Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อ้อยโรงงาน

อ้อยโรงงาน

Published by jiab.moac, 2021-08-02 03:45:23

Description: อ้อยโรงงาน

Search

Read the Text Version

1



คำนำ เอกสารข้อมูล “อ้อยโรงงาน” จังหวัดพิษณุโลก เป็นเอกสารที่สำนักงานเกษตรและสหกรณ์ จงั หวัดพิษณโุ ลก ไดร้ วบรวมประมวลและวิเคราะห์ข้อมลู ท่ีเกยี่ วกับการผลิตออ้ ยโรงงานทง้ั ระบบ ประกอบด้วย ข้อมูลด้านนโยบาย ข้อมูลด้านการปลูกอ้อยโรงงานตามหลักวิชาการตั้งแต่การเตรียมดินจนถึงการแปรรูป ผลผลิต ข้อมูลงานวิจัยและเทคโนโลยีในการเพิ่มผลผลิตอ้อยโรงงาน ข้อมูลด้านศักยภาพของพื้นที่จังหวัด พิษณุโลกเพอื่ รับรองการผลิต และข้อมูลดา้ นเศรษฐกจิ การผลิตออ้ ยโรงงาน ซง่ึ การจดั ทำขอ้ มูล “อ้อยโรงงาน” จังหวัดพิษณุโลก ได้จัดทำตามแนวทางพัฒนาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศภายใต้โครงการพัฒนา ระบบข้อมูลด้านการเกษตรและสหกรณ์ ของสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สำนักงานปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการพัฒนาการเกษตรเปน็ รายสินค้า ซึ่งจะนำไปเผยแพร่ ใหก้ บั เกษตรกร หนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน และผทู้ ่สี นใจไดใ้ ช้ประโยชนจ์ ากขอ้ มูลดงั กลา่ ว สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพิษณุโลก จึงขอขอบคุณทุกหน่วยงาน ทั้งในและนอก สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำนักงานเกษตรจังหวัดพิษณโุ ลก สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2 ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 6 จังหวัดพิษณุโลก ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตด้านอารักขาพืช จังหวัดพิษณุโลก รวมทั้งสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดพิษณุโลก ที่ได้ให้การสนับสนุนข้อมูล รวมทั้งข้อมูล ทเี่ ผยแพร่ทางเว็บไซดข์ องหน่วยงานตา่ ง ๆ ทำใหเ้ อกสารฉบับน้ีสำเรจ็ ลุลว่ ง และสำนักงานเกษตรและสหกรณ์ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก หวังเปน็ อย่างยิง่ ว่าเอกสารฉบบั นี้จะเป็นประโยชน์ต่อผ้ใู ชข้ ้อมลู ตามสมควร สำนักงานเกษตรและสหกรณจ์ ังหวัดพิษณโุ ลก กรกฎาคม 2564

ข สารบัญ สว่ นที่ 1 นโยบายรฐั บาลและยุทธศาสตรท์ ี่เกี่ยวขอ้ ง หน้า 1.1 ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 1.2 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (๓) ประเดน็ การเกษตร (พ.ศ. 2561 - 2580) 1 1.3 ยุทธศาสตรเ์ กษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) 1 1.4 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 4 1.5 นโยบายรฐั บาลที่เกย่ี วขอ้ งกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 5 1.6 ยุทธศาสตรอ์ ้อยโรงงาน และน้ำตาลทราย (Roadmap) พ.ศ. 2558 – 2569 6 1.7 นโยบายสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 9 1.8 ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาจงั หวัดพิษณโุ ลก (ฉบับทบทวน) พ.ศ. 2561-2565 10 1.9 แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณข์ องจังหวัดพษิ ณโุ ลก (พ.ศ.2561-2565) 13 ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2563 15 1.10 นโยบายส่งเสรมิ อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลในพ้ืนที่จังหวดั พษิ ณุโลก 18 สว่ นท่ี 2 ขอ้ มูลท่ัวไปอ้อยโรงงาน 2.1 การเตรยี มความพรอ้ มของเกษตรกร 20 2.2 ปัจจยั สำคัญที่มีผลตอ่ การปลกู อ้อย 21 2.3 การเตรยี มพันธ์ุออ้ ย 25 2.4 พันธุอ์ ้อยท่เี หมาะสม 25 2.5 โรคและแมลงศตั รูออ้ ย 31 2.6 การควบคมุ โรคและแมลงศัตรูอ้อย 44 ส่วนท่ี 3 ข้อมลู ดา้ นเศรษฐกิจ 50 3.1 สถานการณ์ในประเทศไทย 51 3.2 สถานการณ์การตลาด 53 3.3 แนวโน้มธุรกิจ/อตุ สาหกรรมนำ้ ตาล ปี 2564-2566 55 3.4 สถานการณก์ ารผลิตอ้อยโรงงานจงั หวดั พิษณุโลก 57 ส่วนที่ 4 สงิ่ แวดล้อมกบั การปลูกออ้ ย 58 4.1 วชั พชื ในไรอ่ อ้ ย 58 4.2 การบริหารจัดการวชั พชื ตามช่วงเวลาการปลูกอ้อย 60 4.3 วิธกี ารกำจดั วชั พืช 4.4 ผลกระทบของอ้อยไฟไหมต้ อ่ อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลไทย

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ สว่ นท่ี 5 เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทใ่ี ชส้ ำหรบั การเพาะปลูกออ้ ยโรงงาน 63 5.1 จุดเรม่ิ แนวคิด 63 5.2 กรอบการสรา้ งแนวคดิ 64 5.3 ข้อคน้ พบ 66 5.4 นวัตกรรมการจดั การไร่อ้อยยคุ ใหม่ 68 • ตวั อยา่ งนวตั กรรมและเทคโนโลยี 71 • เกษตรกรต้นแบบทปี่ ระสบความสำเรจ็ ในการปลูกออ้ ย ภาคผนวก พระราบบัญญัติออ้ ยและนำ้ ตาลทราย พ.ศ. 2527



1 สว่ นท่ี 1 นโยบายรฐั บาลและยุทธศาสตร์ที่เกย่ี วข้อง อ้อยโรงงาน เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศ โดยมีการส่งเสริมอุตสาหกรรมอ้อย น้ำตาลทราย ซึ่งเปน็ อุตสาหกรรมต่อเนือ่ งและอุตสาหกรรมชีวภาพ ให้เติบโตอย่างย่ังยืนมีเสถียรภาพ และมีความเชื่อมโยง หลายภาคส่วน ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีภารกิจในด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของสินค้า เกษตร และคุณภาพชีวิตของเกษตรกรให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ในส่วนนี้ผู้จัดทำได้ศึกษานโยบาย รฐั บาลและยทุ ธศาสตร์ทีเ่ ก่ียวข้องกบั การส่งเสรมิ การปลูกอ้อยโรงงานพอสังเขป ดังน้ี 1.1 ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 - 2580) มีเปา้ หมายการพฒั นาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดยยกระดับ ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทกุ มติ แิ ละในทกุ ชว่ งวัยใหเ้ ป็นคนดี เก่ง และ มีคุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตาม ยทุ ธศาสตร์ชาติ ประกอบดว้ ย 1) ความอยดู่ มี ีสขุ ของคนไทยและสงั คมไทย 2) ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั การพฒั นาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ 3) การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ของประเทศ 4) ความเทา่ เทยี มและความเสมอภาคของสงั คม 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คณุ ภาพส่ิงแวดล้อม และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ 6) ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการและการเขา้ ถึงการใหบ้ รกิ ารของภาครัฐ 1.2 แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (๓) ประเดน็ การเกษตร (พ.ศ. 2561 - 2580) โดยในแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติประเด็นการเกษตร จะให้ความสำคญั กับการยกระดับ การผลติ ให้เขา้ สคู่ ุณภาพมาตรฐาน ความปลอดภยั การใชป้ ระโยชน์จากความโดดเด่นและเอกลกั ษณ์ของสินค้า เกษตร รวมถึงความหลากหลายทางชีวภาพ ในแต่ละพ้นื ที่ การพฒั นาสนิ ค้าเกษตรและการแปรรูปสินค้าเกษตร เพอ่ื สรา้ งมูลค่าและคณุ ค่าให้กบั สินค้าเกษตร การประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ในการผลิตและ การจัดทำฟาร์ม นอกจากนี้ ยงั มีการสนับสนนุ และสง่ เสรมิ การพฒั นาระบบนิเวศของภาคเกษตร เพื่อเสริมสรา้ ง ใหก้ ารพฒั นามีการเตบิ โตอยา่ งต่อเน่ืองและเขม้ แข็ง ประกอบด้วย 6 แผนย่อย โดยสรุป ดงั น้ี 2.1 แผนยอ่ ยเกษตรอตั ลกั ษณ์พื้นถิน่ ประกอบด้วยแนวทางการพฒั นา ดังนี้ 1) ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น ด้วยการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา นวัตกรรม และเทคโนโลยกี ารพัฒนากระบวนการผลิตและบรรจุภณั ฑ์ ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานท่ี ตอบสนองต่อความตอ้ งการของผู้บรโิ ภคที่หลากหลาย 2) ส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับความสามารถของเกษตรกรและชุมชนในการพัฒนา สินค้าเกษตรอัตลกั ษณพ์ ืน้ ถน่ิ

2 3) สร้างอัตลักษณ์หรือนำเสนอเร่ืองราวเก่ียวกับแหล่งกำเนิดให้กับสินค้า รวมทั้งการสร้าง ความแตกต่างและโดดเด่นของสนิ คา้ ในแตล่ ะท้องถน่ิ และสร้างตราสินคา้ ของเกษตรอัตลกั ษณ์พนื้ ถนิ่ ตลอดจน เช่อื มโยง ไปสู่ภาคการผลติ อ่นื เปา้ หมาย สินคา้ เกษตรอัตลักษณ์พน้ื ถน่ิ มมี ลู ค่าเพิ่มขนึ้ ตัวชว้ี ัด อัตราการขยายตวั ของมูลค่าของสินค้าเกษตรอัตลักษณพ์ ื้นถิ่น (เฉลยี่ รอ้ ยละ) 2.2 แผนย่อยเกษตรปลอดภัย ประกอบด้วยแนวทางการพัฒนา ดังน้ี 1) สนบั สนุนการบริหารจดั การฐานทรพั ยากรทางเกษตรและระบบการผลติ ที่เปน็ มิตรต่อ สงิ่ แวดลอ้ ม และส่งเสริมการผลติ ในระบบเกษตรกรรมยั่งยนื 2) พัฒนาระบบคุณภาพมาตรฐานความปลอดภัยและระบบการตรวจรับรองคุณภาพจาก สถาบนั ทีม่ คี วามนา่ เชื่อถือในระดบั ต่าง ๆ พฒั นาคุณคา่ ทางโภชนาการของสนิ ค้าเกษตรและอาหาร และพฒั นา ระบบ การตรวจสอบยอ้ นกลับใหเ้ ป็นทีย่ อมรับกบั ความตอ้ งการของตลาดท้ังในประเทศและต่างประเทศ 3) ส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรกร ชุมชน ท้องถิ่น รวมถึงผู้ประกอบการ ให้สามารถผลิต สินคา้ เกษตรและอาหารที่มีคณุ ภาพมาตรฐาน และส่งเสริมการวิจยั พัฒนาสินคา้ 4) สร้างความตระหนักรู้ของผผู้ ลิตและผบู้ ริโภคถงึ ความสำคญั ของความปลอดภัย และการ สง่ เสรมิ ด้านการขยายตลาดการบรโิ ภคสนิ ค้าเกษตรและอาหารปลอดภยั 5) สนับสนุนการทำเกษตรอินทรีย์วิถีชาวบ้าน ควบคู่การขยายตลาดเกษตรอินทรีย์ทั้งใน และต่างประเทศ เปา้ หมายท่ี 1 สนิ ค้าเกษตรปลอดภัยมมี ูลคา่ เพม่ิ ขึน้ ตัวชี้วดั อัตราการขยายตวั ของมูลค่าของสินคา้ เกษตรปลอดภัย (เฉลีย่ ร้อยละ) เป้าหมายที่ 2 ผลิตภัณฑ์เกษตรปลอดภัยของไทยได้รับการยอมรับด้านคุณภาพความ ปลอดภยั และคณุ คา่ ทางโภชนาการสงู ขึ้น ตวั ชีว้ ดั ดชั นคี วามเชอ่ื ม่นั ผบู้ ริโภคดา้ นคณุ ภาพและความปลอดภัยอาหาร 2.3 แผนยอ่ ยเกษตรชวี ภาพ ประกอบดว้ ยแนวทางการพฒั นา ดังนี้ 1) สนับสนุนการใช้ประโยชน์จากการอนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพ พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ และ เชื้อจลุ ินทรีย์ 2) ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิต การแปรรูป และการพัฒนาสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ จากฐานเกษตรกรรมและฐานทรัพยากรชีวภาพ ยกระดับให้เกษตรกรเป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจการเกษตร ขนาดกลางและเลก็ และสนบั สนนุ ใหม้ ีการนำวัตถดุ ิบเหลอื ทิง้ ทางการเกษตรมาใช้ในอุตสาหกรรมและพลังงาน ท่เี กี่ยวเนอื่ ง กับชีวภาพไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3) ส่งเสรมิ การปลกู พืชสมุนไพรให้เป็นพืชเศรษฐกจิ ตามความเหมาะสมของสภาพแวดล้อม ในแต่ละพื้นที่ มุ่งแปรรูปเพื่อป้อนในตลาดอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร สินค้าประเภทโภชนาเภสัช ผลิตภัณฑ์ ประเภทเวชสำอาง และผลิตภัณฑ์กลุ่มเครื่องสำอาง 4) ส่งเสริมการทำการตลาดผ่านการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑจ์ ากเกษตร ชวี ภาพ ตลอดจนประโยชนแ์ ละสรรพคณุ ของสมุนไพรไทย เปา้ หมายท่ี 1 สนิ คา้ เกษตรชีวภาพมมี ลู ค่าเพม่ิ ข้นึ ตวั ชว้ี ัด อตั ราการขยายตัวของมลู คา่ ของสนิ ค้าเกษตรชวี ภาพ (เฉลยี่ รอ้ ยละ) เป้าหมายที่ 2 วิสาหกิจการเกษตรจากฐานชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นมีการจัดตั้ง ทุกตำบล เพม่ิ ขนึ้ ตัวช้วี ัด จำนวนวิสาหกิจการเกษตรขนาดกลางและเลก็ และผลติ ภัณฑ์จากฐานชวี ภาพ

3 2.4 แผนยอ่ ยเกษตรแปรรูป ประกอบดว้ ยแนวทางการพฒั นา ดังน้ี 1) สง่ เสรมิ การพัฒนาและใชว้ ัตถุดบิ และผลิตผลทางการเกษตรท่ีเช่ือมโยงไปสู่กระบวนการ แปรรูปในอุตสาหกรรมตอ่ เนือ่ งท่เี กี่ยวขอ้ ง 2) ส่งเสริมการแปรรูปโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมถึงองค์ความรู้และภูมิ ปญั ญาทีท่ นั สมยั มปี ระสทิ ธิภาพในการแปรรูป สร้างความแตกต่าง และเพ่มิ มลู คา่ ในผลิตภัณฑ์และสินคา้ เกษตร 3) สนับสนุนการนำเทคโนโลยี นวัตกรรมสมัยใหม่มาใช้ในกระบวนการผลิตหลังการ เก็บเกี่ยว และการแปรรปู 4) ส่งเสรมิ การสร้างตราสนิ คา้ และขยายชอ่ งทางการตลาดด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสรา้ งเครือ่ งหมายทางการคา้ และการปกป้องสทิ ธิในทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา เป้าหมาย สินค้าเกษตรแปรรปู และผลติ ภัณฑ์มมี ลู ค่าเพม่ิ ขึ้น ตวั ชวี้ ัด อตั ราการขยายตวั ของมลู คา่ สินคา้ เกษตรแปรรูปและผลิตภัณฑ์ (เฉลยี่ ร้อยละ) 2.5 แผนย่อยเกษตรอัจฉรยิ ะ ประกอบดว้ ยแนวทางการพฒั นา ดังน้ี 1) สง่ เสรมิ การพัฒนาพนั ธพุ์ ืช พันธส์ุ ตั ว์ ปจั จัยการผลติ เครอ่ื งจักรกลและอปุ กรณ์การเกษตร รวมทง้ั เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการเกษตรแหง่ อนาคต 2) พัฒนาศักยภาพเกษตรกรในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมทาง การเกษตร การจัดการภาคเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม องค์ความรู้ด้านการผลิตและการตลาด การใช้ ประโยชน์ จากเทคโนโลยอี วกาศและภมู ิสารสนเทศ เทคโนโลยดี ิจทิ ัล ฐานข้อมลู สารสนเทศทางการเกษตรต่าง ๆ 3) สนบั สนนุ และสง่ เสริมการทำระบบฟารม์ อัจฉริยะ ควบคูก่ บั การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและ การใช้ประโยชน์จากขอ้ มูลในการวางแผนการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตสนิ คา้ ที่สอดคลอ้ งกบั ความต้องการ ของตลาด เป้าหมายท่ี 1 สินคา้ ท่ีได้จากเทคโนโลยสี มยั ใหม/่ อจั ฉรยิ ะมมี ูลคา่ เพิ่มขึน้ ตัวช้ีวดั มลู คา่ สนิ ค้าทมี่ กี ารใช้เทคโนโลยีสมยั ใหม่/อัจฉริยะ (เฉล่ยี รอ้ ยละ) เป้าหมายที่ 2 ผลผลิตต่อหน่วยของฟาร์มหรือแปลงที่มีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่/ อัจฉรยิ ะเพ่ิมขนึ้ ตัวชี้วัด ผลผลิตต่อหน่วยของฟาร์มหรือแปลงที่มีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่/อัจฉริยะ (เฉลีย่ รอ้ ยละ) 2.6 แผนย่อยการพฒั นาระบบนเิ วศการเกษตร ประกอบดว้ ยแนวทางการพัฒนา ดังน้ี 1) เพิ่มประสิทธิภาพและการจัดการฐานทรัพยากรทางการเกษตร อนุรักษ์และรักษาฐาน ทรพั ยากรทางการเกษตรท่สี ำคญั การค้มุ ครองทด่ี ินการเกษตร การจดั การนำ้ เพ่ือการเกษตรและชุมชนอย่างมี ประสิทธิภาพ ตลอดจนใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลทรัพยากรทางการเกษตร และการบริหารจัดการพื้นที่ เกษตรกรรมอย่างเหมาะสม 2) สร้างความมั่นคงอาหารให้กับครัวเรือนเกษตรกรและชุมชน สนับสนุนให้ชุมชนทางการ เกษตรของท้องถิ่น ส่งเสริมการทำการเกษตรตามหลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนให้ หน่วยงานของรฐั หรือท้องถน่ิ ในพื้นท่มี ีบทบาทดำเนนิ การให้เกิดความมั่นคงดา้ นอาหารในมติ ิตา่ ง ๆ รวมถงึ การ ดูแลโภชนาการของประชาชนในทุกช่วงวัย สร้างเสถียรภาพด้านรายได้ของเกษตรกรและประชาชน การมี มาตรการรองรับสำหรับผ้มู ีรายได้นอ้ ยให้สามารถเข้าถึงสนิ ค้าเกษตรและอาหารได้อยา่ งท่ัวถึง และการติดตาม การเปล่ียนแปลงของราคาอาหารและผลกระทบ

4 3) พัฒนาระบบขอ้ มูลสารสนเทศ และการเฝ้าระวังและเตือนภัยสินค้าเกษตร ส่งเสริมให้มี การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศการเกษตรที่มีมาตรฐานและครบวงจร ทั้งเรื่องเกษตรกร ข้อมูล อุปสงค์และอุปทานสินค้าเกษตรที่มุ่งเน้นการตลาดนำการผลิต ข้อมูลพื้นที่เกษตรกรรม ข้อมูลมูลค่าสินค้า เกษตร การพัฒนาระบบติดตามเฝ้าระวังและวางระบบเตือนภัย กลไกการจัดการปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นกับ สนิ ค้าเกษตร และผลิตภณั ฑ์ในมิติต่าง ๆ ท้งั ในดา้ นอุปสงค์และอปุ ทาน รวมทัง้ ใหเ้ กษตรกรและผู้ใช้ประโยชน์ สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มูลไดง้ ่าย ตลอดจนเชื่อมโยงขอ้ มูลระหว่างหนว่ ยงานท่ีมีประสิทธิภาพ วเิ คราะห์แนวโน้มการ ผลิตสินคา้ เกษตร 4) ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกรเชือ่ มโยงไปถึงผู้ประกอบการ ภาคเอกชน และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ในการพฒั นาด้านการผลิตและด้านการตลาดของสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ สนับสนุนการขยาย เครือข่าย ธุรกิจของวิสาหกิจชุมชนและสหกรณ์ สนับสนุนให้มีโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุนภายใต้เงื่อนไข ที่ผอ่ นปรนมากขนึ้ และมกี ลไกในการดแู ลให้เกษตรกรไดร้ ับประโยชน์จากการรวมกลุ่มและการเพ่มิ มลู คา่ สินค้า เกษตรอยา่ งแท้จริง 5) วิจัยพฒั นาเทคโนโลยีและนวัตกรรมสนับสนุนภาคเกษตร สนบั สนนุ และส่งเสริมการวิจัย พื้นฐาน รวมถึงการวิจัยเชิงประยุกต์ในด้านต่าง ๆ พัฒนาศักยภาพเกษตรกรในการเข้าถึงองค์ความรู้และ เทคโนโลยีดา้ นการผลติ และการตลาด เทคโนโลยีดิจิทลั และข้อมูลสารสนเทศ 6) พฒั นาคุณภาพมาตรฐานสินค้าและผลิตภัณฑ์ ยกระดับการผลติ สินค้าและผลิตภัณฑ์ให้มี คุณภาพมาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการของตลาดหรือกลุ่มผู้บริโภค จัดให้มีระบบการตรวจรับรอง คุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตรอย่างเพียงพอ มีขั้นตอนการตรวจสอบที่รวดเรว็ และมีราคาเหมาะสม รวมถึง การวางระบบตรวจสอบย้อนกลับ 7) ส่งเสริมด้านการตลาดสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์การเกษตร โดยใช้เทคโนโลยีและ เครอื่ งมือ ต่างๆ ในการส่งเสรมิ และขยายตลาดสินคา้ เกษตรและผลิตภัณฑ์เกษตรในรปู แบบต่างๆ 8) อำนวยความสะดวกทางการค้าและพัฒนาระบบโลจิสตกิ สก์ ารเกษตร เพ่มิ ประสิทธิภาพ การใหบ้ ริการทางการค้าและอำนวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการใหม้ ีความรวดเร็วและไมเ่ ปน็ ภาระค่าใช้จ่าย ในการทำธุรกรรมทางการค้า และเตรียมความพร้อมของสถานที่เก็บรวบรวม/รักษาคุณภาพสินค้าและ ผลติ ภัณฑ์เกษตร ท่ไี ด้คณุ ภาพและมาตรฐาน เป้าหมายที่ 1 ประสทิ ธภิ าพการผลิตสนิ ค้าเกษตรต่อหนว่ ยมีการปรบั ตัวเพิม่ ข้ึน ตัวชี้วดั มลู ค่าผลผลิตสินคา้ เกษตรต่อหน่วย (เฉลี่ยรอ้ ยละ) เป้าหมายที่ 2 สถาบันเกษตรกร (สหกรณ์ วิสาหกิจชุมชน และกลุ่มเป้าหมาย) ที่ข้ึน ทะเบียน กบั กระทรวงเกษตรและสหกรณม์ คี วามเข้มแข็งในระดับมาตรฐานเพ่มิ ขน้ึ ตัวชี้วัด สถาบันเกษตรกร (สหกรณ์ วิสาหกิจชุมชน และกลุ่มเกษตรกร) ที่ขึ้นทะเบียน กับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีความเขม้ แขง็ ในระดบั มาตรฐาน (เฉลยี่ รอ้ ยละ) 1.3 ยทุ ธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดทำยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) เพ่อื เปน็ กรอบการดำเนนิ งานใน การพฒั นาภาคการเกษตรใหส้ ามารถดำเนินการไดอ้ ย่าง ต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาที่สำคัญ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 แผนปฏิรูปของ สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) และยังสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ซึ่งเป็น

5 เป้าหมายการพัฒนาในระดับโลกขององค์การสหประชาชาติ โดยยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) มุ่งในการแกไ้ ขจุดอ่อนและเสรมิ จุดแข็งให้เอือ้ ต่อการพัฒนาภาคการเกษตรในระยะยาว เพ่ือบรรลุวิสยั ทัศน์ “เกษตรกรมน่ั คง ภาคการเกษตรมั่งค่ัง ทรพั ยากรการเกษตรยั่งยนื ” โดยมีแนวทางไปสู่ เปา้ หมาย คือ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 สรา้ งความเข้มแขง็ ใหก้ ับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 เพมิ่ ประสิทธิภาพการผลติ และยกระดับมาตรฐานสนิ คา้ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มความสามารถในการแขง่ ขันภาคการเกษตรดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ท่ี 4 บริหารจัดการทรพั ยากรการเกษตรและส่งิ แวดลอ้ มอย่างสมดุลและยง่ั ยนื ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ 1.4 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 เป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญในการเช่ือมต่อกับ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ในลักษณะการแปลงยุทธศาสตร์ระยะยาวสู่การปฏิบัติ โดยในแต่ละยุทธศาสตร์ของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ได้กำหนดประเด็นการพัฒนาพร้อมทั้งแผนงาน/โครงการสำคัญที่ต้องดำเนินการให้ เห็นผลเป็นรูปธรรมในช่วง 5 ปีแรกของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อเตรียมความพร้อมคน สังคม และ ระบบเศรษฐกิจของประเทศให้สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม ซ่งึ ยุทธศาสตร์ทเี่ กย่ี วข้องกับภาคการเกษตร ไดแ้ ก่ ยทุ ธศาสตรก์ ารสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกิจและแข่งขัน ได้อย่างยั่งยนื โดยมแี นวทางการพัฒนาที่มีความสำคัญสงู และสามารถผลกั ดันสู่การปฏบิ ัติ ดงั น้ี 4.1 เสริมสร้างฐานการผลิตภาคเกษตรให้เขม้ แขง็ และย่ังยนื โดยพัฒนาและบำรงุ รักษาแหล่ง น้ำเพ่อื การเกษตร จดั ระบบการปลูกพชื ใหส้ อดคลอ้ งปริมาณน้ำทหี่ าได้ คุ้มครองพื้นทีเ่ กษตรกรรมที่มีศักยภาพ และขยายโอกาสในการเข้าถึงพื้นที่ทำกินของเกษตรกรให้มากขึ้น และส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ในการ รวบรวม คดั เลอื ก และปรบั ปรงุ พันธุกรรมพืช สตั ว์ สตั ว์น้ำ และจุลนิ ทรียข์ องทอ้ งถิน่ 4.2 สร้างและถ่ายทอดองค์ความรู้ทางวชิ าการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม และ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตรแบบมีส่วนร่วม โดยส่งเสริมการวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิต วิจัยและพัฒนา เทคโนโลยี การผลิตและรูปแบบผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปใหม่ๆ เพื่อสรา้ งมลู ค่าเพิม่ และความหลากหลายของ สินค้า และพฒั นา รปู แบบและกระบวนการถ่ายทอดความรู้ เพ่อื ปรับระบบการผลิตที่เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่ และการเปลยี่ นแปลงของสภาพภมู อิ ากาศ 4.3 ยกระดับการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารเข้าสู่ระบบมาตรฐานและสอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดและการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะ โดยพัฒนาระบบมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารให้ เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ได้คุณภาพมาตรฐานและความ ปลอดภยั และการบรโิ ภคอาหารเพ่ือสุขภาวะ และขบั เคล่อื นการผลติ สนิ คา้ เกษตรอินทรียอ์ ยา่ งจรงิ จงั 4.4 เสรมิ สร้างขีดความสามารถการผลิตในห่วงโซอ่ ุตสาหกรรมเกษตร โดยเสริมสร้างศักยภาพ ของสถาบันเกษตรกรและการรวมกลุ่ม ส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตพืช ปศุสัตว์ และการทำประมงให้สอดคล้องกับ ศักยภาพพื้นที่และความต้องการของตลาด (Zoning) วิจัยพัฒนาและใช้เทคโนโลยีและเครื่องจักรสมัยใหม่ใน กระบวนการผลิต สนบั สนนุ การสร้างมูลค่าเพ่ิมสินค้าเกษตรและการใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรชีวภาพเพ่ือ ต่อยอดองค์ความรู้และพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง บริหารจัดการผลผลิตอย่างเป็นระบบครบวงจร พัฒนากลไก จัดการความเส่ียงที่กระทบตอ่ สนิ ค้าเกษตร และสรา้ งความร่วมมอื ด้านการเกษตรกับประเทศเพอ่ื นบ้าน

6 4.5 สง่ เสริมและเรง่ ขยายผลแนวคิดการทำการเกษตรตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยส่งเสริมให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายการเกษตร ส่งเสริมขยายผลและพัฒนาการผลิตใน ระบบเกษตรกรรมยั่งยนื และควบคุมการใช้สารเคมีการเกษตรทเี่ ปน็ อันตรายต่อสุขภาพและส่ิงแวดล้อมอย่าง เคร่งครดั 4.6 พัฒนาปัจจัยสนับสนุนในการบริหารจัดการภาคเกษตรและสนับสนุนเกษตรกรรุ่นใหม่ โดยพัฒนาฐานข้อมูลด้านอุปสงค์และอุปทานด้านการเกษตร สร้างบุคลากรด้านการเกษตร และปรับปรุง กฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การเกษตรใหท้ ันสมัย 1.5 นโยบายรฐั บาลท่เี กย่ี วขอ้ งกบั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1.5.1 นโยบายหลัก 12 ดา้ น โดยในทนี่ ี้ไดย้ กประเด็นทเ่ี กยี่ วข้องกับการเกษตร ดังนี้ 1) การพัฒนาเศรษฐกจิ และความสามารถในการแข่งขันของไทย 1.1 การพฒั นาภาคอุตสาหกรรม พฒั นาอุตสาหกรรมเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green (BCG) Economy) โดยนำความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและนวตั กรรมมาพัฒนาต่อยอด และสร้างมูลค่าเพิ่มจากทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรมในการผลิตสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม และบรกิ ารของท้องถนิ่ ปรับระบบการบริหารจัดการการผลิตและระบบโลจิสติกส์ ส่งเสริมการ ใช้พลังงานทดแทน การใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาเพิ่มมูลค่า การบริหารจัดการของเสีย อุตสาหกรรมและขยะแบบคลัสเตอร์ระหว่างอุตสาหกรรมและชุมชนในแต่ละพื้นที่ของจังหวัด กลุ่มจังหวัด เพื่อลดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ พร้อมทั้งให้ความสำคัญกับกฎระเบียบทางด้านสิ่งแวดล้อม ในระดับประเทศและระหวา่ งประเทศ 1.2 พฒั นาภาคเกษตร 1) รักษาเสถยี รภาพราคาสินค้าเกษตรและรายไดใ้ หก้ ับเกษตรกรในสินค้าเกษตร สำคัญ อาทิ ข้าว ยางพารา มันสำปะหลัง ปาล์ม อ้อย และข้าวโพด โดยผ่านเครื่องมือและมาตรการ ที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ ไม่เป็นภาระกับงบประมาณแผ่นดินเกินสมควร จัดให้มีระบบประกันภัยสินค้า เกษตร การพัฒนาระบบตลาดที่เชื่อมโยง ผลผลิตของเกษตรกรถึงผู้ประกอบการแปรรูปและผู้บริโภคอย่าง เป็นธรรม การใช้เทคโนโลยแี ละเครอื่ งมือในการขยายและเข้าถงึ ตลาดในรูปแบบต่างๆ การอำนวยความสะดวก ทางการค้า และการพัฒนาระบบโลจิสติกส์การเกษตร ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ 2) ลดตน้ ทนุ และเพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลติ ทเี่ หมาะสมและไมก่ อ่ ใหเ้ กิดภาระทาง การเงินการคลงั ของภาครฐั โดยจัดให้มีมาตรการที่เก่ียวข้องกบั การเพิ่มรายได้และลดต้นทนุ การเกษตรครบ วงจร ต้ังแตก่ ารปรับโครงสร้างต้นทนุ การผลิต อาทิ เมล็ดพนั ธุ์ พื้นท่เี พาะปลูก ปุ๋ย เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ การเกษตร แหลง่ น้ำ และระบบไฟฟา้ เพือ่ การเกษตร การลดภาระหน้สี ินโดยใหเ้ กษตรกรเข้าถงึ แหล่งเงินทุนใน ระบบที่มีต้นทุนต่ำ การลดความเสี่ยงจากราคาพืชผลทางการเกษตร การพัฒนาทักษะอาชีพเสริมรายได้ รวมทัง้ การวจิ ยั พัฒนาเทคโนโลยี การเกษตรเพื่อเพมิ่ ผลผลิต และการปรบั เปลย่ี นการผลิตให้เหมาะสมกับฐาน ทรัพยากรในพ้ืนที่และความต้องการของตลาด นำระบบข้อมูลสารสนเทศการเกษตร ระบบแผนที่เกษตรเพอ่ื การจัดเขตพืน้ ที่เกษตรกรรม (Zoning) และส่งเสริมกลไกอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน รวมทั้งระบบการบรหิ าร จัดการเชงิ รกุ มาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการ การผลิตสนิ ค้าเกษตรให้เหมาะสมกับพ้ืนที่

7 3) พัฒนาองคก์ รเกษตรกรและเกษตรรนุ่ ใหม่ โดยเพ่มิ ทักษะการประกอบการและ พัฒนาความเชื่อมโยงของกลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และสหกรณ์ในทุกระดับ โดย เฉพาะด้านการตลาด การค้าออนไลน์ ระบบบัญชี เพ่ือขยายฐานการผลิตและฐานการตลาดของสถาบันเกษตรให้เข้มแข็ง มีความสามารถในการแข่งขัน รวมทั้งการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ไปสู่เกษตรกรอัจฉริยะ เพื่อการพัฒนาภาค เกษตรได้อย่างมั่นคงต่อไปในอนาคต 4) ส่งเสริมการสร้างมลู ค่าเพมิ่ ให้กับสนิ คา้ เกษตร เพื่อยกระดบั รายไดแ้ ละคณุ ภาพ ชวี ติ ให้กับเกษตรกร โดยใชป้ ระโยชน์จากฐานความหลากหลายทางชีวภาพ การลด ละ เลกิ ใช้ยาปราบศัตรูพืช โดยเร็ว โดยต้องจัดหาสารทดแทนที่มีประสิทธิภาพเพียงพอและเป็นที่ยอมรับของเกษตรกร การส่งเสริมการ ผลิตสนิ ค้าเกษตร ทม่ี มี ลู คา่ เพม่ิ และโอกาสทางเศรษฐกิจ อาทิ เกษตรอินทรีย์ เกษตรอตั ลกั ษณ์พ้ืนถ่ิน เกษตร ปลอดภัย เกษตรชีวภาพ และเกษตรแปรรปู เพื่อต่อยอดไปสู่เกษตรอุตสาหกรรม ส่งเสริมการวิจัยพัฒนาและ ถา่ ยทอดเทคโนโลยีในการพัฒนาสินคา้ เกษตรและผลิตภัณฑ์ รวมทงั้ ส่งเสริมการผลติ สนิ ค้าเกษตรให้ได้คุณภาพ มาตรฐานและความปลอดภยั 5) ดูแลเกษตรกรผู้มีรายไดน้ อ้ ยให้สามารถเข้าถึงและใชป้ ระโยชน์ในที่ดินทำกิน แหล่งเงินทุน โครงสร้างพื้นฐาน และปัจจัยการผลิตต่าง ๆ รวมทั้งดูแลและลดความเสียหายจากการทำ การเกษตร ในพื้นทป่ี ระสบภัยทางธรรมชาติซ้ำซาก โดยกำหนดเขตพืน้ ทเ่ี กษตรกรรม (Zoning) 6) สง่ เสรมิ การปลกู ไม้มคี า่ เป็นพชื เศรษฐกิจ โดยการสนับสนุนพนั ธุ์กลา้ ไม้ และให้ ความรู้ ในการบริหารจัดการเชงิ พาณิชย์อย่างเหมาะสม ทง้ั ในด้านการปลูก บำรุงรักษา ดูแล และการแปรรูป เพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่ม ซงึ่ จะชว่ ยเพ่ิมรายได้ใหแ้ ก่เกษตรกรอีกทางหนง่ึ 7) ส่งเสริมการทำปศุสัตว์ให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น โดยส่งเสริมการตลาด วิจัยและพัฒนาพันธุ์สัตว์เศรษฐกิจและสัตว์พื้นบ้าน อาทิ โคเนื้อ แพะ และแกะ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนา มาตรฐานการผลิต และคุณภาพของผลิตภัณฑใ์ ห้เป็นทีย่ อมรับในระดับสากลและสอดคล้องกบั ความต้องการ ของผ้บู รโิ ภค ทั้งภายใน ประเทศและตา่ งประเทศ รวมทงั้ สนับสนนุ การสง่ ออกผลิตภณั ฑด์ งั กล่าวไปส่ตู ลาดโลก 8) ฟ้ืนฟูและสนับสนุนอาชพี การทำประมงใหเ้ กิดความยง่ั ยืนบนพ้ืนฐานของการ รักษา ทรัพยากรทางการประมงและทรัพยากรทางทะเลให้มีความสมบูรณ์อย่างต่อเนื่อง โดยเพิ่มขีด ความสามารถการทำประมงอย่างถูกต้องในกลุ่มประมงพื้นบ้านและเชิงพาณิชย์ การเข้าถึงแหล่งทุนเพื่อเพิ่ม ศักยภาพในการสร้างรายได้และลดต้นทุนการทำประมง ลดอุปสรรคในการประกอบอาชีพ ส่งเสริมการ รวมกลุ่มประมงชายฝั่งและประมงพ้ืนบา้ น เพอ่ื สรา้ งพลังในการประกอบอาชพี ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ในพื้นที่ และเรง่ พัฒนาการเพาะเลี้ยงในทะเลท่สี อดคลอ้ งกบั แผนการใชป้ ระโยชนเ์ ชงิ พ้ืนท่ี รวมถงึ การนำเทคโนโลยีและ นวตั กรรมจากภมู ปิ ัญญาในการแปรรูปมาเพม่ิ มลู คา่ ผลติ ภณั ฑ์และสินคา้ ประมง 2. การพฒั นาสร้างความเข้มแข็งจากฐานราก ส่งเสรมิ วสิ าหกิจชุมชนและผลิตภัณฑ์ชุมชน สร้างมลู คา่ เพิม่ ธุรกิจชุมชนผ่านอัตลักษณ์ของ พื้นที่ โดยส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมยุคใหม่ของไทย ผู้ประกอบการหนึ่งตำบลหน่งึ ผลิตภัณฑ์ และสหกรณ์ในชุมชนให้สามารถใช้ประโยชน์และต่อยอดจากสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และทรัพยากรในพืน้ ที่ รวมทง้ั เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม เพือ่ สรา้ งสรรค์คุณคา่ ผลิตภัณฑแ์ ละบริการ ของชุมชนที่มีอัตลักษณ์ และมีมาตรฐานการผลิตตามหลักสากล ซึ่งจะช่วยสร้างรายได้สู่ชุมชนอย่างทั่วถึง นำไปสู่การสร้างเศรษฐกิจชุมชนที่สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนและมีบทบาทต่อระบบเศรษฐกิจของ จงั หวดั มากขนึ้

8 3. การฟื้นฟูทรพั ยากรธรรมชาติและการรักษาสง่ิ แวดล้อมเพ่อื สรา้ งการเติบโตอย่างย่ังยนื 3.1 ปรับปรงุ ระบบทด่ี ินทำกนิ และลดความเหล่ือมลำ้ ดา้ นการถอื ครองทดี่ ิน โดยจัดสรรท่ีดิน ทำกนิ และท่อี ยู่อาศยั ให้แกร่ าษฎรท่ียากไรแ้ ละเกษตรกรตามหลักการของคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ การกระจายสิทธกิ ารถือครองให้แก่ผู้ท่ีอยู่ในพื้นที่ทีไ่ ม่ได้รกุ ล้ำ และมีมาตรการป้องกนั การเปลี่ยนมือไปอย่ใู น ครอบครองของผู้ที่มิใช่เกษตรกรและผู้ยากจน จัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการที่ดิน จัดทำ หลักฐานการถือครองที่ดินของรัฐทุกประเภท จัดทำแผนที่แสดงแนวเขตที่ดินของรัฐให้ชัดเจน และเร่งแก้ไข ปญั หาเขตท่ดี นิ ทบั ซอ้ นและแนวเขตพนื้ ที่ป่าที่ไมช่ ัดเจน เพ่อื ลดขอ้ ขดั แย้งระหว่างประชาชนกบั เจ้าหน้าทีร่ ัฐ 3.2 ส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำทั้งระบบ แหล่งน้ำชุมชนและทะเล โดยเชื่องโยงกับแผน บรหิ ารจดั การน้ำ 20 ปี ของประเทศ เพ่ิมผลิตผลในการจัดการและการใชน้ ้ำทกุ ภาคส่วน จดั ให้มีน้ำสะอาดใช้ ทกุ ครวั เรือนในชุมชนชนบท ในปริมาณ คณุ ภาพ และราคา ท่เี ขา้ ถึงได้ มรี ะบบการจัดการน้ำชมุ ชนที่เหมาะสม พร้อมทั้งส่งเสริม ฟื้นฟู อนุรักษ์ พื้นที่ต้นน้ำ พื้นที่ชุ่มน้ำ พื้นที่พักน้ำ แหล่งน้ำธรรมชาติ แอ่งน้ำบาดาล การ ระบายนำ้ ชายฝง่ั เพ่มิ ผลติ ภาพของนำ้ ท้ังระบบ และสรา้ งมูลค่าเพิ่มจากการใช้นำ้ ให้ทัดเทียมระดับสากล ดูแล ภยั พบิ ัตจิ ากน้ำ พฒั นาการจดั การนำ้ เชงิ ลมุ่ น้ำท้งั ระบบ และเพิ่มพนื้ ท่ชี ลประทาน เพื่อลดความเหล่ือมล้ำและ สร้างระบบจัดสรรน้ำที่เป็นธรรม รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมบริหารจัดการน้ำในชุมชนตามแนว พระราชดำริ 3.3 แก้ไขปัญหาก๊าซเรือนกระจกและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมุ่งเน้นการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก สร้างสังคมคาร์บอนต่ำและปลอดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน กำหนดมาตรการควบคุมการเผาพื้นที่เพื่อทำการเพาะปลูก ปรับปรุงการบริหารจัดการภัยพิบัติทั้ง ระบบ และการสร้างความรู้ความเข้าใจของประชาชนในการรับมือและปรับตัว เพื่อลดความเสียหายจากภัย ธรรมชาติและผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สนับสนุนการลงทุนในโครงสร้าง พื้นฐานของภาครัฐและภาคเอกชนที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการ พัฒนาปรับปรุงระบบบริหารจัดการต่าง ๆ ให้มีประสทิ ธภิ าพ พร้อมทั้งปรบั ปรุงกฎหมายที่เก่ียวขอ้ ง เพื่อมุ่งสู่ เป้าหมายตามพันธกรณีระหวา่ งประเทศทไี่ ทยเขา้ รว่ มและใหส้ ัตยาบนั ไว้ 3.4 พัฒนากลไกแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยให้ ความสำคัญกับการจัดทำระบบการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์มาใช้เป็นเครื่องมือเชิงนโยบาย ในการเพิ่มขีดความสามารถในการกำหนดยุทธศาสตร์การพฒั นาร่วมกันของภาคสว่ นต่าง ๆ ในสงั คม และบูรณา การการทำงานระหว่างหน่วยงานภาครัฐทั้งระดับประเทศรายสาขาและเชิงพื้นที่ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาอย่าง ย่ังยืน ลดความขัดแยง้ ระหว่างยุทธศาสตร์ต่าง ๆ โดยเฉพาะระหว่างยุทธศาสตร์รายสาขากับยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ 1.5.2 นโยบายเร่งดว่ น 12 เรื่อง โดยในทนี่ ้ีไดย้ กประเด็นที่เกีย่ วข้องกับการเกษตร ดังน้ี 1) การแก้ไขปัญหาในการดำรงชีวิตของประชาชน โดยลดข้อจำกัดในการประกอบอาชีพของ คนไทย การจัดการระบบการขนส่งสาธารณะผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล ทบทวนรูปแบบและมาตรฐานหาบเร่ แผงลอยในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เพื่อยังคงเอกลักษณ์ของเมืองหลวงแห่งร้านอาหารริมถนน ทำให้บ้านเมืองเป็นระเบียบเรียบร้อยและสวยงาม แก้ไขปัญหาหนี้สินและลดภาระหนี้สินของประชาชนใน กองทุนหมู่บ้าน กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาหนี้สินนอกระบบ การฉ้อโกงหลอกลวงประชาชนโดย ครอบคลุมไปถึงการฉ้อโกงหลอกลวงผ่านระบบออนไลน์ ปรับปรุงระบบภาษีและการให้สินเชื่อที่เอื้อให้ ประชาชนสามารถมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเองได้ตามความพร้อม ปรับปรุงระบบที่ดินทำกินให้เกษตรกร สามารถเข้าถึงได้ จัดทำแนวทางการกำหนดสิทธิและการจัดการสิทธิในที่ดินของเกษตรกรที่เหมาะสม

9 ลดอปุ สรรคในธรุ กิจประมงพาณิชย์และประมงชายฝั่ง รวมทั้งช่วยเหลือดูแลประมงพื้นที่โดยยังต้องสอดคล้อง กับมาตรฐานด้านการประมงขององคก์ รระหวา่ งประเทศ 2. การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและพัฒนานวัตกรรม โดยจัดพื้นที่การเกษตรให้สอดคล้อง กับระบบบริหารจัดการน้ำและคุณภาพของดินตาม Agri-Map กำหนดเป้าหมายรายได้เกษตรกรให้สามารถ มีรายได้จากผลผลิตทางการเกษตรท่มี ีคุณภาพในสินคา้ เกษตรสำคญั อาทิ ขา้ ว ยางพารา มันสำปะหลัง ปาล์ม ออ้ ย และข้าวโพด ดว้ ยการชดเชยการประกนั รายได้ สง่ เสรมิ ระบบประกนั ภัยสินค้าเกษตร หรือเครื่องมือทาง การเงินสมัยใหม่ที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบทางวินัยการเงินการคลังของภาครัฐในระยะยาว ส่งเสริมเกษตร พันธสัญญา และศึกษารูปแบบระบบแบง่ ปันผลกำไรสินค้าเกษตรทีเ่ ป็นธรรมให้แก่เกษตรกร แก้ไขปัญหาข้าว ครบวงจร ส่งเสริมการใชย้ างพาราในภาคอุตสาหกรรมและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ส่งเสริม การใช้ผลผลิตทางการเกษตรในอุตสาหกรรมพลังงาน สร้างนวัตกรรมและเครื่องมอื ทางการเกษตรในราคาท่ี เข้าถงึ ได้เพอ่ื ลดต้นทนุ การผลิต ควบคุมมาตรฐานการใช้สารเคมีหรอื ปยุ๋ เคมีในการเกษตรเพอื่ นำไปสูก่ ารลด ละ เลิกการใช้สารเคมีหรอื ป๋ยุ เคมี โดยจดั หาสง่ิ ทดแทนที่มีประสิทธภิ าพและเปน็ ทยี่ อมรับของเกษตรกร ต่อยอด ภูมิปญั ญาและความรู้ของปราชญช์ าวบ้านในการสร้างนวตั กรรมผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป รวมทงั้ เร่งศึกษาวิจัย และพฒั นาเทคโนโลยีการใชก้ ญั ชา กญั ชง และพืชสมุนไพรในทางการแพทย์ อุตสาหกรรมทางการแพทย์ และ ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ เพื่อสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและการสร้างรายได้ของประชาชน โดยกำหนดกลไกการ ดำเนนิ งานทีร่ ดั กมุ เพื่อมใิ ห้เกดิ ผลกระทบทางสงั คมตามทกี่ ฎหมายบญั ญตั ไิ วอ้ ย่างเครง่ ครัด 3. การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสู่อนาคต โดยต่อยอดอุตสาหกรรมเป้าหมายและ วางรากฐานการพัฒนาภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว ดึงดูดการ ลงทุนของภาคเอกชนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเขตเศรษฐกิจพิเศษ เมืองอัจฉริยะ และการลงทุนใน โครงสร้างพื้นฐานทีท่ ันสมัย รวมทั้งวางรากฐานการพัฒนาเทคโนโลยีสื่อสารไร้สายในระบบ 5G ควบคู่ไปกับ การพัฒนาทักษะของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม และชุมชน ในการเข้าถึงตลาดในประเทศและ ตลาดโลกผ่านแพลตฟอรม์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีสื่อสารสมัยใหม่ในการ ให้บริการสาธารณสุขและการศึกษาทางไกล การสร้างผู้ประกอบการอัจฉริยะทั้งในส่วนผู้ประกอบการขนาด กลางและขนาดยอ่ ม เกษตรกร รวมถงึ ผ้ปู ระกอบการยุคใหม่ พรอ้ มทัง้ สง่ เสริมการใช้ปัญญาประดิษฐเ์ พ่อื เป็นฐาน ในการขับเคล่ือนประเทศด้วยปญั ญาประดษิ ฐใ์ นอนาคต 4. การจัดเตรียมมาตรการรองรับภัยแล้งและอุทกภัย ตั้งแต่การป้องกันกอ่ นเกิดภัย การให้ความ ช่วยเหลือระหว่างเกิดภัย และการแก้ไขปัญหาในระยะยาว โดยจัดระบบติดตามสถานการณ์อย่างต่อเนื่องและ กำหนดมาตรการที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนให้ได้มากที่สุดและทันท่วงที รวมทงั้ พัฒนาการปฏิบัติการฝนหลวงใหม้ ีประสทิ ธภิ าพยิ่งขึน้ 1.6 ยทุ ธศาสตรอ์ ้อยโรงงาน และน้ำตาลทราย (Roadmap) พ.ศ. 2558 – 2569 ยุทธศาสตร์สินค้าเกษตรเป็นรายพืชเศรษฐกิจ 4 ชนิดสินค้า (Roadmap) คือ ข้าวโพดเลี้ยง สัตว์ มันสำปะหลัง ปาล์มน้ำมัน และอ้อย ซึ่งกระทรวงอุตสาหกรรม โดยสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและ นำ้ ตาลทราย ได้รบั มอบหมายให้จัดทำยุทธศาสตรอ์ ้อยโรงงานและน้ำตาลทราย (Roadmap) โดยพิจารณาถึง สถานการณ์การผลิตและแนวโน้มความต้องการใช้ใน 12 ปี รวมถึงปัญหา/อุปสรรคและการวิเคราะห์กลุ่ม ประเทศอาเซียน โดยยุทธศาสตร์อ้อยโรงงานและน้ำตาลทราบ (Roadmap) พ.ศ. 2558-2569 ได้แบ่งการ ดำเนินงานเป็น 4 ระยะ ได้แก่ ระยะเร่งด่วน (น้อยกว่า 1 ปี) ระยะสั้น (1-3 ปี) ระยะปานกลาง (3-5 ปี) และ

10 ระยะยาว (5-10 ปี) ซึ่งครอบคลุมทั้งด้านการผลิต การแปรรปู และสร้างมูลคา่ เพิม่ การตลาด และการบริหาร จดั การ ซ่งึ มผี ลลัพธต์ ามยทุ ธศาสตรป์ ระกอบด้วย 1) สร้างรายไดใ้ หป้ ระเทศไมน่ อ้ ยกวา่ 450,000 ลา้ นบาท 2) ลดการนำเข้าน้ำมนั เชอื้ เพลิงจากตา่ งประเทศ 3) ลดพ้นื ทน่ี าขา้ วทีไ่ มเ่ หมาะสมกับการปลูกขา้ ว 6 ล้านไร่ 4) เกษตรกรชาวไร่อ้อยมีรายได้เพียงพอต่อการดำรงชีวิต และประกอบอาชีพปลูกอ้อยได้ อย่างยัง่ ยนื 5) ประเทศมีความมัน่ คงทางด้านอาหารและพลังงานอยา่ งสมดุล 1.7 นโยบายสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1.7.1 ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561-2563 กระทรวงเกษตราและสหกรณ์ ขับเคลื่อนนโยบายและ แก้ไขปญั หาภาคเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภายใต้ 15 นโยบาย ดงั นี้ 1) ระบบสง่ เสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแปลงใหญ่ คือ วธิ ีการหนงึ่ ในการเพ่ิมความได้เปรยี บทางการแข่งขันของหน่วยผลิต ด้วยการคำณวณทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อวิเคราะห์ปริมาณการผลิตที่มีประสิทธิภาพสูงสุด หรืออีกนัยหนึ่งคอื การบริหารความสัมพันธ์ที่เหมาะสมระหว่างต้นทุนการผลิตกับปริมาณการผลิต/ขนาดการผลิต เพื่อให้เกิด การประหยัดต่อขนาด (Economies of Scale) ซึ่งจะเกดิ ขึ้นไดโ้ ดยการผลักดันให้เกษตรกรรวมกลุ่มการผลติ การจัดหาปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพดี (พันธุ์พืช ปุ๋ย เครื่องจักรกลการเกษตร และเทคโนโลยีสมัยใหม่) การจัดการด้านการตลาดและห่วงโซ่อุปทาน รวมทั้งมีการบริหารจัดการฟาร์มทีด่ ี เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของ ธรุ กจิ คือการเพม่ิ ขีดความสามารถในการสร้างกำไร ความมน่ั คงของกิจการและการเติบโต และรับผิดชอบต่อ สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม 2) ศนู ย์เรียนรู้การเพมิ่ ประสิทธิภาพการผลติ สนิ คา้ เกษตร (ศพก.) ศูนย์เรียนรู้การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลติสินค้าเกษตร (ศพก.) คือ วิธีการจัดการความรู้ อย่างหน่ึงเพือ่ ใหเ้ กษตรกรทตี่ ้องการความรู้ ไดร้ ับความร้แู ละเรียนรู้ทจี่ ะปรับตวั ให้พร้อมรับการเกษตรสมัยใหม่ ซึ่งประกอบด้วยกระบวนการจัดการความรู้ และกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงโดยใช้สถานที่ที่เป็น ทีต่ ั้งของแปลงเกษตร/ฟาร์ม ซึง่ เกษตรกรทเี่ ปน็ เจา้ ของมคี วามรูค้ วามสามารถในการผลิตในระดบั ท่ีเปน็ ตัวอย่าง ใหเ้ กษตรกรรอบบริเวณไดเ้ รียนรแู้ ลกเปลยี่ นประสบการณ์ (Knowledge Center) 3) พัฒนาเกษตรกรสู่ Smart Farmer โครงการ Smart Farmer คอื กระบวนการพัฒนาทรพั ยากรเกษตรกร (Human Resource Development) หรือการพัฒนาและส่งเสริมขีดความสามารถของเกษตรกร ให้มีความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจมีทักษะในการปฏิบัติงานตลอดจนมีทัศนคติและพฤติกรรมที่ดี เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการทำ อาชีพเกษตรกรรมที่ดีขึ้นในปัจจุบันและอนาคต เช่น การฝึกอบรม การศึกษา การสอนและให้คำแนะนำ (Coaching and Mentoring) และการพัฒนาสภาพแวดล้อมใหส้ นับสนนุ การจัดการองค์ความรู้ การเรียนรู้ และ การบริหารการเปล่ยี นแปลงไปส่คู วามสำเร็จ และจะตอ้ งดำเนินการพัฒนาอีกต่อไปเร่อื ย ๆ ตลอดเวลาท่ยี ังมีชีวิต 4) บรหิ ารจดั การพืน้ ที่เกษตรกรรมท่ีการเกษตรเชงิ รกุ (Zoning by Agri-map) การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม คือวิธีการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของ ภาคเกษตรโดยการวางแผนและจัดการให้พื้นที่เกษตรของประเทศที่มีความแตกต่างด้านดิน น้ำ และอากาศ ในแต่ละภูมิประเทศ ให้สามารถสร้างรายได้จากการผลิตสินค้าเกษตรที่เหมาะสมกับประเภท ชนิดพันธ์ุ

11 ซึ่งจะทำให้เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตคุ้มค่าการลงทุน รวมทั้งการจัดการให้ปริมาณและคุณภาพสินค้าเกษตร มคี วามสมดุลกบั ความต้องการของตลาด 5) พัฒนาคุณภาพสนิ คา้ เกษตรสู่มาตรฐาน (GAP) ความปลอดภัยด้านอาหารหรืออาหารปลอดภัย (Food Safety) คือ อาหารที่ปลอดจาก สารพิษและไม่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภค และมาตรฐานสินค้าเกษตร คือ ระเบียบหรือแนวทางปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้องกบั คุณลักษณะต่าง ๆ ของตัวสนิ ค้าเกษตร วิธีและขั้นตอนการผลิต รวมถึงการดำเนินการเกี่ยวกับ สขุ ลกั ษณะ ความปลอดภยั มาตรฐาน ทง้ั น้ี ในแต่ละประเภทประกอบด้วยมาตรฐานสนิ ค้าและมาตรฐานระบบ 6) เกษตรอนิ ทรยี ์ ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ (Organic Products) คือ ผลิตภัณฑ์จากระบบการเกษตรแบบเกษตร อินทรีย์ (Organic Farming) ซึ่งปลอดจากสารเคมีและการปรุงแต่งโดยสารสังเคราะห์ ตามมาตรฐานเกษตร อินทรยี ใ์ นทกุ ข้ันตอนการผลิต การแปรรปู และการเก็บรักษา และเกษตรอินทรีย์ (Organic Farming) คือระบบ การเกษตรที่ผลิตอาหารและเส้นใยด้วยความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ โดยเน้นหลักการ ปรบั ปรุงดิน การเคารพตอ่ ศักยภาพทางธรรมชาติของพืช สตั ว์ และนิเวศการเกษตร 7) ตลาดสินค้าเกษตร ตลาดสนิ คา้ เกษตร คอื การท่ผี ซู้ อ้ื ผูข้ าย มกี ารตกลงซ้อื ขายสินค้าและบริการร่วมกนั รวมทั้ง ปัจจัยการผลิต ซึ่งจะมีความหมายรวมถึงตลาดภายในประเทศ ตลาดขายส่ง ตลาดขายปลีก ตลาดต่างประเทศ ตลาดผลผลิต ตลาดปัจจัยการผลิต ตลาดซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า รวมทั้งตลาดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) ท้งั น้ี ลักษณะโครงสร้างตลาดที่สำคัญ ประกอบด้วย ลกั ษณะตลาดแข่งขนั สมบูรณ์ และตลาด แข่งขนั ไมส่ มบูรณ์ 8) การสง่ เสริมเกษตรทฤษฎใี หม่ เกษตรทฤษฎใี หม่ คือ การบริหารจัดการท่ีดินและน้ำเพื่อการเกษตรในทีด่ ินขนาดเล็กให้เกิด ประโยชน์สูงสุด โดยมีการบริหารและจัดแบ่งที่ดินแปลงเล็กออกเป็นสัดส่วนที่ชัดเจน มีการคำนวณโดยหลัก วิชาการเกยี่ วกับปรมิ าณนำ้ ท่ีจะกักเก็บให้พอเพียงตอ่ การเพาะปลกู ได้ตลอดปี และมีการวางแผนที่สมบรู ณแ์ บบ 9) แผนการผลติ และการตลาดข้าวครบวงจร แผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร คือ วิธีการบริหารจัดการสมดลุ ของอุปสงค์และ อุปทานข้าวของประเทศ (Demand-driven Supply Chains) โดยวิเคราะห์คาดการณ์ปริมาณความต้องการ ของตลาด (Demand Side) เพ่ือนำมาบรหิ ารจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) ทั้งด้าน ปรมิ าณในระยะสนั้ และในระยะยาว 10) การบรหิ ารจัดการทรัพยากรน้ำ การบรหิ ารจดั การนำ้ หมายถงึ กระบวนการ (กรรมวธิ )ี จดั การน้ำ ซึ่งโดยทัว่ ไปเกย่ี วข้อง กบั การจัดหาและพฒั นาการจัดสรรและใช้เพ่ือวัตถุประสงค์ตา่ ง ๆ รวมตลอดถงึ การอนรุ ักษ์และฟนื้ ฟูแหล่งน้ำให้ คงอยู่และมีใช้อย่างยืนยาว รวมทั้งการแก้ไขปัญหาอนั เกิดทรพั ยากรนำ้ ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพให้หมดไป และการบรหิ ารจดั การนำ้ ต้องเป็น “การจดั การแบบบรู ณาการ” หรือไมก่ ็ “การจัดการนำ้ อยา่ งยั่งยืน” 11) การสง่ เสรมิ การเพ่มิ มูลคา่ สินค้าและการใช้เครอื่ งจักรกลทางการเกษตรทดแทนแรงงาน โครงการส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร คือ วิธีการเพิ่มโอกาสให้เกษตรกร ไดเ้ ข้าถึงเคร่อื งจักรกลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ตลอดจนไดม้ โี อกาสศกึ ษา ทดลอง และเรียนรกู้ ารใช้ประโยชน์ ผ่านกระบวนการจัดการองค์ความรู้ กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงไปสู่เกษตรสมัยใหม่ โดยสนับสนุน เคร่อื งจักรกลผ่านสถาบันเกษตรกร

12 12) การพฒั นาสถาบันเกษตรกรรปู แบบประชารัฐ การพัฒนาสถาบันเกษตรกรรูปแบบประชารัฐ คือ การพัฒนาองค์การ (Organization Development) ของสหกรณ์เพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถด้านการบริหารจัดการธุรกิจ/องค์กร รวมทง้ั การผลิตสินค้าและบริการต่าง ๆ ตลอดจนห่วงโซม่ ูลคา่ ในรูปแบบสหกรณ์ 13) ธนาคารสินค้าเกษตร ธนาคารสินค้าเกษตร คือ สถานที่ที่ทำหน้าที่รับฝาก ถอน ให้ยืม หรือแลกเปลี่ยนสินค้า เกษตร รวมถงึ ปจั จยั การผลติ (พนั ธุ์พืช พนั ธุส์ ตั ว์ ปยุ๋ ) ซ่ึงเป็นการบริหารจัดการด้วยเกษตรกรเอง ในรูปแบบ องคก์ รเกษตรกร/สถาบันเกษตรกร 14) การช่วยเหลอื หนีส้ ินสมาชกิ สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร การช่วยเหลือหนี้สินสมาชิกนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร คือ วิธีการปรับโครงสร้างหนี้ (Debit restructuring) และเพ่มิ ระดบั ความสามารถในการชำระหนสี้ ินของเกษตรกร 15) การจดั ระเบียบประมงใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน การจัดระเบียบประมงให้เป็นไปตามมาตรฐาน คือ วิธีการรองรับกฎระเบียบ IUU เพื่อยืนยนั ว่าสินค้าประมงที่ส่งออกไปยังสหภาพยุโรป ไมไ่ ด้มาจากการทำประมงที่ผิดกฎหมาย (IUU Fishing) เพื่อรักษาทรัพยากรสัตวน์ ำ้ ให้อยูใ่ นภาวะที่เป็นแหล่งอาหารของมนุษย์ชาติอย่างยัง่ ยืนและรักษาสภาพแวดล้อม ให้ดำรงอยใู่ นสภาพท่ีเหมาะสม 1.7.2 ในปงี บประมาณ พ.ศ.2563-2564 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขับเคล่ือนนโยบายและแกไ้ ข ปัญหาภาคเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 8 ประเด็น ดังนี้ ประเด็นที่ 1 การบริหารจัดการแหล่งน้ำทั้งระบบ วัตถุประสงค์ เพื่อบริหารจัดการแหล่งน้ำ อย่างเป็นระบบให้สามารถแกป้ ัญหา น้ำแล้ง น้ำท่วม การขาดแคลนน้ำภาคการผลิต น้ำอุปโภคบรโิ ภคและ เพมิ่ ประสทิ ธิภาพแหลง่ นำ้ ป้องกนั และบรรเทาอุทกภัยพืน้ ท่ีชมุ ชน พื้นที่เศรษฐกจิ สำคญั ประเด็นที่ 2 ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืน วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เกษตรกรรมยั่งยืน และแนวทางการขับเคลื่อนที่มีการประสานความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคเี ครือข่าย ภาคการศกึ ษา และเกษตรกรทีเ่ กีย่ วข้องกับการขับเคลือ่ นเกษตรกรรมยง่ั ยืน เพื่อจัดทำต้นแบบ การขบั เคลอ่ื นเกษตรกรรมย่ังยนื เชิงพ้นื ที่ สำหรับใช้เปน็ แนวทางในการพฒั นาเกษตรกรรมย่ังยนื ในระยะต่อไป และเพื่อพัฒนาให้การทำการเกษตรของไทยก้าวสู่ความย่ังยืน เกษตรกรสามารถประกอบอาชีพไดอ้ ย่างม่นั คง มชี วี ติ ความเปน็ อยทู่ ี่ดีไดอ้ ยา่ งย่งั ยนื ประเด็นที่ 3 ใช้ระบบตลาดนำการผลิต วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่ม/ขยายช่องทางการตลาดสินคา้ เกษตรกรเพื่อแก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตรตกต่ำ/ล้นตลาด เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งสถาบันเกษตรกร เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการผลิต การแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่ม และการตลาดสินค้าเกษตรให้กับเกษตรกร สถาบันเกษตรกร และ เกษตรกรและสถาบนั เกษตรกรมีความมั่นคง มัง่ คง่ั ยัง่ ยืน มรี ายไดเ้ พมิ่ ข้นี ประเด็นที่ 4 ลดต้นทุนการผลิต วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร สร้างความ เข้มแขง็ และพัฒนาเครอื ข่ายความรว่ มมอื ระหว่างกลุ่มเกษตรกร วสิ าหกจิ ชุมชน และสหกรณ์ รวมถึงเชื่อมโยงไป ถงึ ผ้ปู ระกอบการภาคเอกชน และหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้อง เพ่อื ใหเ้ กษตรกรสามารถลดตน้ ทุนการผลิต มีผลผลิตต่อ หน่วยเพิ่มขึ้น ผลผลิตมีคุณภาพได้มาตรฐาน และสอดคล้องกับความต้องการของตลาดภายใต้การบูรณาการ ของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพื่อส่งเสริมใหเ้ กษตรกรผู้ผลิตและขยายพนั ธุพ์ ืช พันธุ์สัตว์ทีด่ ี เพื่อส่งเสรมิ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สามารถจัดหาแม่ปุ๋ยมาจำหน่ายหรือให้บริการผสมปุ๋ยให้แก่สมาชิกได้อย่าง เหมาะสม และเพ่ือสง่ เสริมใหค้ วามร้เู กษตรกรในการใช้ปัจจัยการผลิตในการทำการเกษตร

13 ประเด็น 5 การบริหารจัดการประมงอย่างยั่งยืน วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและฟื้นฟูสัตว์น้ำ แหล่งประมง ในการบริหารจดั การทรัพยากรสัตวน์ ำ้ ใหค้ งความอดุ มสมบูรณ์ ให้ใชป้ ระโยชน์อยา่ งยั่งยนื รวมท้งั ป้องกัน ยับยั้ง และขจัดการทำประมงผิดกฎหมายและไร้การคุ้มครอง (IUU) ออกหนังสือรับรองเพื่อ ผู้ประกอบการย่ืนขอจดทะเบียนเรอื ไทยสำหรับเรือประมงพื้นบ้าน ถ่ายทอดเทคโนโลยี และส่งเสริมอาชีพด้าน การประมง และจดั ตงั้ กองทุนประมงแหง่ ชาติ ประเด็น 6 การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าให้เกษตรกร วัตถุประสงค์ เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ เกษตรกรในสภาวะท่ีไมส่ ามารถผลิตสินค้าเกษตรไดอ้ ย่างมีประสิหริภาพ เน่ืองจากสง่ิ ทเี่ กิดข้ึนตามธรรมชาติ เช่น การระบาดของศัตรูพืช การระบาดของโรคสัตว์ ภาวะนำ้ น้อยในช่วงฤดูแล้ง เพอื่ ให้ความชว่ ยเหลอื แกเ่ กษตรกรให้ หลดุ พ้นจากความเปน็ หน้แี ละช่วยแก้ไขปัญหาด้านการเกษตรอ่ืน ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง ประเด็น 7 จัดทำข้อมูลสารสนเทศด้านการเกษตร วัตถุประสงค์ เพื่อจัดตั้งศูนย์ Big Data ดา้ นการเกษตร (Nation Agriculture Big Data Center : NABC) เพื่อพฒั นาฐานขอ้ มูลเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยง สัตว์น้ำใหอ้ ยู่ในรูปแบบดิจิทัล มคี วามถูกตอ้ ง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันและนำไปใชป้ ระโยชน์หลายมิติ เพ่ือใช้ใน การวางแผนกำหนดมาตรการและนโยบายภาครัฐ สามารถเช่อื มโยงบรู ณาการข้อมูลกับหน่วยงานอ่ืนได้อย่าง มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ทั่วประเทศให้สามารถนำ ฐานข้อมูลมาใช้ในการวางแผนกำหนดมาตรการช่วยเหลือเกษตรกร และการบริการภาครัฐตามนโยบาย รฐั บาล รวมท้ังเชื่อมโยงฐานข้อมูลกับหนว่ ยงานอ่นื ได้ เพอ่ื บริหารจดั การพื้นที่เหมาะสมเล็กน้อยและพ้ืนที่ไม่ เหมาะสมให้ได้รับการปรับเปลี่ยนการผลิตให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อส่งเสริม สนบั สนนุ จูงใจ ให้เกษตรกรปรบั เปลย่ี นการผลิตเกษตรในพน้ื ท่เี หมาะสมเลก็ น้อยและพ้ืนท่ไี ม่เหมาะสม เพื่อให้ เกษตรกรมรี ายไดเ้ พมิ่ ขน้ึ และมคี ุณภาพชวี ติ ดีขึ้นหลงั จากการปรับเปลี่ยนการผลติ ประเด็น 8 พัฒนาศูนย์การเรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นศูนยก์ ลางในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การบริหารจัดการ และการตลาดแก่เกษตรกร รวมทั้งการแก้ไขปญั หาและพัฒนาการเกษตรในพน้ื ท่ี 1.8 ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาจังหวัดพิษณโุ ลก (ฉบับทบทวน) พ.ศ. 2561-2565 วิสยั ทศั น์ (Vision) “เมืองบรกิ ารสแี่ ยกอนิ โดจนี บนฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สังคมม่นั คง และการพฒั นา อยา่ งยง่ั ยนื ” พนั ธกิจ (Mission) 1. ผลผลิตทางเกษตร ผลติ ภัณฑส์ ินคา้ และบรกิ ารมีมาตรฐานและปลอดภยั กอ่ ให้เกิดมูลค่าเพ่ิม ตรงตอ่ ความตอ้ งการของตลาด 2. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและจงั หวดั พษิ ณุโลกเป็นเมืองที่มีความปลอดภัยสูง สังคมน่าอยู่ และมคี วามสุขอย่างย่ังยืน และมีการสถาปนาขยายความร่วมมือกบั ประเทศทม่ี ีศักยภาพ 3. พฒั นาและยกระดับมาตรฐานการทอ่ งเท่ียว และบรกิ ารดา้ นการทอ่ งเท่ยี ว เพอื่ เพิ่มรายได้จาก การท่องเท่ียว 4. ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มมีการบรหิ ารจัดการอยา่ งเป็นระบบและยง่ั ยนื 5. พัฒนาระบบเศรษฐกจิ ของจงั หวัดใหม้ ีความสมดุลและขยายตวั อย่างตอ่ เน่ืองบนฐานเศรษฐกิจ สรา้ งสรรคม์ ูลค่าสูง 6. พัฒนาจังหวัดเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) เมืองสร้างสรรค์ (Creative city) และเมือง นวัตกรรม (Innovative City) 7. โครงขา่ ยคมนาคมขนสง่ เชื่อมโยงและครอบคลุมทกุ พื้นท่ีและต้นทนุ ทางด้านโลจสิ ติกส์ลดลง

14 ประเด็นยทุ ธศาสตรจ์ ังหวดั 1. พัฒนาและยกระดับมาตรฐานในภาคการเกษตร การผลิตสินค้าและบริการบนฐาน เศรษฐกิจสร้างสรรค์มลู ค่าสงู อยา่ งสอดคล้องกับความต้องการของตลาด ตัวชี้วดั 1. รอ้ ยละท่เี พ่มิ ขึ้นของพื้นท่ีเกษตรปลอดภยั เกษตรอนิ ทรยี ์ 2. รอ้ ยละที่เพ่ิมขนึ้ ของแปลงเกษตรท่ผี ่านการรับรอง GAP 3. ร้อยละทีเ่ พิม่ ขน้ึ ของการทำเกษตรแปลงใหญ่ 4. รอ้ ยละของรายไดท้ เี่ พิ่มขึ้นจากภาคอุตสาหกรรมเกษตร 5. ระดบั ความสำเร็จในการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรด้านการเกษตร และเกษตรอัจฉรยิ ะ 6. ระดับความสำเร็จในการพัฒนาตลาดสินคา้ ท่มี คี ุณภาพ 2. พัฒนาคนและคุณภาพชีวิตในทุกช่วงวัย อย่างยั่งยืนบนฐานสังคมแห่งการเรียนรู้ และ สังคมมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และน้อมนำศาสตร์พระราชามาสู่การปฏิบัติการเพิ่ม ประสทิ ธภิ าพการบริหารงานภาครัฐที่มีธรรมาภบิ าล และการพัฒนาจังหวัดสูส่ ากลและขยายความร่วมมือ ความสัมพนั ธก์ ับต่างประเทศ ตวั ชีว้ ัด 1. ร้อยละที่เพมิ่ ขนึ้ ของคะแนน ONET 2. จำนวนปกี ารศึกษาเฉลี่ยของประชากร อายุ 15-59 ปี ที่เพมิ่ ขน้ึ 3. ร้อยละของอตั ราการว่างงานท่ลี ดลง 4. ร้อยละของค่าใช้จา่ ยสำหรับสุขภาพลดลง 5. ร้อยละผอู้ ยูใ่ นระบบประกันสังคมตอ่ กำลงั แรงงานเพ่มิ ข้นึ 6. ร้อยละของคดอี าชญากรรมและคดียาเสพตดิ ลดลง 7. รอ้ ยละของผู้เสียชีวติ จากและการบาดเจบ็ ทางถนนลดลง 8. รอ้ ยละความสำเรจ็ ในการพฒั นาระบบบริหารจัดการ อุบตั ภิ ยั ภัยพบิ ตั ิ และสาธารณภยั 3. พัฒนาและเพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และบริการ ให้มีคุณภาพโดยการมี ส่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ น ตวั ชี้วัด 1. รอ้ ยละของรายได้ที่เพิ่มขึน้ จากการทอ่ งเทีย่ ว 2. ร้อยละความพึงพอใจของนกั ท่องเท่ียวที่เพิ่มขึ้น 3. ร้อยละของรายได้ที่เพม่ิ ข้ึนจากภาคการผลติ สนิ ค้าและการบรกิ าร 4. ร้อยละของรายได้จากการจำหนา่ ยสนิ คา้ OTOP ท่ีเพม่ิ ขนึ้ 5. ระดบั ความสำเรจ็ ในการพัฒนาศกั ยภาพของชมุ ชน บคุ ลากรและภาคีเครอื ขา่ ยดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการน้ำ ขยะมูลฝอย/นำ้ เสีย และพลงั งาน อย่างเปน็ ระบบ ย่ังยนื และเปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดล้อม ตวั ชี้วัด 1. การเพมิ่ ขน้ึ ของจำนวนพ้ืนทปี่ า่ ไม้ที่ได้รับการฟ้นื ฟู 2. สดั ส่วนเพมิ่ ขน้ึ ของพืน้ ทช่ี ลประทาน/พน้ื ทร่ี ับประโยชน์ 3. รอ้ ยละของขยะมูลฝอยที่ได้รบั การจัดการอยา่ งถกู ตอ้ งและนำกลับมาใชป้ ระโยชน์ 4. ร้อยละความสำเรจ็ ของการพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการน้ำแบบบูรณาการ

15 5. ร้อยละทเ่ี พิม่ ขน้ึ ของการใชพ้ ลังงานทดแทน 6. ร้อยละปรมิ าณการใช้พลงั งานทีล่ ดลง 7. รอ้ ยละของน้ำเสียที่ได้รับการจดั การอยา่ งถกู ตอ้ งและคณุ ภาพน้ำในแหล่งนำ้ อยูใ่ นเกณฑ์ดี 5. พัฒนาศักยภาพและยกระดับขีดความสามารถด้านการค้าการลงทุน อุตสาหกรรม ภาคการผลิตสินค้าและบริการ ส่งเสริมและสนับสนุนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ( SMEs) บนฐานเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์และนวัตกรรม ตัวชว้ี ดั 1. ร้อยละของรายได้จากผลติ ภัณฑ์ชุมชน SMEs และ Startup เพม่ิ ขน้ึ 2. อัตราการขยายตวั ของผลิตภณั ฑม์ วลรวมภาคอตุ สาหกรรม 3. จำนวนกลมุ่ อุตสาหกรรมท่ีได้รบั การพฒั นาดา้ นการมาตรฐานและสรา้ งมลู คา่ เพ่ิม 4. จำนวนวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และวิสาหกิจชุมชน มีประสิทธภิ าพเพ่ิมขึน้ 5. ร้อยละของผู้ประกอบการธุรกจิ ดิจิทัลเพมิ่ ขึน้ 6. พัฒนาจังหวัดให้เป็นเมืองศูนย์กลางความเจริญของภูมิภาค และส่งเสริมสนับสนุนการ พัฒนาจังหวัดโดยใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม และฐานข้อมูล และเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมและระบบ โลจิสติกส์ ตัวชีว้ ัด 1. ร้อยละของโครงขา่ ยและเส้นทางคมนาคมขนสง่ ไดร้ บั การยกระดบั ให้ได้มาตรฐานเพม่ิ ขึ้น 2. รอ้ ยละของความพึงพอใจในโครงสร้างพ้ืนฐาน สาธารณูปโภค และขนสง่ มวลชน 3. ระดับความสำเรจ็ การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพฒั นาเมืองในทุกมติ ิ 1.9 แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวดั พษิ ณุโลก (พ.ศ.2561-2565) ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2563 1. วิสยั ทัศน์ (Vision) พิษณุโลก : \"เมอื งเกษตรปลอดสาร แหลง่ ผลิตอาหารปลอดภัย ยดึ ม่นั ในหลักของปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง\" 2. พนั ธกจิ (Mission) 2.1 ส่งเสรมิ การผลติ สนิ ค้าเกษตรท่ีมีคณุ ภาพปลอดภยั ตลอดโซ่อุปทานใหส้ อดคล้องกบั ความตอ้ งการของตลาด 2.2 พฒั นาคุณภาพชีวติ เกษตรกรใหม้ ีความมน่ั คง 2.3 สง่ เสริมงานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพือ่ นำมาใช้ประโยชน์ 2.4 สง่ เสริมให้มีการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรการเกษตรและส่งิ แวดล้อมอยา่ งสมดุลและยั่งยนื 3. เป้าประสงคห์ ลักการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวดั (Goals) 3.1 สง่ เสริมให้เกษตรกรและสถาบนั เกษตรกรยกระดับผลผลติ ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ คณุ ภาพ มาตรฐาน รวมทงั้ สรา้ งมูลค่าสินคา้ เกษตรให้ตอบสนองความต้องการของตลาด 3.2 สร้างความภาคภมู ิใจในอาชพี เกษตรกรรม สามารถพ่ึงพาตนเองได้ เกิดการรวมกลุ่ม และเชอื่ มโยงเครอื ขา่ ยกบั ภายนอกอยา่ งเข้มแข็ง 3.3 จัดการทรัพยากรทางการเกษตรอย่างมีประสิทธภิ าพ คมุ้ ค่าและย่งั ยืน

16 4. ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issue) ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 สร้างความเข้มแข็งให้กบั เกษตรกรและสถาบนั เกษตรกร เป้าประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ 1. สร้างความภาคภูมิใจในอาชพี เกษตรกรรม 2. สถาบันเกษตรกรมกี ารบรหิ ารจัดการแบบมอื อาชพี 3. วิถีการทำการเกษตรกรรมแบบยง่ั ยนื 4. เครือขา่ ยภาคเกษตรมีความเขม้ แขง็ 5. Smart Farmer Smart Group Smart Enterprise ตวั ชี้วัด 1. ร้อยละท่ีเพม่ิ ขน้ึ ของเกษตรกรร่นุ ใหม่ 2. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการของ สถาบันเกษตรกร 3. จำนวนทเี่ พิ่มขนึ้ ของพนื้ ท่ีทำการเกษตรกรรมยั่งยืน 4. ระดับความสำเร็จของการพฒั นาเครือขา่ ยภาคเกษตร 5. รอ้ ยละของเกษตรกรท่เี ปน็ Smart Farmer ต่อเกษตรกรวัยแรงงาน ท้งั หมดของจงั หวดั 6. จำนวนทเี่ พ่มิ ขน้ึ ของการทำการเกษตรแบบ Contract farming หรอื MOU กลยุทธ์ 1. สร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่เข้าส่ภู าคการเกษตร 2. ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรเพ่ือทำการเกษตร แบบกลุ่มการผลติ (Cluster) เครือข่ายวิสาหกิจ และเกษตรพนั ธะสญั ญา (Contract Farming) ใหเ้ กิดความเข้มแขง็ สามารถตอ่ ยอดเปน็ ผปู้ ระกอบการ ธรุ กิจเกษตร 3. ส่งเสริม ขยายผลและพัฒนาการผลิตในระบบเกษตรกรรมยั่งยืนในรูปแบบต่างๆ 4. พฒั นาเครอื ขา่ ยเกษตรกร สถาบันเกษตรกรใหม้ คี วามเขม็ แขง็ ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 2 เพิม่ ประสิทธภิ าพการผลติ และยกระดับมาตรฐานสินค้า เปา้ ประสงคเ์ ชิงยุทธศาสตร์ 1. วางแผนการผลิต การตลาด และการบริหารจัดการผลผลิต 2. สร้างความร่วมมือภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคีทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 3. ยกระดับสนิ ค้าเกษตรอัตลกั ษณ์พ้นื ถิน่ /สนิ ค้าเศรษฐกิจใหม่ 4. เพิ่มชอ่ งทางการตลาดสินคา้ เกษตรคณุ ภาพ 5. สินค้าเกษตรและอาหารไดร้ ับการรับรองมาตรฐานความปลอดภยั 6. เพิม่ มูลคา่ สินคา้ เกษตร ตัวชว้ี ัด 1. รอ้ ยละท่เี พม่ิ ขึน้ ของสนิ ค้าเกษตรท่ีมีการวางแผนการบรหิ ารจัดการผลิต การตลาด 2. จำนวนความร่วมมอื ของภาคเอกชนในการขบั เคลอ่ื นการผลติ /การตลาดสินค้าเกษตร 3. จำนวนของสินค้าเกษตรอตั ลกั ษณพ์ ื้นถ่ิน/สนิ ค้าเศรษฐกิจใหม่ท่ไี ด้รับการพัฒนา 4. ระดบั ความสำเร็จในการพัฒนาตลาดสนิ คา้ เกษตรคุณภาพ 5. ร้อยละที่เพ่มิ ขึ้นของพืน้ ที่เกษตรปลอดภยั /เกษตรอนิ ทรยี ์ 6. รอ้ ยละของรายไดเ้ ฉลี่ยท่ีเพมิ่ ขึ้นของเกษตรกรท่รี ่วมโครงการกบั ภาครัฐ กลยุทธ์ 1. ส่งเสรมิ ให้เกษตรกรมกี ารรวมกลุม่ และทำเกษตรแปลงใหญ่ 2. เช่ือมโยงและบูรณาการทกุ ภาคสว่ นเพ่ือแก้ไขปญั หาและขับเคล่ือนการพฒั นา ภาคการเกษตร

17 3. ส่งเสรมิ การผลิตสนิ ค้าเกษตรอตั ลกั ษณ์พน้ื ถิ่น/สินคา้ เศรษฐกจิ ใหมอ่ ยา่ งครบวงจร ตลอดหว่ งโซก่ ารผลิต 4. สง่ เสรมิ การตลาดที่ตระหนักถงึ การบรโิ ภคสินคา้ เกษตรและอาหารท่ีปลอดภยั 5. สนบั สนุนกระบวนการผลติ สินค้าเกษตรและผลติ ภัณฑข์ องเกษตรกร กลมุ่ เกษตรกรใหไ้ ด้มาตรฐานเพ่อื สร้างมลู คา่ เพิม่ ให้กบั สนิ คา้ เกษตร 6. สง่ เสริมการผลิตเกษตรวถิ ีใหม่ New Normal Project ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 เพิม่ ความสามารถในการแข่งขนั ภาคการเกษตรดว้ ยเทคโนโลยี และนวตั กรรม เป้าประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ 1. บรหิ ารจัดการข้อมลู ดา้ นการเกษตรให้เปน็ ระบบ (Big Data) 2. ส่งเสรมิ งานวจิ ัยและนวัตกรรมที่เหมาะสมกับพืน้ ที่ 3. การนำงานวิจยั และนวัตกรรมการเกษตรไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้จรงิ 4. เพ่ิมขีดความสามารถในการแขง่ ขันสนิ ค้าเกษตร ตวั ชว้ี ัด 1. ระดบั ความสำเร็จของการบรหิ ารจดั การขอ้ มูลการเกษตร 2. จำนวนงานวิจัย เทคโนโลยีและนวตั กรรมด้านเกษตรท่ดี ำเนนิ การวจิ ยั ในพื้นท่จี งั หวดั 3. ร้อยละงานวจิ ยั เทคโนโลยี และนวตั กรรมท่ีมีการพฒั นาตอ่ ยอดเพ่ือนำไปสู่ การใชป้ ระโยชน์ 4. จำนวนเกษตรกร/สถาบนั เกษตรกรที่มกี ารนำงานวจิ ยั เทคโนโลยี และ นวตั กรรม มาใชเ้ พอ่ื การผลิต/การตลาด กลยทุ ธ์ 1. บริหารจดั การเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การเกษตร ให้ทุกภาคส่วนเข้าถงึ และ นำไปใช้ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งทั่วถึง 2. สนบั สนนุ งานวิจยั เชิงปฏบิ ัตกิ ารรว่ มกับเยาวชน เกษตรกรรนุ่ ใหม่ และสถาบัน การศกึ ษาในพืน้ ที่ 3. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การนำงานวจิ ยั และนวตั กรรมการเกษตรไปใช้ประโยชน์ 4. สนับสนนุ การตลาดสนิ คา้ เกษตรและผลติ ภัณฑ์ผา่ นระบบ E-Commerce ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 บรหิ ารจดั การทรัพยากรการเกษตรและสิง่ แวดล้อมอย่าง สมดุล และยัง่ ยนื เป้าประสงค์เชงิ ยุทธศาสตร์ 1. การผลิตที่เปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม 2. ผลติ สนิ ค้าเกษตรตามความเหมาะสมของพื้นท่ี Zoning 3. ปรับปรุงและพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานดา้ นการเกษตร ตัวชี้วัด 1. ร้อยละทเ่ี พมิ่ ข้ึนของเกษตรกรใช้สารชวี ภณั ฑ์ทางการเกษตร 2. จำนวนท่ีเพ่มิ ข้ึนของพ้นื ทว่ี นเกษตร (ไร)่ 3. จำนวนพื้นที่เกษตรกรรมได้รบั การอนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟู ปรบั ปรงุ บำรงุ ดิน (ไร่) 4. จำนวนพน้ื ทชี่ ลประทานทไ่ี ด้รับประโยชน์จากการปรบั ปรงุ ระบบการบริหาร จัดการอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ (ไร)่ 5. จำนวนพ้ืนทที่ ไี่ ด้รับประโยชนจ์ ากแหลง่ น้ำนอกเขตชลประทาน (ไร่) 6. จำนวนพน้ื ทมี่ กี ารปรบั เปล่ียนตาม Agri-Map จาก S3, N เปน็ S1 (ไร่)

18 กลยทุ ธ์ 1. สง่ เสริมการทำการเกษตรที่เป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม 2. การส่งเสริมการใช้สารชวี ภณั ฑ์ทดแทนการใช้สารเคมีการเกษตร 3. ปรบั ปรงุ ฟ้นื ฟแู ละอนุรกั ษท์ รพั ยากรการเกษตร 4. พัฒนาการบริหารจัดการพื้นที่ชลประทาน 5. เพ่มิ และปรับปรงุ แหล่งนำ้ ขนาดเล็กในไรน่ า และแหลง่ นำ้ ชุมชน 6. สง่ เสริมและสนับสนนุ การปรับเปล่ียนการผลิตตามศกั ยภาพความเหมาะสม ของพืน้ ทีแ่ ละความตอ้ งการของตลาด Zoning by Agri-Map ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๕ พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการของภาครัฐ เปา้ ประสงคเ์ ชิงยุทธศาสตร์ 1. พัฒนาความร่วมมือการบูรณาการขององค์กร/เครือข่าย 2. พฒั นาสมรรถนะบุคลากรสู่ Smart Officer 3. กลไกการขับเคล่ือนการปฏบิ ตั ิงานมเี อกภาพ 4. คุณภาพของการบรู ณาการการปฏิบตั ิงาน ตัวช้วี ัด 1. ระดับความสำเรจ็ ของความร่วมมอื บูรณาการปฏบิ ัตงิ าน 2. ระดบั ความสำเร็จในการพฒั นาศักยภาพบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็น Smart Officer 3. ระดบั ความสำเรจ็ ของงานการบรู ณาการของหนว่ ยงานทกุ ภาคส่วน 4. รอ้ ยละความพึงพอใจของผ้ทู ีไ่ ด้รบั ผลจาการบูรณาการปฏิบตั ิงาน กลยทุ ธ์ 1. สรา้ งความรว่ มมือกับภาคีท่ีเกยี่ วข้อง 2. พัฒนาบคุ ลากรการเกษตรภาครัฐให้เป็นมอื อาชีพ ท้งั ด้านการผลติ และการตลาด (Internet Marketing) 3. สนบั สนนุ การขับเคลอื่ นการปฏบิ ตั ิงานด้วยคณะกรรมการฯ (CoO) และ อ.พ.ก. 4. สรา้ งแรงจงู ใจในการทำงาน 5. การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การเตรยี มความพร้อมในภาวะวกิ ฤตเตือนภัย 1.10 นโยบายส่งเสรมิ อตุ สาหกรรมออ้ ยและน้ำตาลในพน้ื ท่ีจังหวัดพิษณุโลก การส่งเสริมอตุ สาหกรรมออ้ ยและน้ำตาลในพืน้ ท่ีจงั หวดั พษิ ณโุ ลก นำโดย 1. คณะอนุกรรมการส่วนท้องถิ่น เขต 18 มีผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก เป็นประธาน อนุกรรมการฯ ผู้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้แทนกระทรวงพาณิชย์ ผู้แทนกระทรวงอุตสาหกรรม ผ้แู ทนชาวไร่อ้อย และผแู้ ทนโรงงานนำ้ ตาล เปน็ อนุกรรมการ 2. คณะอนุกรรมการอ้อยระดับท้องถิ่นเขต 19 ซึ่งมีเกษตรจังหวัดพิษณุโลกเป็นประธาน เกษตรและสหกรณ์จังหวัด พาณิชย์จังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด ผู้แทนชาวไร่อ้อย และผู้แทนโรงงาน เป็นอนุกรรมการ ร่วมกันขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์พฒั นาอตุ สาหกรรมอ้อยและน้ำตาล ตามประเด็นยทุ ธศาสตร์ การส่งเสริมการเพ่ิมผลิตภาพอุตสาหกรรมจากอ้อยและน้ำตาลทราย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน รวมท้ังปรบั ปรงุ กฎหมาย กฎระเบยี บทเ่ี ก่ยี วข้องให้เอื้อตอ่ การลงทนุในอุตสาหกรรมจากอ้อยและน้ำตาลทราย ดังนี้

19 เปา้ ประสงค์ 1. การเพิ่มผลิตภาพอตุ สาหกรรมออ้ ยและนำ้ ตาลทราย กลยุทธ:์ 1.1 การพัฒนาประสทิ ธภิ าพการผลิตออ้ ย น้ำตาลทราย และผลติ ภัณฑ์ต่อเนือ่ ง 1.2 ถา่ ยทอดองค์ความรแู้ กบ่ ุคลากรในอุตสาหกรรมจากออ้ ยและน้ำตาลทราย 1.3 ส่งเสริมการนำเทคโนโลยสี มัยใหมม่ าใช้ในอุตสาหกรรมจากออ้ ยและน้ำตาลทราย 1.4 พัฒนาออ้ ยพนั ธ์ดุ ี การเขตกรรม การเก็บเกีย่ วและการขนส่ง 1.5 การสง่ เสริมการผลิตออ้ ยแปลงใหญ่ใช้จักรกล (Modern Farm) 1.6 ส่งเสริมการพฒั นาและผลติ เครอ่ื งจักรกลสำหรบั อตุ สาหกรรมอ้อยและนำ้ ตาลทราย 1.7 ส่งเสริมการผลติ ออ้ ยและน้ำตาลทรายใหเ้ ป็นอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ (Eco industrial Town) เป้าประสงค์ 2. อุตสาหกรรมจากอ้อยและน้ำตาลทรายมกี ารเติบโตอย่างมั่นคง กลยุทธ์: 2.1 ปรับปรงุ ระบบแบง่ ปันผลประโยชนแ์ ละรกั ษาเสถียรภาพราคาอ้อย 2.2 การกำหนดตน้ ทุนมาตรฐานอ้อยและน้ำตาลทราย มาตรการผลิตน้ำตาลทราย เป้าประสงค์ 3. การพัฒนาอตุ สาหกรรมจากอ้อยและน้ำตาลทรายสู่ Bio-Economy กลยทุ ธ:์ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การลงทนุ ในอุตสาหกรรมชวี ภาพจากออ้ ยและนำ้ ตาลทราย เป้าประสงค์ 4. ปรบั ปรุงกฎหมาย กฎระเบยี บที่เก่ยี วขอ้ งใหเ้ อ้อื ตอ่ การลงทนุ ในอุตสาหกรรมจาก ออ้ ยและน้ำตาลทราย กลยุทธ์: การปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยอ้อยและน้ำตาลทราย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ให้เอื้อต่อการลงทุน และสอดคล้องกับข้อตกลงทางการค้า รวมถึงการเพิ่มมูลค่าอ้อยและน้ำตาลทราย ของประเทศให้สูงข้นึ

20 สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู ทั่วไปอ้อยโรงงาน อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย ปัจจุบันมีพื้นที่ปลูกมากกว่า 10 ล้านไร่ โดยมผี ลผลิตเฉลีย่ ประมาณ 10 ตนั ตอ่ ไร่ ซึง่ นับว่าต่ำมากเมอื่ เปรียบเทียบกับประเทศคู่แข่ง ทง้ั ๆ ที่ประเทศไทย มสี ภาพทางภูมศิ าสตร์และภูมิอากาศเหมาะสมตอ่ การปลูกอ้อยเป็นอย่างมาก แต่ขอ้ จำกัดท่ีทำให้ผลผลิตอ้อย ในภาพรวมของประเทศตำ่ เนื่องจากชาวไร่ออ้ ยสว่ นใหญป่ ลกู ออ้ ยอาศัยน้ำฝนเปน็ หลัก ประกอบกบั ชาวไรอ่ ้อย ไม่มีความชำนาญในการปลูกอ้อย ทั้งยังขาดความรู้ความเข้าใจด้านการบริหารจัดการด้านน้ำ ดิน และปุ๋ย รวมถงึ ไม่สามารถเขา้ ถึงหรอื รบั รถู้ ึงเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมในแต่ละพน้ื ท่ี แนวทางสำคัญในการเพิ่มความเข้มแข็งในอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายคือ การสร้าง ความเข้มแขง็ ใหแ้ กเ่ กษตรกรชาวไร่ออ้ ย ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การเรียนรแู้ ละพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง สามารถดำเนินการ ปลูกขยายออ้ ยพนั ธุด์ ตี ามหลกั วชิ าการท่ีถกู ตอ้ งและเหมาะสม จงึ ได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกบั อ้อยโรงงานไว้ ดังนี้ 2.1 การเตรียมความพร้อมของเกษตรกร เกษตรกรที่จะปลูกอ้อยเป็นอาชีพ มีความจำเป็นที่จะต้องเตรียมความพร้อมในการปลูก เนื่องจากอ้อยเปน็ พืชทีม่ ีอายุเกบ็ เก่ียวนานประมาณ 1 ปี และการปลกู ครั้งหน่งึ สามารถเก็บเก่ียวได้อย่างน้อย 3 ปี ที่สำคัญการปลูกอ้อยต้องใช้เงินทุนสูง โดยเฉพาะในอ้อยปลูก และโดยทั่วไปจะได้ทุนคืนรวมทั้งกำไรใน อ้อยตอ ทำใหต้ อ้ งมีการเตรียมความพร้อมทุกด้าน ส่ิงทเ่ี กษตรกรจะตอ้ งดำเนนิ การมดี ังตอ่ ไปน้ี 1) จดทะเบียนเปน็ ผู้ปลูกออ้ ยตามพระราชบญั ญตั อิ อ้ ยและนำ้ ตาลทราย พ.ศ. 2527 เกษตรกรจะต้องเตรียมเอกสารต่อไปนี้คือ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนา ทะเบียนบ้าน รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว จำนวน 4 รูป และเอกสารแสดงการเป็นเจ้าของที่ดินหรือการเช่าที่ดิน แล้วนำมายืนยันต่อเจ้าหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราบ ประจำโรงงานที่เกษตรกร จะสง่ ออ้ ยเขา้ หีบ ณ ชว่ งท่ีเปิดจดทะเบยี น 2) ตดิ ต่อขอโควตาส่งอ้อยเข้าโรงงาน เกษตรกรที่จะส่งอ้อยเข้าโรงงานจะต้องทำสัญญาการขายอ้อย (เปิดโควตา) ซึ่งจะต้อง ขอเปิดเป็นหัวหน้าโควตาที่สำนักงานเขตส่งเสริมอ้อยของโรงงานหรือที่สำนักงานฝ่ายอ้อย (ไร่) ของโรงงาน โดยมเี อกสารประกอบการยนื่ ขอตอ่ ไปน้คี ือ สำเนาบัตรประจำตวั ประชาชน สำเนาทะเบยี นสมรส ทะเบยี นอ้อย (ถา้ ม)ี หลักทรัพย์ (ทด่ี ิน ทะเบยี นรถ กรณตี อ้ งการขอรบั เงนิ สง่ เสริม) และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนผู้ค้ำ ประกนั (กรณีทจ่ี ำเป็นต้องมผี ู้คำ้ ประกันการขอรบั เงินสง่ เสริม) 3) มคี วามพร้อมในเรอ่ื งของปัจจัยการผลติ ประกอบดว้ ย ท่ีดิน แรงงาน และเงนิ ทุน ในส่วนของเงินทุน เกษตรกรสามารถติดต่อ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร, ได้ทุกสาขาท่วั ประเทศ ในการขอสินเชือ่ เพื่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรม หรอื ตดิ ต่อขอรับเงิน สง่ เสรมิ (เงนิ เกยี๊ ว) จากฝ่ายไร่ หรอื ฝา่ ยอ้อยของโรงงานน้ำตาลทีม่ โี ควตาในการส่งออ้ ย 4) มีความรูใ้ นเร่ืองเทคโนโลยีในการผลิตอ้อย และรู้ทีจ่ ะใช้เทคโนโลยีนั้นอย่างเหมาะสม โดยเข้ารบั การอบรมท่ีจัดโดยหนว่ ยงานราชการ ฝา่ ยสง่ เสริมของโรงงาน หรอื หน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ควรศึกษาหาความรู้จากเอกสาร สิ่งพิมพ์ การศึกษาดูงานจากชาวไร่ที่ประสบผลสำเร็จ ในการผลติ อ้อย เพื่อนำความรมู้ าปรับปรงุ การทำไร่ออ้ ยของตนเอง ซ่ึงเกษตรกรสามารถติดตอ่ หาความรู้เพิ่มเติมได้ท่ี

21 - ศูนยว์ ิจยั พืชไร่สุพรรณบรุ ี ตำบลจระเข้สามพัน อำเภออ่ทู อง จงั หวัดสพุ รรณบุรี 72160 โทรศพั ท์ 0-3555-1433 - ศนู ย์วิจยั และพฒั นาออ้ ยและน้ำตาล มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม 73140 โทรศัพท์ 0-3435-1013 - ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมออ้ ยและนำ้ ตาลเขต 1 โทรศัพท์ 0-3461-1111 เลขที่ 39 ตำบลท่งุ ทอง อำเภอท่าม่วง จังหวดั กาญจนบุรี - ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลเขต 2 โทรศพั ท์ 0-5571-7509 ถนนพหลโยธิน ตำบลนครชมุ อำเภอเมอื ง จงั หวัดกำแพงเพชร 62000 - ศูนยส์ ่งเสรมิ อตุ สาหกรรมออ้ ยและน้ำตาลเขต 3 โทรศพั ท์ 0-3834-1981 หมู่ 6 ตำบลบางพระ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบรุ ี 20210 - ศูนย์สง่ เสริมอตุ สาหกรรมอ้อยและน้ำตาลเขต 4 โทรศัพท์ 0-4239-9224 เลขท่ี 126 ตำบลปะโค อำเภอกมุ ภวาปี จงั หวัดอุดรธานี 41370 - ศูนย์ขยายพนั ธพุ์ ชื ที่ 6 จังหวัดพษิ ณโุ ลก เลขท่ี 99/1 หมู่ 5 ต.งิ้วงาม อ.เมือง จ.พิษณโุ ลก 65230 โทรศพั ท์ 0-5590-6220 2.2 ปจั จยั สำคัญท่ีมีผลตอ่ การปลูกออ้ ย 2.2.1 สภาพพื้นทแ่ี ละชนิดดิน 1) สภาพพื้นที่ แบ่งเป็น 3 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ - ทีล่ ุ่มมีน้ำขงั ในช่วงฤดฝู น (นำ้ มาก) ควรเลือกใช้พันธ์ุที่ทนตอ่ สภาพน้ำแชข่ ังไดด้ ี - ทร่ี าบมีการระบายนำ้ ดี (น้ำพอดี) ใชไ้ ด้ทกุ พนั ธ์ุ - ที่ดอน (ฤดูแล้งมักขาดน้ำ, นำ้ น้อย) ควรเลอื กพนั ธ์ทุ ี่ไมช่ อบนำ้ แช่ขังแต่มคี วามทนแล้งไดด้ ี 2) ชนดิ ดิน แบง่ เปน็ 3 ชนดิ - ดินเหนียว ควรเลอื กพนั ธุท์ เี่ จรญิ เติบโตไดด้ ใี นดนิ เหนียว และทนต่อสภาพน้ำแช่ขงั ได้ดี - ดินรว่ น ใชไ้ ด้ทุกพนั ธุ์ แตค่ วรจะเปน็ พนั ธ์ทุ ีม่ ศี ักยภาพในการใหผ้ ลผลผลติ ทสี่ งู - ดนิ ทราย ควรเลือกพันธุท์ เี่ จริญเตบิ โตไดด้ ีในดินทราย และทนตอ่ ความแห้งแล้งได้ดี 2.2.2 สภาพพ้นื ทท่ี ่ีเหมาะสมต่อการปลกู ออ้ ย เน่อื งจากการปลูกอ้อยแต่ละครงั้ จะสามารถเก็บรกั ษาตอใหอ้ ยไู่ ดน้ านหลายปี (อยา่ งน้อย 3 ปี) ดังน้นั การคดั เลอื กพ้ืนทที่ ่ีดีและเหมาะสมจึงมีส่วนสำคญั ทีจ่ ะทำใหก้ ารผลิตอ้อยมกี ำไร หรอื ขาดทุน จึงควรมี การคัดเลือกพ้นื ทด่ี งั น้ี 1) สภาพพนื้ ท่ที ี่เหมาะสม มีองคป์ ระกอบดังน้ี (1) ดินมีความอุดมสมบูรณ์สูง เพาะว่า อ้อยเป็นพืชที่ดูดธาตุอาหารมาก และควรมีความ สม่ำเสมอหรือลาดเอียงไม่เกนิ 0.3% ในกรณีที่พ้ืนที่มีความลาดเอียงเกินกว่าที่กำหนด จำเป็นต้องปรับระดับ พนื้ ที่กอ่ นการปลกู อ้อย (2) เปน็ พ้ืนที่ที่ไม่มนี ำ้ ท่วมขัง ถ้าเป็นพนื้ ท่ีลุม่ ทม่ี นี ้ำทว่ มขัง ควรระบายนำ้ ออกได้ (3) เปน็ พน้ื ที่ทีม่ นี ำ้ ใตด้ ินสูงเพ่ืออ้อยที่ปลูกจะไดท้ นแลง้ (4) ควรมแี หล่งน้ำเสริมเพ่อื ลดความเส่ียงในกรณฝี นแลง้

22 (5) การคมนาคมสะดวกต่อการขนส่งอ้อยเข้าโรงงานน้ำตาล ถ้าเป็นไปได้ไม่ควรเกิน 60 กิโลเมตร จากโรงงานน้ำตาล 2) ลักษณะดินทเ่ี หมาะสม ความเหมาะสมของดินท่ีปลกู ออ้ ย ควรมคี ่ามาตรฐาน ดงั นี้ คณุ สมบัติตา่ ง ๆ เหมาะสม ไม่เหมาะสม ค่า pH 5.6 – 7.3 ไม่ตำ่ กวา่ 4 และสงู กวา่ 8 อินทรยี วตั ถุ (OM.%) 1.5 – 2.5 ตำ่ กวา่ 1 ฟอสฟอรัสที่เปน็ ประโยชน์ (P, ppm) 10 – 20 ตำ่ กวา่ 10 โพแทสเซียมท่แี ลกเปล่ียนได้ (K, ppm) 80 – 150 ต่ำกวา่ 80 แคลเซยี ม (Ca, cmol/kg) 0.55 – 1.25 ต่ำกวา่ 0.55 แมกนีเซียม (Mg, cmol/kg) 0.1 – 0.25 ต่ำกว่า 0.1 ทองแดง (Cu, ppm) มากกวา่ 0.2 ต่ำกว่า 0.2 สงั กะสี (Zn, ppm) มากกวา่ 0.6 ตำ่ กวา่ 0.6 การแลกเปลย่ี นประจบุ วก (CEC cmol/kg) มากกวา่ 15 ต่ำกว่า 5 ความเคม็ (EC, ds/m) ต่ำกวา่ 2.5 มากกวา่ 5 การอิม่ ตวั ด้วยด่าง (BS%) มากกว่า 75 ตำ่ กว่า 35 ความลกึ ระดับหน้าดิน (cm) มากกวา่ 100 น้อยกวา่ 50 ความลึกระดับนำ้ ใต้ดิน (cm) มากกว่า 160 นอ้ ยกว่า 50 ค่ามาตรฐานเหล่านี้ ถึงแม้จะปลูกอ้อยได้เหมาะสม แตย่ งั ต้องมกี ารใส่ป๋ยุ เพื่อจะใหไ้ ดผ้ ลผลิตอ้อยเต็ม ตามศกั ยภาพ 2.2.3 การปรบั ปรงุ ดนิ ให้เหมาะสมกบั การปลกู อ้อย - สภาพไร่ควรจะราบเรยี บ ถา้ มจี อมปลวก ตอไม้ ต้นไม้ ก้อนหนิ ตอ้ งขจัดออก ถา้ ไมข่ จดั ออกชาวไร่ จะต้องเสยี คา่ ใชจ้ ่ายในการลงทนุ ปลกู ออ้ ยสูงกว่ารายทไ่ี ด้ขจดั ออกแล้ว และควรมีหนา้ ดนิ ลกึ กว่า 50 เซนตเิ มตร - ถ้าดินมีอินทรียวัตถตุ ่ำให้ปรบั ปรงุ ดิน โดยวธิ กี ารตอ่ ไปน้ี 1) ปลูกพืชบำรุงดิน เช่น ปอเทือง โสนอัฟริกัน (อัตรา 3 กิโลกรัมต่อไร่) หรือถั่วพุ่ม ถั่วมะแฮะ ถว่ั เขยี ว อยา่ งใดอย่างหนงึ่ (อตั รา 5 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่) หรือ ถวั่ พร้า (อตั รา 10 กิโลกรมั ต่อไร่) แล้วไถกลบในระยะ เริ่มติดฝกั หรอื หลงั เกบ็ เกยี่ งเมล็ด เพอื่ เพ่ิมความอุดมสมบูรณ์ของดนิ กอ่ นการปลูกออ้ ย 2) หวา่ นปุ๋ยอินทรีย์หรอื ปยุ๋ คอกทย่ี ่อยสลายดีแลว้ อัตรา 1,000 – 2,000 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ 3) ใส่กากตะกอนหม้อกรองหรือฟิลเตอร์เค้ก อัตรา 5,000 – 8,000 กิโลกรัมน้ำหนักแห้ง เหมาะสมใชก้ ับดินเปรยี้ ว (เปน็ กรด) ต่อไร่ ห้ามใช้กบั อ้อยท่ดี ินเปน็ ดา่ ง (ดนิ ชดุ ตาคลี) 4) ใส่ชานอ้อยแห้ง อัตรา 2,000 กิโลกรัมน้ำหนักแห้งต่อไร่ เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดิน และชว่ ยให้โครงสร้างดินดขี ้นึ - ถ้าดนิ เปน็ กรดจัดมีค่าความเปน็ กรด - ด่างตำ่ กวา่ 5.0 ควรปรบั ปรุงดินดว้ ยปนู ขาวอัตรา ประมาณ 200 กิโลกรมั /ไร่ ถ้าใช้หวา่ นปนู ขาว ปนู จะลงสม่ำเสมอ หว่านกอ่ นเตรียมดนิ ปลูก - ถ้าดินมีความลาดเท ควรชักร่องขวางแนวลาดชันและทำคันดินขวางความลาดเท (Contour) ปลูกหญ้าแฝกบนคันดิน ถ้าดินลาดเทมากคันดินต้องถี่ ถ้าลาดเทน้อยคันดินต้องห่างเพื่อลดการ ชะล้างหน้าดิน จะทำใหร้ ักษาความอดุ มสมบรู ณ์ของดินไว้ได้นาน - ถ้าพนื้ ทีเ่ ป็นท่ตี ่ำต้องจัดการระบายนำ้ ไม่ให้ทว่ มขังในแปลง

23 2.2.4 สภาพภูมอิ ากาศทีเ่ หมาะสม นอกจากสภาพพื้นที่ปลูกจะมีความเหมาะสมแล้วยังต้องคำนึงถึงสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมด้วย กลา่ วคอื สภาพพ้ืนทีท่ ่ีเลือกเพือ่ ปลูกออ้ ยจะต้องมีภูมิอากาศท่ีเหมาะสม โดยพจิ ารณาจากตัวชวี้ ัดต่อไปนี้คือ - มแี สงแดดจดั และอุณหภูมิเหมาะสม (30-35 องศาเซลเซียส) อ้อยจะมีการเจรญิ เติบโตทางลำตน้ ดี - มีปริมาณน้ำฝนตกเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 1,200 มลิ ลเิ มตรตอ่ ปี และมีการกระจายตัวของการตกของฝนดี - มีอากาศหนาวเย็นต่อเนื่อง (อุณหภูมิ 18-22 องศาเซลเซียส) ช่วงก่อนเก็บเกี่ยวประมาณ 2 เดือน จะทำให้อ้อยมคี วามหวานดี 2.2.5 ชว่ งเวลาปลูก 1) ปลูกออ้ ยต้นฝน (ปลายเมษายน - ต้นมิถนุ ายน) ควรเลือกพันธ์ุอ้อยทีโ่ ตเร็ว สะสมน้ำตาลเร็ว มีอายุการเกบ็ เกย่ี ว 9-10 เดือน (พนั ธ์เุ บา) 2) ปลูกอ้อยน้ำราด หรอื นำ้ สูบ (มกราคม - มีนาคม) ควรเลอื กพนั ธอ์ุ อ้ ยทม่ี ีการเจริญเติบโตเร็ว ถึงปานกลาง มีอายุการเก็บเก่ียว 11-12 เดือน (พนั ธุ์กลาง) 3) ปลูกอ้อยข้ามแลง้ (พฤศจิกายน - ธนั วาคม) ควรเลือกพนั ธท์ุ ่มี ีการเจริญเติบโตทาง ลำตน้ ในช่วง 4 เดือนแรกช้า แต่มีการพัฒนาระบบรากที่ดี เพราะในช่วยฤดูแล้งดินมักมีความชื้นน้อย หากเลือกใช้พันธุ์ที่มีการ เจริญเติบโตทางลำต้นในช่วงแรกเร็ว พืชจะต้องการน้ำและแร่ธาตุอาหารมาก พืชมีโอกาสได้รับน้ำและธาตุอาหาร ในช่วง 4 เดือนแรกไม่เพียงพอ จะชะงกั การเจริญเตบิ โต ควรเป็นพนั ธ์ุท่มี อี ายกุ ารเกบ็ เกี่ยว 13 - 15 เดอื น (พันธุห์ นัก) 2.2.6 วธิ ีการเตรยี มดิน การเตรียมดิน เป็นการทำให้ดินอยู่ในสภาพที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของอ้อยและ สามารถทำให้อ้อยไวต้ อไดน้ านหลายปี ซงึ่ มีหลักปฏบิ ตั ิดังนี้ 1) การเตรยี มดินในเขตชลประทานหรือก่งึ ชลประทาน (1) รื้อตอเก่าดว้ ยเคร่ืองสบั ใบและกลบเศษซากอ้อยไม่ควรใช้วธิ กี ารเผา (2) ไถระเบิดดนิ ตามใหล้ ึก 50 - 100 เซนติเมตร ดว้ ยไถระเบดิ ดนิ ดาน (ซบั ซอยเลอร์) (3) ไถดะด้วยผาล 3 หรือเครอ่ื งสับใบและกลบเศษซากออ้ ย (4) ปรบั พืน้ ทใ่ี ห้สม่ำเสมอด้วยการใช้ใบมีดหลัง (Land plain) (5) ไถแปรดว้ ยผาล 3 หรือไถพรวนดว้ ยผาล 7 เพื่อย่อยดนิ ใหก้ อ้ นเลก็ ลง (6) ยกรอ่ งปลูกออ้ ยโดยใช้ระยะปลูกระหว่างแถวอ้อย 1.2 – 1.5 เมตร ทั้งนี้ขึ้นอยูก่ ับวิธีการดูแลรักษาอ้อยและเก็บเกี่ยวอ้อยใช้แรงงาน หรือเครื่องทุ่นแรงขนาดเล็ก หรอื ขนาดใหญ่ ถ้าเปน็ การใช้แรงงานและรถไถเดนิ ตามควรใช้ระยะปลกู ระหวา่ งแถว 1.2 – 1.3 เมตร แต่ถ้าใช้ รถแทรกเตอรแ์ ละใชร้ ถตดั อ้อยควรใช้ระยะปลูก 1.5 เมตร 2) คำแนะนำเพ่มิ เติมสำหรบั การเตรียมดนิ ในเขตนำ้ ฝน ในการเตรยี มดินเพือ่ ปลกู อ้อยในเขตน้ำฝน มีกระบวนการคลา้ ยคลงึ กับการเตรยี มดินในเขต ชลประทานตามที่กล่าวมาข้างต้น แต่การไถระเบิดดินดานควรมีการพรวนดินปิดความชื้นตาม เพื่อสงวน ความช้ืนของดนิ ช้นั ลา่ ง และมีคำแนะนำเพ่ิมเตมิ เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกับช่วงเวลา คือ ทำใหก้ ารไถแปรด้วยผาล 3 กอ่ นเข้าฤดฝู น (กุมภาพนั ธ์ - มีนาคม) จากนั้นทำการยกรอ่ งรอฝน เม่ือฝนตกต้องเร่งปลกู ทันที แต่ถ้าเป็นการ ปลูกออ้ ยโดยใช้เครอื่ งปลูกควรมีการหยอดน้ำร่วมกับการใช้เคร่อื งปลูก

24 3) คำแนะนำเพ่มิ เติมสำหรบั การเตรียมดนิ เพือ่ ปลกู ออ้ ยข้ามแล้ง การปลูกออ้ ยข้างแลง้ ให้ได้ผลดี พ้ืนทน่ี ั้นควรมลี กั ษณะดินเปน็ ดินทรายหรอื ดินร่วนปนทราย และควรเป็นพนื้ ทที่ ีม่ ฝี นมาเร็ว ซ่ึงจะชว่ ยทำให้ออ้ ยผา่ นแล้งไปได้ ทำการเตรียมดินในช่วงเดือนสิงหาคม - กันยายน ด้วยผาล 3 เพื่อเปิดหน้าดินรับฝนและ ในต้นเดือนตุลาคม ทำการไถดะ ไถแปร ด้วยผาล 3 และผาล 7 สิ่งสำคัญ คือ ต้องทำการไถพรวนหลายครงั้ จนหน้าดนิ แตกละเอียด เพ่ือให้ดินร่วนซยุ และชว่ ยลดการสูญเสยี ความช้นื ของดินชั้นลา่ ง เมื่อหมดฝนเริ่มปลูกอ้อยโดยใช้ไถหัวหมูเปิดทีละร่องแล้วปลูกให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพ่อื รักษาความชนื้ ของดินช้นั ลา่ ง ควรมีนำ้ เสรมิ เพือ่ ลดความเสี่ยงถา้ ฝนตกลา่ ชา้ 2.2.7 วิธกี ารเกบ็ เกย่ี ว 1) คนตัดมดั ควรเปน็ พันธุท์ ม่ี ขี นาดลำปานกลาง - ใหญ่ นำ้ หนักตอ่ ลำสงู ลอกกาบง่าย ไม่มีขน หลังกาบใบ การหกั ลม้ น้อย ไมอ่ อกดอก (กรณใี ชย้ อดมัด) 2) คนตดั ไม่มัด (ใช้รถคบี ) ควรเป็นพันธุท์ ี่มขี นาดลำปานกลาง - ใหญ่ น้ำหนกั ต่อลำสูง ลอกกาบง่าย ไมม่ ขี นหลังกาบใบ การหกั ลม้ นอ้ ย 3) รถตดั ควรเปน็ พันธุท์ ่มี ีขนาดลำปานกลาง จำนวนลำตอ่ กอสงู น้ำหนกั ต่อลำสงู ลอกกาบง่าย 2.2.8 โรคและแมลงศัตรูอ้อยท่รี ะบาดทำลาย 1) ต้องทราบว่าในพ้ืนที่ปลกู อ้อยของตนและพื้นทีใ่ กล้เคยี งมีโรคอ้อยใดบ้างทีเ่ คยมีการระบาด ทำลาย เช่น โรคเห่ยี วเนา่ แดง โรคเนา่ คออ้อย โรคแสด้ ำ โรคใบขาว ควรเลือกใช้พนั ธอ์ุ ้อยทม่ี ีความต้านทานต่อ โรคทเ่ี คยมีการระบาดทำลายในสภาพท้องถน่ิ นัน้ ๆ 2) ต้องทราบว่าในพ้ืนที่ปลูกอ้อยของตนและพื้นที่ใกล้เคยี งมีแมลงศัตรูอ้อยชนิดใดที่เคยมกี าร ระบาดทำลาย เช่น หนอนกออ้อย แมลงหวี่ขาว ไรแดง หรือด้วงหนวดยาว ควรเลือกใช้พันธุ์อ้อยที่มีความ ตา้ นทานตอ่ แมลงทเี่ คยมกี ารระบาดทำลายในสภาพท้องถิน่ นัน้ ๆ หรือเปน็ พนั ธุ์ท่ีแมลงไมช่ อบทำลาย 2.2.9 ลักษณะทางการเกษตรทสี่ ำคัญ ไดแ้ ก่ 1) ผลผลติ ออ้ ย (เฉล่ียทงั้ อ้อยปลกู และออ้ ยตอไมน่ ้อยกวา่ 12 ตันต่อไร่) 2) คณุ ภาพความหวาน (เฉลย่ี ทงั้ อ้อยปลกู และออ้ ยตอไมต่ ่ำกว่า 12 c.c.s) 3) อายุการเก็บเกีย่ ว (ต้องสมั พันธ์กบั ชว่ งเวลาปลูก) 4) การหกั ล้ม (ไม่หกั ลม้ -หกั ล้มเลก็ น้อย) 5) การออกดอก 6) การไว้ตอ (ด,ี ไมน่ อ้ ยกว่า 2 ป)ี 7) ความทนแลง้ ได้พอสมควร 8) ความตา้ นทานโรคและแมลงศัตรอู ้อยทรี่ ะบาดทำลายในท้องถิ่นไดด้ ี 9) จำนวนลำ (เฉลย่ี ไม่นอ้ ยกว่า 9,000 ลำตอ่ ไร่) 10) ขนาดลำ (มขี นาดลำทีเ่ หมาะสมกบั วธิ ีการเกบ็ เกยี่ ว) 11) การลอกกาบใบและขนหลงั กาบใบ ควรเปน็ พนั ธทุ์ ่ลี อกกาบง่าย และไมม่ ีขนหลังกาบใบ 12) ลักษณะไส้ตนั -กลวงเลก็ นอ้ ย เนอื้ อ้อยแน่นสะอาด ไมม่ รี ่องรอยการทำลายของโรคและแมลง 13) ลกั ษณะใบสเี ขียวสดใส แผร่ ับแสงแดดไดด้ ี ขนาดใบไมส่ นั้ และยาวจนเกินไป

25 2.3 การเตรียมพนั ธุอ์ ้อย - ชาวไร่ทุกรายควรมีแปลงพันธข์ุ องตนเอง เพ่อื ทีจ่ ะไดพ้ นั ธุ์บรสิ ุทธิ์ (ไม่คละพันธ์ุ ปลอดโรค และแมลง) - ขณะตัดพันธุ์ต้องตัดเฉพาะอ้อยลำที่สมบูรณ์เท่านั้น อ้อยลำเล็กผิดปกติ อ้อยเป็นโรค ห้ามตัด ให้ทิง้ ไว้ในไร่ ใหน้ ำเฉพาะอ้อยท่ีปกตเิ ท่านัน้ ไปปลูก - กรณีมีหนอนกอเข้าทำลายบ้างเล็กน้อย ก่อนปลูกให้นำไปแช่น้ำ 24 ชั่วโมง หรือแช่น้ำร้อน 50 - 52 องศาเซลเซยี ส เป็นเวลา 2 ชว่ั โมง หรือแชน่ ้ำปูนขาว 7 - 8 ชั่วโมง หรือใชแ้ บคทเี รยี ผสมน้ำราดกอง พันธอ์ุ อ้ ยทง้ิ ไวป้ ระมาณ 1 - 2 วนั ก่อนปลกู เพ่ือฆา่ หนอนในลำออ้ ย - การตดั พันธ์ตุ อ้ งลอกกาบ เพราะการขนย้ายจะทำให้ตาช้ำ ตาแตก ออ้ ยไม่งอก - เมอ่ื ตดั พนั ธเ์ุ สรจ็ ใหร้ บี ปลูกเพราะถ้าท้งิ ไว้นานเกนิ 5 วนั เปอร์เซ็นต์การงอกต่ำลง - การลอกกาบก่อนปลูกจะทำให้อ้อยงอกเร็วกว่าไม่ลอกกาบเล็กน้อย แต่จะทำให้เสี ยเวลา เสียคา่ ใช้จ่ายสงู ขน้ึ โดยไม่จำเป็น ถ้าใช้เครือ่ งปลูกควรลอกกาบเพราะจะทำใหอ้ อ้ ยลงสม่ำเสมอ - ถ้าสงสัยว่าแปลงพันธุ์อ้อยจะเป็นโรคใบขาวหรือไม่ ให้สุ่มตัดยอดทิ้งจำนวน 15 - 20 ยอด ถ้าตาท่ี แตกมีใบขาวเกนิ จาก 1 - 2 ต้น ออ้ ยแปลงนี้ก็ไมส่ มควรทำพันธุ์ เกษตรกรไม่ควรปลูกอ้อยเพียงพันธุ์เดียว เพราะจะเสี่ยงต่อการระบาดทำลายของโรคแมลงได้ ควรปลูกอ้อยไว้อย่างน้อย 2 - 3 พันธุ์ เพราะหากเกิดการทำลายของโรคหรือแมลงในพันธุ์ใดพันธุ์หนึ่ง ก็ยังมี พนั ธอุ์ ่ืน ๆ ทีม่ ีความต้านทานตอ่ โรคหรอื แมลงทดแทน สิ่งที่ควรพิจารณาในการเตรียมทอ่ นพนั ธ์ุ 1) อายอุ อ้ ยที่ใชท้ ำพนั ธคุ์ วรอยูร่ ะหว่าง 8 - 10 เดือน 2) ท่อนพันธ์คุ วรปราศจากโรคและแมลง (แปลงพันธคุ์ วรจะปลอดโรคและแมลง) 3) เปน็ ทอ่ นพันธ์ุแท้ (ลกั ษณะพันธ์ตุ รงตามลกั ษณะบง่ ชี้ของแหล่งทมี่ า) และไมม่ ีพนั ธุ์อนื่ ปน 4) ตาออ้ ยทีอ่ ยู่บนทอ่ นพนั ธุ์ส่วนใหญต่ ้องสมบรู ณ์ ไม่เสียหาย จึงขอแนะนำพันธอุ์ ้อยทไี่ ดน้ ำมาใหเ้ กษตรกรปลูกในพ้ืนทใ่ี ห้ทราบถงึ ลักษณะและคุณสมบตั ิที่สำคัญ ดงั น้ี 2.4 พันธอ์ุ อ้ ยทีเ่ หมาะสม 2.4.1 พนั ธอุ์ อ้ ยทไี่ ดร้ บั การรบั รองพันธจุ์ ากกรมวชิ าการเกษตร 1) ออ้ ยพนั ธอ์ุ ู่ทอง 84-11 ประวัติ อ้อยพันธุ์อู่ทอง 84-11 (02-2-226) เป็นคู่ผสมของพันธุ์แม่ 93-2-085 (ให้ผลผลิตสูง ลม้ งา่ ย เป็นลูกผสมของ 85-2-352 กบั K 84-200) กบั พันธ์ุพ่อ 92-2-065 (หวานมาก ลำเล็ก เปน็ ลูกผสมของ 88-2-070 กับ K 84-200) ผสมพันธุ์ที่ศูนย์วิจยั พืชไร่สุพรรณบุรี ในปี 2545 จนถึง 2552 รวมระยะเวลา 7 ปี

26 ลักษณะเดน่ – ในเขตชลประทานให้ผลผลิตน้ำหนักเฉลี่ย 18.24 ตัน/ไร่ ซึ่งเฉลี่ยจากผลผลิต น้ำหนักอ้อย ปลูก 19.76 ตนั /ไร่ อ้อยตอ 1 17.75 ตนั /ไร่ อ้อยตอ 2 16.86 ตัน/ไร่ และให้ผลผลิตน้ำตาลเฉลย่ี 2.67 ตันซีซี เอส/ไร่ และมคี า่ CCS เทา่ กบั 14.66 – ในเขตที่มีน้ำเสริม ให้ผลผลิตน้ำหนักเฉลี่ย 13.25 ตัน/ไร่ ซึ่งเฉลี่ยจากผลผลิตน้ำหนักอ้อย ปลกู 15.34 ตนั /ไร่ อ้อยตอ 1 12.16 ตัน/ไร่ ออ้ ยตอ 2 12.24 ตัน/ไร่ และให้ผลผลิตนำ้ ตาลเฉลี่ย 1.75 ตนั ซีซี เอส/ไร่ และมีค่า CCS เท่ากบั 13.21 ซีซเี อส – ต้านทานโรคเห่ยี วเน่าแดงปานกลาง ตา้ นทานโรคแสด้ ำปานกลาง พื้นที่แนะนำ ควรปลกู ในเขตชลประทานหรือเขตทีม่ ีนำ้ เสรมิ 2) ออ้ ยพันธ์ุอทู่ อง 12 ประวัติ อ้อยพันธุ์อู่ทอง 12 (02-2-477) เป็นลูกผสมของพันธุ์แม่สุพรรณบุรี 80 (ผลผลิตสูง โตเร็ว หวานช้า ต้านทานโรคเหี่ยวเน่าแดงปานกลาง เป็นลูกผสมของ 85-2-352 กับ K84-200) กับพันธุ์ พ่ออทู่ อง 3 (ผลผลิตสงู หวาน ไม่ต้านทานโรคเห่ยี วเน่าแดงเป็นลกู ผสมของอ่ทู อง 1 กบั อู่ทอง 2) ผสมข้ามพันธุ์ ทศี่ ูนย์วจิ ยั พืชไร่สุพรรณบุรี ในปี 2545 จนถึง 2552 รวมระยะเวลา 7 ปี ลกั ษณะเด่น 1. ผลผลิตน้ำหนักเฉลี่ย 16.92 ตัน/ไร่ สูงกว่าพันธุ์ K84-200 (14.18 ตัน/ไร่) ร้อยละ 19 สูงกว่าพันธุ์อู่ทอง 3 (14.11 ตัน/ไร่) ร้อยละ 20 ส่วนผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย 2.40 ตันซีซีเอส/ไร่ สูงกว่าพันธ์ุ K84-200 (2.06 ตันซซี เี อส/ไร่) ร้อยละ 17 สูงกวา่ พันธอ์ุ ่ทู อง 3 (1.94 ตันซีซีเอส/ไร่) ร้อยละ 24 2. ตา้ นทานปานกลางตอ่ โรคเหีย่ วเน่าแดง 3. ต้านทานปานกลางต่อโรคแส้ดำ พน้ื ทแ่ี นะนำ ควรปลกู อ้อยในเขตชลประทาน

27 3) อ้อยพนั ธุ์อทู่ อง 13 ประวัติ อ้อยพันธุ์อู่ทอง 13 (03-2-287) เป็นลูกผสมพันธุ์แม่ BC3 ของ S. spontaneum มีขนาดลำเล็ก ความหวานสูง เจริญเติบโตเร็วและทนแล้ง) กับพันธุ์พ่ออู่ทอง 8 (มีขนาดลำใหญ่ ผลผลิตสูง เป็นลูกผสมของพันธุ์ K84-200 กับอู่ทอง 3) ทำการที่ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ในปี 2546 จนถึง 2552 รวมระยะเวลา 6 ปี ลกั ษณะเด่น ให้ผลผลติ น้ำหนักเฉล่ยี 14.30 ตนั /ไร่ ใหผ้ ลิตนำ้ ตาลเฉล่ยี 1.99 ตนั ซีซเี อส/ไร่ พน้ื ทแ่ี นะนำ ควรปลูกในพ้ืนท่ีเขตใช้น้ำฝน ข้อควรระวัง ควรหลีกเลี่ยงการปลกู ในพ้ืนที่มนี ้ำขงั และน้ำมาก เพราะออ้ ยพันธ์ุนีเ้ จริญเติบโต เร็วมาก จะทำใหล้ ม้ และไม่ควรปลูกในแหลง่ ท่ีมีประวตั ิโรคเห่ียวเนา่ แดงและ โรคแส้ดำระบาด 4) อ้อยพนั ธอ์ุ ูท่ อง 14 ประวตั ิ ออ้ ยพันธุ์อู่ทอง 14 (94-2-106) เป็นลูกผสมของพันธุแ์ ม่ 84-2-646 กับพนั ธ์พุ ่ออูท่ อง3 ผสมพนั ธ์ทุ ศี่ ูนยว์ ิจัยพชื ไร่สพุ รรณบรุ ี ปี 2537 จนถงึ 2557 รวมระยะเวลา 20 ปี ลักษณะเดน่ - ในดินด่าง pH ไม่เกิน 7.8 อ้อยพันธุ์อู่ทอง 14 ให้ผลผลิตน้ำหนักเฉลี่ย 21.19 ตัน/ไร่ ในดินด่างชุด ตาคลี pH ไมเ่ กนิ 8.05 อ้อยโคลน 94-2-106 ให้ผลผลติ 17.1 ตนั /ไร่ ในออ้ ยปลกู และ 11.0 ตนั /ไร่ ในอ้อยตอ 1

28 - ในดินด่างชดุ ลำนารายณ์ pH ไม่เกนิ 8.0 ออ้ ยพันธ์อุ ่ทู อง 14 ให้ผลผลติ นำ้ หนกั เฉลยี่ 27.32 ตนั /ไร่ - ในฤดูปลายฝนเขตน้ำฝน อ้อยพันธุ์อู่ทอง 14 ให้ผลผลิตน้ำหนักเฉลี่ย 18.28 ตัน/ไร่ ให้ผลผลิต น้ำตาลเฉล่ีย 2.57 ตนั ซซี เี อส/ไร่ - ในฤดตู น้ ฝนเขตน้ำฝน ออ้ ยพันธอ์ุ ทู่ อง 14 ใหผ้ ลผลิตน้ำหนักเฉลย่ี 12.76 ตัน/ไร่ และให้ผลผลิต นำ้ ตาลเฉล่ีย 1.82 ตันซซี เี อส/ไร่ - ตา้ นทานโรคเหี่ยวเนา่ แดงปานกลาง พื้นที่แนะนำ ควรปลูกในพื้นที่ดินด่างชุดตาคลี pH ไม่เกิน 8.05 และชุดลำนารายณ์ pH ไม่เกิน 8.0 และดินเหนียวและด่าง pH ไม่เกิน 7.8 ในพื้นที่ปลูกปลายฝน เขตน้ำฝนที่ จังหวัดนครสวรรค์ บุรีรัมย์ ขอนแกน่ ควรปลูกในพ้ืนทีป่ ลกู ตน้ ฝนเขตนำ้ ฝน จังหวัดเพชรบูรณ์ ลพบุรี และกาญจนบุรี 5) ออ้ ยพันธอุ์ ูท่ อง 15 ประวัติ อ้อยพันธุ์อู่ทอง 14 (94-2-254) เป็นลูกผสมตัวเองของพันธุ์อู่ทอง 2 ผสมพันธุ์ท่ี ศนู ยว์ จิ ัยพืชไรส่ พุ รรณบุรี ในปี 2537 จนถึง 2557 รวมระยะเวลา 20 ปี ลกั ษณะเดน่ - ในดนิ รว่ นปนทราย ผลผลิตนำ้ หนักเฉลีย่ 16.97 ตัน/ไร่ และผลผลิตน้ำตาลเฉล่ีย 2.47 ตนั ซซี เี อส/ไร่ - ในฤดูปลายฝนเขตน้ำฝน ให้ผลผลิตน้ำหนักเฉลี่ย 17.91 ตัน/ไร่ และให้ ผลผลิตน้ำตาลเฉล่ีย 2.37 ตันซีซีเอส/ไร่ - ในฤดูต้นฝนเขตน้ำฝน ให้ผลผลิตน้ำหนักเฉลี่ย 14.16 ตัน/ไร่ และให้ผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย 1.98 ตนั ซซี ีเอส/ไร่ พนื้ ทแี่ นะนำ - ควรปลูก ในดินรว่ นปนทราย จังหวัดเพชรบุรี กาญจนบรุ ี และสุพรรณบุรี - ในฤดูปลายฝนเขตนำ้ ฝน จงั หวัดบุรีรมั ย์ ขอนแกน่ นครราชสมี า และชลบุรี - ในฤดตู ้นฝนเขตนำ้ ฝน จงั หวัดลพบุรี และกาญจนบรุ ี ขอ้ ควรระวัง ควรหลีกเลีย่ งพน้ื ทม่ี ีน้ำขัง และมีโรคเหย่ี วเน่าแดงระบาด

29 2.4.2 พันธ์ุท่ไี ดจ้ ากงานวจิ ัยของกระทรวงอุตสาหกรรม 1) พันธ์ุ K 76-4 เป็นพันธุท์ ี่ได้รับจากการผสมระหวา่ งพนั ธุ์ Co 798 กับพนั ธุ์ Co 775 ใหผ้ ลผลิตอ้อยสด 14 ตันตอ่ ไร่ ความหวาน 12 CCS การแตกกอปานกลาง มี 5-6 ลำต่อกอ ลำตน้ ตรงสเี หลอื ง อมเขียว เจรญิ เติบโตไดเ้ รว็ ทนทานต่อโรคใบขาวและหนอนเจาะลำตน้ 2) พนั ธุ์ K 84-69 เป็นพนั ธ์ทุ ่ไี ด้จากการผสมระหวา่ งพันธุ์ F 143 กับพนั ธุ์ ROC 1 ใหผ้ ลผลติ อ้อยสด 12-15 ตนั ตอ่ ไร่ ความหวาน 12-13 CCS การแตกกอปานกลาง มี 5-6 ลำตอ่ กอ ลำต้นตรง สีเขยี วมะกอก เจริญเติบโตเรว็ ลอกกาบค่อนข้างงา่ ย ข้อควรระวงั ออ่ นแอต่อโรคเห่ียวเน่าแดงและโรคแส้ดำปลกู ในสภาพดินร่วนเหนียวดีกว่ารว่ นทราย 3) พันธุ์ K 87-200 เปน็ พนั ธุ์ท่ไี ดจ้ ากการผสมระหวา่ งพันธุ์ ROC 1 กบั พันธ์ุ CP 63-588 ให้ผลผลิตอ้อยสด 12-14 ตันต่อไร่ ความหวาน 13 CCS การแตกกอน้อย ไว้ต่อค่อนข้างดี ออกดอกเล็กน้อย ลำต้นตรงสเี ขยี วมะกอก ทรงกอแคบ ลำตน้ ตง้ั ตรง ตา้ นทานตอ่ โรคเหีย่ วเนา่ แดง และโรคแสด้ ำ ลอกกาบใบงา่ ย ขอ้ ควรระวัง อ่อนแอตอ่ โรคกอตะไครแ้ ละโรคใบขาว 4) พันธ์ุ K88-92 เปน็ พนั ธ์ทุ ไ่ี ด้จากการผสมระหว่างพันธ์อุ ทู่ อง 1 กบั พันธุ์ PL 310 ผลผลิตอ้อยสด 15 ตันต่อไร่ ความหวาน 12 CCS การแตกกอปานกลาง ลำต้นขนาดปานกลางถงึ ใหญ่ การไวต้ อดี ออกดอกเล็กน้อย ลำต้นตรง สีเขียวมะกอก ต้านทานต่อโรคแส้ดำ ต้านทานปานกลาง ต่อโรคเหี่ยวเน่าแดง เจริญเตบิ โตเร็ว ข้อควรระวงั ออ่ นแอตอ่ โรครากเน่าและโรคใบขาว 5) พันธ์ุ K 9 0-7 7 เปน็ พนั ธ์ุทไ่ี ดจ้ ากการผสมระหว่างพนั ธ์ุ K 8 3-7 4 กับพนั ธอ์ุ ู่ทอง 1 ผลผลิตออ้ ยสด 12-20 ตนั ตอ่ ไร่ ความหวาน 12-15 CCS การแตกกอปานกลาง ไวต้ อไดด้ ี ไมอ่ อกดอก ลำต้นสี เขยี วเขม้ เมอื่ ถกู แสงจะเป็นสมี ่วง ทรงกอคอ่ นขา้ งกวา้ ง เจริญเติบโตเรว็ ทนแล้งไดด้ ี ต้านทานปานกลางตอ่ โรค เห่ยี วเน่าแดง โรคตะไครโ้ รคยอดเน่าและโรคแส้ดำตา้ นทานปานกลางต่อหนอนเจาะยอดและหนอนเจาะลำต้น ขอ้ ควรระวัง ลอกกาบใบได้คอ่ นขา้ งยาก 6) พนั ธ์ุ K 9 2-8 0 เปน็ พนั ธท์ุ ่ีไดจ้ ากการผสมระหวา่ งพนั ธ์ุ K 8 4-2 0 0 กบั พนั ธ์ุ K 7 6-4 ผลผลิตออ้ ยสด 16-19 ตันตอ่ ไร่ ความหวาน 11-13 CCS การแตกกอปานกลาง ขนาดลำปานกลาง การไว้ตอ ดีมาก ไม่ออกดอก ลำสีเหลืองอมเขียว ทรงกอค่อนข้างกว้าง เจริญเติบโตเร็ว ทนแล้ง ปานกลาง ต้านทาน ปานกลางต่อโรคเห่ยี วเน่าแดง โรคกอตะไคร้ โรคราสนิม โรคแสด้ ำ และหนอนเจาะลำต้น ข้อควรระวงั งอกชา้ อ่อนแอต่อโรคใบจุดเหลอื ง โรคยอดบิดและโรคใบจุดวงแหวน หกั ล้มง่าย กาบใบร่วงหลุดยาก 7) พนั ธุ์ K 92-213 เป็นพันธทุ์ ไี่ ดจ้ ากการผสมระหวา่ งพนั ธ์ุ K 84-2 00 กับพันธ์ุ K 84-74 ผลผลติ ออ้ ยสด 15-18 ตนั ตอ่ ไร่ ความหวาน 11-13 CCS การแตกกอปานกลาง ขนาดลำปานกลาง การไวต้ อดี ออกดอกเล็กน้อย ลำสีเขียวอมเหลือง งอกเร็ว ทนแล้งปานกลาง ต้านทานปานกลาง ต่อโรคเหี่ยวเน่าแดง โรคกอตะไครแ้ ละโรคแส้ดำ ข้อควรระวัง อ่อนแอตอ่ โรคใบจุดเหลือง โรคยอดบิดและโรคใบจุดวงแหวน การหักลำปานกลาง กาบใบรว่ งหลดุ ยาก ควรปลกู ในเขตชลประทาน

30 8) พันธุ์ K 93-219 เป็นพันธ์ุที่ได้จากการผสมระหวา่ งพนั ธ์อุ ทู่ อง 1 กับพันธ์อุ ีเหยี่ ว ผลผลิตอ้อยสด 16-21 ตันต่อไร่ ความหวาน 12-14 CCS การแตกกอปานกลาง ขนาดลำปานกลาง การไว้ตอดี ไม่ออกดอกลำต้นสีเขียว งอกเร็ว เจริญเติบโตเร็ว ทนแล้งปานกลาง ต้านทานปานกลาง ต่อโรคเหี่ยวเน่าแดง โรคกอตะไคร้ โรคใบจุดเหลือง โรคราสนมิ และโรคแสด้ ำ ต้านทานตอ่ หนอนเจาะลำต้น เกบ็ เกี่ยวอายุ 12 เดอื น ขอ้ ควรระวัง ออ่ นแอตอ่ โรคใบจดุ เหลือง การหักลม้ ปานกลาง กาบใบร่วงหลดุ ยาก 9) พันธ์ุ K 93-347 เปน็ พันธทุ์ ่ีได้จากการผสมระหว่างพนั ธุอ์ ู่ทอง 1 กับพนั ธุ์ K 84-200 ผลผลติ ออ้ ยสด 16-20 ตนั ต่อไร่ ความหวาน 11-13 CCS การแตกกอปานกลาง ขนาดลำปานกลาง การไว้ตอดี ไม่ออกดอก ลำสีเขียวอมเหลือง งอกเร็ว เจริญเติบโตเร็ว ทนแล้ง ต้านทานปานกลาง ต่อโรคเหี่ยวเน่าแดง โรคกอตะไคร้ และโรคแสด้ ำ อายเุ กบ็ เก่ียว 12 เดือน ข้อควรระวัง ออ่ นแอตอ่ โรคใบจุดเหลือง การหักล้มปานกลาง กาบใบร่วงหลุดยาก 10) พันธ์ุ K 95-84 เป็นพันธ์ุท่ีได้จากการผสมระหว่างพนั ธ์ุ K 90-79 กบั พนั ธุ์ K 84-200 ผลผลิตอ้อยสด 16-20 ตันต่อไร่ ความหวาน 11-13 CCS การแตกกอปานกลาง ลำขนาดใหญ่ (4.1-4.3 ซม.) การไว้ตอดี ไม่ออกดอก ลำสีเขียวมะกอกอมเหลือง เจริญเติบโตเร็ว ทนแล้งปานกลาง ลอกกาบใบง่าย ตา้ นทานปานกลางต่อโรคเหี่ยวเน่าแดง โรคกอตะไคร้ โรคราสนิม และโรคแสด้ ำ ต้านทานปานกลางต่อหนอน เจาะลำต้น ขอ้ ควรระวัง ออ่ นแอตอ่ โรคใบขาวและโรคยอดบิด 2.4.3 พันธุท์ ่ไี ดจ้ ากการวจิ ัยของมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ 1) พนั ธ์เุ กษตรศาสตร์ 50 เปน็ พนั ธทุ์ ไี่ ด้จากการผสมเปดิ ของออ้ ยพันธุ์ Kwt # 7 ผลผลิตอ้อยสด 13-16 ตันต่อไร่ ความหวาน 12-14 CCS การแตกกอปานกลาง มี 5-6 ลำต่อกอ ไว้ตอได้ดี ออกดอกเล็กน้อยถึงปานกลาง ลำต้นสีเขียวเข้ม หากถูกแสงแดดจะเป็นสีม่วง ขนาดลำค่อนข้างเล็ก เจรญิ เติบโตเรว็ ทนแลง้ ไดด้ ี เจริญเติบโตได้ดใี นดนิ ร่วน หรอื ร่วนทรายที่ระบายน้ำได้ดี ข้อควรระวงั อ่อนแอต่อโรคเหยี่ วเน่าแดง และสารกำจัดวชั พชื บางชนดิ 2) พันธุ์กำแพงแสน 89-200 เป็นพันธุท์ ี่ได้จากการผสมระหว่างพันธุ์ IAC 52-326 กับพันธุ์ Co 331 ผลผลิตอ้อยสด 15-16 ตันต่อไร่ ความหวาน 11-13 CCS การแตกกอดี มี 6-8 ลำต่อกอ ขนาดลำปานกลาง ไว้ตอได้ค่อนข้างดี ออกดอกเล็กน้อยถึงปานกลาง ลำต้นตรง สีเขียวอมเหลือง เจริญเติบโตเร็ว ทนแล้ง เกบ็ เกย่ี วอายุ 10-12 เดอื น เจริญเตบิ โตได้ดใี นดนิ ร่วนและรว่ นทราย ขอ้ ควรระวงั อ่อนแอต่อโรคเหี่ยวเนา่ แดง 3) พันธุ์กำแพงแสน 92-0447 เป็นพันธุ์ที่ได้จากการผสมระหว่างพันธุ์ F 146 กับ พันธุ์ B 34164 ผลผลิตอ้อยสด 14-16 ตันต่อไร่ ความหวาน 10-12 CCS การแตกกอปานกลาง ขนาดลำปานกลาง การไวต้ อดี ออกดอกเล็กนอ้ ย ลำต้นโตเรว็ สเี หลอื งอมเขยี ว เจรญิ เติบโตเรว็ ค่อนข้างทนแลง้ อายเุ ก็บเก่ียว 11-12 เดอื น ขอ้ ควรระวงั อ่อนแอต่อโรคเหี่ยวเนา่ แดง 4) พนั ธุ์กำแพงแสน 91-1336 เปน็ พนั ธทุ์ ไ่ี ดจ้ ากการผสมเปิดของออ้ ยพันธุ์ F 146 ผลผลิตอ้อยสด 15-17 ตันต่อไร่ ความหวาน 11-13 CCS การแตกกอดี ขนาดลำปานกลาง การไว้ต่อดี ออกดอกปานกลาง ลำตน้ ซิกแซก็ สีเขียวอมเหลอื ง เจริญเติบโตเรว็ คอ่ นข้างทนแลง้ อายเุ ก็บเกย่ี ว 11-12 เดือน ข้อควรระวัง อ่อนแอต่อโรคเหี่ยวเนา่ แดง

31 2.5 โรคและแมลงศัตรูออ้ ย 1. เนา่ คอออ้ ย (แบคทรี โี อซสี ) เช้อื สาเหตุ Erwinia carotovora แบคทเี รีย อาการ : ในระยะแรกอ้อยจะแห้งตายเป็นบางหน่อ ระยะหลังลำอ้อยบริเวณคอเน่าจนคอหักพับ มกี ลนิ่ เหมน็ เนา่ เนอื้ ในอ้อยยบุ เป็นโพรงเห็นเนื้อเป็นเส้น วิธกี ารแพร่ระบาด : ติดไปกบั ท่อนพนั ธุ์ ลมและฝนพัดพาเชอื้ จากตน้ ทเ่ี ปน็ โรคไปตดิ ตน้ ข้างเคียง วิธีการป้องกันรักษา : พบกอเป็นโรคให้ตัดออกทำลาย พ่นสารเคมีแอกกริไมซินบนกอที่ตัดทิ้งและ บริเวณรอบ ๆ กอ สภาพแวดลอ้ มท่ี : เหมาะสมในการแพรร่ ะบาดพบกอเป็นโรคให้ตัดออกทำลาย พน่ สารเคมีแอกกริไมซิน บนกอทตี่ ดั ท้งิ และบริเวณรอบ ๆ กอ พาหะนำโรค : ท่อนพนั ธ์ุที่เปน็ โรค ลม ฝน 2. โรคใบขาวออ้ ย เชือ้ สาเหตุของโรคใบขาว โรคใบขาวของอ้อยเกิดจากเชื้อไฟโตพลาสมา ซึง่ เปน็ เชอื้ ท่ีตอ้ งเจรญิ เติบโตอยู่ในตน้ อ้อยหรือในแมลง พาหะเท่านั้น โดยเชื้อจะอยู่ภายในท่ออาหารของอ้อย ซึ่งอ้อยเจริญเติบโตไปได้เพียงใด เชื้อสาเหตุของโรค สามารถเพิ่มปริมาณไปได้ไกลเทา่ กนั แมลงพาหะถ่ายทอดเช้อื แมลงพาหะที่สามารถถ่ายทอดเชื้อไฟโตพลาสมา สาเหตุโรคใบขาวมี 2 ชนิด ประกอบด้วย เพลี้ย จักจน่ั ลายจุดสนี ้ำตาล และ เพลี้ยจักจัน่ หลงั ขาว โดยเพลยี้ ท้ังสองชนิดน้จี ะดดู กนิ นำ้ เล้ยี งออ้ ยเป็นหลัก เพ่ือการ

32 เจรญิ เติบโตและวางไข่ในดนิ โดยชอบวางไข่ในดนิ ทรายหรอื ดินร่วนทรายมากกว่าดินชนิดอืน่ เมื่อแมลงพาหะ ไปดูดกินน้ำเลี้ยงจากอ้อยที่มีเชื้อไฟโตพลาสมาสาเหตุโรคใบขาวแล้ว เชื้อไฟโตพลาสมาสามารถเข้าไปเพ่ิม ปริมาณในตวั ของแมลงพาหะ (ใช้เวลาประมาณ 3 - 4 สัปดาห์) แล้วเข้ามาอยูใ่ นต่อมน้ำลายของแมลง ซึ่งทุก คร้งั หลังจากน้ีถ้าหากแมลงดดู กนิ น้ำเล้ียงจากต้นอ้อยปกติ ก็สามารถถ่ายทอดเชื้อไฟโตพลาสมาไปยงั ตน้ อ้อยได้ ทั้งนี้พบว่า เพลี้ยจักจั่นลายจุดสีน้ำตาลเจริญเติบโตและเพิ่มปริมาณได้มาก ช่วงเดือนมิถุนายน – กันยายน ในขณะที่เพลี้ยจักจั่นหลังขาว สามารถเจริญเติบโตและเพิ่มปริมาณได้มาก ระหว่างเดือน กันยายน – พฤศจกิ ายน โดยชว่ งเวลาดงั กลา่ วจงึ ตอ้ งเฝา้ ระวังการระบาดการเพิ่มขึ้นของแมลงทง้ั สองชนิด ไมค่ วรปลูกอ้อย ใหมใ่ นช่วงน้ี อาจใชก้ ับดกั แสงไฟ หรอื แถบกาว สีต่าง ๆ ช่วยดักจบั แมลง เพือ่ ลดช่องทางการระบาดของโรค ใบขาวอ้อยได้ การปอ้ งกันกำจดั 1. หากอ้อยแสดงอาการใบขาว ควรทำการขุด และนำไปเผาทำลายนอกแปลง หรือฉีดพ่นด้วย สารเคมีกำจดั วชั พชื (ไกลโฟเสท) ใหต้ ายไปทงั้ กอ 2. ไม่ปล่อยกออ้อยท่ีเปน็ โรคใบขาวไว้ในแปลง เพราะมคี วามเสีย่ งที่แมลงพาหะจะมาดดู กนิ นำ้ เลี้ยง และอาจถ่ายทอดเชื้อใบขาวไปยงั กออ้อยอ่ืนๆ 3. หากพบการระบาดในระดับเสียหาย โดยมีเปอร์เซ็นการเกิดโรคสูงกว่า 30% ให้รื้ออ้อยออกท้ัง แปลง เน่อื งจากไมค่ ุ้มคา่ ตอ่ การบำรุงรกั ษาต่อไป 4. เลือกใชท้ ่อนพันธอ์ุ อ้ ย จากแปลงออ้ ยที่เชือ่ ถือได้ หรือมีการตรวจรับรองแปลงพันธ์ุอ้อยว่าไม่มีเช้ือ สาเหตุโรคใบขาวแฝงอยู่ 5. จัดทำแปลงอ้อยไว้เป็นท่อนพันธุ์โดยเฉพาะ ที่สามารถควบคุมการระบาดของโรคใบขาวอ้อย ด้วยเทคนิคการจดั ทำแปลงพนั ธุอ์ อ้ ยปลอดโรค 6. หากพบการระบาดของโรคใบขาว ในแปลงอ้อย ให้สำรวจพ้ืนท่ีการระบาดและเปอร์เซน็ ต์ของการ เกิดโรค และแจ้งโรงงานน้ำตาล หรือ สมาคมชาวไร่อ้อยที่สังกัด เพื่อกำหนดแนวทางดำเนินการร่วมกัน แก้ไขปญั หา 7. เกษตรกรทีป่ ระสบปัญหาการระบาดของโรคใบขาวอ้อยควรรวมกลุ่มกนั เพ่อื ดำเนนิ การให้เป็นไป ในทศิ ทางเดยี วกัน 8. ควรติดตามข่าวสารของหนว่ ยงานราชการอย่างตอ่ เนือ่ ง 3. โรคใบขดี แดงและยอดเนา่

33 สาเหตุ : เกิดจากเช้อื แบคทีเรีย Xanthomonas rubrilineans การระบาด 1. ระบาดไปทางท่อนพนั ธุ์ 2. ระบาดโดยทางลม ฝน โดยพดั พาเช้อื จากตน้ ทเ่ี ป็นโรคไปติดต้นอ้อยข้างเคียง ลักษณะอาการ ใบมีเส้นสีแดงเป็นขีดยาวตามความยาวของใบบางครั้งรอยขีดติดกันเป็นปื้น ต่อมาเชื้อลามไปในยอด ทําให้มีอาการยอดเน่าบางพันธุ์อาจพบทั้งอาการขีดแดง และยอดเน่าเมื่อเป็นรุนแรงใบยอดเน่าดึงออกง่าย มีกลิ่นเหม็นรุนแรง ภายในลําช้ำเน่าเป็นสีชมพูถึงสีน้ำตาลแดง เนื้ออ้อยเน่ากลางตาอ้อยด้านข้างงอกเป็น หนอ่ บนตน้ การปอ้ งกันกําจัด 1. ทาํ นายกอทเ่ี ป็นโรค 2. ป้องกนั การทําลายของหนอนโดยใชย้ าดูดซมึ 3. แปลงควรระบายน้ำดี 4. ไม่ควรใสป่ ุ๋ยไนโตรเจนเดี่ยวระยะออ้ ยออ่ น 5. กรณที ร่ี ะบาดรุนแรงใช้สารเคมีคอบเปอรอ์ อกซิคลอไรด์ เช่นคารโ์ บซินอัตรา 40 กรัม ตอ่ 20 ลิตร 6. เมือ่ จะเปล่ียนพนั ธ์ุปลกู ใหม่ 1) ควรเลือกพนั ธุท์ ีไ่ ม่ออ่ นแอตอ่ โรค เช่นอ่ทู อง 1 เค 84-200 เค 88-92 2) ไถดินตากและพักดนิ กอ่ นปลกู พันธ์ุใหม่ 4. โรคแสด้ ํา (Smut disease) สาเหตุ : เกดิ จากเชื้อรา Ustilago scitaminea การระบาด 1. การระบาดเปนไปอยางกวางขวางโดยทางทอนพนั ธุจากกอทีเ่ ปนโรค 2. เชอ้ื อยูในดินและสามารถเขาทําลายออยทีป่ ลกู ใหมได 3. เชอื้ สามารถแพรกระจายไดโดยลมและเขาทําลายพันธุที่ออนแอได

34 ลกั ษณะอาการ อ้อยจะแตกยอดออกมาเป็นแส้สีดำแทนยอดปกติ ตนแคระแกรนผอม ขอสั้นใบเล็กแตกกอจัด เมือ่ เป็นรนุ แรงอ้อยจะแหงตาย ผลผลติ ลดลงเกนิ กวา 10 % การปองกนั และการกาํ จัด 1. เลือกใชพนั ธุตานทานเชน อูทอง1 อทู อง2 อทู อง3 อทู อง4 2. ไม่ควรใชทอนพนั ธุจากแหล่งที่มโี รคระบาด 3. ในพ้ืนทีม่ ีการระบาด ถาเลอื กใชพันธุท่ีไมทราบขอมูลความตานทาน ควรแชทอนพนั ธุ ในสารเคมี เชนไตรอะไดมีฟอน (ไบลีตัน 25% WP) โปรปโคนาโซล (ทิลทเดสเมล) อตั รา 48 กรมั ต่อน้ำ 20 ลติ ร นาน 30 นาทีกอนปลกู 5. โรคเหี่ยว (Wilt) สาเหตุ : เกิดจากเชือ้ รา Cephalosporium, Fusarium และ Acremonium การระบาด 1. ทางทอ่ นพันธ์ุ 2. เชื้อราอยูใ่ นดนิ และเศษซากจะเข้าทาํ ลายออ้ ย เม่ือปลูกพนั ธุ์ที่อ่อนแอ 3. โรคจะแพรก่ ระจายไปทางดินลม ฝน และน้ำชลประทาน

35 ลักษณะอาการ อ้อยจะแสดงอาการใบเหลืองโทรม ต่อมาต้นจะแห้งตาย เมื่อตรวจดูบริเวณรากจะพบอาการรากเนา่ อาจจะพบอาการช้ำเน่าในลํารว่ มกับรากเน่าหรือพบแต่อาการรากเน่าอย่างเดียวก็ได้ มกั จะพบระบาดกับพันธุ์ มากอส แต่ในปจั จุบันเรม่ิ พบระบาดกบั พนั ธ์ุออ้ ยอ่ืนๆทปี่ ลูกเปน็ การคา้ การป้องกนั กําจดั 1. เน่อื งจากเชือ้ ราสาเหตุเป็นเชอ้ื ในดินการปอ้ งกันกาํ จดั คอ่ นขา้ งยาก ดงั นั้นวธิ ีการที่ ได้ผลดีท่ีสุดคือ การใช้พนั ธ์ุตา้ นทานปจั จุบันพันธ์ุทพี่ บวา่ เป็นโรคน้อยคือ เค 90-77 และอู่ทอง4 2. ถ้าพบการเกิดโรคเป็นหย่อมๆ ใช้สารเคมีฉีดพ่นหรือราดบริเวณกอที่เป็น จะช่วยลดความรุนแรง ของการเกดิ โรคลงไดส้ ารเคมีทีใ่ ชไ้ ดแ้ ก่ เบนโนมลิ และไธอะเบนดาโซล ความเข้มขน้ 500 ppm. 3. ในกรณที ี่เปน็ โรคกระจายท่วั ท้ังแปลง ไม่แนะนาํ ให้ใช้สารเคมีเนอื่ งจากไม่คุ้มกับการลงทุน ควรไถ คราดตอที่เป็นโรคออกเผาทิง้ พักดนิ ตาก แล้วเปลี่ยนไปปลูกพืชชนดิ อ่ืนหรือปลูกออ้ ยพันธทุ์ ต่ี ้านทาน 6. โรคเหยี่ วเนา่ แดง ระบาดรุนแรง ในพื้นที่ที่มีความชื้นสูง เช่น ในเขตชลประทานหรือพื้นที่นา ทำให้ผลผลิตเสียหาย 30 - 100 เปอร์เซ็นต์ มีผลทำให้ CCS ลดลง โดยโรคเหี่ยวเน่าแดง เกิดจากการทำลายของเชื้อรา 2 ชนิด คือ Fusarium moniliforme และ Colletotrichum falcatum เชื้อ Fusarium moniliforme อยใู่ นดนิ สามารถเขา้ ทำลายอ้อยได้ทางรากและโคนต้น ส่วน เชื้อ Colletotrichum falcatum สามารถเขา้ ทำลายออ้ ยได้ตามรอยแผลท่ีเกดิ จากหนอนหรอื แผลแตกของลำ หรอื ทางรอยเปดิ ธรรมชาติ หากเกษตรกรปลูกโดยใช้ทอ่ นพนั ธุอ์ อ้ ยทตี่ ดิ โรคเห่ยี วเน่าแดง จะทำใหก้ ารระบาด กระจายในวงกวา้ งและยากตอ่ การป้องกนั กำจัด

36 ลกั ษณะอาการ อ้อยจะเหย่ี วตายฉับพลนั ยนื ต้นแหง้ ตายไมส่ ามารถเก็บเกี่ยวได้ 1. ระยะแรกอายุ 4-5 เดือน ออ้ ยใบเหลือง ขอบใบแหง้ 2. ออ้ ยจะยืนต้นแห้งตายเปน็ กอ ๆ จนถงึ ระยะเกบ็ เกีย่ ว 3. เม่ือผ่าในลำจะเหน็ เนอ้ื ออ้ ยเน่าช้ำเป็นสแี ดงเป็นจำ้ หรือเน้อื อ้อยเนา่ เป็นสีนำ้ ตาลปนม่วง การปอ้ งกันกำจดั เมอื่ พบการระบาด กอ่ นการเก็บเก่ยี ว 1. เรง่ ระบายน้ำแปลงทม่ี นี ำ้ ขงั 2. งดการเรง่ ปุย๋ และน้ำ 3. รีบตัดอ้อยเขา้ หีบ การจดั การแกไ้ ขหลังเกบ็ เกย่ี ว 1. ร้อื แปลงท้งิ 2. ทำลายซากตอเกา่ โดยการคราดออกและเผาทิ้ง 3. ตากดนิ ประมาณ 3 คร้งั 4. ปลูกพืชสลับ เชน่ ขา้ วหรอื กลว้ ยกอ่ นปลูกออ้ ยฤดใู หม่ 5. ปลกู พันธทุ์ ี่ต้านทาน เช่น ขอนแก่น 3 หรือ แอลเค 92-11 6. คัดเลือกพนั ธ์ทุ ่สี มบูรณ์ จากแหลง่ ทไ่ี ม่เป็นโรค หรือเตรียมแปลงพันธด์ุ ้วยตนเอง 7. ถา้ ไมแ่ นใ่ จวา่ พนั ธต์ุ า้ นทานหรือไม่ กอ่ นปลกู ควรแชท่ ่อนพนั ธุ์ในสารเคมีเพือ่ ปอ้ งกนั กำจัดโรค ดงั นี้ - เบนโนมิล (เบนเลท 25% WP) อตั รา 25 กรมั ตอ่ น้ำ 20 ลิตร - ไธโอฟาเนท-เมททลิ (ทอปซินเอม็ 50%) อัตรา 20 ซซี ี ตอ่ นำ้ 20 ลิตร - โปรพิโคนาโซล (ทิลท์ 250EC) อัตรา 16 ซซี ี ต่อนำ้ 20 ลติ ร 7. หนอนกอออ้ ย หนอนกอออ้ ย (Sugarcane Borer) อาจจะเรียกวา่ หนอนเจาะหน่ออ้อย หรือหนอนเจาะลำต้นอ้อย หมายถึง แมลงในระยะตัวออ่ นทอี่ าศยั กัดกินอยู่ภายในหนอ่ อ้อยหรือลำตน้ ออ้ ย ทำใหไ้ สก้ ลวงหรอื เกิดเป็นแผล ภายใน หากมองจากดา้ นนอกจะเห็นว่ายอดเห่ียวและแหง้ ตาย ในประเทศไทยมหี นอนกออ้อยอยู่ 5 ชนิด คอื 1. หนอนกอลายจดุ เลก็ (Chilo infuscatellus) 2. หนอนกอสีชมพู (Sesamia inferens) 3. หนอนกอสีขาว (Scripophaga excerptalis) 4. หนอนกอลายใหญ่หรอื หนอนกอแถบลาย (Chilo sacchariphagus) 5. หนอนกอลายจุดใหญ่ (Chilo tumidicostalis) ดังนี้ 7.1 หนอนกอลายจดุ เลก็ (Chilo infuscatellus)

37 ตัวเต็มวัยหนอนกอลายจุดเล็กเป็นผีเสือ้ กลางคืนสีฟางข้าว อายุตัวเต็มวัน 7-12 วัน วางไข่เป็นกลุ่มสี ขาวครมี วางซอ้ นกนั คลา้ ยเกล็ดปลาอย่ใู ต้ใบและบนใบอ้อย ระยะไข่ 3-6 วนั หนอนมจี ุดขนาดเล็ก ๆ (ขนาดจุด ดินสอดำปลายแหลม) สีน้ำตาลไหม้อยู่บนหลังปล้องละ 1 คู่ ระยะหนอน 30-35 วัน หนอนลอกคราบ 5 คร้ัง จงึ เขา้ ดักแด้ ระยะดักแด้ 5-8 วนั 7.2 หนอนกอสชี มพู (Sesamia inferens) ตัวเตม็ วัยของหนอนกอสีชมพูเปน็ ผีเสอ้ื กลางคืนสนี ้ำตาล อายุ 7-11 วนั ไข่เปน็ เม็ดกลมสีชมพูเป็นกลุ่ม เรียงกันอยู่ในกาบใบที่แนบอยู่กับยอดหรือใกล้ยอดใบ ระยะไข่ 6-7 วัน หนอนลำตัวสีชมพูมีขนาดใหญ่กว่า หนอนกอลาย ระยะหนอน 30-50 วัน และลอกคราบ 8-9 ครั้ง ระยะดักแด้ 10-12 วัน พบว่าสามารถทำลาย อ้อยในระยะหน่อทำให้เกิดยอดอ้อยแห้งตายเหมือนการทำลายของหนอนกอลาย ในระยะย่างปล้องหนอน เจาะเข้าทำลายลำต้นน้อยกว่าหนอนกอลายและเข้าทำลายอ้อยได้มากในระยะที่อ้อยแตกกอเมื่ออ้อยอายุ 1.5-4 เดือน พบว่าสามารถเข้าทำลายอ้อยได้ในทุกเขตทั่วประเทศ โดยเฉพาะในเขตที่มีการปลูกอ้อย ต่อเน่อื งกันเป็นเวลานาน ๆ 7.3 หนอนกอสขี าว (Scripophaga excerptalis) ตวั เต็มวัยเปน็ ผีเสือ้ กลางคนื สีขาว อายุ 6-10 วนั ไข่แตล่ ะฟองเป็นเม็ดกลมสีขาวเป็นกลุม่ อยู่ใต้ใบอ้อยและมี ขนสีน้ำตาลปกคลุมอยู่ ระยะไข่ 4-6 วัน ลำตัวของหนอนสีขาวซีด มีขนาดใหญ่ และยาวกว่าหนอนกอลาย ระยะหนอน 35-40 วัน ดักแด้สีขาวปนน้ำตาล ระยะดักแด้ 8-10 วัน หนอนเจาะเข้าเส้นกลางใบอ้อยที่

38 เพิ่งคลี่ใบทำลายใบยอดที่กำลังเจริญเติบโต มีผลทำให้ใบยอดมีรูพรุนยอดสั้นและแห้งตาย ในอ้อยระยะย่าง ปลอ้ งหนอนจะเขา้ ทำลายส่วนเจริญเติบโตทำให้ลำอ้อยแตกแขนงด้านข้างเรียกวา่ ยอดพ่มุ สว่ นใหญ่หนอนจะ เข้าทำลายมากในระยะแตกกอ แตถ่ า้ ปีใดฝนตกมากและสม่ำเสมอ หนอนจะสามารถเข้าทำลายไดใ้ นระยะย่าง ปลอ้ งมากเช่นกนั และสามารถพบว่าเขา้ ทำลายอ้อยไดท้ ัว่ ประเทศ 7.4 หนอนกอลายใหญห่ รอื หนอนกอแถบลาย (Chilo sacchariphagus) ลกั ษณะตวั เต็มวัยสีน้ำตาลเข้มกวา่ หนอนกอลายจุดเลก็ มแี ถบสนี ำ้ ตาลไหมเ้ ล็ก ๆ เป็นแนวนอนบนปีกคู่ หนา้ เห็นไดช้ ัด อายตุ ัวเตม็ วนั 9-15 วัน ลกั ษณะไข่และระยะไขเ่ หมือนหนอนกอลายจุดเลก็ แต่ไข่สีขาวใสกว่า ระยะหนอนยาวกว่าคือ 30-40 วัน และลักษณะหนอนมีแถบสีน้ำตาลอมม่วงเป็นแถบใหญ่พาดตามยาวของ ลำตัวเหน็ ชดั เจน ระยะดกั แด้ 9-15 วัน 7.5 หนอนกอลายจุดใหญ่ (Chilo tumidicostalis) ลักษณะตัวเต็มวัยสีเข้มที่สุดในบรรดาตัวเต็มวัยของหนอนกอทั้งหมด กลางปีกคู่หน้าจะมีขีดสีน้ำตาล หนึ่งเส้นพาดไปตามแนวนอนของปีกเห็นได้ชัด อายุตัวเต็มวัน 5-10 วัน ไข่เป็นกลุ่มสีขาวครีมซ้อนกันคล้าย เกลด็ ปลาอยู่ใต้และบนใบอ้อย ระยะไข่ 3-6 วัน ระยะหนอน 30-35 วนั ลักษณะหนอนคล้ายหนอนกอลายจุด เล็กมากเว้นแต่มีจุดด้านหลังของลำตัวกลมใหญ่กว่า (ขนาดเท่าหัวเข็มหมุด) และมีสีน้ำตาลเขม้ เห็นเด่นชัดกว่า ระยะดกั แด้ 7-12 วนั เขา้ ทำลายในระยะหน่อทำใหอ้ ้อยเกิดอาการยอดแห้งตาย เมอ่ื ออ้ ยอยใู่ นระยะย่างปล้อง หนอนจะเข้าลำตน้ และยอดออ้ ย หนอนกอลายจดุ ใหญ่ และหนอนกอลายจุดเลก็ จะเข้าทำลายมากเม่อื อ้อยอายุ 1.5-4 เดือน ซึ่งเป็นระยะท่ีอ้อยกำลังแตกกอ หรือเมื่ออากาศร้อนและแห้งแล้ง ส่วนหนอนกอลายใหญ่นั้นพบ

39 ระบาดในหน้าฝน และพบมากที่สุดในเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม และพบวา่ สามารถเข้าทำลายและสร้างความ เสียหายใหก้ ับทกุ พื้นที่ในประเทศ รปู แบบการเข้าทำลายของหนอนกอออ้ ย ลกั ษณะการเข้าทำลายของหนอนกอออ้ ย คอื เม่ือหนอนกออ้อยฟกั ออกมาจากไขจ่ ะอยู่รวมกนั เป็นกลุ่ม กดั กินอยูบ่ รเิ วณผิวใบหรือหน่อออ้ ยเป็นระยะเวลาสน้ั ๆ หลังจากน้ันจงึ เจาะเข้าไปภายในลำต้นท่ีอยู่บริเวณผิว ดินและอาศยั อยภู่ ายใน หนอนกออ้อยมีลักษณะอุปนิสยั ชอบการเคลื่อนยา้ ย คอื หลงั จากหนอ่ อ้อยท่ีหนอนกอ อาศัยอยู่ตายก็จะย้ายไปทำลายหน่อใหม่ ดังนั้นหนอนกออ้อย 1 ตัว จึงสามารถทำลายอ้อยได้ 3-4 หน่อ หลงั จากนั้นกจ็ ะเข้าดกั แด้อยู่ภายในลำต้น หนอนกออ้อยสามารถเข้าทำลายออ้ ยไดใ้ นทกุ ระยะการเจริญ เติบโต คือ ทำลายหน่อเมอื่ อ้อยยงั เล็กอยู่ ทำลายทุกส่วนของลำตน้ รวมถงึ ส่วนยอดของลำตน้ เมื่อออ้ ยอยู่ในระยะย่าง ปล้อง และระยะท่อี อ้ ยเจริญเตบิ โตเต็มท่ี ลักษณะต้นอ้อยท่ถี กู หนอนกออ้อยเขา้ ทำลาย ผลของการทำลายของหนอนกออ้อย คือ เมื่อหนอนกอลงทำลายที่หน่อหรืออ้อยโตจะทำให้เกิดยอด แห้งตาย หากดึงยอดทีแ่ ห้งตายจะหลุดออกโดยง่ายและอาจจะมีกลิ่นเหม็นเน่า อ้อยแตกแขนง อ้อยแตกเป็น พุ่มที่บริเวณยอด หากหนอนเข้าทำลายที่บริเวณฐานหรือโคนลำจะมีรอยเจาะเป็นรู หากผ่าลำดูจะพบว่ามี หนอนอยู่ขา้ งใน จะส่งผลให้ลำต้นอ้อยแตก และการเจรญิ เติบโตทางลำตน้ ถกู ชะงักลง

40 8. หนอนชอนใบออ้ ย (แมลงดำหนามอ้อย) (Sugarcane hispid beetle) ช่ือวิทยาศาสตร์ Rhadinosa reticulate Baly วงศ์ Hispidae รูปร่างลักษณะ หนอนชอนใบอ้อย หรือ แมลงดำหนามอ้อย เป็นด้วงปีกแข็งมีขนาดเล็ก ตัวยาว 3-4 มิลลิเมตร มีสีดำ บนหลังและปีกมีหนามแข็งยาวแหลมอยู่ทั่วไป ตัวเมียวางไข่ใบเดี่ยว ๆ ไว้ใต้พื้นผิวใบ ไข่ฟักเป็นตัว ในเวลา 5-8 วัน ระยะตัวหนอน 12-15 วัน ระยะ ดักแด้ 5-7 วัน ต่อจากนั้นจึงเป็นตัวเต็มวัย มีการผสมพันธุ์ และวางไข่ต่อไป พชื อาหารและลักษณะการทำลาย แมลงดำหนามออ้ ย สามารถทำลายออ้ ยดว้ ยการชอนไช ในระยะหนอนเขา้ กดั กินเน้อื ภายใต้เย่ือผิวใบ มีลักษณะเป็นทางยาว โดยเริ่มตั้งแต่ขนาดเล็กมาก แล้วค่อยๆกว้างขึ้น เห็นเป็นสีขาว เมื่อเป็นตัวเต็มวัยแลว้ ยังคงกัดกินผวิ ใบต่อไป การป้องกนั กำจัด โดยปกติ ในไรอ่ ้อยไม่พบความเสยี หายถึงขน้ั ท่ีต้องทำการกำจัด หากจำเปน็ จะต้องใช้ยาฆ่าแมลงชนิด ที่เหมาะแก่การใช้กำจัดแมลงชนิดนี้ ได้แก่ ฟอสฟามิดอน 0.03%, เมทาซิสท้อกซ์ 0.1% หรือ ไดอาซีโนน 0.2% สามารถทำลายหนอนซงึ่ อยูภ่ ายใต้ผิวใบได้ 9. ด้วงหนวดยาวออ้ ย

41 ดว้ งหนวดยาว จัดเปน็ แมลงศตั รอู ้อยทีส่ ำคัญต่อการปลูกออ้ ย โดยสามารถเข้าทำลายอ้อยต้ังแต่ระยะ เรมิ่ ปลูกจนถึงระยะเก็บเก่ียว โดยหนอนของด้วงหนวดยาวจะเข้าไปในสว่ นของลำต้นออ้ ยท่อี ยูใ่ ต้ดนิ ทำให้อ้อย แห้งตาย ในอ้อยปลูกหากพบด้วงหนวดยาวเข้าทำลายจะส่งผลให้ผลผลิตอ้อยลดลง 13-43 % และน้ำตาล ลดลง 11-46 % สว่ นออ้ ยตอปที ี่ 1 จะสูญเสียผลผลิตประมาณ 45 % และนำ้ ตาลลดลง 57 % ลกั ษณะการเขา้ ทำลาย ในระยะเริ่มปลกู ออ้ ยหนอนจะเจาะชอนไชเข้าไปกัดกินเนื้อออ้ ยภายในท่อนพันธุ์ ทำให้อ้อยไม่สามารถ งอกได้ หรือเมื่ออ้อยอายุ 3-4 เดือน เป็นช่วงเริ่มแตกกอ หนอนจะกัดกินบริเวณโคนอ้อยที่ติดกับเหง้า ทำให้ หนอ่ ออ้ ยแหง้ ตาย สว่ นในออ้ ยโตเป็นลำจะพบว่ากาบใบและใบออ้ ยแหง้ มากกว่าปกติ ตัง้ แตใ่ บล่างจนแห้งตาย ไปท้ังตน้ หรอื ทั้งกอออ้ ย โดยหนอนขนาดเล็กกดั กนิ บริเวณเหงา้ อ้อย เมอื่ หนอนโตขึน้ จะเรม่ิ เจาะไชสว่ นโคนของ ลำอ้อยขึ้นไปเพื่อกินเนื้ออ้อย ทำให้ลำต้นอ้อยเป็นโพรงเหลือแตเ่ ปลือก ซึ่งส่งผลให้ลำต้นอ้อยหักล้มและแหง้ ตายได้ การป้องกันและกำจดั 1. เม่อื มกี ารไถทีเ่ ตรยี มดนิ ควรเก็บตวั หนอนออกจากพนื้ ที่ 1-2 ครง้ั 2. การควบคุมแบบชีววิธีโดยการใช้เชื้อราเมตาไรเซียม โรยลงบนท่อนพันธุ์พร้อมการปลูกอ้อย ในอตั ราส่วน 20 กก./ไร่ โดยเชอ้ื ราจะสามารถอย่ใู นดินและป้องกันตวั หนอนได้เป็นปี 3. แหล่งที่มีการระบาด ควรมีการมใช้สารฆ่าแมลงฟิโพรนิล (Ascend 5 % SC) ในอัตราส่วน 80 มิลลิลติ ร/น้ำ 20 ลิตร ฉีดพน่ หลงั วางท่อนพนั ธ์ุ หรอื ไถคลกุ ตอนเตรยี มดิน 4. ปลูกพืชหมนุ เวยี นสลบั กับการปลูกอ้อย เชน่ มันสำปะหลัง สับปะรด ปอเทือง เปน็ ตน้ 5. ช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายนเป็นช่วงที่ด้วงหนวดยาวออ้ ยเริ่มเป็นตัวเต็มวัยควรขุดหลุมเพ่ือดกั จับ ประมาณ 40 หลุม/ไร่ โดยเพศเมียจะปล่อยสารล่อเพศผู้ออกมา เพศผู้ก็จะเดินตาม เมื่อตกลงไปในหลุมก็ไม่ สามารถข้ึนได้ ควรรองก้นหลุมด้วยพลาสตกิ เพือ่ ปอ้ งกันไมใ่ ห้ตัวเตม็ วัยไปวางไข่ 6. สง่ เสรมิ ให้มกี ารนำหนอนดว้ งหนวดยาวไปประกอบเป็นอาหาร การแพรร่ ะบาด พบมากในดินรว่ นปนทราย ดินทรายทม่ี ี pH 6.9 ดนิ มีอนิ ทรียวตั ถุ 1.15-1.22 %

42 10. โรคขาดธาตุแมกนเี ซยี ม (Mg) การขาดธาตุแมกนีเซยี มของอ้อย จะแสดงอาการท่ีใบแก่ โดยเกดิ ผลแหง้ ตายสีแดง ทำให้มองเห็นว่า เป็นสีสนิมเกิดขึ้น การขาดแมกนีเซียมอย่างรุนแรง ลำต้นอ้อยจะมีการแคระแกร็นทำให้เกิดเป็นสีสนิมอย่าง รนุ แรง และมสี นี ำ้ ตาล โดยภายในลำตน้ นนั้ จะกลายเปน็ สนี ้ำตาลได้ ซ่งึ สนิมที่เกิดข้ึนสามารถแพรก่ ระจายไปทั่ว ท้งั แผ่น และอาจทำใหใ้ บแก่น้ันเกิดการหลุดหักร่วงกอ่ นอายจุ ริง ลกั ษณะอาการโรค อ้อยท่ีขาดแมกนีเซยี ม จะมจี ุดประ คลา้ ยสนิมเหลก็ ท่ัวบริเวณด้านบนของใบภายในลำอ้อย หากผ่า ดูจะมีสีนำ้ ตาล ทำให้ใบแก่ หลุดร่วงก่อนอายุ ลำต้นอาจแคระแกร็น ลักษณะคล้ายกบั อ้อยขาดแคลเซียมมาก ลำตน้ เลก็ ปลอ้ งสั้น การป้องกันกำจดั การขาดแมกนเี ซียม มกั เกิดในดินทรายและดินท่มี โี พแทสเซียมสงู ซง่ึ การใสโ่ พแทสเซียม ในอัตราสูง จะทำใหเ้ กดิ การขาดแมกนีเซียม ในขณะที่ดนิ ท่มี แี มกนีเซียมตำ่ ปยุ๋ ที่ให้แมกนีเซียม ไดแ้ ก่ โดโลไมท์ แมกนีไซต์ และแมกนีเซยี มซัลเฟต ซึ่งจะดีกวา่ การใส่ปุ๋ยโพแทสเซยี มในปริมาณมาก เพราะจะทำให้ออ้ ยขาดแมกนีเซียม มาก ในทางกลับกันออ้ ยที่ขาดแมกนีเซยี มสงู (มากกว่า 0.35 – 0.6%) และมีระดับของไนโตรเจนทีส่ ูง (3.5 – 4.0%) ออ้ ยอาจแสดงการขาดโพแทสเซียมถา้ มแี มกนเี ซียมมากกวา่ 0.6% จะเกิดแมกนีเซยี มเปน็ พษิ 11. กลิน่ สับปะรดในออ้ ย ช่ือสามญั Pineapple disease สาเหตุ เช้อื รา Ceratocystis paradoxa อาการ : เป็นโรคที่เกิดกับท่อนพันธ์ุ ทำให้ท่อนพันธุ์มีความงอกต่ำ หน่ออ้อยไม่เจริญเติบโต ผา่ ลำดูจะเปน็ สแี ดงเขม้ สลับดำมีกล่ินเหมน็ คล้ายสับปะรด วิธีการแพร่ระบาด : เชื้อราในดินจะเข้าทำลายทางตามรอยแผล และด้านตัดของท่อนพันธ์ุ ตน้ อ้อยแก่ก็อาจเปน็ โรคโดยติดเชอื้ จากดนิ หรอื ลมเมือ่ นำไปทำพันธจ์ุ ะติดโรคไปกับทอ่ นพันธุ์ อ้อยกจ็ ะไม่งอก วธิ ีการป้องกนั รกั ษา เตรียมแปลงปลูกอ้อยให้เหมาะสม อย่าให้แปลงแล้งจัด น้ำขัง หรือแปลงรม่ จนเกินไป เพราะถ้าอ้อย งอกช้า เชื้อโรคมีโอกาสเข้าทำลายท่อนพันธุ์ได้นานและมากขึ้น ท่อนพันธุ์ที่นำมาปลูกควรเป็นท่อนพันธุ์ที่ สมบูรณ์ แข็งแรง งอกได้เร็ว และไม่ใช้อ้อยแก่จัดเกินกำหนดไปทำท่อนพันธุ์ การแช่ท่อนพันธุ์ในน้ำร้อน 50 องศาเซลเซยี ส นาน 2 ชัว่ โมง ทำให้ทอ่ นพนั ธงุ์ อกช้าจงึ ควรแช่ท่อนพันธใุ์ นสารเคมฆี า่ เช้ือราก่อนปลูก หรือ พน่ สารเคมหี ลงั ปลูกกอ่ นกลบดนิ

43 สภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสมในการแพร่ระบาด เตรียมแปลงปลูกอ้อยให้เหมาะสม อยา่ ให้แปลงแล้งจัด น้ำขัง หรือแปลงร่มจนเกินไป เพราะถ้าอ้อยงอกช้า เชื้อโรคมีโอกาสเข้าทำลายท่อนพันธุ์ได้นานและมากขึ้น ท่อนพันธุ์ที่นำมาปลูกควรเป็นท่อนพันธุ์ที่สมบูรณ์ แข็งแรง งอกได้เร็ว และไม่ใช้อ้อยแก่จัดเกินกำหนดไปทำ ท่อนพันธุ์ การแช่ท่อนพันธุ์ในนำ้ ร้อน 50 องศาเซลเซียส นาน 2 ชั่วโมง ทำให้ท่อนพันธุ์งอกช้าจงึ ควรแช่ทอ่ น พันธ์ุในสารเคมฆี า่ เช้ือราก่อนปลูก หรอื พน่ สารเคมีหลงั ปลูกก่อนกลบดนิ พาหะนำโรค : ทอ่ นพนั ธทุ์ ่เี ป็นโรค ดนิ ลม ปจั จยั ทสี่ ง่ เสรมิ การแพร่ : แปลงปลกู มีน้ำขังระบายนำ้ ไมด่ ี แปลงรม่ (แดดส่องไม่ถึงโคน) สารเคมที ใี่ ช้ป้องกันและวิธีการใช้ - โปรพโิ คนาโซล-แชท่ อ่ นพนั ธุ์ในสารเคมีอัตรา 40 กรมั ตอ่ นำ้ 20 ลติ ร นาน 30 นาทกี ่อนปลกู - บีโนมลิ (เบนโนมิล)-แชท่ อ่ นพันธใ์ุ นสารเคมีอัตรา 40 กรมั ตอ่ น้ำ 20 ลิตร นาน 30 นาทกี อ่ นปลูก - ไบลตี นั -แช่ท่อนพันธ์ุในสารเคมอี ตั รา 40 กรมั ต่อน้ำ 20 ลิตร นาน 30 นาทกี ่อนปลกู 12. โรคกอตะไคร้ สาเหตุของโรค เกิดจากเชอื้ ไฟโตพลาสมา ลักษณะอาการโรค อ้อยมีการแตกกอเป็นจำนวนมากมากคล้ายกอตะไคร้ ลักษณะใบที่แตกออกมา เปน็ ฝอย ใบเป็นสเี ขยี วปกติหรืออาจมกี ารซีด ใบเล็กมาก การแพร่ระบาด ติดไปกับทอ่ นพนั ธุ์ คำแนะนำการปอ้ งกันกำจัด - งดใช้ทอ่ นพนั ธุ์จากแหลง่ ทีเ่ ปน็ โรค หรอื จากกอที่เปน็ โรค - ทำลายกอออ้ ยท่เี ป็นโรค โดยการขดุ ทง้ิ ทำลาย - เม่ือปลูกอ้อยใหม่ ควรทำลายตน้ ทีเ่ ปน็ ตอเกา่ ออกใหห้ มด - เลือกใช้พันธอุ์ ้อยทท่ี นทาน หรือต้านทานตอ่ โรค - อาจมกี ารจดั ทำแปลงท่อนพันธป์ุ ลอดโรค โดยการจุม่ ในน้ำร้อน 50 องศาเซลเซียส นาน 2 ชว่ั โมง

44 2.6 การควบคมุ โรคและแมลงศัตรูออ้ ย 1) การควบคมุ แมลงศัตรูออ้ ย โดยเช้ือราบวิ เวอเรยี (ราขาว) เชื้อราบิวเวอเรีย (Bauveria bassiana) เป็นเชื้อราในดินที่พบได้ทั่วไป มันเข้าทำลายแมลงท้งั ตัว อ่อนและตวั แกไ่ ด้อยา่ งกวา้ งขวาง พบว่าเชอ้ื ราขาวเปน็ ศัตรูกับแมลงศัตรูพืชที่สาคญั ๆ เช่น แมลงหว่ีขาว เพลี้ย อ่อน ตก๊ั แตน ปลวก ดว้ งงวงมนั เทศ (Colorado potato beetle) ด้วงถั่วเมก็ ซิกนั (Mexican bean beetle) ด้วงญีป่ ุ่น (Japanese beetle ) lygus bug chinch bug มดคนั ไฟ หนอนเจาะฝกั ข้าวโพด (European corn borer ) ผเี สื้อคอร์ดลิ่ง (codling mots) และ ผเี สอื้ Douglas fir tussock เชือ้ ราชนิดน้ี เกดิ ข้ึนในดินเป็นพวก ท่กี ินซากที่เนา่ เปือ่ ยผพุ ังในดิน (saprophyte) เชื้อราขาวสามารถผลิตสปอร์ (spores) ที่ต้านทานต่อสภาพแวดล้อมที่อาจรุนแรงได้ และเป็นสปอร์ (spores) ทอี่ ย่ใู นระยะท่ีทำให้เกิดการตดิ เช้ือของชว่ งวงจรชีวิตของเชอ้ื ราสปอร์ (ท่ีในกรณีนี เรยี กว่า โคนิเดีย นั้นจะเข้าไปเพาะเชื้อโดยตรงที่ด้านนอกของผิวหนังแมลง เมื่อสภาพแวดล้อมของความชื้นและอุณหภูมิ เหมาะสมจะมีการงอกของสปอร์ ที่รวมเข้ากับผนังคิวติเคิลของแมลงเส้นใยของเชื้อราที่เจริญเติบโตมาจากสปอร์ จะผลิตเอนไซม์ ออกมาโจมตีและละลายผนังลำตัวของแมลงและทำให้เส้นใยแทงผ่านผนงั ลำตวั ของแมลง เข้าไปเจริญเติบโต อยใู่ นลำตวั ของแมลง เมือ่ เขา้ ไปอยู่ในลำตวั ของแมลงแลว้ มันกจ็ ะผลติ พิษท่ีเรียกว่า \" บวิ เวอริซิน\" ท่ีจะไปทำ ให้ระบบภูมคิ ุม้ กันของร่างกายออ่ นแอลง จนแมลงตายลง จนในที่สดุ ภายในตัวแมลงทงั้ หมดจะเต็มไปด้วยมวล เส้นใยของเชื้อรา เมื่อสภาวะเหมาะสม เชื้อรากจ็ ะเจริญเติบโตไปจนทั่วส่วนที่ออ่ นกว่าของรา่ งกายแมลง โดย ทำการสรา้ งลกั ษณะ \"ดอกไมบ้ านสีขาว\" ปรากฏใหเ้ หน็ จงึ จะทำใหเ้ จริญเตบิ โตออกนอกรา่ งกายแมลง 2) การควบคมุ แมลงศัตรูออ้ ยโดยแมลงหางหนบี (Earwig)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook