บทท่ี 8 หลกั ฐานและบันทึกส�ำคัญเก่ียวกับนวดไทย 151 อักษรปลั ลวะ (พ.ศ. 768-1300) สุวรรณภูมิ อักษรทวารวดี (หลงั พ.ศ. 1100-1500) อักษรมอญโบราณ อักษรเขมรโบราณ อักษรกวิ (รฐั ทวารวดี-หรภิ ุญชยั ) (สมยั กอ่ นเมืองพระนคร) คาบสมุทรและหม่เู กาะ หลงั พ.ศ. 1400-1600 หลังพ.ศ. 1600 ภาคใต้ของไทย อักษรมอญ อกั ษรธรรม อักษรขอมไทย อักษรขอมในเขมร ปัจจบุ ัน ลา้ นนา อักษรธรรมลา้ นชา้ ง อกั ษรไทยอยธุ ยา พุทธศตวรรษท่ี 19 เลกิ ใช้ (ปลายพทุ ธศตวรรษท่ี 19) ใช้อักษรไทยและอักษรขอม อกั ษรไทยและขอม อกั ษรขอม บนั ทกึ ภาษาไทย บนั ทกึ ภาษาบาล-ี เขมร
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแหง่ การนวดไทย 152 เหตกุ ารณข์ องการใชต้ วั อกั ษรปลั ลวะในสวุ รรณภมู นิ บั วา่ นา่ สนใจเปน็ อยา่ งยง่ิ เพราะเปน็ ยคุ สมยั ทอ่ี าณาจกั รปลั ลวะรงุ่ เรอื งราวพ.ศ. ๑๑๕๐-๑๓๐๐ เสอ่ื มอำ� นาจลงหลงั พ.ศ. ๑๓๐๐ และถกู ทำ� ลายลง พ.ศ. ๑๔๐๐ การนำ� ภาษาปลั ลวะเขา้ มาใชใ้ นสวุ รรณภมู ิ แสดงวา่ อทิ ธพิ ลของปลั ลวะ รวมทง้ั ทมฬิ หรอื อินเดียใต้ มีผลต่อดินแดนสวุ รรณภูมิเป็นอย่างมาก ดนิ แดนใต้ของอนิ เดีย เปน็ ดนิ แดนของชาวทมฬิ ๓ อาณาจักร คือ ปาณฑยะ โจฬะ และเจระ หรอื เกราละ การนวดพื้นบา้ นเกราละ ซง่ึ มกี ารนวดนำ้� มันด้วยเท้า การใช้ลกู ประคบที่ท�ำจากข้าวอ่อน การใชย้ าพอก ไม่มหี ลกั ฐานวา่ การนวดไทยไดม้ ีการแลกเปล่ยี นเรียนรูก้ บั การนวดเกราละหรอื ไม่ แต่ กม็ กี ารนวดพน้ื บา้ นของไทย และการนวดไทยทค่ี ลา้ ยกนั คอื การนวดเหยยี บเหลก็ แดง การใชล้ กู ประคบ การใช้ยาพอก เป็นตน้ ๒. บนั ทึกนวดไทยท่ีเกา่ แกท่ ่ีสุดพบในสมยั อยธุ ยา๖ (พ.ศ. ๑๘๙๓-๒๓๑๐) การแพทย์แผนไทยในประเทศไทยมีเอกสารบันทกึ ท่พี อจะค้นควา้ ไดอ้ ยา่ งเปน็ หลกั เปน็ ฐานคือ ในยคุ สมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยา ส่วนในยุคกรุงสุโขทยั หรอื กอ่ นหนา้ น้ันไม่มีหลกั ฐานการบันทกึ ท่ปี รากฏ ในสมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.๑๙๙๑-๒๐๓๑) มหี ลกั ฐานปรากฏเปน็ ครง้ั แรกในทำ� เนยี บ ศักดนิ าขา้ ราชการฝา่ ยพลเรอื น (พระไอยการ ต�ำแหนง่ นาพลเรือน) ตราขนึ้ ในปี พ.ศ.๑๙๙๘ กล่าวคือ มี ขา้ ราชการในกรมแพทยา กรมแพทยาโรงพระโอสถ กรมหมอยา กรมหมอนวด กรมหมอยาตา กรมหมอ วรรณโรค (กรมหมอนวด มตี �ำแหน่ง หลวงราชรกั ษา เปน็ เจา้ กรมหมอนวดขวา นาคละ ๑๖๐๐ หลวงราโช เปน็ เจา้ กรมหมอนวดซา้ ย นาคละ ๑๖๐๐ และมปี ลดั กรมขวา ปลดั กรมซา้ ย และตำ� แหนง่ อนื่ ๆ อกี จำ� นวนมาก) ตอ่ มาในสมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช (พ.ศ. ๒๑๙๙-๒๒๓๑) บรรดาหมอหลวงไดร้ ว่ มกนั รวบรวม ต�ำรบั ยาตา่ งๆ ข้ึนเปน็ คร้ังแรกในประวัตศิ าสตร์การแพทย์แผนไทย เรยี กวา่ ตำ� ราพระโอสถพระนารายณ์ มองสิเออรเ์ ดอลาลูแบร์ เอกอคั รราชฑูตของพระเจ้าหลุยสท์ ่ี ๑๔ แห่งฝรั่งเศส เข้ามาในกรงุ สยาม พ.ศ. ๒๒๓๐-๒๒๓๑ ได้เขียนจดหมายเหตุพระราชพงศาวดารสยามครั้งกรุงศรีอยุธยาในแผ่นดินสมเด็จพระ นารายณม์ หาราช ได้วจิ ารณ์การแพทยแ์ ผนไทยเกยี่ วกบั โรคภยั ไข้เจบ็ และการรักษาของหมอไทยไว้ กล่าว ถงึ หมอนวดว่า “ชอบขยำ� บบี ไปท่ัวตัว เม่อื ใครป่วยไขล้ งในกรุงสยาม บางทีก็ขึ้นเดินเอาเท้าเหยยี บบนกาย คนไข้ แมใ้ นสตรีก็พอใจใหเ้ ด็กเหยยี บที่หลังเพ่ือใหค้ ลอดบตุ รงา่ ย” มหี ลกั ฐานกลา่ ววา่ ปลายสมยั อยธุ ยา บนตวั เกาะกรงุ ศรอี ยธุ ยามรี า้ นขายเครอ่ื งสมนุ ไพรใหแ้ กช่ าวบา้ น ทวั่ ไป และมีโรงท�ำยาหลวงเรยี กว่า โรงพระโอสถ ไม่น้อยกวา่ ๒ โรง ในสมยั อยธุ ยานับเป็นยุคท่ีรงุ่ เรืองของการแพทย์แผนไทย คัมภีรพ์ ระโอสถพระนารายณ์นบั เปน็ ต�ำรา การแพทย์แผนไทยต�ำราแรกที่เขียนขึ้นโดยหมอไทยและหมอชาวต่างชาติในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ๖ กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. รายงานสาธารณสขุ ไทย ดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ นื้ บา้ น และการ แพทยท์ างเลอื ก พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๓.พมิ พค์ รง้ั ที่ ๒.กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั สามเจรญิ พาณชิ ย์ (กรงุ เทพฯ) จำ� กดั ; ๒๕๕๓.
บทท่ี 8 หลกั ฐานและบันทกึ ส�ำคญั เกยี่ วกับนวดไทย 153 มหาราช และถอื เปน็ คมั ภีรก์ ารแพทย์แผนไทยทเ่ี ก่าแกท่ ่ีสุดทย่ี งั มหี ลกั ฐานหลงเหลืออยู่ การมที ำ� เนยี บศกั ดนิ าขา้ ราชการฝา่ ยพลเรอื นในปี พ.ศ.๑๙๙๘ มขี า้ ราชการในกรมแพทยา กรมแพทยา โรงพระโอสถ กรมหมอยา กรมหมอนวด กรมหมอยาตา กรมหมอวรรณโรค แสดงวา่ การนวดเป็นที่นยิ ม และยอมรบั เปน็ อย่างมากในพระราชสำ� นัก นอกจากนี้ หลักฐานการบันทึกของมองสเิ ออรเ์ ดอลาลแู บร์ เอกอัครราชฑูตของพระเจา้ หลยุ สท์ ่ี ๑๔ แหง่ ฝรั่งเศสแสดงวา่ การนวดเป็นท่ีนิยมและใช้กนั ในทกุ ครัวเรอื น ๓. บนั ทกึ นวดไทยในสมยั รัตนโกสินทร์ การแพทย์แผนไทยและการนวดไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เป็นระยะท่ีมีการฟื้นฟูองค์ความรู้ ทางการแพทยแ์ ละดา้ นตา่ งๆ แบบแผนการรกั ษาไดร้ บั การสบื ทอดความรมู้ าจากกรงุ ศรอี ยธุ ยาโดยผา่ นทาง ตำ� รายาและคมั ภรี แ์ พทยต์ า่ งๆ สว่ นหนงึ่ ไดร้ บั การสบื ทอดจากแพทยร์ นุ่ กอ่ น อกี สว่ นหนงึ่ ไดม้ กี ารรวบรวม คดั ลอกขึน้ มาใหม่ ดงั นี้ สมยั รัชกาลที่ ๑ (พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๒) ไดท้ รงปฏสิ ังขรณ์วดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธ์ิ) เพอื่ ใหเ้ ปน็ สถานทเ่ี ผยแพรค่ วามรแู้ กป่ ระชาชน การถา่ ยทอดความรจู้ งึ เปลยี่ นรปู แบบไปสสู่ าธารณชนมาก ขนึ้ เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ การฟน้ื ฟกู ารแพทยแ์ ผนไทย ทรงใหร้ วบรวมจารกึ ตำ� รายาและฤๅษดี ดั ตนไวต้ ามศาลาราย สมัยรัชกาลท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๓๖๗-๒๓๙๔) ทรงปฏิสังขรณ์วัดโพธิ์อีกคร้ัง โปรดให้รวบรวมบุคคลที่มี ความรคู้ วามสามารถในดา้ นตา่ งๆ มารวมกนั เพอ่ื ถา่ ยทอดวชิ าความรใู้ หก้ บั คนรนุ่ หลงั และรวบรวมเลอื กสรร ตำ� รบั ตำ� ราตา่ งๆ มาตรวจตราแกไ้ ข ประชมุ ผรู้ หู้ ลกั ในวชิ านน้ั ๆ ใหแ้ ตง่ ขน้ึ ใหมบ่ า้ ง เพอื่ ใหเ้ ปน็ แหลง่ รวบรวม และเผยแพรค่ วามรูด้ ้าน การแพทยแ์ ผนไทย การนวดไทย ฤๅษดี ัดตน ต�ำรบั ยา สมนุ ไพร กาพยก์ ลอนโคลง ฉันท์ ทส่ี ำ� คัญคือ ภาพแผนนวด ๖๐ ภาพ ท่เี ป็นตำ� ราการนวดไทย กล่าวถงึ เสน้ ประธานสบิ และอาการ ตา่ งๆ ท่รี กั ษาได้ดว้ ยการนวด (ดูรายละเอยี ดในบทที่ ๙) สมัยรชั กาลท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๔๑๑-๒๔๕๓) ทรงให้จัดหารวบรวมคัมภีร์แพทย์ในที่ตา่ งๆ มาตรวจสอบ ชำ� ระใหถ้ กู ต้องทนั สมยั ขนึ้ เพอื่ ให้ใช้บ�ำบดั โรคภยั ไขเ้ จ็บแก่มหาชน รวมเรียกวา่ “เวชศาสตร์ฉบบั หลวง” ซึ่งเป็นท่ีมาของต�ำราแพทยศาสตร์สงเคราะห์ ท่ีเป็นต�ำราหลักในการศึกษาเล่าเรียนของแพทย์แผนไทย จนถงึ ปจั จบุ นั และในเวชศาสตร์ฉบบั หลวง มีแผนนวด ๑ และ แผนนวด ๒ รวมอยดู่ ้วย (ดูรายละเอียด ในบทที่ ๙)
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 154 นอกจากศิลาจารกึ ภาพแผนนวด ๖๐ ภาพทีว่ ัดโพธ์ิ และแผนนวด ๑ และ ๒ ในเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง แลว้ ยังมีบนั ทึกอ่นื ๆ ทเี่ กา่ แกแ่ ละสำ� คญั เกี่ยวกับการนวดไทย คือ ตำ� ราโรคนทิ าน ค�ำฉันท์ แตง่ โดยพระยาวิชยาบดี (กลอ่ ม) อดีตเจา้ เมืองจนั ทบูร ในสมัยรัชกาลที่ ๑๗ เป็นรอ้ ยกรองเปน็ กาพย์ ยานี ๑๑ จำ� นวน ๑๙๖ บท เป็นการกล่าวถงึ เสน้ ประธานทงั้ สบิ โดยอธิบายถึง ทางเดินเส้น ลมประจ�ำเส้น โรคหรอื อาการทเี่ กดิ จากเสน้ ประธานแตล่ ะเสน้ การบำ� บดั ตง้ั แต่ การนวด การใชย้ า และพธิ กี รรมบางอยา่ ง คมั ภรี ์แผนนวด ฉบบั วดั สุวรรณาราม เป็นคมั ภีร์แผนนวดในสมยั รชั กาลที่ ๕ กล่าวถงึ เส้นประธานสิบ ซึ่งแตกต่างจากแผนนวดวัดโพธเิ์ ปน็ อยา่ งมาก ตน้ ฉบบั เดิมอยู่ท่ีหอสมุดแหง่ ชาติ โดยระบุว่า พระสมุห์ต่วน แหง่ วัดสุวรรณราม ราชวรวหิ าร เปน็ ผมู้ อบให้เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๔ (สมัยรัชกาลที่ ๖) มูลนธิ ิสาธารณสขุ กับการพัฒนา ไดต้ รวจสอบเนอื้ หาค�ำอธบิ ายและรูปภาพขั้นต้นแล้ว พบวา่ คมั ภีร์ แผนนวด ฉบับวัดสุวรรณาราม ส่วนใหญ่เหมือน คัมภีร์แผนนวด ในเวชศาสตร์ฉบับหลวง ร.๕ โดย คัมภีรแ์ ผนนวด ฉบับวัดสุวรรณารามมีรปู ภาพท้งั หมด ๕๗ ภาพ จำ� นวน ๕๖ ภาพเน้นการแกอ้ าการป่วย ในขณะทคี่ มั ภีรแ์ ผนนวด ในเวชศาสตรฉ์ บับหลวง ร.๕ มรี ูปภาพเพียง ๒๙ ภาพ รปู ภาพในคมั ภรี แ์ ผนนวด ฉบบั วัดสวุ รรณารามมคี วามงดงามกวา่ และถูกต้องสมบูรณ์กว่า สรปุ หลักฐานการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรที่เก่าแก่ที่สุดของการนวดไทย ได้แก่ ท�ำเนียบศักดินา ขา้ ราชการฝ่ายพลเรอื น ตราขนึ้ ปี พ.ศ.๑๙๙๘ ในสมัยสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.๑๙๙๑-๒๐๓๑) มหี ลกั ฐานปรากฏเป็นครง้ั แรกวา่ มกี รมหมอนวด ต�ำแหน่งเป็นหลวงราชรักษาหลวงราโช นอกจากนีห้ ลัก ฐานการบนั ทึกของมองสเิ ออร์เดอลาลูแบร์ เอกอัครราชฑตู ของพระเจ้าหลุยสท์ ่ี ๑๔ แหง่ ฝรงั่ เศสแสดงให้ เห็นชัดเจนว่า การนวดเป็นท่ีนยิ มและใชก้ ันในทุกครัวเรอื น บนั ทกึ ทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ เกยี่ วกบั ภมู ปิ ญั ญาการนวดไทย ซง่ึ เกา่ แกท่ ส่ี ดุ และถอื เปน็ ตำ� ราหลวงหรอื ภมู ปิ ญั ญา แห่งชาติ ได้แก่ ภาพแผนนวด ๖๐ ภาพที่เปน็ ศิลาจารกึ ท่ีวดั โพธ์ิ ซง่ึ รัชกาลที่ ๓ โปรดให้จัดท�ำขนึ้ นอกจากแผนภาพนวดทวี่ ดั โพธแ์ิ ลว้ ยงั มแี ผนนวด ๑ และ แผนนวด ๒ ในตำ� ราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง ซึ่งรชั กาลที่ ๕ ทรงโปรดใหจ้ ัดทำ� ข้นึ ๗ ภก.ดร.ยงศกั ดิ์ ตนั ตปิ ฎิ ก, ผศ.ภญ.สำ� ลี ใจดี (บรรณาธกิ าร). ตำ� ราการนวดไทย ฉบบั ปรบั ปรงุ แกไ้ ข เลม่ ๑. พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๕. สมทุ รสาคร: บรษิ ทั พมิ พด์ ี จำ� กดั ; ๒๕๕๙.
บทท่ี 8 หลักฐานและบนั ทึกสำ� คญั เก่ยี วกับนวดไทย 155 คัมภรี ก์ ารนวดไทยอ่นื ทเ่ี กา่ แกแ่ ละส�ำคัญ ได้แก่ ต�ำราโรคนทิ าน คำ� ฉันท์ “กล่าวเสน้ สบิ ” เขยี นโดย พระยากลอ่ ม อดีตเจา้ เมอื งจันทบรู และ คัมภีรแ์ ผนนวด ฉบบั วัดสวุ รรณารามโดยพระสมุหต์ ่วน แห่งวัด สวุ รรณราม ราชวรวหิ าร เป็นผูม้ อบให้แก่หอสมดุ แห่งชาติ ดงั นนั้ การจะเขา้ ใจรากฐานองคค์ วามรขู้ องนวดไทยวา่ มกี ำ� เนดิ และพฒั นาการมาอยา่ งไร จะตอ้ งศกึ ษา ปรัชญา ทฤษฎีทางการแพทย์ สมฏุ ฐาน การวินจิ ฉัย และแบบแผนการรกั ษาของนวดไทย มีรากมาจาก การนวดด้ังเดมิ อะไรบา้ ง หรือมกี ารประยุกต์ ผสมผสานการนวดด้งั เดมิ อะไร จนกลายมาเปน็ นวดไทยใน ปัจจุบัน
การนวดในพระไตรปิฎกและสายธารแห่งการนวดไทย 156 หบททล่ี 9กั ธรรม ปรัชญา สมุฏฐาน แบบแผน การนวด ของนวดไทย
บทท่ี 9 หลกั ธรรม ปรชั ญา สมฏุ ฐาน แบบแผนการนวดของนวดไทย 157 ๑. ภูมปิ ญั ญาการนวดไทย ๑.๑ ภาพแผนนวด ๖๐ ภาพ วัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม ๑.๒ คมั ภรี แ์ ผนนวด ๑ และ ๒ ใน ต�ำราเวชศาสตรฉ์ บับหลวงรชั กาลที่ ๕ ๑.๓ ศลิ าจารกึ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ๑.๔ ต�ำราโรคนทิ านค�ำฉันท์ “กล่าวเส้นสบิ ” ๒ . ฤ๑ๅ.๕ษ ีดคัดัมตภนรี แ์วผดั นพนรวะดเชฉตบุพับนวัดวสมิ วุลรมรงัณคาลราามรารมาชวรวหิ าร ๒.๑ ประวตั คิ วามเป็นมา ๓ . ห๒.ล๒ัก ธเรนรอื้ มหแาลส�ำะคปญั รัชญาการนวดไทย ๓.๑ การนวดไทยได้รบั การอุปถัมภ์ค�้ำชูจากสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ อยา่ งแนบแนน่ และต่อเนอื่ ง ๓.๒ การนวดไทยได้รบั การอุปถมั ภ์จากวดั ๓.๓ บนั ทกึ จรรยาแพทยข์ องพระยาวิชยาธิบดี (กลอ่ ม) ๔. สมุฏฐาน แบบแผนการนวด ของนวดไทย ๔.๑ สมุฏฐาน ของนวดไทย ๔.๒ แบบแผนการนวด ในการวเิ คราะห์ หลกั ธรรม ปรชั ญา ทฤษฎที างการแพทย์ สมฏุ ฐาน แบบแผนการรกั ษา ของนวดไทยนน้ั จะใช้บันทึกเก่ียวกับภูมิปัญญาการนวดที่มีประวัติความเป็นมาเก่าแก่ท่ีสุด และมีหลักฐานการบันทึกที่มี ทีม่ าชดั เจน และมีการสบื ทอดหรอื ใชป้ ระโยชนม์ าถึงปจั จบุ ัน
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 158 ๑. ภมู ปิ ัญญาการนวดไทย บันทึกเก่าแก่ของคัมภีร์การนวดไทย ซ่ึงมีประวัติการบันทึกที่ส�ำคัญและชัดเจน มายาวนานกว่า ๑๐๐ ปี ปรากฏหลกั ฐานส�ำคัญ ดงั นี้ บันทึกการนวดไทยที่เป็นคัมภีร์หลวง หรือต�ำราหลวง ซ่ึงพระมหากษัตริย์โปรดให้มีการจัดท�ำขึ้น มอี ยู่ ๒ คมั ภรี ์หลัก ไดแ้ ก่ ๑. ศลิ าจารึกภาพแผนนวด ๖๐ ภาพ ของวัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม รชั กาลที่ ๓ ๒. แผนนวด ๑ และ แผนนวด ๒ ใน ต�ำราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รัชกาลที่ ๕ ๓. ศิลาจารึกวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร โดยสมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอ กรมหม่ืนเจษฎาบดินทรฯ์ สมยั รชั กาลที่ ๒ (มภี าพแผนนวดเพยี งภาพเดียว) นอกจากนี้ ยงั มี บนั ทึกการนวดไทยทีม่ คี วามเก่าแก่ และนับเป็นคมั ภรี แ์ หง่ ชาติ ไดแ้ ก่ ๔. ต�ำราโรคนิทาน คำ� ฉนั ท์ “กลา่ วเส้นสิบ” ของพระยาวิชยาบดี (กลอ่ ม) อดตี เจา้ เมืองจันทบูร ใน สมัยรชั กาลท่ี ๑ ๕. คัมภีรแ์ ผนนวด ฉบบั วัดสุวรรณาราม ราชวรวหิ าร มอบให้หอสมดุ แหง่ ชาติ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๔ (สมัยรชั กาลที่ ๖) บนั ทึกคัมภีร์และต�ำราการนวดไทยดงั กลา่ วขา้ งต้นมปี ระวตั ิและองคค์ วามรู้ ดงั นี้ ๑.๑ ศลิ าจารึกภาพแผนนวด ๖๐ ภาพ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม๑ ก. ประวัติ เมื่อสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ฯ ได้ขึ้นครองราชย์เป็นพระบาทสมเด็จ พระน่งั เกล้าเจ้าอยู่หวั แล้ว ไดโ้ ปรดให้บูรณะปฏสิ ังขรณว์ ดั โพธ์ิ (ต้งั แต่ ปพี .ศ. ๒๓๗๕ เปน็ ต้นมา) และได้จารกึ แผนภาพการนวด และฤๅษีดัดตน รวมทัง้ การแพทยแ์ ผนไทย ตำ� รายากาพยก์ ลอน โคลงฉนั ท์ เพอื่ ใหป้ ระชาชนไดเ้ รยี นรู้ ทสี่ ำ� คญั คอื ภาพแผนนวด ๖๐ ภาพ ทเี่ ปน็ ตำ� ราการนวดไทย ไดก้ ล่าวถึงเสน้ ประธานสบิ และอาการต่างๆ ท่รี ักษาได้ดว้ ยการนวด “รชั กาลท่ี ๓ มพี ระราชประสงคใ์ หว้ ดั โพธเ์ิ ปน็ แหลง่ เลา่ เรยี นวชิ ชาความรขู้ องมหาชนไมเ่ ลอื กชน้ั บรรดาศักดิ์ การเลา่ เรยี นสว่ นสามัญศกึ ษามีทเี่ รยี นอย่ตู ามวดั ทัว่ ไป แตส่ ่วนวิสามญั ศึกษาอนั จะเปน็ วชิ ชาอาชพี ของคนทง้ั หลาย ยงั ศกึ ษาไดแ้ ตใ่ นสกลุ ผอู้ ยนู่ อกสกลุ โดยฉะเพาะทเ่ี ปน็ ชนั้ พลเมอื งสามญั ไม่มีโอกาสที่จะเรียนได”้ ๒ ๑ มลู นธิ สิ าธารณสขุ กบั การพฒั นา มลู นธิ พิ ฒั นาการแพทยแ์ ผนไทย. ตำ� ราเสน้ สบิ ฉบบั อนรุ กั ษ.์ พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๑. กรงุ เทพฯ : อษุ าการ พมิ พ;์ ๒๕๕๔ ๒ ดร.รชั นี จันทร์เกษ, ดร.ภก.ยงศกั ดิ์ ตนั ตปิ ิฎก, สุดารตั น์ สุวรรณพงศ.์ คำ� อธิบายศลิ าจารกึ วัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม. พิมพค์ รั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา; ๒๕๖๐.
บทที่ 9 หลักธรรม ปรชั ญา สมุฏฐาน แบบแผนการนวดของนวดไทย 159 การจารึกภาพนวดน้ัน รัชกาลท่ี ๓ ทรงโปรดให้บรรดานักปราชญ์ หมอนวดหลวงรวบรวม ค้นคว้า ตรวจสอบและคดั สรรคมั ภีร์ต่างๆ ใหถ้ กู ตอ้ ง แลว้ ใหจ้ ารึกบนแผ่นศิลาในวัดโพธิ์ เพือ่ ให้ ราษฎรได้ศกึ ษาเรียนรอู้ ยา่ งทั่วถงึ สำ� หรบั ศลิ าจารกึ แผนนวดนั้น เป็นส่วนหนึ่งของการจารกึ ในคราวปฏสิ ังขรณ์วดั โพธิ์ ซ่ึงจมื่นไชยา ภรณ์ ปลัดกรมต�ำรวจใหญ่ขวาได้ก�ำกับการสร้าง และให้นายด้วงสมุห์จ่ัน ช่างเขียนพระสงฆ์วัด สามพระยา วดั ระฆงั และวดั ปทมุ คงคากำ� กบั การเขยี นภาพและจารกึ แผนนวดวดั โพธมิ์ คี วามสำ� คญั มาก เป็นแผนนวดที่มีเนอื้ หาสมบูรณ์ครบถว้ นมากทสี่ ดุ ในปจั จบุ นั ข. เน้ือหาสำ� คญั ๑) ภาพแผนนวด ๖๐ ภาพ แบง่ เป็นกล่มุ ตามหวั ข้อที่จารกึ ดงั นี้ ๑.๑) เส้นประธานสิบ ภาพท่ี ๑-๑๘ เป็นภาพที่เกยี่ วกบั เส้นประธาน ๑๐ เส้น ไดแ้ ก่ อิทา ปิงคลา สสุ มุ นา กาลทารี สหัศรังสี ทวารี จันทภูสัง (ลาวุสัง) รุช�ำ (อุลังกะ/อุรัง/ภูส�ำพวัง/สัมปะสาโส) สุขุมงั (นันทกระหวัด/กงั ขุง) สกิ ขณิ ี (คชิ ฌะ/รตั คินี/สงั คนิ )ี ๑.๒) เส้นท่ีเกี่ยวกับกองสมฏุ ฐานตา่ งๆ ภาพที่ ๑๙-๖๐ เป็นภาพเก่ยี วกบั เส้นและสมุฎฐานโรคตา่ งๆ ตามสมฏุ ฐานวนิ จิ ฉยั ๒) ศลิ าจารกึ วัดโพธ์ิว่าดว้ ยแผนนวด มีจำ� นวน ๖๐ ภาพ บอกจุดและเสน้ ตา่ งๆ ที่ สำ� คญั ในร่างกาย ทั้งด้านหน้าและด้านหลงั ๓ โรคและอาการทรี่ ะบใุ นจารึกมี ๓๐๑ โรคและอาการ เสน้ ประธานมี ๑๐ เส้น จ�ำนวนเสน้ ในจารึกมที ง้ั หมด ๗๕ เสน้ ลมมี ๒๕๗ ลม สมฏุ ฐานโรคมี ๘๕ สมฏุ ฐาน จุดตา่ งๆ ทใี่ ชร้ ักษาอาการมี ๓๐๓ จดุ เปน็ ท่นี ่าสงั เกตว่า ภาพที่ ๑-๑๘ นน้ั เปน็ ภาพทเ่ี กี่ยวกบั เส้นประธานสิบ ซึ่งมีทฤษฎีทางการแพทยใ์ นแนวเดยี วกับโยค ศาสตร์ (โยคะเชอื่ วา่ ร่างกายมีนาฑี ซึง่ เปน็ ทางเดนิ ของพลังกณุ ฑลนิ ี ไหลไปนาฑี เชือ่ มจักระท้ัง ๗) นวด ไทยเชื่อว่า ร่างกายมีเสน้ ทางเดินของลม ๗๒,๐๐๐ เส้น เหมือนกับโยคะ มีเส้นทางเดินลมหลกั ๑๐ เส้น จึงเรียกว่า เส้นประธานสิบ การนวดเพื่อให้ลมเดินทางไปตามแนวเส้นประธานจึงเป็นแบบแผนการนวด ไทยในการบ�ำบัดโรคและอาการต่างๆ ๓ อา้ งแลว้ ใน ๒
การนวดในพระไตรปิฎกและสายธารแห่งการนวดไทย 160 สว่ นในภาพที่ ๑๙-๖๐ นัน้ เปน็ ภาพของเส้นทีเ่ กยี่ วกบั กองสมุฏฐานของโรคแบบอายรุ เวท ท่ีเชอื่ ว่า ร่างกายประกอบดว้ ยปญั จมหาภตู (ดิน นำ�้ ลม ไฟ อากาศธาตุ) และสมดุลของตรีโทษะ (วาตะ ปติ ะ กผะ) ซงึ่ เป็นทฤษฎีทางการแพทยแ์ บบอายุรเวท ภาพท่ี ๑๙-๖๐ จงึ มีทฤษฎที างการแพทย์แตกตา่ งจากภาพที่ ๑-๑๘ แต่กม็ ีการกล่าวเกีย่ วกับเสน้ ในการเกดิ และรักษาอาการตา่ งๆ ที่เกดิ จากสมฏุ ฐานต่างๆ อาจกลา่ วได้ ว่า เป็นการเอาการนวดตามเสน้ ประธานซ่ึงเป็นทางเดินของลมมานวดเพื่อรักษาอาการของโรคทเ่ี กิดจาก กองสมุฏฐานตา่ งๆ แบบอายุรเวท จงึ ควรท่ีจะมีการวเิ คราะหภ์ าพนวดตา่ งๆ เหลา่ นี้ ในเชงิ ทฤษฎที างการแพทย์โดยผรู้ ู้ตอ่ ไป เพ่อื ให้เกดิ ความกระจา่ งวา่ ทำ� ไม ภาพแผนนวดของวัดโพธิ์จงึ มที ฤษฎที างการแพทย์ทแี่ ตกตา่ งกัน ๒ ทฤษฎี ๑.๒ ต�ำราโรคนทิ านค�ำฉนั ท์ “กล่าวเสน้ สิบ”๔ ก. ประวตั ิ ประพนั ธโ์ ดยพระยาวชิ ยาธิบดี (กล่อม) อดตี เจ้าเมอื งจนั ทบูร ในสมัยรชั กาลที่ ๒ (บางประวัตวิ ่า เขยี นขน้ึ ในสมยั รชั กาลที่ ๑) เปน็ ผเู้ รยี บเรยี ง “ตำ� ราโรคนทิ าน” คำ� ฉนั ท์ โดยจารไวบ้ นใบลานผกู เปน็ ท่อน ตอ่ มา นายพันโทหมอ่ มเจา้ กมั สทิ ธ์ิ ไดร้ วบรวมเนื้อหาไวไ้ ด้ครบบริบูรณ์ทุกผกู ได้จัดพมิ พเ์ ป็น หนังสอื แบบฝร่งั เผยแพร่คร้งั แรกเมอ่ื เดอื นสิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ “กล่าวเส้นสบิ ” ในโรคนทิ านค�ำฉนั ท์ รอ้ ยกรองเป็นกาพย์ยานี ๑๑ จ�ำนวน ๑๙๖ บท เป็นการ กล่าวถึงเส้นประธานทั้งสิบ โดยอธิบายถึง ชื่อเส้น ทางเดินเส้น ลมประจ�ำเส้น โรคหรืออาการที่ เกดิ จากเสน้ ประธานแตล่ ะเสน้ ลมรา้ ยทเี่ กดิ ในเสน้ การบำ� บดั ตงั้ แต่ การนวด การใชย้ า และพธิ กี รรม บางอย่าง ปจั จุบัน ต้นฉบับอยทู่ หี่ อสมุดแหง่ ชาติ ข. เน้อื หาสำ� คญั ๕ กล่าวเส้นสิบ ในต�ำราโรคนิทาน ของพระยากล่อมมีความส�ำคัญต่อภูมิปัญญาการนวดไทย อยา่ งมาก เพราะเป็นเนื้อหาทอี่ ธิบายหลกั ทฤษฎกี ารนวดไทยอย่างชดั เจนทสี่ ุด ในตอนตน้ กลา่ วถงึ เสน้ ประธานทงั้ สบิ ทตี่ งั้ หรอื ทเี่ กดิ ชอ่ื ลมประจำ� เสน้ เสน้ คอื อะไร ความสำ� คญั ของเสน้ ทง้ั สาม (อทิ า ปงิ คลา สุมนา) การเกิดโรคและอาการจากแต่ละเสน้ ประธาน แบบการนวด ตามเสน้ ยาท่ีใช้รักษา นอกจากน้ีมกี ารกล่าวถงึ พิธีทางไสยเก่ียวกบั การรักษาลมปะกงั ดงั น้ี ๔ ภก.ดร.ยงศกั ด์ิ ตนั ตปิ ฎิ ก, ผศ.ภญ.สำ� ลี ใจดี (บรรณาธกิ าร). ตำ� ราการนวดไทย ฉบบั ปรบั ปรงุ แกไ้ ข เลม่ ๑. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๕. สมทุ รสาคร: บรษิ ทั พมิ พด์ ี จำ� กดั ; ๒๕๕๙. ๕ กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. คำ� อธบิ ายกลา่ วเสน้ สบิ ในตำ� ราโรคนทิ านคำ� ฉนั ท์ ๑๑ และแผนนวดควำ่� ในจารกึ ตำ� รา ยา วดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๑. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา; ๒๕๖๐.
บทท่ี 9 หลกั ธรรม ปรชั ญา สมุฏฐาน แบบแผนการนวดของนวดไทย 161 หน่ึงโสดปะกงั ลม ปวดเศยี รชมมิไคร่หาย โบราณทา่ นบรรยาย เปนกาละเมด็ วิเศษมนต์ ท่านใหเ้ อาเปลอื กมะพรา้ ว มาถากท�ำเป็นรปู คน เขยี นช่อื ผูเ้ จบ็ ดล ที่สงู รปู เป็นส�ำคญั บริก�ำซ่ึงคาถา อธิถานฝาดว้ ยฉบั พลัน เข็มสกั เศียรรูปน้นั ทำ� สามวนั ปะกงั คลาย เอารูปไปทงิ้ ท่ี ตะวนั ตกนีเ้ ป็นแยบคาย ตำ� หรับเคยทำ� หาย ซ่งึ ลมกรายร�ำเพพดั ๑.๓ จารกึ ตำ� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร ก. ประวตั ิ ประมาณปพี .ศ. ๒๓๖๔ ในสมัยรชั กาลที่ ๒ พระเจ้าลกู ยาเธอ กรมหมนื่ เจษฎาบดนิ ทร์ (รัชกาล ท่ี ๓) ได้โปรดให้ปฏิสังขรณ์วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร (เดิมชื่อวัดจอมทอง หรือวัดเจ้าทอง) เม่ือปฏิสังขรณ์เสร็จจึงน้อมเกล้าฯ ถวายเป็นพระอารามหลวงพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลยั พระบรมราชชนกโปรดเกลา้ พระราชทานนามวา่ “วดั ราชโอรส” พระเจ้าลกู ยาเธอ กรมหม่นื เจษฎาบดนิ ทร์ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้จารกึ ต�ำรายาลงบนแผน่ หนิ อ่อน สเี ทา เพอ่ื เผยแพรค่ วามรู้แก่ประชาขน แตเ่ ดิมมีมากกว่า ๑๐๐ แผ่น (บางข้อมลู ๙๒ แผน่ ) ปัจจุบนั เหลอื เพียง ๕๐ แผน่ เท่านน้ั ปัจจบุ ันภาพศิลาจารึกทีเ่ กีย่ วกับการนวด มีเพยี งภาพเดยี ว (แผ่นท่ี ๔๕) เปน็ แผนนวดคว่ำ� ข. เนอื้ หา ในภาพแผนนวดคว่ำ� ไดแ้ สดงจดุ บนร่างกาย ๑๘ จุด ดังนี้ ๑. แกล้ มใหป้ ากเบย้ี ว ๒. แก้ปัตฆาฏแขนตาย ๓. แก้ภาหุนะวาดทส่ี ุด ๔. แกส้ ลักทคี่ ่าง ๕. แกก้ ะใสตาน (๒ จดุ ) ๖. แกป้ ตั ฆาฏ (ซ้าย) ๗. แกโ้ รหนิ ีขึ้นตน้ ขา ๘. แก้ปวดศีรศะปกัง ๙. แก้รากเสลด
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 162 ๑๐. บอกใหร้ ู้ท่ตี าย ๑๑. แกป้ วดศีศะ ๑๒. แกล้ มเสียดคาง ๑๓. แกป้ ัตฆาฏ (ขวา) ๑๔. แกโ้ รหนิ ขี นึ้ ถึงต่อ ๑๕. แก้ราก ๑๖. แกต้ ะครวิ้ ท้งั สองหนา้ แคง่ ๑๗. แปดแสนแก้กล่อน ๑๘. แก้รอ้ นเหนบตะโภก (๒ จดุ ) ๑.๔ คมั ภรี แ์ ผนนวด ๑ และ ๒ ใน ตำ� ราเวชศาสตร์ฉบบั หลวงรชั กาลที่ ๕๖ ก. ประวัติ รชั กาลท่ี ๕ ไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมใหพ้ ระเจา้ ราชวรวงษ์เธอ กรมหม่ืนภูบดี ราชหฤทัย จางวางกรมแพทย์ เปน็ แม่กองจัดหารวบรวม ช�ำระสอบสวนต�ำรบั คัมภรี ์แพทย์ที่ใช้กนั อยใู่ นขณะนนั้ ใหถ้ กู ตอ้ งดแี ลว้ จงึ สง่ มอบใหพ้ ระเจา้ ราชวรวงษเ์ ธอ กรมหมนื่ อกั ษรสาสนโสภณ จางวาง กรมอาลักษณ์ กรมอกั ษรพิมพการ จัดสร้างเปน็ ต�ำรา“เวชศาสตรฉ์ บับหลวง”เพือ่ ใหใ้ ชบ้ �ำบดั โรคภยั ไข้เจ็บแก่มหาชน “เวชศาสตร์ฉบับหลวง” ซ่ึงเป็นที่มาของต�ำราแพทยศาสตร์สงเคราะห์ เป็นต�ำราหลักในการ ศกึ ษาเลา่ เรยี นของแพทยแ์ ผนไทยจนถงึ ปจั จบุ นั ในเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง มแี ผนนวด ๑ และ ๒ รวมอยดู่ ว้ ย ข. เนอ้ื หาส�ำคัญ คมั ภีร์แผนนวด เล่ม ๑ เป็นหนงั สอื สมดุ ไทยด�ำ บนั ทกึ ด้วยอักษรไทย จำ� นวน ๙๕ หน้า แบง่ เป็น หน้าต้น ๔๔ หนา้ หนา้ ปลาย ๕๑ หน้า เนื้อหาในเล่มประกอบด้วยภาพแผนนวด เส้นชาดแสดงจุดและเส้นต่างๆ ในโครงร่างมนุษย์ จ�ำนวน ๒๙ ภาพ ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ภาพโครงร่างรูปมนุษย์ขนาดใหญ่ ใช้พ้ืนที่มากถึง ๗ หนา้ สมุดไทย พร้อมคำ� อธิบาย เปน็ คมั ภีร์ตน้ ฉบับทีข่ ึ้นตน้ ดว้ ย ภาพปรศิ นา “อันวา่ แผนคนเดยี วนี้ มิรู้ทจ่ี ะดเู ลยแล” มเี ส้นเอน็ ถงึ ๗๒,๐๐๐ เส้น ต่อจากน้ันเปน็ ภาพโครงร่างมนษุ ย์ขนาดกลาง ใชพ้ ้ืนท่ี ๔ หน้าสมดุ ไทย จ�ำนวน ๖ ภาพ ต่อด้วย ภาพโครงรา่ งมนษุ ย์ขนาดเลก็ ใช้พื้นท่ีเพยี ง ๒ หน้าสมุดไทย จำ� นวน ๒๒ ภาพ มีภาพร่างกายมนษุ ย์ เส้นเอ็นในร่างกาย ค�ำอธิบายรายละเอียด ชื่อยาสมุนไพรส�ำหรับแก้ข้อบกพร่องของเส้นเอ็นต่างๆ ๖ คณะกรรมการฝา่ ยประมวลเอกสารและจดหมายเหตใุ นคณะกรรมการอำ� นวยการจดั งานเฉลมิ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั จดั พมิ พ์ เนอื่ งในโอกาสพระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนใพรรษา ๖ รอบ ๕ ธนั วาคม ๒๕๔๒ (๒๕๕๒). ตำ� ราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รชั กาลที่ ๕ เลม่ ๑-เลม่ ๒.
บทท่ี 9 หลกั ธรรม ปรชั ญา สมฏุ ฐาน แบบแผนการนวดของนวดไทย 163 จ�ำนวน ๑๙ หนา้ สมุด คัมภรี ์แผนนวด เล่ม ๑ ไมม่ บี านแพนก สนั นษิ ฐานวา่ ยงั จดั ทำ� ไม่แลว้ เสร็จ คัมภีร์แผนนวด เล่ม ๒ บันทกึ ดว้ ยภาษาไทย จำ� นวน ๘๙ หน้าสมดุ ไทย แบง่ เป็นหนา้ ตน้ ๔๐ หน้า หน้าปลาย ๔๙ หน้าเนอ้ื หาในเล่มพรรณนาลกั ษณะอวัยวะ ๓๒ ประการของมนษุ ย์ ตอ่ มาดว้ ยฝีเกิด ในอวยั วะตา่ งๆ มชี อื่ เรยี กตามทเี่ กดิ พรอ้ มยากนิ และยาพอก จากนนั้ กลา่ วถงึ โรคลมทเี่ กดิ แกม่ นษุ ย์ ๓๒ จำ� พวก มีชื่อตามอวัยวะที่เกิดพร้อมยาน้�ำมันช่ือต่างๆ ส�ำหรับรักษาโรคลมแต่ละจ�ำพวก ต่อด้วยคัมภีร์โรคนิทาน แสดงอาการเจบ็ ไข้อันเกดิ จากธาตใุ นกายพิการตามฤดูกาล พร้อมยารักษา จากนน้ั สรปุ อาการเจบ็ ป่วยอนั เกดิ จากธาตุ ๔ ของมนษุ ยใ์ หโ้ ทษ จบเลม่ ๒ ดว้ ยตำ� รายาตราทำ� นายฤกษย์ ามสำ� หรบั เดนิ ทางตามวนั เวลาตา่ งๆ ๑.๕ คมั ภีร์แผนนวด ฉบบั วดั สวุ รรณาราม ก. ประวตั ิ เปน็ คมั ภรี แ์ ผนนวดฉบบั หนงึ่ ในสมยั รชั กาลท่ี ๕ กลา่ วถงึ เสน้ ประธานสบิ ซง่ึ แตกตา่ งจากแผนนวด วดั โพธิ์ ตน้ ฉบบั เดมิ อยูท่ ่หี อสมดุ แห่งชาติ โดยระบุว่า พระสมหุ ต์ ่วน แหง่ วดั สวุ รรณราม ราชวรวิหาร เป็นผูม้ อบใหเ้ มอื่ พ.ศ. ๒๔๖๔ (สมยั รชั กาลที่ ๖) ข. เนอ้ื หาสำ� คญั มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา ได้ตรวจสอบเนื้อหาค�ำอธิบายและรูปภาพข้ันต้นแล้ว พบว่า สว่ นใหญเ่ หมอื น คมั ภรี แ์ ผนนวด ในเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง ร.๕ โดยคมั ภรี แ์ ผนนวด ฉบบั วดั สวุ รรณาราม มีรูปภาพทั้งหมด ๕๗ ภาพ จ�ำนวน ๕๖ ภาพเน้นการแก้อาการป่วย ในขณะท่ีคัมภีร์แผนนวด ใน เวชศาสตร์ฉบับหลวง ร.๕ มรี ูปภาพเพยี ง ๒๙ ภาพ รูปภาพในคมั ภรี แ์ ผนนวด ฉบับวัดสุวรรณาราม มี ความงดงามกว่า และถกู ตอ้ งสมบูรณ์กว่า หลกั ฐานบนั ทกึ คมั ภรี แ์ ละตำ� ราการนวดไทยอยใู่ นระยะตน้ ยคุ รตั นโกสนิ ทรเ์ ปน็ สว่ นใหญ่ ซง่ึ เปน็ ระยะ การฟื้นฟูศิลปะและวิทยาการต่างๆ รวมทั้งการฟื้นฟูด้านการแพทย์ องค์ความรู้ทั้งหลายได้มาจากการ รวบรวมคมั ภีร์ตา่ งๆ ทห่ี ลงเหลอื อย่ซู ง่ึ น่าจะมาจากจากสมยั อยุธยา และได้มาจากการรวบรวมความรู้จาก หมอไทยทมี่ คี วามรคู้ วามสามารถ มารวมกนั เพอื่ ถา่ ยทอดวชิ าความรใู้ หก้ บั คนรนุ่ หลงั และรวบรวมเลอื กสรร ต�ำรบั ตำ� ราต่างๆ มาตรวจตราแก้ไข และประชุมผรู้ หู้ ลักในวชิ าน้นั ๆ ใหแ้ ตง่ ขน้ึ ใหม่บา้ ง ดงั นนั้ ความรเู้ กย่ี วกบั การนวดไทย จงึ เปน็ องคค์ วามรทู้ ม่ี อี ยเู่ ดมิ ในสมยั อยธุ ยา และมาจากการรวบรวม ความรจู้ ากหมอนวดไทยที่มีความรู้ความสามารถในยคุ รัตนโกสินทร์ และเปน็ ไปได้ท่มี กี ารแต่งขน้ึ ใหมเ่ พ่มิ เติม เพ่ือประโยชนใ์ นการศกึ ษาแก่ชาวไทย
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแหง่ การนวดไทย 164 ๒. ฤๅษดี ัดตน ๒.๑ ประวัตคิ วามเป็นมา สรา้ งขนึ้ มาตง้ั แตส่ มัยรชั กาลที่ ๑ (พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๒) ครงั้ ทรงบูรณปฏสิ ังขรณ์วัดโพธาราม ซงึ่ เปน็ วัดโบราณสมัยอยธุ ยา และพระราชทานนามใหมว่ ่า “วัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม” ชาวบ้านนยิ ม เรยี กวา่ “วดั โพธ”ิ์ ทรงโปรดใหร้ วบรวมตำ� รายา และรปู ปน้ั ฤๅษแี สดงทา่ ดดั ตน (ปจั จบุ นั ไมป่ รากฏหลกั ฐาน หลงเหลือ) เพือ่ ใหร้ าษฎรศกึ ษาเลา่ เรียน และใชร้ ักษาโรค ตอ่ มาในสมัยรชั กาลที่ ๓ ทรงโปรดให้บรู ณปฏสิ งั ขรณว์ ดั โพธ์ิ (ตงั้ แตป่ ีพ.ศ. ๒๓๗๕) และได้จารกึ แผนภาพการนวด และฤๅษีดัดตน รวมทั้ง การแพทย์แผนไทย ต�ำรายากาพย์กลอนโคลงฉันท์ เพื่อให้ ประชาชนได้เรยี นรู้ งานหลอ่ รูปฤๅษดี ัดตน เรมิ่ ในปพี .ศ. ๒๓๗๙ โดยโปรดให้ กรมหมืน่ ณรงคห์ รริ กั ษ์ ระดมช่างหล่อรปู ฤๅษดี ดั ตนจ�ำนวน ๘๐ ท่า (ฤๅษี ๘๒ ตน) ทำ� ด้วยสงั กะสดี ีบกุ หรอื ชิน พรอ้ มจารึกโคลงอธบิ ายความแกโ้ รค แตล่ ะทา่ ประกอบรปู ปน้ั ฤๅษไี วท้ กุ ตน พระองคไ์ ดท้ รงประชมุ นกั ปราชญร์ าชบณั ฑติ ทงั้ ทเ่ี ปน็ พระบรมวงศา นวุ งศ์ ขา้ ราชการ และพระภกิ ษสุ งฆ์ ใหช้ ว่ ยกนั แตง่ โคลง ๔ สภุ าพ อธบิ ายทา่ ดดั ตนของฤๅษแี ตล่ ะทา่ พรอ้ ม บอกสรรพคณุ ของทา่ ดดั ตน แลว้ ใหเ้ ขยี นเปน็ สมดุ รปู ฤๅษดี ดั ตนแกโ้ รคตา่ งๆ ๘๐ รปู ปจั จบุ นั ตน้ ฉบบั ตำ� รา ฤๅษดี ัดตนเกบ็ รกั ษาไวท้ ี่หอสมดุ แหง่ ชาติ ตอ่ มามกี ารคดั ลอกจากตน้ ฉบบั สมดุ ภาพโคลงฤๅษดี ดั ตนใหแ้ พรห่ ลายกวา้ งขวางมากยง่ิ ขน้ึ เชน่ ฉบบั ของพระสมหุ เ์ วก ชา่ งเขยี นวดั สทุ ศั นเ์ ทพวราราม ฉบบั ของพระยาอไุ ทยธรรม (หรนุ่ วชั โรทยั ) เปน็ ตน้ รวม ถึงมีการน�ำภาพเขยี นฤๅษดี ัดตนจำ� นวน ๔๐ ทา่ ไปเขยี นที่ผนงั คอสองของศาลาโถง ณ วัดมชั ฌิมาวาส อ. เมอื ง จ. สงขลา ซึง่ เขยี นขึ้นในสมัยรชั กาลที่ ๕ ปีพ.ศ. ๒๔๕๕ เปน็ ต้น กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพไดท้ รงอธิบายเกี่ยวกับฤๅษีดัดตน ว่า “วนั หนง่ึ เขาพาฉนั ไปดพู พิ ธิ ภณั ฑส์ ถานของเมอื งชยั บรุ ะ ไปเหน็ รปู ปน้ั เปน็ ฤๅษอี ยา่ งในอนิ เดยี ทำ� ทา่ ต่างๆ เหมือนอยา่ งรูปฤๅษีดดั ตนในวดั พระเชตุพนฯ แต่ขนาดย่อมๆ ตัง้ เรียงไว้ในตู้ใบหน่งึ .........เขาอธบิ าย ตอ่ ไปวา่ รปู เหลา่ นนั้ เปน็ แบบทา่ ตา่ งๆ ทพี่ วกดาบสบำ� เพญ็ ตบะเพอ่ื บรรลโุ มกขธรรม.............แตก่ อ็ ยากรแู้ ต่ น้นั มาว่า เหตไุ ฉน รปู ฤๅษีดดั ตน ทีเ่ ราทำ� ในเมอื งไทย จงึ ไปพ้องกับทา่ ดาบสบ�ำเพ็ญตบะของชาวอนิ เดยี จนเมื่อออกมาอยู่เมืองปีนัง มีดาบสชาวอินเดียคนหน่ึงซ่ึงข้ึนช่ือลือเลื่องว่าเคร่งครัดนักมาบ�ำเพ็ญ ตบะ ณ เมอื งปนี งั ...............ฉนั ไปด.ู ...........เหน็ ดาบสนงั่ ขดั สมาธเิ หมอื นอยา่ งพระประธาน............ไมม่ ใี คร เหน็ ดาบสนนั้ นอนเลย........พลบคำ�่ ดาบสกล็ กุ ออกจากอาสนะเขา้ ไปทำ� พธิ อี กี ชนดิ หนงึ่ เพอ่ื แกเ้ มอ่ื ยขบ เหน็ ทำ� ทา่ ต่างๆ บางที (ปลุก) ตวั ลอยขึ้นไปกม็ .ี .........ฉันไดฟ้ งั กเ็ ขา้ ใจแจ่มแจง้ ส้นิ สงสยั ได้ความรู้วา่ การดดั ตน
บทที่ 9 หลกั ธรรม ปรชั ญา สมฏุ ฐาน แบบแผนการนวดของนวดไทย 165 นั้น เป็นส่วนหนึ่งของการบ�ำเพ็ญตบะนั่นเอง เพราะน่ังหรือยืนอยู่ท่ีเดียวตลอดวันยังค�่ำ ทรมานร่างกาย เกนิ วสิ ยั กย็ อ่ มเกดิ อาการเมอ่ื ยขบ จงึ คดิ วธิ ดี ดั ตนสำ� หรบั ระงบั ทกุ ขเวทนาอนั เกดิ แตบ่ ำ� เพญ็ ตบะแลว้ ตง้ั เปน็ ตำ� ราไว้แต่ดกึ ดำ� บรรพ์ ทพ่ี วกชาวเมืองชัยบุระเขาบอกวา่ เปน็ วธิ ขี องพวกดาบสนั้นก็ถกู ทไี่ ทยว่า เปน็ วิธแี ก้เม่อื ยก็ถูก เพราะไทยเราไม่เล่ือมใสวธิ ตี บะของพวกถอื ศาสนาฮนิ ดู เอาแตว่ ธิ ดี ดั ตัวแก้เมอ่ื ย ขบมาใช้ จงึ เกดิ ตำ� ราฤๅษีดดั ตนขนึ้ ดว้ ยประการฉะน”ี้ ๒.๒ เนือ้ หาส�ำคัญ ๑) องคค์ วามร้ใู นคำ� โคลงฤๅษดี ัดตน ๘๐ ท่า เนื้อหาของฤๅษีดดั ตนน้ันอยูใ่ นโคลง ๔ สภุ าพ ซึง่ อธบิ ายท่าดัดตนของฤๅษีแต่ละท่า พรอ้ มบอก สรรพคุณของทา่ ดดั ตนจนครบ ๘๐ ท่า ส่วนใหญเ่ ป็นวธิ กี ารรกั ษาอาการของโรคลมทเ่ี กิดในอวยั วะ ส่วนต่างๆ จ�ำนวน ๒๗ ท่า นอกน้นั เปน็ อาการโรคที่เกิดขึ้น เช่น เคล็ด ขัด ๑๐ ทา่ แก้เส้นตา่ งๆ ๓ ทา่ แก้ปวดและวงิ เวยี น ๕ ทา่ แก้จกุ เสียดแนน่ ๔ ท่า แกก้ ลอ่ นตา่ งๆ ๔ ทา่ แก้ตะครวิ และเหน็บ ๓ ทา่ แกโ้ รคทางกลา้ มเนอ้ื และกระดกู ๑๒ ทา่ แกเ้ สมหะในลำ� คอแกเ้ กยี จครา้ น แกโ้ รคในอก บำ� รงุ ร่างกายใหอ้ ายุยนื ๑ ท่า รวมรกั ษาอาการตา่ งๆ ได้ ๗๔ อาการ จากการสังคายนาสมดุ ภาพโคลงฤๅษดี ดั ตนโดยส�ำนกั งานข้อมลู และคลงั ความรู้ กรมการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ในปีพ.ศ. ๒๕๕๙ สรุปไดด้ งั น้ี ทา่ ฤๅษีดัดตน ๘๐ ทา่ สามารถรกั ษาโรคและอาการได้ทั้งหมด ๑๐๙ โรคและอาการ โดยแบง่ เป็นประเภทกลุ่มของโรคและอาการได้ ๔ ประเภท ได้แก่ ก. กลมุ่ อาการผิดปกตขิ องอวัยวะและส่วนต่างๆ ของร่างกาย มีทัง้ หมด ๕๐ อาการ แบ่งเป็น ๓ ส่วนตา่ งๆ ไดแ้ ก่ • สว่ นศรี ษะ หนา้ คอ • สว่ นล�ำตัว • สว่ นแขน ขา ข. กลมุ่ อาการโรคลม มีทง้ั หมด ๕๑ อาการ ไดแ้ ก่ โรคลม ๔๗ ลม และ เส้นตา่ งๆ ๔๗ อาการ ค. กล่มุ โรคกล่อน ได้แก่ กล่อนปัตคาด กลอ่ นในทรวง กลอ่ นแหง้ กลอ่ นนำ�้ กลอ่ นเสน้ กลอ่ นกระษยั ลมกล่อน ง. อาการอื่นๆ ได้แก่ จติ ในเผลอ ใจสวิงสวาย อายยุ นื ๒) ท่าฤๅษีดัดตนเปรียบเทียบกับอาสนะในโยคะ
การนวดในพระไตรปิฎกและสายธารแหง่ การนวดไทย 166 เม่ือเปรียบเทียบท่าฤๅษีดัดตน ๘๐ ท่า กับอาสนะของโยคะ๗ (๒๐๐ อาสนะ ตามหนังสือ ประทปี แห่งโยคะ/Light on Yoga) แลว้ พบว่า ท่าฤๅษีดัดตนอยา่ งนอ้ ย ๒๖ ท่า มที ่าดดั ตนคล้ายคลงึ หรอื ใกล้เคยี งกบั อาสนะของโยคะ แต่วธิ ี การท�ำอาสนะของโยคะจะมีความซับซ้อนและยากกว่า ในแต่ละอาสนะจะมีข้ันตอนต่างๆ หลาย ขนั้ ตอน ซง่ึ ตา่ งจากฤๅษดี ดั ตนจะเปน็ ทา่ เพยี งทา่ เดยี ว บางทา่ ของฤๅษดี ดั ตนจะคลา้ ยกบั บางขน้ั ตอน ของอาสนะ นอกจากน้ี วิธกี ารฝึกอาสนะของโยคะจะมกี ารฝึกการหายใจรว่ มด้วย ฤๅษดี ดั ตนของไทยเนน้ ทา่ ดดั ตนทฝี่ กึ และทำ� ไดง้ า่ ย เนน้ เพอ่ื การบำ� บดั โรคลมและโรคทางกระดกู และกลา้ มเนอื้ เปน็ สำ� คญั ทา่ ฤๅษดี ัดตน ๒๕ ทา่ ทีค่ ล้ายคลงึ กับอาสนะของโยคะ มีดังนี้ ท่าท่ี ฤๅษีดดั ตน อาสนะ 2 แกเ้ อวขดั ขาขัด อุตถิตะ หัสตะ 6 แกส้ น้ เทา้ ปาทางคษุ ฐาสนะ สบิ หก สปุ ตะ วรี าสนะ สอง 12 แก้เขา่ ขาตาย กกุ กฏุ สนะ หก 13 แกข้ ดั ขา ขดั คอ 14 แก้แนน่ หนา้ อก อุษฏราสนะ สาม ปารศโรตตานาสนะ หก 16 แก้เข่า แกข้ า อรรธะ จันทราสนะ หา้ 17 แกโ้ รคในอก ศวาสนะ๘ 20 แก้ลมทว่ั สารพางค์ วรี าสนะ หนง่ึ 21 แก้เสยี ดอก นฏราชาสนะ ห้าสบิ แปด 22 แก้ลมจนั ทฆาฏ ลมเขา่ นฏราชาสนะ ห้าสบิ แปด ลมขา ลมหน้าอก 23 แกเ้ ข่าขัด ครุฑาสนะ หนงึ่ 28 แก้เขา่ ขัด ปัศจิโมตตานสนะ หก 29 แกล้ มในลำ� ลงึ ค์ พทั ธะ โกณาสนะ สาม 31 แก้กร่อน แก้ปัตคาด โครกั ษาสนะ สบิ 42 แก้กรอ่ น ปตั คาด วรี ภัทราสนะ 2 หน่งึ 46 แกเ้ สียดข้าง เอกะ ปาทา ศีรษาสนะ สิบหา้ ๗ บ.ี เค. เอส. ไอเยนการ.์ ประทปี แหง่ โยคะ. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑. นนทบรุ :ี สำ� นกั พมิ พม์ ลู นธิ โิ กมลคมี ทอง; พ.ศ. ๒๕๕๗. ๘ ทา่ ดดั ตนแกโ้ รคในอกเปน็ ทา่ นอนเหยยี ดขาตรง เหยยี ดมอื ทง้ั สองขน้ึ ไปดา้ นเหนอื ศรี ษะ แตท่ า่ ศพของโยคะจะนอนหงายวางมอื ทง้ั สอง ขา้ งลำ� ตวั
บทท่ี 9 หลกั ธรรม ปรชั ญา สมฏุ ฐาน แบบแผนการนวดของนวดไทย 167 ท่าท่ี ฤๅษดี ัดตน อาสนะ 48 แกล้ มมหาบาดทะยกั พทั ธะ โกณาสนะ สาม 57 แกเ้ ส้นมหาสนุกระงบั ปรวิ ฤตตะ ชานุศรี ษาสนะ เก้า 59 แกเ้ ส้นทว่ั สารพางค์ วีราสนะ หนึง่ 60 แก้ไหล่ขัด แกต้ ะโพกขัด อตุ ตานาสนะ แปด 62 แก้ลมกร่อน วิรญั จยาสนะ 2 สิบ 70 แก้กร่อน ปศั จโิ มตตานาสนะ หก 72 แกล้ มในอก ปัศจโิ มตตานาสนะ 73 แกต้ ะโพก ตน้ ขาขัดหาย ทวิปาทะ ศรี ษาสนะ ยีส่ ิบส่ี อุตถติ ะ หัสตะ 74 แกเ้ ท้าเหนบ็ ปาทางคุษฐาสนะ สิบหก 79 แก้ขัดแข้ง ขัดขา สมโกณาสนะ สามสิบแปด สรปุ เมอ่ื ศกึ ษาประวตั คิ วามเปน็ มา เนอ้ื หาสำ� คญั ของฤๅษดี ดั ตน รวมทงั้ บนั ทกึ ของสมเดจ็ ฯกรมพระยาดำ� รง ราชานภุ าพ สรุปไดว้ ่า ฤๅษดี ัดตนมรี ากองคค์ วามรมู้ าจากโยคะในอนิ เดยี โดยมีความเปน็ ได้มากที่พราหมณ์ในราชส�ำนกั ไทย อาจจะเป็นผู้เผยแพร่ จึงมีความนิยมอย่างสูงในราชส�ำนัก แต่ไม่แพร่หลายและน�ำไปใช้ในทุกครัวเรือน เหมือนนวดไทย นอกจากนี้ ไทยรับเอาเพยี งท่าดัดตน หรอื อาสนะ ๘๐ ท่ามาใช้เทา่ น้ัน ไมไ่ ด้รบั เอาวชิ า โยคะทง้ั หมดมาใช้ เพราะไมเ่ ลอื่ มใสวธิ กี ารฝกึ ของโยคะ จงึ ไมม่ กี ารบนั ทกึ เกยี่ วกบั ทฤษฎขี องโยคะในตำ� รา ฤๅษดี ดั ตน ในตำ� ราภาพฤๅษดี ดั ตน ไมม่ กี ารกล่าวถึงทฤษฎขี องโยคะเร่ือง นาฑี จักระ กุณฑลนิ ี เลย แต่ ทฤษฎี ของโยคะ โดยเฉพาะเรอ่ื ง นาฑี ๗๒,๐๐๐ เส้น นาฑหี ลัก ๑๔ เสน้ ได้กลายมาเป็น ทฤษฎกี ารแพทย์ของ นวดไทย โดยนวดไทยเชอ่ื วา่ ร่างกายมเี สน้ ทเี่ ป็นทางเดินของลมในรา่ งกาย ๗๒,๐๐๐ เส้น มเี ส้นประธาน ๑๐ เสน้ และเสน้ ประธานอยา่ งนอ้ ย ๔ เสน้ มชี อื่ เดยี วกบั นาฑขี องโยคะ คอื อทิ า ปงิ คลา สษุ มุ นา กาลทารี แต่นวดไทยไมไ่ ด้รับเรอื่ งจักระทง้ั ๗ มาเปน็ ทฤษฎขี องนวดไทย
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแหง่ การนวดไทย 168 ๓. หลกั ธรรม และปรชั ญา การนวดไทย ในบนั ทกึ ภมู ิปญั ญาการนวดไทยที่สำ� คญั ทง้ั ๕ บันทกึ ในข้อ ๑ นั้น ไม่ปรากฎการบันทึกเกี่ยวกับหลัก ธรรมและปรัชญาการนวดไทยไว้เฉพาะ ซ่ึงก็เช่นเดียวกับการแพทย์แผนปัจจุบัน ท่ีไม่มีการเขียนเกี่ยวกับ ปรชั ญาการแพทยท์ ช่ี ดั เจน แตเ่ มอ่ื ดจู ากหลกั ฐานอนื่ ๆ ประกอบ เราพอสรปุ หลกั ธรรมและปรชั ญาการนวด ไทยได้ ดงั น้ี ๓.๑ การนวดไทยไดร้ ับการอุปถมั ภ์ค�้ำจนุ จากสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์อยา่ งแนบแน่นและต่อเน่อื ง ๑) สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.๑๙๙๑-๒๐๓๑) มีท�ำเนียบศักดินาข้าราชการฝ่าย พลเรอื น (พระไอยการ ตำ� แหนง่ นาพลเรอื น) ตราขนึ้ ในปี พ.ศ.๑๙๙๘ กลา่ วคอื มขี า้ ราชการในกรมแพทยา กรมแพทยาโรงพระโอสถ กรมหมอยา กรมหมอนวด กรมหมอยาตา กรมหมอวรรณโรค (กรมหมอนวด มี ตำ� แหน่ง หลวงราชรักษา เป็นเจ้ากรมหมอนวดขวา นาคละ ๑๖๐๐ หลวงราโช เปน็ เจ้ากรมหมอนวดซา้ ย นาคละ ๑๖๐๐ และมปี ลดั กรมขวา ปลดั กรมซา้ ย และตำ� แหนง่ อน่ื ๆ อกี จำ� นวนมาก) ซงึ่ แสดงวา่ ราชสำ� นกั ไดย้ อมรบั และอปุ ถมั ภ์หมอนวดไทยในระดับสูง ๒) รชั กาลท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๒) ได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธิ์) เพอ่ื ใหเ้ ปน็ สถานทเี่ ผยแพรค่ วามรแู้ กป่ ระชาชน การถา่ ยทอดความรจู้ งึ เปลยี่ นรปู แบบไปสสู่ าธารณชนมาก ขน้ึ เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ การฟน้ื ฟกู ารแพทยแ์ ผนไทย ทรงใหร้ วบรวมจารกึ ตำ� รายาและฤๅษดี ดั ตนไวต้ ามศาลาราย ๓) รชั กาลท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๓๖๗-๒๓๙๔) ทรงปฏสิ งั ขรณว์ ดั โพธอ์ิ กี ครง้ั ใหเ้ ปน็ แหลง่ รวบรวมและเผย แพรค่ วามรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การนวดไทย ฤๅษีดดั ตน ต�ำรบั ยา สมนุ ไพร กาพย์กลอนโคลงฉนั ท์ ท่ี ส�ำคญั คือ ภาพแผนนวด ๖๐ ภาพ ท่ีเปน็ ตำ� ราการนวดไทย กล่าวถึงเสน้ ประธานสิบ และอาการต่างๆ ที่ รักษาได้ดว้ ยการนวด และรูปหลอ่ ฤๅษีดดั ตน ๘๐ ท่า ๔) รัชกาลท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๔๑๑-๒๔๕๓) ทรงให้จดั หารวบรวมคัมภรี ์แพทย์ในท่ีต่างๆ มาตรวจสอบ ชำ� ระใหต้ รงกนั กบั ฉบบั ดง้ั เดมิ เพอ่ื ใหใ้ ชบ้ ำ� บดั โรคภยั ไขเ้ จบ็ แกม่ หาชน รวมเรยี กวา่ “เวชศาสตรฉ์ บบั หลวง” ซ่ึงเป็นท่ีมาของต�ำราแพทยศาสตร์สงเคราะห์ ท่ีเป็นต�ำราหลักในการศึกษาเล่าเรียนของแพทย์แผนไทย จนถงึ ปจั จุบนั และในเวชศาสตร์ฉบบั หลวง มีแผนนวด ๑ และ แผนนวด ๒ รวมอยดู่ ว้ ย แม้ในสมยั รชั กาลที่ ๙๙ พระองค์ทรงเสด็จฯ วัดโพธิ์ในปพี .ศ. ๒๔๙๓ ทรงมพี ระราชปรารภใหม้ ี โรงเรียนสอนการแพทย์แผนไทย จึงท�ำให้เกิดโรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัดพระเชตุพน (วัดโพธ์ิ) ขึ้นใน ปพี .ศ. ๒๔๙๘ สอนเวชกรรม เภสัชกรรม และผดุงครรภ์ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๐๔ รัชกาลท่ี ๙ ทรงเสดจ็ วัด โพธ์ิอีกครั้ง และถามว่ามีการสอนนวดหรือไม่ จึงเร่ิมเปิดการสอนนวดไทยต้ังแต่ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ เป็นตน้ มา๑๐ ๙ กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. รายงานสาธารณสขุ ไทย ดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ น้ื บา้ น และการ แพทยท์ างเลอื ก พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๓.พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒.กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั สามเจรญิ พาณชิ ย์ (กรงุ เทพฯ) จำ� กดั ; ๒๕๕๓. ๑๐ กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก. รายงานสาธารณสขุ ไทย ด้านการแพทยแ์ ผนไทย การแพทย์พ้ืนบ้าน และการแพทยท์ างเลอื ก พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๖.พมิ พ์คร้งั ท่ี ๑.กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา; ๒๕๕๖.
บทที่ 9 หลักธรรม ปรชั ญา สมฏุ ฐาน แบบแผนการนวดของนวดไทย 169 ๓.๒ การนวดไทยได้รับการอุปถัมภจ์ ากวดั ด้ังเดิมนั้น วัดเป็นศูนย์กลางของชุมชนทั้งในด้านศีลธรรม วัฒนธรรม ประเพณี ที่ส�ำคัญ วัดเป็น ศนู ยก์ ลางการศกึ ษาอบรมของชมุ ชน ผทู้ บี่ วชเรยี นจะไดเ้ รยี นทงั้ พระธรรมคำ� สอน การปฏบิ ตั ิ และการเรยี น ร้หู นังสอื ไปด้วย นอกจากน้ี ในวัดทอี่ ยหู่ า่ งไกล พระภกิ ษุสว่ นใหญม่ ีความรเู้ รอื่ งสมนุ ไพรและการบ�ำบดั รดั ษาโรค ท�ำใหผ้ บู้ วชเรยี นได้เรยี นรู้การบำ� บัดรกั ษาโรคพร้อมๆ กับการศกึ ษาดา้ นอ่ืนๆ ต่อมา เมื่อการนวดไทยและการแพทยแ์ ผนไทยไม่ได้รับการสนับสนนุ จากภาครัฐในสมัยรชั กาลท่ี ๖ ซึ่งไดม้ ีการยกเลิกการเรียนวิชาการแพทย์แผนไทยในโรงเรยี นราชแพทยาลัยในปีพ.ศ. ๒๔๕๘ การออก พระราชบญั ญตั กิ ารแพทย์ พ.ศ. ๒๔๖๖ เพอ่ื ควบคมุ การประกอบโรคศลิ ปะ เปน็ เหตใุ หก้ ารแพทยแ์ ผนไทย ตกต�ำ่ และเสอื่ มโทรมลง ปีพ.ศ. ๒๔๗๕ มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มีกฎหมายหา้ มชุมนมุ ของกลุ่มบคุ คลตัง้ แต่ ๕ คน ขนึ้ ไป หมอไทยจงึ ตอ้ งก่อตั้ง “สมาคมแพทยแ์ ผนโบราณแห่งประเทศไทย” ซง่ึ ได้รบั การอปุ ถัมภ์จากวัด ต่างๆ เชน่ วัดเทพธดิ าราม วัดปรนิ ายก ตอ่ มามกี ารตั้งสมาคมการแพทย์แผนโบราณอน่ื ๆ เกิดขนึ้ และได้ รับการอุปถมั ภ์จากวดั ตา่ งๆ เช่น วดั สามพระยา วดั โพธ์ิ เปน็ ต้น จากหลกั ฐานตา่ งๆ ทวี่ า่ การนวดไทยไดร้ บั การสนบั สนนุ และอปุ ถมั ภจ์ ากสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ และวัด อย่างแนบแนน่ และต่อเนื่อง ท�ำใหเ้ หน็ ภาพว่า สถาบันพระมหากษัตริย์ ซึ่งเปน็ พุทธมามกะ และ วัดต่างๆ ในพระพุทธศาสนาได้ด�ำเนินการสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการนวดไทยมาตลอด ท�ำให้ หลกั ธรรม และปรชั ญาของการนวดไทยน้ัน เปน็ อนั หนง่ึ เดยี วกบั หลกั ธรรมและวนิ ัยของพระพุทธศาสนา หลักการสงู สุดของการดแู ลผูเ้ จบ็ ป่วยในพระพทุ ธศาสนา คอื “การพยาบาลภิกษุ ภิกษณุ ที อี่ าพาธเป็นกิจของสงฆ์ ผูใ้ ดละเว้นถอื เปน็ อาบตั ิทุกกฎ และยกย่อง หนา้ ท่ใี นการพยาบาลน้นั มคี วามส�ำคญั สูงสุดเท่ากับการได้พยาบาลพระพทุ ธเจา้ ” หลกั การสูงสดุ ของการนวดไทย ถอื ว่า “การดแู ลและเยยี วยาผปู้ ว่ ยเปน็ หนา้ ทข่ี องหมอ หมอจะตอ้ งทำ� โดยไมห่ วงั อามสิ สนิ มเี มตตา และ การพยาบาลผู้ปว่ ยมีความส�ำคญั สงู สดุ หรอื เป็นบญุ กุศลทีย่ ิง่ ใหญ่”
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 170 ๓.๓ บันทึกจรรยาแพทยข์ องพระยาวชิ ยาธิบดี (กล่อม) คมั ภรี ฉ์ ันทศาสตร์ ว่าดว้ ยจรรยาแพทย์ เรยี บเรียงโดย พระยาวชิ ยาธิบดี (กลอ่ ม) เจา้ เมอื งจันทบรู เขียนข้นึ ในสมัยรชั กาลที่ ๒ นา่ จะเปน็ บันทึกที่เกา่ แก่ที่สุด ที่กลา่ วถึงจรรยาแพทยแ์ ผนไทย ๑๔ ข้อ ท�ำให้ เราเห็นถงึ ปรัชญาการนวดไทยและการแพทยแ์ ผนไทย ดังน้ี ขา้ ขอประณมหัตถ์ พระไตรรตั นนาถา ตรีโลกอมรมา อภวิ าทนาการ อนึง่ ข้าอัญชลี พระฤาษผี ทู้ รงญาณ แปดองคเ์ ธอมีฌาน โดยรอบรู้ในโรคา ไหว้ครอู ศิ วเรศ ทงั้ พรหเมศวรท์ ุกชัน้ ฟ้า สาปสวรรค์ซึง่ หวา้ นยา ประทานท่วั โลกธาตรี ไหวค้ รโู กมารภจั ผเู้ จนจดั ในคัมภรี ์ เวชศาสตร์บรรดามี ให้ทานทัว่ แก่นรชน ไหวค้ รูผสู้ งั่ สอน แต่ปางกอ่ นเจรญิ ผล ลว่ งลุนิพพานดล สำ� เรจ็ กิจประสทิ ธพ์ิ ร จะเห็นว่า การกล่าวจรรยาแพทย์น้ัน จะกราบไหว้พระรัตนตรัยก่อน แล้วกล่าวบูชาเทพเทวดา ตา่ งๆ ตามมา หลังจากนน้ั ถงึ กลา่ วบูชาครชู วี กโกมารภัจ และครผู ูส้ ัง่ สอน จะกล่าวคมั ภรี ์ฉัน- ทศาสตรบ์ รรพ์ที่ครสู อน เสมอดวงทินกร และดวงจันทรก์ ระจ่างตา ๒ สอ่ งสัตวใ์ หส้ ว่าง แจ้งกระจา่ งในมรรคา หมอนวดและหมอยา ผู้เรยี นรู้คมั ภรี ไ์ สย์ ๓ เรยี นรใู้ ห้ครบหมด จนจบบทคมั ภรี ใ์ น ฉันทศาสตรท์ ่านกลา่ วไข สิบส่ีขอ้ จงควรจำ� ๔ เปนแพทย์น้ียากนัก จะร้จู ักซ่งึ กองกรรม ตัดเสียซ่ึงบาป ธรรม สบิ ส่ตี วั จึงเท่ียงตรง ๕ เปนแพทย์ไมร่ ้ใู น คัมภีรไ์ สย์ทา่ นบรรจง รแู้ ต่ยามาอ่าองค์ รักษาไขไ้ มเ่ ข็ดขาม ๖ บางหมอกก็ ลา่ วค�ำ มุสาซ�ำ้ กระหน�่ำความ ยกตนว่าตนงาม ประเสรฐิ ย่ิงในการยา
บทที่ 9 หลกั ธรรม ปรัชญา สมฏุ ฐาน แบบแผนการนวดของนวดไทย 171 ๗ บางหมอกเ็ กียจกนั ท่พี วกอนั แพทย์รักษา บ้างกล่าวเปนมารยา เขาเจบ็ น้อยวา่ มากครัน ๘ บางกล่าวอุบายให้ แกค่ นไข้นัน้ หลายพัน หวงั ลาภจะเกิดพลนั ด้วยเชอื่ ถอ้ ยอาตมา ๙ บางทีไปเยยี นไข้ บ มีใครจะเชญิ หา กลา่ วยกถึงคุณยา อนั ตนรูใ้ ห้เชอื่ ฟัง ๑๐ บางแพทย์กห็ ลงเลห่ ์ ด้วยกาเมเข้าปิดบงั รักษาโรคดว้ ยกำ� ลัง กิเลศโลภะเจตนา ๑๑ บางพวกก็ถือตน ว่าไขค้ นอนาถา ใหย้ าจะเสียยา บ ห่อนลาภจะพึงมี ๑๒ บางถือวา่ ตนเฒา่ เปนหมอเกา่ ชำ� นาญดี รูย้ าไม่ร้ทู ี รักษาได้กช็ ่นื บาน ๑๓ แก่กายไม่แก่รู้ ประมาทผูอ้ ุดมญาณ แม้เดก็ เปนเด็กชาญ ไมค่ วรหม่ินประมาทใจ การเป็นแพทย์ทด่ี จี ะตอ้ งรู้ท้ังความรใู้ นการรักษาโรค และมจี รรยาแพทยท์ ด่ี ี ๑๔ ข้อ นอกจากนี้ แพทยจ์ ะตอ้ งถอื ศลี แปดและศีลหา้ แพทยใ์ ดจะหนที กุ ข์ ไปส่สู ุขนพิ พานดล พริ ยิ สติตน ประพฤติไดจ้ ึงเป็นการ ศลี แปดแลศีลห้า เร่งรกั ษาสมาทาน ทรงไว้เปนนิจกาล ท้ังไตรรัตนส์ รณา ๔. สมฏุ ฐาน ของนวดไทย ๔.๑ สมฏุ ฐาน (ทฤษฎกี ารแพทย)์ ของนวดไทย ในบันทกึ ภูมปิ ัญญาการนวดไทย ไดก้ ลา่ วถึง สมุฎฐาน (ทฤษฎกี ารแพทย)์ ของนวดไทย ดงั นี้ ๑) รา่ งกายมเี สน้ อยใู่ นรา่ งกายถงึ ๗๒,๐๐๐ เสน้ ทเี่ ปน็ เสน้ หลกั หรอื เสน้ ประธานมี ๑๐ เสน้ เสน้ เปน็ ทางเดินของลม ทำ� ใหร้ ่างกายมีพลงั หรือเคลือ่ นไหว ท�ำงานตา่ งๆ ได้ตามปรกติ
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 172 ความเชื่อนี้ ตรงกับความเช่ือของอายุรเวท ที่เช่ือว่ามนุษย์และเอกภพถือก�ำเนิดมาด้วยกัน เอกภพเป็นโครงสร้างใหญ่ (ปรมาตมัน) มนุษย์เป็นโครงสร้างเล็กและเป็นส่วนหน่ึงของเอกภพ (อาตมัน) มนษุ ย์กบั จกั รวาลจึงเปน็ หนึ่งเดียวกัน และเม่อื มนุษย์เสียสมดลุ จกั รวาลจะมีส่วนในการ รักษาสมดลุ ของมนุษยใ์ ห้กลับเป็นปรกติ ตรงกบั ความเชอ่ื ของ โยคะ ทเ่ี ชอื่ วา่ จติ จกั รวาลสงู สดุ (ปรมาตมา) หรอื พระเจา้ ซง่ึ มจี ติ วญิ ญาณ ปัจเจก (ชวี าตมา) ของมนษุ ย์เป็นส่วนหน่งึ จะแผ่ซ่านไปในสรรพสิง่ ต่างๆ ที่เรียกว่า โยคะ เนือ่ งจาก มีค�ำสอนเกี่ยวกับวิธีการท่ีชีวาตมาจะสามารถรวมเป็นหน่ึงเดียวกับปรมาตมา และน�ำไปสู่การ หลุดพ้น (โมกษะ) โยคะกลา่ วว่า เส้นทางเดินของพลงั งานหรอื นาฑี มี ๗๒,๐๐๐ นาฑี นาฑี หมายถึง ช่องคล้ายท่อในรา่ งกาย เป็นทางเดนิ ของพลงั งาน นาฑีเปน็ ชอ่ งให้ พลงั กุณฑลนิ ี เคลอ่ื นที่ อายรุ เวทกลา่ วว่า เส้นทางเดินของพลงั งานหรือนาฑีมี ๗๒,๐๐๐ เส้น โยคะไดจ้ ำ� แนกนาฑี หลักเป็น ๑๔ นาฑี ซ่งึ สมั พันธก์ ับอวัยวะต่างๆ ของรา่ งกาย ในจำ� นวนของเสน้ ทวั่ รา่ งกายมี ๑๐๑ เสน้ ทสี่ ำ� คญั ทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ มี ๓ เสน้ ไดแ้ ก่ อฑิ า ปงิ คลา สษุ มุ นา ๒) เสน้ ประธาน ๑๐ เสน้ มชี อ่ื วา่ อทิ า ปิงคลา สสุ มุ นา กาลทารี สหัศรังสี ทวารี จนั ทภสู งั (ลาวุสัง) รุช�ำ (อุลังกะ/อุรัง/ภูส�ำพวัง/สัมปะสาโส) สุขุมัง(นันทกระหวัด/กังขุง) สิกขิณี (คิชฌะ/รตั คนิ /ี สงั คินี) ทกุ บันทึกกลา่ วตรงกันเรื่องเสน้ ประธานมี ๑๐ เส้น แต่มชี ่ือเรียกแตกตา่ งกนั ไดแ้ ก่ เสน้ รุชำ� ในแผนนวดวัดโพธ์ิ แผนนวด ร.๕ เรยี ก อลุ ังกะ ในต�ำราโรคนิทาน เรียก อุรงั ภูส�ำพวงั สมั ปะสาโส เส้นสขุ ุมงั ในแผนนวดวัดโพธิ์ แผนนวด ร.๕ เรยี ก นันทกระหวดั ตำ� ราโรคนิทาน เรยี ก กังขุง สกิ ขณิ ี ในแผนนวดวดั โพธิ์ แผนนวด ร.๕ เรยี ก คชิ ฌะ ตำ� ราโรคนทิ าน เรียก รัตคนิ สี งั คนิ ี ทฤษฎเี รอื่ งเสน้ ประธานสบิ นี้ ตรงกบั ทฤษฎเี รอื่ งนาฑขี องโยคะซง่ึ จำ� แนกนาฑหี ลกั เปน็ ๑๔ นาฑี ไดแ้ ก่ อฑิ า (Ida), ปิงคลา (Pingala), สษุ ุมนา (Sushumna), กาลทารี (Gandhari), Hastajihva, Yashasvini, Pusha, Alambusha, Kuhu, Shankini, Sarasvati, Payasini, Varuni, Visvodara เส้นประธานสบิ ของนวดไทยอย่างน้อย ๓ เสน้ ท่ีมีชื่อเดยี วกบั นาฑขี องโยคะ คอื อทิ า ปิงคลา และสสุ มุ นา แนวทางเดนิ ของเสน้ และนาฑีคลา้ ยคลึงกัน
บทที่ 9 หลักธรรม ปรชั ญา สมฏุ ฐาน แบบแผนการนวดของนวดไทย 173 ภาพที่ ๑ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างทางเดินเส้นอิทา-ปิงคลา และจุด ภาพท่ี ๒ แสดงความสมั พันธ์ระหว่างทางเดินเสน้ สุมนา และจดุ
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแหง่ การนวดไทย 174 ส่วนเส้นกาลทารีนน้ั แม้ช่อื จะตรงกันกับนาฑี Ganhari แตท่ างเดนิ ของเสน้ และนาฑีไม่ตรงกัน Ganhari ของโยคะ จะอยูห่ ลังนาฑีอิฑา ไปสน้ิ สุดทตี่ าซ้าย ควบคมุ การมองเหน็ ภาพท่ี ๓ แสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างทางเดนิ เส้นกาลทารี และจดุ ภาพที่ ๑-๓ จากตำ� ราการนวดไทยเลม่ ๑ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข ฉบบั พมิ พค์ รงั้ ที่ ๕ มลู นธิ สิ าธารณสขุ กบั การพฒั นา ภาพจาก https://thevisualityblog.wordpress.com/2016/05/29/the-nadis-their-functions/
บทท่ี 9 หลักธรรม ปรัชญา สมุฏฐาน แบบแผนการนวดของนวดไทย 175 ๓) เสน้ ประธานทง้ั สิบ สามเส้นมคี วามส�ำคญั ทีส่ ุด ได้แก่ อทิ า ปิงคลา สุสมุ นา ในตำ� ราโรคนิทาน ค�ำฉนั ท์ ของพระยาวิชยาธบิ ดี (กลอ่ ม) ไดเ้ ขยี นไวว้ ่า เสน้ สิบท่านพรรณา ในครรภาเป็นนิไสย ล้อมสูญพระเมรุไว้ สถติ ยล์ ึกสกั สองนว้ิ ลอ้ มเป็นจกั ร์ทราสูนย์ ดูไพบูลยไ์ มแ่ พลงพล้วิ ดจุ สายบรรทัดทิว เป็นแนวแถวทอดเรียงกนั เสน้ ซา้ ยคอื อิทา ข้างสูญหนาเป็นฝ่ายจนั ทร์ ปิงคลาขา้ งขวานนั้ อย่ขู า้ งสูญเรียกสรุ ยิ า กลางสญู เส้นแนวทอด ชิวหาตลอดเรยี กสุมนา สามเรยี งเคียงกนั มา เป็นธรรมดาสำ� หรับหมาย เส้นสามใครรู้ดี รูว้ ิธเี ป็นแลตาย กำ� กบั ส�ำหรบั กาย ทกุ หญงิ ชายไม่เวน้ เลย ตำ� ราโรคนทิ านเปน็ บนั ทกึ ทก่ี ลา่ วถงึ ความสำ� คญั ของเสน้ ทง้ั สาม ซง่ึ ตรงกบั โยคะทก่ี ลา่ ววา่ นาฑที ส่ี ำ� คญั ท่ีสดุ มี ๓ นาฑี คือ อิทา ปงิ คลา และ สษุ มุ นา ๔) ลมประจำ� เสน้ ของอิทาคือ ลมเย็น ลมประจ�ำเส้นปงิ คลา เป็นลมรอ้ น ในตำ� ราโรคนทิ าน คำ� ฉนั ท์ ของพระยาวชิ ยาธบิ ดี (กลอ่ ม) ได้เขียนไวว้ า่ เกดิ เป็นเส้นอิทา ให้คลิ าน์ก�ำเรบิ ราญ เส้นนี้วิถผี า่ น แต่นาภีพาดหวั หน่าว แล่นตลอดลงตน้ ขา เลีย้ วตลอดหน้าสนั หลงั กล่าว แนบกระดูกสนั หลังราว ผ่านข้นึ ไปจนสุดเศียร แลว้ เกีย่ วเลย้ี วตลบลง นาสิกตรงซ้ายจ�ำเนยี ร ประจำ� ลมสถติ ยเ์ สถียร จันทะกาลาทุกราตรี ............................... ปิงคะลาทฆี ายาว กล่าวดังเสน้ อทิ าไซ้ จากครรภาขวาไป แลน่ ลงในหัวเหน่าขา เล้ยี วลอดตลอดหลัง สดุ ศรสี ังลงนาศา ประจำ� ลมสรู ย์กาลา ซกี ข้างขวาเป็นสำ� คัญ
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแหง่ การนวดไทย 176 ลมประจ�ำเสน้ ของนวดไทยตรงกับความเชื่อของโยคะ ท่วี า่ อฑิ านาที อิฑาเปน็ ภาษาสันสกฤต หมายถงึ “สะดวกสบาย” เร่ิมต้นและจบลงทางด้านซ้ายของสุษมุ นา ไปจบ สนิ้ ลงทรี่ จู มกู ขา้ งซา้ ย เสน้ อฑิ ายงั ตอ่ กบั อณั ฑะขา้ งซา้ ยของผชู้ าย อฑิ าเปน็ พลงั งานของเพศหญงิ ทำ� ใหเ้ ยน็ จะเขา้ ไปและสมั พนั ธก์ บั สมองซกี ขวาและรา่ งกายซกี ซา้ ย เรยี กลมนว้ี า่ “พระจนั ทร”์ หรอื “จนั ทรา” เนอื่ ง จากอิฑาสัมพันธ์กับพลังของพระจันทร์ อิฑาจึงควบคุมกระบวนการต่างๆทางจิตทั้งหมด มันน�ำพลังงาน ปราณยามะ หล่อเลีย้ งและช�ำระรา่ งกายและจิตใจใหบ้ รสิ ทุ ธ์ิ ปงิ คลานาฑี ปิงคลาเป็นค�ำสันสฤต หมายถึง “น�้ำตาลอ่อน” เร่มิ และสน้ิ สุดท่ีดา้ นขวาของสุษุมนา พาดผ่านอัณฑะ ขา้ งขวาของผู้ชาย และไปสน้ิ สดุ ทร่ี ูจมูกขวา ปิงคลานาฑเี ป็นพลังทแ่ี ข็งแรง มีความร้อนสูง เพิม่ พลังชีวิต ความแข็งแรงทางกายภาพ และประสิทธิภาพ ปิงคลาควบคุมร่างกายซีกขวาและสมองซีกซ้าย จึงยังถูก เรียกว่า “พระอาทติ ย”์ หรอื “ สุริยะ” เนื่องจากสัมพนั ธก์ บั พลงั ของพระอาทิตย์ จงึ ควบคมุ กระบวนการ ตา่ งๆของชีวิต ปงิ คลาจะเปิดและแสดงออก สษุ ุมนานาที สษุ ุมนาเปน็ ช่องทางเดนิ หลักของพลงั ประสาท นาฑนี ้ีต้งั อยภู่ ายในเมรุทันฑะหรือช่องกระดกู สนั หลัง สษุ ุ มนาจะเช่อื มระหวา่ งมลู ธารกบั สหัสสราร พลงั ของดวงอาทติ ย์และดวงจันทรเ์ คลอ่ื นไปตาม ๒ นาฑีหลัก คือ ปงิ คลา และอฑิ า ซึง่ ต้งั ตน้ จากรจู มูกขวาและซ้ายตามล�ำดับ และเคลือ่ นลงไปยังฐานของกระดกู สนั หลัง ปิงคลาคอื นาฑแี ห่งดวงอาทติ ย์ ส่วนอิฑาคอื นาฑีแหง่ ดวงจันทร์ โดยมสี ษุ มุ นาหรอื นาฑแี ห่งไฟ อยู่ระหวา่ งนาฑีทง้ั สอง ๕) การติดขัดของลมในแตล่ ะเสน้ ท�ำใหเ้ กดิ โรคและอาการตา่ งๆ การนวดไทยเชอ่ื วา่ ทางเดนิ ของลมตามเสน้ ตา่ งๆ ตอ้ งปลอดโปรง่ ถา้ มกี ารตดิ ขดั จะทำ� ใหเ้ กดิ โรคและ อาการต่างๆ หรืออาจเกิดจากลมที่เป็นโทษ ท�ำให้เกิดโรคภัย ดังนั้น การนวดไทยจึงมีโรคของลมต่างๆ จ�ำนวนมาก เชน่ ลมปะกัง ลมจบั โปง ลมมหิ ลมอมั พฤกษ์ อัมพาต เป็นตน้ การรกั ษาจึงเนน้ ท่ีการนวดตาม เสน้ ประธานทต่ี ดิ ขดั รวมท้งั การใชย้ าในการรักษาดว้ ย ในต�ำราโรคนทิ าน ค�ำฉันท์ ของพระยาวชิ ยาธบิ ดี (กล่อม) ไดเ้ ขยี นไว้ว่า
บทที่ 9 หลักธรรม ปรชั ญา สมฏุ ฐาน แบบแผนการนวดของนวดไทย 177 เสน้ เอน็ ยอ่ มเปน็ รู ลมเลือดชใู หฟ้ ฟู อน กำ� เรบิ มกั รมุ รอ้ น ใหศ้ ุขทกุ ข์ทกุ ราตรี เมื่อสบายเลอื ดลมเสมอ จึงราเรอกระเษมสี ยังหะทยั ให้เปรมปรี เพราะเส้นเอน็ ไม่กอ่ การ เส้นประธานทัง้ สบิ มีจุดเรมิ่ ต้นทส่ี ะดอื ซง่ึ แตกตา่ งจากโยคะ โยคะเชอื่ ว่า ในร่างกายมนษุ ยม์ ีศูนย์รวม พลงั เรียกวา่ จักระ จกั ระหลักมีอยู่ ๗แหง่ ตง้ั แตบ่ รเิ วณเชิงกรานเหนือทวารหนัก ขนึ้ ไปจนถงึ สมอง จกั ระ ท้ัง ๗ จะเชื่อมตอ่ กัน ในร่างกายของคนจะมีพลงั ซอ่ นเรน้ สงบอยู่ เรยี กวา่ “กุณฑาลนิ ”ี พลงั นี้จะสงบนิง่ อยทู่ ่ีจกั ระที่ ๑ พลงั น้ีจะถกู กระตุ้นขึน้ มาโดยวถิ ี ๘ ประการของโยคะ พลังดงั กลา่ วจะเคลื่อนจากจกั ระท่ี ๑ ถึงจักระที่ ๗ ทำ� ใหม้ สี ขุ ภาพดีและเกดิ การหย่ังรู้ได้ ในทางตรงกันขา้ ม ถา้ มีการปิดก้นั เสน้ ทางเหลา่ นี้ จะ ท�ำเกดิ โรคต่างๆ ทางรา่ งกายและจติ ใจ องคค์ วามรู้นวดไทยไมม่ กี ารกลา่ วถึงจักระแบบโยคะ แต่ท่คี ล้ายกันคือ การปดิ กัน้ ของทางเดนิ ลมตาม เส้น หรือท่โี ยคะเรยี กนาฑี จะทำ� ให้เกดิ โรคและความผดิ ปกติ ๔.๒ แบบแผนการนวด แมว้ า่ ทฤษฎที างการแพทยข์ องนวดไทยจะมหี ลกั ทฤษฎเี ชน่ เดยี วกบั โยคะ แตโ่ ยคะเปน็ หลกั ทฤษฎี ทผี่ ฝู้ กึ ตอ้ งปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง เพอ่ื กระตนุ้ ใหพ้ ลงั “กณุ ฑาลนิ ”ี ในรา่ งกายเกดิ ขน้ึ และเคลอื่ นทไี่ ปยงั จกั ระทงั้ ๗ เพอื่ ให้ร่างกายมพี ลงั มีสขุ ภาพดี และเกิดความสงบของจติ ส่วนนวดไทยน้ันเน้นท่ีหมอนวดกระท�ำต่อผู้ป่วยท่ีมีปัญหาการติดขัดของลม โดยการนวดตามเส้น ประธานสบิ และจุดต่างๆ เพือ่ ให้เลอื ดลมเดินสะดวก ดังนั้น ในสว่ นแบบแผนการนวดจงึ ไมไ่ ด้รบั มาจากโยคะอย่างแนน่ อน เพราะโยคะไม่มีเรอ่ื งการนวด เพื่อกระตุ้นพลังกุณฑาลินี เปน็ ไปไดท้ น่ี วดไทยอาจรบั และประยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฎขี องโยคะเรอื่ งนาฑมี าเปน็ เสน้ ทางเดนิ ของลม และ ใช้การนวดแทนการฝกึ ปราณ เพื่อให้ลมทีเ่ ดินในแต่ละเสน้ ประธานทงั้ สบิ ไมต่ ดิ ขัด ก. เปรียบเทียบการนวดไทยกับการนวดอายรุ เวท การนวดอายรุ เวทน้นั เชื่อวา่ รา่ งกายมนษุ ยป์ ระกอบดว้ ยปญั จมหาภตู ะ ไดแ้ ก่ ดนิ นำ้� ลม ไฟ และอากาศธาตุ (ชอ่ งวา่ ง)ปญั จม หาภตู ะจะรวมเปน็ ๓ กลุม่ เรียกวา่ โทษะ (dosha) ได้แก่ วาตะ ปิตตะ กผะ
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 178 เป้าหมายของการนวดอายุรเวท คือ การสร้างสมดุลของพลังงานในร่างกาย ในการคืนสมดุล การนวดอายุรเวทใช้สารต่างๆ เชน่ น้ำ� มัน ผงจากสารอาหารเช่น ถ่ัวเลนทิล น�้ำมันยา น้�ำมันหอมระเหย และผงสมุนไพรต่างๆ นอกจากน้ี ยงั มวี ิธกี ารนวดต่างๆ ขึ้นกบั ความจำ� เป็นของผู้ปว่ ยและโรคทเ่ี ปน็ เมอ่ื ทบทวนแบบแผนการนวดของอายรุ เวท พบวา่ การนวดอายรุ เวทเนน้ การนวดเพอ่ื ปรบั สมดลุ ตรีโทษะ ซงึ่ เปน็ ทฤษฎสี มฏุ ฐานของอายรุ เวท และเปน็ สมฏุ ฐานของการแพทยแ์ ผนไทยด้วย วิธกี ารนวด อายรุ เวทเน้นการนวดโดยการใชน้ ้ำ� มัน น้ำ� มันที่ใช้มหี ลากหลายประเภท ขน้ึ อยู่กบั วา่ ปรกติของผู้ป่วย (เจา้ เรอื น) เป็นประเภทไหน และตรโี ทษะเปน็ อะไร ใช้นำ้� มันหอมระเหยอะไร ใช้ผงสมนุ ไพรเพอื่ ปรับสมดุลตรี โทษะอะไรบ้าง การใช้น้�ำมันในการนวดอายรุ เวทถอื เป็นส่วนหนึง่ ของการรกั ษา การนวดไทยเชือ่ วา่ ร่างกายประกอบดว้ ยขนั ธ์ทง้ั ๕ แยกเปน็ รปู และ นาม รปู หรือภตู รูป ประกอบด้วยธาตุทง้ั ๔ คอื ดนิ น้�ำ ลม ไฟ แบบแผนการนวดไทย เป็นการนวดตามเส้นประธานเพื่อให้ลมเดินได้ดี ไม่เน้นการปรับสมดุล ตรีโทษะ ไม่นิยมการใช้น้�ำมันท่ีหลากหลายประเภทตามเจ้าเรือน จึงไม่น่าจะรับหรือสืบต่อแบบแผนการ นวดจากการนวดอายุรเวท การใชน้ ้ำ� มนั ในนวดไทย เพียงเพ่ือใหก้ ารนวดทำ� ไดง้ ่าย และใชก้ บั การนวดเด็ก และตอ้ งการความล่ืนในการนวดเป็นหลัก แมว้ า่ ภาพแผนนวด ภาพท่ี ๑๙-๖๐ ของวัดโพธิ์ เปน็ ภาพของเสน้ กับกองสมุฏฐานตา่ งๆ ตาม สมฏุ ฐานวนิ จิ ฉยั ซงึ่ เปน็ ทฤษฎที างการแพทยแ์ บบอายรุ เวทหรอื สมฏุ ฐานวนิ จิ ฉยั ของแพทยแ์ ผนไทย แตไ่ ม่ ปรากฏบันทึกค�ำอธิบายในต�ำราโรคนิทาน ค�ำฉันท์ หรือค�ำอธิบายในบันทึกอื่นๆ ท�ำให้ไม่สามารถค้นหา ความเปน็ มาและทฤษฎที างการแพทยข์ องภาพเหลา่ นไ้ี ด้ รวมทง้ั หมอนวดไทยรนุ่ ปจั จบุ นั ทเ่ี ปน็ ครหู มอนวด ก็ไม่มีการสืบทอดความรู้จากครูบาอาจารย์รุ่นก่อน และไม่มีแบบแผนการนวดตามภาพดังกล่าว ซ่ึงแตก ตา่ งจากเสน้ ประธานสิบ สนั นษิ ฐานได้เปน็ ๒ ทาง คือ หนึ่ง องค์ความรู้ขาดการสืบทอดอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้องค์ความรู้และแบบแผนการนวด ตั้งแตภ่ าพที่ ๑๙-๖๐ ขาดการสบื ทอดมายังหมอนวดไทยรุ่นปัจจุบัน สอง ภาพแผนนวดภาพที่ ๑๙-๖๐ อาจแตง่ ขน้ึ ภายหลงั ในสมยั รชั กาลท่ี ๓ โดยใชห้ ลกั ทฤษฎี ของการนวดอายุรเวท เก่ียวกับตรีโทษะที่ท�ำให้เกิดโรคและอาการ แต่แทนการใช้น�้ำมันนวด กลับใช้การนวดตามเสน้ และจุดแทนการนวดน�้ำมนั ข. เปรยี บเทยี บการนวดไทยกับการนวดเกราละและการนวดมรณะ เมื่อทบทวนการนวดเกราละ พบว่า การนวดเกรละนนั้ มีแบบแผนการนวดทใี่ ชเ้ ทา้ นวดผปู้ ว่ ย เพื่อสามารถให้การนวดที่ลึก แต่ยังยึดหลักการนวดด้วยน�้ำมันเหมือนการนวดอายุรเวท และมีใช้
บทท่ี 9 หลกั ธรรม ปรชั ญา สมุฏฐาน แบบแผนการนวดของนวดไทย 179 น�้ำมันจ�ำนวนมาก มีการใช้การประคบด้วยลูกประคบที่ท�ำจากข้าวอ่อน และยาพอกสมุนไพร มี การนวดเขา้ จงั หวะดว้ ยหมอนวดหลายคนเหมือนการนวดอายรุ เวท แบบแผนการนวดไทยนน้ั มีการใช้เท้าในการนวด เชน่ การเหยยี บเหล็กแดง การนวดเกราละใช้ เท้าเหยยี บนำ�้ มนั นวดธรรมดา นวดไทยมีการใชล้ กู ประคบแต่นยิ มทำ� จากสมนุ ไพร นวดไทยมีการใช้ ยาพอกเชน่ เดยี วกัน อย่างไรก็ตาม การนวดเกราละไมไ่ ด้มีหลักทฤษฎีความเชอื่ เรือ่ งนาฑี หรอื ทางเดินลมในรา่ งกาย แบบโยคะ แต่ค่อนไปทางหลักทฤษฎีของการนวดอายุรเวท เพียงแต่ใช้เท้าจุ่มน้�ำมันในการนวดตัว ผู้ป่วย ใช้นวดส�ำหรบั นักเตน้ รำ� (นกั ร�ำถวายเทพเจ้า) และนกั กีฬาที่ต้องการกำ� ลงั และความยดื หยุ่น แบบแผน และวิธีการนวดไทย มบี างอยา่ งทค่ี ล้ายกบั การนวดเกราละ แต่ไมน่ ยิ มใชน้ ้ำ� มันแบบ เกราละ เป็นไปได้ที่ นวดไทยอาจมีการแลกเปลีย่ นเรียนร้หู รือรบั วธิ กี ารนวดเกราละบางอย่าง เชน่ การใช้เท้านวด การใช้ลูกประคบ การใช้ยาพอก เพราะการนวดเกราละเป็นการนวดพื้นบ้านของ ทางใตข้ องอนิ เดยี ซ่ึงสุวรรณภมู ิรับตวั อกั ษรปลั ลวะจากทางใตข้ องอนิ เดียในราวพ.ศ. ๙๐๐-๑๓๐๐ ในชว่ งทแ่ี ควน้ ปลั ลาวะมคี วามเจรญิ สงู สดุ ในพ.ศ. ๑๓๐๐ ก่อนท่ีจะล่มสลายในปีพ.ศ. ๑๔๐๐
การนวดในพระไตรปิฎกและสายธารแห่งการนวดไทย 180 บทที่ 10 สายธารแห่ง การนวดไทย
บทท่ี 10 สายธารแหง่ การนวดไทย 181 ๑๒.. หกขาอลรงักเดธผนิรยรแแมดพแนรลส่แะุวลวระนิ รกยัณาใรภนรมูพับแิ ทุนลธับะศถชาือนสพชนราาะตพกิไทับุทยธกศาารสนนวาดไทย ๒.๑ ธรรมวนิ ัย ในพทุ ธศาสนา กับ ปรชั ญาของการนวดไทย ๒.๒ สัจธรรม ในพทุ ธศาสนา กบั ปรชั ญาการนวดไทย ๒.๓ หลกั ธรรมวินัย ในพทุ ธศาสนา กับ ทฤษฎีทางการแพทย์ สมฏุ ฐาน ของนวดไทย ๗๖๕ ๓๔๘...... ทหท๒สแห.ฤลฤ๔บรลษษกั ุปักบวฐฎฎฐแนิาีทที าผัยนาานนบใงงบนกกกนั นัพาาาททรทุรรึกนแแึกธเวศพพกเกาดี่ยททา่สไวยยแนทก์์กายสสบั ่อกมมนกน่ืับุฏุฏวับๆฐฐดกกาาาไทนนทรา่ีเนรกยขขนวย่ี กดออววไบังงดกทนนดบัยอวว้งั กัดดนเดษไไวททมิ รดอไยยไทนื่ทกกยๆยบัับ อโยาคยะุรเแวลทะฤๅษีดดั ตน การนวดไทยอนั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการแพทยแ์ ผนไทย นบั เปน็ อตั ลกั ษณข์ องภมู ปิ ญั ญาการแพทยด์ งั้ เดมิ ของชนชาตไิ ทยทม่ี ลี กั ษณะเฉพาะและแตกตา่ งจากชนชาตอิ นื่ ๆ อยา่ งไรกต็ าม ภมู ปิ ญั ญาดงั้ เดมิ ของแตล่ ะ ชนชาติ ไม่ไดถ้ ือก�ำเนิดข้นึ มาชั่วข้ามคนื แต่เป็นการส่ังสมและแลกเปล่ยี นระหว่างชนชาติตา่ งๆ อยา่ งต่อ เนื่องยาวนาน เม่ือรวมกบั วฒั นธรรม ความเชือ่ ของท้องถนิ่ กค็ ่อยหลอมรวมเปน็ ภมู ปิ ัญญาเฉพาะของชน ชาตนิ น้ั ๆ ชมุ ชนนนั้ ๆ การนวดไทยถือก�ำเนิดมาอย่างไร มีหลักปรัชญา สมุฎฐาน และแบบแผนการนวดอะไร มีการแลก เปล่ยี นกับภูมิปญั ญาการนวดดั้งเดิมของชนชาตอิ ื่นๆ อยา่ งไรบ้าง เราจะต้องนำ� หลักฐาน บนั ทึกต่างๆ ทง้ั หลายทง้ั ปวงทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ตง้ั แต่ การเผยแพรแ่ ละการรบั นบั ถอื พระพทุ ธศาสนาของดนิ แดนสวุ รรณภมู แิ ละ ชนชาตไิ ทย หลกั พระธรรมวนิ ยั ทเ่ี กย่ี วกบั การแพทย์ การนวด การดแู ลสขุ ภาพในพระไตรปฎิ ก พฒั นาการ ของตัวอักษรไทย และ ปรชั ญา ทฤษฎที างการแพทย์ สมฏุ ฐาน และแบบแผนการนวด ของนวดไทย มา พิจารณาร่วมกนั จงึ จะเห็นภาพความเป็นมาและพฒั นาการของนวดไทย
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแหง่ การนวดไทย 182 ๑. กขาอรงเดผนิ ยแแดพนรสแ่ วุลระรกณารภรมู บั ิแนลบั ะถชอืนพชราะตพไิ ททุ ยธศาสนา อิทธิพลของพระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมินั้นมีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน๑ พุทธศาสนาถือ ก�ำเนิดข้ึนในประเทศอินเดียเมอ่ื ๔๕ ปกี ่อนพทุ ธศักราช และได้หยงั่ รากลกึ ลงในดนิ แดนสุวรรณภูมิ และ รอบสวุ รรณภูมิบางสว่ น ทำ� ใหผ้ ู้คนสว่ นใหญ่นบั ถอื พระพุทธศาสนา นอกจากนี้ การเผยแพรพ่ ทุ ธศาสนา นัน้ มิได้มาจากอนิ เดียเพียงฝ่ายเดียว หลกั ฐานปรากฏชดั วา่ ชนชาตติ ่างๆ หรอื ประเทศตา่ งๆ ในดินแดน สวรรณภมู นิ น้ั เมอื่ เจรญิ รงุ่ เรอื งขนึ้ กม็ กี ารแลกเปลย่ี นเผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนาไปยงั ชนชาตอิ น่ื หรอื ประเทศ อื่น ดังเช่น จนี ศรลี ังกา ขอม พมา่ แม้กระท่ัง สยาม เปน็ ตน้ ดงั นนั้ แมว้ ่าพระพทุ ธศาสนาจะถูกท�ำลายจนสิน้ ไปจากอนิ เดยี (ปพี .ศ. ๑๗๔๑-๑๗๕๐) การเผยแพร่ และเตบิ โตของพทุ ธศาสนากย็ งั ด�ำรงอยู่ในประเทศตา่ งๆ ดงั ทก่ี ลา่ วมา การเผยแพร่และรับนับถือพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมิท�ำให้มีการเผยแพร่และรับการแพทย์ใน สายพระพุทธศาสนาเข้ามาในชนชาติหรือประเทศต่างๆ ไปด้วย การแพทย์ในสายพระพุทธศาสนาซึ่ง เปน็ การแพทยแ์ บบประจกั ษน์ ยิ มและเหตผุ ล (Empirico-rational) จงึ เขา้ มามบี ทบาทในการเยยี วยาและ ดแู ลสขุ ภาพของผคู้ นในดนิ แดนสวุ รรณภมู ิ หรอื อาจผสมผสานกบั การแพทยพ์ น้ื บา้ นเดมิ ทน่ี บั ถอื สงิ่ มอี ำ� นาจ เหนอื ธรรมชาติ จนพัฒนากลายเปน็ การแพทย์ด้ังเดิมของชนชาตติ า่ งๆ สำ� หรบั ชนชาตไิ ทยนัน้ ไดร้ ับนบั ถอื พระพุทธศาสนาเช่นเดียวกับชนชาติอืน่ ๆ ในสวุ รรณภมู ิ ดังน้ี • การเขา้ มาเผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนาเปน็ ครงั้ แรกในดนิ แดนสวุ รรณภมู ิ โดยสมณทตู ของพระเจา้ อโศก มหาราช (พ.ศ. ๒๓๕-๒๓๖) • ราวพ.ศ. ๖๒๑ (ค.ศ. ๗๘) พระเจ้าม่ิงตี่ แหง่ ราชวงศ์ฮน่ั ทรงส่งทตู สันถวไมตรีมายงั ขนุ หลวงเมา้ กษัตริย์ไทยแห่งอาณาจักรอ้ายลาว คณะทูตได้น�ำพระพุทธศาสนาเข้ามาด้วย ท�ำให้หัวเมืองไทยท้ัง ๗๗ หวั เมอื งมรี าษฎร ๕๑,๘๙๐ ครอบครวั จำ� นวนคนประมาณ ๕๕๓,๗๐๐ คน หนั มารบั นบั ถอื พระพทุ ธศาสนา เปน็ คร้ังแรก • พ.ศ. ๑๑๕๐ (ประมาณค.ศ. ๖๑๗) อารยธรรมทวาราวดี ของชนชาตมิ อญ ไดเ้ จรญิ รุง่ เรอื งเดน่ ขน้ึ มาในดนิ แดนทเี่ ป็นประเทศไทยปจั จุบัน แถบลุ่มแม่น�ำ้ เจา้ พระยาตอนลา่ ง ต้งั เมอื งหลวงทีน่ ครปฐม เป็น แหล่งรับวัฒนธรรมชมพูทวีป รวมท้ังพระพุทธศาสนา แล้วเผยแพร่ออกไปในเขมร พม่า ไทยอยู่นานจน เลือนหายไปในอาณาจักรสยามยคุ สโุ ขทัยแห่งพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘-๑๙ • พ.ศ. ๑๓๐๐ (ค.ศ. ๗๕๗) ในชว่ งเวลานี้ ดินแดนท่เี ป็น (ภาคใตข้ องประเทศไทยปจั จุบนั ยังรวมอยู่ ในเขตของอาณาจักรศรวี ชิ ยั (เปน็ อาณาจกั รใหม่สำ� คัญเกดิ ขึ้น พ.ศ. ๑๑๐๐ หรือ ราว ค.ศ. ๖๐๐ นบั ถอื ๑ ในปจั จบุ นั ศาสนาพทุ ธไดเ้ ผยแผไ่ ปทวั่ โลก โดยมจี ำ� นวนผนู้ บั ถอื สว่ นใหญอ่ ยใู่ นทวปี เอเชยี ทง้ั ในเอเชยี กลาง เอเชยี ตะวนั ออก และ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ปจั จบุ นั ศาสนาพทุ ธ ไดม้ ผี นู้ บั ถอื กระจายไปทว่ั โลก ประมาณ ๗๐๐ ลา้ นคน โดยมผี นู้ บั ถอื ในหลายประเทศ
บทที่ 10 สายธารแหง่ การนวดไทย 183 พทุ ธศาสนาแบบมหายาน) ทางภาคใตข้ องไทยปจั จบุ นั จงึ รงุ่ เรอื งและรบั นบั ถอื พทุ ธศาสนาจากอาณาจกั ร ศรีวิชยั ดว้ ย • พ.ศ. ๑๕๕๐ (ค.ศ. ๑๐๐๗) ในชว่ งเวลาน้ี อาณาจกั รขอมโบราณเรอื งอำ� นาจ ปกครองถงึ ดินแดนท่ี เป็นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือและภาคกลางของประเทศไทยปัจจุบัน โดยตัง้ ละโว้หรือลพบุรเี ป็นราชธานี แถบนี้ พทุ ธศาสนาแบบมหายานท่ขี อมรบั จากศรีวิชยั ผสมกบั ศาสนาฮินดู จงึ เขา้ มาปะปนกับพุทธศาสนา แบบเถรวาทท่ีสบื มาแตเ่ ดิม • พ.ศ. ๑๕๘๗ (ค.ศ. ๑๐๔๔) พมา่ ตง้ั อาณาจกั รพกุ าม ไดแ้ ผอ่ าณาเขตมาถงึ ลา้ นนา ลา้ นชา้ ง จดลพบรุ ี และทวาราวดี เปน็ เหตุให้ศาสนาพุทธเถรวาทเผยแพรใ่ นดนิ แดนเหล่าน้ดี ้วย • พ.ศ. ๑๘๑๘ (ค.ศ. ๑๒๗๕) หรอื พ.ศ. ๑๘๒๒ (ค.ศ. ๑๒๗๙) พ่อขนุ รามค�ำแหงมหาราช ไดแ้ ผข่ ยาย พระราชอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง ทรงประดิษฐ์ตัวอักษรไทยในปีพ.ศ. ๑๘๒๖ ทรงต้ังคณะสงฆ์ ลังกาวงศ์ พระพทุ ธศาสนาเถรวาท เป็นศาสนาประจำ� ชาติ • พ.ศ. ๑๘๙๓ (ค.ศ. ๑๓๕๐) พระเจา้ อทู่ อง (รามาธบิ ดที ี่ ๑) ตง้ั กรงุ ศรีอยุธยา • พ.ศ. ๑๘๙๖ (ค.ศ. ๑๓๕๓) ทเ่ี มอื งลาว เจา้ ฟา้ งุ้มต้ังอาณาจกั รล้านช้าง เป็นอิสระจากขอม ครอง ราชย์ทเ่ี มืองหลวงพระบาง ยกพระพุทธศาสนาเถรวาทเปน็ ศาสนาประจ�ำชาติ การรบั นบั ถอื พทุ ธศาสนาของชนชาตไิ ทย (และชนชาตอิ น่ื ๆ ในสวุ รรณภมู )ิ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและยาวนาน กวา่ ๒ ศตวรรษ ทำ� ใหผ้ คู้ นในแถบสวุ รรณภมู สิ ว่ นใหญน่ บั ถอื ศาสนาพทุ ธ๒ การรบั นบั ถอื พทุ ธศาสนา ทำ� ให้ มีการรบั เอาการแพทยใ์ นสายพระพุทธศาสนาเขา้ มาในแต่ละชนชาติ รวมท้งั ชนชาติไทย นอกเหนือจากพระพุทธศาสนาแล้ว ยังมีการเผยแพร่ของฮินดูที่มากับพราหมณ์ ท�ำให้เกิดการผสม ผสานความเชื่อแบบพทุ ธ กับฮนิ ดู และความเช่ือเร่ืองผที ่มี ีอยู่เดมิ จนทำ� ใหม้ ีการเลือกรบั ปรับใช้เปน็ การ แพทยด์ ัง้ เดมิ ของชนชาติตา่ งๆ ๒. หลักธรรมวินยั ในพระพทุ ธศาสนา กบั การนวดไทย ในพระวนิ ยั และพระสตู ร มบี นั ทกึ เกยี่ วกบั การดแู ลสขุ ภาพ การเยยี วยา การบำ� บดั รกั ษาโรคและความ เจบ็ ปว่ ยในหมภู่ กิ ษแุ ละภกิ ษณุ เี ปน็ จำ� นวนมาก อยา่ งนอ้ ย ๑๐๔ หวั ขอ้ อยใู่ นพระวนิ ยั อยา่ งนอ้ ย ๘๘ หวั ขอ้ ในพระสุตตนั ตปิฎกอย่างนอ้ ย ๑๖ หัวข้อ มบี นั ทกึ วา่ ดว้ ยนวด ในพระวนิ ยั และพระสตู รอยา่ งนอ้ ย ๕๘ หวั ขอ้ เปน็ บนั ทกึ ทก่ี ลา่ วถงึ การนวด การอบ การทานำ้� มนั การรม ประมาณ ๒๕ หวั ขอ้ เปน็ บนั ทกึ เกย่ี วกบั การพยาบาลเยยี วยาและสขุ อนามยั ๓๓ หวั ขอ้ หลกั ธรรมและวนิ ยั ทเ่ี กยี่ วกบั การแพทย์ การนวด การดแู ลสขุ ภาพ ในพระไตรปฎิ ก มผี ลตอ่ การแพทย์ แผนไทยและการนวดไทยอยา่ งยง่ิ เพราะไดก้ ำ� หนดเปน็ ปรชั ญา ทฤษฎที างการแพทย์ สมฏุ ฐาน แบบแผน การนวด ของการนวดไทย ดังน้ี ๒ มองโกเลยี ภฏู าน กมั พชู า ญป่ี นุ่ ไตห้ วนั ลาว ไทย เมยี นมา เวยี ดนาม ศรลี งั กา จนี เปน็ ตน้
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 184 ๒.๑ ธรรมวนิ ยั ในพทุ ธศาสนา กบั ปรัชญาของการนวดไทย พระพุทธเจ้าทรงบญั ญตั ิหลักธรรมวินัย๓ สำ� คญั เกย่ี วกบั การดแู ลสุขภาพและเยียวยารกั ษาโรค ไว้วา่ สงฆต์ อ้ งพยาบาลภิกษุไขน้ ั้น ถ้าไม่พยาบาล ต้องอาบตั ทิ กุ กฎ ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ผู้จะพยาบาลเรากจ็ งพยาบาลภกิ ษุไข้เถิด ธรรมวนิ ยั ขอ้ นี้ ไดก้ ลายเปน็ หลกั การใหญ่ หรอื จดุ มงุ่ หมายสงู สดุ ของการแพทยใ์ นทศั นะของพระพทุ ธ ศาสนา และสืบทอดมาเปน็ หลักการใหญข่ องการแพทยด์ ง้ั เดมิ ของการแพทย์ประเทศตา่ งๆ ทน่ี บั ถือพุทธ ศาสนา การนวดไทยไดร้ บั หลักธรรมขอ้ น้ีมาเปน็ ปรัชญาชองการนวดไทยเช่นเดยี วกนั โดยดไู ดจ้ าก ๑. คมั ภรี ฉ์ นั ทศาสตร์ ไดก้ ลา่ วถงึ การกราบไหวพ้ ระรตั นตรยั และเทพตา่ งๆ ของฮนิ ดู มกี ารกลา่ วถงึ หมอนวดและหมอยา ตอ้ งเรยี นรคู้ มั ภรี ไ์ สยดว้ ย เนน้ แพทยต์ อ้ งจำ� และปฏบิ ตั ติ าม ๑๔ ขอ้ เชน่ ไม่หวงั ลาภ ไม่โกหก ไมโ่ กรธ ไม่หลงในกาม ต้องมีความรูช้ ำ� นาญคัมภรี ต์ ่างๆ เปน็ ตน้ นอกจากนี้ แพทย์จะต้องนับถือศีล ๕ และศลี ๘ ๒. จรรยาแพทย์ บทไหวค้ รูแพทย์แผนไทย เรียบเรยี งโดย พระยาวชิ ยาธิบดี (กล่อม) ซ่งึ เรียบเรยี ง จากคัมภีรฉ์ ันทศาสตร์ ไดก้ ลายเป็นจรรยาบรรณของหมอนวดไทย และหมอแผนไทย ๓. วิถีปฏิบัติของหมอนวด จะเป็นแบบแผนเดียวกัน ท้ังหมอนวดไทย หมอนวดอีสาน หมอนวด ลา้ นนา โดยหมอนวดจะนบั ถอื พทุ ธ หมอนวดจะตอ้ งเปน็ ผทู้ อ่ี ยใู่ นศลี ในธรรม ยดึ หลกั พรหมวหิ าร ๔ เพื่อใหม้ เี มตตา กรุณา มุทติ า กับคนไขท้ ีม่ ารักษา ตง้ั มน่ั ศีล ๕ กอ่ นการนวดต้องมีการไหว้ครู และบูชาครู ไม่มีการเรียกร้องค่ารักษา หมอนวดอีสานถือว่า “การรักษาผู้ป่วยเป็นการท�ำบุญ การดูแลญาติผู้ปว่ ยถือว่าเป็นการทำ� ทาน” นอกจากนี้ พระวนิ ัยยังให้ความส�ำคญั กบั ผู้ปว่ ยและผพู้ ยาบาล (ปรุงยาเป็น รจู้ ักของแสลง ไม่เหน็ แกอ่ ามิส ไมร่ ังเกียจส่งิ ปฏกิ ูลของผปู้ ่วย เจรจากบั ผู้ปว่ ย) ว่า เป็นปัจจัยส�ำคัญทจี่ ะท�ำใหห้ ายจากโรค ซ่ึง การก�ำหนดวินัยข้อน้ีมีความส�ำคัญ เพราะเป็น การแพทย์แบบประจักษ์นิยมและเหตุผล ตามหลักของ พระพทุ ธศาสนาในสมยั พทุ ธกาล ซง่ึ ตา่ งจาก วฒั นธรรมการแพทยแ์ บบแบบไสยศาสตร-์ ศาสนา ตามความ เชอื่ ของฮนิ ดู หรือความเชื่อเรอ่ื ง ผี ของหมอพนื้ บ้านในดินแดนสวุ รรณภมู ิ ๒.๒ สัจธรรม ในพุทธศาสนา กับ ปรชั ญาการนวดไทย ปรัชญาของการนวดไทยนั้น ยึดถือตามสัจธรรม ของพุทธศาสนาท่ีมุ่งเน้นการเข้าใจชีวิตที่แท้จริง และการหลดุ พ้นจากความทกุ ข์ ไดแ้ ก่ ๓ พระไตรปฎิ กเลม่ ท่ี ๐๕ วนิ ยั ปฎิ กท่ี ๐๕ มหาวรรค ภาค ๒ เรอื่ งภกิ ษอุ าพาธเปน็ โรคทอ้ งรว่ งและบคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยองค์ ๕ ควร พยาบาลภกิ ษไุ ข้
บทท่ี 10 สายธารแหง่ การนวดไทย 185 ๑. อรยิ สัจ ๔๔ ได้แก่ ทุกข์ สมทุ ยั นิโรธ มรรค เข้าใจวา่ การ เกิด แก่ เจ็บ ตาย น้นั เป็นทุกข์ ดังนนั้ การนวดไทย และการแพทยแ์ ผนไทยจงึ มที ศั นะตอ่ การรกั ษาวา่ เพอื่ ใหพ้ น้ จากทกุ ขท์ างกาย และ เพื่อให้กายพรอ้ มทจ่ี ะศกึ ษาและปฏิบัตธิ รรมเพ่อื หลดุ พน้ ความทุกขท์ ี่แทจ้ รงิ ๒. รา่ งกายเปน็ สงิ่ ปฏกิ ลู ๕ มองวา่ รา่ งกายนเี้ ปน็ เพยี งเพอ่ื อาศยั เจรญิ ญาณ เจรญิ สตเิ ทา่ นน้ั ไมอ่ าศยั (ตัณหาและทิฏฐ)ิ อยู่ และไม่ยดึ มั่นถือมน่ั อะไรๆ ๓. ชวี ติ ประกอบขน้ึ จากขนั ธ์ ๕ ไดแ้ ก่ รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ เมอ่ื เกดิ การยดึ มน่ั ถอื มน่ั วา่ ขันธ์ ๕ เป็นของเรา กจ็ ะเปน็ อปุ ทานขันธ์ หลกั ธรรมว่าด้วยขนั ธ์ ๕ ไดเ้ ป็นสมฏุ ฐานของการแพทย์แผนไทย และการนวดไทย ๒.๓ หลกั ธรรมวินยั ในพุทธศาสนา กับ ทฤษฎที างการแพทย์ สมุฏฐาน ของนวดไทย หลักธรรมวินัย ที่ได้เป็น ทฤษฎีทางการแพทย์ และ สมุฏฐาน ของการนวดไทย (และการแพทย์ แผนไทย) มีดงั น้ี ๑. ชวี ิตประกอบขึน้ จากขันธ์ ๕ ทฤษฎที างการแพทยข์ องการนวดไทย (และการแพทย์แผนไทย) มองชีวิตตามหลกั ธรรมในหระ พุทธศาสนา วา่ ด้วยเรือ่ งขันธ์ ๕ ไดแ้ ก่ รปู ๖ กบั นาม (เวทนา สญั ญา สังขาร วิญญาณ) การนวดไทย (การแพทย์แผนไทย) เชื่อว่า รูปหรือกายน้ัน ประกอบด้วย มหาภูตรูป ๔ หรือ ธาตุท้งั ๔ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ และแต่ละธาตุ ประกอบดว้ ยธาตตุ า่ งๆ ตาม พระธรรมวนิ ัยในพระพทุ ธศาสนา หลักธรรมข้อน้ีได้กลายเป็นทฤษฎีของการแพทย์ในพระพุทธศาสนา และได้สืบทอดต่อเป็น ทฤษฎีการแพทย์ดั้งเดิมของประเทศต่างๆ ท่ีนับถือพุทธศาสนา รวมท้ังเป็นทฤษฎีการแพทย์ แผนไทยและ ทฤษฎีการนวดไทย ๒. สาเหตขุ องความเจ็บปว่ ย หรือโรค พระพทุ ธเจา้ ไดก้ ลา่ วถงึ สาเหตขุ องการเกดิ โรค๗ วา่ เกดิ จาก นำ�้ ดี เสลด ลม สาเหตจุ ากไขส้ นั นบิ าต ฤดแู ปรปรวน การบรหิ ารท่ีไม่สม่�ำเสมอ ความเพียรเกินกำ� ลัง วิบากกรรม ความหนาว ความรอ้ น ความหิว ความกระหาย ปวดอุจจาระ ปวดปัสสาวะ หลกั ธรรมเรอื่ งสมฏุ ฐานโรคนี้ ไดป้ รากฎอยใู่ นทฤษฎกี ารแพทยแ์ ผนไทยวา่ ดว้ ยสมฏุ ฐานในคมั ภรี ์ สมฏุ ฐานวนิ ิจฉัย วา่ ด้วย ธาตสุ มฏุ ฐาน อายุสมฏุ ฐาน อตุ ุสมฏุ ฐาน และกาลสมฏุ ฐาน นอกจากนี้ ยงั มีปรากฏเพิ่มเตมิ เก่ยี วกบั ประเทศสมุฏฐาน และอริ ิยาบถตา่ งๆ ในคมั ภรี ว์ รโยคสาร นอกจากน้ี ยังมปี รากฏในคัมภรี ์ธาตวุ ิวรณ์ ว่าดว้ ย อาพาธ ๘ ๔ พระไตรปฎิ ก เลม่ ท่ี ๑๓ สตุ ตนั ตปฎิ กที่ ๐๔ มชั ฌมิ นกิ าย มลู ปณั ณาสก:์ มหาหตั ถปิ โทปมสตู ร ๕ พระไตรปฎิ กเลม่ ที่ ๑๐ สตุ ตนั ตปฎิ กท่ี ๐๒ ทฆี นกิ าย มหาวรรคกายานปุ สั สนา: หมวดมนสกิ ารสง่ิ ปฏกิ ลู ๖ พระไตรปฎิ ก เลม่ ที่ ๑๓ สตุ ตนั ตปฎิ กท่ี ๐๔ มชั ฌมิ นกิ าย มลู ปณั ณาสก์ ๗ ในพระไตรปฎิ กภาบาลมี กี ารกลา่ วถงึ สมฏุ ฐานวทิ ยาน้ี โดยสวี กะ นกั พรตผจู้ ารกิ ไดก้ ราบทลู ถามพระพทุ ธเจา้ ถงึ สาเหตขุ องความทกุ ข์ ของมนษุ ย์ พระพทุ ธเจา้ ทรงอธบิ ายวา่ สาเหตขุ องความทกุ ขข์ องมนษุ ยม์ ี ๘ อยา่ ง คอื ดี เสลด ลม และการผสมผสานของทง้ั สามอยา่ ง ฤดู การกระทำ� ทผี่ ดิ ธรรมชาติ ปจั จยั ภายนอก ผลของกรรม
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแหง่ การนวดไทย 186 ๒.๔ วินยั ในพทุ ธศาสนา กับ การนวดไทย วนิ ยั ในพระพทุ ธศาสนากบั การนวดนนั้ เนน้ การนวดเพอื่ การรกั ษา ถา้ ทำ� การนวดเพอื่ การรกั ษาพระ ภกิ ษแุ ละภกิ ษณุ ี ถอื วา่ ไมอ่ าบตั ิ แตถ่ า้ ทำ� การนวดทไี่ มเ่ ปน็ ไปเพอื่ การรกั ษา ถอื วา่ อาบตั ิ เพราะไมท่ ำ� ใหเ้ กดิ ความเลอ่ื มใสในภกิ ษแุ ละภิกษณุ ี พระธรรมวินัย ไม่อธิบายหรือกล่าวถึงวิธีการนวด แต่ได้กล่าวอนุญาตและห้ามวิธีการนวดท่ีใช้อยู่ ท่ัวไปในสังคมอินเดยี ได้แก่ การนวด การอบตัว การทาน�้ำมนั การรมเหงอื่ การรมดว้ ยใบไม้ การรมใหญ่ อา่ งน้�ำ การใช้เขาสัตว์ กอกระบายโลหติ ออก ยาทาเทา้ ปรงุ นำ�้ ยาทาเทา้ ผา้ พนั แผล ชะดว้ ยนำ้� แปง้ เมลด็ ผกั กาด รมแผลดว้ ยควนั น�ำ้ มันทาแผล การนวดตัวของภิกษุณดี ้วยกระดูกแข้งโค ไม้ นวดตามสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย การรีดครรภ์ และการนาบครรภ์ (เพอ่ื ให้แทง้ ) ขัดสกี ายกับต้นไม้ เสาถูตวั การใชไ้ ม้หอมถูตวั การถูตัวใหก้ นั และกัน การ ถูตวั ด้วยเกลียวผา้ และมือถูหลัง การถตู วั กบั ตน้ ไม้ การนวดไทยมีแบบแผน และวิธีการนวดหลายอย่าง เหมือนการนวดด้งั เดิมของอนิ เดยี ตั้งแต่ การ นวด การอบตัว การทานำ้� มัน การรมวิธกี ารตา่ งๆ ๓. ทฤษฎที างการแพทย์ สมฏุ ฐาน ของนวดไทย กับ โยคะ และฤๅษดี ัดตน ทฤษฎที างการแพทย์ และสมฏุ ฐานของการนวดไทย ในคมั ภรี ์เก่าแกข่ องการนวดไทย ๔ คมั ภีร์ (ศิลา จารกึ ภาพแผนนวดวัดโพธ์ิ ๖๐ ภาพ, โรคนิทาน คำ� ฉันท์ ของพระยาวชิ ยาธิบดี(กลอ่ ม), แผนนวด ๑ และ ๒ เวชศาสตรฉ์ บบั หลวง, คมั ภรี ์แผนนวด ฉบบั วัดสวุ รรณาราม) ตรงกับทฤษฎีของโยคะ ดงั น้ี ๑. นวดไทยเชือ่ ว่า ร่างกายมีเส้นอยูใ่ นร่างกายถึง ๗๒,๐๐๐ เส้น เส้นเปน็ ทางเดนิ ของลม ท�ำใหร้ า่ งกายมีพลัง หรือ เคลอ่ื นไหว ทำ� งานตา่ งๆ ได้ตามปรกติ ตรงกบั โยคะท่เี ชอ่ื วา่ เสน้ ทางเดนิ ของพลังงานหรอื นาฑี มนี าฑี ๗๒,๐๐๐ นาฑเี ป็นชอ่ งให้พลงั กุณฑลนิ ี เคลอื่ นท่ี ๒. นวดไทยเช่ือว่า การตดิ ขดั ของลมในแต่ละเสน้ ทำ� ใหเ้ กดิ โรคและอาการตา่ งๆ ตรงกับโยคะที่เชอ่ื วา่ พลัง กณุ ฑาลนิ ี จะสงบนง่ิ อยู่ที่จักระท่ี ๑ พลงั น้ีจะถูกกระตุน้ ขึ้นมาโดยวิถี ๘ ประการของโยคะ พลงั ดงั กลา่ วจะเคลื่อนจากจกั ระท่ี ๑ ถงึ จักระท่ี ๗ ทำ� ใหม้ ีสขุ ภาพดี ในทางตรงกนั ขา้ ม ถา้ มีการ ปดิ กนั้ เสน้ ทางเหลา่ น้ี จะท�ำเกดิ โรคตา่ งๆ ทางรา่ งกายและจิตใจ
บทที่ 10 สายธารแห่งการนวดไทย 187 ๓. นวดไทยเช่อื วา่ เส้นท่สี �ำคัญท่ีสุดมี ๓ เสน้ หลัก คอื อทิ า ปงิ คลา สุสมุ นา ตรงกบั โยคะที่เช่ือว่า นาฑีทส่ี �ำคญั ท่ีสุด มี ๓ นาฑี ไดแ้ ก่ อฑิ า ปงิ คลา สุษมุ นา ๔. เส้นประธานอย่างน้อย ๔ เสน้ ของนวดไทย มีช่ือเดยี วกับ นาฑีของโยคะ ไดแ้ ก่ อทิ า ปงิ คลา สสุ ุมนา และกาลทารี จงึ เปน็ ไปไดท้ ี่ การนวดไทยไดร้ บั เอาทฤษฎขี องโยคะเรอ่ื งนาฑี และพลงั กณุ ฑาลนิ ี มาเปน็ ทฤษฎที างการ แพทยข์ องนวดไทยวา่ ดว้ ยเสน้ ทางเดนิ ลมในรา่ งกาย รวมทง้ั แนวเสน้ ประธานสบิ ของนวดไทย กอ็ าจประยกุ ต์ รับเอาแนวนาฑีหลักของโยคะมาด้วย เพราะมีช่ือเส้นประธานอย่างน้อย ๔ เส้นเป็นชื่อเดียวกับเส้นนาฑี ของโยคะ แต่นวดไทยไม่รบั เอาเร่ืองอน่ื ๆ ของโยคะ เชน่ เร่ือง จักระ การฝกึ ปราณ อาสนะ เขา้ มาในทฤษฎกี าร แพทยข์ องนวดไทย จงึ พบว่า ก�ำเนดิ ของเสน้ ประธานท้ังสบิ น้นั มาจากสะดอื ซงึ่ ต่างจากจักระทงั้ ๗ ของ โยคะ เรือ่ งอาสนะของโยคะนั้น ไทยได้รบั อาสนะบางทา่ และดดั แปลงเป็น ฤๅษีดดั ตน ๘๐ ทา่ โดยมเี ป้า หมายเพยี งแค่ เอาแต่วธิ ีดัดตวั แกเ้ มือ่ ยขบมาใชเ้ ทา่ น้ัน ๔. ทฤษฎที างการแพทย์ สมุฏฐาน ของนวดไทย กับ อายรุ เวท ภาพแผนนวด ภาพที่ ๑๙-๖๐ ของวดั โพธิ์ เปน็ ภาพของเสน้ กบั กองสมฏุ ฐานตา่ งๆ ตามสมฏุ ฐานวนิ จิ ฉยั ซึ่งเป็นทฤษฎีทางการแพทย์แบบอายุรเวท หรือสมุฏฐานวินิจฉัยของแพทย์แผนไทย แต่ไม่ปรากฏบันทึก ค�ำอธิบายในต�ำราโรคนิทาน ค�ำฉันท์ หรือค�ำอธิบายในบันทึกอ่ืนๆ รวมท้ังไม่มีการสืบทอดความรู้และ แบบแผนการนวดมายังหมอนวดไทยร่นุ ปัจจุบนั สนั นิษฐานว่า ภาพแผนนวดภาพท่ี ๑๙-๖๐ อาจจะแต่งขึน้ ในสมัยรชั กาลที่ ๓ โดยใชห้ ลกั ทฤษฎีของ การนวดอายรุ เวทและแพทยแ์ ผนไทยเกย่ี วกบั ตรโี ทษะ ทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ โรคและอาการ แตแ่ ทนการใชน้ ำ�้ มนั นวด แบบอายรุ เวท กลับใชก้ ารนวดตามเสน้ และจดุ แทน ๕. แบบแผนการนวดไทย กับ การนวดด้งั เดมิ อ่ืนๆ แบบแผนการนวดหลกั ของนวดไทย๘ ได้แก่ การนวดตามเส้นประธานสิบ และนวดตามจุดต่างๆ ท่ีสัมพันธ์กับเส้นประธาน และมีท่าในการนวด หลัก ๔ ท่า ได้แก่ ท่านอนหงาย ท่านอนตะแคง ทา่ นอนควำ่� และทา่ นั่ง โดยเร่ิมจากการนวดในทา่ นอน หงาย นวดจากเท้าข้ึนไปขา จากมือไปแขน แล้วนวดในท่านอนตะแคง นวดจากเท้าไปขา สะโพก เอว ๘ ภก.ดร.ยงศกั ด์ิ ตนั ตปิ ฎิ ก, ผศ.ภญ.สำ� ลี ใจดี (บรรณาธกิ าร). ตำ� ราการนวดไทย ฉบบั ปรบั ปรงุ แกไ้ ข เลม่ ๑. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๕. สมทุ รสาคร: บรษิ ทั พมิ พด์ ี จำ� กดั ; ๒๕๕๙..
การนวดในพระไตรปิฎกและสายธารแห่งการนวดไทย 188 และหลงั แลว้ เปลย่ี นเปน็ ทา่ นอนควำ่� นวดเทา้ ขา สะโพก และหลงั อกี ครงั้ แลว้ กลบั มานอนหงายกดฝา่ เทา้ ยดื ขอ้ ตะโพก และหลงั เพอื่ เปลย่ี นมานวดในทา่ นงั่ ในทา่ นง่ั มกี ารนวดหลงั สะบกั บา่ คอ ศรี ษะ และใบหนา้ วธิ กี ารนวดนั้นมีต้ังแต่ กด ถู คลึง ลบู บีบ ดัด ดงึ ซง่ึ เป็นวิธีการนวดทัว่ ๆ ไปของการนวดด้ังเดมิ ตา่ งๆ มี การใช้เฉพาะมือ หรือทุกสว่ นของร่างกายของหมอนวดในการนวดผู้ปว่ ย การนวดไทยยงั นยิ มใช้การอบ ประคบ ร่วมกบั การนวด การนวดนำ�้ มันของนวดไทยนน้ั ใช้เพื่อให้เกิดความลืน่ ในการนวด ซง่ึ ใชก้ ับการนวดเดก็ หรือเด็กเลก็ ผู้ สงู อายุ หรอื การนวดบริเวณกระดกู และข้อทีบ่ าดเจบ็ แบบแผนการนวดพ้ืนบ้านของไทยมีการใช้เท้าในการนวด เช่นการเหยียบเหล็กแดง หรือย่�ำขาง คลา้ ยคลึงกับการนวดเกราละของอนิ เดยี ทีใ่ ช้เทา้ เหยียบน�้ำมนั แลว้ มานวดผปู้ ว่ ย การนวดเกราละใชน้ วด สำ� หรับนักเต้นร�ำ (นกั ร�ำถวายเทพเจา้ ) และนกั กฬี าทตี่ อ้ งการก�ำลังและความยืดหยนุ่ นวดไทยมกี ารใช้ลูก ประคบแต่นยิ มท�ำจากสมุนไพร และมีการใช้ยาพอกเช่นเดียวกัน เปน็ ไปไดท้ ี่ นวดไทยอาจมกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรหู้ รอื รบั วธิ กี ารนวดเกราละบางอยา่ ง เชน่ การใชเ้ ทา้ นวด การใช้ลูกประคบ การใช้ยาพอก เพราะการนวดเกราละเป็นการนวดพ้ืนบ้านของทางใต้ของอินเดีย ซ่ึง ชนชาตติ ่างๆ ในดนิ แดนสุวรรณภมู ไิ ดร้ บั ตวั อกั ษรปลั ลวะจากทางใตข้ องอินเดียในราวพ.ศ. ๙๐๐-๑๓๐๐ และคอ่ ยววิ ฒั นจ์ นกลายเปน็ อกั ษรชนชาตติ า่ งๆ รวมทง้ั อกั ษรไทย การรบั ตวั อกั ษรปลั ลวะเขา้ มา ทำ� ใหเ้ กดิ การรับอารยธรรมด้านอื่นๆ เข้ามาดว้ ย ๖. หลกั ฐานบนั ทกึ เกยี่ วกบั นวดไทย และ อกั ษรไทย หลกั ฐานบนั ทึกด้วยตวั หนงั สอื น้นั เกา่ แกท่ ส่ี ดุ คือ ท�ำเนยี บศักดนิ าข้าราชการฝ่ายพลเรือน (พระไอ ยการ ตำ� แหน่งนาพลเรอื น) ตราข้ึนในปี พ.ศ.๑๙๙๘ ในสมยั กรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. ๑๘๙๓-๒๓๑๐) โดย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.๑๙๙๑-๒๐๓๑) กลา่ วคอื มีขา้ ราชการในกรมแพทยา กรมแพทยาโรง พระโอสถ กรมหมอยา กรมหมอนวด กรมหมอยาตา กรมหมอวรรณ การบันทกึ ด้วยตัวอักษรก่อนหน้านัน้ ไม่ปรากฏหลกั ฐาน ทัง้ น้ีเพราะ ตัวอกั ษรจากชมพทู วีปท่ีแพรเ่ ขา้ มาถงึ ดินแดนอุษาคเนยเ์ ป็นรุ่นแรกๆ เทา่ ที่พบในจารกึ ของทกุ แคว้นหรือทุกรัฐของภูมิภาคน้ี เป็นตัวอกั ษร ทว่ี วิ ฒั นาการจากอกั ษรพราหมณห์ รอื อกั ษรพราหมี เมอื่ ราวปพี .ศ. ๙๐๐ แตน่ ยิ มเรยี กชอื่ วา่ อกั ษรปลั ลวะ ตามช่ือราชวงศ์ปัลลวะ ทม่ี อี ำ� นาจครองดินแดนภาคใตข้ องชมพูทวีปสมัยนนั้ อกั ษรชนิดนว้ี วิ ฒั นาการตอ่ ไปเปน็ อกั ษรทวารดี อกั ษรมอญโบราณ อกั ษรขอมโบราณ ในทส่ี ดุ ววิ ฒั นาการเปน็ อกั ษรไทย (รายละเอยี ด ในบทที่ ๘)
บทท่ี 10 สายธารแห่งการนวดไทย 189 จากอกั ษรทวารวดี (หลังพ.ศ. ๑๐๐๐-๑๕๐๐) วิวัฒนาการเปน็ อกั ษรมอญโบราณ (หลังพ.ศ. ๑๖๐๐) อกั ษรเขมรโบราณ (หลงั พ.ศ. ๑๔๐๐-๑๖๐๐) และ อกั ษรกวิ (เลกิ ใชใ้ นพุทธศตวรรษท่ี ๑๙) อักษรมอญโบราณ ไดว้ ิวัฒนาการเป็น อกั ษรมอญปัจจบุ นั อกั ษรธรรมลา้ นนา และ ววิ ฒั นต์ อ่ ไปเปน็ อักษรธรรมลา้ นช้าง อักษรเขมรโบราณ ได้ววิ ัฒนาการเป็น อักษรขอมไทย และ อักษรขอมในเขมร อักษรไทยอยุธยานั้น เกิดขึน้ ปลายพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙ โดยใชต้ วั อกั ษรมอญปจั จุบนั และอกั ษรขอม ไทย รวมเปน็ อกั ษรไทย ซึง่ มี อักษรไทยและขอม เพอื่ บนั ทกึ ภาษาไทย และ อกั ษรขอม เพ่ือบนั ทึกภาษา บาล-ี เขมร ดงั นน้ั หลักฐานการบันทกึ ทเ่ี ก่ียวกับงานราชการ งานศาสนา และคัมภีร์ต่างๆ ที่เป็นภาษาไทยจงึ เกดิ ขนึ้ หลงั พุทธศตรวรรษท่ี ๑๙ ทำ� ให้หลักฐานการบันทกึ ต่างๆ นน้ั เกิดข้นึ ราว ๕๐๐ กว่าปีเทา่ น้ัน ทง้ั ๆ ที่ การนวดไทยมปี ระวัติและความเป็นมาในสังคมไทยยาวนานกว่านน้ั ๗. หลักฐานบนั ทึกเก่าแกอ่ ื่นๆ ท่ีเก่ยี วกบั นวดไทย หลกั ฐานเกา่ แก่อนื่ ๆ ที่เกยี่ วกับการนวดในชนชาตไิ ทยนัน้ ได้แก่ ทับหลงั และภาพแกะสลักนารายณ์ บรรทมสินธุ ในยคุ ทวารวดี เชน่ ก. ทับหลังที่ปราสาทสระก�ำแพงใหญ่ อ�ำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีษะเกษ ท่ีมีภาพสลักนารายณ์ บรรทมสินธุ มพี ระนางลักษมแี ละพระภมู เี ทวี ถวายการนวด (ภาพ ๑ ก) ข. การแกะสลักหินเป็นรูปนารายณ์บรรทมสินธุ ข้างล�ำธาร บ้านแข้ด่อน อ�ำเภอน�้ำยืน จังหวัด อุบลราชธานี (ภาพ ๑ ข) ทมี่ พี ระนางลักษมถี วายการนวด นอกจากนี้ ยงั มภี าพแกะสลกั นารายณ์บรรทมสนิ ธุ อกี หลายที่ ภาพ ก. ภาพแกะสลักนูนต่�ำบนทับหลังของปราสาทภูมิโปน บา้ นภูมโิ ปน ตำ� บลดม อำ� เภออทุ ุมพรพิสัย จังหวัดศรีษะเกษ เปน็ ภาพ แกะสลกั ทีบ่ นทบั หลัง รปู พระนารายณ์บรรทมสินธุ โดยมีพระชายา คือพระลักษมแี ละพระภูมีเทวี ถวายการนวด (ถ่ายภาพโดยผู้ ช่วยศาสตราจารย์สมชาติ มณีโชติ คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ถา่ ยวันท่ี ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑) ภาพ ข. ภาพแกะสลกั นนู ตำ�่ บา้ นแขด้ อ่ น อำ� เภอนำ้� ยนื จงั หวดั อบุ ลราชธานี จาก https://www.google.co.th/นารายณบ์ รรทมสนิ ธุ
การนวดในพระไตรปฎิ กและสายธารแห่งการนวดไทย 190 ภาพแกะสลักเหล่านสี้ รา้ งขนึ้ ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ ซึง่ นักโบราณคดีสนั นษิ ฐานว่า เปน็ ภาพทพี่ ระ มเหสีถวายการนวดแก่พระนารายณ์ ซ่ึงแสดงว่า มีความนิยมและยกย่องการนวดในชนชาติไทยต้ังแต่ใน ยุคทวารวดี จนถึงขนั้ นำ� การนวดมาถวายพระนารายณ์ ซง่ึ เปน็ เทพเจา้ องค์หนึ่งของฮินดู อีกหลักฐานหนึง่ คือ พ.ศ. ๑๖๙๖ (ค.ศ. ๑๑๕๐) รปู ป้นั นนู ท่ีตกแต่งวิหารในนครวัด กมั พชู า เป็นรูป เกี่ยวกับปีศาจก�ำลังนวดเพ่อื ท�ำแทง้ บนร่างของผหู้ ญงิ ทีส่ ่งไปยังยมโลก โดยใช้แรงกดท้องทตี่ ้งั ครรภ์ หลกั ฐานทไ่ี มใ่ ชต่ วั อกั ษรเหลา่ น้ี แสดงใหเ้ หน็ วา่ ชนชาตไิ ทย และชนชาตอิ นื่ ๆ ในดนิ แดนสวุ รรณภมู นิ น้ั ใชก้ ารนวดเพอื่ การบำ� บดั รกั ษาอาการเจบ็ ปว่ ย และยกยอ่ งการนวดถงึ ขนาดทแี่ กะสลกั การนวดถวายเทพเจา้ ท่เี คารพบชู า ๘. สรุป การนวดไทยเปน็ ภมู ปิ ญั ญาของชนชาตทิ ป่ี จั จบุ นั เรยี กวา่ คนไทยมายาวนาน โดยถา้ ดจู ากหลกั ฐานภาพ แกะสลกั นารายณ์บรรทมสินธุต์ ามสถานท่ตี า่ งๆ (สร้างข้นึ ราวพุทธศตวรรษ ๑๒) หรอื ดูจากหลักฐานการ บนั ทกึ เป็นลายลักษณอ์ ักษร ซง่ึ พบในสมัยกรุงศรอี ยธุ ยา ในพ.ศ. ๑๙๙๘ พุทธศาสนาได้มีอิทธิพลและบทบาทต่อการนวดไทยและการแพทย์แผนไทยอย่างสูง โดยหลักธรรม และวนิ ัยของพระพุทธศาสนาได้เปน็ จดุ มงุ่ หมาย ปรชั ญา และจรรยาบรรณ ของนวดไทยและการแพทย์ แผนไทย รวมท้งั การแพทยด์ ัง้ เดมิ ของประเทศต่างๆ ทนี่ บั ถือพระพุทธศาสนาในแถบเอเชยี อาคเนย์ เอเชยี กไ็ ดน้ ำ� หลกั ธรรมและวนิ ยั ของพทุ ธศาสนาไปกำ� หนดเปน็ จดุ มงุ่ หมายและหลกั ปรชั ญาการแพทยด์ ง้ั เดมิ ของ แต่ละประเทศ การนวดไทย และการแพทยแ์ ผนไทย ได้น�ำหลักธรรมหลายข้อ ไปกำ� หนดเปน็ ทฤษฎที างการแพทย์ และสมฏุ ฐาน ของนวดไทย และการแพทยแ์ ผนไทย ไดแ้ ก่ องคป์ ระกอบของชวี ติ สาเหตขุ องความเจบ็ ปว่ ย (สมฏุ ฐาน) การนวดไทยยงั รบั เอาทฤษฎีของโยคะ เร่ือง เสน้ ทางเดินของพลงั งาน (นาฑ)ี ๗๒,๐๐๐ นาฑี เพอ่ื ให้ พลงั (กณุ ฑลิน)ี เคลอื่ นท่ี ไปตามจักระ จากจักระที่ ๑ ถึงจักระที่ ๗ จะทำ� ให้มีสขุ ภาพทีด่ ี มาเปน็ เส้นทาง เดินของลมในร่างกาย และมีเส้นประธานหลัก ๑๐ เส้น โดยใช้การนวดตามเส้นประธานเพ่ือให้ลมเดิน สะดวก จะท�ำใหห้ ายจากการเจ็บปว่ ยเน่อื งจากลมตดิ ขัด ไทยยังรับและประยุกต์ท่าอาสนะของโยคะมาเป็นฤๅษีดัดตน ๘๐ ท่า เพื่อใช้ในการรักษาอาการ ปวดเมอ่ื ย การนวดไทยในภาพแผนนวดภาพท่ี ๑๙-๖๐ ของวัดโพธ์ิ นนั้ ใช้ หลกั ทฤษฎีของการนวดอายรุ เวท ซึ่ง ตอ้ งอาศยั การสืบค้นหลกั ฐานความรูเ้ พ่มิ เตมิ เพ่อื ใหเ้ ข้าใจทมี่ าของแผนภาพเหล่านี้
บทที่ 10 สายธารแหง่ การนวดไทย 191 การน�ำเสนอที่มาของการนวดไทยจากหลักฐานต่างๆ น้ี ยังมีข้อจ�ำกัด โดยเฉพาะข้อมูลท่ีจ�ำกัด เวลาท่ีใช้ในการศึกษา และองค์ความรู้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ จึงควรที่จะมีผู้รู้ในการนวดไทย การ แพทยแ์ ผนไทย และอื่นๆ ทจี่ ะชว่ ยท�ำการสบื ค้นและวิเคราะหเ์ พิ่มเติม เพ่อื ให้เกิดภาพทชี่ ดั เจนยง่ิ ขน้ึ ของ การนวดไทย
การนวดในพระไตรปิฎกและสายธารแหง่ การนวดไทย 192
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192