Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

Description: เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

Search

Read the Text Version

149เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดียวอยู่

ดงั นนั้ การเคลอื่ นไหวของอตั ราแลกเปลย่ี นจงึ ควรใหเ้ ปน็ ไปตามกลไก Key Points ตลาดไม่ควรแทรกแซงให้ค่าเงินบาทออ่ นหรอื แขง็ กว่าความเป็นจริง การเขา้ แทรกแซงของแบงก์ชาติจะทำ�ได้เท่าท่ีจำ�เป็นในกรณีที่อัตราแลกเปลี่ยน การด�ำ เนนิ นโยบายการเงนิ ของไทย เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจนผู้เก่ียวข้องปรับตัวไม่ทันเท่านั้น และไม่ขัดกับ ภายใต้กรอบเปา้ หมายเงินเฟอ้ แบบ การดำ�เนินนโยบายการเงินภายใต้กรอบเป้าหมายเงินเฟ้อ ทั้งน้ี การต้ัง ยืดหยนุ่ ในปจั จุบัน จะดำ�เนนิ ไปควบคกู่ ับ เปา้ หมายเงินเฟ้อ จะท�ำ ใหภ้ าคเอกชนมีหลกั ยึดในเรือ่ งระดบั ราคา ซึ่งระดับ การด�ำ เนนิ นโยบายอัตราแลกเปลีย่ น ราคาที่มีเสถียรภาพหรือเงินเฟ้อที่ตำ่� จะช่วยให้ต้นทุนการผลิตของผู้ผลิต ลอยตวั แบบมีการจัดการ นั่นคือ ไม่สูงนัก ส่งผลให้ความสามารถในการแข่งขันด้านราคาของประเทศดีข้ึน (1) แบงกช์ าติจะไม่ก�ำ หนดระดบั ขณะเดียวกันราคาที่ไม่ผันผวนมากนักก็ช่วยให้ภาคเอกชนวางแผนตัดสินใจ อัตราแลกเปล่ยี น ณ คา่ ใดค่าหนง่ึ ลงทุนได้อย่างม่ันใจ ช่วยเพิ่มศักยภาพการผลิตและความสามารถในการ (2) แบงก์ชาติอาจแทรกแซงได้บ้าง แขง่ ขันในระยะยาว เพยี งเพอื่ ไม่ใหอ้ ัตราแลกเปล่ยี นผันผวน เกินควรจนทกุ ฝา่ ยปรบั ตัวไมท่ ัน อ่านเพิม่ เติม “ฮาวทดู ูแลคา่ เงนิ ” ไดท้ ่ี คุณเรียนรู้สงิ่ เหลา่ นแ้ี ลว้ หรือยงั • เขา้ ใจการด�ำ เนนิ นโยบายการคลัง นโยบายการเงนิ และนโยบายอตั ราแลกเปลี่ยน • เขา้ ใจว่าควรด�ำ เนนิ นโยบายการคลัง และนโยบายการเงิน และนโยบายอตั ราแลกเปลย่ี นแบบใด จึงจะเหมาะสมกบั ภาวะเศรษฐกิจขณะนั้น จากบทนเ้ี ราทราบแลว้ วา่ เราจะตอ้ งด�ำ เนนิ นโยบายเศรษฐกจิ มหภาคอยา่ งไร เพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายของ เศรษฐกิจโดยรวม ซง่ึ ไม่ว่าจะเปน็ การดำ�เนนิ นโยบายการเงิน หรอื นโยบายการคลงั ตา่ งกม็ เี ป้าหมายเดียวกัน คือให้ประชาชนกินดีอยู่ดี และไม่เพียงแต่กินดีอยู่ดีแค่ ณ ปัจจุบัน แต่จะต้องรักษาให้ย่ังยืนใน ระยะยาวดว้ ย ซง่ึ การก�ำ หนดนโยบายใหถ้ กู ทศิ ทางเพยี งอยา่ งเดยี วนน้ั ไมพ่ อ แตท่ กุ ๆ นโยบายจะตอ้ งประสาน สอดคล้องกัน (policy mix) รวมทั้งได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย เพราะน่ันหมายถึงประสิทธิผลของ นโยบายในทางปฏิบัติ ซึ่งก็คือการสร้างความกนิ ดีอยดู่ ที ีย่ ง่ั ยืนใหก้ บั ประชาชนนน่ั เอง 150 เศรษฐศาสตร์...เล่มเดยี วอยู่

บทสง่ ท้าย อ่านมาถึงตรงน้ี คงทำ�ให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจแล้วว่า “เศรษฐศาสตร์” มิใช่เพียงแค่เร่ืองเงินๆ ทองๆ แต่การเข้าใจเศรษฐศาสตร์อย่างแท้จริงจะช่วยให้เราเกิดกระบวนการคิดและตัดสินใจ “เลือก” อย่างมเี หตุมผี ล และคุ้มคา่ มากท่สี ดุ ซงึ่ แนน่ อนวา่ ในชวี ิตประจ�ำ วนั ของเรา เราต้องเผชิญกับเหตุการณ์ ท่ีต้องตัดสินใจเลือกอยู่ตลอดเวลา น่ันเพราะทรัพยากรมีจำ�กัด ไม่สามารถตอบสนองความต้องการ ของเราได้ทั้งหมด เม่ือเราเลือกอย่างหนึ่งแล้ว ก็เท่ากับว่าเราต้องตัดใจเสียสละส่ิงอื่น ๆ ไป ดังน้ัน ทกุ ครง้ั ทีเ่ ราเลือก จงึ มีตน้ ทนุ คา่ เสยี โอกาสทเ่ี ราตอ้ งเสียไปเสมอ เราจงึ ตอ้ งตดั สินใจเลอื กในสิ่งท่ีคุ้มคา่ กบั สง่ิ ท่ีเราเสียไปมากทส่ี ดุ ดงั นั้น เศรษฐศาสตร์จึงเป็นเร่ืองใกล้ตัวและมคี วามสำ�คัญ การเข้าใจเศรษฐศาสตร์ไม่เพียงแต่สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาในระดับบุคคลได้อย่างมีเหตุมีผล เท่านั้น ยังก่อให้เกิดประโยชน์ในระดับประเทศชาติในการจัดสรรทรัพยากรท่ีประเทศมีอยู่จำ�กัดให้เกิด ประโยชนส์ ูงสุด และสามารถวางนโยบายทเ่ี หมาะสมต่อเศรษฐกิจของประเทศเพอ่ื น�ำ ไปสคู่ วามอย่ดู ีกินดี ของประชาชน ซงึ่ เปน็ เปา้ หมายของเศรษฐกิจโดยรวม ท้ังน้ี การดำ�เนินนโยบายการเงิน นโยบายการคลงั และการบรหิ ารอตั ราแลกเปลยี่ นทเ่ี หมาะสม กจ็ ะเออ้ื ใหเ้ ศรษฐกจิ สามารถเตบิ โตไดต้ ามศกั ยภาพและยง่ั ยนื ในระยะยาว น่นั ก็เพื่อทีจ่ ะบรรลเุ ปา้ หมายของเศรษฐกจิ นัน่ เอง 151เศรษฐศเศารสษตฐรศ.์ า..สเลตม่ร.์เด..ียเลว่มอเยดู่ ยี วอยู่

จเนงรนิงิาหกเรฟลอื ัวอ? นายไพบลู ย กติ ตศิ รกี งั วาน ธนาคารแหงประเทศไทย “แบงกชาติขน้ึ ดอกเบย้ี สกัดเงินเฟอ เอกชนบน ตน ทนุ เพ่มิ คาครองชีพสงู ” พาดหวั ขาว หนงั สือพมิ พร ายวัน ขางตน ทําใหนาสงสัยวา ทําไมแบงกชาติจึงตองทําในส่ิงที่คนสวนใหญเขาไมชอบดวย เศรษฐกิจดี แบงกชาติ จะกลัวอะไรกับเงินเฟอ อุปมาดั่งปารต้ีกําลังสนุก แบงกชาติเคาะแกวแลวบอกวา งานเลิกแลว...คนไทยไมเคย หอบเงินใสกระสอบไปจายตลาด แตคนเยอรมันหลังสงครามโลกคร้ังที่ 1 ซื้อขนมปงตอนเย็นแพงกวาท่ีซ้ือ ตอนกลางวนั และตอนเชา ทานลองจินตนาการดูวาในเชาวนั รุงขึน้ คนเยอรมันในยคุ น้ันจะรสู กึ อยางไร สถานการณ ทํานองนี้ยังไมเคยเกิดข้ึนในบานเรา คนไทยจึงอาจเห็นผลเสียของการเพ่ิมขึ้นอยางรวดเร็วของราคาสินคาหรือ ทเ่ี รยี กวาเงินเฟอไมช ดั เจนนัก ดังนัน้ ในบทความน้ี ผมจะพยายามอธิบายวา เงนิ เฟอทีส่ งู ๆ เลวรายอยางไรทัง้ ตอ ตัวเราและตอ เศรษฐกจิ ของประเทศ เงนิ เฟอ ที่กลาวขางตน ถาจะวาตามหลักวชิ า ตองเรียกวาภาวะเงนิ เฟอ ซึ่งเปน ภาวะท่รี าคาสินคาบรกิ าร คาเชา และคาใชจายตาง ๆ ท่ีประชาชนท่ัวไปตองบรโิ ภคสงู ข้ึนเรื่อย ๆ อยางตอเนื่อง คําถามทต่ี ามมา คอื แลวเงนิ เฟอ สงู เลวรายอยางไร ผลเสียประการแรกก็คือ เงินในกระเปาของทุกคนมีคานอยลง เชน คนเยอรมันในยุคหลังสงครามโลก ครง้ั ที่ 1 ทม่ี เี งินพอซ้อื ขนมปงตอนเชาไดพอดี ตกเวลาบายซ้อื ขนมปงไมไ ดแลว ประการท่ีสอง คือ เงินเฟอเพิ่มความไมเปนธรรมและความเหลื่อมลํ้ าในสังคมใหมากขึ้น เพราะคนท่ีไดรับ ความเดือดรอนมากที่สุดคงหนีไมพนคนท่ีไมมีอํานาจตอรองใหมีรายไดเพิ่มขึ้น ซึ่งไมเฉพาะแตคนที่มีรายไดนอย เทานั้น ยังรวมถึงคนที่บากบ่ันขยันหม่ันเพียรเก็บหอมรอมริบจนมีเงินออมฝากไวกับธนาคาร เพราะในท่ีสุดแลว เงินออมนั้นจะมีคาเหลือนิดเดียวหากเงินเฟอสูงมาก ๆ แตในทางตรงกันขาม ผูท่ีใชจายเกินตัวจนเปนหนี้ กลับไดรับประโยชนจากคาเงินที่ลดลง เพราะแมเขาตองใชหน้ีเงินตนรวมกับดอกเบี้ยแลว คาของเงินตอนที่ใชหน้ี ก็ยังนอยกวาคาของเงินตอนที่เขากูมา ขอเสียอันนี้ยังเก่ียวโยงไปถึงพฤติกรรมการใชจายเงินของภาครัฐดวย ภาครัฐที่ใชจายเกินตัวและเกินระดับที่เหมาะสม ผลที่ตามมาคือเกิดภาวะเงินเฟอ ซึ่งผูที่ไดรับความเดือดรอนก็คง 152 เศรษฐศเศารสษตฐรศ.์ า..สเลต่มร.์เด..ยี เลวม่อเยดู่ ยี วอยู่

หนีไมพนประชาชนเพราะภาระที่เพ่ิมข้ึนจากเงินเฟอ ทําใหประชาชนตองใชจายเงินเพิ่มขึ้นเพื่อบริโภคเทาเดิม เปรียบเสมือนตองเสียภาษี จึงเรียกกันวา “ภาษีเงินเฟอ” ซ่ึงเลวรายกวาภาษีอ่ืน ๆ เพราะเก็บแบบไมบอกกลาว เดาสุมและท่ีแยส ุด คอื พวกไมมีอํานาจตอรองใหทนั กับเงนิ เฟอ ซ่งึ สว นใหญเ ปนผมู ีรายไดนอยตองรับภาระมากท่สี ดุ ประการทีส่ าม คอื เงนิ เฟอสูง ๆ ทําใหความเสย่ี งในการทําธรุ กจิ สูงข้นึ เนื่องจากผูผลิตกําหนดราคาขาย ไดย าก เพราะคาดการณก ําลงั ซอ้ื ของลกู คาไมไ ด การวางแผนการผลติ และการลงทนุ กท็ ําไดย าก เพราะตน ทนุ ตาง ๆ ทั้งราคาวัตถุดิบ คาแรง คาเชา ดอกเบ้ีย สูงข้ึนพรวดพราด ถือเปนการทําลายบรรยากาศการลงทุนในประเทศ เมอื่ การลงทนุ ใหม ๆ ไมเกดิ ข้ึน การเพิ่มประสทิ ธิภาพการผลติ และศักยภาพการแขงขันของประเทศยอ มทําไดย าก ประการที่สี่ ถาเงินเฟอของไทยสูงกวาประเทศคูแขง ตนทุนการผลิตและราคาสินคาของไทยยอมสูงกวา ทําใหขายของแขงกับประเทศอื่นไมได กระทบกับการสงออก เศรษฐกจิ ก็มปี ญ หา นกั ลงทุนตางชาติท่ีคดิ จะเขามา ลงทุนตัง้ โรงงานในไทย คงเลอื กทจ่ี ะไปตง้ั ฐานการผลิตในประเทศท่มี ีตนทนุ ต่ํา และคงทม่ี ากกวาแนนอน ประการท่ีหา คือ เงินเฟอมักมีพลังขับเคลื่อนตัวเองใหสูงขึ้นเร่ือย ๆ เพราะเม่ือของแพง ตนทุนการผลิต กส็ งู ขน้ึ ผผู ลติ กต็ อ งปรบั ราคาสนิ คา ลกู จางกเ็ รยี กรอ งคาจางเพม่ิ ขน้ึ ผผู ลติ กบ็ อกคาจางแพง ปรบั ราคาอกี เปน วงจร เรยี กวา wage-price spiral ซ่ึงจะทําลายความม่ังค่ังของประชาชนและเปน อันตรายตอ เศรษฐกิจของประเทศ ผลเสียประเดน็ สดุ ทายทอี่ ยากเนน คือ เงินเฟอเปนตวั ทําลายทงั้ บรรยากาศการออม การคา และการลงทนุ ดังน้ัน ผูรับผิดชอบนโยบายเศรษฐกิจของประเทศจึงตองตระหนักอยูเสมอวา มาตรการที่มุงกระตุนเศรษฐกิจให เตบิ โตอยางรวดเรว็ เกนิ ธรรมชาตใิ นระยะสนั้ นนั้ คงไมไ ดผ ลทจี่ รี งั แตก ลบั จะมผี ลรายหากเกดิ เงนิ เฟอ ซงึ่ มผี ลบนั่ ทอน ความกินดีอยูดีของประชาชนและทําลายศักยภาพทางเศรษฐกิจในระยะยาว การดูแลเงินเฟอถือเปนพันธกิจสําคัญ ของธนาคารกลางทั่วโลก โดยเคร่ืองมือหลักท่ีธนาคารกลางสวนใหญใชดูแลเงินเฟอ คือ อัตราดอกเบ้ีย จริงอยู การขึ้นดอกเบี้ยเปนการเพ่ิมตนทุนแกผูกูในระยะสั้น แตถาไมข้ึนดอกเบี้ยและปลอยใหเงินเฟอสูงจนควบคุมไมอยู ผลเสยี ทีต่ ามมาในระยะยาวจะสูงกวาภาระดอกเบย้ี ในระยะสน้ั มาก แมแตธ รุ กิจก็ตองเดอื ดรอ น เพราะหากเงนิ เฟอ สูงสกั 20% ในอนาคตทานกต็ อ งกมู าลงทุนในอตั ราทไ่ี มตํ่ ากวา 20% หากทางการรักษาเงินเฟอใหต่ําไดใ นระยะยาว ตนทุนการกูยืมก็จะถูกลงมาดวย สุดทายนี้ผมขอฝากไววา เงินเฟอต่ําเปนหัวใจสําคัญตอการเติบโตของประเทศ ในระยะยาวกจ็ รงิ แตเ งนิ เฟอ ต่ําเพยี งอยางเดยี ว คงไมพ อทจ่ี ะทําใหเ ศรษฐกจิ เตบิ โตได แตเ รายงั ตอ งอาศยั หวั ใจสําคญั คือ การพัฒนาความสามารถในการแขงขันของเอกชน และการจัดโครงสรางพื้นฐานที่เพียงพอและมีคุณภาพจาก ภาครัฐควบคกู นั ไป ________________________________ บทความนีเ้ ปนขอคดิ เห็นสว นบุคคล จึงไมจ ําเปนตองสอดคลอ งกับขอ คดิ เหน็ ของธนาคารแหง ประเทศไทย เผยแพรในหนงั สอื พิมพกรงุ เทพธรุ กจิ ฉบับวันท่ี 4 ตลุ าคม 2554 153เศรษฐศเศารสษตฐรศ.์ า..สเลตม่ร์.เด..ยี เลว่มอเยดู่ ียวอยู่

อภิธานศัพท์ (Glossary) กลไกราคา (Price Mechanism) การซอื้ ขายสนิ ค้าและบริการจะเกิดขึ้นได้น้ัน ตอ้ งบรรลุ 2 เงอ่ื นไข คือ ราคาทผ่ี ู้ซือ้ ต้องการซอื้ จะต้องเทา่ กับ ราคาทผี่ ขู้ ายอยากจะขาย และจ�ำ นวนสนิ คา้ ทผี่ ซู้ อื้ ตอ้ งการซอื้ จะตอ้ งเทา่ กบั จ�ำ นวนสนิ คา้ ทผี่ ขู้ ายอยากจะขาย ซงึ่ กลไก ราคาจะท�ำ หนา้ ท่เี ป็นตวั ปรบั ให้ราคา และจ�ำ นวนสินคา้ ทผี่ ูซ้ อ้ื ต้องการซ้ือเทา่ กบั ทีผ่ ขู้ ายอยากจะขาย เพราะถา้ ผขู้ าย ต้ังราคาขายแพงไป สินค้าก็จะเหลือขายไม่ออก ราคาก็จะต้องปรับลดลงมา จนกระท่ังถึงราคาท่ีเราเรียกว่า ราคาดุลยภาพ ซึ่งเป็นราคาที่ทำ�ให้ปริมาณท่ีผู้ซ้ืออยากจะซ้ือกับปริมาณท่ีผู้ขายอยากจะขายเท่ากันพอดี หรือก็คือ ระดับราคาท่อี ปุ สงค์เทา่ กับอปุ ทาน การจา้ งงานเตม็ ท่ี (Full Employment) การจ้างงานเต็มท่ี คือ เราสามารถใช้กำ�ลังแรงงานท่ีมีทั้งหมดอย่างเต็มที่ตามความสามารถหรือศักยภาพ ของแรงงาน หรอื พูดงา่ ย ๆ วา่ คนที่อย่ใู นวัยท�ำ งานทกุ คนทีต่ ้องการท�ำ งาน สามารถหางานท�ำ ได้ ทงั้ นี้ กไ็ มไ่ ด้ แปลว่า แรงงานทุกคนต้องมีงานทำ�ตลอด อาจจะเกิดการว่างงานชั่วคราวก็ได้ เช่น อยู่ระหว่างการหางานใหม่ การว่างงานหลงั ฤดูท�ำ นา คนทเ่ี พงิ่ สำ�เรจ็ การศึกษา เปน็ ต้น การผกู ขาดโดยธรรมชาติ (Natural Monopoly) การผูกขาดโดยธรรมชาติ หมายถึง การที่มีผู้ผลิตเพียงรายเดียวที่สามารถผลิตสินค้านั้นได้ เพราะต้องใช้ เงินลงทุนมาก อาศัยเทคโนโลยีทันสมัย และต้องใช้เวลาในการคืนทุนนาน จึงเสมือนเป็นการกีดกันไม่ให้คนอื่น เข้ามาผลิตแขง่ ขนั ดว้ ยโดยปริยาย ท้ัง ๆ ทไี่ มม่ ีขอ้ หา้ มในการผลิตแข่งขัน กิจกรรมทางเศรษฐกจิ (Economic Activity) กจิ กรรมทางเศรษฐกิจ คอื กิจกรรมตา่ ง ๆ ทเี่ กิดข้นึ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ไดแ้ ก่ การผลติ การบรโิ ภค การแลกเปล่ยี น การกระจายสนิ คา้ และการแบ่งสรรปนั ส่วนรายได้ให้กบั เจา้ ของปัจจัยการผลติ 154 เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดยี วอยู่

ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Economic Growth) ความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ หมายถงึ กจิ กรรมทางเศรษฐกิจมีมากข้ึน ทำ�ให้คนมงี านท�ำ มีรายได้ มกี ิน มใี ช้ เกดิ การผลติ สินคา้ ใหม่ ๆ ทดี่ กี วา่ เดมิ และตอบสนองความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคได้มากขน้ึ ชวี ติ สะดวกสบายขนึ้ และได้รับความพึงพอใจมากขึ้น น่ันก็คือ แต่ละคนมีความเป็นอยู่ที่ดีข้ึนนั่นเอง ซ่ึงวัดจากจำ�นวนสินคา้ และบริการ เพื่อตอบสนองความตอ้ งการวา่ มีมากข้นึ หรอื ไม่ โดยดจู ากอตั ราการเปลี่ยนแปลงของ GDP ในช่วงเวลาหนึง่ ๆ ความยดื หยุน่ (Elasticity) แม้ว่าจะกำ�หนดให้ราคาสินค้าแต่ละอย่างปรับเพ่ิมขึ้นเท่า ๆ กัน แต่คนเรากลับลดการซ้ือสินค้าแต่ละอย่าง มากน้อยไม่เท่ากัน โดยสินค้าท่ีเม่ือราคาเปลี่ยนแปลงไป ปริมาณความต้องการซ้ือเปล่ียนแปลงไปมากกว่าการ เปลยี่ นแปลงของราคา เราถือว่า สินคา้ นัน้ มคี วามยดื หย่นุ ของอุปสงคต์ อ่ ราคามาก หรอื elasticity of demand เช่น พวกสินค้าฟุ่มเฟอื ย สินค้าพวกนี้ราคาเปลยี่ นแปลงไปเล็กนอ้ ยก็ทำ�ให้ปรมิ าณซอ้ื เปลยี่ นแปลงไปไดม้ าก แต่หากเปน็ สินค้าทจี่ ำ�เปน็ เชน่ ยารกั ษาโรค แมร้ าคาจะสงู ขึ้นแต่ปริมาณความต้องการซอื้ ก็เปล่ียนแปลงไปไดไ้ ม่มาก เงินฝดื (Deflation) เงินฝดื เปน็ ภาวะท่ีตรงขา้ มกบั ภาวะเงนิ เฟอ้ โดยเปน็ ภาวะท่รี ะดบั ราคาสินคา้ โดยทว่ั ไปลดต่ำ�ลงเร่ือย ๆ หรอื พดู งา่ ย ๆ วา่ เปน็ ภาวะทข่ี า้ วของถกู ลงเรอ่ื ย ๆ นน่ั กน็ า่ จะเปน็ เรอ่ื งดี แตก่ ารทข่ี า้ วของถกู ลงเรอ่ื ย ๆ อาจเนอ่ื งมาจาก มกี ารผลิตสินค้าออกมาขายมากไป เกินกวา่ ความต้องการของตลาด ดงั น้ัน ผู้ผลติ จึงจ�ำ เป็นต้องลดราคาสินคา้ ลงมา เพ่ือที่จะทำ�ให้ขายได้ และลดการผลิตลงเพราะว่าถ้าผลิตออกมาเท่าเดิมก็ขายได้ไม่หมด ผลท่ีตามมาก็คือ การจา้ งงานจะลดลงตามไปด้วย สง่ ผลกระทบเปน็ ลกู โซต่ อ่ เศรษฐกิจโดยรวม เงินเฟอ้ (Inflation) เงินเฟ้อ เป็นภาวะท่ีระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปเพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่อง หรือพูดง่าย ๆ ว่า เป็นภาวะที่ข้าวของ แพงขึ้นไปเรื่อย ๆ เงินท่ีเราถืออยู่จำ�นวนเท่าเดิมจึงมีค่าลดลง เพราะซื้อของได้น้อยลง หรือเราต้องใช้เงินมากข้ึน เพื่อให้สามารถซอ้ื สนิ ค้าไดเ้ ทา่ เดิม 155เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดยี วอยู่

อภธิ านศพั ท์ (Glossary) (ตอ่ ) เงนิ โอน (Transfer Payments) เงินโอน เป็นเงินที่รัฐบาลโอนให้กับประชาชนเปล่า ๆ โดยไม่ได้รับสินค้าและบริการตอบแทน เช่น เบย้ี ผู้สงู อายุ และเงนิ ชว่ ยเหลือผู้มรี ายได้นอ้ ย เป็นตน้ แต่เงนิ ที่รฐั บาลจะน�ำ มาจา่ ยเงินโอนเหล่าน้กี ม็ าจากภาษีของ ประชาชนทุกคนนั่นเอง ดุลการค้า (Trade Balance) ดุลการคา้ คือ ผลต่างระหวา่ งมลู คา่ การขาย (สง่ ออก) สินคา้ ใหก้ ับตา่ งประเทศ กับมลู คา่ การซือ้ (นำ�เขา้ ) สินค้าจากต่างประเทศของประเทศหนึ่ง ๆ โดยเมื่อมีการค้าระหว่างประเทศเกิดข้ึน ก็ย่อมมีประเทศที่ผลิต สนิ ค้าได้ดี และขายไดม้ ากกว่าอีกประเทศหน่งึ โดยประเทศทข่ี าย (ส่งออก) สนิ คา้ มากกว่าซื้อ (นำ�เขา้ ) สนิ ค้าจาก ประเทศอื่น ก็จะได้ชอ่ื วา่ เปน็ ประเทศที่ “เกนิ ดุลการคา้ ” สว่ นประเทศทซ่ี ือ้ (น�ำ เข้า) สินค้าจากประเทศอน่ื มาใช้ใน ประเทศของตนมากกวา่ ที่ขาย (ส่งออก) สินคา้ ไปขายประเทศอื่น ก็จะไดช้ ่อื ว่า “ขาดดลุ การค้า” ตน้ ทนุ คา่ เสยี โอกาส (Opportunity Cost) จากความตอ้ งการของมนษุ ยท์ มี่ อี ยอู่ ยา่ งไมจ่ �ำ กดั ขณะทท่ี รพั ยากรมไี มเ่ พยี งพอทจี่ ะผลติ สง่ิ เหลา่ นนั้ ไดท้ งั้ หมด ดังน้ัน คนเราจึงต้องเลือก ต้องตัดใจสละบางอย่าง เพราะไม่สามารถทำ�ได้ท้ังหมดทุกทางเลือก ส่ิงที่ไม่ได้เลือก กจ็ ะเป็นต้นทนุ ทเี่ ราตอ้ งเสียโอกาสไป หรอื ที่เรยี กวา่ ตน้ ทุนคา่ เสยี โอกาส นโยบายการคลงั (Fiscal Policy) นโยบายการคลงั เปน็ การดำ�เนนิ นโยบายของรฐั บาลเพื่อกระตนุ้ หรือชะลอความรอ้ นแรงของเศรษฐกจิ โดยใช้ เคร่อื งมอื ทีร่ ัฐบาลมี ก็คือ การใชจ้ ่ายของรัฐบาล (รายจ่าย) และการเก็บภาษี (รายได)้ ถา้ รฐั บาลตอ้ งการกระตนุ้ เศรษฐกจิ กจ็ ะใชน้ โยบายการคลงั แบบขาดดลุ หรอื ด�ำ เนนิ นโยบายใหร้ ายจา่ ยมากกวา่ รายได้ เพ่ือเพ่ิมการใชจ้ า่ ยโดยรวม ทำ�ใหม้ ีการผลติ สนิ คา้ และบริการมากขึน้ การจา้ งงานเพิ่มข้ึน ประชาชนมีรายได้ เพม่ิ ขน้ึ นน่ั กค็ อื เศรษฐกจิ ขยายตวั ในทางกลบั กนั ถา้ ตอ้ งการชะลอเศรษฐกจิ ไมใ่ หร้ อ้ นแรงจนเกนิ ไป กจ็ ะใชน้ โยบาย การคลงั แบบเกินดุล (รายไดม้ ากกว่ารายจา่ ย) เพือ่ ดงึ เงินออกจากระบบเศรษฐกิจ ลดการใช้จ่ายโดยรวม สง่ ผลให้ การผลติ ชะลอลง ช่วยลดความรอ้ นแรงของเศรษฐกจิ และเงินเฟ้อ 156 เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดยี วอยู่

นโยบายการเงิน (Monetary Policy) นโยบายการเงิน ก็เป็นการดำ�เนินนโยบายของแบงก์ชาติเพื่อกระตุ้นหรือชะลอความร้อนแรงของเศรษฐกิจ โดยใช้เคร่ืองมือที่แบงก์ชาติมี ก็คือ อัตราดอกเบ้ียนโยบาย โดยผู้ที่กำ�หนดอัตราดอกเบี้ยนโยบายว่าจะเพิ่มขึ้น คงท่ี หรือลดลง ก็คอื คณะกรรมการนโยบายการเงนิ หรือเรียกส้ัน ๆ วา่ กนง. ถ้าต้องการกระตุ้นเศรษฐกิจ ในช่วงท่ีเศรษฐกิจซบเซา ไม่มีแรงกดดันเงินเฟ้อ แบงก์ชาติก็จะใช้นโยบาย การเงินแบบผ่อนคลาย โดยลดอัตราดอกเบ้ยี นโยบายลงมา สง่ ผลให้อตั ราดอกเบ้ียเงินกูแ้ ละเงินฝากในตลาดการเงนิ ลดลงไปดว้ ย คนก็อาจจะก้เู งินหรือน�ำ เงนิ ฝากไปใช้จ่ายซ้ือสินค้าและบรกิ ารมากข้ึนเพราะต้นทุนการกู้ยืม และต้นทุน ค่าเสียโอกาสถูกลง การใช้จ่ายโดยรวมเพิ่มขึ้น ทำ�ให้มีการผลิตสินค้าและบริการมากขึ้น การจ้างงานเพิ่มขึ้น ประชาชนมีรายได้เพ่ิมข้ึน นั่นก็คือ เศรษฐกิจขยายตัว แต่ก็อาจจะทำ�ให้ราคาสินค้าและบริการสูงข้ึนบ้าง ในทาง กลับกัน ถ้าต้องการชะลอเศรษฐกิจ เนื่องจากเศรษฐกิจเติบโตอย่างร้อนแรง จนทำ�ให้ราคาสินค้าโดยท่ัวไปแพงข้ึน อยา่ งต่อเนือ่ งหรอื เงนิ เฟ้อสงู ขึ้น แบงกช์ าตกิ จ็ ะใช้นโยบายการเงินแบบตึงตวั โดยเพ่ิมอตั ราดอกเบย้ี นโยบาย สง่ ผลให้ อตั ราดอกเบยี้ เงนิ กแู้ ละเงนิ ฝากในตลาดเพม่ิ ขน้ึ ตามไปดว้ ย คนกจ็ ะกเู้ งนิ หรอื น�ำ เงนิ ฝากไปใชจ้ า่ ยซอ้ื สนิ คา้ และบรกิ าร น้อยลงเพราะต้นทุนการกู้ยืมและต้นทุนค่าเสียโอกาสแพงขึ้น การใช้จ่ายโดยรวมก็ลดลง ผู้ผลิตก็จะผลิตน้อยลง ไม่มีการขยายการผลิตในช่วงน้ี จะเห็นว่าเศรษฐกิจก็จะลดความร้อนแรงลง ราคาสินค้าโดยท่ัวไปจะเพ่ิมข้ึนช้าลง อตั ราเงนิ เฟ้อจะลดลง และเศรษฐกจิ กลบั มาเติบโตแบบคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไปในที่สุด ปจั จยั การผลิต (Production Factors) ในการผลิตสนิ ค้าและบรกิ าร เราตอ้ งใช้หลายสิ่งหลายอย่างในกระบวนการผลติ ไมว่ า่ จะเป็นทีด่ ินทีใ่ ชใ้ นการ ปลกู หรอื ตั้งโรงงาน คนงาน เครื่องมอื เคร่อื งจักร รวมถึงเจ้าของท่ีเปน็ คนรวบรวมส่งิ ต่าง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั สงิ่ ต่าง ๆ เหลา่ นท้ี เี่ ราตอ้ งใชใ้ นการผลติ เพอ่ื ใหเ้ กดิ เปน็ สนิ คา้ และบรกิ ารขน้ึ มา เรยี กวา่ “ปจั จยั การผลติ ” ปจั จยั การผลติ ในทาง เศรษฐศาสตร์ แบง่ เปน็ 4 ประเภทดว้ ยกัน คือ ทดี่ นิ แรงงาน ทนุ และผู้ประกอบการ 157เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

อภธิ านศพั ท์ (Glossary) (ตอ่ ) ภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ (Economic Bubble) ภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ เป็นภาวะทเี่ ศรษฐกจิ เติบโตอย่างรวดเรว็ จนเกิดเปน็ ภาพลวงตา ทำ�ให้เห็นว่าทุกอยา่ ง ดูดี ราคาของสินทรัพย์ที่ถือไว้เพ่ิมขึ้นอย่างมาก คนรู้สึกรวยข้ึน และแนวโน้มของราคาท่ีเพ่ิมสูงข้ึนอย่างมากน้ี ยงั ท�ำ ใหค้ นคาดการณว์ า่ ราคานา่ จะเพม่ิ สงู ขน้ึ ตอ่ ไปเรอ่ื ย ๆ เลยแหก่ นั ซอ้ื เพอ่ื เกง็ ก�ำ ไร กย็ ง่ิ ท�ำ ใหร้ าคาสนิ ทรพั ยน์ น้ั ๆ เพ่ิมเร็วข้ึนอีก กระท่ังวันหน่ึงที่คนเริ่มไม่มั่นใจ เพราะราคาสินทรัพย์นั้นสูงมากเกินไปกว่าพื้นฐานที่ควรจะเป็น ราคากจ็ ะเร่ิมลดลง คนก็ตกใจรีบเทขาย แตก่ ไ็ มม่ ใี ครอยากจะซอ้ื เพราะราคาอยู่ในช่วงขาลง ซ้ือมาหากนำ�ไปขายตอ่ ก็จะขาดทุน ราคาจึงยิ่งร่วงเร็วมากข้ึนไปอีก ในท่ีสุดทุกอย่างท่ีเราเห็นว่าดูดี หรือเปรียบเหมือนฟองสบู่ท่ีสวยงาม กแ็ ตกสลายไป สนิ ทรพั ย์ทซี่ อ้ื มา มูลคา่ ลดหายไป หรือที่เรยี กวา่ ภาวะฟองสบแู่ ตก นั่นเอง เศรษฐศาสตร์ (Economics) การทีท่ รัพยากรมจี �ำ กัด ขณะทค่ี วามต้องการของคนเรามีไม่จ�ำ กดั เราจึงไม่สามารถผลติ ทกุ สง่ิ ทุกอยา่ งทเี่ รา ตอ้ งการได้ จงึ ตอ้ งเกดิ การเลอื กใชท้ รพั ยากรทม่ี อี ยอู่ ยา่ งจ�ำ กดั เพอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ ซงึ่ เศรษฐศาสตรจ์ ะเปน็ สาขา วิชาท่ีจะช่วยเราในกระบวนการตัดสินใจ “เลือก” เพื่อให้การเลือกแต่ละคร้ังคุ้มค่ามากที่สุด ทั้งในการตัดสินใจ เกยี่ วกบั การผลิต การบรโิ ภค การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ เศรษฐศาสตรจ์ งึ เกีย่ วขอ้ งกบั ชีวิตประจำ�วันของเรา ทกุ คน ทกุ ระดบั ต้ังแตร่ ะดับบคุ คล ระดับครอบครัว จนถึงระดับประเทศ สนิ คา้ ดอ้ ยคณุ ภาพ (Inferior Goods) โดยปกติคนเรา ถ้ามีรายได้เพิ่มขึ้น ก็จะต้องการซ้ือสินค้าหรือบริการเพิ่มข้ึนด้วย แต่ถ้ารายได้ลดลง ความต้องการซื้อสินค้าหรือบรกิ ารกจ็ ะลดลงตามไปดว้ ยไม่วา่ ราคาจะเทา่ ไรกต็ าม แตม่ ีสินค้าประเภทหนึ่ง ท่เี รียกว่า สินค้าด้อยคุณภาพ หากรายได้เพ่ิม ความต้องการซื้อสินค้าพวกนี้จะลดลง แต่เมื่อรายได้ลดลง ความต้องการซ้ือ จะเพิ่มข้ึน ตัวอยา่ งเช่น รถไฟชนั้ 3 และเส้อื ผา้ โหล เปน็ ต้น สนิ ค้าสาธารณะ (Public Goods) สนิ คา้ สาธารณะ เปน็ สนิ ค้าท่ไี มว่ ่าใครกส็ ามารถมาใชไ้ ด้ และไม่สามารถกดี กันผู้อ่ืนได้ด้วย ดงั นั้น ถงึ แมจ้ ะ เป็นสินค้าหรือบริการที่จำ�เป็นหรืออยากจะใช้แต่ผู้บริโภคก็ไม่อยากจ่าย ภาครัฐบาลจึงต้องเข้ามาผลิตสินค้าและให้ บริการเหล่านี้แกป่ ระชาชน เช่น การปอ้ งกนั ประเทศ และการดูแลความสงบเรยี บรอ้ ยของต�ำ รวจ เป็นตน้ 158 เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดยี วอยู่

เสถยี รภาพด้านราคา (Price Stability) เสถียรภาพ หมายถงึ น่งิ ๆ มน่ั คง ไมผ่ ันผวนมากจนเกนิ ไป ดังนน้ั เสถยี รภาพดา้ นราคา กจ็ ะหมายถึง ภาวะทร่ี าคาสินคา้ และบริการไมเ่ ปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ประชาชนสามารถคาดการณ์ราคาสินค้าและบรกิ ารได้ หน่วยเศรษฐกจิ (Economic Units) หน่วยเศรษฐกิจ คือ ผู้ท่ีทำ�ให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจดำ�เนินไปได้ ซึ่งจะประกอบไปด้วย หน่วยครัวเรือน หนว่ ยธรุ กจิ และหนว่ ยรฐั บาล หน้ีสาธารณะ (Public Debt) หนี้สาธารณะ เป็นหน้ีท่ีรัฐบาลกู้สะสมต่อกันมา และมีผลผูกพันทุกรัฐบาลไม่ว่ารัฐบาลใดเป็นผู้ก่อ ซ่ึงหนีส้ าธารณะน้ี เปน็ ภาระของประชาชนทกุ คน เน่ืองจากตอ้ งใช้เงนิ ภาษีอากรในการชำ�ระหน้ี อัตราแลกเปลยี่ น (Exchange Rate) อัตราแลกเปลี่ยน พูดง่าย ๆ ก็คือ อัตราท่ีใช้แลกเปลี่ยนกันระหว่างเงินสองสกุล หรือเป็นการเทียบค่าของ เงนิ สกลุ หน่ึงกบั เงนิ อีกสกุลหน่งึ เชน่ 30 บาท = 1 ดอลลารส์ หรฐั ฯ อปุ ทาน (Supply) อุปทาน หมายถึง ปริมาณเสนอขายสินค้าหรือบริการ ณ ระดับราคาต่าง ๆ ในช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง เมอ่ื ก�ำ หนดให้ปัจจยั อนื่ ๆ ไม่เปล่ยี นแปลง เชน่ ราคาปจั จัยการผลิต เทคโนโลยี และราคาสินคา้ อืน่ เปน็ ต้น อุปสงค์ (Demand) อปุ สงค์ หมายถงึ ปรมิ าณความตอ้ งการซอ้ื สนิ คา้ หรอื บรกิ าร ณ ระดบั ราคาตา่ ง ๆ ในชว่ งเวลาใดเวลาหนึ่ง เมอื่ กำ�หนดใหป้ ัจจัยอ่นื ๆ ไมเ่ ปลยี่ นแปลง เช่น รายได้ รสนิยม เงินในกระเปา๋ และราคาสินค้าอื่น เปน็ ตน้ 159เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดยี วอยู่

แหลง่ คน้ หาข้อมลู ทางเศรษฐกจิ ธนาคารแห่งประเทศไทย สำ�นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ ส�ำ นักงานเศรษฐกิจการคลัง และสังคมแหง่ ชาติ - เคร่อื งชี้ภาวะเศรษฐกจิ ท่สี �ำ คัญของไทย - ผลิตภณั ฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) - เครือ่ งชีภ้ าวะเศรษฐกจิ ทีส่ �ำ คญั ของโลก - เครอื่ งชีเ้ ศรษฐกิจมหภาคของไทย - สถิติข้อมลู ความยากจนและการกระจาย - รายงานภาวะเศรษฐกิจต่างประเทศ (โดยรวม) รายได้ - สถิตภิ าคการคลัง (รายได้ รายจ่าย - เครือ่ งช้ภี าวะเศรษฐกิจทสี่ ำ�คญั ของโลก รัฐบาล ดุลการคลงั โครงสรา้ ง - ดัชนแี ละเครือ่ งชีท้ างเศรษฐกิจทีส่ �ำ คัญ ส�ำ นกั ดัชนีเศรษฐกิจการคา้ งบประมาณ) (ดชั นกี ารอปุ โภคบรโิ ภคภาคเอกชน กระทรวงพาณิชย์ ดชั นกี ารลงทนุ ภาคเอกชน ดัชนีความ ส�ำ นกั งานบรหิ ารหน้สี าธารณะ เช่ือมนั่ ทางธรุ กจิ ) อัตราเงนิ เฟอ้ - เงินให้กู้ยืมแกภ่ าคครัวเรอื น ส�ำ นกั งานเศรษฐกจิ หน้ีสาธารณะของไทย - เงนิ สำ�รองระหว่างประเทศ การเกษตร สำ�นกั งานสถิติแห่งชาติ - จ�ำ นวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ และอัตราการเข้าพกั ดัชนีผลผลติ สินค้าเกษตร และราคาสินค้า ขอ้ มลู และสถติ พิ ืน้ ฐาน (จ�ำ นวนประชากร - ธนบตั รและเหรียญกษาปณท์ ี่หมุนเวียน เกษตรที่ส�ำ คญั อตั ราการว่างงาน รายไดร้ ายจา่ ยของ ในระบบเศรษฐกิจ ครวั เรือน ความยากจน จำ�นวนลกู จ้าง - ธุรกรรมภาพรวมระบบการช�ำ ระเงนิ และค่าจา้ งเฉลี่ย) - ปริมาณเงนิ - เศรษฐกิจภาคตา่ งประเทศของไทย (การค้าตา่ งประเทศ ดุลการชำ�ระเงิน หนต้ี า่ งประเทศ) - สนิ เชอ่ื และเงนิ ฝาก และสนิ ทรัพยห์ น้ีสนิ ส�ำ คญั ของสถาบันการเงนิ - สนิ ทรพั ย์และหนสี้ นิ ของสถาบันการเงิน - สถติ ภิ าคเศรษฐกิจจริง (การผลติ ในภาค การผลติ ตา่ ง ๆ การคา้ สง่ ค้าปลีก การจ้างงาน) - อัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชย์ - อัตราแลกเปลย่ี นประจ�ำ วัน - Financial Soundness Indicators 160 เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดียวอยู่

แหลง่ คน้ หาขอ้ มูลทางเศรษฐกิจ (ตอ่ ) กระทรวงการท่องเทยี่ วและกฬี า กองทุนการเงนิ ระหวา่ งประเทศ ธนาคารโลก (International Monetary Fund : IMF) (World bank) จ�ำ นวนนักท่องเทีย่ วตา่ งประเทศและอัตรา - World Economic Outlook Databases (WEO) World Development Indicators การเข้าพัก - International Financial Statistics (IFS) - Financial Soundness Indicators (FSIs) รายงานตดิ ตามภาวะเศรษฐกิจ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย ส�ำ นกั งานสภาพัฒนาการ ส�ำ นักงานเศรษฐกิจการคลัง เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รายงานเศรษฐกิจและการเงินรายเดอื น - รายงานภาวะเศรษฐกิจไทยรายไตรมาส รายงานเศรษฐกจิ การเงิน และการคลงั - รายงานภาวะสังคมไทยรายไตรมาส กองทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศ (International Monetary Fund : IMF) - World Economic Outlook Reports (WEO) - Global Financial Stability Report (GFSR) 161เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดยี วอยู่

บรรณานกุ รม หนงั สือภาษาไทย จรนิ ทร์ เทศวานชิ และคณะ. (2553). เศรษฐศาสตร์ ม.4-ม.6. จารุวรรณ บุณยรัตพนั ธ์ุ. (2552). เศรษฐศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน. กรงุ เทพ : ส�ำ นักพมิ พ์แมค็ . ชวนิ ทร์ ลีนะบรรจง. (2554). เศรษฐศาสตร์ตดิ ดนิ . (1). กรงุ เทพฯ : ส�ำ นักพมิ พ์มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. ซอกแฮวอน. (2548). เด็กชายกางมารู ชวนรู้ เศรษฐศาสตร.์ (1). กรงุ เทพ : เนช่นั บ๊คุ ส.์ ญัฐิกานต์ วรสงา่ ศลิ ป.์ (2554). การเตบิ โตอยา่ งทั่วถงึ (Inclusive Growth). (1). กรุงเทพ : ธนาคารแห่งประเทศไทย. ธนาวรรณ อยปู่ ระยงค.์ (2553). อยทู่ า่ มกลางเงินซปุ เปอร์เฟอ้ ...เมือ่ ดอลลาร์จอ่ ล่มสลาย. (1). นิสติ พันธมิตร. (2553). ความรู้พื้นฐานด้านเศรษฐศาสตรแ์ ละเศรษฐกจิ การเงิน. เป็นเอกสารประกอบการบรรยายอบรมครู ส�ำ นักงานภาคเหนอื ธนาคารแห่งประเทศไทย. ปกป้อง จันวทิ ย์. (2543). บัญญตั ิ 10 ประการของวชิ าเศรษฐศาสตร.์ กรุงเทพ : ส�ำ นักพิมพ์มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์ รตั นา สายคณิต. (2542). หลักเศรษฐศาสตร์ : มหเศรษฐศาสตร.์ (1). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วันรกั ษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2539). เศรษฐศาสตรม์ หภาค Macroeconomics. (3). กรุงเทพฯ : ส�ำ นกั พมิ พม์ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สถาบนั พัฒนาคุณภาพวิชาการ. (2550). เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชว่ งช้ันท่ี 3. สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า. (2485). พระราชบญั ญตั ิ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย พุทธศักราช 2485. (1). กรงุ เทพ : ธนาคารแหง่ ประเทศไทย. ส�ำ นักงานสถิติแหง่ ชาต.ิ (2542). ขอ้ มูลการส�ำ รวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน. กรงุ เทพ : search จาก http://www.nso.go.th/ หนงั สอื ภาษาองั กฤษ Bradley R. Schiler. (1996). Essentials of Economics. (2). : McGraw-Hil. Alain Anderton. (2009). Economics AS Level. (4th Edition). : Causeway Press. Ian Chambers, Linda Hal, Susan Squires. (2006). Longman Business Studies For IGCSE. (3rd ed). : Longman. International Monetary fund. (2011). World Economic Outlook. (1). Washington D.C. Mankiw Gregory. (2007). Principle of Macroeconomics. (4th Editin). Massachusetts : Harvard University. Mr.Malcolm D Knight. (2007). Inflation Targeting in Emerging Market Economics. (1). : Bank for International Settlements. Robert Dransfield , Terry Cook and Jane King. (2010). Economics for IGCSE. (1). : Endorse by University of Cambridge International Examinations. วารสาร / บทความ ชนาภรณ์ เสรวี รวทิ ยก์ ลุ และคณะ (21 ธันวาคม 2561) ความท้าทายของกรอบนโยบายการเงินไทยในโลกทเ่ี ปลยี่ นไป. บทความสั้น,. ธนาคารแหง่ ประเทศไทย. โชตพิ ัฒน์ กลิ่นสุคนธ์ และมณฑล ศริ ิธนะ (2562). การปรับตวั ของธุรกิจไทย ในยุค E-commerce. บทความสัน้ ,. ธนาคารแห่งประเทศไทย. ธนาคารแหง่ ประเทศไทย (ไตรมาส 2 2561) ความท้าทายเชงิ โครงสรา้ งของเศรษฐกิจไทยและการประสานนโยบายเศรษฐกจิ . บทความในกรอบ รายงานนโยบายการเงนิ . ธนาคารแห่งประเทศไทย (ไตรมาส 4 2561) การกำ�หนดกรอบและเป้าหมายนโยบายการเงินท่ีเหมาะสมของไทย ท่ามกลาง ความท้าทายจากบรบิ ททางเศรษฐกจิ และการเงนิ ทเ่ี ปล่ียนแปลงไป. บทความในกรอบ รายงานนโยบายการเงิน. 162 เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดยี วอยู่

ภาสกร ตาปสนนั ทน์ (27 พฤศจกิ ายน 2561) อตั ราเงนิ เฟอ้ โลกต�ำ่ เพราะอะไร? ไขขอ้ สงสยั ผา่ นมมุ มองเทคโนโลยี. บทความสัน้ ,. ธนาคารแหง่ ประเทศไทย. รงุ่ โปษยานนท์ มัลลกิ ะมาส. (2554). ทำ�ไม ธปท. ตอ้ งดดู สภาพคลอ่ งเพิ่มเมื่อมกี ารข้ึนอัตราดอกเบ้ียนโยบาย?. Focused and Quick (FAQ). Issue 32,. ธนาคารแห่งประเทศไทย. วราพงศ์ วงศว์ ัชรา และคณะ (5 กมุ ภาพันธ์ 2562). มิตใิ หมข่ องนโยบายการเงินและการรักษาเสถียรภาพระบบการเงิน. บทความ aBRIDGEd,. สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อง๊ึ ภากรณ์. วรนิ ทพิ ย์ วรศกั ดิ์ (20 สงิ หาคม 2562). การดำ�เนนิ นโยบายการเงนิ ไทยภายใตพ้ ลวัตเงนิ เฟอ้ ที่เปลีย่ นแปลงไป. บทความสนั้ ,. ธนาคารแหง่ ประเทศไทย. เสาวณี จันทะพงษ์ และกมั พล พรพฒั นไพศาลกุล (20 กุมภาพันธ์ 2562). การยกระดับทกั ษะแรงงานไทย : โจทย์ใหญ่ ในยคุ เทคโนโลยีเปลย่ี นโลก. บทความส้นั ,. ธนาคารแหง่ ประเทศไทย. ส�ำ นักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ. (2552). “มองเศรษฐกิจผา่ น...บัญชีเศรษฐกจิ เงินทนุ ”. จดหมายข่าว บัญชีประชาชาติ. ฉบบั ท่ี 15 ประจำ�ไตรมาส 3. อรัญญา ศรวี ิโรจน์. (2554). วกิ ฤตน้ำ�มันปาลม์ : บทเรียนจากนโยบายควบคมุ ของภาครฐั . Focused and Quick (FAQ). Issue 23,. ธนาคารแห่งประเทศไทย. World Bank. (2011). World Development Report. ชอ่ื วารสาร, New York, Oxford University. วิทยานพิ นธ์ จริยา เปรมศลิ ป.์ (2548). ทางเลือกในการวดั อัตราเงนิ เฟอ้ พนื้ ฐานสำ�หรบั กรณีของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบณั ฑติ ,. มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. หนังสือพิมพ์ จรยิ า เปรมศลิ ป์. (25 มกราคม 2553). แจงส่ีเบี้ย : วนิ ัยการคลงั ทา่ มกลางวิกฤตแิ ละความทา้ ทาย. (1). กรงุ เทพ : กรงุ เทพธรุ กจิ . ไพบูลย์ กติ ตศิ รกี งั วาน. (2554). เงินเฟ้อมนั น่ากลวั จริงหรือ?. (1). กรุงเทพ : กรุงเทพธรุ กจิ . วมิ ตุ วานชิ เจรญิ ธรรม. (21 มถิ นุ ายน 2550). “ปราณ-ี ฉลองภพ” กบั ความเปน็ อสิ ระของธนาคารแหง่ ประเทศไทย. ประชาชาตธิ รุ กจิ . ศภุ วุฒิ สายเชอ้ื . (2 สิงหาคม 2553). “ความหวงั ดแี ต่ไดผ้ ลเสียของนโยบายเศรษฐกจิ รัฐบาล”. กรงุ เทพธรุ กิจ. เสาวณี จนั ทะพงษ์ และขวัญรวี ยงต้นสกุล (19 กรกฎาคม 2559). แจงสี่เบีย้ : ‘นวัตกรรม’ : แรงขบั เคลื่อนใหม่ของเศรษฐกจิ ไทย. (1). กรงุ เทพ : กรุงเทพธุรกิจ. เวบ็ ไซต์ http://www.bot.or.th ธนาคารแหง่ ประเทศไทย. http://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/Pages/MonetEducation.aspx นโยบายการเงนิ ฉบบั ประชาชน สายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย. http://th.wikipedia.org วกิ ิพเี ดยี สารานกุ รมเสร.ี http://www.thaiwelbeing.org วพิ ากษ์จดี พี ี จดี พี เี ปน็ มาตรวดั ความสุขและความมงั่ ค่งั ของประชาชาตไิ ดจ้ รงิ หรือ ? โครงการให้ ความรู้เร่อื งแนวทางการพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื เพ่อื สงั คมสขุ ภาวะ. http://www. uinthai.net สาระเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์จุลภาค เศรษฐศาสตรม์ หภาค เศรษฐกจิ พอเพียง ขอ้ มลู ออนไลน.์ http://www.nesdb.go.th ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาต.ิ http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/theme_2-7-3.html สำ�นกั งานสถิติแห่งชาติ ข้อมลู การส�ำ รวจภาวะเศรษฐกิจ และสงั คมของครวั เรือน. http://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sec/Lom12/02-01-02.html มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช. 163เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

วิภาคเศรษฐกิจไทย (Anatomy of Thai Economy) GDP per capita : แมŒรายไดตŒ ‹อหัวของคนไทยจะเพมข้นทุก ๆ ป‚ แต‹ยงั ตำ่ เม่ือเทียบกับประเทศอ่ืน บาทตอ ป รายไดŒต‹อหัวของคนไทย 300,000 200,000 Luxembourg 2538Singapore Switzerland 2540 United States 25412542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 Mexico Brazil 2554 Indonesia 25552556 2557 2558 2559 ~ 240,000 บาท25602561 100,000 ~ 1,865 USD Qatar 2539 UAE Thailand 2553 Bhutan 0 ทมี่ า : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ดอลลารสหรัฐฯ อันดับความรำ่ รวยของคนไทย ป‚ 2562 140,000 120,000 ~ 65,253 USD ~ 48,727 USD ~ 19,484 USD 100,000 80,000 Ireland Norway Hong KongDenmark Austria Sweden AustraliaFrance Korea New ZealandPortugal Greece Turkey China Sri Lanka Ukraine Lao P.D.R.Pakistan CambodiaNepal Haiti 60,000 Brunei Netherlands Germany Taiwan Canada United Kingdom Italy Japan Poland Croatia Malaysia Philippines Myanmar Bangladesh Kenya Zimbabwe Burundi 40,000 20,000 0 ท่มี า : International Monetary Fund, World Economic Outlook Database, October 2020 โครงสรŒางเศรษฐกจิ ไทย : ภาคเกษตรมีบทบาทนŒอยลง ขณะทภ่ี าคบรการมบี ทบาทมากขน้ ในปจจบนั สัดสวน (% ใน GDP) ภาคเกษตร ภาคอตุ สาหกรรม ภาคบรกิ ารและอนื่ ๆ* 100 75 50 25 0 2494 2504 - 2509 2510 - 2514 2515 - 2519 2520 - 2524 2525 - 2529 2530 - 2534 2535 - 2539 2540 - 2544 2545 - 2549 2550 - 2554 2555 - 2559 2560 2561 2562 *หมายเหตุ : ภาคบรกิ ารและอน่ื ๆ ประกอบดวย ภาคกอสราง การคา ปลีกคา สง การขนสง คมนาคม การไฟฟา ประปา โรงแรมและภตั ตาคาร การคา อสังหาริมทรพั ย การศึกษา การบรกิ ารสขุ ภาพ เปน ตน ทม่ี า : สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ 164 เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดียวอยู่