการขอรับบริการ หรือชวยเตรียมเอกสาร กรอกแบบฟอรมตาง ๆ เพือ่ เพมิ่ ประสิทธภิ าพในการบริการและลดระยะเวลารอคอย 13. ระบบการประเมินความพึงพอใจ : มีจุดประเมินผลความพึงพอใจ ณ จุดใหบ รกิ ารในรปู แบบท่งี ายและสะดวกตอ ผูใชบ ริการ ค่มู ือการรับรองมาตรฐานการให้บรกิ ารของศูนย์ราชการสะดวก ๑๓ คมู ือการรบั รองมาตรฐานการใหบรกิ ารของศูนยราชการสะดวก ๑๓

เกณฑท ี่ 2 เกณฑดานคุณภาพ หัวขอ แนวทางการดําเนนิ งาน 1. กอนเขา สูจ ุดใหบรกิ าร 1 . ก า ร ศึ ก ษ า  1.1 มีการสํารวจ เพื่อใหทราบความตองการ ความตองการและ () ของผูรับบริการกลมุ เปา หมายในแตล ะพืน้ ท่ี ค ว า ม ค า ด ห วั ง ใหบ รกิ ารซง่ึ ตองครอบคลุมประเดน็ ดังน้ี ของผูรบั บริการ - ประเภทงานบริการ - วันและเวลาเปด ใหบ รกิ าร - สถานท่ใี หบรกิ าร - ความยาก-งายในการเขาถึงจดุ บรกิ าร - ส่ิงอํานวยความสะดวกทีส่ าํ คัญ - การรับรูข อ มูลขา วสารเกีย่ วกบั การใหบริการ  1.2 มีการวิเคราะหผลการสํารวจและ () นํ าไป ใช ใน ก ารอ อ ก แ บ บ ระ บ บ ก าร ใหบ รกิ าร 2. งานบรกิ าร  2.1 มีงานบริการ ณ ศูนยราชการสะดวก () ครอบคลุมประเภทงาน ดังน้ี - งานบริการตามภารกจิ ของหนว ยงาน - งานบริการขอมูลขาวสารของหนวยงาน ภาครฐั ทกุ หนวยงาน - งานดานการรับเรื่องราวรองทกุ ข ๑ค๔ูมอื การรบั รองมาตรฐานการใหบรกิ ารขอคงมู่ ศอื ูนกายรร ราบั ชรกอางรมสาะตดรฐวากนการให้บรกิ ารของศูนยร์ าชการส๑ะ๔ดวก

หวั ขอ แนวทางการดําเนินงาน  2.2 มีงานบริการท่ีไมรองขอสําเนาบัตร () ป ระ ช าช น แ ล ะ สํ าเน าท ะเบี ย น บ าน จากผมู ารับบรกิ าร  2.3 งานบริการที่เหมาะสม / งานบริการอ่ืน ๆ () ทส่ี อดคลอ งกับผลสาํ รวจความตอ งการฯ 3. สถานทีบ่ ริการ  3. มีการออกแบบอาคารหรือสถานที่ใหมี () อุปกรณสิ่งอํานวยความสะดวก หรือบริการ เพื่อใหคนพิการสามารถเขาถึงไดอยางนอย 11 รายการ ตามขอ ๕ ของกฎกระทรวง การพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย 4. การออกแบบ  4.1 มีการจัดลําดับข้ันตอนการบริการที่งาย ระบบงาน () ตอการใหบริการและรับบริการ เพ่ือให ประชาชนไมตองรอคอยรับบริการนาน  4.2 มีการกําหนดผูรับผิดชอบ ผูประสานงาน/ () เจาของงาน เบอรโทรติดตอ และชองทาง การติดตอไวอยางชดั เจน คู่มือการรบั รองมาตรฐานการให้บรกิ ารของศูนยร์ าชการสะดวก ๑๕ คมู ือการรับรองมาตรฐานการใหบรกิ ารของศนู ยราชการสะดวก ๑๕

หัวขอ แนวทางการดาํ เนินงาน  4.3 มีการจดั ทําคูมือการปฏิบัติงานสําหรับ () เจา หนา ท่ีทค่ี รอบคลมุ ถูกตอง และทันสมัย โด ย มี ก า ร ร ะ บุ ขั้ น ต อ น ร ะ ย ะ เว ล า คาธรรมเนียม และขอมูลจําเปนสําหรับ การปฏิบตั งิ านไวใ นคูมือฯ อยา งชัดเจน  4.4 การใหบริการไปในทิศทางเดียวกัน () เชน การตอบคําถาม รูปแบบการบริการ ของแตละจดุ เปน ตน  4.5 มีระบบแจงเตือนการใหบริการ และ () ระบบการติดตามสถานะผูรับบริการ เชน ก ารติ ด ต าม รอ บ เว ล าก ารต อ ใบ อ นุ ญ าต โดยการสงขอมูลแจงเตือนใหมาตอใบอนุญาต หรอื ออกแบบระบบสารสนเทศใหรบั บรกิ าร เขาตรวจสอบขั้นตอนสถานะ การรับบริการ ในงานท่ไี มแ ลว เสร็จในทนั ที เปนตน  4.6 มีระบบการใหบริการประชาชนแบบ () ออนไลน ๑๖ คมู่ ือการรบั รองมาตรฐานการให้บริการของศนู ย์ราชการสะดวก คมู ือการรับรองมาตรฐานการใหบรกิ ารของศนู ยร าชการสะดวก ๑๖

หวั ขอ แนวทางการดําเนินงาน  4.7 มีแบบฟอรมการขอรับบริการตาง ๆ () ที่งายและไมซ้ําซอน หรือใชแบบฟอรม ทางอิเล็กทรอนกิ ส 5. ก า ร จั ด ส ร ร  5.1 มีการวิเคราะหประเมินความตองการ () ดานกําลังคนทจ่ี ําเปน บุคลากร  5.2 มีการจัดสรรบุคลากรใหเหมาะสม () ในการใหบริการในชวงพักทานอาหาร หรือ ชวงเวลาที่มผี รู บั บรกิ ารเขา มาใชบ ริการมาก  5.3 มี ก ารส รางสิ่งจูงใจแ กบุ ค ล าก ร () ปฏบิ ตั ิงาน 2. ระบบจดุ ใหบรกิ าร 6. บุ ค ล า ก ร  6.1 มีการเพ่ิมศักยภาพและทักษะในการ ดานการบรกิ าร () ป ฏิ บั ติ ง า น ที่ จํ า เป น แ ล ะ ทั น ส มั ย ใ ห กั บ เจาหนาที่ เชน จัดฝกอบรม สัมมนาระดม สมอง ศึกษาดูงาน เปนตน อยางตอเน่ือง เพ่ื อให เจ าหน าที่ สามารถให บริการได อยา งถกู ตอง รวดเรว็ และมีจติ บริการ  6.2 เจ าหน าที่ ได รั บการอบรมการใช () ระบบซอฟทแวรและการใหบรกิ ารอยา งตอ เน่อื ง คู่มือการรบั รองมาตรฐานการให้บรกิ ารของศนู ยร์ าชการสะดวก ๑๗ คูม ือการรบั รองมาตรฐานการใหบ รกิ ารของศนู ยร าชการสะดวก ๑๗

หวั ขอ แนวทางการดาํ เนนิ งาน  6.3 เจาหนาท่ีสามารถใหบริการแทนกันไดใน () งานบริการเบ็ดเสรจ็ จํานวนหนง่ึ  6.4 เจาหนาที่มีทักษะในการใหบริการ () ครอบคลมุ เรอื่ งสาํ คญั ดังน้ี -สามารถตอบคําถามพื้นฐานใหก ับผรู บั บริการได - สามารถแกไข/รับมือกับสถานการณท่ี เกิดขน้ึ ไดต ามมาตรฐานการใหบ รกิ าร - การสื่อสารและชวยเหลือผูรับบริการดวย ไมตรจี ิต  6.5 เจาหนาที่สามารถริเรม่ิ และพัฒนาการ () ให บ ริการจน เกิดความป ระทั บ ใจแก ผรู บั บริการ  6.6 เจาหนาท่ีสามารถปฏิบัติงานไดตาม () มาตรฐานที่กําหนดไวในแตละชองทางของ ระบบ online ทพ่ี ัฒนาขึ้น 7. ระบบการประเมิน  7.1 มีการนําผลสํารวจมาปรับปรุงงาน ความพึงพอใจ () บรกิ ารอยา งตอเนื่อง ๑๘ คมู่ ือการรบั รองมาตรฐานการให้บริการของศูนยร์ าชการสะดวก คมู อื การรับรองมาตรฐานการใหบ รกิ ารของศนู ยร าชการสะดวก ๑๘

หวั ขอ แนวทางการดําเนนิ งาน  7.2 เกิ ด ผ ล ลั พ ธ ค ว าม พึ งพ อ ใจ ข อ ง () ผูร ับบรกิ ารไมน อยกวารอยละ ๘๐ 8. คุณภาพ  8.1 วิธีการปฏิบัติงานท่ีรวดเร็ว ถูกตอง การใหบ ริการ และ () ตามท่ีกฎหมายกําหนด (เจาหนาที่ปฏิบัติงาน การจัดการขอรอ งเรยี น ตามมาต รฐาน การให บ ริ การ ท่ี กํ า ห น ด ไ ว ในคูมือการปฏิบตั ิงาน)  8.2 มีกลไกการรับฟงและตอบสนองขอ () รองเรียนของผูรับบริการ รวมทั้งระบบการ ติดตามและแกไขปญ หาทช่ี ดั เจน  8.3 กรณีเกิดขอรองเรียนในการใหบริการ () ขอรองเรียนนั้นไดรับการแกไขจนเปนท่ียุติ ไมนอ ยกวารอ ยละ 80 9. ช อ ง ท า ง  9. มีการพัฒนาเพิ่มชองทางการใหบรกิ าร การ การใหบ รกิ าร () ให คํ าปรึ กษารวมทั้ งช องทางการรั บเร่ื อง รองเรียนผานทางโทรศัพทหรือ ศูนย Hotline หรือชองทางอ่ืน ๆ ที่สอดคลองกับความตองการ ของผรู บั บรกิ าร ค่มู ือการรับรองมาตรฐานการให้บริการของศูนยร์ าชการสะดวก ๑๙ คมู ือการรบั รองมาตรฐานการใหบรกิ ารของศนู ยราชการสะดวก ๑๙

หวั ขอ แนวทางการดําเนนิ งาน 3. ระบบสนบั สนนุ การใหบ ริการ ๑0.ระบบการติดตาม  1๐.1 มีการจัดทําแผนการติดตามผลการ ผลการดําเนนิ งาน ดํ า เ นิ น ก า ร ข อ ง ศู น ย ร า ช ก า ร ส ะ ด ว ก ท่ี () ชัดเจน ซึ่งประกอบดวย หัวขอเรื่องท่ี ติดตาม ผูรับผิดชอบ ระยะเวลาดําเนินการ ผลดําเนินการ และขอเสนอการปรับปรุง พฒั นาใหด ขี ้ึนอยางตอ เนอ่ื ง  1๐.2 มีระบบการติดตามการใหบริการที่ ชัดเจน ท้ังน้ี กรณีเกิดปญหาอาจมีการจัด () ชุดเฉพาะกิจลงไปในพ้ืนท่ีปญหาตามความ เหมาะสม ๑1.การแกไขปญหา  11. มี การค นหาป ญ หา/อุ ปสรรคของ ทท่ี า ทาย การใหบริการที่เกิดขึ้นและคาดวาจะเกิดข้ึน () และนาํ ไปแกไ ขปรับปรุงใหก ารบริการดยี ิง่ ขน้ึ ๑2. การทบทวน  12.1 มีการนําผลจากการติดตามงานมา ปรบั ปรงุ การดาํ เนนิ งาน ดําเนินการปรับปรุงงานจนเกิดผลลัพธท่ีดี () อยางตอเน่ือง และการใหบริการไดถูกตอง รวดเร็ว สามารถลดตนทุน ลดการสูญเสีย และเกิดคุณคาท่เี ปนประโยชนตอผรู บั บริการ  12.2 มีการปรับปรุงคูมือการปฏิบัติงานให () ทนั สมยั และคน หาขอมลู ไดง า ย ๒ค๐ูมอื การรบั รองมาตรฐานการใหบรกิ ารขอคง่มู ศอื นูกายรร ราับชรกอางรมสาะตดรฐวากนการให้บรกิ ารของศนู ยร์ าชการส๒ะ๐ดวก

หวั ขอ แนวทางการดําเนนิ งาน ๑3. การแลกเปลี่ยน  13.1 การจัดอบรมทักษะการใหบริการ เรียนรู และการจัดอบรม ที่ทันสมัยอยางตอเน่ื อง เชน การสราง เจ าห น าที่ แ ล ะ () ความสัมพั นธกับผูรับบริการ การสราง ผเู ก่ียวของ ภาพลักษณการใหบริการ การสรางจิตสํานึก ดานการใหบริการ การศึกษาดูงาน เปนตน และมี การสื่ อส ารส ร างค วาม เข าใจให แ ก เจาหนาที่เก่ียวกับแนวทางการปฏิบัติงานใหม เพือ่ ปอ งกนั ปญหาทีอ่ าจเกดิ ขนึ้  13.2 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูเก่ียวกับปญหา ในการปฏิบัติงาน และการปรับปรุงงาน รวมถึง () การรวมกันทบทวนระบบงานเพื่อออกแบบงาน ใหม/ สรา งนวตั กรรมในการใหบริการ ๑4. บคุ ลากร  14.1 เจาหนาที่ดานเทคนิคไดรับการ ดานเทคนิค อ บ ร ม ห ลั ก สู ต ร ท่ี เก่ี ยวข องกั บการติ ดตั้ ง () ระบบปฏิบัติการ และโปรแกรมประยุกต การ ซอ มบํารุงฮารด แวรพ้นื ฐาน  14.2 เจาหนา ทดี่ านเทคนิคมี ความสามารถ ดงั นี้ () -ตอบคาํ ถามและแกป ญหาพนื้ ฐานเกย่ี วกบั ระบบ - อธิบายลักษณะปญ หาระบบเครือขา ย ตอ เชอื่ มเมื่อประสานงานกับบริษทั ผูใหบรกิ าร คู่มคือมู กอื ากรราับรรรับองรมอางตมราฐตารนฐกาานรใกหาบ้ รรใิกหาบรรขกิอางรศขนู อยงร์ ศาชนู กยาร ราสชะกดาวรกส ะดวก ๒๒๑ ๑

หัวขอ แนวทางการดาํ เนนิ งาน 15. ระบบฐานขอมูล  15.1 มี ระบบจั ดเก็ บข อมู ลและระบบ วิ เค ราะห ฐาน ข อมู ล ส อด ค ล องกั บ ค วาม () ตอ งการใชงานเพ่ืออํานวยความสะดวกในการ ปฏิบัตงิ าน และพัฒนาปรับปรงุ การใหบ ริการ  15.2 มีการรวบรวมขอมลู จากผูปฏิบัตงิ าน ผูรับบริการและผูที่เก่ียวของ เขาระบบ () ฐานขอมูลไดอยางครอบคลุม ถูกตอง และ ทันสมัย รวมถึงการนําผลการวิเคราะห ขอมูลไปใชปรับปรุงระบบฐานขอมูลและพัฒนา ระบบการใหบริการตอไป 16. ระบบเทคโนโลยี  16.1 มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให สารสนเทศ สามารถใชงานในส วนท่ีจําเปนไดอยาง () ตอเน่ือง และปลอดภัย โดยการปฏิบัติตาม แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สาร หรอื แผนอืน่ ท่ีกาํ หนด  16.2 มี ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศให () ผูปฏิบัติงานหรือผูเก่ียวของสามารถคนหา ขอมูลการใหบริการไดอยางสะดวก รวดเร็ว โดยเฉพาะเรื่องคําถาม คําตอบ และวิธีการ แก ไขป ญหาในแต ละสถานการณ เพ่ื อช วย สนับสนนุ การปฏิบตั งิ านของเจา หนาที่ ๒ค๒ูมือการรับรองมาตรฐานการใหบรกิ ารขอคงมู่ ศอื นูกายรรราับชรกอางรมสาะตดรฐวากนการใหบ้ ริการของศูนย์ราชการส๒ะ๒ดวก

หัวขอ แนวทางการดําเนนิ งาน 17. การบูรณาการ  17. มีการบูรณาการการทํางานระหวาง วางแผนระบบ หน วยงานท่ี เก่ี ยวข อง ส อ ด ค ล อ งกั บ () ทรัพยากรท่ีมีจํากัด โดยมีการเช่ือมโยง ขอมูลระหวางหนวยงาน เพื่อลดความซ้ําซอน แ ล ะ ค ว า ม ผิ ด พ ล า ด ใน ก ารกร อก ข อ มู ล รวมทั้ง การใชทรัพยากรรว มกันอยางคุมคา 18. ก าร พั ฒ น า  18. มีการพัฒ นาระบบการใหบริการ ระบบการใหบริการ ซ่ึ ง อ า จ ร ว ม ถึ ง ร ะ บ บ ก า ร ร อ ง เรี ย น online () ผานชองทางที่เปนระบบ online และ มี ก า ร กํ า ห น ด ม า ต ร ฐ า น ก า ร ให บ ริ ก า ร ใ น แ ต ล ะ ช อ ง ท า ง ท่ี ได เ ป ด ใ ห บ ริ ก า ร ไ ว อยางชัดเจนและเหมาะสมสอดคลองกับ ความตองการของผรู บั บริการ เชน - การติดตอผานอีเมล มีการตอบกลับภายใน ๒๔ ชั่วโมง -การติดตอผานระบบ Chatหรือ Lineมีการตอบ กลบั ภายใน15นาที - การติดตอผาน Facebook มีการตอบกลับ ภายใน 1 ชว่ั โมง เปนตน คมู่ คอื มู กือากรราับรรรับองรมอางตมราฐตารนฐกาานรใกหา้บรรใิกหาบรรขกิอางรศขูนอยง์รศาชูนกยาร ราสชะกดาวรกส ะดวก ๒๓ ๒๓

หัวขอ แนวทางการดําเนินงาน 19. เจ า ห น า ท่ี  19.๑ มีระบบ/แผนการพัฒนาความรูและ รบั โทรศพั ท ทั ก ษ ะ ให แ ก เจ า ห น า ที่ รั บ โท ร ศั พ ท () อยางชัดเจน โดยนําขอมูลจากการตรวจสอบ คุ ณ ภ า พ ม า ใช ใน ก า ร ว า งแ ผ น ก า ร อ บ ร ม เจาหนาท่ี รวมถึงมีการจัดอบรมเจาหนาท่ี อยางต อเนื่ อง และอบ รม ทุ กครั้งที่ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ทํ า ง า น ผลผลติ และบรกิ าร  19.๒ มีการพัฒนาและดูแลรักษาระบบ โท รศั พ ท ข อ งเจาห น าที่ รับ โท รศั พ ท () ใหม ีคณุ สมบตั ิ ดงั น้ี - มีความพรอมใชงาน ซึ่งเปนระบบท่ีมี คุณภาพ ใชงานไดเสยี งฟง ชดั เจน - สามารถป ระส านแจงเจาห นาท่ี ท่ี เก่ยี วของเพือ่ ดําเนินการตอ ไปได - มีระบบเก็บขอมูลของผูรับบริการ เพ่ือชวยในการสืบคนขอมูลประวัติการ ขอรบั บรกิ าร - มีการจัดทําฐานขอมูลครอบคลุมขอมูล ที่ผูรับบริการสอบถาม และมีการปรับปรุง ขอมลู ใหเปนปจจบุ ัน ๒๔ คมู่ อื การรับรองมาตรฐานการให้บริการของศูนย์ราชการสะดวก คูม อื การรบั รองมาตรฐานการใหบ รกิ ารของศนู ยร าชการสะดวก ๒๔

หวั ขอ แนวทางการดาํ เนินงาน ๒ 0. ก ารพั ฒ น า  20.1 มีการพัฒนาและดูแลรักษาระบบ ระบบ Call center โทรศัพทของCall center ใหมีคุณสมบัติ () ดงั น้ี - สามารถเลือกติดตอกับเจาหนาท่ีไดหรือ ประสานสงตอ - มีระบบเก็บขอมูลของผูรับบริการ เพ่ือชวย ในการสืบคน ขอมลู ประวัตกิ ารขอรบั บริการ - มีการจัดทําฐานขอมูลครอบคลุมขอมูล ที่ผูรับบริการสอบถาม และมีการปรับปรุง ขอ มลู ใหเ ปนปจ จุบนั  20.2 มีการกําหนดมาตรฐานในการใหบริการ () ของ Call Center ไวอยางชดั เจน เชน - โทรศัพทด ังไมเกิน ๓ คร้งั - อัตราสูงสุดที่ยอมใหสายหลุดไปไมสามารถ รบั ไดใ นการติดตอครั้งแรก ไมเ กนิ ๕% - การใหบริการไดสําเรจ็ ในการตดิ ตอคร้ังแรก  20.3 เจ าห น าที่ Call center ส าม ารถ () ปฏบิ ตั งิ านไดต ามมาตรฐานทีก่ าํ หนด คู่มือการรับรองมาตรฐานการใหบ้ ริการของศูนยร์ าชการสะดวก ๒๕ คูมอื การรับรองมาตรฐานการใหบรกิ ารของศนู ยร าชการสะดวก ๒๕

หัวขอ แนวทางการดําเนนิ งาน ๒1. การบริหาร  21.มีแผนการบริหารความตอเนื่องในการใหบริการ ค ว า ม ต อ เน่ื อ ง กรณีทเี่ กิดภาวะฉุกเฉิน หรือภยั พิบัติ โดยเตรียม ใ น ก า ร ใ ห บ ริ ก า ร () ทรัพยากรท่ีสําคัญ เชน สถานท่ีใหบริการสํารอง ท่ีจําเปน บุ คลากร ข อมู ลสารสนเทศคู ค าหรื อผู มี ส วนได สวนเสยี วัสดุอปุ กรณตา ง ๆ เปน ตน 4. เงือ่ นไขพเิ ศษเพิม่ เตมิ 22. การ  คิดคนและแสวงหาวิธีการ หรือแนวทาง ขับเคล่อื นการ ใหม ๆ ทําใหเกิดผลในการปรับปรุงและ ใหบ ริการดว ย () ออกแบ บการใหบริการสาธารณ ะให นวัตกรรม สามารถตอบสนองปญ หาความตองการของ ประชาชนไดอยา งมคี ณุ ภาพ ๒3. การปรบั เขา สู  - ใหบริการเชื่อมโยงแบบเรียลไทมในทุก ความเปนดิจิทลั เวลาและสถานท่ี (เกณฑเ พ่ือรองรบั () - วิเคราะหขอมูลที่ซับซอนเพ่ือชวยการ ไทยแลนด ๔.๐) บ ริ ก า ร ใ ห ส า ม า ร ถ ต อ บ ส น อ ง ต อ ค ว า ม ตอ งการป ระช าช น ได ทุ ก ที่ ทุ ก เวล า ทกุ ชองทาง ทุกอุปกรณ 24. การพัฒนา  ระบุถึงลักษณะความโดดเดนของศูนยราชการ ศูนยราชการสะดวก () สะดวกท่ีมีความพิเศษมากกวาศูนยราชการ สูค วามเปน เลิศ แหงอื่น ๒๖ คู่มอื การรับรองมาตรฐานการให้บรกิ ารของศนู ยร์ าชการสะดวก คมู อื การรบั รองมาตรฐานการใหบรกิ ารของศนู ยราชการสะดวก ๒๖

หมายเหตุ : - *ทีม่ า : ชอเพชร พานระลึก. แนวคิดการออกแบบและ บญั ชีรายการอุปกรณสิ่งอาํ นวยความสะดวกหรือ บริการทส่ี อดคลองกับความตองการพเิ ศษของคน พิการ. มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. ** ทมี่ า : John J.Fruin. Chapter 8 Designing for pedestrains. http://ntl.bts.gov/DOCS/11877/Chap ter_8.html - สัญลักษณ  หมายถงึ เกณฑพ้นื ฐาน - สญั ลกั ษณ  หมายถงึ เกณฑขน้ั สูง คู่มคือูมกอื ากรราบั รรรอับงรมอางตมราฐตานรฐกาานรใกหา้บรรใกิหาบ รขรกิองาศรูนขยอ์รงาศชูนกยารราสชะกดวากร สะดวก ๒๒๗๗

เกณฑที่ 3 เกณฑด า นผลลัพธ เกณฑ การประเมนิ 1. ความพึงพอใจของประชาชนในการรบั บรกิ าร - วิเคราะหจากผลสํารวจ/ การสุมสัมภาษณ และหรือ ขอมลู อ่ืน ๆ ประกอบ 2. ความสะดวกในการติดตอราชการ โดยพิจารณา - พิจารณ าจากระยะเวลา จากความรวดเร็ว ขั้นตอนส้ัน เขาถึงบริการ การรอคอย และจํานวนชองทาง ไดหลายชองทาง การใชบรกิ าร 3. การนําเทคโนโลยีมาชวยในการใหบริการ - พิจารณาจากการนําระบบ ประชาชน จนทําใหสามารถใชบริการไดจากทุกท่ี เทค โนโลยี มาชวยอําน วย ทุกเวลา การติดตามสถานะงานบริการได ระบบ ความสะดวกในการใหบริการ การรองเรียนที่มีประสิทธภิ าพ แ ล ะ จํ า น ว น ผู ใช บ ริ ก า ร ผานระบบออนไลน สาํ หรับรายละเอยี ดแนวทางการดําเนนิ การของแตล ะหัวขอมีดังนี้ 1. การศึกษาความตองการและความคาดหวังของ ผูรบั บริการ กอนการเริ่มตนดําเนินการจะตองมีจัดใหมีการศึกษา วิเคราะหผลดีผลเสียใหครบถวนทุกดาน ตองคอยรับฟงความคิดเห็นและ ความพึงพอใจของประชาชนผูรับบริการ โดยอาจใชวิธีการออกแบบ สํารวจ หรือรูปแบบอ่ืน ๆ ในการไดขอมูลความตองการและความ คาดหวัง ๒๘ คูม่ อื การรบั รองมาตรฐานการให้บริการของศนู ย์ราชการสะดวก คมู อื การรบั รองมาตรฐานการใหบรกิ ารของศนู ยราชการสะดวก ๒๘

ของผูรับบริการท่ีเปนกลุมเปาหมายของสถานที่เปดใหบริการดวยวิธีการ ตาง ๆ ท่ีเหมาะสมตามหลักสถิติ เพื่อนํามาใชออกแบบระบบการใหบริการ ของศูนยราชการสะดวก หรือปรับปรุงระบบการใหบริการในกรณีท่ีมี ศนู ยร าชการสะดวกเปดใหบ ริการอยูแลว ทั้งนี้ เพ่ือใหไดขอมูลสําคัญและถูกตองจําเปนตองมีการ กําหนด กลุมเปาหมายผูรับบริการแตละพื้นที่ใหบริการไวอยางชัดเจน ซึ่ง ขึ้นอยูกับวาศูนยบริการประชาชนที่จะเปดใหบริการอยูในบริเวณใด ผูที่อาศัยอยู ในบรเิ วณนั้นและบริเวณรอบ ๆ เปนกลุมใดบาง มีพฤติกรรมเปนอยางไร รูปแบบ การเดินทางเปนอยางไร เพื่อคาดการณถึงประชาชนท่ีจะมารับบริการเปน กลุมใด เชน ผูประกอบการ ชาวตางชาติ นักศึกษา แรงงานตางดาว และประชาชน ท่ัวไป เปนตน หรืออาจจะศึกษาจากชวงวัยหรืออายุและนํามาพิจารณา รวมกับบริการท่ีตอ งการจากราชการใชแตละชวงวัยของกลุมเปาหมาย หรืออาจแบงกลุมประชาชนผูรับบริการที่มีลักษณะและความตองการ ที่คลายคลึงกัน และจําแนกเปนประเภทของกลุมผูรับบริการ โดยอาจกําหนดออกเปน 4 ดาน ไดแก 1) ดานประชากรศาสตร เชน อายุ เพศ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได จํานวนสมาชิกในครอบครัว 2) ดานจิตวิทยา เชน สถานะทางสังคม บุคลิกภาพ รูปแบบการดําเนินชีวิต 3) ดานพฤติกรรมศาสตร เชน ประโยชนท่ีตองการ อัตราการรับบริการ/ ความถ่ีในการรับบริการ การแกปญหา ชวงเวลา ความตองการขอมูล ขาวสาร และ 4) ดานภูมิศาสตร เชน ขอบเขตดินแดน ในเมือง/ชนบท และสภาพภูมิอากาศ เปนตน เม่ือกําหนดกลุมเปาหมายไดแลว ก็ตองมีการออกแบบ วิธีการและคําถามตามหลักสถิติ เพ่ือใหไดขอมูลจําเปน เกี่ยวกับ ความตองการและความคาดหวังของผูรับบริการสําหรับการออกแบบ การใหบริการเพื่อเกิดการอํานวยความสะดวก การสรางมาตรฐานระบบงาน คมู่ อืคกมู าือรกราับรรอบั งมราอตงรมฐาาตนรกฐาารนใหกบ้ าริกใหารบ ขรอกิ งาศรูนขยอ์รงาศชกูนายรรสาะชดกวากร สะดวก ๒๒๙๙

การใหบริการดวยใจ และการนําไปสูการเช่ือมโยงขอมูลในทุกขั้นตอน ตอไป โดยอยางนอ ยคาํ ถามจะตองครอบคลมุ ประเด็นสาํ คัญ ดงั น้ี - ประเภทงานบรกิ ารทีต่ อ งการใหมี - วนั และเวลาเปด ใหบ รกิ าร - สถานท่ใี หบรกิ าร - ความยาก-งายในการเขาถึงจุดบริการ (หากมีการเปด ใหบริการ ณ จดุ น)้ี - สงิ่ อาํ นวยความสะดวกที่สาํ คัญ - การรบั รขู อมลู ขา วสารเกีย่ วกับการใหบริการ ภายหลังจากการท่ีไดรวบรวมขอมูลความตองการและ ขอคิดเห็นจากผูรับบริการกลุมเปาหมายแลวจะตองนําขอมูลดังกลาวมา วิเคราะหผลการศึกษาและนําไปใชในการออกแบบระบบการใหบริการ ตอไป อยางไรก็ตามการศึกษาความตองการและความคาดหวังของ ผูรับบริการไมจําเปนวาจะตองมีการสํารวจเฉพาะกอนเปดศูนยราชการ สะดวกเทานั้น แตหากเปนเร่ืองสําคัญที่จะชวยใหไดขอมูลมาใชออกแบบ ปรับปรุงระบบการใหบริการใหดีย่ิงข้ึนอยางตอเน่ือง ดังน้ัน จึงควรมี การออกแบบวิธีการไดมาซ่ึงขอมูลที่จําเปนตอการพัฒนาระบบการ ใหบริการอยางเปนระบบในชวงระยะเวลาท่ีเหมาะสม โดยเฉพาะ กรณีท่ีจะมีการเปลี่ยนแปลงการใหบริการในแตละครั้ง หรือตามกาลเวลา ที่วิถึชีวิตเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงอันจะสงผลกระทบตอการใหบริการ ของศูนยราชการสะดวก เปนตน นอกจากนี้ ในการบริการเพื่อเปนการอํานวยความสะดวก และลดภาระของประชาชน หนวยงานตองไมรองขอเอกสารท่ีภาครัฐ ออกใหจากประชาชน โดยภาครฐั ควรพัฒนาการเชอ่ื มโยงระบบระหวางกัน ๓๐ คู่มอื การรับรองมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารของศนู ย์ราชการสะดวก คูมือการรบั รองมาตรฐานการใหบ รกิ ารของศนู ยราชการสะดวก ๓๐

2. งานบรกิ าร การบริการ คือ การใหความชวยเหลือ หรือการดําเนินการ เพื่อประโยชนของผูอ่ืน การบริการท่ีดีผูรับบริการก็จะไดรับความประทับใจ และชื่นชมองคการ ภาพลักษณขององคกรก็จะดีไปดวย ซ่ึงเปนส่ิงดีสิ่งหน่ึง อันเปนผลดีกับองคการ เบื้องหลังความสําเร็จเกือบทุกงาน มักพบวา งานบริการเปนเครื่องมือสนับสนุนงานดานตาง ๆ เชน งานประชาสัมพันธ งานบรกิ ารวิชาการ เปนตน สําหรับงานบริการประชาชน คือ งานของรัฐที่จะตอง ดําเนินการใหกับประชาชน หรือ สวนราชการดวยกันเอง เนื่องจากเปน อาํ นาจหนาท่ีที่ไดรับมอบหมายจะดวยกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับใด ๆ ก็ตาม การคัดเลือกงานบริการมาเปดใหบริการควรมีความครบถวนและ ห ล ากห ล าย ส อด คล องกับ ผ ล สํ ารวจ ค ว า ม ต อ ง ก า ร ข อ ง ผู ร ับ บ ริก า ร กลุมเปาหมายในแตละพื้นที่ แตอยางไรก็ตามศูนยราชการสะดวก ควรมีงานบริการที่ครอบคลุมประเภทงานดานบริการขอมูลขาวสารของ หนวยงานภาครัฐทุกหนวยงาน งานดานการรับเรื่องราวรองทุกข และงานอื่น ๆ โดยพิจารณาคดั เลือกงานบรกิ ารท่ีสอดคลอ งกับผลสาํ รวจ ทไ่ี ดจากการศกึ ษาความตอ งการฯ 3. สถานที่บรกิ าร สถานท่ีใหบริการเปนปจจัยสําคัญตอการตัดสินใจเขารับ บริการของผูรับบริการ ผูรับบริการมักตองการและคาดหวังใหสถานที่ ใหบริการเปนจุดท่ีเอ้ือตอการมาใชบริการสามารถเขาถึงไดงาย ปลอดภัย สะอาด มีความเปนระเบียบเรียบรอย และสะดวก ดังนั้น การจัดสถานที่ ใหบริการจะตองคํานึงถึงระบบการขนสงสาธารณะ เพ่ือใหงายตอ การเดินทาง การจัดทําปาย/สัญลักษณ ในการบอกทิศทางหรือตําแหนง ค่มู อื การรับรองมาตรฐานการให้บรกิ ารของศูนย์ราชการสะดวก ๓๑ คูมอื การรับรองมาตรฐานการใหบรกิ ารของศนู ยร าชการสะดวก ๓๑

ท่ีตั้งของจุดใหบริการไดอยางชัดเจน ไมติดในตําแหนงท่ีทําใหเกิด ความสับสน การออกแบบจุดใหบริการเขาถึงไดสะดวก และจัดใหมี แสงสวางอยางเพียงพอ ณ บริเวณสถานที่ใหบริการ นอกจากน้ี การออกแบบสถานที่คํานึงถึงผูพิการ สตรีมีครรภ และผูสูงอายุ เชน จุดใหบริการช้ัน ๑ (กรณีไมม ีลิฟท) การเขาถึงมที างลาดสาํ หรับรถเข็น มีพน้ื ทว่ี า งใตเคานเตอรใ หรถเขน็ คนพกิ ารสามารถเขาไดโดยไมม สี ง่ิ กีดขวาง ในการออกแบ บอาคารห รือสถานที่ ให มีอุปกรณ ส่ิงอํานวยความสะดวก หรือบริการเพื่อใหคนพิการสามารถเขาถึงได ควรคํานึงตามขอ ๕ ของกฎกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย ดงั นี้ (1) ท่ีนัง่ /พื้นที่จอดรถเข็นสําหรบั คนพกิ าร (2) ทางลาด (3) พนื้ ผวิ ตา งสัมผัสสําหรับผพู ิการทางการเห็น (4) บนั ไดเลอ่ื น (5) ทางลาดเลื่อนหรือทางเลอ่ื นในแนวราบ (6) ราวกันตกหรอื ผนงั กนั ตก (7) ถังขยะแบบยกเคล่ือนทีไ่ ด (8) สถานทีต่ ิดตอ หรือประชาสมั พันธส ําหรบั คนพิการ (9) โทรศัพทส าธาณะ (10) จดุ บริการนา้ํ ดม่ื (11) ตบู รกิ ารเงนิ ดว น (ATM) สําหรับคนพิการ (12) ประตูสําหรบั คนพิการ (13) หองนาํ้ สาํ หรับคนพิการ (14) ลิฟทสําหรับคนพิการ (15) ทจี่ อดรถสาํ หรับคนพิการ ๓ค๒ูม ือการรบั รองมาตรฐานการใหบรกิ ารขอคงมู่ ศือูนกยารรราบั ชรกอางรมสาะตดรฐวากนการให้บริการของศูนยร์ าชการส๓ะ๒ดวก

(16) สญั ญาณเสียงและแสงขอความชว ยเหลือ (17) ปายแสดงอุปกรณห รอื ส่ิงอาํ นวยความสะดวก (18) ทางสญั จรสําหรับคนพกิ าร (19) ตูไ ปรษณยี สาํ หรับคนพิการ (20) พน้ื ท่สี ําหรับหนภี ยั สาํ หรบั คนพิการ (21) การประกาศเตอื นภัยและตัวอกั ษรไฟวิ่ง/สญั ญาณ ไฟเตือนภยั (22) การประกาศขอมลู ทีเ่ ปน ประโยชนแ ละตัวอักษรไฟวิง่ / ปายแสดง (23) ความหมายเจาหนาที่ใหบริการสําหรับคนพิการ อยางนอ ย 1 คน ทัง้ นี้ สามารถศึกษารายละเอยี ดเพิ่มเติมไดจาก https://www.doe.go.th/prd/assets/upload/files/BKK_th/d2d8 c77204d9b6d2853cd9cd9240c23f.pdf 4. การออกแบบระบบงาน การออกแบบระบบงาน เปนการกําหนดแนวทาง/วิธีการ ในการทํางานท่ีเก่ียวของท้ังหมดใหบรรลุเปาหมายและสอดคลองไป ในทิศทางเดียวกัน ทีมงานของศูนยราชการสะดวกควรตองรวมกันพิจารณา กําหนดประเภทของระบบงานที่จะเปนตองมีในการปฏิบัติงานภายใน ศูนยราชการสะดวก ซึ่งสามารกําหนดไดจากประเภทงานบริการ เชน ระบบงานทใ่ี หเปน จดุ บรกิ ารแบบเบ็ดเสรจ็ (One Stop Service : OSS) และ ระบบงานเพื่อการรบั เรอ่ื ง-สง ตอ เปน ตน และระบบการใหบริการท่ีเกีย่ วขอ ง ค่มู ือคกูม าือรกรบัารรอรบังมราอตงรมฐาาตนรกฐาารนใหก้บารริกใาหรบขรอกิงศารูนขยอร์ างชศกูนายรรสาะชดกวากร สะดวก ๓๓๓๓

อื่น ๆ เชน ระบบการตอบคําถามเกี่ยวกับงานที่ใหบริการ โดยตองมีระยะเวลา ในการตอบใหชัดเจน ระบบการสื่อสารสองทิศทางเพื่อการรับรูและ สรางความเขาใจในเร่ืองสําคัญเก่ียวกับการใหบริการแกผูรับบริการ ในหัวขอเร่ืองใด ผานชองทางไหน ระบบการติดตามและรายงานผลงาน ระบบการใหบริการแบบออนไลนค วรมีงานอะไรบาง การบูรณาการปรับปรุง แบบฟอรมตาง ๆ ระบบการทักทายผูรับบริการ และระบบติดตามสถานะ ผูรับบริการ เปนตน รวมท้ัง การรวมกันออกแบบระบบงานวาควรมีกลไก/ แนวทาง/วิธีการปฏิบัติงานอยางไร ซ่ึงตองมีการกําหนดผูรับผิดชอบ ผูประสานงาน/เจาของงาน เบอรโทรติดตอ และชองทางการติดตอ ไวอ ยางชดั เจน เพ่ือใหบรรลุเปาหมายของศนู ยราชการสะดวก และสอดคลอ ง ไปในทศิ ทางเดยี วกัน การออกแบบระบบงานใหมีการบริการสอดคลองไปทิศทาง เดี ยวกั น ควรมี การดํ าเนิ นการเชิ งบู รณ าการเพื่ อให หน วยงาน ที่เก่ียวของเขารวมในการใหบริการมีสวนรวมในการจัดทําแผนกลยุทธและ แผนปฏิบัติการ รวมทั้งมีการดําเนินการที่สอดคลองและเปนไปในทิศทาง เดียวกัน โดยเฉพาะการตอบคําถามหรือการสื่อสารขอมูลจากผูใหบริการ ถึงผูรับบริการแตละครั้งจะตองเปนขอมูลที่ถูกตองตรงกัน และรูปแบบ ในการใหบรกิ ารแตล ะจุดจะตองเปนมาตรฐานเดียวกันในการใหบ ริการแตละครง้ั นอกจากน้ี เพ่ือใหประชาชนไมตองรอคอยการรับบรกิ ารนาน ใน การออ กแบ บ ระบ บ งาน จ ะต องคํ านึ งถึ งลั กษ ณ ะแล ะป ริ ม าณ งาน ทีผ่ ูร ับบริการมาใชบรกิ าร ความยากงา ยในการบริการประชาชน ประกอบกับ ทรั พยากรท่ี ศู นย ราชการสะดวกมี อยู /ความสามารถในการจั ดหาม าได และนํามาจัดลําดับความสําคัญ และควรมีการออกแบบระบบการพัฒนา บุคลากรใหสามารถใหบริการทดแทนกันได เพื่อใหสามารถหมุนเวียน ๓คมู ๔ือการรบั รองมาตรฐานการใหบรกิ ารขอคงู่มศือูนกยารรารชับกราอรงมสาะตดรวฐกานการให้บรกิ ารของศูนยร์ าชการ๓ส๔ะดวก

เจาหนาท่ี ท่ีมีปริมาณงานนอยมาชวยทํางานท่ีมีปริมาณการใชบริการ จํานวนมาก ดังน้ันหัวหนางานตองมีการบริหารจัดการบุคลากร หรือ อาจมีทีมในการสังเกตเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือวิเคราะหพฤติกรรมของ ผูรับบริการในแตละชวงเวลา และนํามาปรับปรุงระบบงานใหทัน ตอสถานการณในกรณีที่ผูรับบริการมีจํานวนมาก ระยะเวลาการใหบริการ ไมเปนไปตามมาตรฐานหรือกรณี ตองการลดข้ันตอนและระยะเวลา เพือ่ ใหเ กดิ ประโยชน ตอ การใหบริการไดอยางคุม คา หลังจากที่ออกแบบระบบงานเสร็จแลว ควรมีการทดลอง นําแตละระบบงานไปปฏิบัติและปรับปรุงระบบงานใหมีประสิทธิภาพ และ นําขอมูลการปฏิบัติงานในแตละระบบงานมาจัดทําเปนข้ันตอนการทํางาน กําหนดไวในคูมือการปฏิบัติงานสําหรับเจาหนาที่ ซึ่งตองจัดทํารายละเอียด การปฏิบัติงานใหชัดเจนครอบคลุม ถูกตอง และทันสมัย โดยมีการระบุ ขั้นตอน ระยะเวลา คาธรรมเนียม และขอมูลจําเปนสําหรับการปฏิบัติงาน ไวในคูมือฯ อยางชัดเจน และจัดเก็บในรูปแบบเอกสารหรือพัฒนา อยูในระบบสารสนเทศซึ่งตองอยูในตําแหนงที่หยิบใชสะดวกคนหาขอมูลได รวดเร็ว ทั้งนี้ ในการคนหาขอมูลงานบริการของหนวยงานอ่ืน ๆ สามารถ สบื คนไดจากเวบ็ ไซต www.info.go.th 5. การจดั สรรบุคลากร บุคลากรเปนทรัพยากรพ้ืนฐานท่ีสําคัญที่สุดในการใหบริการ ของศูนยราชการสะดวก การจัดการทรัพยากรบุคคลท่ีดีจะชวยสราง แรงจูงใจในเชิงบวกใหแกบุคลากร ซึ่งจะชวยปองกันการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ คู่มอืคกมู าือรกราับรรรอบั งมราอตงรมฐาาตนรกฐาารนใหกบ้ ารริกใหารบ ขรอกิ งาศรูนขยอร์ งาศชกูนายรรสาะชดกวากร สะดวก ๓๕ ๓๕

การจัดการทรัพยากรบุคคล หมายถึง กระบวนการท่ี ผูบรหิ ารหรอื ผูมีหนาที่เกย่ี วกับงานบุคลากร และ/หรือ บุคคลที่เก่ียวขอ ง กับบุคลากรของศูนยราชการสะดวกรวมกันใชความรู ทักษะ และ ประสบการณในการสรรหา คัดเลือก และบรรจุบุคลากรที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมใหเขาปฏิบัติงานในศูนยราชการสะดวก พรอมท้ังดําเนินการ ธํารงรักษาและพัฒนาใหบุคลากรของศูนยราชการสะดวกมีคุณภาพชีวิต การทํางานที่เหมาะสม การจดั การทรพั ยากรบุคลควรพิจารณาเปน 3 ระยะ ไดแก 1) กอนเขารวมงาน ตองวางแผนทรัพยากรบุคคล โดยกําหนดลักษณะงานและผูปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับระบบงานแตละ ขั้นตอน ตามความจําเปนของหนวยงาน จากนั้นจึงดําเนินการสรรหา และจูงใจผูที่มีความรูความสามารถ และมีความเหมาะสมกับงานที่ตองการ จนถงึ การบรรจุเขาทํางาน 2) ขณะปฏิบัติงาน ตองธํารงรักษาใหบุคลากรมีคุณภาพ ชีวิตการทํางานทด่ี ี และมคี วามรูสึกเปนสว นหนึง่ ของศูนยราชการสะดวก โดยเฉพาะการจัดใหมีการประเมินผลงานอยางมีหลักเกณฑท่ีโปรงใส การดูแลเร่ืองการใหรางวลั อยางเปนธรรมและเหมาะสม การสรางบรรยากาศ ที่ดีในการทํางาน การจัดการฝกอบรมและพัฒนาอยางตอเนื่อง การจัดสรร สวัสดิการและเสริมสรางสุขอนามัยในการปฏิบัติงาน ตลอดจนการกําหนด แนวทางความกาวหนาของแตละคน/ตําแหนง เพื่อใหบุคลากรมีความพรอม ในการทํางานท้ังกายและใจ ลดแรงจูงใจที่จะกระทําทุจริต นอกจากนี้ตอง ดําเนินการในการพัฒนาทัศนคติ คานิยม กระบวนทัศนในการเปนผูให บริการที่ดีใหเ กดิ ขึน้ อยางตอ เน่ือง ๓๖ คมู่ อื การรบั รองมาตรฐานการใหบ้ ริการของศูนย์ราชการสะดวก คูม ือการรบั รองมาตรฐานการใหบ รกิ ารของศนู ยร าชการสะดวก ๓๖

3) ภายหลังการปฏิบัติงาน ตองคํานึงถึงผูท่ีทํางานมา จนจวนเกษียณอายุ หรอื จําเปนตองออกจากงานดวยเหตุผลบางประการ ยกเวนการกระทําผิดวินัยอยางรายแรง โดยจัดกิจกรรมในเชิงสรางสรรค ให แกผ ูปฏิบัติงานเหลาน้ี รวมถงึ การสงเสริมใหบคุ ลากรเกษียณมาทําหนา ท่ี ให คําปรึกการแกศูนยราชการสะดวก ซ่ึงการดําเนินการนี้จะมีผล ตอแรงจูงใจของบคุ ลากรที่กาํ ลงั ปฏบิ ัติหนาท่ีอ่นื ๆ ดวย อยางไรก็ตาม ในหวั ขอ น้ี จะเนนในสวนระยะกอนเขา รว มงาน ดังนั้น การจัดสรรจํานวนบุคลากรมีเพียงพอและเหมาะสมกับ การปฏิบัติงาน ควรมีการวิเคราะหประเมินความตองการดานกําลังคน ที่จําเปน มีการกําหนดส่ิงจูงใจใหแกบุคลากรผูปฏิบัติงานของศูนยราชการ สะดวก รวมไปถึงการออกแบบตารางการทํางานท้ังในสถานการณปกติ ชวงพักรับประทานอาหาร และชวงเวลาที่มีผูรับบริการเขามาใชบริการมาก เพ่อื ใหเหมาะสมในการใหบริการผูรบั บริการทเ่ี พียงพอตอจาํ นวนผูรับบริการ ที่เขามาใชบริการในแตละชวงของจุดใหบริการ รวมไปถึงชวงระยะ ขณะปฏิบัติงานที่ตองมีการจัดสรรสิ่งจูงในในการทํางานไดอยางสอดคลอง กบั ความตองการของบคุ ลากรตามความเหมาะสม 6. บคุ ลากรดานการบรกิ าร บทบาทและหนาที่สําคัญของบุคลากรผูใหบริการทุกคน คือ การสรางรูปแบบอํานวยความสะดวกหรือการจัดวิธีการปฏิบัติงาน ท่ีเก่ียวของกับการบริการใหสามารถสรางความเขาใจในการบริการระหวาง ผูใหและผรู ับบริการ รวมทั้งสามารถตอบสนองความตองการของผูรับบริการ ใหไดมากท่ีสุด และเพื่อใหผูรับบริการเกิดความพึงพอใจสูงสุด ขณะเดยี วกัน ก็สรางคุณคาใหกับองคการ เนื่องจากผูรับบริการของหนวยงานภาครัฐ คมู่ ือการรบั รองมาตรฐานการใหบ้ ริการของศนู ย์ราชการสะดวก ๓๗ คูมือการรับรองมาตรฐานการใหบ รกิ ารของศนู ยร าชการสะดวก ๓๗

แมไมไดเปนผูใหผลประโยชนดานการสรางผลกําไรเชนเดียวกับหนวยงาน ภาคเอกชน แตผ ูใชบริการเปนผูท่ีสามารถใหค าํ ตชิ ม อนั สง ผลตอ ภาพลักษณ ใหแกศูนยราชการสะดวกและหนวยงานภาครัฐได และเม่ือเกิดภาพลักษณ ที่ดีตอองคการก็จะสงผลดีตอไปยังผูที่ทํางานอยูในศูนยราชการสะดวกและ หนวยงานที่เก่ียวของกับการใหบริการนั้น ๆ ไดเกิดขวัญกําลังใจในการ ทํางาน ดังนั้นบุคลากรดานการบริการและผูรับบริการจึงมีประโยชนตอกัน และกันในการสรางความพึงพอใจ และการสรางความสัมพันธอันดี กบั ผูรับบริการจึงเปนสว นสําคัญในการทํางาน จึงกลาวไดวา การบริการ เปนหัวใจสําคัญของศูนยราชการ สะดวก การคัดเลือกและพัฒนาบุคลากรจึงมีความสําคัญตอภาพลักษณ ของศูนยราชการสะดวก ซึ่งบุลากรดานการบริการจะตองมีคุณสมบัติ ที่เหมาะสม เนื่องจากคุณสมบัติของผูใหบริการเปนปจจัยสําคัญอยางหน่ึง ท่ีนําไปสูความสําเร็จของการทํางานของศูนยราชการสะดวก โดยคุณสมบัติ ของผูใหบริการควรเปนผูที่มีความเปนนักบริการ คือ ตองมีหัวใจแหง การใหบริการทั้งภายในขอบเขตงานมีความรับผดิ ชอบในสวนงานของตนเอง และ นอกขอบเขตงานท่ีรับผิดชอบ คือ ยินดีในการใหบริการอยางดี แมงาน บางอยางที่ผูรับบริการมาขอรับบริการจะไมใชงานที่เรารับผิดชอบโดยตรง โดยไมคิดวาเปนงานของใครคนใดคนหน่ึง แตตระหนักเสมอวาคืองานของ ศูนยราชการสะดวกโดยรวม ๓๘ คมู่ อื การรับรองมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารของศนู ย์ราชการสะดวก คูมือการรบั รองมาตรฐานการใหบรกิ ารของศูนยร าชการสะดวก ๓๘

คณุ ลักษณะ 7 ประการท่ีบุคลากรดานการบริการควรมี คือ “SERVICE” ไดแก S - Smile คอื มคี วามยม้ิ แยม E – Early Responsibility คือ ตอบสนองตอความตองการ ของผรู บั บริการอยา งรวดเรว็ ทันใจ R – Respectful คื อ แสดงออกถึงความนั บถือ และ ใหเกียรติผูร ับบริการ V – Voluntaries Manner คือ ใหบรกิ ารดวยความสมัครใจ และเต็มใจ มใิ ชทาํ แบบเสยี ไมได I – Image Enhance คื อ แ ส ด งอ อ ก ซึ่ งก ารรัก ษ า ภาพลกั ษณข ององคกร C – Courtesy คือ กิรยิ าออนนอม สุภาพ และมมี ารยาททีด่ ี E – Enthusiasm คือ ความกระฉับกระเฉง กระตือรือรน ในการใหบ ริการ สําหรับเกณฑในหัวขอน้ี ไดกําหนดคุณสมบัติของบุคลากร ดานการบริการของศูนยราชการสะดวกไวอยางนอยควรตองเปนผูใหรับบริการ ที่มีจิตบริการ (Service Mind) และมีความรอบรูในงานท่ีใหบริการ รวมท้ัง งานที่เก่ียวของ มีความสามารถในการสื่อสารและชวยเหลือผูรับบริการดวยไมตรี จิ ต สามารถริ เริ่ มและพั ฒ นาการให บริ การท่ี เกิ นความคาดหวั ง ของผูรับบริการ เชน บริการอื่น ๆ เพ่ิมเติมในเชิงรุก สามารถแกไข/รับมือกับ สถานการณที่เกิดข้ึนไดตามมาตรฐานการใหบริการ สามารถปฏิบัติงานได ตามมาตรฐานที่กําหนดไวในแตละชองทางของระบบ online ที่พัฒนาขึ้น และสามารถตอบคําถามใหกับผูรับบริการไดถูกตองสอดคลองไปในทิศทาง เดียวกัน ดังน้ัน การท่ีบุลากรจะมีทักษะความสามารถเหลาน้ีไดจึงมี ความจําเปนอยางย่ิงที่ตองมีการพัฒนาศักยภาพและทักษะในการปฏิบัติงาน ที่จําเปนและทันสมัยใหกับบุคลากรหลังจากท่ีไดสรรหาคัดเลือกบุคลากร ค่มู ือการรบั รองมาตรฐานการให้บริการของศูนยร์ าชการสะดวก ๓๙ คมู ือการรับรองมาตรฐานการใหบรกิ ารของศนู ยราชการสะดวก ๓๙

มาแลวอยางตอเนื่อง รวมไปถึงการจัดหาเคร่ืองมือชวยเหลือและ เพ่ิมศักยภาพในการใหบริการแกบุคลากร เชน อาจมีการออกแบบระบบ สารสนเทศอยางเปนระบบ เพ่ือชวยใหคนหาคําตอบหรือแกไขสถานการณตาง ๆ ไดอยางรวดเร็ว การกําหนดมาตรฐานการตอบคําถาม หรือการแกไขปญหา ในแตละสถานการณท่ีคาดวาจะมีโอกาสเกิดข้ึน โดยการดําเนินการพัฒนา บุคลากร ควรมีการกําหนดแผนพัฒนาบุคลากรใหชัดเจนท้ังระยะสั้นและ ระยะยาว ตองมีการกําหนดวาความรูทักษะใดท่ีบุคลากรจําเปนตองไดรับ การพัฒนาความรูและทักษะ ในชวงเวลาใด (เชน ชวง 3 เดือนแรก เนน เร่ือง การบริการ) โดยตองพิจารณาใหสอดคลองกับเปาหมายของศูนยราชการ สะดวก ความตองการและความคาดหวังของผูรับบริการและบุคลากร ซ่ึงรูปแบบในการพัฒนาบุคลากรสามารถทําไดหลายลักษณะท้ังที่เปน ทางการและไมเ ปนทางการ เชน จดั ฝกอบรม สัมมนาระดมสมอง ศกึ ษาดงู าน การแลกเปล่ียนเรียนรู เปนตน เพื่อใหเจาหนาท่ีสามารถใหบริการ ไดอยางถูกตอง รวดเร็ว และมีจิตบริการ นอกจากนี้ทุกครั้งท่ีมีการพัฒนา ระบบใหม ๆ ก็ควรมีการจัดอบรมการใชระบบซอฟทแวร หรือกรณีท่ีมี การพัฒนาระบบงานก็ควรตองมีการฝกอบรมใหความรูแกบุคลากรทุกครั้ง จนเกิดความรู ความเขาใจ และความชํานาญในระบบงาน รวมไปถึง การพัฒนาความสามารถใหบริการแทนกันไดใ นงานบริการเบด็ เสรจ็ จํานวนหนึง่ 7. ระบบการประเมินความพงึ พอใจ ระบบการประเมินความพึงพอใจเปนวิธีการของการที่จะทํา ใหศูนยราชการสะดวกไดรับขอมูลความคิดเห็น ขอเสนอแนะ และ คํารองเรียน จากผูรับบริการและผูเกี่ยวของ ซึ่งจําเปนตองจัดใหมีชองทาง ในการวัดผลการใหบริการ รับขอเสนอแนะ และแสดงความคิดเห็น เพอ่ื นําไปสูการรับฟงขอมูลตา ง ๆ จากกลุมเปา หมาย และนําขอมูลเหลานไี้ ป ใชป ระโยชนใ นการปรบั ปรุงงานตอ ไป ๔๐ คู่มอื การรับรองมาตรฐานการใหบ้ ริการของศูนยร์ าชการสะดวก คูม ือการรับรองมาตรฐานการใหบรกิ ารของศูนยร าชการสะดวก ๔๐

การใหบริการโดยท่ัวไปมักพบวา ผูรับบริการตองการ การบริการท่ีตรงกับความตองการ และยังตองการการอํานวยความสะดวก เพ่ือใหไดรับการบริการที่รวดเร็ว ถูกตองครบถวน อบอุนและมีการเอาใจใส สนใจและไดรับประโยชนสูงสุด ดังนั้นการใหบริการเพื่อสรางคามพึงพอใจ จะตองสนองตอบตอความคาดหวังของผูรับบริการ ซึ่งผูรับบริการอาจ แสดงความตองการโดยทางตรงจากคําพูด บอกกลาว หรือตั้งสมมติฐานเอง วา เจาหนาทีใ่ หบ ริการตองทราบความคาดหวงั ของผูรับบรกิ ารใน 3 ดาน ดงั นี้ 1) ดานบุคคล ผูรับบริการคาดหวังที่จะไดรับการตนรับ ดูแลอยางกระตือรือรน นอบนอม พูดจาไพเราะ ใหความชวยเหลืออยาง จริงจังและจริงใจ มีความรูเรื่องท่ีจะใหบริการอยางแทจริง เม่ือมีขอสงสัย สามารถใหคําตอบชี้แจง รับฟงเรื่องท่ีเปนปญหาและชวยแกไขปญหาใหได สรางความมนั่ ใจไดวาจะไดร บั บรกิ ารท่มี คี ุณภาพ คุมคาและถูกตอ งสมบูรณ 2) ดานสถานที่ เคร่ืองมือ และอุปกรณ ผูรับบริการ คาดหวังวาจะไดเห็นหรือสัมผัสสถานท่ีท่ีมีความเปนระเบียบเรียบรอย สะอาด มีปายชัดเจน แสดงวิธีการติดตอ พื้นท่ีการบริการ มีความทันสมัย และคาดหวงั ทจ่ี ะไดเหน็ สง่ิ ตาง ๆ เพยี งพอที่จะอาํ นวยความสะดวกได 3) ดานการดําเนินการ ผูรับบริการตองการไดรับ ความเช่ือมั่นวาการดําเนินการนั้นเปนไปอยางมีข้ันตอน เปนระบบปฏิบัติ ไดตามสัญญาที่ใหไว มีความซ่ือสัตยสุจริตและเปนธรรม ไมคดโกงหรือ เอาเปรียบผูรับบริการและสังคม เพ่ือใหทราบขอมูลการใหบริการท่ีแทจริงจากผูรับบริการ และนําไปใชปรับปรุงการใหบริการที่ดีข้ึนจําเปนที่จะตองทราบถึงวิธีการ สํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการโดยรวม และทราบวิธีการนําขอมูล คมู่ อื การรับรองมาตรฐานการให้บริการของศนู ย์ราชการสะดวก ๔๑ คมู ือการรับรองมาตรฐานการใหบรกิ ารของศูนยร าชการสะดวก ๔๑

ความคิดเห็น และความพึงพอใจ รวมท้ังความไมพึงพอใจน้ันมาจัดลําดับ ความสําคัญ เพ่ือสรางเปนแผนปรับปรุงการปฏิบัติงานใหเปนที่พึงพอใจ ของประชาชน ระบบการประเมินความพึงพอใจทนั ที ณ จุดใหบริการควรมี รูปแบบที่งายสะดวกและไมสรางภาระตอผูใชบรกิ าร นอกจากนี้ หนวยงาน อาจจัดใหมีหนวยงานภายนอกมาชวยประเมินผลความพึงพอใจของผูรับ บริการภายหลังจากการมาติดตอขอใชบริการไดในรูปแบบตาง ๆ ตามความเหมาะสม เพื่อเปนการใหผลการสํารวจมีความแมนยําและ นาเชื่อถือมากยิ่งข้ึน และเมื่อไดผลสํารวจมาแลวควรนําไปวิเคราะหและ ปรับปรุงงานบริการอยางตอเน่ือง เพ่ือใหเกิดผลลัพธความพึงพอใจของ ผูรับบริการ โดยเกณฑพ้ืนฐานนี้ไดกําหนดใหผลความพึงพอใจโดยรวมของ ผูรับบริการตอการใหบริการของศูนยราชการสะดวกแหงน้ันมีคาเฉล่ียอยูท่ี ไมนอยกวารอ ยละ 80 8. คณุ ภาพการใหบริการ และการจดั การขอ รองเรียน การใหบริการของภาครัฐมีความหมายมากกวาบริการที่ใช ในภาคเอกชนท่ีรวมไปถึงการบริการที่จัดขึ้นเพ่ือกอใหเกิดความสงบเรียบรอย และความเปน ธรรมในสังคม การใหบริการของภาครัฐตองระมัดระวังไมใหเกิด ความไดเปรียบเสียเปรียบระหวางผูเกี่ยวของแตละกลุม ดังน้ันเพ่ือใหเกิด มาตรฐานคุณภาพการใหบริการของศูนยราชการสะดวกจึงควรกําหนดเกณฑ การใหบริการและนําไปใชกับระบบการคัดเลือกและพัฒนาบุคลากร ไวอยาง นอย 10 เกณฑ ไดแก ประสิทธิภาพ คุณภาพ ความท่ัวถึง ความเสมอภาค ความเปนธรรม การตอบสนองความตองการ การตอบสนองความพึงพอใจ ความตอ เน่ือง ความสะดวก และความพรอมในการใหบริการ ๔คูม ๒อื การรับรองมาตรฐานการใหบ รกิ ารของคศู่มนู ือยกรารารชับกราอรงสมะาดตวรกฐานการให้บรกิ ารของศนู ยร์ าชกา๔รส๒ะดวก

คุณภาพของการบริการสามารถวดั ไดดว ย “ความประทับใจ” หรือ “ความสุขใจ” ของผรู ับบริการเปนเบอ้ื งตน และวัดเปนตัวเลขไดเรียกวา “ดัชนีวัดความพอใจของลูกคา” หรือ คา CSI : Customer Satisfaction Index โดยเปรียบเทียบสัดสวนระหวาง การบริการท่ีผูรับบริการไดรับจริง ๆ กับความคาดหวังในบริการท่ีไดรับ ดังนั้น หัวขอในเรื่องคุณภาพการใหบริการ และการจัดการขอ รองเรียน จึงมคี วามสมั พันธเ ชือ่ มโยงกับหัวขอเรื่องคุณภาพ การใหบริการและการจัดการขอรองเรียน จึงเปนกระบวนการที่จะทําใหเกิด ผลลัพธในขอระบบการประเมินความพึงพอใจ เนื่องจากกระบวนการหรือ แนวทางที่ดําเนินการจะสงผลตอความพึงพอใจ รวมท้ัง สามารถนําขอมูล ทไ่ี ดจ ากการประเมนิ ความพึงพอใจมาปรบั ปรุงระบบคุณภาพการใหบริการและ ระบบการจดั การขอ รองเรียนไดอยา งสอดคลองกบั ความตองการของผูรับบริการ ท้ังนี้ นอกจากการพัฒนาคุณภาพการใหบริการตามสถานการณ ปกติทั่วไปแลว ส่ิงสําคัญอีกประการที่จําเปนตองมีการดําเนินการ คือ การจัดการขอรองเรียน ซึ่งตองเริ่มจากการจัดใหมีการรับฟงขอรองเรียนที่ เปนการจัดระบบหรือกระบวนการ และวิธีการรับฟงขอรองเรียนเกี่ยวกับ ปญหาตาง ๆ จากประชาชนในการมาขอรับบริการ เพื่อเปนชองทางที่ทําใหทราบ ถึงความตองการของผูรับบริการและเปนชองทางในการทําการช้ีแจง ทําความเขาใจในเหตุผลและความจําเปนของการปฏิบัติภารกิจของ ศูนยราชการสะดวกนั้น ๆ รวมไปถึงการแกปญหาใหกับผูรับบริการ เพ่ือปองกันไมไดเกิดปญหาหรือขอรองเรียนในประเด็นเดิมหรือประเด็นท่ี เกย่ี วของข้ึนซํ้าอีก กระบวนการในการจัดการขอรองเรยี น อาจกําหนดไดด ังนี้ 1) กําหนดชองทางการรับขอรองเรียนจากผูรับบริการ และผูเกี่ยวของใหเหมาะสมและสอดคลองกับประเภทการใหบริการ คมู่ คอื มูกาือรกราบั รรรอบั งรมอาตงมรฐาาตนรกฐาารนใหก้บารรใิกหารบ ขรอกิ งาศรูนขยอร์ งาศชูนกยารรสาะชดกวากร สะดวก ๔๔๓๓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook