Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

Description: เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

Search

Read the Text Version

เศรษฐศาสตร เลม‹ เดยี วอย‹ู ฉบบั ปรับปรงุ ใหม‹ 165เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดียวอยู่

“ เศรษฐศาสตร์เป็นเร่อื งใกล้ตัว และไม่ได้ยากอยา่ งที่หลายคนเขา้ ใจกนั หนังสือเลม่ นจ้ี ึงเปน็ หนงั สอื เรยี นเสรมิ วชิ าเศรษฐศาสตร์ ทอี่ ธบิ ายถึงท่ีมาท่ีไปของสง่ิ ทเี่ กิดข้ึน ในชีวติ ประจ�ำ วันด้วยหลกั ทางเศรษฐศาสตร์ เชน่ ทำ�ไมราคาสนิ ค้าช้นิ เดยี วกันถึงมที ้งั ชว่ งที่ ราคาถูกและราคาแพงแตกต่างกนั ออกไป เป็นตน้ ” 166 เศรษฐศาสตร์...เลม่ เดยี วอยู่

เศรษฐศาสตร เล‹มเดียวอยู‹ ฉบับปรับปรุงใหม‹

คำ�น�ำ ในฐานะผู้ใช้วิชาเศรษฐศาสตร์ทำ�งานทุก ๆ วัน ตัวผมมักจะได้รับคำ�ถามจากเด็ก ๆ หรือจาก ผ้ปู กครองของเด็กวา่ “เศรษฐศาสตรเ์ รียนเก่ยี วกบั อะไร เรยี นจบแลว้ ไปทำ�งานอะไรไดบ้ ้าง ?” คำ�ถามน้ีตอบให้ยาวก็ได้ ตอบให้สั้นก็ได้ ใครอยากอ่านคำ�ตอบยาว ๆ สามารถพลิกไปอ่านบทที่ 1 ของหนังสือเล่มนี้ได้ทันที แต่ถ้าให้ตอบส้ัน ๆ ผมอยากจะอธิบายว่า เศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาท่ีว่าด้วยเหตุผล การตัดสินใจ และพฤติกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับเรื่องปากท้อง ความเป็นอยู่ และการทำ�มาหาได้ของพวกเราทุกคน เปน็ วิชาทชี่ ่วยตอบโจทย์ว่าดว้ ยขา้ วของ เงินทุน แรงงาน และเทคโนโลยที ่มี อี ยนู่ น้ั เราควรจะบรหิ ารจัดการทรัพยากร ท่ีมีจ�ำ กดั เหล่าน้อี ย่างไรใหเ้ กดิ ประโยชน์ เกดิ รายได้ เกิดความพึงพอใจสูงสดุ ซึง่ เศรษฐศาสตร์จะช่วยใหแ้ นวทางคิด อย่างเปน็ ระบบ และสามารถใชไ้ ดท้ ั้งสำ�หรับบคุ คล ท้องถ่ิน อุตสาหกรรม ประเทศ หรือของโลก เศรษฐศาสตร์อยู่ใกล้ตัวเรามากกว่าที่คิด เช่น คุณแม่จะซื้ออะไรมาทำ�อาหารดี เพราะราคาสินค้าในตลาด ไมเ่ ทา่ กนั ในแตล่ ะวนั ชายหนมุ่ จะพาหญงิ สาวไปเท่ียวท่ไี หนดี จงึ จะท�ำ ใหส้ าวพอใจโดยไมเ่ กนิ งบประมาณในกระเป๋า อนาคตถ้าอยากมบี า้ นมรี ถจะรอเกบ็ ออมจนมีเงินซ้ือดว้ ยตัวเอง หรือจะกูเ้ งนิ จากธนาคารซื้อเดี๋ยวน้ี ถ้าอยากเที่ยวญ่ีปุ่นก็ต้องไปแลกเงินบาทเป็นเงินเยน ซ่ึงบางวันก็แลกได้ถูกบางวันก็แพงขึ้นอยู่กับอัตรา แลกเปลีย่ นในวันนัน้ เป็นตน้ เศรษฐศาสตร์จะเป็นหลักคิดที่ช่วยให้เราสามารถตัดสินใจเลือกได้ดียิ่งข้ึน ช่วยให้เราเข้าใจท่ีมาที่ไปของ เร่ืองราวต่าง ๆ ในเร่ืองเศรษฐกิจ เราจะสามารถฟังข่าวจากวิทยุและโทรทัศน์ได้เข้าใจมากข้ึน รวมท้ังสามารถ น�ำ ข้อมูลท่ีได้ไปใช้ในการตัดสินใจได้อย่างถูกต้องและมปี ระสทิ ธิภาพมากขึ้นด้วย เศรษฐศาสตร์จึงเป็นวิชาท่ีทุกคนนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่จำ�กัดเฉพาะคนที่ใช้เศรษฐศาสตร์ในการประกอบ อาชีพโดยตรง เชน่ ครูสอนวิชาเศรษฐศาสตร์ นกั วิจยั นกั การธนาคาร นกั วิเคราะห์เศรษฐกิจในบรษิ ัทเอกชน หรือ นกั วางแผนเศรษฐกิจในหนว่ ยงานราชการเทา่ นนั้ คนอืน่ ๆ เชน่ เกษตรกร ผู้ผลิตสนิ ค้า พนกั งานขาย ผปู้ ระกอบ อาชพี อิสระ หรอื แมแ้ ตผ่ ูบ้ ริโภคทว่ั ๆ ไปอยา่ งเรา ๆ ท่าน ๆ กค็ วรร้หู ลักเศรษฐศาสตร์เช่นเดยี วกนั 2 เศรษฐศาสตร์...เลม่ เดยี วอยู่

ธนาคารแหง่ ประเทศไทย(ธปท.) ในฐานะหนว่ ยงานหนงึ่ ของประเทศทใ่ี ชเ้ ศรษฐศาสตรเ์ ปน็ หลกั ในการท�ำ งาน เพื่อให้เศรษฐกิจเติบโตอย่างม่ันคงและยั่งยืน เราต้องการเผยแพร่ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ให้กว้างขวางออกไป เพื่อให้คนไทยมีหลักคิดท่ีถูกต้องชัดเจน สามารถตัดสินใจด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ถูกพัดพาไปตาม กระแสหรอื ตามส่ือต่าง ๆ ทอ่ี าจไม่ถูกตอ้ งกไ็ ด้ นี่จึงเป็นที่มาของหนังสือเรียนเสริม “เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่” ซ่ึง ธปท. ไม่เพียงตั้งใจให้เป็นหนังสือ เสริมสำ�หรับนักเรียนเท่าน้ัน แต่เราตั้งใจให้ประชาชนทั่วไปได้อ่านด้วย หนังสือเล่มนี้จึงถูกจัดทำ�ขึ้นอย่างพิถีพิถัน เราไดค้ ัดเลือกพนักงานของ ธปท. ซงึ่ มปี ระสบการณ์ในการท�ำ งานด้านเศรษฐกิจการเงินทหี่ ลากหลาย รวมทัง้ เคยมี ประสบการณ์สอนวิชาเศรษฐศาสตร์ให้แก่คนในหลายระดับ ไม่ว่าจะเป็นเด็กนักเรียน ครูสอนวิชาเศรษฐศาสตร์ นักธุรกจิ จนถงึ ระดบั ชาวบ้านร้านตลาด ใหม้ าเป็นผู้เขยี นหนงั สือเล่มนี้ ผมได้มีโอกาสติดตามกระบวนการผลิตหนังสือ “เศรษฐศาสตร์... เล่มเดียวอยู่” ต้ังแต่ต้นจนจบ ได้เห็น ความต้ังใจผู้เขียนและความเอาใจใส่ของคณะทำ�งานทุกคน จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นหนังสือ ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ท่ีอ่านเข้าใจง่ายท่ีสุดในท้องตลาด มีเนื้อหาสาระครบถ้วน และมีความถูกต้องตามหลัก วิชาการ ที่สำ�คัญ หนังสือเล่มนี้มีเสน่ห์ดึงดูดให้อ่านสนุก เพราะมีการยกตัวอย่างในชีวิตประจำ�วันมาประกอบ ความเข้าใจเน้ือหาในแทบทุกหน้า ช่วยให้ผู้อ่านเห็นภาพได้ง่ายขึ้น รวมทั้งมีคำ�ถามชวนคิดแทรกเป็นระยะ ๆ ชว่ ยใหผ้ ู้อ่านสนุกไปกับการวเิ คราะห์ ตามความรทู้ ีเ่ พิ่งไดร้ ับมา หนังสือเล่มนี้น่าจะเป็นจุดเริ่มต้นให้ผู้อ่านสนใจวิชาเศรษฐศาสตร์มากขึ้น อาจเป็นแรงบันดาลใจให้เยาวชน หลายคนเลือกศึกษาเศรษฐศาสตร์ในระดับท่ีสูงขึ้นไป หรืออย่างน้อยก็ใช้เป็นประเด็นในวงสนทนากับเพื่อน ๆ เพื่อถกเถียงเรื่องราวต่าง ๆ เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ได้ เพราะผมเองก็ไม่ต้องการให้การศึกษาของเราจบท่ี การอา่ น-ทอ่ งจำ�-น�ำ ไปสอบ แต่ควรจะเป็น อ่าน-คิด-ถกเถียงฟังความ-นำ�ไปปฏบิ ัติ มากกว่า ท้ายที่สุด ขอเรียนว่าเราพร้อมที่จะรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่านทุกท่านในการปรับปรุงหนังสือเล่มนี้ให้ดี ยง่ิ ๆ ข้ึน รวมท้งั พร้อมจะจดั ทำ�หนังสือเล่มถดั ไปหรือผลิตส่ือรูปแบบอืน่ ๆ เพอ่ื เผยแพร่ความรูด้ ้านเศรษฐศาสตร์ ในสังคมไทยให้งอกงามมากขน้ึ ขอใหท้ ุกท่านสนกุ กับการอ่าน “เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดยี วอยู”่ ครบั ไพบูลย์ กิตตศิ รกี งั วาน ผชู้ ว่ ยผ้วู ่าการ สายนโยบายการเงนิ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย สิงหาคม 2555 3เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดียวอยู่

ค�ำ น�ำ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ใหม)่ ในฐานะทปี่ รกึ ษาหนังสอื “เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดียวอย่”ู ผมรู้สกึ ยนิ ดมี ากหลังจาก ธปท. ได้จัดทำ� และตีพิมพห์ นงั สือเล่มนเี้ มือ่ ปี 2555 และไดร้ บั การต้อนรับอย่างอบอุน่ จากท่านผู้อา่ น มีหลายคนบอกผมว่า หนังสือเล่มน้ีน่าสนใจและเป็นประโยชน์ เพราะอ่านได้ทุกวัย ไม่ต้องมีพื้นฐานด้านเศรษฐศาสตร์มาก่อน เป็นการเล่าเรื่องเศรษฐศาสตร์แบบง่าย ๆ และนำ�ไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำ�วัน ผู้เขียนและทีมงานต่างก็รู้สึก ภมู ิใจที่ไดส้ รา้ งสรรค์งานเขียนที่เป็นประโยชนต์ อ่ สาธารณชนในวงกวา้ ง แม้ทุกวนั นี้ ผ้อู ่านจะเข้าถงึ หนังสือเลม่ น้ไี ด้สะดวกผา่ นช่องทางออนไลน์ แต่มีค�ำ ขอใหท้ าง ธปท. ตีพมิ พแ์ บบ รูปเลม่ เพ่ิมเติมมาอย่างต่อเน่อื ง ในวาระที่หนงั สอื เลม่ นจี้ ะตีพิมพใ์ หม่อกี ครง้ั หลงั ผ่านไป 8 ปี ทางผ้เู ขยี นและทีมงาน จึงต้ังใจถือโอกาสนี้ปรับปรุงเพิ่มเติมเนื้อหาให้สมบูรณ์และทันกับโลกในปัจจุบัน  เช่น เทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่กำ�ลัง เปล่ียนโลกจะมีผลกับเราอย่างไร ? หลังจากเกิดวิกฤติการเงินโลกในปี 2551 จนสหรัฐฯ ญ่ีปุ่น สหภาพยุโรป ตอ้ งหนั มาใชน้ โยบายการเงนิ แบบนอกกรอบ (unconventional monetary policy) เพ่อื ชว่ ยฟื้นเศรษฐกิจ เม่อื เวลา ผ่านไปแล้ว 10 ปี เราเรียนรู้ผลท่ีตามมาอยา่ งไรบ้าง ? ท�ำ ไมธนาคารกลางทวั่ โลกใหค้ วามส�ำ คญั กบั “เสถียรภาพ ระบบการเงนิ ” มากขน้ึ ? มีความเสยี่ งใหมอ่ ะไรในโลกทีเ่ ปลยี่ นแปลงรวดเร็วและมีความไมแ่ นน่ อนสูง เปน็ ต้น 4 เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดยี วอยู่

ผมยังเช่ือว่า การอ่าน-คิด-ถกเถียงฟังความ-นำ�ไปปฏิบัติ จะเป็นประโยชน์และทำ�ให้เราอยู่รอดได้ในโลก ยุคดิจิทัล ท่ีต้องเรียนรู้และปรับตัวให้เร็ว เราต้องตั้งคำ�ถามกับสิ่งใหม่ ๆ ถกเถียงแลกเปล่ียนความคิดกับคนที่ หลากหลาย น�ำ ไปปรบั ใชแ้ ละพฒั นาตวั เองใหด้ ขี นึ้ ทกุ ๆ วนั หนงั สอื เลม่ นจี้ ะชว่ ยฝกึ กระบวนการนไ้ี ดด้ ี เพราะผเู้ ขยี น จะเริ่มจากค�ำ ถามเก่ยี วกบั เศรษฐศาสตร์ในชวี ิตประจ�ำ วนั มีกจิ กรรมและค�ำ ถามชวนคดิ เป็นระยะ มกี ารยกตัวอย่าง จรงิ ใหเ้ หน็ ชว่ ยรอ้ ยเรยี งความเขา้ ใจทลี ะเรอื่ งจนสมบรู ณช์ ดั เจน ในสว่ นทา้ ยเลม่ ผเู้ ขยี นไดร้ วบรวมศพั ทเ์ ศรษฐศาสตร์ ท่ีนา่ สนใจและขอ้ มลู เศรษฐกิจไทยทส่ี ำ�คญั เอาไว้ ส�ำ หรับให้ผู้ท่ีสนใจได้ใชอ้ ้างอิงและคน้ ควา้ เพมิ่ เตมิ ต่อไปด้วย ทา้ ยทสี่ ุด เรายงั พรอ้ มรับฟังความคดิ เหน็ เพอื่ ปรับปรุงหนังสือเลม่ น้ีให้ดียง่ิ ๆ ขน้ึ ไปในอนาคตนะครบั ขอใหส้ นุกกบั การอ่าน “เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดยี วอยู่” ฉบบั ปรับปรงุ ใหมค่ รับ ไพบูลย์ กิตติศรกี งั วาน รองผ้วู ่าการ ด้านบรหิ าร ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนั วาคม 2563 5เศรษฐศาสตร์...เลม่ เดยี วอยู่

08 CURRENCY 26 B EXCHANGE BUY EXPORT SELL ECONOMICS TAX What HFoowr Whom IMPORT บทท่ี 1 บทท่ี 3 ความเข้าใจและความส�ำ คญั การแกป้ ัญหาพ้นื ฐาน ของเศรษฐศาสตร์ ทางเศรษฐศาสตร์ : ผลิตอะไร ผลติ อย่างไร สารบญั 18 ผลิตให้ใคร 36 LimReitseodurces บทท่ี 2 บทที่ 4 ปัญหาพ้นื ฐาน กลไกราคา : อปุ สงคแ์ ละอปุ ทาน ทางเศรษฐศาสตร์ 56 กลอ่ งความรทู้ ่ี 1 การใชน้ ำ้�มนั ของไทย มคี วามยดื หยนุ่ ต่อราคาหรอื ไม่ ? 60 กล่องความร้ทู ี่ 2 ตลาดแรงงาน และการกำ�หนดคา่ จ้างขัน้ ต�ำ่ 61 กลอ่ งความรู้ท่ี 3 ทักษะแรงงานในโลกการทำ�งาน ยคุ ใหม…่ เราตอ้ งท�ำ อยา่ งไรเพอ่ื อยรู่ อด ในอนาคต ?

64 94 126 Fiscal Policy IMntoenrentaatriyonPaollicy Monetary Policy บทท่ี 5 บทที่ 7 บทท่ี 9 การท�ำ งานของระบบ การท�ำ งานของระบบเศรษฐกิจ การด�ำ เนนิ นโยบายเศรษฐกิจ เศรษฐกจิ แบบปดิ แบบเปดิ มีภาคตา่ งประเทศ มหภาค (เพ่อื ใหบ้ รรลุเปา้ หมาย) 79 103 130 กลอ่ งความรู้ที่ 4 กล่องความรทู้ ี่ 5 กลอ่ งความรู้ที่ 9 ความเชอ่ื มโยงของ เงินลงทุนจากตา่ งประเทศ ใครคือผ้ชู ้ีทิศทาง ภาคเศรษฐกจิ จรงิ และภาคการเงนิ มีความส�ำ คญั แคไ่ หน ? แนวนโยบายการคลงั ? 142 82 106 กลอ่ งความรูท้ ่ี 10 การด�ำ เนนิ นโยบายการเงิน บทที่ 6 Inflation แบบพิเศษ (unconventional GDP monetary policy) ของประเทศ การท�ำ งานของระบบเศรษฐกจิ เศรษฐกิจหลัก แบบปดิ และมีรัฐบาล 123 144 กล่องความรทู้ ี่ 11 Financial Stability กระบวนการท�ำ นโยบายการเงนิ ของแบงกช์ าตใิ นปจั จุบนั บทที่ 8 151 เปา้ หมายของเศรษฐกจิ มหภาค 112 บทสง่ ทา้ ย 152 กลอ่ งความรู้ที่ 6 บทความท้ายเล่ม : เงินเฟอ นากลวั จริงหรอื ? GDP เปน็ ตวั ช้วี ัดความกนิ ดีอยู่ดี 154 ของประชาชนทดี่ จี ริงหรือ ? อภธิ านศพั ท์ (Glossary) 120 160 แหลง่ ค้นหาขอ้ มูลทางเศรษฐกจิ กลอ่ งความรู้ท่ี 7 164 วิภาคเศรษฐกจิ ไทย อตั ราเงนิ เฟอ้ ต่�ำ ลงทวั่ โลก เพราะอะไร และจะส่งผลอย่างไร ตอ่ การดำ�เนินนโยบายการเงิน ? 123 กลอ่ งความรทู้ ี่ 8 ท�ำ ไมต้องแบง่ แยกบทบาทหนา้ ที่ รัฐบาลกับธนาคารกลาง

บทท่ี 1 ความเข้าใจและความสำ�คัญ ของเศรษฐศาสตร์ CURRENCY EXCHANGE บทน้ีเป็นการเปิดมุมมองเพื่อให้เข้าใจแก่น TAX EXPORT ของวิชา “เศรษฐศาสตร์” ซ่ึงเป็นแขนงความรู้ ท่ีช่วยให้เราเข้าใจพฤติกรรมของคนท่ีต้อง IMPORT ECONOMICS ตัดสินใจเลือกอยู่ตลอดเวลาบนพ้ืนฐานของ เหตุและผล ทั้งเร่ืองเล็ก ๆ ในชีวิตประจำ�วันใน What ระดับบุคคลและครอบครัว ไปจนถึงเรื่องใหญ่ ๆ HFoowr Whom ระดับประเทศ เศรษฐศาสตร์ คืออะไร ทำ�ไมจงึ เป็นเรื่องใกล้ตวั และมีความสำ�คัญ หลายคนคงเข้าใจว่า “เศรษฐศาสตร์” จะต้องพูดถึงเรื่องเงิน ๆ ทอง ๆ ด้วยศัพท์ต่าง ๆ ที่นักวิชาการชอบพูดกัน ไม่ว่าจะเป็น จีดีพี อัตราเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปล่ียน ฯลฯ แต่แท้จริงแล้ว วิชาเศรษฐศาสตร์ดูจะมีอะไรมากกว่านั้น และหากเราลองถามชาวบ้าน ร้านตลาดทว่ั ไป “เศรษฐศาสตร์” อาจเปน็ ค�ำ ทไ่ี ม่คุน้ หแู ตเ่ ราลว้ นคุ้นเคยกบั ความรู้แขนงน้ีดี เพราะเศรษฐศาสตร์เกี่ยวโยงกับชีวิตประจำ�วันของคนเรา ทกุ เพศ ทกุ วยั และทกุ อาชพี จรงิ ๆ แลว้ เราตา่ งกม็ ี “วธิ คี ดิ แบบเศรษฐศาสตร”์ อยู่ตลอดเวลาต้ังแต่ต่ืนจนกระท่ังหลับ และต้ังแต่เกิดจนกระท่ังตาย โดยที่ เราไมร่ ูต้ วั ด้วยซ้ำ�ไป เชน่ 8 เศรษฐศาสตร์...เล่มเดยี วอยู่

• ตืน่ มาตอนเช้า เราเลือกระหวา่ งจะลกุ ไปโรงเรยี น หรอื จะนอน ตอ่ อกี สกั หน่อย • เราจะไปโรงเรยี นด้วยรถประจำ�ทางหรอื รถแท็กซี่ • เข้ามหาวิทยาลัย เราจะเลือกเรียนคณะที่เราชอบ หรือคณะที่ พอ่ แม่อยากใหเ้ ราเรยี น • ตอนน้หี มูมรี าคาแพง เราหันมากินไก่หรือกินปลาดกี ว่า จากตัวอย่างในชีวิตประจำ�วันข้างต้น มาดูกันว่าคุณแค่ทำ�ตามใจ ตัวเองหรอื แทจ้ ริงแลว้ มเี หตุผลทางเศรษฐศาสตร์อยู่เบ้อื งหลงั • เลือกลุกไปโรงเรียน หรือนอนต่อ ต้องชั่งใจว่าจะเอาความสุข จากการนอน แล้วถูกคุณครูลงโทษ หรือสละความสุขเพ่ือ ไม่ต้องถูกคุณครูทำ�โทษ เพราะเราไม่สามารถเลื่อนเวลา เข้าเรียนได้ • เลือกไปด้วยรถประจำ�ทาง โดยยอมเหน่ือยและเสียเวลา เพื่อเก็บเงินไปกินสเต็ก หรือน่ังแท็กซี่สะดวกสบายและยังมีเวลา เหลือไปอ่านหนังสือ แต่เหลือเงินนิดเดียวกินได้แค่ข้าวไข่เจียว เพราะเงินในกระเป๋าเรามจี ำ�กดั • เลือกคณะท่ีเราชอบ หรือคณะท่ีพ่อแม่อยากให้เราเรียน เพราะเรามีโอกาสเลือกเรียนไดแ้ คค่ ณะเดียว • เลือกกินไก่ กินปลา เพราะหมูมีราคาแพง หากเราจะกินหมู เท่าเดมิ ก็ต้องจา่ ยมากขึ้นและเหลอื เงนิ ท�ำ อย่างอนื่ น้อยลง 9เศรษฐศาสตร์...เล่มเดยี วอยู่

จะเห็นว่า “ทุกคนต้องตัดสินใจเลือก (make a choice) “ อยู่ตลอดเวลา” และบางครั้งเราตัดสินใจเลือกด้วยสัญชาตญาณและ ความคิดอ่านของเราไปแล้ว ทั้ง ๆ ท่ียังไม่เคยเรียนเศรษฐศาสตร์เลย ทกุ ครัง้ ท่เี ลอื ก ด้วยซ้ำ� มนุษย์ทุกคนเรียนรู้เศรษฐศาสตร์พื้นฐานด้วยตัวเอง โดยไม่ต้องให้ ตอ้ งมกี ารแลก หรอื ตรงกับ ใครมาสอน เม่ือถึงวัยที่พอคิดอ่านเองได้แล้ว บางคร้ังเราก็นำ�วิธีคิดแบบ เศรษฐศาสตรม์ าใช้ประกอบการตัดสินใจแก้ปัญหาตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจำ�วนั ส�ำ นวนไทยว่า โดยท่ีเราไมร่ ตู้ ัว เคยคิดอยา่ งน้บี า้ งหรอื ไม่ว่า “เราท�ำ อยา่ งนแี้ ลว้ คุ้มหรือไม”่ “ได้อยา่ งเสยี อย่าง” น่ันก็เพราะการตัดสินใจเลือกของเราทำ�ให้ได้มา ซ่ึงของส่ิงหน่ึงท่ีเราชอบ ซ่งึ ตรงกับศพั ท์ท่ี แต่เราก็ต้องยอมเสียสละอีกส่ิงหนึ่งไป หรือพูดง่าย ๆ ว่า ทุกคร้ังท่ีเลือก นกั เศรษฐศาสตรช์ อบใช้กันวา่ ตอ้ งมกี ารแลก หรอื ตรงกบั ส�ำ นวนไทยวา่ “ไดอ้ ยา่ งเสยี อยา่ ง” ซง่ึ ตรงกบั ศพั ท์ ทนี่ กั เศรษฐศาสตร์ชอบใชก้ นั ว่า “trade-off” เชน่ ถ้าเราเลอื กทีจ่ ะนอนตอ่ “trade-off” อีกสักชั่วโมง ก็จะเสียโอกาสที่จะใช้เวลาช่ัวโมงนั้นดูการ์ตูนในตอนเช้า ออกกำ�ลังกาย หรืออ่านหนังสือ เป็นต้น ถ้าเราประเมินแล้วว่าการนอนต่อ ” คมุ้ คา่ กับส่ิงท่เี ราเสียไป เราก็เลอื กท่ีจะทำ� นนั่ คือ วธิ คี ิดแบบเศรษฐศาสตร์ ซ่ึงเช่ือว่ามนุษย์ทุกคนตัดสินใจและเลือกที่จะทำ�บนพ้ืนฐานของความ เป็นเหตุเป็นผล ดังน้ัน เศรษฐศาสตร์จึงไม่ใช่วิชาท่ียากและเป็นเร่ือง ไกลตัวอยา่ งที่หลายคนคิด หากพิจารณารากศัพท์ของคำ�ว่า “เศรษฐศาสตร์” ซ่ึงตรงกับคำ�ใน ภาษาอังกฤษว่า ECONOMICS แล้วจะพบว่ามีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คำ�รวมกัน คือ “OIKOS” ซ่ึงตรงกับภาษาอังกฤษว่า “house” และ “NEMEIN” ซึ่งตรงกับภาษาองั กฤษวา่ “to manage” หมายถงึ การบริหาร จดั การ ดงั นน้ั เศรษฐศาสตร์ จึงหมายถงึ “ศาสตร์ท่เี กีย่ วข้องกบั การจดั การ ครอบครวั ” ซึ่งเก่ียวเนอื่ งกบั คนทกุ คน INTERNATIONAL ECONOMICS ECOMNICORMOICS TRADE AND FINANCE EPRCINOCIPNLEOSMOFICS EBCAOSINCOMICS 10 เศรษฐศาสตร์...เลม่ เดยี วอยู่

อย่างไรก็ตาม ในโลกยุคปัจจุบันซึ่งแต่ละครอบครัวต้องมี ความสัมพันธ์กัน ผ่านทั้งการติดต่อสื่อสาร และการค้าขาย จึงเปรียบ เสมือนเป็นครอบครัวภายใต้ตลาดเดียว คือ ตลาดโลก ในสมัยนี้วิชา เศรษฐศาสตร์จึงกว้างกว่าวิชาว่าด้วยการจัดการครอบครัว โดยนิยาม ว่าเป็น “วิชาท่ีว่าด้วยการจัดสรรทรัพยากรเพ่ือนำ�มาสนองความต้องการ ของมนุษย์ ซ่ึงมีไม่จำ�กัด ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และประเทศชาติ โดยใหเ้ กดิ ประโยชน์และประสทิ ธิภาพสงู สุดเพอื่ ความอยดู่ ีกินดขี องมนษุ ย”์ ตัวอย่างปัญหาท่ีสามารถใช้ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ประกอบการ ตดั สนิ ใจและแกไ้ ขไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เชน่ ปญั หาทดี่ นิ ทม่ี จี �ำ กดั แตค่ นเราตอ้ งการ ใช้ที่ดินเพ่ือเพาะปลกู ให้ได้ผลผลิตมาก ๆ และยังตอ้ งแบ่งปนั ทดี่ นิ บางส่วน สำ�หรับกิจกรรมหรอื การใชป้ ระโยชนป์ ระเภทอน่ื ๆ ด้วย เชน่ การสรา้ งทอี่ ยู่ อาศยั การเลีย้ งสตั ว์ การสรา้ งเสน้ ทางคมนาคม เป็นตน้ แต่เราตอ้ งยอมรบั ความเปน็ จรงิ ทว่ี า่ เราไมส่ ามารถขยายทด่ี นิ ไปยงั นอกโลกได้ จงึ ตอ้ งตดั สนิ ใจ เลือกว่าจะใช้ที่ดนิ ไปท�ำ อะไรบ้างเพอ่ื ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ จะเห็นว่าเพราะทรัพยากรมีจำ�กัด ขณะท่ีความต้องการของคนเรา มีไม่จำ�กัด เราจึงไม่สามารถผลิตทุกส่ิงทุกอย่างที่เราต้องการได้ จึงเกิด การเลือกใชท้ รพั ยากรทม่ี ีอยู่อย่างจ�ำ กดั ให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด (อา่ นเพิม่ เตมิ ไดจ้ ากบทที่ 2) 11เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดียวอยู่

คำ�สำ�คญั (Keywords) ของวชิ านี้ ทรัพยากรมจี ำกัด Resources scarcity ตดั สนิ ใจเลอื ก เไสดยี Œออยยา‹ ‹างง ปรสะงิโยทช่ีเลนือสกูงส:ดุ สงิ เลทือไ่ี มก‹ไดŒ Make a choice ความตอŒ งการไมจ‹ ำกัด Unlimited wants เรารู้แล้วว่า เศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของคน ว‹ารูŒ…ไหม? บนพื้นฐานเหตุและผล จึงไม่น่าแปลกใจที่หลายคนต้องเรียนเศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาพื้นฐาน ตั้งแต่ระดับมัธยมจนถึงระดับมหาวิทยาลัยไม่ว่าจะเป็น เศรษฐศาสตร์ต่างกบั เศรษฐกิจ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะนิติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ อย่างไร คณะรฐั ศาสตร์ ไมเ่ วน้ แม้แตค่ ณะวศิ วกรรมศาสตร์ เมื่อเศรษฐศาสตร์เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของคน การตัดสินใจเลือก เศรษฐกจิ เปน็ ตัวกจิ กรรมทีเ่ กี่ยวกบั ในทางเศรษฐศาสตรจ์ ึงไม่มีถูก ไม่มีผิด ข้ึนอยูก่ ับพฤตกิ รรมความชอบและ การผลติ การบรโิ ภค การซ้อื ขาย ความพงึ พอใจของแตล่ ะคน โดยแตล่ ะคนจะตดั สนิ ใจเลอื กในสง่ิ ทต่ี วั เองพอใจ แลกเปล่ียน การกระจายสินคา้ และ และประเมินแล้วคุ้มค่า ยกตัวอย่างเช่น เม่ือเราซ้ือต๋ัวเข้าไปดูหนังแล้ว บริการต่าง ๆ ของคนท่ีอยรู่ ่วมกัน พอดไู ปสักพกั เรารู้แล้วว่าหนงั ไมส่ นุก เบอ่ื ง่วง ส่งิ ที่ตอ้ งตดั สินใจตามมา ในสังคม ส่วนเศรษฐศาสตร์ คอื เราจะทนน่งั ดตู อ่ จนจบเพราะไหน ๆ ก็ซอื้ ตว๋ั มาแลว้ หรือเลิกดูแลว้ เอา เป็นแขนงวชิ าที่ศึกษาเก่ียวกบั เวลาไปท�ำ อยา่ งอนื่ ดกี วา่ เราคงตอ้ งเปรยี บเทยี บการทนเบอ่ื กบั ความเสยี ดาย พฤติกรรมของบคุ คลและสงั คม ในการด�ำ เนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ดงั กล่าว 12 เศรษฐศาสตร์...เลม่ เดียวอยู่

ว‹ารูŒ…ไหม? เงินที่ซื้อตั๋วมาว่าอันไหนมากกว่ากัน ถ้าเราตัดสินใจดูหนังต่อก็แสดงว่าเรา เสียดายเงินมากกว่า แต่สมมติว่าเพื่อนเราเลือกท่ีจะไม่ดูต่อ ก็แปลว่าเขา พฤตกิ รรมของมนุษย์ มกั จะตีราคา เหน็ ว่าการทนเบ่อื มนั หนกั หนาสาหสั กวา่ ความเสียดายคา่ ตัว๋ หรือไม่คมุ้ ที่จะ ผลประโยชน์ในอนาคตนอ้ ยกวา่ ทนนง่ั ดตู อ่ นนั่ เอง และการเอาเวลาไปท�ำ อยา่ งอนื่ จะไดค้ วามพงึ พอใจมากกวา่ ผลประโยชน์ในวันน้ีทเ่ี กิดขึ้นทันที ค่าตั๋วที่เสียไป จะเห็นว่าต่างคนต่างความคิด จริงอยู่ว่าคนเราทุกคนนั้น ทำ�ให้หลายคนมนี สิ ัยผดั วัน ย่อมมีความอดทน แต่ความอดทนของแต่ละคนอาจจะยาวนานไม่เท่ากัน ประกนั พรุง่ และไมน่ ่าแปลกใจ ความเสียดายเงินก็ต่างกัน การตัดสินใจจึงไม่เหมือนกัน ถามว่าใครถูก ที่เรายังเหน็ คนที่เลอื กสบู บหุ รี่อยู่ หรือใครผิด คงต้องตอบว่าไม่มีใครถูก และไม่มีใครผิด ทุกคนทำ�ในส่ิงท่ี เพราะเขาเห็นประโยชนว์ ันน้ี ตัวเองพอใจ ประเมนิ แลว้ ว่าคุ้มค่า (ผอ่ นคลาย หายอยาก) มากกว่า เคยได้ยินคำ�กล่าวติดตลกไหมว่า คนมีมือเดียวเป็นนักเศรษฐศาสตร์ วันขา้ งหนา้ (ไม่เป็นมะเรง็ ไม่ได้ เพราะนกั เศรษฐศาสตรช์ อบพดู วา่ “on the other hand…” (แปลวา่ ไม่เสยี ชวี ิต) แต่ในอกี ดา้ นหน่งึ ) เน่ืองจากนกั เศรษฐศาสตรม์ ักมองสองด้านเสมอ เพราะ ความเป็นจริงทุกส่ิงมีท้ังข้อดีและข้อเสียควบคู่กันไป คงไม่มีอะไรดีไปหมด หรือเสยี ไปหมด การตดั สนิ ใจจึงไมจ่ �ำ เป็นตอ้ งเปน็ แบบเดยี วกนั เสมอไป Key Points เรียนเศรษฐศาสตรแ์ ลว้ • เศรษฐศาสตร์ เป็นวชิ าที่ศกึ ษาถึง ได้ประโยชน์อะไร ? พฤตกิ รรมของบุคคลและสังคม ในการตดั สินใจเลอื กใช้ทรัพยากร อ่านมาถึงตรงน้ีอาจทำ�ให้สงสัยว่า ท่ีมีอยอู่ ย่างจำ�กดั มาผลติ สนิ ค้า แคเ่ ขา้ ใจเหตผุ ลและพฤตกิ รรมของมนษุ ยจ์ ะ และบรกิ ารต่าง ๆ เพือ่ ตอบสนอง มปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร เราเรยี นรเู้ ศรษฐศาสตร์ ความตอ้ งการท่ีไมม่ ีขดี จ�ำ กัด เพ่ือจะได้เข้าใจปรากฏการณ์และปัญหา ให้ไดค้ วามพงึ พอใจสงู สุด ต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจท่ีเกิดขึ้นทั้งสาเหตุ • เศรษฐศาสตร์ช่วยใหค้ นเราเข้าใจ และผลกระทบต่อบุคคล ครอบครัว และ และตดั สนิ ใจ “เลือก” อย่างมี ประเทศชาติ เพอ่ื ทจี่ ะประยกุ ตใ์ ชใ้ นการด�ำ เนนิ เหตุผล ชีวิตประจำ�วนั อย่างมเี หตผุ ล และเลือกแนวทางใน • ในการดำ�เนินชีวิตประจำ�วนั การแกไ้ ขปญั หาทางเศรษฐกจิ ตลอดจนสามารถวางนโยบาย เราทกุ คน ทกุ เพศ ทกุ วัย และ ที่เหมาะสมต่อเศรษฐกจิ ของประเทศได้ ทกุ อาชพี ล้วนตอ้ งเผชญิ ปญั หา ทางเศรษฐศาสตร์ 13เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดยี วอยู่

ในระดับบุคคล : เศรษฐศาสตร์ทำ�ให้เราสามารถจัดสรรเวลาและ 1 เงินท่มี จี ำ�กดั ไดค้ มุ้ คา่ เนื่องจากการตัดสินใจใด ๆ ย่อม “ไดอ้ ย่างเสยี อยา่ ง (trade-off)” เสมอ เช่น ในฐานะท่ีเป็นแรงงานก็อาจเลือกอาชีพค้าขาย หรือรับจ้าง ในฐานะของผู้บริโภคก็อาจเลือกซื้อสินค้าหรือบริการท่ีมี หลากหลายชนิด หลายย่ีห้อ หลายราคา หรือแม้กระทั่งจะเลือกซ้ือสินค้า วนั น้ีหรือออมเงนิ ไวใ้ ชใ้ นอนาคต ในระดับครอบครัว :  เศรษฐศาสตร์ช่วยให้ครอบครัวสามารถ 2 ตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ มากมาย ไม่ว่าสมาชิกคนไหนจะต้องทำ�งานอะไร เช่น แม่เป็นคนซักผ้า หุงข้าว พ่อซ่อมรถ แต่ถ้าจะให้พ่อซักผ้า หุงข้าว ให้แม่ซ่อมรถคงไม่ดีแน่ ครอบครัวจึงต้องแบ่งหน้าที่ตามความถนัด ความพอใจ และความตอ้ งการของสมาชกิ แตล่ ะคน นอกจากน้ี เศรษฐศาสตร์ ยงั ชว่ ยเรอ่ื งการบรหิ ารคา่ ใชจ้ า่ ยภายในครอบครวั จากการตดั สนิ ใจซอ้ื สนิ คา้ และบริการภายใต้รายได้ท่ีมีจำ�กัด อาทิ หากจะซ้ือรถยนต์ใหม่ก็ต้องแลก ด้วยการลดค่าใช้จ่ายอื่น ๆ และถ้ารายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย ก็จำ�เป็น ต้องควบคุมรายจ่ายหรือหาทางเพ่ิมรายได้ แต่ถ้ารายได้มากกว่ารายจ่าย กจ็ ะตอ้ งตัดสนิ ใจในเรื่องการออมดว้ ย 14 เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดยี วอยู่

3 ในระดับชาติ : เศรษฐศาสตร์ช่วยทำ�ให้เราเข้าใจว่า ต้องตัดสินใจ อยา่ งไรเพอื่ ใหก้ ารจดั สรรทรพั ยากรทมี่ อี ยจู่ �ำ กดั ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ เชน่ ว‹ารŒู…ไหม? ตัดสินใจว่าจะผลิตอะไรดีหรือใครจะเป็นผู้ผลิต ใครจะเป็นคนปลูกพืชผัก เลย้ี งสตั ว์ ตดั เยบ็ เสอ้ื ผา้ หรอื ใครจะเปน็ หมอรกั ษาคนไข้ ฯลฯ เมอ่ื เปน็ เชน่ น้ี ปัญหาทางสังคมและการเมอื ง สงั คมกจ็ ะจดั สรรสมาชกิ ไปในกจิ กรรมการผลติ ตา่ ง ๆ และจดั สรรทรพั ยากร กม็ ักจะมีผลสืบเนอ่ื งมาจาก ทมี่ อี ยอู่ ยา่ งจ�ำ กดั ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ โดยใชร้ ะบบตลาดทมี่ กี ลไกราคาเปน็ ปญั หาทางเศรษฐกจิ ตวั จดั สรร เพราะจะเปน็ ตวั บอกวา่ ควรน�ำ ปจั จยั การผลติ นน้ั มาผลติ สนิ คา้ อะไร มากน้อยแคไ่ หน ใช้วธิ ีการใด และจำ�หน่ายจ่ายแจกสินค้านัน้ ไปใหใ้ ครบา้ ง ตลอดจนจะนำ�รายได้มาแบ่งสรรปันส่วนให้กับเจ้าของปัจจัยการผลิตที่มี สว่ นร่วมในการผลติ คนละเท่าไร อย่างไรก็ดี เศรษฐศาสตร์ทำ�ให้เราเข้าใจว่ายังมีกรณีที่ระบบตลาด ไมส่ ามารถจัดสรรทรัพยากรไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เช่น เป็นสินค้าทจ่ี ำ�เป็น ต่อการบริโภคแต่ภาคเอกชนไม่อยากผลิต อาทิ การป้องกันประเทศ หรือ สินค้าบางอย่างหากปล่อยให้เอกชนผลิตได้อย่างเสรี ก็จะทำ�ให้เกิดการ ผกู ขาดของผผู้ ลติ บางราย ซง่ึ อาจท�ำ ใหผ้ ผู้ ลติ ก�ำ หนดราคาแพงจนประชาชน ไม่สามารถเขา้ ถงึ สินคา้ น้ันได้ ท้ัง ๆ ท่ีเป็นสนิ คา้ ทจี่ ำ�เปน็ รฐั บาลจงึ จำ�เปน็ ตอ้ งเขา้ มาบรหิ ารจดั การและผลติ สนิ คา้ และบรกิ ารนน้ั ๆ เสยี เองในบางกรณี เช่น การสร้างถนนและสาธารณูปโภคอื่น ๆ ไปสู่ชุมชนที่อยู่ห่างไกล ซง่ึ เอกชนคงไมท่ ำ�แน่ เพราะขาดทนุ นอกจากนี้ รฐั บาลอาจไมส่ ง่ เสรมิ กจิ กรรมบางประเภททไ่ี มก่ อ่ ประโยชน ์ ต่อส่วนรวม อาทิ เก็บภาษีจากกิจกรรมท่ีก่อให้เกิดมลพิษ หรือกิจกรรม ท่ีเป็นโทษแก่ประชาชน เช่น เก็บภาษีสรรพสามิตจากสุรา เป็นต้น ท้ังนี้ เศรษฐศาสตร์จะช่วยให้รัฐบาลสามารถพิจารณาวางแผนงบประมาณ (เงินท่ีรัฐบาลนำ�ไปใช้จ่ายเพื่อการบริหารประเทศ) การใช้ทรัพยากรของ ประเทศท่มี ีอยู่อย่างจำ�กัด เชน่ ป่าไม้ น�้ำ และเหมอื งแร่ เป็นต้น เพื่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุด ให้ประชาชนทุกคนกินดีอยู่ดี ได้รับบริการสาธารณะ พนื้ ฐานทจี่ �ำ เปน็ ตอ่ การด�ำ รงชพี เชน่ จะจดั สรรงบประมาณไปใหก้ บั การศกึ ษา และสาธารณสุขเท่าใดที่จะเป็นประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนและประเทศ ทงั้ ในระยะสั้นและระยะยาว 15เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดยี วอยู่

แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์ ในปัจจุบัน การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์แบ่งเป็น 2 แขนงหลัก คอื 1. เศรษฐศาสตร์จลุ ภาค (Microeconomics) เป็นการศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจของ บุคคลและครัวเรือน เป็นการศึกษาเฉพาะส่วนย่อย ๆ ในระยะเวลาหนง่ึ ๆ เชน่ พฤตกิ รรมของตลาด กลไกราคา (อา่ นเพิ่มเตมิ จากบทที่ 3) 2. เศรษฐศาสตร์มหภาค  (Macroeconomics) เป็นการศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจใน ภาพรวมหรือในระดับประเทศ เช่น รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม การลงทนุ ภาวะการจา้ งงานของ ประเทศ การเงนิ และการคลงั ของประเทศ การคา้ ระหวา่ ง ประเทศ อัตราดอกเบ้ีย ซึ่งท้ังหมดน้ันเป็นปัญหาที่ กว้างขวางกว่าเศรษฐศาสตร์จุลภาค เพราะว่าไม่ได้ กระทบเพียงธุรกิจ หรือคนใดคนหนึ่งเท่าน้ัน แต่จะ กระทบถึงบุคคลโดยทั่วไป ครัวเรือน การผลิตท้ังหมด และเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ จากบทน้ีเราทราบแล้วว่า เหตุใดทุกคนจึงต้องเก่ียวข้องกับเศรษฐศาสตร์ ปัญหาพื้นฐานท่ีทุกคน ต้องเผชิญ ก็คือ ทุกคนไม่ได้ในสิ่งท่ีตัวเองต้องการทุกอย่าง ต้องตัดสินใจเลือกไม่ทางใดก็ทางหน่ึง แต่เราสามารถใช้ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ประกอบการตัดสินใจ “เลือก” อย่างมีเหตุมีผล ปัญหาท่ีต้อง เลอื กน้เี กดิ ขนึ้ ได้อยา่ งไร จะได้กล่าวถงึ ในบทตอ่ ไป 16 เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

คณุ เรียนรสู้ ิง่ เหล่านแี้ ลว้ หรือยัง • เขา้ ใจและทราบวา่ เศรษฐศาสตร์ส�ำ คัญอย่างไร • เขา้ ใจว่ากจิ กรรมทกุ อย่างทเี่ ลอื กมาต้องมกี ารไดอ้ ย่างเสียอย่าง • น�ำ ความรทู้ างเศรษฐศาสตรท์ ่ีได้ไปใช้ในการตัดสนิ ใจในชีวิตประจำ�วนั ได้ กิจกรรมทดสอบความเข้าใจ ลองยกตัวอย่างเหตกุ ารณ์ในชวี ิตประจำ�วันท่ีต้องใช้ความรทู้ างเศรษฐศาสตร์ มาชว่ ยในการตดั สนิ ใจ 17เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดยี วอยู่

บทที่ 2 LimReitseodurces ปัญหาพื้นฐาน ทางเศรษฐศาสตร์ บทน้ีเป็นการทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์จากความต้องการของมนุษย์ท่ีมีอยู่ อย่างไม่จำ�กดั ขณะท่ีทรัพยากรมีไม่เพียงพอที่จะผลิตส่งิ เหล่าน้นั ได้ทง้ั หมด แม้ในโลกนจ้ี ะมแี หลง่ ทรพั ยากร อยมู่ ากมายแตก่ ็มีจำ�กดั บางอยา่ งใช้แล้วหมดไป บางอยา่ งแม้จะสรา้ งเพ่มิ ได้แตก่ ต็ อ้ งใช้เวลา ดงั นัน้ คนเรา จึงต้องมีการตัดสินใจเลือกซ่ึงเป็นส่ิงท่ีทุกคนล้วนต้องเผชิญในชีวิตประจำ�วัน โดยส่ิงท่ีไม่ได้เลือกก็จะเป็น ตน้ ทนุ ที่เราต้องเสยี โอกาสไป หรอื ในทางเศรษฐศาสตรเ์ รยี กวา่ “ตน้ ทนุ คา่ เสียโอกาส (opportunity cost)” ทรพั ยากรมีจำ�กดั แต่ความต้องการของคนมีไม่จำ�กัด จงึ เกิดปัญหาความขาดแคลน (Scarcity) หากหยิบกระดาษขึ้นมาสักแผ่นแล้วลองจดส่ิงที่เราต้องการหรืออยากได้ในตอนน้ี คงมีมากมายนับไม่ถ้วน และถ้าลองเอาความต้องการของทุกคนมารวมกนั ไมอ่ ยากนกึ เลยว่า จะตอ้ งใช้ทรพั ยากรเพ่อื เปน็ วัตถุดิบ เคร่ืองมือ เคร่ืองจักร แรงงาน ไฟฟ้า เท่าไรจึงจะเพียงพอที่จะสามารถผลิตของท่ีทุกคนอยากได้ท้ังหมด ถ้าความต้องการ มีมาก ๆ ทรัพยากรที่เอามาผลิตนี้ก็จะกลายเป็นของหายากหรือขาดแคลน (scarcity) ในท่ีน้ีรวมถึงเวลาซ่ึงเป็น ทรพั ยากรทม่ี คี ่าอยา่ งหน่งึ กม็ จี ำ�กัดดว้ ยเชน่ กนั จะเห็นได้ชดั วา่ ความต้องการมีไมจ่ ำ�กดั (unlimited wants) ขณะที่ ทรัพยากรมีจำ�กัด (limited resources) ทำ�ให้เกิดปัญหาขึ้น ซ่ึงก็เป็นปัญหาพ้ืนฐานท่ีเกิดข้ึนตลอดเวลา แล้วต้อง ทำ�อย่างไรจงึ จะจดั สรรทรพั ยากรมาผลติ ให้ไดใ้ นส่งิ ท่เี ราตอ้ งการ 18 เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดยี วอยู่

Key Points ค�ำ ตอบไมย่ าก คอื เราต้องเลือก ต้องตัดใจสละบางอยา่ ง เพราะไม่ สามารถทำ�ได้ทั้งหมดทุกทางเลือก เช่น ถ้าเรานำ�ทรัพยากรท่ีมีมาผลิตของ ปญั หาพืน้ ฐานทางเศรษฐศาสตร์ ส่ิงหนง่ึ ก็จะไมส่ ามารถเอาไปผลติ ของส่งิ อน่ื บทบาทของวิชาเศรษฐศาสตร์ เกดิ จากความต้องการมีไม่จำ�กัด จึงต้องการท่ีจะตอบว่า เราจะเลือกผลิตอะไร หรือไม่ผลิตอะไร เพ่ือให้ (unlimited wants) ขณะท่ที รัพยากร/ การเลือกดังกลา่ วคุ้มคา่ มากทส่ี ุด เวลามีจำ�กัด (limited resources) กิจกรรมทดสอบความเขา้ ใจ สิ่งที่เศรษฐศาสตร์เรยี กว่าเป็นสินค้าขาดแคลน (scarce goods) มีทง้ั ที่จบั ต้องได้ และจบั ต้องไม่ได้ เช่น นำ้�ชลประทาน แรงงานทกั ษะสูง ทด่ี ิน ยีห่ ้อสินคา้ สมั ปทาน ผู้ให้สัญญาณโทรศพั ท์มอื ถอื หรือโทรทศั น์ ค�ำ ถาม : ลองยกตัวอยา่ งใกล้ตัวคณุ และลองอธิบายวา่ 1. ท�ำ ไมตัวอย่างของคุณจึงเรยี กไดว้ า่ เป็นส่ิงขาดแคลนทางเศรษฐศาสตร์ 2. ความขาดแคลนนีท้ ำ�ใหต้ ้องตัดสนิ ใจแก้ปญั หาอยา่ งไร 19เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดยี วอยู่

ทางเลอื กและคา่ เสยี โอกาส (Choice and Opportunity Cost) หากเราต้องเลือกทำ�อะไรสักอย่างหน่ึง คำ�ถามที่อยู่ในใจ คือ “ทำ�อย่างนีค้ ุ้มหรอื ไม่” เพราะเมอื่ เราเลอื กท�ำ อย่างหน่ึง กไ็ มส่ ามารถทำ�อกี อยา่ งหนึ่งได้ในเวลาเดยี วกัน เชน่ ถ้าเลือกปลูกขา้ วบนทด่ี นิ ผนื หนง่ึ ก็จะไม่ สามารถปลกู ขา้ วโพดในท่ดี นิ เดยี วกันได้เพราะทด่ี นิ มีจ�ำ กัด หรือ คณุ แม่มเี งินเก็บและอยากจะน�ำ ไปลงทนุ ถา้ คณุ แมเ่ ลือกซ้อื หุน้ เพอ่ื จะไดร้ บั เงนิ ปนั ผล กจ็ ะไมส่ ามารถเอาเงนิ จ�ำ นวนเดยี วกนั ไปฝากธนาคาร เพอ่ื รับดอกเบยี้ ได้ หรือ เราต้องเลือกว่าเย็นนี้จะทำ�อะไร ระหว่างเล่นฟุตบอลกับอ่าน หนงั สอื ทบทวนบทเรยี น ถา้ เราเลอื กเลน่ ฟตุ บอล สง่ิ ทเ่ี ราเสยี ไปกค็ อื เวลาทใ่ี ช้ ในการอ่านหนงั สือ จะเหน็ ไดว้ า่ เมอื่ เราเลือกทำ�อย่างหนึ่ง เราก็เสียโอกาส ทีจ่ ะทำ�อีกอย่างหนงึ่ ซึ่งก็คือ “คา่ เสยี โอกาส” แลว้ คา่ เสยี โอกาสนว้ี ดั กนั อยา่ งไร เราสามารถวดั ไดจ้ ากผลตอบแทน ทเ่ี ราเสยี ไป จากการทไ่ี มไ่ ดท้ �ำ อกี อยา่ งหนง่ึ เชน่ การทค่ี ณุ แมเ่ ลอื กลงทนุ ในหนุ้ เท่ากับสูญเสียโอกาสที่จะได้รับดอกเบ้ียจากการฝากธนาคาร ค่าเสียโอกาส ในการลงทุนในหุน้ น้ี กค็ อื ดอกเบยี้ ทคี่ วรจะไดร้ บั นั่นเอง ค่าเสียโอกาสไม่จำ�เป็นต้องวัดเป็นตัวเงินเสมอไป เช่น ถ้าหาก เย็นนี้เราเป็นเด็กดีเลือกที่จะอ่านหนังสือทบทวนบทเรียน ค่าเสียโอกาส ของเราคืออะไร คือความสุขท่ีได้ไปเล่นฟุตบอลกับเพ่ือนๆ ซ่ึงไม่สามารถ วัดค่าออกมาเป็นตัวเงินได้ แต่ถ้าเราเลือกท่ีจะเล่นฟุตบอล ค่าเสียโอกาส ของเราก็คือ ผลตอบแทนที่เราจะได้จากการอ่านทบทวนบทเรียน เช่น เรียนในหอ้ งเรียนได้เข้าใจมากยิ่งขน้ึ สอบได้คะแนนสงู ข้นึ 20 เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดียวอยู่

ว‹ารŒู…ไหม? ตอนเป็นเด็ก เราอาจจะโยเยไมอ่ ยากไปเรียนเพราะต้องต่นื แตเ่ ช้า ไม่ไดน้ อนตอ่ อยา่ งสขุ สบาย แต่ลองนกึ ดู เวลาทเ่ี ราใช้ไปกบั การเรยี น ไม่วา่ จะระดบั ประถม มัธยม มหาวทิ ยาลยั รวมถึงค่าเลา่ เรียนที่คณุ พ่อคุณแมจ่ ่ายไป ลว้ นแลกกบั โอกาสในอนาคต ทเี่ ราจะได้ทำ�งานดี ๆ เงินเดือนสงู ๆ มีคณุ ภาพชีวิตท่ีดีขึน้ ดงั น้นั ตน้ ทนุ คา่ เสยี โอกาสของการเลอื กทีจ่ ะไม่เรียนในวันนี้ กค็ ือ รายไดท้ ่ีจะสญู เสียไปจากโอกาสที่จะได้งานเงินเดือนสูง ๆ และคุณภาพชวี ติ ทดี่ ขี นึ้ นน่ั เอง จากการสำ�รวจของ SCB EIC จากเงนิ เดอื นเฉลยี่ เร่ิมตน้ ของคนท่จี บการศกึ ษาในแตล่ ะระดบั มคี วามแตกตา่ งกัน (ขอ้ มลู สมัครงานออนไลนก์ ว่า 7 แสนราย จากเวบ็ ไซตห์ างานของไทย) “ย่ิงจบสูง เงินเดือนย่ิงมาก” ปรญิ ญาเอก 36,169 ปรญิ ญาโท 23,575 ปรญิ ญาตรี 16,955 อาชวี ะ 14,205 มัธยมปลาย 14,088 ทม่ี า : ผลสำ�รวจของ SCB EIC ณ วันท่ี 31 พฤษภาคม 2562 ต้นทุนในทางเศรษฐศาสตร์ จึงมีทั้งส่วนท่ีต้องจ่ายเป็นตัวเงินจริงๆ เพ่ือให้ได้ส่ิงที่เราเลือก และส่วนที่มอง ไม่เห็นที่ซ่อนเร้นอยู่ซ่ึงหมายถึง “ค่าเสียโอกาส” ตัวอย่างเช่น การเรียนต่อระดับปริญญาตรี ต้นทุนที่จ่ายเป็น ตวั เงินจริงๆ คือ คา่ เลา่ เรยี นท่ีจา่ ยไป 4 ปี สมมตวิ ่าเทา่ กับ 400,000 บาท สว่ นตน้ ทนุ ทม่ี องไม่เหน็ คือ โอกาสท่จี ะได้ รายได้ถ้าเราไม่เรยี นแต่ไปท�ำ งานในช่วงเวลานน้ั สมมติว่าเราจบ ม. 6 สามารถทำ�งานมีรายได้ 80,000 บาทต่อปี นั่นก็คือการเรียนต่อปริญญาตรี ทำ�ให้เรามีค่าเสียโอกาสเท่ากับรายได้ที่สูญเสียไป 4 ปี เท่ากับ 80,000 x 4 = 320,000 บาท ดังนั้น ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์จึงเท่ากับ 400,000 + 320,000 = 720,000 บาท จะเห็นว่าการเรียนต่อระดับปริญญาตรี มีต้นทุนที่เสียไปมากกว่าที่เราคิด ดังนั้น เราต้องพยายามตั้งใจเรียน จะได้มีอนาคตทด่ี ี ๆ เงนิ เดอื นสูง ๆ คุ้มกับต้นทุนทเ่ี สยี ไป 21เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

“ในชีวิตประจำ�วันของเราทุกคนต้องเผชิญกับเหตุการณ์ที่ต้องเลือก อยู่เสมอ ดังน้ัน ทุกคร้ังท่ีเราต้องตัดสินใจเลือก เราต้องช่ังนำ้�หนักต้นทุน คา่ เสียโอกาสท่เี สียไปด้วยแม้จะเปน็ ตน้ ทุนท่ีซ่อนเร้นอย่กู ็ตาม” ต้นทุนค่าเสียโอกาสมีความสำ�คัญต่อการจัดสรรทรัพยากรท่ีมีอยู่ อย่างจำ�กัดให้มีประสิทธิภาพสูงสุด แต่ถ้าตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรหรือ ปัจจัยการผลิตโดยไม่ได้คำ�นึงถึงต้นทุนค่าเสียโอกาสก็อาจทำ�ให้เกิดการใช้ ทรพั ยากรอยา่ งไม่คมุ้ ค่า สิน้ เปลือง Exam Tip ถ้ามีหลายทางเลือก (alternative choices) ต้นทุนค่าเสียโอกาสของแต่ละทางเลือกจะคิดอย่างไร ขอให้จำ�ไว้ว่า ต้นทนุ ค่าเสยี โอกาส คือ ผลตอบแทนสูงสดุ ทสี่ ูญเสยี ไปจากตวั เลอื กอ่นื ๆ ท่ีไม่ไดเ้ ลือก (next best alternative) ไม่ใช่ ผลตอบแทนของทางเลือกท้ังหมดที่เราสูญเสียไปมารวม ๆ กัน เพราะเราเลือกทำ�ได้สิ่งเดียว ไม่สามารถทำ�ทุกอย่างได้ ในเวลาเดยี วกัน ตัวอย่างเช่น คุณพ่ออาจมีหลายทางเลือกในการเลือกงานทำ� เช่น อาจจะเลือกเป็นพนักงานบริษัท หรือ รับราชการต�ำ รวจ หรือเป็นพ่อค้ากไ็ ด้ แต่เวลาทค่ี ุณพ่อมีจ�ำ กดั คือ 24 ชัว่ โมงใน 1 วัน คุณพ่อสามารถเลือกท�ำ งาน ได้อย่างใดอยา่ งหน่งึ เทา่ น้ัน ถา้ คุณพ่อเลอื กเปน็ พนักงานบริษทั ก็จะมีรายได้ 200,000 บาทตอ่ ปี แตจ่ ะไมไ่ ดร้ ายได้ 150,000 บาทจากการรับราชการตำ�รวจ และไม่ได้รายได้ 120,000 บาทจากการเป็นพ่อค้า ต้นทุนค่าเสียโอกาส ในการเลอื กเปน็ พนกั งานบรษิ ทั จงึ เทา่ กบั 150,000 บาท ซง่ึ เปน็ รายไดส้ งู สดุ ทส่ี ญู เสยี ไปจากตวั เลอื กอน่ื ๆ ทไ่ี มไ่ ดเ้ ลอื ก ไม่ใช่รายได้ของตำ�รวจกับพอ่ ค้ารวมกัน (ไมใ่ ช่ 150,000 + 120,000 = 270,000 บาท) อาชีพ รายไดส้ ุทธติ อ่ ปี (บาท) พนักงานบรษิ ทั 200,000 รบั ราชการตำ�รวจ 150,000 พอ่ คา้ 120,000 22 เศรษฐศาสตร์...เลม่ เดียวอยู่

วา‹รูŒ…ไหม? ตวั อยา่ งเช่น แบงก์ชาตมิ กี ารออกธนบัตรทร่ี ะลึกชนดิ ราคา 100 บาท ก็มีคนเข้าแถวรอเพื่อแลกซื้อธนบัตรแล้วนำ�ไปขายต่อได้ในราคา 110 บาท การใช้ทรัพยากรอย่างย่งั ยนื (การแลกแต่ละครั้งมีการจำ�กัดจำ�นวน) สมมติว่าวันนั้นถ้าเขาไปขับแท็กซ่ี (sustainable) หมายถึง การใช้ ได้เงินหลังจากหักค่านำ้�มันและค่าเช่ารถแล้วเหลือ 600 บาทต่อวัน หรอื จัดการทรพั ยากรธรรมชาติ การเอาเวลามาเข้าแถวรอแลกธนบัตรก็เท่ากับเขามีต้นทุนค่าเสียโอกาส และส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งฉลาด เท่ากับ 600 บาท ดังนั้น ถ้าจะดูว่าคุ้มค่ากับค่าเสียโอกาสหรือไม่น้ัน ค้มุ คา่ รจู้ กั ประหยดั และถนอม เขาคงต้องเปรียบเทียบระหว่างผลตอบแทนจากการเข้าแถวรอแลกธนบัตร ในการใช้ เพ่ือใหม้ ีไว้ใชอ้ ยา่ ง เพื่อไปขายต่อ กบั รายได้จากการขบั แท็กซใ่ี นวนั นัน้ สมมติว่าถ้าเขาตอ่ แถว ยาวนานจนถงึ คนรนุ่ หลงั แลกธนบตั รไดว้ ันละ 50 ฉบับ แล้วเอามาขายตอ่ ได้ก�ำ ไรฉบับละ 10 บาท เขาจะได้กำ�ไรทั้งหมดเพียง 500 บาท ไม่คุ้มค่าเม่ือเทียบกับค่าเสียโอกาส ทจี่ ะเอาเวลาไปขบั แทก็ ซซี่ ง่ึ จะไดร้ ายได้ 600 บาท จะเหน็ วา่ ถา้ ไมไ่ ดค้ �ำ นงึ ถงึ ตน้ ทนุ คา่ เสียโอกาสกอ็ าจจะทำ�ใหใ้ ช้เวลาไปอยา่ งไมค่ ุม้ ค่า Key Points กจิ กรรมทดสอบความเข้าใจ • การตดั สนิ ใจเลอื กทำ�อยา่ งหน่ึง ลองยกตัวอยา่ งเหตกุ ารณ์ในชวี ติ ประจ�ำ วันทีต่ อ้ ง อยา่ งใด หรือใชเ้ วลาในการทำ�อะไร ตัดสินใจเลอื กอย่างใดอยา่ งหนึง่ ว่าเมอ่ื เลือกแลว้ กต็ าม ต้องมีตน้ ทุนคา่ เสียโอกาส อะไรเป็นตน้ ทนุ ค่าเสยี โอกาส เกิดขึน้ เสมอ • ต้นทนุ ค่าเสยี โอกาส คอื ผลตอบแทนสงู สุดทีส่ ูญเสีย ไปจากตวั เลอื กอื่น ๆ ที่ไม่ได้เลอื ก (next best alternative) ซงึ่ เป็นตน้ ทุนทแี่ ท้จรงิ ในการตัดสนิ ใจ เลือกในทางเศรษฐศาสตร์ 23เศรษฐศาสตร์...เล่มเดยี วอยู่

ปญั หาพนื้ ฐานทางเศรษฐศาสตร์ (Basic Problems of Economics) : ผลติ อะไร ผลติ อย่างไร ผลติ ให้ใคร ทรพั ยากรทมี่ จี �ำ กดั ขณะทคี่ วามตอ้ งการมไี มจ่ �ำ กดั จงึ ท�ำ ใหเ้ กดิ ปญั หา ขาดแคลนทรพั ยากร น�ำ ไปสปู่ ญั หา 3 ขอ้ คอื ผผู้ ลติ จะผลติ อะไร ผลติ อยา่ งไร และผลิตให้ใคร ทั้ง 3 ปัญหาน้ี คือ ปัญหาพ้ืนฐานที่เศรษฐศาสตร์จะเข้า มาช่วยแก้ไขว่าผู้ผลิตควรจัดสรรทรัพยากรท่ีมีจำ�กัดอย่างไร เพ่ือให้เกิด ประโยชน์สูงสุด เพราะเมื่อมีการตัดสินใจใช้ทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิต ไปผลิตอะไรอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ก็จะเสียโอกาสที่จะเอาทรัพยากรหรือ ปจั จยั การผลติ จ�ำ นวนเดยี วกันน้นั ไปผลติ อย่างอ่ืนในเวลาเดียวกนั จะเห็นว่าการจัดสรรทรัพยากรมีความสำ�คัญต่อการแก้ปัญหาพ้ืนฐาน ท้ัง 3 ข้อ เพราะการเลือกใช้ทรัพยากรมาผลิตสิ่งหน่ึงก็จะสูญเสียโอกาส ที่จะผลติ ส่งิ อ่นื ๆ ถา้ ผลติ แล้วขายไมอ่ อก กจ็ ะเสียทรพั ยากรไปฟรี ๆ หรอื ผลิตออกมาแล้ว แต่มีจำ�นวนมากเกินไปจนล้นตลาด หรือน้อยเกินไป จนขาดตลาด ก็จะกระทบต่อผู้บริโภค ในกรณีที่ผู้ผลิตใช้ปัจจัยการผลิต ไมเ่ หมาะสม กจ็ ะเปน็ การสิ้นเปลืองทรัพยากร รวมทง้ั ทำ�ใหต้ น้ ทุนแพงด้วย หรือผลิตออกมาแล้ว ไม่ได้กระจายสินค้าออกไปอย่างเหมาะสม ก็จะเกิด ปัญหาตามมา นำ�มาสู่คำ�ถามท่ีว่าแล้วเราจะจัดสรรทรัพยากรอย่างไร จะใช้อะไรมาเป็นตัวก�ำ หนดหรอื ตดั สนิ ใจ ซ่ึงจะได้กล่าวถงึ ในบทตอ่ ไป 24 เศรษฐศาสตร์...เลม่ เดยี วอยู่

What ? --> ปญั หาว่าจะผลติ อะไร How ? --> ปญั หาจะผลติ อยา่ งไร ปัญหาน้ีเกิดจากทรัพยากรหรือวัตถุดิบในการผลิตมีจำ�กัด ไม่สามารถ ปัญหาน้ีเกิดจากเม่ือเราเลือกได้แล้วว่าจะผลิตอะไร ตอบสนองความต้องการท่ีมีไม่จำ�กัดได้ทั้งหมด ผู้ผลิตจึงต้องเลือกว่าจะ ก็ต้องมาคิดต่อว่าจะเลือกใช้ทรัพยากรหรือวัตถุดิบใน ผลติ อะไรบา้ ง จ�ำ นวนเทา่ ใด ถึงจะได้ประโยชน์สูงสดุ การผลิตอย่างไร ถึงจะทำ�ให้ต้นทุนถูกท่ีสุด และมี ประสทิ ธิภาพมากทส่ี ดุ ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณแม่อยากทำ�ธุรกิจ แต่ตอนนี้มีท่ีดินแปลงเล็ก ๆ เพียงแปลงเดียว คณุ แม่ก็คงเลือกท�ำ ธรุ กิจไดเ้ พียงธรุ กจิ เดียว คณุ แม่ ตวั อยา่ งเช่น ถา้ คุณแมเ่ ลือกที่จะเปดิ รา้ นตัดเสือ้ คุณแม่ ก็ต้องเลือกว่าจะทำ�ธุรกิจไหนดี เช่น จะเปิดร้านตัดเสื้อดีหรือ ก็ต้องตัดสินใจเลือกว่าจะใช้แรงงานคนตัดเย็บ หรือ ร้านกาแฟดีถึงจะไดป้ ระโยชน์สูงสุด จะใช้เครื่องจักรแทน อย่างไหนจะมีต้นทุนน้อยกว่า เม่อื ตัดเสื้อจำ�นวนเทา่ กนั fกoารrผWลติ ไhปoใหm้ใค?รบ-้า-ง> กระจายสนิ คา้ และจา่ ยผลตอบแทนจาก ปัญหาน้ีเกิดจากเมื่อผลิตสินค้าได้แล้ว เราไม่รู้ว่าใครจะเป็นผู้บริโภคสินค้าที่เราผลิตขึ้นมา ใครควรมสี ว่ นได้รับผลตอบแทนจากการผลิตสนิ ค้านน้ั น่ันกค็ อื เราตอ้ งคิดว่าเราจะเลอื กว่า เราจะกระจายสินค้าและจา่ ยผลตอบแทนจากการผลิตน้นั ให้ใครบา้ ง ถึงจะได้ประโยชนส์ งู สดุ ตัวอย่างเช่น คุณแม่ต้องตัดสินใจเลือกว่าจะขายเสื้อที่ตัดขึ้นมาให้ใครบ้าง ซ่ึงคุณแม่ ก็จะเลือกขายเสื้อให้กับคนที่ต่อรองราคากันได้จนพอใจกันทั้งสองฝ่าย และคุณแม่ ก็จะเลือกจ่ายผลตอบแทนให้แก่ทรัพยากรหรือวัตถุดิบท่ีคุณแม่นำ�มาใช้ในการผลิต เช่น จ่ายค่าแรงให้กบั แรงงานคนท่มี าชว่ ยคุณแมต่ ัดเยบ็ เส้ือผ้า เปน็ ต้น คณุ เรียนรสู้ ่ิงเหลา่ น้แี ลว้ หรอื ยงั • เข้าใจความส�ำ คญั ของคา่ เสียโอกาส • สามารถระบปุ ญั หาพ้ืนฐานในชีวติ ที่เศรษฐศาสตร์จะเข้ามาชว่ ยแก้ไข 25เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดยี วอยู่

บทที่ 3 B การแก้ปัญหาพ้ืนฐาน BUY ทางเศรษฐศาสตร์ : ผลติ อะไร ผลติ อยา่ งไร SELL ผลติ ให้ใคร บทนี้เป็นการทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทของกลุ่มต่าง ๆ ในระบบเศรษฐกิจ และกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ดำ�เนินไปได้อย่างไรและใช้อะไรเป็นตัวแก้ปัญหาพ้ืนฐานทางเศรษฐศาสตร์ โดยรูปแบบของระบบเศรษฐกิจ ที่ต่างกัน ตัวแก้ปัญหาก็จะต่างกันไป ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม กลไกราคาจะเข้ามาทำ�หน้าที่แก้ปัญหา ทางเศรษฐศาสตร์ ซึ่งราคาจะเป็นตัวบอกให้ทราบว่าควรผลิตสินค้าอะไร มากน้อยแค่ไหน ใช้ทรัพยากร อย่างไร กระจายสนิ คา้ และจา่ ยผลตอบแทนจากการผลติ ไปให้ใครบา้ ง ขณะท่ีระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนยิ ม กลไกราคาแทบไมม่ ีบทบาท รฐั จะเปน็ ผวู้ างแผน ใช้อำ�นาจส่ังการ ควบคมุ และด�ำ เนินกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ เกอื บทง้ั หมด 26 เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

เสรมิ ความรู้ ในระบบเศรษฐกจิ มีใครบา้ ง ? : กิจกรรมทางเศรษฐกิจ คอื การกระทำ� หน่วยเศรษฐกิจ (Economic Units) ตา่ ง ๆ เพ่อื มาตอบสนองความต้องการ ของมนุษย์ เราทราบอยูแ่ ล้ววา่ ทกุ คน ก่อนที่เราจะทำ�ความเข้าใจถึงการแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ เรามา ตอ้ งกนิ ตอ้ งใช้ จงึ ท�ำ ใหเ้ กดิ ทำ�ความรู้จักกับกลุ่มต่าง ๆ ในระบบเศรษฐกิจกันก่อน จากบทก่อน 1. การผลติ – สรา้ งสงิ่ ของหรอื บรกิ าร เราทราบแล้วว่า ความต้องการของคนเรามีอยู่อย่างไม่จำ�กัด ทุก ๆ คน มาเพ่อื สนองความต้องการของ ต่างแสวงหาสิ่งของหรือบริการมาเพ่ือตอบสนองความต้องการของตนเอง ผู้บรโิ ภค เช่น เมื่อหิวเราก็ต้องซ้ืออาหารมารับประทาน เม่ือผมยาวเราก็ไปตัดผม 2. การบรโิ ภค – กินหรอื ใช้เพื่อสนอง เมื่อป่วยเราก็ไปพบแพทย์ เป็นต้น การรับประทานอาหาร การใช้บริการ ความตอ้ งการ ช่างตัดผม การบริการทางการแพทย์ เหล่านี้ในทางเศรษฐศาสตร์ถือว่า 3. การแลกเปล่ียน – เอาสินค้าท่ีเรา เป็นการบริโภคทั้งส้ิน การบริโภคจึงไม่ได้หมายถึงการรับประทานอาหาร ผลิตได้ไปแลกเปล่ยี นสินค้าอ่ืน เท่าน้ัน แต่รวมถึงการใช้สินค้าและรับบริการด้วย และเม่ือเกิดการบริโภค ทเ่ี ราผลิตไม่ได้ หรือผลติ ได้ไมด่ ี จึงเกิดเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจขึ้นมา มีการผลิตสินค้าและบริการเหล่านี้ เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการ เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการ แลว้ น�ำ มาแลกเปลย่ี นกนั อาจเปน็ การแลกเปลย่ี น ของเรา สนิ คา้ กับสินค้า หรือการแลกเปลี่ยนสินค้ากับเงินซ่ึงใช้เป็นส่ือกลางในการ 4. การกระจาย – จ�ำ แนกแจกจา่ ย แลกเปลี่ยนก็ได้ เราเรียกผู้ที่ทำ�การผลิตสินค้าและให้บริการเหล่านี้ว่า สนิ ค้าไปยังผทู้ ่ตี ้องการ (ผบู้ ริโภค) “ผูผ้ ลิต” ส่วนผู้ท่ีใช้หรอื ผ้ซู ือ้ สินคา้ และรบั บรกิ ารอย่างเรา ๆ วา่ “ผบู้ รโิ ภค” และนำ�รายไดม้ าแบง่ สรรปนั ส่วน เนื่องจากทรพั ยากรตา่ ง ๆ มอี ย่อู ย่างจำ�กัด ในขณะทค่ี วามตอ้ งการ ใหก้ บั เจ้าของปัจจัยการผลติ ของผบู้ รโิ ภคมอี ยมู่ ากมาย ทงั้ ผผู้ ลติ และผบู้ รโิ ภคจงึ ตอ้ งตดั สนิ ใจใชท้ รพั ยากร ทีม่ สี ่วนร่วมในการผลติ จะเห็นวา่ โดยคำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุดของตน โดยผู้ผลิตจะเป็นผู้รวบรวมทรัพยากร กิจกรรมทางเศรษฐกิจไม่ใชเ่ ร่ือง หรอื ปจั จยั การผลิตตา่ ง ๆ จากเจ้าของปจั จัยการผลติ เพื่อมาผลติ สินคา้ และ ทีม่ าบังคับกันเพื่อใหเ้ กิดขน้ึ บรกิ ารทตี่ รงกบั ความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคมากทสี่ ดุ และดว้ ยตน้ ทนุ ทตี่ �่ำ ทสี่ ดุ แต่การด�ำ รงชีพของมนษุ ย์ ส่วนผู้บรโิ ภคกจ็ ะใชท้ รัพยากรตามความจ�ำ เป็น คุ้มคา่ และประหยดั ทส่ี ดุ ที่ตอ้ งการแสวงหาสิ่งตา่ ง ๆ เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการ ต่างหากทที่ �ำ ใหเ้ กิดกิจกรรม ทางเศรษฐกิจขนึ้ มา 27เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดียวอยู่

วา‹รŒู…ไหม? ปัจจัยการผลติ คอื อะไร ใครเป็นเจ้าของปจั จยั การผลติ ผลตอบแทนที่ได้รบั คอื อะไร ปจั จยั การผลติ สรุปง่าย ๆ ก็หมายถงึ อะไรก็แลว้ แต่ทตี่ อ้ งนำ�มาใช้ในกระบวนการผลติ เพือ่ ใหเ้ กดิ เปน็ สนิ ค้าและบรกิ ารข้นึ มา อยา่ งเช่น การผลติ ผ้าสักผืน จะตอ้ งใชอ้ ะไรบ้าง เรากต็ อ้ งมีที่ดินเพอื่ ปลูกหมอ่ นเลยี้ งไหม ต้องมคี นงานมาช่วยปลูก ดแู ล ใหอ้ าหารตัวไหม เอาใยที่หุ้มตวั ไหมอยูอ่ อกมาในรปู ของเส้นไหม แล้วก็สง่ เข้าโรงงานทอผา้ ตอ้ งมีเคร่อื งมอื เครื่องจกั รทใ่ี ช้ในการทอ ตอ้ งใช้ไฟฟา้ แล้วก็สาวโรงงาน แตก่ ิจกรรมพวกน้ีเกิดข้นึ เองไม่ได้ ตอ้ งมีคนทเี่ ป็นผรู้ วบรวมสง่ิ ตา่ ง ๆ เหล่านเี้ ข้าด้วยกนั เพ่อื ผลิตให้ไดผ้ า้ ผืนออกมา จะเหน็ ไดว้ ่า การผลิตผา้ สกั ผืน เราตอ้ งใช้หลายสิ่งหลายอย่างไมว่ ่าจะเปน็ ที่ดินที่ใช้ในการปลูก แรงงาน เครื่องมือเครอ่ื งจักร รวมถึง แรงงานทเ่ี ป็นผ้รู วบรวมสิง่ ต่าง ๆ เหล่าน้ีเข้าดว้ ยกันเพ่ือนำ�มาใช้ในกระบวนการผลติ ส่ิงตา่ ง ๆ ท่เี ราตอ้ งใช้ในการผลิตเหล่าน้ี เรียกว่า “ปจั จัยการผลิต” ในทางเศรษฐศาสตร์ เราแบง่ ปัจจยั การผลติ เป็น 4 ประเภท ดังนี้ • ทดี่ ิน (land) หมายถงึ ท่ีดินท่ีใช้ในการเพาะปลกู รวมถึงการใช้เป็นสถานท่ีของอาคารโรงงานท่ที ำ�การผลิตดว้ ย • แรงงาน (labour) หมายถึง ความคดิ และกำ�ลังกายของมนษุ ยท์ ี่ได้นำ�ไปใช้ในการผลติ • ทุน (capital) ความหมายทางเศรษฐศาสตร์ หมายถงึ สง่ิ กอ่ สรา้ ง และเครอ่ื งจกั รเครื่องมือท่ีใช้ในการผลิต • ผู้ประกอบการ (entrepreneurship) หมายถึง ผทู้ ่ีรวบรวมปจั จยั การผลิตต่าง ๆ มาทำ�การผลิตเพอื่ ให้ได้ผลผลติ ตามท่ีตอ้ งการ ใครเป็นเจ้าของปจั จัยการผลติ ? ถา้ ไมใ่ ช่ประเทศสังคมนิยมคอมมวิ นิสตท์ ี่รัฐบาลเป็นเจ้าของปจั จยั การผลิตไปเสียทงั้ หมด คนอย่างเรา ๆ ท่าน ๆ ก็เปน็ เจา้ ของปัจจยั ได้ เชน่ ขายแรงงาน (แรงสมองและแรงกาย) รวมถึงสมาชกิ คนอื่น ๆ ในครอบครวั ไมว่ ่าจะเปน็ พอ่ แม่ ลกู ปู่ ยา่ ลงุ ปา้ นา้ อา ฯลฯ ลว้ นเปน็ เจา้ ของปจั จยั การผลติ ไดท้ ง้ั สน้ิ ไมว่ า่ จะเปน็ เจา้ ของทด่ี นิ แรงงาน ทนุ หรอื เปน็ ผปู้ ระกอบการ และคน ๆ เดียวก็เป็นเจา้ ของปจั จยั ได้มากกว่า 1 ชนดิ เชน่ พอ่ อาจจะเปิดรา้ นขายก๋วยเตีย๋ ว พอ่ ก็จะเป็นเจา้ ของที่ดิน แรงงาน ทนุ และ แถมเปน็ ผ้ปู ระกอบการไปด้วยเลย จะเหน็ ว่าเจา้ ของปัจจัยการผลิต กค็ ือ “หนว่ ยครัวเรือน” น่นั เอง ผลตอบแทนของปัจจยั การผลติ ท่ีไดร้ ับคืออะไร ในบทกอ่ นเราทราบแล้ววา่ ของทกุ อยา่ งมตี ้นทุนค่าเสยี โอกาสเสมอ การเอาปัจจยั การผลิตไปใช้กเ็ ชน่ กัน มนั ก็จะมีต้นทุนค่าเสยี โอกาสเพราะหากใชป้ จั จัยการผลติ นผ้ี ลิตของอย่างหนง่ึ ในเวลาเดยี วกนั ก็ไม่สามารถใช้ ปจั จัยการผลติ จำ�นวนเดียวกนั ไปผลิตอย่างอื่นได้ ดังน้ัน จงึ ตอ้ งใหค้ า่ ตอบแทนตามตน้ ทุนค่าเสียโอกาส คำ�ถามตอ่ ไป คอื วา่ ปัจจัย การผลติ แตล่ ะอย่างมีต้นทนุ คา่ เสียโอกาสอะไรบา้ ง •  ทด่ี นิ (land) ถา้ เราเปน็ เจ้าของที่ดนิ สมมตวิ ่าถา้ เราเอาท่ีดินมาปลูกพืช ต้งั โรงงานเอง เราก็จะเสียโอกาสท่ีจะนำ�ที่ดินแปลงเดยี วกนั น้ี ไปให้คนอื่นเช่า ต้นทนุ ค่าเสยี โอกาสท่เี สยี ไปในท่ีน้ี ก็คือ ค่าเชา่ ทีค่ วรจะได้รับ ผลตอบแทนของที่ดิน กค็ ือ คา่ เช่า (rent) น่นั เอง •  แรงงาน (labour) ถา้ เราเปน็ เจา้ ของแรงงาน หรอื พดู งา่ ย ๆ กค็ อื เราเปน็ คนทข่ี ายแรงงาน สมมตเิ ราเลอื กทจ่ี ะใชแ้ รงงานเราในการท�ำ นา ปลูกขา้ ว แทนทจ่ี ะไปท�ำ งานในโรงงานหรือบริษัท ตน้ ทนุ คา่ โอกาสทีเ่ ราจะเสยี ไป กค็ ือ คา่ จ้างทีเ่ ราควรจะได้รบั ถา้ ท�ำ งานในโรงงาน หรือบรษิ ทั นนั้ ๆ ผลตอบแทนของแรงงาน ก็คอื คา่ จ้าง (wage หรอื salary) •  ทุน (capital) ถ้าเราเปน็ เจ้าของทนุ ไม่ว่าจะเป็นอาคาร โรงงาน เครือ่ งมอื เครือ่ งจักร เรากต็ ้องจัดหาปจั จยั ทนุ เหล่านม้ี า โอกาสที่จะ เสยี ไป ก็คือ แทนท่ีเราจะสามารถเอาเงนิ ที่เราลงทนุ ในปจั จัยทนุ เหล่านี้ไปฝากธนาคารแล้วไดร้ บั ดอกเบย้ี ต้นทนุ ค่าเสียโอกาสหรือ ผลตอบแทนของทนุ ก็คอื ดอกเบยี้ (interest)   • ผูป้ ระกอบการ (entrepreneurship) ถา้ เราเป็นผูป้ ระกอบการ ทรี่ วบรวมปัจจัยการผลิตต่าง ๆ เพอ่ื ท�ำ การผลติ เมอ่ื ขายของได้ ก็ได้รายรบั จากการขายมา แต่ส่วนหนงึ่ กต็ อ้ งจา่ ยคา่ ตอบแทนใหป้ ัจจัยการผลิตซง่ึ เป็นต้นทนุ ของผปู้ ระกอบการ สว่ นค่าเหน่ือย ของผ้ปู ระกอบการ ก็คอื สว่ นเหลอื ทจี่ ะไดเ้ มือ่ หกั ต้นทนุ ทง้ั หมดแล้ว นั่นก็คือ กำ�ไร (profit) นนั่ เอง 28 เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

economic units เมอ่ื ผ้ผู ลิตและผ้บู รโิ ภคมาเจอกนั แล้วกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ด�ำ เนินไปได้อย่างไร เม่ือผู้ผลิตและผู้บริโภคมาเจอกัน ต่างฝ่ายต่างทราบความต้องการ ของตนเอง โดยผบู้ รโิ ภคกซ็ อ้ื สนิ คา้ และบรกิ ารมาเพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการ ของตัวเอง ขณะที่ผู้ผลิตก็จะทำ�การผลิตสินค้าและบริการเพ่ือขายให้กับ ผู้บริโภค ซ่ึงสิ่งท่ีได้ตอบแทนก็คือ กำ�ไร ถ้ามีกันอยู่แค่ 2 คน คงไม่ยาก ผูบ้ รโิ ภค (ผซู้ ื้อ) กบั ผ้ผู ลติ (ผู้ขาย) ก็จะท�ำ การตกลงราคาร่วมกนั ลองนึกถึง เราไปซ้ือเสื้อสักตัวในตลาดนัด ถ้าคนขายต้ังราคา 300 บาท เราอาจจะ บอกว่าแพงไป ขอลดเป็น 250 บาท ไม่ได้เหรอ คนขายอาจจะบอกว่า ไม่ได้หรอก รับมา ก็ตัวละ 240 บาทแล้ว ขอเป็น 260 บาทก็แล้วกัน เราก็ยอมจา่ ยเงนิ ใหใ้ นราคา 260 บาท ดังน้นั ราคาเสื้อทีต่ วั ละ 260 บาท ก็คือ ราคาท่ีผู้ซ้ือและผู้ขายต่างยอมรับร่วมกัน เกิดการซื้อขายแลกเปลี่ยน ในกรณีเช่นน้ีกิจกรรมทางเศรษฐกิจก็เกิดขึ้นได้แล้ว แต่ในความเป็นจริง การดำ�เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจไม่ได้เกิดข้ึนแค่กับคนสองคน แต่เกิดกับ ทกุ คนทรี่ วมกนั อยใู่ นสงั คม ทเ่ี ราเรยี กวา่ “หนว่ ยเศรษฐกจิ (economicunits)” ในระบบเศรษฐกิจ ประกอบด้วยหน่วยเศรษฐกิจตา่ ง ๆ ดังนี้ 1) หนว่ ยครวั เรอื น เป็นเจ้าของปจั จัยการผลิต คือ ทด่ี นิ แรงงาน ทนุ หรอื เป็นผ้ปู ระกอบการ ขณะเดียวกนั ก็เป็นผูบ้ รโิ ภคสนิ ค้าและบริการด้วย 2) หนว่ ยธุรกิจ เปน็ ผรู้ วบรวมปจั จยั การผลติ ต่าง ๆ เพอื่ นำ�มาผลิต และจำ�หน่ายให้กับผู้บริโภค (อาจจะเป็นผู้ผลิต หรือผู้จำ�หน่ายอย่างใด อยา่ งหนึ่ง หรือเปน็ ท้ังผู้ผลติ และผู้จำ�หน่ายไปพร้อม ๆ กันก็ได้) 3) หน่วยรัฐบาล คอยควบคุม ดูแล ออกระเบียบและกฎหมาย แต่บางครง้ั ก็เป็นผู้ผลติ สินคา้ และบริการเสียเอง หากหนว่ ยธรุ กจิ ไมส่ ามารถ ดำ�เนินการผลิตให้แก่หน่วยครัวเรือนได้ เช่น การรักษาความสงบเรียบร้อย การป้องกันประเทศ การให้บริการสวัสดิการทางสังคมไม่ว่าจะเป็นด้าน การศึกษา ด้านสาธารณสขุ เป็นตน้ เน่ืองจากเอกชนย่อมต้องการท�ำ ธรุ กิจ ที่มีกำ�ไร สนิ ค้าและบรกิ ารในลกั ษณะดงั กลา่ ว จึงไมม่ ีเอกชนอยากทำ� และ หากรัฐบาลไม่ทำ� ก็อาจทำ�ให้ประชาชนโดยเฉพาะผู้มีรายได้น้อยเดือดร้อน 29เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดียวอยู่

การทร่ี ัฐบาลเปน็ ผ้ผู ลิต ทำ�ใหร้ ัฐบาลเปน็ ผู้ซอื้ สนิ คา้ และบรกิ ารต่าง ๆ จากหนว่ ยครวั เรอื นและหน่วยธุรกิจดว้ ย อาทิ การจ้างแรงงาน ซึ่งก็คือข้าราชการนัน่ เอง การซื้อกระดาษ อุปกรณ์ส�ำ นักงาน คอมพิวเตอร์ เป็นต้น นอกจากรัฐบาล จะมบี ทบาทเป็นผูผ้ ลติ และผู้ซ้อื แล้ว รัฐบาลยงั มีบทบาทเป็นเจ้าของปจั จยั การผลติ บางประเภทด้วย เช่น ปา่ ไม้ ท่ีดิน แรธ่ าตตุ ่าง ๆ เปน็ ตน้ ถ้าหนว่ ยธุรกิจตอ้ งการนำ�ทรัพยากรดงั กลา่ ว มาใชใ้ นการผลติ กจ็ ะตอ้ งจา่ ยค่าตอบแทนใหแ้ ก่ รฐั บาลดว้ ย อาทิ คา่ สมั ปทาน คหรนัวว‹ เยรอน หธรุนก‹วจิย หรฐั นบ‹วายล บทบาทเปนš เจาŒ ของ บทบาทเปนš ผŒูผลิต บทบาทเปšนผผูŒ ลติ ป˜จจยั การผลิต และผูŒจำหนา‹ ย บทบาทเปšนผบŒู รโภค บทบาทเปนš ผบŒู รโภค บทบาทเปšนเจŒาของ business firm household ปg˜จจoยั กvาeรผrลnิต ment จะเหน็ วา่ หนว่ ยเศรษฐกจิ จะแบง่ แยกบทบาทหนา้ ทตี่ า่ ง ๆ กนั ไป แตบ่ างครงั้ คน ๆ เดยี วกส็ ามารถเปน็ ไดห้ ลาย บทบาท ในชว่ งเวลาทตี่ า่ งกัน เช่น คุณพอ่ ท�ำ งานทบี่ ริษัท กเ็ ป็นเจา้ ของแรงงาน พอตอนกลางวนั กเ็ ปน็ ผู้บริโภคเพราะ ตอ้ งซอื้ อาหารมารบั ประทาน พอตกเยน็ คณุ พอ่ หารายไดเ้ สรมิ โดยการขบั แทก็ ซี่ คณุ พอ่ กจ็ ะกลายเปน็ ผผู้ ลติ เพราะตอ้ ง ให้บรกิ ารรบั ส่งผโู้ ดยสาร ค�ำ ถามทดสอบความเข้าใจ คณุ รู้ไหมว่าคณุ มีบทบาทเป็นอะไรในการด�ำ เนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ลองอธิบาย และยกตวั อยา่ ง ให้เหน็ ชดั เจน 30 เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดียวอยู่

Key Points การแกป้ ัญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐศาสตร์ • ระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยม หน่วยเศรษฐกิจทั้งสามหน่วย ได้แก่ หน่วยครัวเรือน หน่วยธุรกิจ จะใช้กลไกราคาในการแก้ปัญหา และหน่วยรัฐบาล จะมารวมตัวกันเพ่ือดำ�เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ พนื้ ฐานทางเศรษฐศาสตร์ ซ่ึงเมื่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจมีมากขึ้นและเกิดการเชื่อมโยงกัน จึงเกิดเป็น • ผ้ผู ลิตและผูบ้ ริโภคเปน็ ผูก้ ำ�หนด “ระบบเศรษฐกิจ” ซึ่งรปู แบบของระบบเศรษฐกจิ ของประเทศตา่ ง ๆ ในโลก ราคาร่วมกนั โดยตา่ งฝ่ายต่างส่ง จะมีความแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับรูปแบบการปกครอง ขนบธรรมเนียม สัญญาณใหอ้ ีกฝา่ ยทราบว่า ประเพณี วฒั นธรรมของแต่ละประเทศ ตนเต็มใจและมคี วามสามารถ 1. ระบบเศรษฐกจิ แบบเสรนี ยิ มหรอื ทนุ นยิ ม (capitalism) ทกุ คนมสี ทิ ธ์ิ ทจ่ี ะซ้อื หรือขายท่รี าคาเทา่ ไร เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต สินค้าและบริการต่าง ๆ ท่ีตนหาได้มา และ ทุกคนก็มีเสรีภาพเต็มท่ีในการดำ�เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งเขาเห็นว่า เปน็ ประโยชนแ์ กเ่ ขามากทส่ี ดุ โดยเจา้ ของปจั จยั การผลติ มอี สิ ระทจ่ี ะน�ำ ปจั จยั การผลิตที่มีอยู่ไปใช้ทำ�อะไรก็ได้ตามท่ีตนพอใจ เช่น อาจจะขายท่ีดิน ให้เช่าต่อ หรือใช้ปลูกข้าวเอง ผู้ผลิตก็มีอิสระที่จะซื้อปัจจัยการผลิต และ ใชป้ จั จยั การผลติ มาผลติ สนิ คา้ ตามเงนิ ทนุ ทม่ี อี ยู่ ขณะทผี่ บู้ รโิ ภคเองกม็ อี สิ ระ ในการเลือกซื้อสินค้าต่าง ๆ ได้ตามท่ีตนพอใจตามเงินในกระเป๋าท่ีมีอยู่ กิจกรรมทางเศรษฐกิจเหล่าน้ีดำ�เนินไปโดยมีกลไกราคา ซึ่งจะทำ�หน้าท่ี แก้ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ โดยราคาจะเป็นตัวกำ�หนดว่าควรนำ� ปจั จยั การผลติ นน้ั มาผลิตสนิ ค้าอะไร มากนอ้ ยแคไ่ หน ใช้ทรพั ยากรอยา่ งไร และกระจายสนิ คา้ และจา่ ยผลตอบแทนจากการผลติ ไปใหใ้ ครบา้ ง โดยรฐั บาล จะไม่เข้าไปเก่ียวข้อง รัฐบาลจะมีหน้าท่ีเพียงการรักษาความสงบเรียบร้อย ของบ้านเมืองและการป้องกันประเทศ และท�ำ ใหบ้ รรยากาศการซื้อขายเป็น ไปได้โดยสะดวก capitalism 31เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดยี วอยู่

ราคาจะถูกก�ำ หนดจากผู้ซอ้ื (ผบู้ ริโภค) และผู้ขาย (ผูผ้ ลิต) ร่วมกัน ว‹ารŒู…ไหม? ถ้าผซู้ อ้ื ต้องการสนิ คา้ นน้ั ก็จะส่งสัญญาณใหผ้ ู้ผลิตทราบวา่ เขาอยากจะจ่าย ในราคาเท่าไร ถ้าของท่ีผู้ขายผลิตมาขายมีไม่พอกับความต้องการซ้ือของ อดัม สมธิ เจ้าของ ผู้บริโภค ผู้บริโภคก็ต้องยอมจ่ายในราคาท่ีสูงข้ึนเพ่ือให้ได้สินค้านั้นมา ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ซ่ึงก็จะจูงใจให้ผู้ผลิต ผลิตออกมาขายมากข้ึนด้วย แต่ถา้ สินค้ามีเหลือเฟือ ลัทธิเสรนี ิยม กลา่ วไวว้ า่ ผลติ ออกมาขายมากกวา่ ทผ่ี ซู้ อื้ ตอ้ งการ ราคาสนิ คา้ นนั้ กจ็ ะลดลง ผผู้ ลติ กจ็ ะ เม่ือแตล่ ะคนในระบบเศรษฐกิจ ผลิตลดลงด้วย (จะอธิบายกฎของอุปสงค์กบั อปุ ทานในลำ�ดับถดั ไป) ดังน้นั มุ่งแสวงหาประโยชน์สว่ นตน (ผู้บรโิ ภค จะเห็นว่าราคาเป็นตัวท่ีบอกให้ทราบว่าจะผลิตสินค้าอะไรและเป็นจำ�นวน ต้องการความพอใจสงู สดุ จาก เทา่ ใด (what) ส่วนจะผลิตอยา่ งไร (how) ราคากจ็ ะเปน็ ตัวตัดสนิ ใจเชน่ กัน การบริโภค สว่ นผผู้ ลติ ตอ้ งการกำ�ไร โดยผู้ผลิตจะเลือกใช้ปัจจัยการผลิตและวิธีการผลิตท่ีต้นทุนถูกท่ีสุดเพื่อให้ สงู สดุ ) ทรพั ยากรจะถกู จดั สรร ขายตามราคานั้นแล้วได้กำ�ไรมากที่สุด ส่วนปัญหาท่ีว่า จะผลิตให้ใคร ผ่านกลไกราคา (หรอื ระบบตลาด) (for whom) ราคาก็จะเป็นตัวบอกให้ทราบว่า ใครควรจะเป็นผู้ได้ไป ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพและเหมาะสม เพราะผผู้ ลิตกจ็ ะเลือกขายให้กบั ผทู้ ี่ให้ราคาสูงทส่ี ดุ มากทีส่ ุด จงึ ไดก้ ล่าวเปรยี บเทยี บ กลไกดังกล่าววา่ เปน็ “มอื ทม่ี อง ไมเ่ หน็ (invisible hand)” Exam Tip กลไกราคาจะปรบั ใหร้ าคาทผี่ ซู้ อ้ื ตอ้ งการซอื้ เทา่ กบั ราคาทผี่ ขู้ ายเสนอขายเรยี กวา่ “ราคาดลุ ยภาพ” และจ�ำ นวนสนิ คา้ ทีผ่ ู้ซื้อต้องการซอื้ เทา่ กับจำ�นวนสนิ คา้ ทีผ่ ูข้ ายเสนอขายพอดเี รียกว่า “ปรมิ าณดลุ ยภาพ” (อ่านเพิม่ เตมิ ในบทที่ 4) อย่างไรก็ดี การดำ�เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมหรือทุนนิยม แม้จะมีข้อดี ในแงท่ ที่ กุ คนมเี สรภี าพในการด�ำ เนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ผผู้ ลติ และผบู้ รโิ ภคมอี สิ ระเสรใี นการเลอื กผลติ และเลอื ก บริโภคสินคา้ และบรกิ าร แตร่ ะบบเศรษฐกจิ แบบเสรนี ิยมกม็ ขี ้อเสยี อยู่หลายอยา่ ง เชน่ • ผู้ผลิตรายใหญ่บางรายอาจผูกขาดการผลิตทั้งหมดในสินค้านั้น ๆ ซึ่งมักเกิดขึ้นในธุรกิจท่ีต้องใช้ เงินลงทุนมาก เทคโนโลยีทันสมัย ทำ�ให้ผู้ผลิตรายอ่ืน ๆ ไม่สามารถเข้ามาแข่งขันได้ ผู้ผลิตรายใหญ่ จึงสามารถกำ�หนดราคาสินค้าได้แพง ๆ ผู้ซ้ือจำ�ต้องจ่ายเพราะเป็นสินค้าท่ีจำ�เป็น ขณะที่ผู้มีรายได้น้อย กอ็ าจจะหมดโอกาสในการบรโิ ภคสนิ คา้ เหลา่ นน้ั 32 เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

• การท่ีทุกคนมีสิทธิ์เป็นเจ้าของสินค้าและปัจจัยการผลิต เช่น ท่ีดิน ทุน ที่ตนหาได้มา และทุกคนก็มีอิสระเต็มท่ีในการใช้ สิ่งเหล่านั้น แต่นั่นก็อาจก่อให้เกิดปัญหารายได้ไม่เท่าเทียมกัน รวยจนต่างกันมาก เพราะผู้ท่ีมีทรัพย์สินมากกว่าหรือมีความ สามารถสูงกว่าจะเป็นผู้ได้เปรียบ ผู้มีรายได้สูงก็รวยข้ึนเรื่อย ๆ ในขณะท่ีผู้มีรายได้น้อยซึ่งไม่มีโอกาสเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต กจ็ นลง • สนิ คา้ และบริการบางอย่างจ�ำ เป็นตอ่ การด�ำ รงชวี ิต แตอ่ าจจะไม่มี ใครยอมผลิตเพราะไมค่ มุ้ กบั เงินลงทนุ เนอื่ งจากสนิ ค้าและบริการ เหล่าน้ีไม่สามารถกีดกันคนอื่นไม่ให้มาใช้ด้วยได้หรือเมื่อผลิตแล้ว ไมส่ ามารถเกบ็ เงนิ จากผู้บริโภคได้ เชน่ การจัดหากองกำ�ลังทหาร เพ่ือป้องกันประเทศ หรือการส่งไฟฟ้าและประปาสู่ท้องถ่ินชนบท รฐั จึงต้องเขา้ มาดำ�เนินการเอง • การใชท้ รัพยากรอยา่ งส้นิ เปลอื ง ไมค่ มุ้ คา่ เชน่ ในบางช่วงท่ีมีการ แข่งขันกันสร้างคอนโดมิเนียมเพราะคิดว่าเป็นกิจการที่ให้ผล ตอบแทนหรือกำ�ไรดี เมื่อสร้างข้ึนมามากๆ ก็เกิดมีมากเกินกว่า ความต้องการ หรือท่ีเรียกว่า oversupply ทำ�ให้ผู้ประกอบการ ประสบภาวะขาดทุน กิจการต้องล้มเลิก เสียเงินทุนที่ลงทุนไป เป็นการสูญเสียทรัพยากรไปอย่างเปล่าประโยชน์และไม่คุ้มค่า เปน็ ต้น 2. ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนยิ ม (socialism) คอื ระบบเศรษฐกจิ ท่ี รัฐบาลเข้าไปควบคุมหรือเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตและกิจการท่ีสำ�คัญ ๆ เพอื่ ประโยชนโ์ ดยสว่ นรวม โดยมรี ฐั เปน็ ผวู้ างแผน ควบคมุ และด�ำ เนนิ กจิ กรรม ทางเศรษฐกจิ เปน็ สว่ นใหญ่ ผผู้ ลติ จะผลติ สนิ คา้ ตามนโยบายรฐั บาล ไมว่ า่ จะ ผลิตอะไร (what) โดยวิธกี ารผลติ ใด (how) รวมถึงคุณภาพแบบไหน ขณะ ท่ีผู้บริโภคก็ถูกจำ�กัดสิทธ์ิในการเลือกบริโภค รัฐจะเป็นผู้กำ�หนดเองว่าจะ บรโิ ภคสนิ คา้ อะไร จำ�นวนเท่าใด (for whom) 33เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

แต่การดำ�เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามระบบเศรษฐกิจแบบ สังคมนิยม แม้จะมีข้อดีท่ีทำ�ให้เกิดความเท่าเทียมกันระหว่างคนในสังคม และมกี ารกระจายผลประโยชน์ ไมต่ กอยกู่ บั ผมู้ เี งนิ ทนุ มาก หรอื ผกู ขาดปจั จยั การผลติ นอกจากน้ี รัฐบาลยงั สามารถดูแลและควบคุมการใช้ทรัพยากรใน คณุ เรยี นร้สู ง่ิ เหลา่ น้ี การผลิตได้ แต่ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมก็มีข้อเสีย หากการวางแผน แลว้ หรือยัง และการดำ�เนินนโยบายผิดพลาด การจัดสรรทรัพยากรอาจไม่ก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุด เอกชนไมม่ แี รงจงู ใจในการทำ�งานและการผลติ ไมเ่ กิดการ • เข้าใจบทบาทของกลุม่ ต่าง ๆ พัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ ท่ีต้องอาศัยความคดิ สรา้ งสรรค์เพราะขาดเสรภี าพ ในระบบเศรษฐกจิ ท้ังหน่วย ครวั เรอื น หนว่ ยธรุ กจิ หนว่ ยรัฐบาล ในปัจจุบันเป็นยุคของการค้าเสรี มีการติดต่อการค้าและเช่ือมโยง • เข้าใจการแกป้ ญั หาทาง การลงทุนไปท่ัวโลก ทำ�ให้ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมมีความยืดหยุ่น เศรษฐศาสตรข์ องระบบ มากข้นึ ตวั อยา่ งเชน่ ประเทศจีน ซ่ึงมรี ะบอบการปกครองแบบสงั คมนิยม เศรษฐกิจในรปู แบบต่าง ๆ ก็มีการสนับสนุนให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนมากข้ึนในกิจการที่เป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาประเทศ เช่น อุตสาหกรรมภาคการเงิน และประกันภัย อุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมพลังงาน หรือแม้แต่อุตสาหกรรม จดั หาแรธ่ าตุ เป็นตน้ 3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (mixed economy) เป็นระบบเศรษฐกจิ ที่ผสมผสานระหว่างลักษณะของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและระบบ เศรษฐกิจแบบสังคมนิยม โดยกลไกราคาจะทำ�หน้าที่แก้ปัญหาพ้ืนฐาน ทางเศรษฐกิจ รัฐเพียงเข้าไปแทรกแซงหรือควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจ บางประเภทเทา่ นน้ั เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเปน็ ธรรมทางเศรษฐกจิ และเปน็ ประโยชน์ ต่อสังคม อาทิ การให้บริการด้านการศึกษา สาธารณสุข และโครงสร้าง พืน้ ฐานต่าง ๆ เป็นตน้ ปจั จบุ นั ประเทศตา่ ง ๆ ในโลกล้วนแต่มลี กั ษณะของระบบเศรษฐกิจ แบบผสมทั้งส้ิน ต่างกันเพียงแต่ว่าประเทศไหนจะเป็นระบบเศรษฐกิจ แบบผสมทค่ี อ่ นขา้ งไปทางระบบทนุ นยิ ม(กลไกราคาเปน็ ตวั แกป้ ญั หาพน้ื ฐาน ทางเศรษฐศาสตร์) หรือระบบเศรษฐกิจแบบผสมที่ค่อนข้างไปทางระบบ สงั คมนยิ ม(รฐั บาลเปน็ ผวู้ างแผน ควบคมุ และด�ำ เนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ) 34 เศรษฐศาสตร์...เลม่ เดยี วอยู่

สังคมนยิ ม ทนุ นยิ ม ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ทคี่ อ‹ นขŒางไปทางระบบสังคมนิยม ท่คี ‹อนขาŒ งไปทางระบบทนุ นยิ ม คิวบา จน ญีป่ ุ†น ฝร่งั เศส เกาหลีเหนอื เวยดนาม สหรัฐอเมรกา เวเนซเู อล‹า เกาหลีใตŒ องั กฤษ จากบทนี้เราจะเห็นว่า แทบทุกระบบเศรษฐกิจล้วนพึ่งพาการจัดสรรทรัพยากรผ่านกลไกราคา เปน็ สว่ นใหญ่ กลไกราคาจะเป็นส่ิงก�ำ หนดวา่ ระบบเศรษฐกจิ จะผลิตสิ่งใด (what) ผลติ อยา่ งไร (how) และ จะผลิตให้ใคร (for whom) รวมทั้งใครจะได้รับผลตอบแทนเท่าใด ซ่ึงในบทถัดไปจะอธิบายถึงการทำ�งาน ของกลไกราคาเพ่มิ เตมิ กิจกรรมทดสอบความเขา้ ใจ คุณคดิ ว่าประเทศไทยเป็นระบบเศรษฐกจิ แบบใด และใช้อะไรเปน็ ตัวแก้ปญั หาพ้นื ฐานทางเศรษฐศาสตร์ ผลิตอะไร (what), ผลิตอยา่ งไร (how), ผลิตและจา่ ยผลตอบแทนให้ใคร (for whom) 35เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดยี วอยู่

บทที่ 4 กลไกราคา : อุปสงค์และอปุ ทาน บทน้ีเป็นการทำ�ความเข้าใจเก่ียวกับ กลไกราคาซ่ึงเป็นตัวแก้ปัญหา พ้ืนฐานทางเศรษฐศาสตร์ หรือ เป็นตัวจัดสรรทรัพยากรในระบบ เศรษฐกิจ โดยราคาของสินค้าและ บริการจะถูกกำ�หนดจากความต้องการซื้อ ของผู้ซื้อ (อุปสงค์) และปริมาณเสนอขาย ของผขู้ าย (อุปทาน) ของสินค้าน้นั ๆ กลา่ วคือ เม่อื ราคาลดลง ปรมิ าณความตอ้ งการซอื้ จะมากขึ้น ขณะท่ีปรมิ าณเสนอขายจะน้อยลง แตเ่ มอื่ ราคาเพม่ิ ข้นึ ปริมาณความต้องการซอ้ื และปรมิ าณเสนอขาย จะเปลย่ี นแปลงในทศิ ทางตรงกนั ขา้ ม การท�ำ งานของกลไกราคานจ้ี ะปรบั จนกระทง่ั ราคาทผ่ี ซู้ อ้ื ตอ้ งการซอ้ื เทา่ กบั ราคาทผี่ ขู้ ายเสนอขายเรยี กวา่ “ราคาดลุ ยภาพ” และจ�ำ นวนสนิ คา้ ทผ่ี ซู้ อื้ ตอ้ งการซอ้ื เทา่ กบั จ�ำ นวน สินค้าที่ผู้ขายเสนอขายพอดี เรียกว่า “ปริมาณดุลยภาพ” ทั้งน้ี ราคาและปริมาณดุลยภาพ สามารถเปล่ียนไปจากเดิมได้ หากมีการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และ/หรืออุปทาน ซึ่งจะเกิดเป็นราคา และปรมิ าณดลุ ยภาพใหม่ขึ้นมา 36 เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดยี วอยู่

เสริมความรู้ การก�ำ หนดราคาตามอปุ สงคแ์ ละอุปทาน ตลาด คอื ที่ ๆ ผผู้ ลิตและผ้บู ริโภค การทรี่ ะบบเศรษฐกจิ มหี ลายแบบ ท�ำ ใหก้ ารจดั สรรทรพั ยากรหรอื การ มาเจอกัน ซึง่ ตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ แก้ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์แตกต่างกันไป ในระบบเศรษฐกิจแบบ ไม่จำ�เปน็ ต้องมสี ถานทใ่ี นการซ้ือขายก็ได้ สังคมนิยม รฐั จะเป็นผูว้ างแผนจัดสรรทรัพยากรเอง และเปน็ ผกู้ �ำ หนดวา่ จะ เพียงแค่ให้ผซู้ ือ้ และผู้ขายทำ�การตกลง ผลติ อะไร และจ�ำ หนา่ ยจา่ ยแจกไปใหใ้ คร ขณะทรี่ ะบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม ซอื้ ขาย แลกเปลี่ยนสินคา้ กันกพ็ อ จะใช้กลไกราคาเป็นตัวจัดสรรทรัพยากร โดยราคาจะเป็นตัวกำ�หนดว่าควร เชน่ การซ้ือขายกนั ทางอินเทอรเ์ นต็ ผลิตสนิ คา้ อะไร มากนอ้ ยเพยี งใด ด้วยวธิ ีการผลติ ใด และกระจายสินค้าไป ตลาดในทางเศรษฐศาสตรจ์ ึงมี ให้ใครบ้าง ซ่ึงผูผ้ ลติ และผู้บริโภคจะร่วมกันเป็นผกู้ ำ�หนดราคา การซ้อื ขาย ความหมายกวา้ งกว่าตลาดทีเ่ ราเห็น สนิ ค้าและบริการจะเกิดขึ้นได้ ก็ตอ่ เม่อื ไดร้ าคาทผ่ี ผู้ ลติ และผู้บริโภคพอใจ อยทู่ ั่ว ๆ ไป อุปสงค์ Key Points เราในฐานะผู้บริโภค เราจะพอใจซื้อสินค้าและบริการท่ีเราต้องการ จ�ำ นวนเท่าใด และจะยอมจ่ายทร่ี าคาต่อหนว่ ยเทา่ ใด ลองมาคดิ ดวู ่ามอี ะไร • อุปสงคแ์ สดงถึงความตอ้ งการ บา้ งที่เปน็ ตวั กำ�หนดความต้องการของเรา ตวั อยา่ งเช่น เราอยากจะกินข้าว ซอื้ สนิ คา้ หรอื บรกิ าร ณ ระดบั กลางวันจะเลอื กกนิ อะไรดี เราอาจจะค�ำ นงึ ถงึ ความชอบของเรา ราคาของ ราคาตา่ ง ๆ โดยตอ้ งมี 2 เงือ่ นไข อาหารแตล่ ะอยา่ งทม่ี ใี หเ้ ลอื ก เงนิ ในกระเปา๋ ทเ่ี รามี เชน่ เลอื กทานขา้ วมนั ไก่ คอื (1) ผบู้ ริโภคมีความเตม็ ใจที่จะซอื้ เพราะเราชอบทานไก่ และราคาถูกกว่าข้าวขาหมู ถูกกว่าก๋วยเต๋ียวเน้ือ (willing to pay) และ (2) ผู้บรโิ ภค ถูกกว่าผดั ไทย และเงนิ ในกระเปา๋ ของเราพอจา่ ย มคี วามสามารถทจ่ี ะซือ้ (ability ถ้าสมมติให้ปัจจัยอื่น ๆ ไม่เปลี่ยนแปลงเลย ยกเว้นราคาของ to pay) สินค้าและบริการชนิดน้ัน เช่น ถ้าปกติเราด่ืมชานมไข่มุกวันละ 2 แก้ว • เมอื่ ราคาสินค้าลดลง ปริมาณ แลว้ วนั หนงึ่ ราคาไข่มุกถูกลง แมค่ ้าลดราคาลงจากแก้วละ 30 บาท เหลือ ความต้องการซือ้ จะมากขึ้น แกว้ ละ 20 บาท เราอาจจะอยากด่มื ชานมไข่มุกเพ่ิมข้ึนเปน็ วนั ละ 3 แกว้ แตเ่ มือ่ ราคาสงู ขึน้ ปริมาณ แต่ถ้าไข่มุกแพงขึ้นจนทำ�ให้แม่ค้าขึ้นราคาชานมไข่มุกเป็น 40 บาท ความตอ้ งการซอ้ื กจ็ ะลดลง เราอาจจะอยากดื่มชานมไข่มุกน้อยลงเหลือแค่วันละแก้ว ปริมาณ ตาม “กฎของอปุ สงค์” ชานมไขม่ กุ 1 แก้ว 2 แก้ว หรอื 3 แก้วท่ีเรายนิ ดที ี่จะซือ้ ณ ระดับราคา • ความสัมพันธ์นีจ้ ะเป็นจริงกต็ อ่ เมื่อ ตา่ ง ๆ น้ีเราเรียกว่า อปุ สงคข์ องผูซ้ ้ือ ปัจจัยอน่ื ไมเ่ ปล่ยี นแปลง เชน่ รสนยิ ม ความชอบ เงนิ ในกระเป๋า และราคา สินค้าอืน่ ทท่ี ดแทนกนั ได้ เปน็ ตน้ 37เศรษฐศาสตร์...เล่มเดยี วอยู่

แตไ่ มใ่ ชว่ า่ เพยี งผซู้ อื้ เกดิ ความตอ้ งการซอื้ แลว้ จะเรยี กวา่ มอี ปุ สงคไ์ ดเ้ ลย ผซู้ อื้ จะตอ้ งสามารถจา่ ยคา่ สนิ คา้ หรอื บริการนั้น ๆ ได้จริงด้วย เช่น เราต้องการซื้อโทรศัพท์มือถือรุ่นล่าสุด ทันสมัยและราคาแพง แต่มีเงินไม่พอซื้อ อย่างน้ีไม่เรียกว่าเป็นอุปสงค์เพราะสุดท้ายเราก็ไม่สามารถซื้อโทรศัพท์มือถือน้ันมาใช้ได้ ในทางเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ (demand) จึงหมายถึง ปริมาณของสินค้าชนิดหนึ่งท่ีผู้ซ้ือต้องการซื้อ และมีความสามารถท่ีจะซ้ือสินค้า น้ันได้ ณ ราคาต่าง ๆ ในช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง ถ้ารสนิยม เงินในกระเป๋า และปัจจัยอ่ืน ๆ ไม่เปล่ียนแปลง ซึ่งโดยปกติผู้บริโภคจะมีความต้องการซ้ือมากข้ึนเมื่อราคาถูกลง น่ันคือ ความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณ ความตอ้ งการซอ้ื จะสวนทางกัน ความสมั พนั ธ์นเี้ ราเรียกว่า กฎของอปุ สงค์ (law of demand) น่นั เอง คำ�ถามชวนคิด...? ถ้าเราลองเอาจ�ำ นวนแก้วของชานมไข่มุกทีเ่ ราต้องการซ้อื มาเปรียบเทยี บกับราคา โดยวาดกราฟใหแ้ กนต้ังเป็นราคาชานมไขม่ ุกตอ่ แก้ว และแกนนอน เป็นจ�ำ นวนชานมไข่มุก (แกว้ ) ท่เี ราต้องการจะดมื่ แลว้ ลากเชื่อมจดุ ต่าง ๆ เราจะไดเ้ ส้นกราฟอยา่ งไร เสน้ กราฟที่ไดก้ จ็ ะมีลกั ษณะลาดต�ำ่ ลงจากบนซ้ายมาล่างขวา ซงึ่ แสดงความตอ้ งการด่มื ชานมไขม่ ุกของเรา ณ ระดับราคาต่าง ๆ นัน่ เอง หรือเรียกว่า เสน้ อุปสงคส์ ว่ นบคุ คลหรือเสน้ อปุ สงคข์ องผู้ซ้อื แต่ละราย (individual demand) ในความเปน็ จรงิ เราไม่ไดเ้ ปน็ ผซู้ ้ือเพียงคนเดยี ว ถา้ เอาอุปสงค์ทมี่ ตี อ่ ชานมไข่มกุ ของทุกคนมารวมกัน ณ ระดับราคาเดียวกัน เราจะเรยี กว่า อปุ สงค์ ของตลาด (market demand) ราคาชานมไข‹มุก (บาท/แกวŒ ) 234 50 จำนวนชานมไขม‹ กุ ทต่ี Œองการซื้อ (แกวŒ ) 40 30 20 10 01 อปุ สงคข องนาย ก ต‹อชานมไขม‹ ุก อปุ สงคข องนาย ข ต‹อชานมไขม‹ ุก อปุ สงคของนาย ค ต‹อชานมไข‹มุก อุปสงคของตลาดตอ‹ ชานมไข‹มกุ ราคาชานมไข‹มกุ (บาท/แกวŒ ) ราคาชานมไขม‹ ุก (บาท/แกŒว) ราคาชานมไขม‹ กุ (บาท/แกวŒ ) ราคาชานมไขม‹ กุ (บาท/แกวŒ ) 10 แกวŒ จำรอนา=ปุ ตวคสน2อŒางชชง+คกาาขนน3าอรมม+ซงไไตอ้ื5ขขลม‹ม‹ม=าากุกุ ดร1ทว03ี่ทเม0ทแกุกา‹บกๆันกŒวาบัทคน 50 50 50 50 40 2 40 3 40 5 40 30 30 30 30 20 20 20 20 10 10 10 10 0 1234 0 1234 5 01 3 5 78 0 2 4 6 8 10 12 14 16 จำนวนชานมไข‹มุกทต่ี Œองการซอ้ื (แกวŒ ) จำนวนชานมไขม‹ ุกทต่ี อŒ งการซื้อ (แกวŒ ) จำนวนชานมไขม‹ ุกที่ตŒองการซอื้ (แกวŒ ) จำนวนชานมไขม‹ ุกท่ีตอŒ งการซื้อ (แกŒว) 38 เศรษฐศาสตร์...เลม่ เดยี วอยู่