บทที่ 3 ประวตั ิการนวดดง้ั เดิม 101 สายธาร แหง่ การนวดไทย
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแหง่ การนวดไทย 102 บทที่ 3 ประวัติ การนวดดงั้ เดิม
บทท่ี 3 ประวัตกิ ารนวดด้ังเดมิ 103 การนวด๑ อาจเปน็ วธิ กี ารบำ� บดั ดา้ นสขุ ภาพทเี่ ปน็ ทน่ี ยิ มมากทส่ี ดุ ในปจั จบุ นั การนวดมปี ระสทิ ธผิ ลใน การใช้เพ่ือการผ่อนคลายของกล้ามเนื้อและเน้ือเย่ือต่างๆ และยังเป็นการบ�ำบัดโรคต่างๆ แบบธรรมชาติ บำ� บัด มีการใช้การนวดเพอ่ื การบ�ำบัดตง้ั แตย่ ุคโบราณ พบในทกุ ๆ ชมุ ชนและประเทศ๒ หลักฐานทางโบราณคดีเกย่ี วกับการนวด ไดถ้ ูกพบในอารยธรรมโบราณหลายแหง่ ๓ ต้งั แต่ จนี อินเดยี ญป่ี นุ่ เกาหลี อยี ปิ ต์ กรกี โรมนั และเมโสโปเตเมยี นกั ปรชั ญา แพทยช์ าวกรกี และโรมนั ไดก้ ลา่ วถงึ การนวด วา่ เปน็ ทง้ั พลังในการฟ้ืนฟูหลังการท�ำสงคราม และสร้างเสริมสขุ ภาพทัง้ กายและจติ ในกรกี โบราณมีการ สอนการนวดในโรงกายกรรมหรอื กฬี า และใชก้ ารนวดเพอ่ื การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพเชน่ เดยี วกบั การรกั ษาโรค ประวัติการนวดด้งั เดิม • ๒๓๓๐ ปกี อ่ นครสิ ต์กาล ในหลุมฝังศพของ Akmanthor (รู้จักในอกี นามหนึง่ ว่า “หลมุ ศพของ แพทย์”) ใน Saqqara อียปิ ต์ มภี าพวาดเก่ยี วกบั ชายสองคนกำ� ลังนวดเทา้ และมือ ภาพจาก http://en.wikipedia.org/wiki/Massage ๑ ค�ำวา่ นวด ในภาษาฝรัง่ เศส คือ massage แปลวา่ “การเสียดสีเนือ่ งจากการนวด” ค�ำอาหรับ วา่ massa แปลว่า “สมั ผัส ร้สู ึก” ภาษา กรกี massa แปลว่า “สัมผัส จับ ท�ำดว้ ยมอื นวดแปง้ ” นวดในภาษาบาลคี ือ ปริมททฺ น (อ่านวา่ ปริมัททะนะ) แปลว่า บบี นวด ทุบ ขยี้ ย่�ำยี ๒ Prof. SubhashRanade. Dr. RajanRawat. Healing touch Ayurvedic Massage.Chaukhamba Sanskrit Pratishthan: Reprint; Delhi 2004. ๓ https://en.wikipedia.org/wiki/Massage
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 104 • ๗๒๒-๔๘๑ ปกี อ่ นครสิ ตก์ าล คมั ภรี เ์ นย่ จงิ ของจกั รพรรดหิ วงตบ้ี นั ทกึ ในชว่ งฤดใู บไมผ้ ลแิ ละฤดใู บไมร้ ว่ ง คมั ภรี เ์ นย่ จงิ ไดร้ วบรวมความรทู้ างการแพทยท์ เี่ ปน็ ทรี่ จู้ กั กนั ดใี นยคุ นนั้ และเปน็ รากฐานของการแพทย์ แผนจนี การนวดถกู อ้างถึงใน ๓๐ บทท่แี ตกตา่ งกนั ของคัมภรี ์ ระบุการใชว้ ธิ กี ารนวดทแ่ี ตกต่างกนั และการใช้เพื่อรักษาอาการเจ็บป่วยและการบาดเจ็บแต่ละชนิด หรือรู้จักในอีกช่ือว่า “คัมภีร์ จักรพรรดิเหลอื ง” • ๗๐๐ ปกี ่อนคริสตกาล เปี่ยนเชียะ (Bian Que) เปน็ หมอจีนคนแรกทีใ่ ชก้ ารนวดในเวชปฏิบตั ิทาง การแพทย์ • ๔๖๐ ปกี อ่ นคริสตกาล ฮปิ โปรเครตีสเขียนว่า “แพทยต์ อ้ งมคี วามช�ำนาญ (การรักษา) หลายวธิ ี แต่ ท่แี นๆ่ ต้องรเู้ ร่อื งการนวด” • ๓๐๐ ปีก่อนคริสต์กาล จรกะ สัมหิตา (จรก สํหิตา) อาจเป็นคัมภีร์ที่เก่าแก่ท่ีสุดคัมภีร์หน่ึงใน สามคมั ภรี เ์ กา่ แกข่ องการแพทยอ์ ายรุ เวทและการนวด บนั ทกึ ภาษาสนั สกฤตกลา่ ววา่ มกี ารใชก้ ารนวด ในอินเดยี มานานกอ่ นหนา้ ทีจ่ ะมกี ารบันทกึ • ในมหากาพยโ์ อดสิ ซยี ์ ของโฮเมอร์ กลา่ วถงึ สาวงามจะนวดใหก้ บั ทหารทอ่ี อ่ นลา้ หลงั กลบั จากการรบ ในตะวนั ออกไกล นกั ดนตรแี ละนกั แสดงจะเรยี นการนวดเพอ่ื พฒั นาศลิ ปการแสดง มกี ารนวดใหก้ บั นกั แสดงหลงั การเต้นกถกลิ (Kathakali) ซึง่ เปน็ ศลิ ปะท้องถ่นิ ของเมอื งเกราละ (Kerala) ทางตอน ใตส้ ดุ ของอนิ เดยี วฒั นธรรมอนิ เดยี และมหากาพยอ์ ยา่ งรามายณะ และมหาภารตะ ไดก้ ลา่ วถงึ การนวด สำ� หรับการบำ� รุงรกั ษาสุขภาพ • ภวษิ ยะ มหาปรุ าณะ (Bhavishya Purna/Bhaviṣya Purāṇa) เปน็ คมั ภรี โ์ บราณ กลา่ วถงึ วธิ กี ารนวด วธิ กี ารตา่ งๆ และไดก้ ลา่ วถงึ การทภี่ รรยาจะนวดสามอี ยา่ งไร ความสำ� คญั ของแรงกดตอ่ อวยั วะตา่ งๆ ในการนวด เช่น ควรกดเบาๆ ท่ีใบหน้า คอ ในขณะทีค่ วรกดแรงข้ึนที่บรเิ วณนอ่ งและหลงั ควรนวด ตามแนวของขนหรอื ผม • กามสตู ระ วาตสยายนะ (Vatsyayana Kamasutra/Kāmasūtra by Vātsyāyana) กลา่ วถงึ การนวด ในแงท่ ช่ี ว่ ยกระตนุ้ พลงั ทางเพศ คมั ภรี น์ ไี้ ดก้ ลา่ ววา่ การนวดมี ๓ แบบ คอื สมั วหนะ๔ (amvahana), เกศะมรรทนะ๕ (keshamardana), อตุ สาทนะ๖ (utsadana) คมั ภรี ไ์ ดก้ ลา่ วถงึ ศลิ ปะการนวดวา่ มี ๖๔ ทา่ • การนวดจดุ สำ� คญั (Marma massage) การนวดจดุ สำ� คญั ทอ่ี าจเปน็ อนั ตรายตอ่ รา่ งกายหรอื จดุ มรณะ เป็นการนวดเฉพาะของอายุรเวท มีต้นก�ำเนิดเก่าแก่จากวัฒนธรรมสรัสวตี (Saraswati Culture) หรอื อารยธรรมลุ่มแม่นำ�้ สนิ ธุ มีหลกั ฐานจากการขุดพบทางโบราณคดีของอารยธรรมเมืองฮารัปปา และเมอื งโมหันโซ ซาโท วา่ มอี าวุธสงครามท่ีใช้ฟันแทงและปอ้ งกันจดุ มรณะในยคุ พระเวท ผคู้ นใช้ อาวุธเช่น ขวาน หอก กริช คทา และธนู ซึ่งท�ำจากทองแดงและสัมฤทธ์ิ มีการใช้โล่เพื่อป้องกัน รา่ งกาย ความรู้เรอ่ื งจุดมรณะมมี าต้งั แต่ยุคพระเวท ประมาณ ๔,๐๐๐ ปีกอ่ นคริสตกาล มีการกลา่ ว แรกสดุ ในคมั ภรี ฤ์ คเวท ตอ่ มาในสมยั พทุ ธกาล มกี ารเผยแพรศ่ ลิ ปะนไี้ ปยงั อนิ โดนเี ซยี เมยี นมา ธเิ บต และจนี ๔ หมายถงึ การนวดอย่างนุ่มนวล ๕ หมายถึงการนวดศรี ษะ ๖ เป็นการนวดด้วยเท้า
บทที่ 3 ประวตั ิการนวดดั้งเดิม 105 • ใน พฤหสั ตรยี (Bruhattrayi) ไดอ้ ธบิ ายวธิ กี ารนวดอย่างละเอียดในต�ำราโยคะ รตั นากระ (Yoga Ratnakara), ภวะ ประกาศะ (Bhava Prakasha) เปน็ ต้น • ๕๘๑ ปหี ลังคริสตก์ าล จนี ได้มีการตงั้ กรมการนวดในสำ� นกั หมอหลวงในพระราชวงั • ค.ศ. ๙๘๐-๑๐๓๗ แพทยช์ าวเปอรเ์ ซียทีย่ ิง่ ใหญ่ที่สุดคนหน่งึ ชอื่ เอวิเซน็ นา่ (Avicenna) หรอื รู้จัก กันดีในชื่อ Ibn Sina ผลงานของเขาคือ การรวบรวมและจัดระบบงานเขียนทางการแพทย์ของ กรีก-โรมนั (ได้รับการแปลเป็นภาษาอาหรับ) ซง่ึ กระจัดกระจายและไม่เป็นระบบ นำ� มาเขยี นเป็น ตำ� ราการแพทย์ ตำ� ราเลม่ หนงึ่ ชอื่ The Canon of Medicine ไดร้ บั การยอมรบั วา่ เปน็ ตำ� ราเลม่ เดยี ว ทมี่ ชี อ่ื เสยี งทส่ี ดุ ในประวตั ศิ าสตรข์ องการแพทยท์ งั้ ตะวนั ออกและตะวนั ตก เอวเิ ซน็ นา่ สนั ทดั ในการ ประเมินอาการตา่ งๆ อยา่ งมเี หตผุ ล และเปรียบเทยี บอาการต่างๆ บนั ทกึ เฉพาะยาแกป้ วดและการ ใช้อยา่ งเหมาะสม รวมท้งั การใช้วิธีการอ่ืนๆ ในการบรรเทาอาการปวดซึง่ มกี ารนวดร่วมด้วย • ค.ศ. ๑๑๕๐ หลักฐานการนวดเพือ่ ทำ� แท้ง โดยใช้แรงกดทอ้ งที่ต้งั ครรภ์ พบในหนง่ึ ของรปู ปั้นนนู ท่ี ตกแตง่ วหิ ารในนครวดั กมั พชู า เปน็ รปู เกย่ี วกบั ปศี าจกำ� ลงั นวดเพอ่ื ทำ� แทง้ บนรา่ งของผหู้ ญงิ ทสี่ ง่ ไป ยังยมโลก นเี่ ป็นหลกั ฐานทางกายภาพท่เี ก่าแกท่ ี่สุดเก่ียวกบั การท�ำแท้ง • คริสตศ์ ตวรรษท่ี ๑๘ มีการใชก้ ารนวดในนักกฬี าและทหาร การนวดเปน็ ท่ีนิยมกันมากในยุโรปจาก งานของ Per Henrik Ling ชาวสวีเดนซ่ึงได้ไปดูงานที่จนี และไดพ้ ฒั นาวธิ กี ารนวดของตัวเองข้ึน (การนวดสวีดิช) ต่อมาได้เป็นที่นิยมไปทั่วโลก ในคริสต์ศตวรรษท่ี ๑๙ ก็ได้พัฒนาไปเป็น กายภาพบำ� บดั และ กจิ กรรมบ�ำบดั
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 106 กบทาที่ร4นวดดัง้ เดมิ ของอินเดีย
บทที่ 4 การนวดด้งั เดิมของอนิ เดยี 107 การนวดด้งั เดมิ ของอินเดียนั้น มกี ารแบ่งประเภทการนวดได้หลายแบบ ข้ึนกบั คัมภีร์และตำ� ราแตล่ ะ ยุคสมยั ต�ำราในยุคสมัยใหม่อาจเขียนขึน้ เพอ่ื ให้ผเู้ รียนซึง่ มีท้ังหมออายรุ เวท แพทย์แผนปัจจุบนั หมอนวด นกั บำ� บดั และนกั ศกึ ษา เขา้ ใจไดง้ า่ ยขนึ้ ดงั นนั้ การทบทวนการนวดดง้ั เดมิ ของอนิ เดยี บทน้ี เปน็ การทบทวน การนวดด้ังเดิมของอินเดียที่เป็นที่รู้จักกันทั่วไป และมีการใช้อยู่ในปัจจุบัน เพ่ือให้เห็นหลักการนวด รูป แบบและวิธกี ารนวดเบ้อื งตน้ เทา่ นัน้ เน่ืองจากการนวดดัง้ เดมิ ของอินเดยี นัน้ เปน็ การรกั ษาตามหลักของ การแพทยอ์ ายุรเวท ซึ่งมีทฤษฎที างการแพทยท์ ซี่ บั ซ้อน และอาจใชว้ ิธีการรักษาหลายวธิ รี ว่ มกัน โดยการ นวดเป็นหนง่ึ ในวิธกี ารรกั ษาแบบอายุรเวท นวดไทยจะได้รับอิทธิพลหรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการนวดดั้งเดิมของอินเดียหรือไม่ ไม่มีหลัก ฐานบนั ทกึ ทชี่ ดั เจน เราจงึ ควรศกึ ษาการนวดดงั้ เดมิ ของอนิ เดยี วา่ มหี ลกั ทฤษฎที างการแพทยแ์ ละรปู แบบ วิธีการนวดอย่างไร มสี ่วนทค่ี ลา้ ยคลึงกับการนวดไทยหรือไม่ อย่างไร การแพทยอ์ ายรุ เวทกับการนวด อายุรเวทนิยมเรียกเรียกการนวดวา่ อภั ยังคะ (Abhyanga) แต่บางตำ� ราเรยี กวา่ สมั วหนะ (sam- vahana) หรือ มรรทนะ (mardana)๑ การนวดหมายถงึ การกด การคลึง และกรรมวธิ ีต่างๆ เชน่ ดดั ดงึ ยดื เหยียดกล้ามเนือ้ ผม และข้อ ตามคมั ภีร์ อษั ฏางคะ หฤทยะ (Astanga Hrdaya) และ คมั ภีร์ อัษฏางคะ สมั ครหะ (Astanga Samgraha) กล่าวถึงการนวด ๒ แบบได้แก่ • อัภยังคะ (Abhyanga) • อุทวรรตนะ (udvartana) สว่ นในคมั ภรี ์ สุศรตุ ะสมั หิตตา (Sushruta Samhita) ไดก้ ล่าวเพิ่มถึงการนวดอกี 2 แบบ ได้แก่ • อตุ สาทนะ (Utsadana) • อุทฆรรษนะ (Udgharshana) ดว้ ย ๑ นวดในภาษาบาลคี อื ปรมิ ทฺทน (อ่านว่า ปรมิ ทั ทะนะ) แปลว่า บบี นวด ทบุ ขยี้ ย�่ำยี
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 108 สุศรุตะได้กล่าวถึงการนวดแบบอุทวรรตนะ๒ (udvartana) หรือการนวดด้วยสมุนไพรท่ีมีคุณสมบัติ แหง้ และมฤี ทธร์ิ อ้ นเพอื่ บรรเทา วาตะ และ กผะ ลดไขมนั เพม่ิ ความแขง็ แรงของรา่ งกายและผลดตี อ่ ผวิ หนงั การนวดแบบอุตสาทนะ๓ (Utsadana) หรอื การนวดโดยใช้ผงสมนุ ไพรผสมกับน้ำ� มัน (งา) เคล้าใหเ้ ข้ากัน เพอื่ ทา ถู และนวดตามรา่ งกาย บางตำ� ราเรยี กวา่ แผน่ สมนุ ไพร มปี ระโยชนใ์ นการนวดเพอ่ื ความงามในสตรี ใหค้ วามรู้สึกสบาย ทำ� ให้ผิวนมุ่ เบาและเปล่งปลง่ั การนวดแบบอุทฆรรษนะ (Udgharshana) มปี ระโยชน์ ในการขจดั การตดิ ขัดของชอ่ งทวารต่างๆ ในรา่ งกาย และยังชว่ ยก�ำจัดอาการคันและผื่นแดงท่ีผิวหนงั สศุ รตุ ะกลา่ ววา่ การนวดแบบอทุ วรรตนะ (นำ�้ มนั และแผน่ ประคบสมนุ ไพร หรอื ยาทใี่ ชท้ าผวิ หนงั เพอ่ื ท�ำการนวด จะซึมผ่านผิวหนงั ไปถึงเนอื้ เยอื่ และธาตตุ ่างๆ ของรา่ งกาย นำ�้ มันทเ่ี ป็นยาทใี่ ช้ในการนวดจะ ยังคงอยู่ที่ผิวหนงั เปน็ เวลา 300 มาตรา (matras) หรอื วนิ าที และค่อยกระจายไป รักตะ (rakta) มามสะ (mamsa) เมทะ (meda) อัสถิ (asthi) และ มัชชะ (majja) น�้ำมนั จะใชเ้ วลา ๑๐๐ มาตรา ในการกระจาย ไปเนื้อเยื่อแตล่ ะเน้อื เยอื่ เหลา่ นี้ วาตะโทษะจะอยทู่ สี่ ปรรเศนทรยิ ะ (sparshendriya) ซง่ึ เปน็ ประสาทสมั ผสั ทผี่ วิ หนงั การนวดอภั ยงั คะ (Abhyanga) ตามดว้ ย อทุ วรรตนะ (udvartana) และการประคบร้อน (fomentation) จะขจัดการอุดตัน ในชอ่ งทวารตา่ งๆ การนวดแบบอภั ยงั คะ และการนวดยงั ชว่ ยปอ้ งกนั ความแกแ่ ละรอยเหย่ี วยน่ ของผวิ หนงั ตำ� ราสมยั ใหมบ่ างเล่ม๔ กลา่ ววา่ การนวดที่เหมาะสมด้วยน�้ำมันช่วยขจัดสิ่งสกปรกจากผิวหนัง ท�ำความสะอาดรูต่างๆ หลายล้านรูที่ ผวิ หนงั และชว่ ยการทำ� งานของปอด ลำ� ไสใ้ หญ่ และไตทางออ้ ม การนวดทำ� ใหก้ ารไหลเวยี นของเลอื ดเพมิ่ มากขน้ึ ซง่ึ ชว่ ยการหลดุ ลอกของเซลลผ์ วิ หนงั ชน้ั นอก (หนงั กำ� พรา้ ) ทตี่ ายแลว้ ทำ� ใหผ้ วิ หนงั เตง่ ตงึ และชว่ ย เร่งกระบวนการฟื้นฟูพลงั ชีวติ การนวดยงั ชว่ ยผวิ หนังให้ยดื หยนุ่ และแข็งแรง การเพิ่มการไหลเวยี นเลือด ช่วยกระตนุ้ ระบบน้�ำเหลือง ซงึ่ ดูดซมึ และกำ� จดั ของเสยี จ�ำนวนมาก มนษุ ยต์ อ้ งการการสมั ผสั และการถกู สมั ผสั มนษุ ยแ์ ละสตั วท์ ข่ี าดการสมั ผสั ทางกายภาพจะรสู้ กึ ไมม่ นั่ คง ปรบั ตัวยาก และเจ็บปว่ ยงา่ ย ๑. หลักการแพทย์อายุรเวท ค�ำว่า “อายุ” หมายถงึ ทุกๆ ดา้ นของชีวติ ตั้งแต่เกดิ จนตาย ค�ำวา่ “เวท” หมายถงึ ความรู้ หรอื การ เรยี นรู้ อายรุ เวท จงึ หมายถงึ ความรเู้ กย่ี วกบั ทง้ั หมดของชวี ติ รวมตง้ั แต่ อาหาร ยา พฤตกิ รรมทเี่ ปน็ ประโยชน์ และอันตรายต่อชีวิต การแพทย์อายุรเวทเชื่อว่า สุขภาพและสุขภาวะข้ึนกับความสมดุลระหว่างกาย จิต และจิตวญิ ญาณ ๒ ความหมายในทางปฏบิ ตั ใิ นบรบิ ทของการนวดคอื การถหู รอื การนวดขน้ึ ทางดา้ นบนหมายถงึ การนวดสวนเสน้ ขน โดยใชส้ มนุ ไพร ทม่ี ีคุณสมบัติแห้งและมีฤทธิ์ร้อน ๓ เปน็ การนวดโดยใชผ้ งสมนุ ไพรผสมกบั นำ้� มนั (งา) เคลา้ ใหเ้ ขา้ กนั เพอ่ื ทา ถู และนวดตามรา่ งกาย หมอนวดบางคนอาจนวดสวนเสน้ ขน และนวดลงตามแนวเสน้ ขน ถา้ นวดทง้ั สวนและตามแนวเสน้ ขน จดั เปน็ การนวดแบบอภั ยงั คะ แตถ่ า้ นวดสวนเสน้ ขนโดยใชแ้ ผน่ สมนุ ไพร ดงั กล่าว กจ็ ัดเปน็ อตุ วรรตนะ ๔ Prof. Subhash Ranade, Dr. Rajan Rawat. Healing Touch. Ayurvedic Massage. First edition. Delhi: A.K. Lithographer; 2004.
บทท่ี 4 การนวดดัง้ เดิมของอินเดีย 109 อายุรเวทเชอื่ วา่ มนษุ ยแ์ ละเอกภพถอื กำ� เนดิ มาดว้ ยกนั เอกภพเปน็ โครงสรา้ งใหญ่ (ปรมาตมนั ) มนษุ ย์ เปน็ โครงสร้างเลก็ และเป็นสว่ นหนงึ่ ของเอกภพ (อาตมัน) ร่างกายมนุษยป์ ระกอบด้วยปญั จมหาภูตะ ได้แก่ ดนิ น�้ำ ลม ไฟ และอากาศธาตุ (ช่องว่าง) ปญั จมหาภูตะจะรวมเปน็ ๓ กลมุ่ ๕ เรยี กว่า โทษะ (dosha) ได้แก่ ๑. วาตะ ๒. ปิตตะ ๓. กผะ๖ ๒. การนวดในระบบการแพทย์อายรุ เวท การนวดอายุรเวทเป็นส่วนหน่ึงของการรักษาแบบอายุรเวท จึงมีทฤษฎีทางการแพทย์หรือสมุฏฐาน แบบของอายุรเวทเก่ียวกับปัญจะมหาภูตะ, ตรีโทษ, หลักความเชื่อเรื่องอัคนี และปิตตะ รวมท้ัง อามะ (ama)๗ อคั นีเป็นพลังงาน เป็นตวั แทนของพระอาทติ ยใ์ นจกั รวาล และเป็นส่ิงทที่ �ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน ร่างกาย โดยท�ำงานผ่านปิตตะและท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงไปอีกส่ิงหน่ึง (เช่น อาหารเปล่ียนไปเป็น พลังงาน เป็นตน้ ) ดังนั้น ระบบการยอ่ ยและสนั ดาปอาหารทัง้ หมดของรา่ งกายเกดิ ขึ้นจากอัคนี เมือ่ อคั นีหย่อน จะไมส่ ามารถยอ่ ยอาหารและสารตา่ งๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม ซง่ึ ทำ� ให้เกิดการสร้างสารพษิ ท่ี เรียกวา่ อามะ เป้าหมายของการนวดอายุรเวทคือ การสรา้ งสมดุลของพลังงานในร่างกาย ซ่งึ การศึกษาหลกั พื้นฐาน ของประกฤต๘ิ (Prakruti) หรอื เจา้ เรือน เป็นส่ิงจ�ำเปน็ มาก ในการคืนสมดลุ ของร่างกาย การนวดอายุรเวท ใช้สารต่างๆ เช่น น้�ำมนั ผงจากอาหาร (เช่นถวั่ เลนทลิ ) น้ำ� มนั ยา น้ำ� มนั หอมระเหย และผงสมนุ ไพรต่างๆ นอกจากน้ี ยังมีวธิ ีการนวดตา่ งๆ ขน้ึ กบั ความจ�ำเปน็ ของผปู้ ่วยและโรคทีเ่ ปน็ ในอนิ เดยี ตอนใต้ (เกราละและทมฬิ นาด)ู วธิ กี ารนวดเฉพาะบางวธิ ี พฒั นาขน้ึ จากการนวดพนื้ บา้ นรวม ทง้ั การวิจยั กรรมวิธรี ่วมหลายวธิ ี เช่น สเวทนะ (Swedana), นัสยะ๙ (nasya), ศโิ รพัสติ (shirobasti), ศิโรธารา (shirodhara) สามารถใช้ร่วมกับการนวดอายุรเวทเพื่อเพิม่ ผลลพั ธ์มากข้นึ การนวดอายรุ เวทยัง มีบทบาทสำ� คัญในการฟืน้ ฟพู ลงั ชีวิต (rasayana) เพ่ือการมีอายยุ ืนยาว การนวดในการแพทย์อายุรเวทจะท�ำในช่วงเช้าตรู่ เพราะกระเพาะอาหารยังว่าง อาจท�ำการนวดใน เวลาเยน็ หลงั อาหารเท่ียง ๓-๔ ชว่ั โมง ไม่ควรนวดหลังกนิ อาหารทนั ที ๕ การทร่ี า่ งกายจะท�ำงานเปน็ ปกติ กเ็ พราะมีระบบตรีโทษะท�ำงานประสานสอดคล้องกัน ๖ การแพทย์แผนไทยจะใช้คำ� วา่ เสมหะ ๗ อาจารย์ธีรเดช อทุ ยั วทิ ยารัตน์ อธิบายวา่ อามะ หมายถึง อาหารทผี่ า่ นการย่อยไมส่ มบรู ณ์ ท�ำให้สารอาหารไมเ่ ลก็ พอท่จี ะถกู ดูดซมึ เข้าไปในเลือดเพื่อน�ำไปสร้างส่วนประกอบของเซลลต์ า่ งๆ ของร่างกาย เม่ือสะสมในรา่ งกายมาก สามารถทำ� ให้เกดิ โทษได้ ต�ำราและหนงั สือหลายเล่มแปลว่า สารพิษ หรอื toxin ๘ การแพทย์แผนไทยใชค้ �ำว่า ปรกติลักษณะ หรอื ธาตุเจา้ เรือน ในคัมภรี ์วรโยคะสารกล่าววา่ ปรกติลกั ษณะมี 5 ประการ ๙ การหยอดยาทางจมกู
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 110 หอ้ งนวดตอ้ งอนุ่ และบรรยากาศสบายๆ อาจทำ� การนวดบนเตยี งซงึ่ สงู ระดบั เอว หรอื นวดบนพนื้ เตยี งตอ้ ง คลุมด้วยผ้าคลมุ เตยี งสีขาวและสะอาด เพอื่ ให้ผู้ป่วยรสู้ กึ สบายระหวา่ งการนวด สำ� หรบั การนวดด้วยการหยาดนำ้� มนั (tailadhara) ซงึ่ มีการหยดนำ้� มันทศี่ รี ษะ จะนวดบนเตียงนวดที่ ทำ� ส�ำหรับการใหน้ ำ�้ มันทน่ี วดไหลออกจากตัวได้ หมอนวดตอ้ งมสี ุขภาพดี ไม่มีโรคผิวหนงั ที่ตดิ ต่อได้ และตัดเลบ็ สน้ั เพ่ือไมข่ ูดขว่ นผ้ถู ูกนวด น้ำ� มันนวด ต้องเยน็ ในหนา้ ร้อนและอุ่นในหน้าหนาว รปู แบบและวธิ ีการต่างๆ ของการนวดในการแพทย์อายรุ เวททเี่ ป็นที่รจู้ กั และนยิ ม ไดแ้ ก่ ก. อภั ยงั คะ หรือ การนวดน�้ำมนั (Abhyanga) เป็นการนวดโดยใช้น�้ำมันธรรมดาหรือน้�ำมันท่ีเป็นยาชโลมและนวดทั่วร่างกาย น�้ำมันท่ีใช้ต้องขึ้นกับ ประกฤติ (ธาตุเจ้าเรอื น) อายุ ฤดู โรคท่ีเป็น บรรยากาศ ผวิ หนัง ในการนวดตอ้ งรู้จักรายละเอียดโครงสรา้ ง ของกล้ามเนือ้ ขอ้ ต่อ และจุดส�ำคญั ตา่ งๆ ในรา่ งกาย การนวดน�้ำมัน (Abhyanga) ใช้เพ่ือวัตถุประสงค์ต่างๆ ต้ังแต่ การนวดน้�ำมันเพื่อสุขภาพ การนวด น้�ำมนั สำ� หรับโรคแต่ละชนดิ การนวดนำ�้ มันสำ� หรับแม่ต้งั ครรภ์ หลังคลอด การนวดน้ำ� มนั ส�ำหรบั เดก็ และ ทารก เปน็ ตน้ อาจเปน็ การนวดบางสว่ นของรา่ งกาย การนวดตนเองตนเอง การนวดดว้ ยหมอนวดคนเดยี ว หรอื หลายคน ๑. การนวดตามองค์ประกอบร่างกาย (เจา้ เรอื น) ๑.๑ การนวดส�ำหรับวาตะประกฤติ (วาตะปรกติ) ผทู้ เี่ จา้ เรอื นเปน็ วาตะ จะแหง้ เยน็ ดงั นนั้ จงึ ควรนวดนำ้� มนั ทกุ วนั ในตอนเชา้ ตรู่ หรอื กอ่ นการอาบ น้�ำอุ่นในตอนเย็น ใช้น้�ำมันที่หล่อล่ืนผิวหนังท่ีแห้งและปกป้องข้อ ผู้ที่เป็นวาตะสมุฏฐานจะอ่อนไหว ตอ่ การสมั ผสั จงึ ใชน้ ำ้� มนั ทอ่ี นุ่ นำ้� มนั งาเปน็ นำ้� มนั ทดี่ ที ส่ี ดุ ในการบรรเทา ชว่ ยขจดั ความแหง้ หนาวเยน็ การตดิ ขดั และปวดของข้อ น้ำ� มนั ยาอ่ืนๆ เชน่ dashamula oil๑๐ ซึ่งเตรยี มจากรากไม้ ๑๐ ชนดิ และ นำ้� มนั ทเ่ี ตรยี มจากกลมุ่ ของสมนุ ไพร ไดแ้ ก่ Jeevaniya หรอื Brimhaniya ซงึ่ เหมาะทสี่ ดุ สำ� หรบั วาตะ ปรกติ น้ำ� มนั นวดวาตะก็มีประโยชน์เชน่ กนั นำ้� มนั หอมระเหย เชน่ ขงิ โหระพา การบรู โกฐชฎามงั สี (jatamansi) และยคู าลปิ ตสั มสี รรพคณุ รอ้ น จึงนยิ มใชเ้ ปน็ หลกั ๑.๒ การนวดส�ำหรบั ปติ ตะประกฤติ (ปติ ตะปรกติ) ผู้ทเ่ี จ้าเรือนเปน็ ปิตะ จะมีการเผาผลาญอาหารเร็ว มีแนวโนม้ เป็นไขแ้ ละการอักเสบ ผวิ หนังจะ ๑๐ Shaliparni (Desmodiumgangeticum), prushniparni (Pseudarthriaviscida), bruhati 2 types (Solanumxanthocarpum and solanumindicum), gokshura (Tribulusterestris), bilwa (Aeglemarmelos), shyonaka (Oroxylumindicum), patala (Sterospermumsuaveolens), agnimanth (Premnaintegrifolia), kashamari (Gmelinaarboria).
บทท่ี 4 การนวดด้งั เดิมของอินเดีย 111 รู้สกึ ไวและเปน็ ผืน่ หรืออกั เสบงา่ ย ดงั นัน้ จงึ ควรใช้นำ้� มันทเ่ี ย็น นำ้� มันมะพรา้ วและน�้ำมันจันทนจ์ ะดที ี่ สุดส�ำหรับปิตะปรกติ น�้ำมันท้ังสองชนิดจะช่วยให้จิตใจสงบและร่างกายเย็นลง น้�ำมันทานตะวันมี ประโยชนส์ ำ� หรบั ผวิ หนงั ทอ่ี กั เสบ นำ้� มนั ยาสามารถเตรยี มจาก กระวานเทศ (elettariacardamomum), โกฐชฎามงั สี (jatamansi), จนั ทนเ์ ทศ (myristicafragrans), mustachandana, nagakeshara และ karpura นำ�้ มนั หอมระเหย เชน่ ตะไคร้ ลาเวนเดอร์ มะลิ ไมจ้ ันทน์ เป็นตน้ ๑.๓ การนวดส�ำหรับกผะประกฤติ (เสมหะปรกต)ิ ผทู้ เี่ จา้ เรอื นเปน็ กผะปรกติ (เสมหะปรกต)ิ จะมรี ปู รา่ งใหญ่ หนาและผวิ เปน็ มนั ตอ้ งการการนวด เพื่อไปเพ่ิมการไหลเวียนของเลือดและน้�ำเหลือง ดังน้ันจึงไม่ควรใช้น�้ำมัน การนวดท่ีดีที่สุดส�ำหรับ กลมุ่ นค้ี อื การนวดดว้ ยผงสมนุ ไพรแหง้ และมสี รรพคณุ รอ้ น โดยใชน้ ำ�้ มนั ซงึ่ มสี รรพคณุ รอ้ นเชน่ มสั ตารด์ หรืองาเพียงเลก็ น้อย การนวดตอ้ งหนักและลึก นิยมใช้ผงวา่ นน�้ำ ขงิ แห้ง dashamula๑๑ และผงถ่วั ชนดิ ตา่ งๆ เชน่ ถวั่ ลกู ไก่ ถว่ั หวั ชา้ ง นำ้� มนั ยาสามารถเตรยี มจากปแี ปห้ รอื โลควอท (bilwa), dashamula, guggula, shilajita, devadaru และ tagara น�ำ้ มันหอมระเหย เชน่ โหระพา ขิง กระเทยี ม กานพลู ยูคาลปิ ตสั ๑.๔ การนวดส�ำหรับผทู้ ม่ี ตี รีโทษแบบผสม วาตะ-ปติ ะ ควรใชน้ ำ้� มนั นอ้ ยกวา่ วาตะอยา่ งเดียว ปติ ะ-กับปะ ควรใช้นำ้� มันทานตะวัน วาตะ-กับปะ ควรใชผ้ งแห้งของถั่วเลนทลิ และถว่ั ลกู ไก่ โดยใชน้ ้�ำมนั ที่รอ้ นและ ซึมได้ดจี �ำนวนเลก็ นอ้ ยเช่น น�ำ้ มนั มัสตารด์ เตยี งนวด เป็นเตียงส�ำหรับนวดน้ำ� มนั โดยเฉพาะ ลักษณะจะเปน็ อา่ งยาวสำ� หรับผ้ปู ว่ ยลงไปนอน มขี อบส�ำหรบั กันน�ำ้ มนั ไหลออกดา้ นขา้ ง มรี ใู หญ่ 2 รู ทีบ่ ริเวณศีรษะ และหลงั รูปเตียงนวดน้�ำมนั ภาพจาก https://dir.indiamart.com/impcat/massage-tables.html ๑๑ สมนุ ไพรจากรากไม้ ๑๐ ชนดิ
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 112 กรรมวธิ กี ารนวด มีการนวดใน ๗ ท่า ดงั น้ี ๑. ขัน้ แรกใหใ้ ชน้ ำ้� มันชโลมที่ศีรษะ และนวดศรี ษะผู้ปว่ ยในทา่ นัง่ ระวงั adhipati, seemanta และ จดุ อนั ตรายทบ่ี รเิ วณศรี ษะ หลงั จากนน้ั ใชน้ ำ้� มนั นวดตวั และนวดทห่ี ู หนา้ ฝา่ มอื ฝา่ เทา้ หลงั จากนนั้ ใช้น�้ำมันนวดท่คี อ และไล่ลงไปทหี่ นา้ อกและหลัง ๒. ให้ผ้ปู ว่ ยนอนราบในทา่ หงาย • ทำ� การนวดเท้าโดยใชน้ ำ้� มนั • หลงั จากนนั้ นวดขา โดยนวดทนี่ อ่ ง นวดตน้ ขาลงมาเขา่ หมอนวดยกขาผปู้ ว่ ยขนึ้ พาดทไี่ หลห่ มอนวด และใช้มือทั้งสองถูท่ีเท้าไปยังตะโพกอย่างน้อย ๖ ครั้งวางขาลงและงอเข่า นวดท่ีข้อเท้าและ ข้อเขา่ เป็นวงกลม • นวดตน้ ขา กลา้ มเนอื้ ทตี่ น้ ขาเปน็ กลา้ มเนอ้ื มดั ใหญ่ จงึ ตอ้ งบบี หรอื คลงึ ดว้ ยนว้ิ อาจใชก้ ำ� ปน้ั ชว่ ย ในการนวด • นวดทอ้ ง นวดเป็นวงกลม เบาๆ ตอ้ งระวังจุดท่เี ป็นอนั ตราย เช่น hidraya, nabhi และ basti • นวดหน้าอก ทาน้�ำมันจ�ำนวนมากที่หน้าอก เร่ิมนวดท่ีชายโครงล่างสุดและนวดขึ้นบนและลง ล่าง แล้วนวดเขา้ ในและขนึ้ บน แล้วเรม่ิ จากแนวกง่ึ กลางหน้าอก นวดแขนทงั้ สองขา้ งขึ้นไปหา ก่งึ กลางและหลังของอก ในกรณผี ู้ปว่ ยเปน็ หญิง นวดเป็นวงกลมไปทเ่ี ตา้ นม ห้ามแตะต้องหวั นมระหวา่ งการนวด ๓. ให้ผ้ปู ่วยนอนตะแคงซา้ ย ในท่าน้ี สามารถนวดซกี ขวา แขนและเทา้ ขวา ๔. ใหผ้ ปู้ ่วยนอนหงาย นวดมอื โดยหยดน�้ำมันท่ีเลบ็ และฝ่ามอื ทาน้�ำมันที่แขนจากข้อมือไปยังไหล่ นวดเป็นวงกลมที่ข้อมือ ข้อศอก และข้อไหล่ แล้วรีดตลอด แขนดว้ ยมือท้งั สองขา้ ง ๕. ให้ผปู้ ว่ ยนอนตะแคงขวา ในทา่ น้ี สามารถนวดซีกซา้ ย แขนและเท้าซ้าย ๖. ให้ผู้ป่วยนอนหงายอกี ครัง้ นวดหน้าอก ท้อง และแขนขาทง้ั สองข้าง ๗. ให้ผู้ป่วยน่งั เหยยี ดขาตรง นวดทัว่ ทงั้ ตัวอกี ครัง้ ในท่านั่ง นวดหลงั การนวดหลงั ควรทำ� ในทา่ นงั่ ไมค่ วรนอนคว่ำ� นวดคอ เรม่ิ นวดกระดกู สนั หลงั จากบรเิ วณคอลงมาชา้ ๆ ทท่ี รวงอก และไปยงั เอว นวดกระดกู สนั หลงั แตล่ ะชิน้ ดว้ ยความระมดั ระวังเอ็นและกล้ามเนือ้ ท่ียดึ กระดูกสนั หลัง
บทที่ 4 การนวดดง้ั เดมิ ของอนิ เดีย 113 หลงั เสรจ็ สนิ้ การนวด อาจประคบรอ้ นถา้ มคี ำ� สง่ั หรอื จำ� เปน็ ไมเ่ ชน่ นน้ั ใหเ้ ชด็ นำ้� มนั นวดออกจากผปู้ ว่ ย ดว้ ยผงแหง้ หรือผ้าเช็ดตัว การใช้ผงสมนุ ไพรหรือผงถ่ัวแหง้ จะชว่ ยในการขจัดนำ้� มันนวดออกไดด้ ี หลังจาก น้ันให้ผปู้ ่วยอาบน�ำ้ อุ่น และให้ผูป้ ่วยพักผอ่ น การนวดด้วยหมอนวดหลายคน (Synchronized massage) เปน็ การนวดโดยหมอนวดสองคนดว้ ยจงั หวะการนวดทพ่ี รอ้ มกนั และประสานกนั ขอ้ ดคี อื ทง้ั สองขา้ ง ของผู้ปว่ ยได้รบั การนวดในเวลาเดยี วกนั ทำ� ใหผ้ ปู้ ่วยสบายและผอ่ นคลายมากทส่ี ดุ สง่ิ ส�ำคัญคอื หมอนวด ทง้ั สองคนตอ้ งนวด กดในทา่ ทเ่ี หมอื นกนั หมอนวดตอ้ งทำ� งานรว่ มกนั เปน็ เวลานานเพอื่ จะไดเ้ ขา้ จงั หวะกนั การนวดหญงิ ทต่ี ้งั ครรภ์ การนวดหญิงท่ีตั้งครรภ์ต้องท�ำด้วยความระมัดระวังอย่างย่ิง และท�ำได้นานตราบเท่าท่ีหญิงต้ังครรภ์ ตอ้ งการ การนวดในหญงิ ที่ตง้ั ครรภ์จะช่วยใหค้ ลอดโดยไม่เจ็บปวด ถา้ ผปู้ ว่ ยนอนลง ใหห้ นนุ ดว้ ยหมอนใตค้ อ และสว่ นอน่ื ๆ ทท่ี ำ� ใหร้ สู้ กึ สบาย สำ� หรบั การนวดทอ้ งใหน้ วด เบาๆ ใชน้ ำ�้ มันนวดปรมิ าณพอสมควรทารอบๆ ทอ้ ง และนวดท้องอยา่ งนุม่ นวลเปน็ วงกลม หมอนวดผหู้ ญงิ ควรนวดเตา้ นม เพราะจะท�ำให้ช่องท่นี ำ้� นมไหลออกมา (stanyavahasrotas) พฒั นา เปน็ ปรกติ และช่วยให้หัวนมขยายตวั ขึน้ ส�ำหรบั ใหน้ มลกู ทารกจะได้ดูดนมง่าย และป้องกนั หวั นมแตก ถา้ มีอาการปวดหลัง ให้นวดหลังและเอวในทา่ น่ัง นวดและลบู อย่างนมุ่ นวลตลอดแนวกระดกู สันหลงั และหลังเพอ่ื ลดอาการตงึ และเกรง็ ควรนวดทีข่ าดว้ ย ซง่ึ จะลดการบวมของขาและหลอดเลือดด�ำขอด ก่อนคลอดและหลังคลอด แมจ่ ะมี อาการ แพท้ ้อง อาการแสบรอ้ นกลางอก นมคัด ทอ้ งผูก นอนไมห่ ลบั ท้องแตกลาย เปน็ ตน้ ใหใ้ ชน้ �้ำมนั นวดที่เหมาะกับเจา้ เรือน และนวดอย่างนมุ่ นวล นอกจากน้ี แมต่ ้องกินอาหารที่ดีและพกั ผอ่ นให้เพียงพอ การนวดแมห่ ลังคลอด ทันทีหลังคลอด แม่จะมีภาวะวาตะหย่อน เนื่องจากสูญเสียพลังงานและเลือด มีภาวะเครียดทาง กายภาพและทางจิตระหว่างการคลอด แม่จะรู้สึกปวดก่อนและหลังคลอดเน่ืองจากการหดตัวของกล้าม เนอ้ื มดลกู และกล้ามเน้ืออ่ืนๆ ที่หลัง การนวดจะชว่ ยใหร้ ะบบต่างๆ ของรา่ งกายกลบั ส่ภู าวะปกติและบรรเทาอาการต่างๆ ของแม่ เดก็ อยู่ ในมดลกู ของแมเ่ ป็นเวลานาน ๙ เดอื น กล้ามเนื้อต่างๆ ของทอ้ งจะถูกยืด หลงั คลอด ผวิ หนังหน้าท้องจะ มีการแตกลาย การนวดหลังคลอดจะช่วยลดหรือก�ำจัดการแตกลาย หลังการนวดได้ ๓ เดือนจะช่วยให้ ร่างกายมรี ูปรา่ งกลบั คืนสภาพเดิม การนวดแม่หลงั คลอดทำ� เชน่ เดียวกับนวดนำ�้ มนั ซ่ึงมี ๗ ท่าดงั ท่กี ล่าวมา
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 114 การนวดเดก็ การนวดเด็กแรกเกิดเปน็ การนวดเกา่ แก่ของอายุรเวท หลงั จากสายสะดอื แหง้ หลดุ ไป ท�ำการนวดเดก็ และแม่ทกุ วนั ดว้ ยนำ�้ มนั งา หรอื น�ำ้ มันนวดท่ีเปน็ ยาอื่นๆ ทเ่ี หมาะกับเจ้าเรอื น ๑. ประโยชนข์ องการนวดเด็ก ๑) กระต้นุ การไหลเวยี นเลือดลม ๒) เป็นการออกกำ� ลงั กายทท่ี �ำให้เดก็ ๓) กระตนุ้ การย่อยนม ๔) สรา้ งภมู คิ ุ้มกนั ๕) ปัจจุบันพบว่า น�้ำมันที่นวดเด็กจะดูดซึมผ่านผิวหนังเด็กและกระตุ้นการท�ำงานของร่างกายส่วน ต่างๆ ผิวหนังเป็นอวัยวะท่ีใหญ่ท่ีสุดของร่างกาย การนวดน�้ำมันที่ดีหรือด้วยผงสมุนไพรจะควบคุมวาต สมุฏฐานให้เปน็ ปรกติ ๖) ช่วยรักษาและควบคมุ อุณหภมู ิของร่างกาย และเพิ่มพลังในการตอ่ ต้านโรคภยั ๒. กรรมวธิ กี ารนวด หมอนวดหญิงท่ีมีความช�ำนาญการนวดดั้งเดิมจะเป็นผทู้ ำ� การนวดเด็ก ทา่ ของหมอนวด หมอนวดหญงิ จะนงั่ กบั พน้ื โดยเหยยี ดขาทง้ั สองขา้ งไปขา้ งหนา้ หมอนวดจะจบั เดก็ นอนทหี่ นา้ ตกั เรม่ิ ทานำ้� มนั นวดทอ่ี นุ่ ทด่ี า้ นหนา้ กระหมอ่ ม เดก็ ทารกจะตอบสนองตอ่ การสมั ผสั และการนวดตามสญั ชาตญาณ ส�ำหรับทารก บริเวณกระหม่อมเป็นบริเวณที่ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ เนื่องจากกระดูกท่ีกะโหลกศีรษะ ยงั ไมป่ ดิ สนทิ มรี ทู กี่ ระหมอ่ มหนา้ ดงั นน้ั ตอ้ งนวดอยา่ งนมุ่ นวลโดยการหยอดนำ�้ มนั นวดทรี่ กู ระหมอ่ มหนา้ ตอ่ มาจบั เดก็ นอนหงายและลบู เบาๆ จากบนลงลา่ งทหี่ นา้ อกและทอ้ ง ลบู แขนและขาทง้ั สองขา้ งเบาๆ ในระหวา่ งนวดทีเ่ ท้า ดึงนว้ิ เท้าเบาๆ และถูทเ่ี ทา้ ตอ่ มานวดฝ่าเทา้ ดึงนิ้วเทา้ เบาๆ และนวดนิ้วเทา้ หลังจากน้นั จบั เดก็ นอนคว่ำ� นวดขา หลงั และมือ หลงั จากเดก็ มีอายไุ ด้ ๓๐ วนั สามารถนวดเดก็ ดว้ ย แรงปานกลาง บบี มอื และขาทง้ั สองขา้ งของเดก็ และขยบั แขนขาของเดก็ ไปมา ใชฝ้ า่ มอื นวดทหี่ ลงั เดก็ เสรจ็ ส้นิ การนวดดว้ ยการลูบไลเ้ บาๆ ๓. กรรมวธิ หี ลงั เสรจ็ ส้นิ การนวด หลังจากการนวด ใหอ้ าบน�ำ้ เดก็ ด้วยน้�ำอุ่น ใชผ้ งแห้งของถ่วั เลนทลิ หรอื Bengal gram ท�ำความ สะอาดน้�ำมันนวด หลงั อาบน้ำ� เช็ดตัวเดก็ ให้แห้งอยา่ งรวดเรว็ และทาผงว่านนำ�้ ทีศ่ ีรษะเดก็ วา่ นน�้ำมี สรรพคณุ รอ้ น ซง่ึ จะชว่ ยปอ้ งกนั การหยอ่ นของกบั ปะ (เสมหะ) และปอ้ งกนั หวดั และไอ หอ่ ตวั เดก็ ดว้ ย ผ้าฝ้ายและให้เด็กนอนหลับพักผ่อน
บทท่ี 4 การนวดดั้งเดมิ ของอินเดยี 115 ข. อทุ วรรตนะ (Udvartana) เป็นการนวดสวนแนวเส้นขน ด้วยสมุนไพรที่มีคุณสมบัติแห้งและมีฤทธ์ิร้อน ต�ำราสมัยใหม่เรียกเป็น การนวดแห้ง (dry massage) เพื่อใหต้ ่างจากอัภยังคะ ซ่งึ เป็นการนวดด้วยน้ำ� มัน ประโยชนข์ องการนวด ได้แก่ ขจัดกลน่ิ อบั ชน้ื ในเดก็ บรรเทาวาตะ ลดกผะ และไขมันที่มากเกินไป เป็นต้น ค. อตุ สาทนะ (Udgharshana) เปน็ การนวดโดยใชผ้ งสมนุ ไพรผสมกบั นำ�้ มัน (งา) เคล้าให้เขา้ กัน เพ่อื ทา ถู และนวดตามรา่ งกาย บาง ตำ� ราเรียกว่าแผน่ สมุนไพร ประโยชนข์ องการนวด ไดแ้ ก่ รกั ษาอาการคัน แพ้ และโรคจากวาตะ การนวดทัง้ อตุ วรรตนะ และ อตุ สาทนะ ควรทำ� หลงั การนวดน�้ำมนั และการนวด ก่อนการอาบน�้ำ มกี ารใช้ผงสมนุ ไพรแตล่ ะชนิดส�ำหรบั เจ้าเรอื นแตล่ ะประเภท ได้แก่ ส�ำหรับความผดิ ปรกติจากวาตะและเจา้ เรือน แนะนำ� ใชผ้ งมะขามป้อม (amalaki) ท่ีแห้งและหยาบ วา่ นน้ำ� และตรผี ลา ส�ำหรับความผิดปรกตจิ ากปติ ตะและเจา้ เรอื น ใชผ้ งไมจ้ นั ทน์ แหว้ หมู (mustacyperusrotundus) หญา้ แฝก (usheera/vetivera) และ anantamula (Hemidesmusindicus) ส�ำหรับความผดิ ปรกติจากกผะและเจ้าเรือน ใช้ผงสมอไทย วา่ นนำ�้ สะเดา และสมอเทศ ง. การนวดเกราละ การนวดเกราละเปน็ การนวดดงั้ เดมิ หรอื นวดพนื้ บา้ นของอนิ เดยี ตอนใต้ มกี ารนวดหลายแบบ ไดแ้ ก่ ๑. Chavitti หมายถงึ การนวดดว้ ยเทา้ เมอ่ื เทยี บกบั มอื แลว้ เทา้ จะใหแ้ รงกดตอ่ รา่ งกายผปู้ ว่ ยมากกวา่ จงึ ใชส้ ำ� หรบั การนวดทลี่ กึ การนวดแบบนจ้ี งึ เหมาะกบั เจา้ เรอื นกผะ รวมทงั้ สำ� หรบั นกั เตน้ รำ� (นกั รำ� ถวายเทพเจา้ ) และ นกั กีฬาทต่ี อ้ งการกำ� ลงั และความยดื หย่นุ กรรมวิธกี ารนวด ๑) ผ้ปู ่วยจะได้รบั การนวดน�้ำมนั ทง้ั ตวั ก่อนด้วยน้�ำมนั นวดท่ีเหมาะกบั เจา้ เรอื น หลังจากน้นั ใหผ้ ้ปู ว่ ย นอนกบั พน้ื บนเบาะหรอื ผา้ ปทู อี่ นุ่ ใชเ้ ชอื กหอ้ ยชายลงมาสองขา้ งสงู จากพน้ื ๖-๗ ฟตุ ขนึ้ กบั ความ สงู ของหมอนวด หมอนวดจะจบั เชอื กขณะทำ� การนวดผู้ป่วยดว้ ยเทา้ อาจใชห้ ว่ งแทนเชอื ก ข้าง ตวั ผปู้ ่วยจะวางถาดหรือจานแบนๆ ทใี่ ส่นำ้� มนั นวดที่อุ่น
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแหง่ การนวดไทย 116 ๒) หมอนวดจุ่มเท้าลงในน้ำ� มันนวดและเรม่ิ นวดผู้ป่วย นวดเป็นเวลา ๓๐-๔๕ นาที ๓) หลงั นวดเสร็จ ใหผ้ ปู้ ว่ ยอาบน�ำ้ อุ่นและพกั ผ่อนเป็นเวลาอย่างน้อย ๓๐ นาที ผปู้ ่วยต้องหลกี เลย่ี ง ลมหนาว และไมก่ ินอาหารและเครือ่ งด่มื ทเ่ี ยน็ ๒. Pizhichil เปน็ การนวดผสมกนั ระหว่างการบำ� บดั ดว้ ยไขมนั และการขบั เหงอื่ เปน็ การนวดแบบบีบและนวดดว้ ย หมอนวด ๔ คน มกี ารใช้น�้ำมันเกอื บ ๑-๒ ลติ รในการนวดแตล่ ะครงั้ ๓. Uzhichil เปน็ การนวดแบบนวดนำ้� มนั โดยใชน้ ำ้� มนั พเิ ศษทเ่ี ตรยี มตามแบบเกราละดง้ั เดมิ กรรมวธิ กี ารนวดเหมอื น Pizhichil ๔. Navarakizhi เปน็ การนวดบนโต๊ะหรือเตียงนวดโดรนไิ ม้ เป็นการนวดโดยใชล้ กู ประคบที่ทำ� จากข้าวออ่ น (อายุ ๖๐ วัน) หุงกบั นำ�้ สกัดจากสมนุ ไพร (รากบาลา) และนำ� มาหอ่ ในผา้ ๖ ลกู นำ� ไปทำ� ใหร้ อ้ นและหมอนวด ๒ คนจะใชป้ ระคบตามตวั ผปู้ ว่ ย และเมอ่ื ลกู ประคบ ขา้ วหายรอ้ นกเ็ ปล่ียนลกู ประคบใหมท่ ี่ร้อนแทน ๕. Kizhi หมายถงึ ยาพอก ยาท่ีใชพ้ อกท�ำจากสมุนไพรตา่ งๆ ซงึ่ เตรียมตามความผิดปรกตแิ ต่ละอยา่ ง เช่น โรค ทางระบบประสาท กล้ามเนือ้ และกระดูก ด้วยการพอกยา ท�ำการนวด รู้จกั กันในอีกชือ่ ว่า Elakizhi จ. การนวดจุดส�ำคัญ (Marma Massage) การนวดจุดสำ� คัญ หรอื จุดอันตราย จุดมรณะ เปน็ การนวดกดจุดดง้ั เดิมของอินเดีย จุดสำ� คญั เปน็ บรเิ วณทตี่ อ้ งระมดั ระวงั ในการนวด การกดนวดทจี่ ดุ สำ� คญั จะทำ� ใหเ้ กดิ ผลการบำ� บดั ตอ่ บรเิ วณเฉพาะของ ระบบทางกายและจิต จุดเหล่านใ้ี ช้กระต้นุ อวยั วะภายในและระบบของร่างกาย การนวดตอ้ งนวดทวนเข็มนาฬิกา เมอ่ื ต้องการกระตุ้นอวยั วะภายใน หรือช่องทวาร หรือเนอื้ เยอื่ เม่อื ตอ้ งการบรรเทาตรโี ทษะ หรอื เนอื้ เยอ่ื ทเ่ี ตบิ โตมากเกนิ ไป การนวดตอ้ งทวนเขม็ นาฬกิ า อยา่ งนอ้ ยนวด ๓-๕ นาทที กุ วนั วนั ละ ๒ ครั้ง สามารถใช้น�้ำมันทขี่ ้นหรอื นำ้� มันหอมระเหยในการนวด เพอื่ เป็นการปรบั สมดุลตรโี ทษะ ควรใช้น้ำ� มนั ตอ่ ไปนี้
บทที่ 4 การนวดด้งั เดมิ ของอนิ เดีย 117 วาตะ - น�้ำมนั งา น�ำ้ มันมะกอก นำ�้ มันอัลมอนด์ โหระพา ซดี ารว์ ดู อบเชย กานพลู เจอเรเนยี ม มะลิ ลาเวนเดอร์ กำ� ยานแขก มสั ก์ สม้ และ เสจ ปิตะ - น�้ำมันมะพร้าว ทานตะวนั ไมจ้ ันทน์ เก๊กฮวย อบเชย พดุ สายน�ำ้ ผ้ึง บวั หลวง สะระแหน่ กหุ ลาบ หญา้ ฝร่ัน กผะ – มัสตารด์ งา ข้าวโพด โจโจ้บา โหระพา การบูร กานพลู ยูคาลปิ ตัส ก�ำยาน สนจนู ิเปอร์มะนาว มาจอรมั มัสก์ กำ� ยานแขก สะระแหน่ โรสแมรี่ และเสจ มจี ดุ อนั ตราย ๑๐๗ จดุ ในการบำ� บดั จะให้ความสำ� คัญ ๒๑ จดุ เชน่ จุดส�ำคัญซ่ึงอยู่ด้านข้างจากกระดูกหัวเหน่า ๑ นิ้ว จุดนี้ ใช้นวดเพ่ือควบคุม ศุกระวาหะ สโรตะ (shukravaha srota) ซ่งึ นวดดว้ ยนำ�้ มันมาษาไตละ (mashataila) และ กุมกมุ าทิ (kumkumadi) จดุ สะดือ หรือนาภี ควบคุมจักระท่ี ๓ หรือ มณิปรู กะ จักระ (มณปี ุระ) นวดเพอ่ื เพิ่มการยอ่ ยอาหาร ลดอาการทอ้ งอืด ลมในท้อง
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแหง่ การนวดไทย 118 บทที่ 5 โยคะ
บทท่ี 5 โยคะ 119 โยคะเปน็ ปรชั ญาเกา่ แกข่ องอนิ เดยี ทนี่ กั ปราชญค์ ดิ คน้ ขนึ้ เพอื่ นำ� ไปสคู่ วามพน้ ทกุ ข์ วธิ ปี ฏบิ ตั ขิ องโยคะ เปน็ การพัฒนารา่ งกายและจติ ใจ โดยการฝกึ หัดรา่ งกายใหแ้ ข็งแรง ไมเ่ ปน็ โรค ฝกึ หัดการหายใจ และขัน้ สุดท้ายเป็นการฝึกให้จิตเป็นสมาธิลึกถึงระดับฌาน ดังที่พระพุทธเจ้าก็เคยศึกษาวิชาโยคะจนทำ� รูปฌาน และอรูปฌานได๑้ โยคะ มาจากรากศพั ทภ์ าษาสนั สกฤต “ยชุ ” แปลวา่ เกาะเกย่ี ว ประสาน ยดึ และผกู กำ� กบั และจดจอ่ กบั ความตงั้ ใจ ใชแ้ ละประยกุ ต์ นอกจากน้ี ยงั หมายถงึ การรวมหรอื รว่ มกนั โยคะคอื การรวมกนั อยา่ งแทจ้ รงิ ระหว่างเจตจ�ำนงของมนษุ ย์กบั เจตจำ� นงของพระเจา้ ๒ ชาวอินเดยี เช่อื ว่า จติ จักรวาลสงู สุด (ปรมาตมา หรือพระเจา้ ) ซงึ่ มจี ิตวญิ ญาณปจั เจก (ชวี าตมา) ของ มนุษย์เป็นสว่ นหนึ่ง จะแผซ่ า่ นไปในสรรพส่ิงต่างๆ เหตุผลทรี่ ะบบความเช่ือนีถ้ กู เรียกว่าโยคะ เน่อื งจากมี คำ� สอนเกยี่ วกบั วธิ กี ารทชี่ วี าตมาจะสามารถรวมเปน็ หนง่ึ เดยี วกบั ปรมาตมา และนำ� ไปสกู่ ารหลดุ พน้ (โมกษะ) ปตญั ชลี ใหค้ ำ� จ�ำกัดความของโยคะไวใ้ นโศลกท่ี ๒ ของ โยคสูตร บทแรกวา่ “จิตตะ วฤตติ นิโรธะห์” แปลวา่ การควบคุม (นิโรธะห์) การเปลย่ี นแปลง (วฤตต)ิ ของจติ ใจ (จติ ตะ) หรือการระงับยับย้งั (นิโรธะห)์ การแส่ส่าย (วฤตต)ิ ของจติ สำ� นึก (จติ ตะ) ปรชั ญาโยคะเจรญิ เคยี งคมู่ ากบั ปรชั ญาสางขยะ มมี ากอ่ นพทุ ธกาล ปรชั ญาสางขยะและโยคะมลี กั ษณะ คลา้ ยคลงึ กนั มาก ปตญั ชลเี ปน็ ผรู้ วบรวมปรชั ญาโยคะขนึ้ เรยี กวา่ โยคสตู ร อยใู่ นชว่ ง ๓๐๐ ปหี ลงั พทุ ธกาล ประมาณ พ.ศ. ๔๐๐ ลทั ธไิ ศวะทน่ี บั ถอื พระศวิ ะเดน่ ขน้ึ มาเปน็ นกิ ายสำ� คญั ของฮนิ ดใู นชว่ งเวลาอนั ใกล้ น้ี ปตญั ชลไี ดแ้ ตง่ โยคสตู ร ซงึ่ ทำ� ใหล้ ทั ธโิ ยคะของฮนิ ดมู อี ทิ ธพิ ลมากขนึ้ ชว่ งเวลาไมแ่ นน่ อน อาจแตง่ ในราว พ.ศ. ๑๐๐๐ กไ็ ด้ ๓ ๑ แพทยพ์ งษ์ วรพงศพ์ เิ ชษฐ. โยคะเพอื่ พฒั นารา่ งกายและจติ ใจ. พมิ พค์ รงั้ ท1่ี . กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั เอช.ท.ี พ.ี เพรส จำ� กดั ; 2542. ๒ บี. เค. เอส. ไอเยนการ.์ ประทปี แห่งโยคะ. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1. นนทบรุ ี: สำ� นักพมิ พม์ ลู นิธิโกมลคมี ทอง; 2557. ๓ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) .กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 5. กรุงเทพฯ: ส�ำนกั พมิ พ์ ผลธิ รรม; 2554.
การนวดในพระไตรปิฎกและสายธารแหง่ การนวดไทย 120 วิถแี หง่ โยคะ (ข้นั ของโยคะ) โยคะมีหลกั การปฏิบตั ิเพอ่ื ไปสูค่ วามพน้ ทกุ ข์ ๘ ประการ หรือ อษั ฏางคโยคะ (Astangayoga) คอื ๑. ยมะ (บญั ญตั ิแห่งจริยธรรมสากล) ๒. นิยมะ (วินัยเพ่อื ขดั เกลาตนเองให้บรสิ ุทธ์)ิ ๓. อาสนะ (ทว่ งท่า) ๔. ปราณายามะ (การควบคมุ การหายใจ) ๕. ปรัตยาหาระ (การถอนและปลดปล่อยจิตใจจากการครอบง�ำของอนิ ทรยี ์และวัตถภุ ายนอก) ๖. ธารณา (การจดจอ่ ) ๗. ธยานะ (การส�ำรวมจติ ) ๘. สมาธิ (สภาวะของจิตเหนือส�ำนึกซ่ึงเกิดจากการส�ำรวมจิตอย่างลึกซึ้ง ซ่ึงผู้ปฏิบัติ [สาธกะ] จะ เปน็ หนง่ึ เดียวกับวัตถุแหง่ การภาวนา นน่ั คอื ปรมาตมาหรือจติ จกั รวาล) นาฑี นาฑี หมายถงึ ช่องคล้ายทอ่ ในรา่ งกาย ซ่งึ เปน็ ทางเดนิ ของพลังงาน นาฑีเป็นช่องใหพ้ ลังกณุ ฑลินเี คลอ่ื นที่ อายรุ เวทกลา่ ววา่ เสน้ ทางเดนิ ของพลังงานหรอื นาฑมี ี ๗๒,๐๐๐ เสน้ โยคะได้จ�ำแนกนาฑหี ลกั เปน็ ๑๔ นาฑี ซง่ึ สัมพันธก์ ับอวยั วะต่างๆ ของรา่ งกาย ในจำ� นวนของเสน้ ทวั่ ร่างกาย มีจำ� นวน ๑๐๑ เสน้ ทีส่ �ำคญั และทส่ี ำ� คญั ทีส่ ดุ มี ๓ เสน้ ได้แก่ อิทา ปงิ คลา สุษุมนา อิทานาฑี อทิ าเปน็ ภาษาสนั สกฤต หมายถึง “สะดวกสบาย” มนั เริ่มตน้ และจบลงทางดา้ นซา้ ยของสษุ มุ นา ไปจบสน้ิ ลงทรี่ จู มกู ขา้ งซา้ ย มนั ยงั ตอ่ กบั อณั ฑะขา้ งซา้ ยของผชู้ าย อทิ าเปน็ พลงั งานของเพศหญงิ ทำ� ให้ เย็น มันจะเข้าไปและสัมพันธ์กับสมองซีกขวาและร่างกายซีกซ้าย เรียกลมนี้ว่า “จันทรา” หรือ “พระจนั ทร์” เนอ่ื งจากอทิ าสมั พันธ์กับพลังของพระจันทร์ อทิ าจึงควบคุมกระบวนการตา่ งๆ ทางจิต ท้ังหมด มันน�ำพลังงานปราณายามะ หลอ่ เลยี้ งและชำ� ระร่างกายและจิตใจให้บริสุทธ์ ิ
บทที่ 5 โยคะ 121 ภาพจาก https://thevisualityblog.wordpress.com/2016/05/29/the-nadis-their-functions/ ปงิ คลานาฑี ปิงคลาเป็นค�ำสันสฤต หมายถึง “น้�ำตาลอ่อน” เร่ิมและสิ้นสุดท่ีด้านขวาของสุษุมนาพาดผ่าน อณั ฑะขา้ งขวาของผชู้ าย และไปสน้ิ สดุ ทร่ี จู มกู ขวา ปงิ คลานาฑเี ปน็ พลงั ทแ่ี ขง็ แรง มคี วามรอ้ นสงู เพมิ่ พลงั ชวี ิต ความแขง็ แรงทางกายภาพ และประสทิ ธิภาพ ควบคุมร่างกายซีกขวาและสมองซกี ซ้าย ยงั ถูกเรียกว่า “สุริยะ” หรือ “พระอาทิตย์” เนื่องจากสัมพันธ์กับพลังของพระอาทิตย์ มันควบคุม กระบวนการตา่ งๆ ของชวี ิต ปงิ คลาจะเปดิ และแสดงออก
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 122 สษุ ุมนานาฑี สษุ มุ นานาฑี คอื ชอ่ งทางเดนิ หลกั ของพลงั ประสาท นาฑนี ตี้ ง้ั อยภู่ ายในเมรทุ นั ฑะหรอื ชอ่ งกระดกู สนั หลงั สษุ มุ นาจะเชือ่ มระหวา่ งมูลธารกับสหัสสราร ภาพจาก https://thevisualityblog.wordpress.com/2016/05/29/the-nadis-their-functions/ นาฑีหลกั อน่ื ๆ อีก ๑๑ เสน้ (รวมเป็น ๑๔ นาฑ)ี ไดแ้ ก่ กาลทารี (Gandhari), Hastajihva, Yashas- vini , Pusha, Alambusha, Kuhu, Shankini, Sarasvati, Payasini, Varuni, Visvodara
บทท่ี 5 โยคะ 123 จักระ จกั ระ หมายถึง กงล้อหรือวงกลม รา่ งกายของมนษุ ยก์ ค็ อื จกั รวาลทยี่ อ่ สว่ น๔ คำ� วา่ หฐะ ประกอบดว้ ยสองพยางค์ คอื หะ และ ฐะ หมาย ถงึ ดวงอาทติ ยแ์ ละดวงจนั ทรต์ ามลำ� ดบั วา่ กนั วา่ พลงั ของดวงอาทติ ยแ์ ละดวงจนั ทรเ์ คลอื่ นไปตามสองนาฑี หลัก คือ ปิงคลาและอิทา ซ่ึงตั้งตน้ จากรูจมูกขวาและซ้ายตามลำ� ดับ และเคลื่อนลงไปยังฐานของกระดกู สนั หลัง ปงิ คลาคอื นาฑแี หง่ ดวงอาทติ ย์ สว่ นอฑิ าคอื นาฑแี หง่ ดวงจนั ทร์ โดยมสี ษุ มุ นาหรอื นาฑแี หง่ ไฟ อยรู่ ะ หว่างนาฑที ง้ั สอง สษุ มุ นานาฑคี อื ชอ่ งทางเดนิ หลกั ของพลงั ประสาท นาทนี ต้ี ง้ั อยภู่ ายในเมรทุ นั ฑะ หรอื ชอ่ งกระดกู สนั หลงั ปงิ คลา อทิ า รวมทัง้ สษุ มุ นาจะไขว้กัน ณ ต�ำแหนง่ ต่างๆ จุดไขวเ้ หล่าน้เี รียกว่าจักระหรอื กงล้อ ซึง่ ท�ำ หน้าทค่ี วบคุมกลไกของร่างกาย โยคศาสตร์ อธิบายว่า ในร่างกายมนษุ ยม์ ศี ูนยร์ วมพลงั เรยี กวา่ จักระ จักระหลักมอี ยู่ ๗ แหง่ คือ ๑. มลู าธาระ (มูลธาร) ต้ังอยู่ในบรเิ วณเชิงกรานเหนือทวารหนัก ๒. สวาธษิ ฐานะ (สวาธิษฐาน) ตงั้ อยูเ่ หนืออวัยวะสบื พนั ธุ์ ๓. มณปิ รู กะ (มณปี ุระ) ตงั้ อยทู่ ีส่ ะดอื ๔. อนาหตะ ตงั้ อยบู่ รเิ วณหัวใจ ๕. วศิ ุทธะ (วิสุทธิ) ตั้งอยู่ในบริเวณคอหอย ๖. อาชญา (อชั ณา) อยู่ตรงหวา่ งคิ้ว ๗. สหสั สราระ (สหัสราร) เรยี กวา่ ดอกบวั พันกลีบ ต้งั อยูใ่ นชอ่ งสมอง จักระเหล่านีอ้ าจสัมพันธก์ ับตอ่ มไร้ทอ่ ซง่ึ ท�ำหน้าท่ผี ลิตฮอร์โมนและสารคดั หลงั่ อื่นๆ ไปทัว่ รา่ งกาย • มลู ธาระและสวาธษิ ฐานะ อาจสมั พนั ธก์ บั อณั ฑะ องคชาติ และตอ่ มลกู หมากในผชู้ าย และสมั พนั ธ์ กบั ชอ่ งคลอด มดลูกและรังไขใ่ นผู้หญิง • มณปิ ูรกะ อาจสมั พันธ์กบั ตบั ออ่ น กระเพาะอาหาร ม้าม ตับ • อนาหตะ อาจสัมพนั ธ์กบั หัวใจ เสน้ เลอื ดรอบหวั ใจ • วิศุทธะ อาจสมั พันธก์ ับต่อมไทรอยด์ พาราไทรอยด์ และตอ่ มไทมสั • อาชญาสหัสสราระ อาจสัมพันธก์ ับตอ่ มพิททู ารี และตอ่ มไพเนียล ยังมจี ักระอื่นๆ เช่น มนสั และสูรยะจกั ระ ต้ังอยู่ระหว่างสะดือกับหวั ใจ อาจสมั พันธก์ บั ตอ่ มหมวกไต และลลาฏะจกั ระ ซึง่ อยู่สว่ นบนสดุ ของหน้าผาก อาจสัมพันธก์ ับต่อมพทิ ูทารี และต่อมไพเนยี ล ๔ อา้ งแลว้ ใน 2
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 124 คัมภรี ์ตันตระกล่าววา่ จุดมุ่งหมายของปราณายามะ คอื เพื่อปลุกกณุ ฑลินี ซ่งึ เปน็ พลังศักด์สิ ิทธข์ิ อง จักรวาล ในร่างกายเรา กณุ ฑลินมี สี ญั ลักษณเ์ ปน็ งูนอนขดอยู่ที่มูลาธาระจกั ระ พลงั ทีห่ ลับใหลจะตอ้ งถูก ปลกุ ใหต้ น่ื ขน้ึ และเคลอื่ นขน้ึ ไปตามชอ่ งกระดกู สนั หลงั ทะลวงผา่ นจกั ระตา่ งๆ จนถงึ สหสั สราระ และหลอม รวมกบั จิตวญิ ญาณสงู สุดทจี่ ักระนี้ อธบิ ายเพอ่ื ให้เขา้ ใจงา่ ยคือ จกั ระท้งั ๗ จะเชือ่ มต่อกนั ทางแนวประสาทดา้ นขา้ งทมี่ ีชือ่ ว่า อิทา และ ปงิ คลา และชอ่ งทางเดินประสาทตรงกลางช่ือสุษมุ นา ตามหลกั การโยคะ ในร่างกายของคนจะมีพลังซ่อน เร้นสงบอยู่ เรียกว่า “กุณฑาลินี” พลังน้ีจะสงบนิ่งอยู่ท่ีจักระที่ ๑ พลังนี้จะถูกกระตุ้นขึ้นมาโดยวิถี ๘ ประการของโยคะ พลงั ดังกล่าวจะเคล่ือนจากจักระที่ ๑ ถึงจกั ระท่ี ๗ ทำ� ให้มีสขุ ภาพดี และเกิดการหย่ังรู้ ได้ ในทางตรงกนั ข้าม ถา้ มกี ารปดิ กน้ั เสน้ ทางเหล่าน้ี จะทำ� เกิดโรคต่างๆ ทางร่างกายและจิตใจ๕ อาสนะ ท่าบริหารร่างกายแบบโยคะได้รับการสร้างสรรค์โดยบูรพาจารย์ชาวอินเดียกว่าสามพันปี ได้รับการ ยอมรบั วา่ กอ่ เกดิ คณุ ประโยชนอ์ ยา่ งมากตอ่ สขุ ภาพทางรา่ งกายและจติ ใจ และเปน็ หนทางไปสกู่ ารพฒั นา ทางจติ วิญญาณ ในการฝึกโยคะ จะฝึกทา่ ตา่ งๆ เรียงล�ำดบั กนั ไป ซง่ึ มีหลายแบบแล้วแต่ครแู ตล่ ะคน หรอื แตล่ ะส�ำนกั ตามต�ำราหฐประทปี เขยี นโดย สวาตมาราม เรยี บเรยี งโดย สวามีทคิ ัมพร และ รฆุนาถ โกเกช พ.ศ. ๑๙๐๐ ซ่ึงแปลเป็นภาษาไทยและจัดพมิ พโ์ ดย สถาบนั โยคะวิชาการ ในปีพ.ศ. ๒๕๕๗ กล่าวถงึ อาสนะว่า โยคะแต่ด้งั เดิมนน้ั มีอาสนะ ๑๕ ทา่ ส่วนในหนงั สอื ประทปี แหง่ โยคะ (Light on Yoga) เขยี นโดย บ.ี เค. เอส. ไอเยนการ์ ปพี .ศ. ๒๕๔๔ แปลเป็นภาษาไทยโดย ธีรเดช อุทัยวทิ ยารตั น์ จดั พมิ พโ์ ดยส�ำนกั พิมพ์มูลนธิ โิ กมลคีมทอง พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้ กล่าวถงึ อาสนะ ๒๐๐ ทา่ แต่ละทา่ มีประโยชนแ์ ตกต่างกันไป บางทา่ ใช้รักษาโรคบางโรคได้ โยคะเปน็ วธิ ฝี กึ ปฏบิ ตั ทิ ผี่ ฝู้ กึ ตอ้ งปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง ไมม่ กี ารกลา่ วถงึ การนวด ดดั ดงึ ซง่ึ ตา่ งกบั การนวด ด้ังเดิมของอนิ เดยี การนวดในอายรุ เวท การนวดเกราละ นวดจดุ สำ� คัญ หรอื นวดไทยท่จี ะมีหมอนวดเป็น ผทู้ �ำการรกั ษาให้ผ้ปู ว่ ย ๕ อา้ งแลว้ ใน 1
บทที่ 5 โยคะ 125
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 126 กบทาท่ีร6นวด พนื้ บา้ นไทย
บทท่ี 6 การนวดพน้ื บา้ นไทย 127 จากบันทึกของการนวดดง้ั เดมิ ทวั่ โลกในบทท่ี ๓ น้นั เปน็ ที่ชัดเจนว่า การนวดมมี าต้ังแต่สมัยโบราณ มีการใช้การนวดในทกุ ๆ ชุมชนและประเทศ อาจกล่าวได้ว่า มนุษย์รู้จักการนวดมาตั้งแต่เกิด เพราะเมื่อทารกร้องไห้ แม่ก็จะใช้การกอด การลูบ การตบเบาๆ เพอื่ ใหท้ ารกรู้สกึ สบาย และหยดุ รอ้ งไห้ เมอื่ มอี าการปวดเมื่อย มนษุ ย์ก็จะนวด คลงึ กด ลบู ถู บรเิ วณทป่ี วด เพราะเมอื่ ท�ำการนวดตามสญั ชาตญาณแล้ว อาการปวดก็ดีขนึ้ หลักฐานทางโบราณคดีเก่ียวกับการนวด ได้ถูกพบในอารยธรรมโบราณหลายแห่งตั้งแต่ จีน อินเดีย ญปี่ ่นุ เกาหลี อยี ปิ ต์ กรกี โรมัน และเมโสโปเตเมยี หลักฐานเก่ยี วกบั การนวดท่เี ก่าแกท่ ี่สดุ คอื หลมุ ฝงั ศพ ของ Akmanthor (รู้จกั ในอีกนามหนึ่งว่า“หลุมศพของแพทย์”) ใน Saqqara อียิปต์ มภี าพวาดเกย่ี วกับ ชายสองคนก�ำลงั นวดเท้าและมือ ภาพนมี้ อี ายเุ ก่าแกถ่ ึง ๒,๓๓๐ ปกี อ่ นคริสตก์ าล ประเทศไทย พบหลกั ฐานบนั ทกึ ดว้ ยอกั ษรเกา่ แกท่ ส่ี ดุ เกย่ี วกบั การนวด คอื ทำ� เนยี บศกั ดนิ าขา้ ราชการ ฝา่ ยพลเรอื น (พระไอยการ ตำ� แหนง่ นาพลเรอื น) ตราขนึ้ ในปี พ.ศ.๑๙๙๘ ในสมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.๑๙๙๑-๒๐๓๑) กล่าวคือ มีขา้ ราชการในกรมแพทยา กรมแพทยาโรงพระโอสถ กรมหมอยา กรม หมอนวด กรมหมอยาตา กรมหมอวรรณโรค ซึง่ หลกั ฐานที่พบนัน้ มอี ายุเพยี ง ๕๖๒ ปเี ท่าน้ัน ส่วนองค์ ความรเู้ กยี่ วกบั นวดไทยนน้ั พบหลกั ฐานบนั ทกึ ทเี่ กา่ แกท่ สี่ ดุ คอื ศลิ าจารกึ แผนนวด ๖๐ ภาพทวี่ ดั โพธิ์ ราว พ.ศ. ๒๓๗๕ ในสมัยรชั กาลที่ ๓ และต�ำราโรคนิทานค�ำฉนั ท์ ๑๑ “กล่าวเส้นสบิ ”แตง่ โดยพระยาวิชยาบดี (กลอ่ ม) อดตี เจา้ เมอื งจันทบรู ในสมัยรชั กาลที่ ๑ (แตง่ ราวสมยั รัชกาลที่ ๑ หรอื รัชกาลท่ี ๒) การนวดในชนชาติไทยน่าจะมีมาแต่ยุคโบราณ ก่อนสมัยอยุธยาไปอีกหลายร้อยหลายพันปีอย่าง แน่นอน แต่หลักฐานการบันทึกเก่ียวกับการนวดดั้งเดิมของชนชาติไทยนั้นพบหลักฐานแค่ในสมัยอยุธยา เทา่ นน้ั บทนจ้ี งึ ทำ� การศกึ ษาการนวดพน้ื บา้ นไทยจากเอกสารการศกึ ษาหมอนวดพนื้ บา้ นไทยทย่ี งั มชี วี ติ อยู่ ในปจั จุบนั เพอ่ื ดูทีม่ าปรัชญา องคค์ วามรู้ แบบแผนการนวด ของการนวดพ้ืนบ้านไทย เทียบกบั นวดไทย และนวดดัง้ เดมิ อืน่ ๆ
การนวดในพระไตรปิฎกและสายธารแห่งการนวดไทย 128 ๑. การนวดพนื้ บ้านอสี าน๑ การนวดพื้นบ้านอีสานน้ัน เป็นวัฒนธรรมการดูแลสุขภาพด้วยการนวดของหมอพื้นบ้านอีสานมาแต่ โบราณ ไม่พบการบันทึกองคค์ วามรู้เป็นลายลกั ษณ์อักษร แตม่ กี ารถา่ ยทอดความรู้แบบตัวต่อตัว โดยให้ ความส�ำคัญในเร่ืองการฝึกปฏิบัติมากกว่าการศึกษาทางทฤษฎี หมอนวดพ้ืนบ้านอีสานจะมีชื่อเรียกว่า “หมอเอ็น” เรยี กวิธกี ารนวดว่า “ขดิ เสน้ ” ๑.๑ วถิ ีปฏบิ ัติของการนวดอีสาน ก่อนการนวดตอ้ งมกี ารไหวค้ รแู ละบชู าครู (ยกคาย) ให้กบั หมอนวดตามก�ำลงั ศรัทธา เมอ่ื สิน้ สดุ การ รักษา หมอนวดอีสานทุกคนไม่มีการเรียกร้องค่ารักษา และเป็นหน้าที่ของหมอท่ีต้องให้บริการข้าวปลา อาหารใหก้ บั ผปู้ ว่ ยและญาตทิ พ่ี าผปู้ ว่ ยมารกั ษา (ตามธรรมเนยี มทว่ั ไปของคนอสี าน ผปู้ ว่ ย ๑ คนจะมญี าติ มาด้วยไม่นอ้ ยกวา่ ๓ คน) หมอพน้ื บา้ นถอื ว่า การรักษาผู้ปว่ ยเป็นการทำ� บุญการดูแลญาติผู้ป่วยถอื วา่ เปน็ การทำ� ทาน หมอเอน็ หรอื หมอนวดพนื้ บา้ นอสี านจะเปน็ เกษตรกร ไมไ่ ดป้ ระกอบอาชพี เปน็ หมอรกั ษา เมอื่ ผปู้ ว่ ย มารบั การรกั ษาถึงบา้ นหมอเอน็ ผู้ป่วยต้องจดั พานใสด่ อกไมธ้ ูปเทยี นและค่ายกครใู หห้ มอเพือ่ แสดงความ คารวะ ปจั จบุ ันพิธีกรรมได้เปล่ยี นแปลงไป ส่วนใหญผ่ ้ปู ่วยจะมอบเงนิ ใหก้ บั หมอโดยตรง วถิ ปี ฏบิ ตั ขิ องของการนวดพนื้ บา้ นอสี านนน้ั นา่ จะไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากพระพทุ ธศาสนา เนอ่ื งจากชาวไทย และหมอนวดสว่ นใหญ่ นบั ถอื พทุ ธศาสนาและตรงกับหลักการสงู สุดของการนวดไทย ทว่ี า่ “การดูแลและเยยี วยาผปู้ ว่ ยเปน็ หน้าที่ของหมอ หมอจะตอ้ งท�ำโดยไมห่ วังอามสิ สนิ มีเมตตา และ การพยาบาลผู้ป่วยมีความส�ำคัญสงู สุด หรือเปน็ บญุ กุศลท่ยี ง่ิ ใหญ”่ ๑.๒ องค์ความรู้ และแบบแผนการนวดอสี าน การนวดอสี านเช่อื วา่ ๑. รา่ งกายประกอบด้วย กล้ามเนื้อ กระดกู เส้นเลือด และเส้นหรอื เอน็ อีสานจะใช้ค�ำวา่ เอน็ แทน เสน้ ถา้ เอน็ อยผู่ ดิ ท่ี จะทำ� ใหเ้ กดิ การเจบ็ ปวดตามสว่ นตา่ งๆ ของกาย ทำ� ใหเ้ กดิ อาการออ่ นลา้ ชา ๒. เอ็นมีจุดตั้งต้นท่ีศีรษะ สัมผัสได้ที่บริเวณก่ึงท้ายทอยด้านหลัง จากจุดนี้มีการแตกแขนงไปตาม สว่ นต่างๆ ของร่างกาย เอ็นแตล่ ะทข่ี องร่างกายจะมีชื่อเรยี กแตกตา่ งกันออกไป ๓. มจี ดุ รวม (ศนู ย์รวม) ของเอ็นที่ส�ำคญั ๒ จดุ คอื บรเิ วณสมอง (เรยี กว่าหมากแต้) และบริเวณ สะดือ (เรยี กว่าเอน็ สายบือ) ๔. มเี ส้นจากอวัยวะภายในชอ่ งท้องมากระจุกตัวอยูท่ ่สี ะดือ เรียกว่า เอน็ สายบือ ถ้าอวยั วะภายใน อยู่ผิดที่หรือเกิดจากการขยับออกไปจากต�ำแหน่งปกติ จะท�ำให้เกิดอาการท้องอืด แน่นท้อง จกุ เสยี ด หายใจไม่อิม่ เรยี กอาการน้ีวา่ “เอ็นพนั สายบือ” ๕. ร่างกายมีเอ็นตามส่วนต่างๆ ของรา่ งกาย ข้างละ ๓๙ เอ็น รวมเปน็ ประมาณ ๗๘ เอ็น ๑ อษุ า กลน่ิ หอม. ขดิ เสน้ วชิ านวดพน้ื บา้ นอสี าน. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1. กรงุ เทพฯ: อษุ าการพมิ พ;์ พ.ศ.2555.
บทท่ี 6 การนวดพ้ืนบา้ นไทย 129 ๖. โรคและอาการทสี่ ามารถบำ� บดั ได้ดว้ ยการนวดอีสานมีอยา่ งน้อย ๓๒ อาการ ตัง้ แต่ อาการปวดขา ขาพลิก ข้อเทา้ หลดุ ขอ้ ศอกหลุด หวั ไหล่หลดุ ขอ้ มือหลุด ขอ้ นว้ิ หลดุ คาง แขง็ ตะครวิ ขา ปวดขา/เส้นขาตงึ ปวดสน้ เท้า ปวดเอว ปวดนอ่ ง อมั พาต/หล่อย อมั พาตจาก อบุ ตั เิ หตุ มดลูกเอียง มดลูกหยอ่ น ปวดหัว ปวดงอน (ไมเกรน) เสน้ เลอื ดในสมองตีบ ลูกน้อย ตกแทน่ (ทอ้ งแก่ เดก็ ในทอ้ งกดทบั กระเพาะปสั สาวะแม่ หรอื ทบั เสน้ เดนิ ลำ� บาก) เขา่ หลดุ /สะบา้ หลุด คอตกหมอน เอ็นเขา้ ตานกเอี้ยง (ขัดสะโพก เดินยาก ปวดสะโพก) เสน้ ทบั ปีกมดลกู เส้น ประสาทขึ้นกระหม่อม เส้นสะบักเอวจม (เทยี บเคยี งกบั โรคหมอนรองกระดูกสันหลังกดทบั เส้น ประสาท) เส้นเลือดด�ำขอด สะอึก หูออื้ แนน่ ทอ้ ง เอน็ พันหัวใจ เอน็ เขา้ เบ้ยี ง เอน็ พนั สายบือ ๗. วิธกี ารนวด มี ๒ ลักษณะ คอื การนวดหรอื การขิดเสน้ บริเวณที่มีความผิดปกติ กบั การขดิ เส้น บรเิ วณทีอ่ ยูไ่ กลออกไป เพือ่ กระตุ้นให้เอน็ /เส้น กลับมาเข้าทดี่ งั เดมิ ๘. มกี ารใช้สมนุ ไพรรว่ มกับการนวด รกั ษา โรคเหนบ็ ชา เหนบ็ ชามนึ เอน็ ตงึ หรอื เอน็ ตาย ยาประคบ เสน้ เคลด็ ปวดเสน้ หนกั จะกลาย เป็นโรคเส้นประสาท แก้กษยั ยาถา่ ยเสน้ /ถา่ ยเอน็ เอ็นเขา้ ท้อง เอ็นเขา้ ส่วง ปวดเม่อื ยกินขา้ ว บ่แซบ ยาตง้ั (แกว้ ิงเวียน หนา้ มดื ไมม่ ีแฮง เกดิ อบุ ัตเิ หตุ ปวดเนอื้ ปวดตวั ) ยาแกป้ วดขา ๒.การนวดพนื้ บ้านล้านนา๒ การนวดพน้ื บา้ นลา้ นนานนั้ เปน็ วฒั นธรรมการดแู ลสขุ ภาพดว้ ยการนวดของหมอนวดพนื้ บา้ นลา้ นนา มาแต่โบราณ ไม่พบหลักฐานบันทึกองค์ความรู้การนวดที่เป็นลายลักษณ์อักษร แต่มีการถ่ายทอดความรู้ แบบตวั ตอ่ ตวั มพี ธิ กี รรมในการไหวค้ รเู พอื่ รบั มอบตวั ศษิ ย์ เจา้ พธิ จี ะเปน็ พระสงฆ์ พอ่ เลยี้ ง (หมอรกั ษาคน เจบ็ ) เป็นผู้ทำ� พิธี ๒.๑ วิถีปฏิบตั ขิ องการนวดล้านนา ปรัชญาของหมอนวดล้านนาก�ำหนดไว้ว่า หมอนวดจะต้องเป็นผู้ที่อยู่ในศีลในธรรม ต้ังมั่นศีล ๕ เพ่ือปกป้องตัวหมอไม่ให้โรคเข้าตัว และไม่ให้หมอไปเรียกร้องค่ารักษาเกินจริง ป้องกันการคุยโม้โอ้อวด และยงั ตอ้ งยึดหลักพรหมวหิ าร ๔ เพอ่ื ให้มเี มตตา กรณุ า มุทิตา กับคนไข้ที่มารักษา ส่วนอุเบกขา คอื หมอ ตอ้ งมีวางเฉยไมต่ ิดยึดอยกู่ ับการรกั ษา ไม่รอให้คนไขก้ ลับมาตอบแทนหรือสมนาคณุ นอกจากนห้ี มอนวดจะตอ้ งมีศีลธรรมแและมจี รรยาบรรณในวชิ าชพี ศลี ของหมอนวดมี ๓ ประการ คือไมด่ ืม่ สรุ าไม่หลอกลวง/ไม่เลย้ี งไข้ และ ไม่เจา้ ชู้ มคี วามสุภาพ ไม่แสดงกริ ยิ าทา่ ทางลวนลามหรอื ใช้คำ� พดู แทะโลม วถิ ปี ฏบิ ตั ขิ องของการนวดพนื้ บา้ นอสี านนนั้ นา่ จะไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากพระพทุ ธศาสนาเชน่ เดยี วกบั การ นวดอีสาน เนื่องจากหมอนวดล้านนาส่วนใหญ่น้ันนับถือพุทธศาสนา และตรงกับหลักการสูงสุดของการ นวดไทย ทวี่ า่ ๒ ดารณี ออ่ นชมจนั ทร.์ กรณศี กึ ษาภาคเหนอื . รายงาน การศกึ ษาและพฒั นาภมู ปิ ญั ญานวดพนื้ บา้ นไทยในการผสมผสานเขา้ สสู่ ถาน บรกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั ปงี บประมาณ 2560. กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก.
การนวดในพระไตรปิฎกและสายธารแห่งการนวดไทย 130 “การดูแลและเยยี วยาผูป้ ว่ ยเป็นหนา้ ท่ขี องหมอ หมอจะต้องท�ำโดยไมห่ วงั อามสิ สนิ มีเมตตา และ การพยาบาลผูป้ ่วยมคี วามสำ� คญั สงู สดุ หรอื เป็นบญุ กศุ ลท่ยี ิง่ ใหญ”่ ๒.๒ องค์ความรู้ และแบบแผนการนวด การนวดล้านนาเช่อื ว่า ๑. มนุษยป์ ระกอบข้ึนด้วย ขนั ธ์ ๕ (รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วิญญาณ) และ ธาตุท้ัง ๔ (ดิน นำ้� ลม ไฟ) ซ่ึงเป็นไปตามการแพทยแ์ ผนไทยที่ว่า ชวี ติ ประกอบขึน้ ดว้ ย ขันธ์ ๕ และรปู ประกอบขึ้น จาก ดิน นำ้� ลม ไฟ ๒. การนวดลา้ นนาใหค้ วามสำ� คญั กบั เรือ่ ง เสน้ และจุดตามสว่ นตา่ งๆ ของร่างกาย โดยแบง่ ร่างกาย เปน็ ๔ สว่ น (สตั ตะวิญญาณ) คอื ส่วนท่ี ๑ ส่วนบน ได้แก่ ส่วนศีรษะและคอ มจี ุดตา่ งๆ อยา่ งน้อย ๑๒ จุด ส่วนท่ี ๒ ส่วนล�ำตัว ไดแ้ ก่ อวัยวะในทรวงอก ชอ่ งท้อง กระดกู สนั หลัง ทรวงอก แขนขา มีเส้น เอ็นตา่ งๆ ต้งั แต่ คอ หนา้ อก หลงั สขี ้าง ทอ้ ง สะดือ ประมาณ ๔๕ เสน้ โดยเฉพาะ เส้นเอน็ สะดือ คอื เปน็ จุดศนู ย์รวมทวั่ รา่ งกาย เรียกวา่ “จุดสะแก” หมายความว่า จดุ ชีพจร เป็นจุดก�ำเนดิ เสน้ เอ็นทัว่ ร่างกาย นับไมถ่ ้วน สว่ นท่ี ๓ สว่ นเชงิ กรานลงมาทขี่ าสองขา้ ง ไดแ้ ก่ กระดกู เชงิ กราน กระดกู สะโพก กระดกู กน้ ขบ กระดกู กระเบนเหนบ็ กระดกู ตน้ ขา กระดกู แข้ง กระดกู เขา่ (สะบักเข่า) กระดูกข้อเท้า กระดูกนิ้วเท้า มีเส้นเอน็ ต่างๆ อย่างน้อย ๕๙ เสน้ ส่วนที่ ๔ จตกุ ะวญิ ญาณ เป็นศูนย์รวมของสิง่ ท่มี องไม่เหน็ มขี นั ธ์ ๕ ธาตุทัง้ ๔ เป็นตัวควบคมุ ถ้าทุกอยา่ งพร่องไปจะท�ำใหเ้ ราแตกดบั ๓. การนวดล้านนาเช่อื เรือ่ ง จุดจุม หรือ จดุ สะทอ้ น จดุ จุมคอื จุดรวมของเส้นเอ็น เสน้ เลือด เส้น ประสาท และจดุ รวมพลังของร่างกาย อยตู่ ามขอ้ ตอ่ ตา่ งๆ ของรา่ งกาย ทางการแพทย์ล้านนา เรยี กวา่ เสน้ สมุ หรอื เสน้ จมุ เมอื่ กดแลว้ สามารถสง่ ผลสะทอ้ นไปยงั จดุ ทบี่ าดเจบ็ รา่ งกายมจี ดุ จมุ ข้างละ ๓๓ จุด รวมเปน็ ๖๖ จดุ ๔. หมอนวดล้านนาจะกดจุดจมุ บริเวณตา่ งๆ เพ่อื รกั ษาอาการที่ตน้ เหตุของการเกดิ โรค เชน่ จดุ จมุ สะดือ จดุ จุมเสน้ สะวา้ ยแล่ง จดุ จุมงอ่ น (ท้ายทอย) จุดจุมเกา้ แฮ(้ รกั แร้) จดุ จมุ ศอก จุดจมุ แขน จุดจุมเปี้ยมนำ้� จุดจมุ ตะก้ามบอ่ ง จุดจมุ เอน็ รอ้ ยหวาย เปน็ ตน้ ๕. การนวดล้านนามีการใช้พิธีกรรมในการตรวจวินิจฉัยร่วมด้วย ได้แก่ ผีย่าหม้อน่ึงเฮียกไข่/จอบ ไข/่ กลิง้ ไข่ การเชด็ การแหก/แถก การต้งั ไข่ การขดู ผิว/กัวซา ตามอาง ตามเทียน การดูดนำ้� มนั การสักยา การอาบน้�ำมนต์/กนิ น�้ำมนต์ ขวากซุย เปา่ /พ่น
บทท่ี 6 การนวดพ้ืนบ้านไทย 131 ๖. นอกจากการนวดตามองคค์ วามรเู้ รอื่ ง ธาตุ เสน้ จดุ จมุ แลว้ การนวดลา้ นนายงั มกี ารนวดพน้ื บา้ น วธิ ตี า่ งๆ ทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณข์ องทางลา้ นนา ไดแ้ ก่ การเผายา การตอกเสน้ การยำ�่ ขาง โดยเฉพาะ การย�ำ่ ขาง หรอื เหยยี บเหลก็ แดงน้ัน คลา้ ยคลงึ กับการนวดพน้ื บ้านของเกราละ อนิ เดีย เพียงแต่ ของไทยใช้เท้าเหยียบเหล็กท่ีเผาจนร้อนแล้วมาเหยียบนำ�้ มันก่อนใช้เท้านวดตัวผู้ป่วย ส่วนการ นวดเกราละจะใชเ้ ทา้ อย่างเดียวแตะน้�ำมนั แล้วใช้เทา้ นวดตวั ผปู้ ว่ ย สรปุ การนวดพน้ื บา้ นอสี านและลา้ นนานนั้ มหี ลกั การ จดุ มงุ่ หมาย และปรชั ญา ตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธ ศาสนา โดยถือว่า การรักษาผู้ป่วยเป็นการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ ถือเป็นการท�ำบุญท่ียิ่งใหญ่ ไม่ได้เป็น อาชพี หรอื เหน็ แกอ่ ามสิ หมอนวดจะไมม่ กี ารเรยี กเงนิ ทองในการรกั ษา แลว้ แตผ่ ปู้ ว่ ยจะใหต้ ามศรทั ธาและ กำ� ลงั ทรพั ย์ หมอนวดตอ้ งนบั ถอื ศลี ๕ หรอื ศลี ๘ และมจี รรยาบรรณของวชิ าชพี หมอนวดหรอื แพทยแ์ ผนไทย องคค์ วามรู้ของการนวดอสี านนัน้ คอ่ นข้างเป็นลกั ษณะเฉพาะ มีความเช่อื หรอื ทฤษฎีทางการแพทย์ วา่ เสน้ หรอื เอน็ เป็นส่ิงส�ำคัญของร่างกาย ถ้าเอน็ อยู่ผิดท่ี เคลอื่ นท่ี หรอื อยใู่ นตำ� แหน่งทผี่ ดิ ปกติ จะท�ำให้ เกิดโรคและความผดิ ปกติ การรกั ษาคือ การขิดเส้น เพ่อื ให้เอ็นกลับมาอยใู่ นตำ� แหน่งทีป่ กติ การขิดเส้นจะ ท�ำการนวดท่ีเอ็นท่ีต�ำแหน่งท่ีผิดปกติ กับนวดต�ำแหน่งเอ็นท่ีอยู่ไกลจากท่ีผิดปกติ แต่ท้ังนี้ท้ังนั้นก็เพ่ือให้ เอน็ กลบั มาอยใู่ นตำ� แหนง่ ปกติ การนวดลา้ นนายดึ หลกั สมฏุ ฐานของการแพทยแ์ ผนไทยเปน็ หลกั โดยเชอื่ วา่ ธาตทุ ผี่ ดิ ปกตเิ ปน็ สาเหตุ สำ� คัญของโรคต่างๆ ตอ่ รา่ งกาย ขณะเดียวกนั ก็เชื่อวา่ เส้น หรือจดุ จุ่ม เปน็ สิง่ ที่มีความส�ำคญั การรกั ษา ด้วยการนวดจงึ เน้นการนวดตามเสน้ และจุดจุ่มเป็นหลกั ทีส่ ำ� คญั การนวดลา้ นนานั้นมีการผสมผสานการ ใช้พิธีกรรมต่างๆ จำ� นวนมากร่วมกบั การนวด โดยเฉพาะเปน็ การวนิ ิจฉยั และการรกั ษารว่ มกัน เชน่ การ เช็ดแหก การตง้ั ไข่ การตามเทียน เป็นตน้ และการนวดมักจะมีคาถาอาคมประกอบไปด้วย จึงเห็นไดว้ ่า การนวดลา้ นนาน้นั นอกจากมีความเชอ่ื ตามพทุ ธศาสนาเปน็ หลกั แล้ว ยังผสมผสานความเชอ่ื ของทอ้ งถ่ิน ซง่ึ เชอ่ื เรือ่ งผีของภาคเหนอื เข้ามาในกระบวนการรักษาคอ่ นขา้ งมาก อยา่ งไรกต็ าม บทนย้ี งั ขาดความสมบรู ณเ์ นอื่ งจากยงั ขาดภมู ปิ ญั ญาการนวดพน้ื บา้ นของภาคใต้ เพราะ ยงั ขาดเอกสารวชิ าการ การวเิ คราะห์ สงั เคราะหก์ ารนวดพน้ื บา้ นภาคใต้ อยา่ งเปน็ ระบบเหมอื นภาคเหนอื และอสี าน จงึ สมควรทจี่ ะตอ้ งทำ� การศกึ ษาเพมิ่ เตมิ ในภายภาคหนา้ รวมทง้ั การศกึ ษาการนวดพน้ื บา้ นของ ชาตพิ นั ธตุ์ ่างๆ ในสังคมไทย
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 132 คบทวท่ี า7 มเจรญิ และเสือ่ ม ของพุทธศาสนาในอินเดยี การเผยแพร่ พระพทุ ธศาสนาในไทย
บทที่ 7 ความเจรญิ และเสือ่ มของพุทธศาสนาในอนิ เดียการเผยแพรพ่ ระพุทธศาสนาในไทย 133 ๒๑.. หพลุทังธพกุทาลธกาล ๒.๑ การสงั คายนา ๒.๒ ยุคพระพทุ ธศาสนารงุ่ เรือง ๑) ยคุ ที่ ๑ ๒) ยุคท่ี ๒ ๓ . การเ๓ผ)ย แยุคพทร่ี ่พ๓ ระพทุ ธศาสนาในไทย หลักฐานทางประวัติศาสตร์เก่ียวกับการเจริญรุ่งเรืองและการเส่ือมของพุทธศาสนาหลังพุทธกาลนั้น มคี วามสำ� คญั ตอ่ ความเปน็ มาของการแพทยส์ ายพระพทุ ธศาสนาของประเทศตา่ งๆ ทนี่ บั ถอื พระพทุ ธศาสนา เปน็ อยา่ งยงิ่ ประเทศไทยกเ็ ชน่ เดยี วกนั ทง้ั นเ้ี พราะการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนามาไทยมหี ลายยคุ หลายสมยั ต้ังแต่ยคุ สวุ รรณภมู ิ ยคุ ทวารวดี อาณาจักรสโุ ขทยั สมัยอยุธยา จนมาถึงสมัยรตั นโกสินทร์ ความรงุ่ เรอื ง พระพุทธศาสนาในอินเดยี ระยะต่างๆ จนถึงการสูญส้นิ ศาสนาพุทธในอนิ เดยี ราวพ.ศ. ๑๗๕๐ นนั้ มีผลต่อ การพัฒนาของการแพทย์แผนไทยและการนวดไทยอย่างแน่นอน
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 134 ๑. สมยั พทุ ธกาล ในเวลา ๔๕ ปแี หง่ การบำ� เพญ็ พทุ ธกจิ พระพทุ ธเจา้ ไดเ้ สดจ็ ไปประทบั จำ� พรรษา ณ สถานทตี่ า่ งๆ และ มเี หตกุ ารณส์ ำ� คัญบางอย่าง๑ ดงั น้ี พรรษาท่ี ๑ ป่าอิสปิ ตนมฤคทายวัน ใกล้กรงุ พาราณสี (โปรดพระเบญจวัคคยี ์) พรรษาที่ ๒-๓-๔ พระเวฬวุ นั กรงุ ราชคฤห์ (ระยะประดษิ ฐานพระศาสนา เรมิ่ แตโ่ ปรดพระเจา้ พมิ พสิ าร ได้ อคั รสาวก ฯลฯ เสด็จนครกบลิ พสั ด์คุ ร้ังแรก ฯลฯ อนาถบิณฑิกเศรษฐีเปน็ อบุ าสกถวายพระเชตวนั ) พรรษาที่ ๕ กฏู าคารในปา่ มหาวนั นครเวสาลี (โปรดพระพทุ ธบดิ าซง่ึ ปรนิ พิ พานทก่ี รงุ กบลิ พสั ด์ุ และโปรด พระญาติทีว่ ิวาทเรื่องแมน่ �้ำโรหิณี พระมหาปชาบดีผนวช เกิดภิกษุณสี งฆ์) พรรษาที่ ๖ มกลุ บรรพต (ภายหลงั ทรงแสดงยมกปาฏิหารย์ท่ีนครสาวตั ถี) พรรษาที่ ๗ ดาวดึงสเทวโลก(แสดงพระอภธิ รรมโปรดพระพทุ ธมารดา) พรรษาที่ ๘ เภสกลาวนั ใกล้เมอื งสงุ สุมารครี ี แคว้นภัคคะ (พบนกลุ บิดา และนกุลมารดา) พรรษาท่ี ๙ โฆสติ าราม เมืองโกสมั พี พรรษาท่ี ๑๐ ปา่ ตำ� บลปารเิ ลยยกะ ใกลเ้ มอื งโกสมั พี (ในคราวที่ภกิ ษชุ าวเมอื งโกสัมพีทะเลาะกนั ) พรรษาที่ ๑๑ เอกนาลา หม่บู า้ นพราหมณ์ พรรษาที่ ๑๒ เมอื งเวรญั ชา พรรษาที่ ๑๓ จาลยิ บรรพต พรรษาที่ ๑๔ พระเชตวนั (พระราหลุ อปุ สมบทวาระน้)ี พรรษาท่ี ๑๕ นิโครธารามนครกบลิ พัสดุ์ พรรษาที่ ๑๖ เมืองอาฬวี พรรษาที่ ๑๗ พระเวฬุวัน นครราชคฤห์ พรรษาที่ ๑๘-๑๙ จาลยิ บรรพต พรรษาที่ ๒๐ พระเวฬุวัน นครราชคฤห์ (โปรดมหาโจรองคุลมิ าล พระอานนทไ์ ดร้ บั หนา้ ท่ีเป็นพระพุทธ อปุ ฏั ฐากประจ�ำ) พรรษาท่ี ๒๑-๔๔ ประทับสลับไปมา ณ พระเชตวัน กบั บุพพารามพระนครสาวัตถี (รวมทงั้ คราวก่อนนี้ ดว้ ย อรรถกถาว่าพระพทุ ธเจ้าประทับท่เี ชตวนาราม ๑๙ พรรษา ณ บุพพาราม ๖ พรรษา) พรรษาท่ี ๔๕ เวฬุวคาม ใกลน้ ครเวสาลี ๑ พระพรหมคณุ าภรณ(์ ป. อ. ปยตุ โฺ ต) กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก.พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๕.กรงุ เทพฯ:สำ� นกั พมิ พผ์ ลธิ รรม; ๒๕๕๔.
บทที่ 7 ความเจริญและเสอ่ื มของพุทธศาสนาในอนิ เดยี การเผยแพร่พระพทุ ธศาสนาในไทย 135 ๒. สมัยหลังพทุ ธกาล ๒.๑ การสงั คายนา๒ การสงั คายนาครงั้ ที่ ๑ เกิดข้นึ ๓ เดอื นหลงั พทุ ธปรินพิ พาน (๙ เดอื น กอ่ นพุทธศักราช) ปรารภเรอื่ งสภุ ัททภิกษุ ผ้บู วชเมอ่ื แก่ กล่าวจาบจ้วงพระธรรมวินัย และเพื่อให้พระธรรมวินัยรุ่งเรืองอยู่สืบไป โดยที่ประชุมพระอรหันต์ ๕๐๐ รปู มีพระมหากสั สปะเปน็ ประธาน พระอุบาลีเป็นผู้วิสัชนาพระวนิ ยั พระอานนทว์ สิ ชั นาพระธรรม เมืองราชคฤห์ โดยพระเจา้ อชาตศตั รทู รงอปุ ถมั ภ์ ใชเ้ วลา ๗ เดือน การสังคายนาคร้ังท่ี ๒ (พ.ศ. ๑๐๐) ปรารภเร่ืองภิกษุวัชชีบุตรแสดงวัตถุ ๑๐ ประการนอกธรรมวินัย พระยศกากัณฑบุตรเป็นผู้ชักชวน พระอรหันต์ ๗๐๐ รูป ประชมุ ท�ำทวี่ าลกิ าราม เมอื งเวสาลี พระเรวตะเปน็ ผถู้ าม พระสัพพกาเป็นผ้วู สิ ัชนา โดยพระเจา้ กาลาโศกราชทรงอปุ ถมั ภ์ ใช้เวลา ๘ เดอื น เกิดนิกายในพระพุทธศาสนา ภิกษุวัชชีบุตรได้แยกตัวออกจากเถรวาท กลายเป็น “มหาสังฆิกะ” เป็นตน้ ก�ำเนิดของอาจารยวาทต่อมาเรียกตนเองว่า “มหายาน” การสังคายนาครง้ั ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๓๕) ปรารภการที่มีเดียรถีย์มากมายปลอมบวชเข้ามา เน่ืองจากเกิดลาภสักการะในหมู่สงฆ์อุดมสมบูรณ์ พระอรหนั ต์ ๑,๐๐๐ รปู มพี ระโมคคลั ลบี ตุ รตสิ สะเถระเปน็ ประธาน ประชมุ ทำ� ท่ี อโศการาม เมอื งปาฎลบี ตุ ร โดยพระเจ้าอโศกมหาราชทรงอุปถัมภ์ ใช้เวลา ๙ เดอื น ในที่น้ีมีพระมหินทเถระ ผู้เป็นโอรสของพระเจ้าอโศกมหาราช ที่น�ำพระพุทธศานาไปประดิษฐานใน ลงั กา รวมทง้ั พระโสณะเถระและพระอตุ ตระเถระ ทน่ี ำ� พระพทุ ธศาสนามาเผยแผย่ งั ดนิ แดนสวุ รรณภมู ดิ ว้ ย การสังคายนาคร้ังที่ ๔ (พ.ศ. ๒๓๘) หลังจากพระมหินทเถระและคณะออกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในลังกาทวีปประมาณ ๓ ปีปรารภ การประดษิ ฐานพระพุทธศาสนาในลังกาทวปี เพ่อื ใหพ้ ระพุทธศาสนาต้งั ม่ันและเจรญิ สืบไป มีพระมหนิ ท เถระเป็นประธานและเปน็ ผู้ถาม พระอริฏฐะเปน็ ผวู้ ิสชั นา ณ ถปู าราม โดยพระเจ้าเทวานัมปยิ ตสิ สะทรง อปุ ถัมภ์ ใชเ้ วลา ๑ เดือน ๒ อา้ งแลว้ ใน 1
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 136 อยา่ งไรก็ดี สงั คายนาครงั้ นี้เป็นกิจกรรมตามขอ้ ปรารภพิเศษ โดยทวั่ ไปไม่นบั เข้าในประวัตสิ ังคายนา พ.ศ. ๖๔๓ พระเจ้ากนิษกะ ทรงอุปถมั ภก์ ารสังคายนาที่พระสงฆน์ กิ ายสรวาสติวาทจัดท่เี มอื งชลันธร สงั คายนาน้ีนบั โดยรวมเปน็ ครัง้ ที่ ๔ แต่นิกายสรวาสติวาทนบั เป็นครั้งท่ี ๓ เพราะไม่นบั การสังคายนาสมัย ทพี่ ระเจา้ อโศกฯ พระอศั วโฆษปราชญใ์ หญย่ คุ แรกของมหายานไดร้ ว่ มจดั นบั เปน็ การปรากฏตวั ครงั้ สำ� คญั ของมหายาน การสังคายนาครงั้ ท่ี ๕ หรอื ๔(พ.ศ. ๔๕๐) พระเถระมหาวิหารวาสที ั้งหลายปรารภสภาพบ้านเมอื งและเหตุการณเ์ หล่านแี้ ล้ว มองเห็นภาวะทีว่ ่า เมอื่ บา้ นเมืองเดือดรอ้ นราษฎรยากเข็ญ จะด�ำรงพระธรรมวินัยไดย้ าก และคำ� นงึ วา่ สบื ไปภายหนา้ กลุ บุตร จะเส่อื มถอยด้อยสติสมาธปิ ัญญา จะไม่สามารถทรงพระปรยิ ตั ไิ วด้ ้วยมขุ ปาฐะ กับท้งั ควรจะมีหลักฐานไว้ เป็นเกณฑ์ตัดสินไมใ่ ห้หลักพระพุทธศาสนาสบั สนปนเปกบั ลัทธอิ น่ื ภายนอก เพอื่ รกั ษาพระธรรมวินัยไวใ้ ห้ บรสิ ทุ ธ์ิ จงึ ตกลงกันใหจ้ ารกึ พระไตรปิฎกลงในใบลาน พระเถระเหล่าน้ันได้ประชุมกันท�ำงานท่ีวัดถ�้ำช่ือ อาโลกเลณะกลางเกาะลังกา จัดว่าเป็นสังคายนา ครง้ั ท่ี ๕ แต่โดยท่วั ไป ไม่นับการสังคายนาทถ่ี ูปารามในพ.ศ. ๒๓๖ จงึ นับเป็นสงั คายนาครงั้ ที่ ๔ ๒.๒ ยุคพุทธศาสนารงุ่ เรืองในอินเดยี ๓ ๑) พทุ ธศาสนาเจรญิ รงุ่ เรอื ง ยคุ ท่ี ๑ ในปพี .ศ. ๒๑๘ พระเจา้ อโศกมหาราชราชาภเิ ษกแลว้ แผข่ ยายอาณาจกั รออกไป จนตแี ควน้ กลงิ คะ ไดใ้ นปที ่ี ๘ แหง่ รชั กาล(พ.ศ. ๒๒๒)ทรงสลดพระทยั ตอ่ ความทกุ ขย์ ากของประชาชน จงึ ไดห้ นั มานบั ถอื พระพุทธศาสนา พระเจ้าอโศกมหาราชหันมาด�ำเนินนโยบาย ธรรมวิชัย อุปถัมภ์บ�ำรุงพระสงฆ์ สร้างวิหาร (วัด) ๘๔,๐๐๐ แหง่ และทำ� ศลิ าจารึกส่อื สารเสรมิ ธรรมแกป่ ระชาชน ตลอดจนอปุ ถมั ภส์ ังคายนาครัง้ ที่ ๓ และส่งพระศาสนาทตู ๙ สายไปประกาศพระศาสนาในแดนหา่ งไกล ๒) พุทธศาสนาเจริญรงุ่ เรอื ง ยคุ ท่ี ๒ พ.ศ. ๖๒๑ พระเจา้ กนษิ กะ กษตั รยิ ย์ งิ่ ใหญท่ ส่ี ดุ ของอาณาจกั รกษุ าณขนึ้ ครองราชยท์ เี่ มอื งปรุ ษุ ปรุ ะ พระองคท์ รงเป็นพุทธมามกะย่ิงใหญ่ ทรงทะนุบ�ำรงุ พระพทุ ธศาสนามากมาย ทำ� ให้พทุ ธศาสนาแผ่ไป ทางเอเซยี กลาง แล้วขยายตอ่ ไปยงั จีน๔ บนั ทกึ ของพระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ในหนงั สอื กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรม โลก กล่าวว่า ชนชาตไิ ทยเร่ิมนบั ถอื พระพุทธศาสนา ราวพ.ศ. ๖๒๑ โดยพระเจ้าม่งิ ต่ี แห่งราชวงศฮ์ นั่ ๓ อา้ งแลว้ ใน 1 ๔ แมว้ า่ พระพทุ ธศาสนาจะเผยแผเ่ ขา้ มาในสวุ รรณภมู ริ าวพ.ศ. ๒๓๕ แตใ่ นบนั ทกึ ของพระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ในหนงั สอื กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก กลา่ ววา่ ชนชาตไิ ทยเรม่ิ นบั ถอื พระพทุ ธศาสนา ราวพ.ศ. ๖๒๑ โดยพระเจา้ มง่ิ ตี่ แหง่ ราชวงศฮ์ นั่ ทรงสง่ ทตู สนั ถวไมตรมี ายงั ขนุ หลวงเมา้ กษตั รยิ ไ์ ทยแหง่ อาณาจกั รอา้ ยลาว คณะทตู ไดน้ ำ� พระพทุ ธศาสนาเขา้ มาดว้ ย ทำ� ให้ หวั เมอื งไทยทงั้ ๗๗ หวั เมอื ง มรี าษฎร ๕๑,๘๙๐ ครอบครวั จำ� นวนคนประมาณ ๕๕๓,๗๐๐ คน หนั มารบั นบั ถอื พระพทุ ธศาสนาเปน็ ครง้ั แรก
บทที่ 7 ความเจรญิ และเสอ่ื มของพทุ ธศาสนาในอินเดียการเผยแพร่พระพุทธศาสนาในไทย 137 ทรงส่งทูตสนั ถวไมตรีมายังขุนหลวงเม้า กษัตรยิ ไ์ ทยแหง่ อาณาจักรอา้ ยลาว คณะทูตได้น�ำพระพทุ ธ ศาสนาเข้ามาด้วย ท�ำให้หัวเมืองไทยทั้ง ๗๗ มีราษฎร ๕๑,๘๙๐ ครอบครัว จ�ำนวนคนประมาณ ๕๕๓,๗๐๐ คน หันมารบั นบั ถือพระพุทธศาสนาเปน็ ครั้งแรก พ.ศ. ๑๐๔๐ พวกหณู ะ หรือฮั่นขาว ซึ่งเปน็ ชนเผ่าเร่ร่อนจากเอเซียกลางตอนเหนอื ได้บุกเข้ามา ครอบครองชมพูทวีปภาคตะวันตกเฉียงเหนือท้ังหมด ได้ท�ำลายเมืองตักสิลา ศูนย์กลางการศึกษา พระพุทธศาสนาแถบพายพั ลงส้นิ เชงิ พ.ศ. ๑๑๔๘-๑๑๖๒ ราชาศศางกะ เป็นฮินดูนิกายไศวะ ได้ท�ำลายพระพุทธศาสนาอย่างรุนแรง เช่น สังหารพระสงฆ์ที่กุสินาราหมดสิ้น โค่นพระศรีมหาโพธิ์ท่ีพุทธคยา น�ำพระพุทธรูปออกจาก พระวหิ าร แล้วเอาศิวลึงค์เขา้ ไปตัง้ แทน ๓) พทุ ธศาสนาเจริญรุง่ เรือง ยคุ ที่ ๓ พ.ศ. ๑๑๔๙-๑๑๙๐ พระเจา้ หรรษะเป็นกษัตริย์ชาวพุทธ ไดท้ รงทะนุบ�ำรุงพระพทุ ธศาสนา รวมท้งั อปุ ถมั ภ์มหาวิทยาลยั นาลนั ทาพระองคท์ รงด�ำเนินนโยบายคลา้ ยอยา่ งพระเจา้ อโศกฯ ราชวงศป์ าละ (ประมาณพ.ศ. ๑๒๙๓ – ๑๖๖๓) ซึง่ ล้วนเปน็ กษัตรยิ ์ชาวพทุ ธ ไดส้ ง่ เสริมการศึกษา ศาสนา ศลิ ปะและวัฒนธรรมเปน็ อยา่ งยิ่ง ในสมยั ของพระเจ้าหรรษะ และราชวงศป์ าละ (ระหว่างพ.ศ.๑๒๙๓-๑๔๐๐) ซงึ่ อยูท่ างใต้ของอนิ เดยี อาณาจกั รปลั ลวะตงั้ ขนึ้ ทกี่ ญั จี ราว พ.ศ. ๗๖๘ แลว้ เรอื งอำ� นาจขนึ้ มาจนกระทงั่ ราว พ.ศ. ๑๑๕๐ กป็ กครอง ดนิ แดนกว้างขวางมาก รวมท้งั อาณาจักรทมฬิ ด้วย มกี ารนำ� ตัวอักษร “ปลั ลวะ” ของอนิ เดยี มาใช้ในดนิ แดนสุวรรณภมู ิ (ราวพ.ศ. ๙๐๐-๑๒๐๐ ซึ่งหลังจากพ.ศ. ๑๓๐๐ อาณาจกั รปาละกเ็ ร่ิมเสือ่ มถอยและหมด สิน้ ไปราวพ.ศ. ๑๔๐๐) อกั ษรตามดว้ ยภาษากบั วรรณคดี รวมทั้งหมดเรยี กว่า อกั ษรศาสตร์จากชมพูทวีป ล้วนได้รับยกยอ่ ง วา่ สงู สง่ และศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ ผรู้ หู้ รอื ผเู้ ชยี่ วชาญทางอกั ษรศาสตรช์ มพทู วปี เชน่ พระ และ พราหมณ์ ไดร้ บั ยกยอ่ ง จากหวั หนา้ เผา่ หรอื เจา้ เมอื งทไ่ี ดช้ อ่ื สถานะใหมว่ า่ กษตั รยิ ์ ใหม้ ฐี านะสงู เปน็ ทปี่ รกึ ษาทางพธิ กี รรมหรอื เปน็ ครู อาจารย์ เปน็ ปโุ รหติ ผปู้ ระกอบพธิ กี รรมอนั ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ ทำ� ใหส้ ถาบนั กษตั รยิ เ์ ปน็ ทย่ี อมรบั ของกลมุ่ ชนเผา่ เหล่ากอที่มีหลากหลาย และกวา้ งขวางออกไปเรือ่ ยๆ ศาสนาพทุ ธถูกท�ำลายท้ังโดยฮนิ ดูและมสุ ลิม ในปี พ.ศ. ๑๗๔๑-๑๗๕๐ บักข์ตยิ ารข์ ลั ยีหรอื ขลิ ยี ยกกองทพั มสุ ลมิ เตอรก์ เขา้ มาแถบพหิ ารและเบงกอล ขลั ยไี ดเ้ ผาทำ� ลายอาคารสถานท่ี และใหค้ นเลอื กเอา ระหวา่ งอสิ ลามกับความตาย มหาวทิ ยาลัยพทุ ธศาสนาทกุ แหง่ ถกู ท�ำลายจนหมดสน้ิ เม่ือทพั มสุ ลิมเตอรก์ ประสบความส�ำเร็จในการรบท�ำลาย ฆ่าคนท่ีไม่ยอมเปลี่ยนศาสนาและพระภิกษุสงฆ์จนหมดส้ิน เผาวัด และกวาดเอาทรพั ยส์ นิ ไปแล้ว พระพทุ ธศาสนาก็สูญสิน้ จากชมพูทวปี
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 138 การเจรญิ รงุ่ เรอื งของพทุ ธศาสนาในแตล่ ะยคุ มผี ลตอ่ การเผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรมและ วิทยาการต่างๆ ในไทย ดงั นี้ พุทธศาสนาเจรญิ รงุ่ เรอื ง ยุคท่ี ๑ (ประมาณ พ.ศ. ๒๑๘ – ๒๙๘) ในสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช มกี ารส่งพระศาสนาทตู ๙ สายไปประกาศพระศาสนาในแดนห่าง ไกล ๙ แหง่ พระโสณะเถระและพระอตุ ตระเถระ นำ� พระพทุ ธศาสนามาเผยแผย่ งั ดนิ แดนสวุ รรณภมู ิ ทำ� ให้ ศาสนาพทุ ธได้มาปักหลกั และเผยแพรส่ ู่ประชาชนในดินแดนสวุ รรณภูมิ พุทธศาสนาเจรญิ รุ่งเรอื ง ยคุ ที่ ๒ (ประมาณ พ.ศ. ๖๒๑ – ๖๔๕) ในสมยั ของพระเจา้ กนษิ กะ กษตั รยิ ย์ งิ่ ใหญท่ ส่ี ดุ ของอาณาจกั รกษุ าณมกี ารเผยแพรศ่ าสนาพทุ ธไปเอเชยี กลาง แล้วขยายไปจีน ต่อมาจนี สง่ ทูตมายังกษัตรยิ ์ไทย แห่งอาณาจักรอา้ ยลาว ท�ำให้ราษฎร ๕๑,๘๙๐ ครอบครัว จ�ำนวน ๕๕๓,๗๐๐ คนหันกลับมานบั ถือพทุ ธศาสนาเปน็ ครง้ั แรก พทุ ธศาสนาเจริญร่งุ เรอื ง ยคุ ท่ี ๓ (พ.ศ. ๑๑๔๙-๑๑๙๐) ในสมยั ของพระเจา้ หรรษะ และในระหวา่ ง พ.ศ. ๑๒๙๓-๑๔๐๐ ราชวงศป์ าละซง่ึ อยทู่ างใตข้ องอนิ เดยี อาณาจกั รปลั ลวะตง้ั ขนึ้ ทกี่ ญั จี ราว พ.ศ. ๗๖๘ แลว้ เรอื งอำ� นาจขน้ึ มาจนกระทงั่ ราว พ.ศ. ๑๑๕๐ กป็ กครอง ดนิ แดนกวา้ งขวางมาก รวมทงั้ อาณาจักรทมฬิ ด้วย มีการนำ� ตัวอกั ษร “ปลั ลวะ” ของอนิ เดยี มาใชใ้ นดนิ แดนสวุ รรณภูมิ (ราวพ.ศ. ๙๐๐-๑๒๐๐ ซ่งึ หลังจากพ.ศ. ๑๓๐๐ อาณาจกั รปาละก็เรม่ิ เส่ือมถอยและหมด ส้ินไปราวพ.ศ. ๑๔๐๐) การนำ� อกั ษรปลั ลวะเขา้ มาใชใ้ นดนิ แดนสวุ รรณภมู ิ นา่ จะมผี ลกระทบอยา่ งสงู ตอ่ การรบั เอาศลิ ปะและ วิทยาการต่างๆ รวมทั้งการแพทยด์ ้งั เดมิ ของอินเดียตอนใต้ มาสู่ชนชาตติ า่ งๆ ในสวุ รรณภมู ๕ิ โดยเฉพาะ ส่วนท่ีเป็นประเทศไทยปัจจุบัน เนื่องจากมีการเปลี่ยนสถานะของหัวหน้าเผ่าหรือเจ้าเมืองข้ึนเป็นสถานะ ใหม่ว่ากษัตริย์ พระและพราหมณ์มีฐานะสูงเป็นครู อาจารย์ เป็นปุโรหิต จึงเป็นไปได้ท่ีจะมีการน�ำเอา วิทยาการตา่ งๆ มาใชแ้ ละเผยแพร่ในสถาบันกษัตริย์ ต่อมาจงึ ขยายวงไปยังประชาชนท่ัวไป การนวดไทยมีแบบแผนหรือวิธีการนวดบางอย่างท่ีคล้ายคลึงกับการนวดเกราละ เช่น การนวดด้วย การใช้เท้าแตะน้�ำมันแล้วมาเหยียบหรือกดที่ตัวผู้ป่วย การใช้ลูกประคบท่ีท�ำจากข้าวอ่อน การพอกยา เปน็ ต้น ๕ หลงั จากยคุ สวุ รรณภมู แิ ลว้ ไดก้ ลายเปน็ ยคุ ทวารวดี (พทุ ธศตวรรษที่ ๕-๑๕) และมรี ฐั ชาตหิ ลายแหง่ เชน่ ศรวี ชิ ยั (พ.ศ. ๑๒๐๒- ๑๗๕๘) รฐั ละโว้ (พ.ศ. ๑๑๙๑-๑๔๗๐) หรภิ ญุ ชยั (พ.ศ. ๑๒๐๖-๑๘๓๕) สโุ ขทยั (พ.ศ. ๑๗๙๒-๑๙๘๑) จนมาเปน็ กรงุ ศรอี ยธุ ยา ซงึ่ อาจถอื เปน็ รฐั ประชาชาตแิ หง่ แรก และมาเปน็ ประเทศไทยปจั จบุ นั
บทท่ี 7 ความเจริญและเสื่อมของพทุ ธศาสนาในอนิ เดียการเผยแพร่พระพทุ ธศาสนาในไทย 139 ความเจรญิ และความเสื่อมของพระพทุ ธศาสนาในอินเดีย สังคายนาครงั้ ที่ ๑ สังคายนาครง้ั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๑๐๐) ๓ เดอื นหลงั พุทธ มหาสังฆกิ ะ (มหายาน) แยกออกจากเถรวาท ปรนิ พิ พาน สงั คายนาครั้งท่ี 3 พทุ ธศพ(าพรสะ.ศนเจ.าา้2เอจ1โรศิญ8กร–มงุ่ เ2หราอื9รง8ายช)คุ ท่ี 1 สสไ่งาปพยปรใหะรนศะนแกาึ่งดาสมนศนาหพาสา่ทรวุงะตูไรศกรา9ณลสสนภาามู ยิ (พ.ศ. 235) สังคายนาครง้ั ท่ี 4 หรอื 5 พุทธศาสนาแผ่ไปเอเชียกลาง แล้ว จารกึ พระ(ไพต.รศป.ฎิ 4ก5ล0งใ)นใบลาน ขยายไปจีน พ.ศ. ๖๒๑ จนี ส่งทตู มากษตั รยิ ์ไทยแห่งอาณาจกั รอา้ ย กาตรกั(ศพสึกถ.ลิศษูกา.ทาศ๑พำ�ูนทุ๐ลยธา๔ก์ศย๐ลา)สางนา พทุ ธศา(พสพ.นศรา.ะเเ๖จจร๒า้ ญิ ก๑รน-งุ่ ษิ๖เรก๔อื ะง๕ย)คุ ท่ี ๒ ลาว ราษฎร ๕๑,๘๙๐ ครอบครวั พุทธ(ศ(พพา.ศ.สศ.นพร.1าาร1ะเช2จ1เว9จรง4าญ้ิศ39ห์ปรร–-งุ่าร1เล1ษร1ะอื 4ะ9ง00ย0คุ))ท่ี 3 ๕๕๓,๗๐๐ คน หนั มานับถอื พทุ ธ ศาสนาเป็นคร้ังแรก ศาสนาพุทธถูกทำ�ลายท้งั โดยฮนิ ดแู ละมสุ ลิมตลอดเวลา พ.ศ. ๑๗๔๑-๑๗๕๐ กองทพั มสุ ลิมเตอร์กบกุ เผาวดั มหาวิทยาลัยพุทธศาสนาและเข่นฆ่าพระภกิ ษสุ งฆ์ พระพทุ ธศาสนาสูญสน้ิ จากชมพูทวีป
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 140 ๓. การเผยแพร่พระพทุ ธศาสนาในไทย การเผยแพรพ่ ทุ ธศาสนาเขา้ มาในไทย มหี ลายยคุ หลายสมยั หลายทศิ ทาง และหลายนกิ าย ซง่ึ มผี ลตอ่ การแพทย์ การดูแลสุขภาพในสังคมไทย ในหนังสือ กาลานุกรม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก ของ พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ไดก้ ล่าวถงึ การเผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนาในสงั คมไทยระยะต่างๆ ดังนี้ ๑. การเผยแพร่พระพุทธศาสนาเขา้ มายังดนิ แดนสวุ รรณภูมคิ ร้ังแรก หลังการสังคายนาครั้งท่ี ๓ พ.ศ. ๒๓๕ โดยพระเจ้าอโศกมหาราชทรงอุปถมั ภ์ ใช้เวลา ๙ เดอื น หลัง การสงั คายนา มกี ารจดั สง่ พระศาสนาทตู ๙ สาย ไปประกาศพระศาสนา โดยสายหนงึ่ มี พระโสณะและอตุ ตระ ไปยังสุวรรณภูมิ ดนิ แดนสวุ รรณภมู นิ ย้ี งั เปน็ ทถ่ี กเถียงกันวา่ เป็นทีใ่ ดกันแน่ บางมตวิ า่ สุวรรณภูมิ คือ เมอื งสะเทิมใน พม่า บางมตวิ ่า หรภิ ุญชรัฐ บางมตวิ า่ สยิ ามรฐั การเผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนาในดนิ แดนสวุ รรณภมู คิ รงั้ นี้ นบั เปน็ เปน็ ครง้ั แรกของดนิ แดนสวุ รรณภมู ทิ ี่ ได้รู้จกั และนับถือพระพทุ ธศาสนา ชนพนื้ เมอื งในสวุ รรณภมู นิ นั้ นบั ถือผี พร้อมกนั นน้ั พวกพราหมณก์ ็เข้า มาเผยแพรศ่ าสนาฮินดูดว้ ย ทำ� ใหช้ มุ ชนท้องถิ่นใกล้ทะเลบางแห่งรับพระพุทธศาสนา บางแห่งรับศาสนา พราหมณ์ แตม่ บี างชมุ ชนแรกรบั พทุ ธแลว้ เปลย่ี นเปน็ พราหมณ์ บางชมุ ชนแรกรบั พราหมณแ์ ลว้ เปลยี่ นเปน็ พุทธ เปน็ เหตุใหม้ ีหลายแห่งรับทัง้ พุทธและพราหมณป์ ะปนอยูด่ ว้ ยกนั ในชมุ ชนเดยี วกันที่นบั ถือ “ผ”ี มา กอ่ นแลว้ ๒. พทุ ธศาสนาเข้าสูจ่ นี และชนชาติไทยเร่ิมรบั นับถือพระพุทธศาสนามากขึ้น พ.ศ. ๖๐๘ (ค.ศ. ๖๕) เป็นปีท่ีถอื วา่ จนี รับพระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศโดยทางราชการ กล่าวคอื พระจกั รพรรดิ มงิ่ ตแี่ หง่ ราชวงศฮ์ น่ั ทรงสง่ คณะทตู ๑๘ คนไปสบื พระพทุ ธศาสนาทปี่ ระเทศอนิ เดยี ณ เมอื ง โซตานหลงั จากนน้ั ๒ ปีคณะทูตกลับมาพร้อมด้วยพระภิกษุ ๒ รปู กบั พระธรรมคัมภรี จ์ ำ� นวนหน่ึง พ.ศ. ๖๒๑ (ค.ศ. ๗๘) ประมาณช่วงเวลานี้ ในยุคทไ่ี ทยถูกจีนรกุ รานตลอดมาน้ัน พระเจา้ ม่ิงตี่แหง่ ราชวงศ์ฮั่น ทรงส่งทูตสันถวไมตรีมายังขุนหลวงเม้า กษัตริย์ไทยแห่งอาณาจักรอ้ายลาว คณะทูตได้น�ำ พระพทุ ธศาสนาเข้ามาดว้ ย ท�ำใหห้ ัวเมืองไทยทัง้ ๗๗ มีราษฎร ๕๑,๘๙๐ ครอบครวั จำ� นวนคนประมาณ ๕๕๓,๗๐๐ คน หนั มารับนบั ถอื พระพุทธศาสนาเปน็ ครั้งแรก ๓. อาณาจกั รศรวี ชิ ยั กับการเผยแพรพ่ ทุ ธศาสนาแบบมหายานในภาคใตข้ องไทย พ.ศ. ๑๑๐๐ (ราวค.ศ. ๖๐๐) มอี าณาจกั รใหม่ท่ีสำ� คญั เรยี กว่า ศรวี ชิ ยั เกดิ ขึน้ ในดนิ แดนทป่ี จั จบุ ัน เปน็ อนิ โดนเี ซยี และมาเลเซยี กอ่ นเกดิ อาณาจกั รศรวี ชิ ยั ทช่ี วา พทุ ธศาสนาไดม้ าตง้ั มนั่ นานแลว้ กอ่ นครสิ ต์ ศตวรรษท่ี ๕ โดยมภี กิ ษุ เชน่ พระคณุ วรมันมาเผยแพรธ่ รรม แม้ทสี่ ุมาตราพระพุทธศาสนาก็คงไดม้ าถงึ ใน ยคุ เดยี วกนั
บทที่ 7 ความเจริญและเส่อื มของพุทธศาสนาในอนิ เดียการเผยแพรพ่ ระพุทธศาสนาในไทย 141 อาณาจกั รนเี้ รมิ่ ขนึ้ โดยชาวฮนิ ดจู ากอนิ เดยี ใตม้ าตง้ั ถน่ิ ฐานทปี่ าเลมบงั ในเกาะสมุ าตรา ตง้ั แตก่ อ่ นค.ศ. ๖๐๐ แตม่ ีชอื่ ปรากฎครัง้ แรกในบนั ทกึ ของหลวงจนี อ้จี งิ ผูม้ าแวะบนเสน้ ทางสู่ชมพูทวีปเม่ือพ.ศ. ๑๒๑๔ หลวงจีนอ้จี ิงบนั ทึกวา่ ท่ศี รีวชิ ัย พทุ ธศาสนาหนี ยานยังเป็นหลกั ผ้นู บั ถือมหายานมนี ้อย ตอ่ มาไมน่ าน เมอื่ อาณาจกั รในชมพทู วปี ทนี่ บั ถอื มหายาน มกี ำ� ลงั ขน้ึ โดยเฉพาะในยคุ ปาละ และขยาย มาทางแถบท่เี ปน็ แควน้ เบงกอลในปัจจบุ ัน พุทธศาสนามหายานก็มายงั ศรีวิชยั ตามเส้นทางค้าขาย ในระยะท่ีศรีวิชยั ครอบครองสมุ าตรา ชวา บอรเ์ นยี วตะวนั ตก และแหลมมลายู มอี ำ� นาจคมุ ชอ่ งแคบ มะละกาเปน็ ใหญ่ในเส้นทางการคา้ ระหวา่ งเอเชยี อาคเนย์กบั อินเดีย และเปน็ ศนู ย์รวมเกบ็ พักสง่ ตอ่ สินคา้ ระหวา่ งอินเดยี กับจีน ร่งุ เรืองอยู่ ๕ ศตวรรษ ศรวี ชิ ยั ก็ได้เปน็ ศนู ยก์ ลางแหง่ หนงึ่ ของพุทธศาสนามหายาน ด้วย เปน็ เวลายาวนานถึงประมาณพ.ศ. ๑๘๐๐ (คริสตศ์ ตวรรษท่ี ๑๓) ระหวา่ งนนั้ ศรวี ิชยั อ่อนแอไประยะหนึง่ เมอื่ ถกู พระเจ้าราเชนทรที่ ๑ แหง่ อาณาจักรโจฬะยกทพั มา ตีในพ.ศ. ๑๕๖๘ (ค.ศ. ๑๐๒๕) และโจฬะยดึ ครองชวาได้ส่วนใหญ่ ต่อมา ศรีวิชัยกร็ ่งุ เรืองขน้ึ ไดอ้ กี และคง อยอู่ ีกนานจนเลือนลับไปเม่ืออาณาจักรใหมช่ ื่อ “มชปหติ ” เด่นข้นึ มาแทนท่ใี นระยะพ.ศ. ๑๘๐๐ พ.ศ. ๑๓๐๐ (ค.ศ. ๗๕๗) ในช่วงเวลาน้ี ดนิ แดนทีเ่ ป็นภาคใต้ของประเทศไทยปัจจบุ นั ไดร้ วมอยู่ใน เขตของอาณาจักรศรีวิชัย พุทธศาสนาแบบมหายานจึงรุ่งเรืองในดินแดนแถบนี้ด้วย ดังมีเจดีย์พระบรม ธาตุไชยา และพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช กับท้ังปฏิมาของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ เป็นต้น เป็น ประจักษ์พยาน ๔. การเผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนาในยุคทวาราวดี พ.ศ. ๑๑๕๐ (ประมาณค.ศ. ๖๑๗) อารยธรรมทวาราวดี ของชนชาติมอญ ไดเ้ จรญิ รุ่งเรอื งเดน่ ขน้ึ มา ในดนิ แดนทเ่ี ปน็ ประเทศไทยปจั จบุ นั แถบลมุ่ แมน่ ำ้� เจา้ พระยาตอนลา่ ง ตงั้ เมอื งหลวงทนี่ ครปฐม เปน็ แหลง่ รบั วฒั นธรรมชมพทู วปี รวมทง้ั พระพทุ ธศาสนา แลว้ เผยแพรอ่ อกไปในเขมร พมา่ ไทยอยนู่ านจนเลอื นหาย ไปในอาณาจกั รสยามยคุ สโุ ขทัยแห่งพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ อาณาจักรทวาราวดีนี้เจริญขึ้นมาในดินแดนที่ถือว่าเคยเป็นถ่ินซึ่งเรียกว่าสุวรรณภูมิในสมัยโบราณ ต้งั แตก่ ่อนยคุ อโศก ในพุทธศตวรรษท่ี ๓ ๕. การเผยแพร่พระพทุ ธศาสนาในไทยอีสานและภาคกลาง พ.ศ. ๑๕๕๐ (ค.ศ. ๑๐๐๗) ในชว่ งเวลานี้ อาณาจกั รขอมโบราณเรอื งอำ� นาจ ปกครองถงึ ดนิ แดนทเี่ ปน็ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื และภาคกลางของประเทศไทยปจั จุบัน โดยต้ังละโว้หรือลพบรุ เี ป็นราชธานแี ถบ น้ี พุทธศาสนาแบบมหายานทีข่ อมรับจากศรีวิชยั ผสมกบั ศาสนาฮนิ ดู จงึ เขา้ มาปะปนกับพุทธศาสนาแบบ เถรวาทที่สืบมาแตเ่ ดมิ มพี ระสงฆ์ท้ัง ๒ นกิ าย และภาษาสันสกฤต กไ็ ด้เข้ามามอี ทิ ธพิ ลมากในภาษาและ วรรณคดีไทยแต่บดั นน้ั
การนวดในพระไตรปิฎกและสายธารแห่งการนวดไทย 142 ๖. พุทธศาสนาเถรวาทแผ่ขยายจากพมา่ มาไทย พ.ศ. ๑๕๘๗ (ค.ศ. ๑๐๔๔) พระเจา้ อนุรทุ ธมหาราช หรอื อโนรธามังชอ่ ตง้ั อาณาจักรพุกาม ปราบ มอญรวมพม่าเป็นอนั เดียวได้คร้ังแรก พระเจ้าอนุรุทธแห่งเมืองพุกามน้ัน เป็นกษัตริย์ของชนชาวมรัมมะที่รุนแรง นับถือศาสนาพุทธแบบ ตนั ตระ แตไ่ ดเ้ ปลยี่ นพระทยั มานบั ถอื ศาสนาพทุ ธเถรวาทเมอื่ ไดท้ รงพบกบั พระเถระชาวตะเลง (รามญั หรอื มอญ) แหง่ เมืองสะเทิม (คือสธุ รรมนคร หรือสุธรรมปุระ) นามว่าอรหันต์ (ชือ่ เดมิ วา่ ธรรมทัสส)ี ตอ่ มาเมือ่ พระเจ้าอนรุ ุทธไปตเี มอื งสะเทิมได้ กข็ นพระไตรปิฎกมาเมอื งพุกาม เม่อื พระเจ้าอนุรุทธรวมพมา่ แลว้ ไดแ้ ผอ่ าณาเขตมาถงึ ลา้ นนา ลา้ นช้าง จดลพบุรีและทวาราวดี เปน็ เหตุใหพ้ ทุ ธศาสนาแบบพกุ ามจากมอญเผยแพร่ในดินแดนเหล่านดี้ ้วย พุกามเสยี แก่มองโกล คอื จักรพรรดิกบุ ไลข่าน ในพ.ศ. ๑๘๓๐ ๗. การเผยแพรพ่ ทุ ธศาสนาในสมัยอาณาจักรสุโขทยั พุทธศาสนาเถรวาทสายลงั กาวงศร์ ่งุ เรอื ง พ.ศ. ๑๘๐๐ (ค.ศ. ๑๒๕๗) พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ประกาศอสิ รภาพไมข่ ้นึ ตอ่ ขอม และตั้งอาณาจกั ร สุโขทยั ในรชั กาลที่ ๓ พอ่ ขนุ รามคำ� แหงมหาราช (ขนึ้ ครองราชย์ พ.ศ. ๑๘๑๘/ค.ศ. ๑๒๗๕ หรอื พ.ศ. ๑๘๒๒/ ค.ศ. ๑๒๗๙) ได้แผ่ขยายพระราชอาณาเขตออกไปอยา่ งกวา้ งขวาง ทรงปกครองราษฎรอยา่ งบดิ ากบั บุตร ทรงประดิษฐ์ตัวอักษรไทยในปีพ.ศ. ๑๘๒๖ และทรงอาราธนาพระมหาเถรสังฆราชขึ้นมาจากเมือง นครศรธี รรมราช มาพำ� นกั ณ วดั อรญั ญกิ ตง้ั คณะสงฆล์ งั กาวงศพ์ ระพทุ ธศาสนาเถรวาทเปน็ ศาสนาประจำ� ราชอาณาจักรและรุ่งเรืองสืบมา พระพุทธสิหิงค์ ซ่ึงสร้างในลังกามาอยู่ท่ีนครศรีธรรมราช ก็ข้ึนมา ประดษิ ฐาน ณ กรงุ สโุ ขทยั ในรชั กาลนพี้ ทุ ธศลิ ปแ์ บบลงั กาเรมิ่ เขา้ มาแทนทพี่ ทุ ธศลิ ปแ์ บบมหายาน แมแ้ ต่ พระมหาธาตนุ ครศรีธรรมราช ก็แปลงรปู เปน็ สถูปแบบลังกา ในรชั กาลที่ ๕ (บา้ งวา่ ท่ี ๖) พระมหาธรรมราชาลิไท (ลอื ไท กว็ ่า) ซ่ึงเสวยราชย์ พ.ศ. ๑๘๙๐-๑๙๒๑ (ค.ศ. ๑๓๔๗-๑๓๗๘) ทรงอาราธนาพระมหาสามสี งั ฆราชเมอื งลังกานามว่า สมุ นะ มาสสู่ โุ ขทัยในปีพ.ศ. ๑๙๐๔ (ค.ศ. ๑๓๖๑) ครั้นออกพรรษาแลว้ เสดจ็ ออกผนวชช่วั คราว ณ วัดอรัญญกิ นับวา่ เป็นกษัตรยิ ไ์ ทย พระองค์แรกที่ทรงผนวช และทรงพระราชนิพนธ์ไตรภูมิพระร่วง ซ่ึงถือกันว่าเป็นวรรณคดีไทยเล่มแรก ทรงจัดระเบียบคณะสงฆแ์ บง่ เป็น ๒ ฝ่ายอยา่ งลังกา เป็นคามวาสี และอรญั วาสี เมอื่ พระเจา้ ลไิ ทสวรรคตใน พ.ศ. ๑๙๒๑ แลว้ พระราชโอรสไดข้ น้ึ ครองราชยเ์ ปน็ พระเจา้ ไสยลอื ไท แต่ ในปนี ั้นเอง สุโขทัยกต็ กเปน็ ประเทศราชขน้ึ ต่อกรงุ ศรีอยุธยา
บทท่ี 7 ความเจรญิ และเสอ่ื มของพทุ ธศาสนาในอินเดียการเผยแพร่พระพุทธศาสนาในไทย 143 ๘. การเผยแพรพ่ ทุ ธศาสนาในสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยา พ.ศ. ๑๘๙๓ (ค.ศ. ๑๓๕๐) พระเจ้าอู่ทอง (รามาธบิ ดีท่ี ๑) ตง้ั กรงุ ศรอี ยุธยา พ.ศ. ๑๘๙๖ (ค.ศ. ๑๓๕๓) ทีเ่ มืองลาว เจา้ ฟ้าง้มุ ตั้งอาณาจกั รล้านชา้ ง เปน็ อิสระจากขอม ครอง ราชย์ท่เี มืองหลวงพระบาง ยกพระพุทธศาสนาเถรวาทเปน็ ศาสนาประจ�ำราชอาณาจกั ร ๙. การเผยแพร่พุทธศาสนาในลา้ นนา พ.ศ. ๑๘๙๘-๑๙๒๘ (ค.ศ. ๑๓๕๕-๑๓๘๕) ทอ่ี าณาจกั รลา้ นนา ซง่ึ พระเจา้ เมง็ ราย (พญาเมง็ ราย กว็ า่ ) ทรงเปน็ ตน้ ราชวงศเ์ รม่ิ ประมาณ พ.ศ. ๑๘๐๒ และทรงสรา้ งเมอื งเชยี งใหมเ่ ปน็ ราชธานเี สรจ็ ในพ.ศ. ๑๘๓๕ ในรัชกาลพระเจา้ กือนาธรรมิกราช ประมาณพ.ศ. ๑๙๑๓ พระเจา้ กือนาทรงสง่ ราชทตู มายงั พระเจา้ ลิ ไท ขออาราธนาพระสังฆราชสุมนเถร พร้อมด้วยพระบรมสารีริกธาตุ ไปยังล้านนา เป็นการเริ่มต้นพุทธ ศาสนาแบบลังกาวงศ์ในลา้ นนา และเพื่อบรรจพุ ระบรมสารีริกธาตทุ อ่ี ัญเชิญมาน้ัน จงึ มกี ารสร้างพระธาตุ เจดีย์ท่วี ัดบบุ ผาราม (วดั สวนดอก) เสร็จพ.ศ. ๑๙๑๗ และพระธาตดุ อยสเุ ทพ เสรจ็ พ.ศ. ๑๙๒๗ เชียงใหมม่ เี รอื่ งขัดแย้งท�ำศึกกับอยธุ ยามาเร่ือยๆ บางครั้งกข็ ึน้ ต่อกรงุ ศรีอยธุ ยา บางครั้งกข็ น้ึ ตอ่ พมา่ ครนั้ เม่ือพระเจ้าตากสินมหาราชทรงตงั้ กรุงธนบรุ ใี นปีพ.ศ. ๒๓๑๐ ได้ทรงขน้ึ ไปท�ำศกึ ชิงเชียงใหมใ่ ห้เปน็ อสิ ระจากพมา่ ในปี พ.ศ. ๒๓๑๗ (ค.ศ. ๑๗๗๔) เชยี งใหม่จงึ มีเจ้าเมอื งปกครองตอ่ มา จนในท่สี ดุ ถงึ รัชกาล ที่ ๕ ขนึ้ สู่ยุคสมัยใหม่ มกี ารจดั ระบบการปกครองบ้านเมืองใหท้ นั สมยั ลา้ นนากเ็ ข้าอยใู่ นแบบแผนเดยี ว กับดินแดนส่วนอนื่ ทั้งปวงในพระราชอาณาจักรไทย ซึ่งได้พฒั นามาจนแบง่ เปน็ จังหวัดตา่ งๆ ดังท่ปี รากฎ ในปจั จุบนั
การนวดในพระไตรปิฎกและสายธารแห่งการนวดไทย 144 หบททล่ี 8กั ฐานและ บนั ทกึ สำ� คัญ เกี่ยวกับนวดไทย
บทท่ี 8 หลักฐานและบนั ทกึ สำ� คัญเกย่ี วกับนวดไทย 145 ๑. ยุคสุวรรณภูมิ ๑.๑ ความเปน็ มาของสุวรรณภูมิ ๑.๒ พราหมณ์ พทุ ธ พบผีสวุ รรณภมู ิ ๑.๓ สุวรรณภมู ิ: สยามประเทศไทย ๑.๔ อักษร ภาษา วรรณคดี จากชมพูทวปี ถงึ สุวรรณภมู ิ ๓๒.. บบ๑.ันนั ๕ททภึกึกานนษววาดดแไไลททะอยยักใทนษ่เี กสรไ่ามทแยั ยกรใ่ทนัตีส่สนุวุดโรกพรสบณินใภทนมู รสิ ์ มยั อยธุ ยา การนวดไทยมีต้นกำ� เนิดจากการแพทยใ์ นสายพุทธศาสนาหรือไม่ หรือมาจากการนวดอายุรเวท หรือ มาจากโยคะ หรือมาจากการนวดพนื้ บา้ นทม่ี ีอยเู่ ดมิ เราตอ้ งค่อยๆ ดหู ลักฐานเชิงประจักษท์ ีม่ ีอยู่ รวมทง้ั การวเิ คราะห์ ปรัชญา ทฤษฎีทางการแพทย์ การวนิ ิจฉยั แบบแผนการบ�ำบัด วา่ สอดคล้องหรอื สืบทอดมา จากการนวดสายใด หลกั ฐานการบนั ทกึ เป็นลายลกั ษณอ์ ักษรทีเ่ กี่ยวข้องกับการนวดไทย ประมวลไดด้ งั น้ี
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแหง่ การนวดไทย 146 ๑. ยุคสุวรรณภมู ิ (กอ่ นพทุ ธศตวรรษที่ ๓ – พทุ ธศตวรรษที่ ๕) ๑.๑ ความเปน็ มาของสวุ รรณภูมิ๑ สวุ รรณภมู เิ ปน็ ผนื แผน่ ดนิ ใหญเ่ ดยี วกนั เกอื บทงั้ หมด ตง้ั แตต่ อนเหนอื (คอื ทางใตข้ องจนี ปจั จบุ นั ) ลง ไปหม่เู กาะฟลิ ปิ ปินสแ์ ละบรไู น จนถึงตอนใตส้ ดุ ซ่งึ เป็นบรเิ วณหม่เู กาะของอินโดนีเซีย เช่น สุมาตรา ชวา บอรเ์ นยี ว ฯลฯ ขณะนน้ั แผน่ ดินใหญอ่ นั เป็นทีต่ ัง้ ของประเทศไทยและมาเลเซยี ยงั เชือ่ มตอ่ เป็นผนื เดยี วกัน กับฟลิ ิปปินสแ์ ละอินโดนีเซีย ราว ๕,๐๐๐ – ๗,๐๐๐ ปี มนษุ ยอ์ ุษาคเนย์ (ปัจจบุ ันคอื เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต)้ เรมิ่ ปลกู ข้าว แล้ว กินขา้ วเป็นอาหาร ราว ๕,๐๐๐ ปีมาน้เี อง คนเริม่ ต้ังหลักแหล่ง ปลกู เพงิ อยู่อยา่ งง่ายๆ ดว้ ยไมไ้ ผ่ และมงุ ดว้ ยใบไม้ทว่ั ไป นานเข้าก็รวมอย่ดู ้วยกนั เปน็ หมู่ มี “หัวหนา้ ” มีทฝ่ี งั ศพ “หัวหน้า” เปน็ แหลง่ ศักดสิ์ ิทธิ์ ราว ๓,๐๐๐ ปี มีการถลงุ เหลก็ ทำ� เครอื่ งมอื อย่างกว้างขวางเกอื บท่วั ไปหมด ทำ� ใหเ้ กิดการเคลอ่ื น ยา้ ยหลกั แหลง่ ไปมาเพอ่ื หาแรธ่ าตุ และทรพั ยากรอดุ มสมบรู ณ์ เชน่ เหลก็ เกลอื เหลก็ เปน็ โลหะสำ� คญั ทส่ี ดุ ทจี่ ะกระต้นุ ให้เกิดการค้าขายแลกเปลย่ี นท่วั ภูมิภาค จนมีการรวมตวั สร้างเปน็ เมือง และเป็นรฐั เช่น รัฐที่ พมิ าย รฐั ละโว้ รวมถึงรฐั สโุ ขทยั ผี เป็นระบบความเชอ่ื หรือ ศาสนา ของคนยคุ ปฏวิ ตั เิ ทคโนโลยี ผี หรือ อำ� นาจเหนอื ธรรมชาตขิ อง แตล่ ะเผา่ พันธุ์ มีต่างกันบ้าง สว่ นทเ่ี ชื่อร่วมกันคอื งู และ กบ ๑.๒ พราหมณ–์ พุทธ พบผีสวุ รรณภูมิ พอ่ ค้ากับนักแสวงโชคชาวอนิ เดียเดนิ ทางมาคา้ ขายแลกเปลย่ี นสง่ิ ของสนิ คา้ กบั หัวหนา้ เผ่าพนั ธุ์ของ ชมุ ชนในดนิ แดนอษุ าคเนย์ นอกจากคา้ ขายแลกเปล่ยี นสิ่งของสนิ ค้าแล้ว คนพน้ื เมืองโดยเฉพาะกลุ่มผู้นำ� ยังรบั เอาอารยธรรมจากชมพทู วีปมาใชใ้ นชุมชนท้องถ่นิ ดว้ ย ชาวอินเดยี โบราณท่ีเดินเรือทะเลเลียบชายฝง่ั เขา้ มาตดิ ต่อคา้ ขายกบั ชาวสวุ รรณภมู ิ นอกจากพอ่ ค้า ที่ม่ังคั่งแล้วยังมีชนวรรณะอ่ืนและกลุ่มอ่ืนด้วย คือ พราหมณ์ และนักบวช ฯลฯ บางพวกเข้ามาต้ังหลัก แหล่งช่ัวคราวไปๆ มาๆ แต่บางพวกต้ังถิ่นฐานถาวรด้วยเหตุผลหลายอย่างจนกลายเป็นส่วนหน่ึงของคน พนื้ เมอื งกม็ ี บางพวกแตง่ งานกบั คนพน้ื เมอื งแลว้ สบื โคตรตระกลู มลี กู หลานกลายเปน็ คนพน้ื เมอื งไปกไ็ มน่ อ้ ย หลงั พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ดบั ขนั ธปรนิ พิ พานแลว้ ราวๆ 2๐๐ ปเี ศษ (ปพี .ศ. ๒๓๕) มกี ารสงั คายนาพระ ธรรมคำ� สอนในพระพทุ ธศาสนา ครัง้ ที่ ๓๒ มีพระอรหันต์ ๑,๐๐๐ รปู โดยมีพระโมคคัลลบี ุตรติสสะเถระ เปน็ ประธาน ประชุมทำ� ทีอ่ โศการาม เมอื งปาฏลีบตุ ร โดยพระเจา้ อโศกทรงอุปถัมภ์ ใชเ้ วลา ๙ เดือน หลังสังคายนาแล้ว มกี ารจดั ส่งพระศาสนทูต ๙ สาย ไปประกาศพระศาสนา มีพระสงฆ์ ๒ รปู คือ พระโสณะกบั พระอตุ ตระ อาศยั เรอื พอ่ คา้ เขา้ มาเผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนาเปน็ ครง้ั แรกทด่ี นิ แดนสวุ รรณภมู ิ ๑ สจุ ติ ต์ วงศเ์ ทศ. สวุ รรณภมู :ิ ตน้ กระแสประวตั ศิ าสตรไ์ ทย. ๒ พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๕. กรงุ เทพฯ: สำ� นกั พมิ พผ์ ลธิ รรม; ๒๕๕๔.
บทที่ 8 หลักฐานและบนั ทึกส�ำคัญเกี่ยวกับนวดไทย 147 พระพุทธศาสนาเร่ิมประดิษฐานลงในภูมิภาคน้ีเป็นคร้ังแรกตรงบริเวณที่อยู่ระหว่างล�ำแม่น�้ำกลอง–ท่าจีน (ปัจจุบันคือเขตอ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี กับบ้านดอนตาเพชร เขตอ�ำเภอพนมทวน จังหวัด กาญจนบุร)ี ๓ พรอ้ มกนั ครง้ั นนั้ พวกพราหมณก์ เ็ ขา้ มาเผยแพรศ่ าสนาฮนิ ดดู ว้ ย ทำ� ใหช้ มุ ชนทอ้ งถน่ิ ใกลท้ ะเลบางแหง่ รบั พระพทุ ธศาสนา บางแหง่ รบั ศาสนาพราหมณ์ แตม่ บี างชมุ ชนแรกรบั พทุ ธแลว้ เปลย่ี นเปน็ พราหมณ์ บาง ชมุ ชนแรกรบั พราหมณแ์ ลว้ เปลยี่ นเปน็ พทุ ธ เปน็ เหตใุ หม้ หี ลายแหง่ รบั ทง้ั พทุ ธและพราหมณป์ ะปนอยดู่ ว้ ย กนั ในชุมชนเดียวกนั ทน่ี ับถอื “ผ”ี มากอ่ นแล้ว แม้ว่า พระพุทธศาสนาจะเผยแผ่เข้ามาในสุวรรณภูมิราวพ.ศ. ๒๓๕ แต่บันทึกของพระพรหมคุณา ภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ในหนงั สอื กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก กลา่ ววา่ ชนชาตไิ ทยเรม่ิ นบั ถอื พระพทุ ธศาสนา ราวพ.ศ. ๖๒๑ โดยพระเจา้ มงิ่ ต่ี แหง่ ราชวงศฮ์ น่ั ทรงสง่ ทตู สนั ถวไมตรมี ายงั ขนุ หลวงเมา้ กษัตริย์ไทยแห่งอาณาจักรอ้ายลาว คณะทูตได้น�ำพระพุทธศาสนาเข้ามาด้วย ท�ำให้หัวเมืองไทยท้ัง ๗๗ หวั เมอื ง มรี าษฎร ๕๑,๘๙๐ ครอบครวั จำ� นวนคนประมาณ ๕๕๓,๗๐๐ คน หนั มารบั นบั ถอื พระพทุ ธศาสนา เปน็ ครง้ั แรก ๑.๓ “สวุ รรณภมู ”ิ สยามประเทศไทย สยามเปน็ ชอ่ื ดนิ แดนทมี่ ขี อบเขตไมช่ ดั เจน แตม่ กั เปน็ ทร่ี บั รทู้ ว่ั ไปทง้ั ภายในและภายนอกยคุ นนั้ วา่ หมาย ถงึ พืน้ ท่ีบริเวณท่ีเปน็ ประเทศไทยทกุ วนั น้ี แตอ่ าจลำ้� ซำ้� ซ้อนพน้ื ที่ประเทศเพื่อนบ้านไกลเ้ คียงบางแห่งดว้ ย แล้วมชี ่อื ในต�ำนานสมัยหลงั ๆ ว่า สยามประเทศ คนที่อยใู่ นดนิ แดนสยามเรียกว่า ชาวสยาม โดยไม่ระบุชาติพันธุ์ชนเผา่ เหล่ากอใดโดยเฉพาะ แตม่ ชี าวสยามกลมุ่ หนง่ึ ในตระกลู ไทย-ลาว ทอ่ี ยปู่ ะปนชาตพิ นั ธอ์ุ นื่ ๆ มาดกึ ดำ� บรรพ์ ๓,๐๐๐ ปมี าแลว้ ผา่ นยุคสวุ รรณภูมแิ ละยคุ หลงั ๆ ตอ่ ๆ มา จนมอี �ำนาจเป็นชนชั้นปกครองเรียกพวกของตนวา่ “คนไทย” แลว้ รว่ มกบั เครอื ญาติ “ขอม” ลุ่มน�้ำเจา้ พระยาแห่งเมืองละโว้ (ลพบรุ )ี สถาปนาราชอาณาจกั รสยามขนึ้ เปน็ “รฐั ประชาชาต”ิ แหง่ แรก เรยี กชอ่ื กรงุ ศรอี ยทุ ธยา สบื มาเปน็ กรงุ ธนบรุ ี ถงึ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ จนเปน็ ประเทศไทย ทุกวันน้ี ๑.๔ อักษร ภาษา วรรณคดี จากชมพูทวปี ถึงสุวรรณภมู ิ สง่ิ ทต่ี อ้ งมากบั ศาสนาอยา่ งแยกกนั ไมไ่ ดค้ อื อกั ษร แลว้ ตามดว้ ยภาษากบั วรรณคดี รวมทง้ั หมดเรยี กวา่ อกั ษรศาสตรจ์ ากชมพทู วปี ล้วนไดร้ ับยกย่องวา่ สูงส่งและศักดิ์สทิ ธ์ิ แล้วววิ ฒั นาการเปน็ อักษรไทยทุกวันน้ี ผรู้ ู้หรือผเู้ ชี่ยวชาญทางอักษรศาสตร์ชมพทู วีป เช่น พระ และพราหมณ์ ได้รบั ยกยอ่ งจากหัวหน้าเผ่า หรือเจ้าเมืองที่ได้ชื่อสถานะใหม่ว่ากษัตริย์ให้มีฐานะสูงเป็นที่ปรึกษาทางพิธีกรรมหรือเป็นครู อาจารย์ ๓ พระเจา้ อโศกไดส้ ง่ สมณทตู ไปประกาศพระธรรมในดนิ แดนตา่ งๆ ๙ แหง่ ดงั ปรากฏในคมั ภรี ์ ทปี วงศ์ มหาวงศ์ และสมนตฺ ปาสาทกิ า โดยมพี ระโสณะและอตุ รเถระ สองพน่ี อ้ งไปยงั ดนิ แดนสวุ รรณภมู ิ
การนวดในพระไตรปิฎกและสายธารแห่งการนวดไทย 148 เป็นปโุ รหติ ผู้ประกอบพิธกี รรมอนั ศกั ดิส์ ิทธิ์ ท�ำให้สถาบันกษตั ริยเ์ ปน็ ท่ียอมรับของกลมุ่ ชนเผ่าเหลา่ กอที่มี หลากหลายและกว้างขวางออกไปเร่ือยๆ ภาษาบาลี–สันสกฤตกเ็ ริ่มเข้ามาปะปนในภาษาพูดพื้นเมอื ง มนษุ ยอ์ ษุ าคเนยไ์ มเ่ คยมตี วั อกั ษรใชม้ ากอ่ น จงึ มแี ตภ่ าษาพดู ไมม่ ภี าษาเขยี น จะมภี าษาเขยี นเปน็ ลาย ลกั ษณ์กต็ ่อเม่อื รับรูปอกั ษรจากชมพูทวปี เข้ามา แลว้ ดัดแปลงปรบั ใชใ้ นสมัยตอ่ มา ตวั อกั ษรจากชมพทู วีปทีแ่ พร่เข้ามาถึงดินแดนอษุ าคเนย์เป็นรนุ่ แรกๆ เทา่ ท่พี บในจารกึ ของทกุ แควน้ หรือทุกรัฐของภูมิภาคนี้ รูปแบบที่ได้รับความนิยมยกย่องมากที่สุดเป็นตัวอักษรที่วิวัฒนาการจากอักษร พราหมณห์ รอื อกั ษรพราหมี เมอื่ ราวปพี .ศ. ๙๐๐ แตน่ ยิ มเรยี กชอ่ื วา่ อกั ษรปลั ลวะ ตามชอ่ื ราชวงศป์ ลั ลวะ ท่ีมอี �ำนาจครองดนิ แดนภาคใต้ของชมพทู วปี สมัยนั้น (อาณาจกั รปลั ลวะตงั้ ขึ้นทกี่ ัญจี ราว พ.ศ. ๗๖๘ แลว้ เรอื งอำ� นาจขน้ึ มาจนกระทง่ั ราวพ.ศ. ๑๑๕๐ กป็ กครองดนิ แดนกวา้ งขวางมาก รวมทง้ั อาณาจกั รทมฬิ ดว้ ย ในราวพ.ศ. ๑๓๐๐ ปลั ลวะเสอื่ มอำ� นาจลงและถกู ทำ� ลายลงโดยอาณาจกั รทมฬิ โจละราว พ.ศ. ๑๔๐๐)๔ อกั ษรชนดิ นจ้ี ะมวี วิ ฒั นาการตอ่ ไปเปน็ รปู ลกั ษณเ์ ฉพาะตวั คอื อกั ษรทวารดี อกั ษรมอญโบราณ อกั ษรขอม โบราณ ในท่สี ดุ กส็ ่งผลใหเ้ กิดวิวัฒนาการเปน็ อกั ษรไทย หลงั จากยคุ สุวรรณภมู แิ ลว้ ได้กลายเปน็ ยุคทวารวดี (พทุ ธศตวรรษที่ ๕-๑๕) และมรี ฐั ชาติหลายแห่ง เช่น ศรีวชิ ัย (พ.ศ.๑๒๐๒-๑๗๕๘) รัฐละโว้ (พ.ศ.๑๑๙๑-๑๔๗๐) หรภิ ุญชยั (พ.ศ.๑๒๐๖-๑๘๓๕) สุโขทยั (พ.ศ.๑๗๙๒-๑๙๘๑) จนมาเป็นอาณาจักรศรีอยธุ ยา (พ.ศ. ๑๘๙๓-๒๓๑๐) ซึง่ อาจถือเป็นรัฐประชาชาติ แห่งแรก และมาเป็นประเทศไทยปจั จบุ ัน ๑.๕ ภาษาและอกั ษรไทยในสุวรรณภมู ๕ิ จากยุคสุวรรณภูมิท่พี ัฒนาต่อมาเปน็ ยุคทวารวดี (ราวพ.ศ. ๑๑๐๐-๑๕๐๐) จากอักษรพราหมีหรอื ปลั ลวะ ได้มีการพัฒนาอกั ษรทวารวดขี นึ้ ซง่ึ เปน็ เสมอื นก่ึงทางพัฒนาการระหวา่ งอักษรปลั ลวะกบั อกั ษรท้อง ถน่ิ ของของสวุ รรณภมู อิ ยา่ งแทจ้ รงิ ไดแ้ ก่ อกั ษรมอญโบราณ (ในรฐั ทวารวด-ี หรภิ ญุ ชยั ) อกั ษรเขมรโบราณ (ในกมั พูชาสมัยกอ่ นเมืองพระนคร) และอักษรกวิ (ในคาบสมุทรและหมูเ่ กาะ) เปน็ ตน้ อกั ษรเขมรโบราณ อกั ษรมอญโบราณ และอกั ษรกวิ เปน็ อกั ษรทอ้ งถนิ่ ทวี่ วิ ฒั นาการจากอกั ษรรนุ่ แรก ของอกั ษรปลั ลวะ และอกั ษรรนุ่ หลงั ปลั ลวะทใี่ ชก้ นั แพรห่ ลายในบา้ นเมอื งและแวน่ แควน้ ตา่ งๆ ของภมู ภิ าค ทง้ั บริเวณผืนแผน่ ดินใหญแ่ ละหมู่เกาะ อกั ษรเขมรโบราณ หรอื อกั ษรขอม (หลังพ.ศ. ๑๔๐๐-๑๖๐๐) ววิ ฒั นาการมาจากอกั ษรปลั ลวะ (พทุ ธศตวรรษที่ ๑๑-๑๒) และหลงั ปลั ลวะ (พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๕) ในบริเวณสองฝั่งแม่น้�ำโขงสมัยก่อนเมืองพระนคร แล้วเป็นอักษรท้องถ่ินของอาณาจักรกัมพูชาสมัยเมือง พระนคร (พุทธศตวรรษท่ี ๑๕-๑๗) อกั ษรเขมรโบราณได้วิวฒั นาการเป็นอกั ษรขอมแลว้ แบง่ เป็น ๒ สาย ได้แก่ อกั ษรขอมในประเทศไทย และอกั ษรขอมในประเทศเขมร ๔ พระพรหมคณุ าภรณ(์ ป.อ. ปยตุ โฺ ต) .กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอารยธรรมโลก. กรงุ เทพฯ: พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๕ .สำ� นกั พมิ พผ์ ลธิ รรม; ๒๕๕๔. ๕ สจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ. ประวตั ศิ าสตรส์ งั คม-วฒั นธรรม ของภาษาและวรรณคดใี นสยามประเทศ. พมิ พค์ รงั้ แรก. กรงุ เทพฯ: สำ� นกั พมิ พม์ ติ ชน; พ.ศ. ๒๕๔๖.
บทท่ี 8 หลกั ฐานและบันทึกสำ� คัญเกยี่ วกบั นวดไทย 149 อักษรมอญโบราณ (หลังพ.ศ. ๑๖๐๐) อกั ษรมอญโบราณเป็นอักษรทวี่ วิ ฒั นาการจากอกั ษรทวารวดี (หลงั ปลั ลวะ พุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๕) อักษรมอญโบราณส่งอิทธิพลต่ออักษรมอญปัจจุบันและอักษรธรรมล้านนา (ที่ใช้ในภาคเหนือของไทย) รวมทงั้ อักษรธรรมลา้ นชา้ ง (ท่ใี ช้ในลาวและอสี าน โดยรับผา่ นทางอกั ษรธรรมลา้ นนา) อกั ษรกวิ (หลังพ.ศ. ๑๗๐๐) อกั ษรกวเิ ปน็ อกั ษรทม่ี วี วิ ฒั นาการมาจากอกั ษรรนุ่ แรกของอษุ าคเนยบ์ รเิ วณคาบสมทุ รและหมเู่ กาะ มี ใช้แพรห่ ลายบรเิ วณเกาะชวา สุมาตรา ฯลฯ ดนิ แดนภาคใตข้ องไทยมหี ลักฐานการใช้อักษรกวิ แตไ่ มแ่ พร่หลายมากนัก จนถึงพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙ จงึ เปลี่ยนมาใช้อักษรไทยและอกั ษรขอม (สมัยหลงั เมืองพระนคร พทุ ธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐) อกั ษรไทยในอษุ าคเนย์ จากอกั ษรของชมพทู วปี สง่ แบบแผนใหเ้ กดิ อกั ษรทวารวดี และพฒั นาเปน็ อกั ษรขอม อกั ษรมอญ อกั ษร กวิและในที่สดุ ก็ท�ำให้เกดิ อักษรไทย อักษรไทยอยธุ ยามีใชแ้ ล้วเมอ่ื ปลายพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ มตี ัวอักษร ๒ ประเภทคอื อกั ษรท่ใี ชบ้ ันทึก ภาษาไทย และอกั ษรทใ่ี ช้บันทกึ ภาษาบาลี-เขมร ๑. อักษรทใ่ี ช้บันทึกภาษาไทย ในราชสำ� นกั กรงุ ศรอี ยธุ ยาใชอ้ กั ษรไทย กบั อกั ษรขอม (หรอื อกั ษรเขมรสมยั หลงั เมอื งพระนคร) บนั ทกึ ภาษาไทย อกั ษรขอมทใี่ ชบ้ ันทกึ ภาษาไทยในชว่ งพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙-๒๑ เป็นอกั ษรทีพ่ ฒั นาขึ้นจากอกั ษรเขมร สมัยเมืองพระนคร มใี ชแ้ พรห่ ลายท้งั ในสโุ ขทยั และกรงุ ศรอี ยุธยาในชว่ งเวลาเดยี วกัน สมยั กรงุ ศรอี ยุธยานยิ มเขยี นลงบนสมดุ คอื สมุดข่อยหรือสมุดไทย ราวพทุ ธศตวรรษที่ ๒๐ เปน็ ตน้ ไป อกั ษรไทยอยธุ ยามรี ปู แบบตวั อกั ษรทสี่ ำ� คญั จำ� แนกได้ ๓ ประเภท คอื ก. อกั ษรตัวบรรจง เขยี นเพ่อื รักษาแบบฉบับ ใชใ้ นหนังสอื ราชการ และบันทกึ ต�ำราต่างๆ ข. อักษรหวดั สามารถเขียนได้เร็ว จงึ นยิ มใชท้ วั่ ไป เช่น จดหมาย หนังสือเพลา ฯลฯ ค. อกั ษรยอ่ (อกั ษรไทยยอ่ ) เปน็ รปู แบบตวั อกั ษรประดษิ ฐเ์ พอื่ ความสวยงาม ใชเ้ ขยี นในเอกสารตา่ งๆ เช่น จารกึ วดั จฬุ ามณี จงั หวัดพิษณุโลก นนั โทปนันทสูตรค�ำหลวง
การนวดในพระไตรปิฎกและสายธารแห่งการนวดไทย 150 รปู แบบอกั ษรไทยสบื ทอดตอ่ มาจนถงึ สมยั กรงุ ธนบรุ ี กบั สมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เฉพาะ ๒ ประเภทแรก อกั ษรไทยยอ่ เสอ่ื มความนยิ มลง ๒. อกั ษรที่ใชบ้ นั ทกึ ภาษาบาลี-เขมร อกั ษรกล่มุ นี้คืออกั ษรเขมรสมัยหลงั เมอื งพระนคร หรอื นิยมเรียกวา่ อกั ษรขอม ใช้บันทึกทง้ั เอกสารท่ี เปน็ ภาษาไทยและเอกสารภาษาบาลี-เขมร ความนิยมเขียนภาษาบาลีด้วยอักษรขอม เป็นขนบสืบต่อมาจนถึงสมัยกรุงธนบุรี กับสมัยกรุง รัตนโกสินทร์ ตอ่ มาเลิกไปเมื่อปรับปรงุ ภาษาไทยให้เขียนภาษาบาลีไดส้ ะดวก อกั ษรไทยแควน้ สุโขทัย อักษรไทยสุโขทัยมีข้ึนราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ จากน้ันแพร่หลายไปยังบ้านเมืองและแว่นแคว้นใกล้ เคียงท่ใี ช้ภาษาตระกูลไทย-ลาว ตอ่ มาอักษรไทยสุโขทัยได้รวมเขา้ กบั อกั ษรไทยอยธุ ยา เรียกรวมวา่ อักษร ไทยสมัยอยธุ ยา อกั ษรแควน้ ล้านนา แคว้นล้านนาใช้อักษรที่รับอิทธิพลจากอักษรสุโขทัย ต่อมามีการพัฒนาและปรับปรุงอักษรสุโขทัย เพ่ือใช้เขียนให้ครบเสียงในภาษาถ่ินล้านนา เรียกว่า อักษรฝักขาม ส่วนภาษาบาลียังคงนิยมบันทึกด้วย อักษรธรรม ซึง่ ววิ ฒั นาการมาจากอักษรมอญโบราณ อกั ษรแคว้นลา้ นชา้ ง แควน้ ลา้ นช้างใช้อักษรทร่ี ับอทิ ธพิ ลจากอกั ษรสโุ ขทัย ตอ่ มาไดว้ ิวฒั นาการเป็นอกั ษรทเ่ี รยี กวา่ อักษร ไทยนอ้ ย ในพุทธศตวรรษท่ี ๒๑ อกั ษรไทยนอ้ ย ใชส้ บื มาจนถงึ สมยั กรงุ ธนบรุ แี ละสมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ นยิ มใชบ้ นั ทกึ เรอ่ื งราวทางโลก หรือเอกสารราชการ อักษรไทยน้อยได้ปรับปรุงเป็นอักษรลาวปัจจุบัน แต่เมื่อบันทึกข้อความภาษาบาลี หรือเก่ียวกับ พระพุทธศาสนา ชาวลา้ นช้างยังคงใช้ อกั ษรธรรมลาว (ซงึ่ ไดร้ ับอทิ ธพิ ลจาก อักษรธรรมล้านนา)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192