Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

Description: เศรษฐศาสตร์...เล่มเดียวอยู่

Search

Read the Text Version

กล่องความรู้ท่ี 1 (ต่อ) การใชน้ ้ำ�มนั ของไทยมีความยืดหยนุ่ ตอ่ ราคาหรือไม่ ? ในช่วงท่ีราคานำ้�มันในตลาดโลกเพ่ิมข้ึนมาก ซึ่งถ้าราคานำ้�มันในประเทศปรับสูงข้ึนตาม ก็อาจ ส่งผลกระทบต่อประชาชนผู้ใช้นำ้�มันและภาคธุรกิจ รัฐบาลจึงเข้ามาช่วยตรึงราคานำ้�มันดีเซล เพ่ือช่วยลดค่าขนส่งและชะลอการปรับข้ึนของราคาสินค้าอื่น รวมทั้งอาจเป็นเจตนาดีท่ีอยากให้ ผู้บริโภคและผู้ผลติ มเี วลาปรับตวั แต่ดว้ ยราคาที่ถูกเกินจรงิ น้ัน กลับท�ำ ใหพ้ ฤติกรรมการใชน้ ำ�้ มนั ของประชาชนบดิ เบอื น คอื แทนทคี่ นจะลดการใชน้ �้ำ มนั แตก่ ลายเปน็ ใชน้ �ำ้ มนั เพม่ิ ขน้ึ ในชว่ งทรี่ ฐั บาล ตรึงราคา เช่นเดียวกับช่วงต้ังแต่ปลายเดือนสิงหาคม 2554 ที่รัฐบาลงดเว้นการเก็บเงินเข้ากองทุนนำ้�มัน คนก็ใช้นำ้�มันกันมากอย่างท่ีเราเห็นกันว่าวันที่ประกาศนโยบายน้ีออกมา มีรถรอต่อแถวเข้าป๊ัมเพ่ือเติมนำ้�มัน กันแน่นขนดั และบางป๊ัมตดิ ปา้ ยวา่ น้ำ�มันเบนซนิ 91 หมดดว้ ยซ�ำ้ ไป ซ่งึ นโยบายเช่นนอ้ี าจท�ำ ให้กลไกตลาด ขาดประสทิ ธภิ าพในระยะยาวได้ เพราะเรารดู้ ีอยู่แลว้ วา่ รัฐบาลอาจไมส่ ามารถฝนื กลไกตลาดได้ตลอดไป เพราะการลดราคาน�้ำ มนั เชน่ น้มี ตี น้ ทุนทีต่ ้องเขา้ ไปอุดหนุน ชดเชย หากวนั ใดรัฐบาลไม่สามารถอดุ หนนุ ได้อกี ตอ่ ไป จ�ำ เปน็ ตอ้ งปล่อยใหร้ าคาลอยตัว เมอื่ นัน้ จะย่ิงทำ�ใหร้ าคาน�้ำ มันและราคา สินคา้ อนื่ ๆ เพิ่มขึ้นอยา่ งรวดเรว็ จนเกดิ ผลเสียรุนแรงกว่าการที่รัฐบาลทยอยลดการอดุ หนนุ ลงเพอื่ ให้ผูใ้ ช้น้�ำ มนั ไดค้ อ่ ย ๆ ปรบั ตวั อย่างไรก็ดี ด้วยเทคโนโลยีที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เช่น การผลิตรถยนต์ไฟฟ้า รวมถึงเศรษฐกิจแบ่งปัน (sharing economy) อย่างธรุ กิจ Grab หรอื Uber ก็นา่ จะท�ำ ให้ปรมิ าณการใชน้ ำ้�มนั ลดลงในอนาคต จำ�ไว้ว่า น้ำ�มันเป็นทรัพยากรท่ีใช้แล้วหมดไป เราทุกคนจึงควรตระหนักถึงความสำ�คัญของการนำ�ทรัพยากรนำ้�มันมาใช้ให้เกิด ประโยชนส์ งู สดุ และร่วมกนั อนรุ ักษ์พลงั งานเพื่อจะไดม้ พี ลังงานไว้ใช้ในวันข้างหนา้ ค�ำ ถามชวนคิด...? การตรึงราคาน�ำ้ มันไปเรอื่ ย ๆ หรือนโยบายลดราคาน้ำ�มันจะท�ำ ให้ผู้ใชน้ �้ำ มัน ประหยดั น้ำ�มนั จรงิ หรอื ? น้ำ�มันเปน็ วตั ถุดิบในการผลติ ซึง่ เปน็ ตน้ ทนุ อยา่ งหน่งึ ของผู้ผลิต และเป็นเชอื้ เพลิงสำ�หรบั การขับขี่รถยนต์ เมือ่ ราคานำ้�มนั แพงขน้ึ ทุกคนกต็ ้องมีการปรับตวั โดยใช้น�้ำ มันน้อยลง โดยไมจ่ ำ�เปน็ ตอ้ งรอให้รฐั บาลชว่ ยตรึงราคา/ลดราคา หรือจ่ายชดเชยราคานำ�้ มนั ทสี่ งู ขนึ้ ผู้ผลิตและผู้บรโิ ภคมคี วามสามารถในการปรบั ตวั ถา้ ให้เวลาและโอกาส และใหส้ ญั ญาณทีถ่ กู ต้อง ตรงกบั ความเปน็ จริงวา่ ราคาน�้ำ มนั ยงั คงแพงตอ่ ไป เมอื่ นัน้ เราจะได้เห็นการปรบั ตัวของ ผู้ใช้น�้ำ มนั เกดิ ขึ้น อยา่ งไรก็ดี หากมกี ลุ่มทป่ี รบั ตวั ล�ำ บาก รฐั บาลอาจจะสร้างกลไกบางอยา่ ง เพอ่ื ชว่ ยเหลอื เฉพาะกลุม่ นี้ก็ได้ 57เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดียวอยู่

เสริมความรู้ จรงิ ๆ แล้ว แนวคดิ เร่ืองความยืดหยุ่นในทางเศรษฐศาสตร์ไม่ได้มแี คค่ วามยดื หยุ่นของอปุ สงคต์ ่อราคาของสนิ คา้ แตส่ ามารถคดิ หาความยืดหยุ่นอนื่ ๆ ไดด้ ว้ ย เชน่ ความยืดหยุ่นของอปุ สงคต์ ่อรายได้ และความยืดหยนุ่ ของอุปสงค์ ต่อราคาสินคา้ อนื่ ท่ีเกย่ี วข้อง เปน็ ต้น ตัวอยา่ งเชน่ เมือ่ รายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ ทำ�ไมเราถงึ ซื้อสนิ ค้าบางอยา่ งเพม่ิ ขึ้นมาก ขณะทซี่ ้อื สินคา้ บางอยา่ งเพิ่มขึ้นเพียงนดิ เดยี ว หรืออาจจะซ้อื ลดลงดว้ ยซ�ำ้ กเ็ ป็นไปได้ เช่น บะหมี่กึ่งสำ�เร็จรูป ถา้ รายได้เพิม่ ขน้ึ ความต้องการซือ้ บะหมี่กึ่งสำ�เร็จรปู อาจจะ นอ้ ยลง ขณะที่รายไดเ้ พม่ิ ขนึ้ เราอาจจะอยากซือ้ เสื้อผ้ามากขนึ้ ที่เป็นแบบนก้ี เ็ พราะความตอ้ งการสินคา้ แตล่ ะอยา่ งของคนเรา มีความออ่ นไหวต่อรายไดท้ เ่ี ปลีย่ นแปลงไปไม่เท่ากัน หรอื มคี วามยดื หยนุ่ ของอุปสงค์ต่อรายได้แตกตา่ งกนั ความยดื หย่นุ ของอุปสงคต์ อ่ รายได้ = % การเปลีย่ นแปลงในปริมาณอปุ สงค์ % การเปล่ียนแปลงของรายได้ของผู้บริโภค ดงั นน้ั แนวคดิ ความยดื หยนุ่ ของอุปสงคต์ อ่ รายได้ ทำ�ใหเ้ ราทราบว่า รายได้ที่เปล่ียนแปลงไปจะท�ำ ใหป้ รมิ าณการซื้อสนิ คา้ เปลี่ยนแปลงไปแค่ไหน และทราบวา่ สินคา้ น้ันเป็นสนิ ค้าปกติ (normal goods) หรือเปน็ สินค้าดอ้ ยคณุ ภาพ (inferior goods) เพราะถา้ ความยดื หย่นุ มีคา่ เป็นบวกแสดงว่า เมอื่ รายไดเ้ พิม่ ข้ึน จะมีความต้องการซ้อื สนิ คา้ มากข้ึน และเมือ่ รายไดล้ ดลง จะมคี วามตอ้ งการซ้ือสินค้านอ้ ยลง ซ่ึงเป็นลักษณะของสนิ คา้ ปกติ ในทางกลบั กัน ถา้ ความยืดหยุ่นมีคา่ เปน็ ลบ แสดงวา่ เม่อื รายได้ลดลง จะมีความต้องการซือ้ สนิ ค้ามากข้ึน และเม่ือรายได้เพม่ิ ขึ้น จะมคี วามตอ้ งการซ้ือสินคา้ นอ้ ยลง ซ่ึงเปน็ ลักษณะของสินคา้ ด้อยคุณภาพ ตวั อย่างเช่น รถไฟชน้ั 3 เสือ้ ผา้ โหล บะหมกี่ งึ่ สำ�เรจ็ รปู เปน็ ตน้ ซ่ึงลักษณะของสินค้าปกติ และสินค้าดอ้ ยคณุ ภาพได้พูดถึงไปแลว้ ในหัวข้อ “การเปลย่ี นแปลงในอุปสงค”์ อกี ตัวอยา่ งหน่ึง ถ้าราคาหมูสูงขน้ึ ท�ำ ไมคนถึงกินไกม่ ากขนึ้ ที่เป็นแบบนก้ี เ็ พราะเรากนิ หมูหรอื ไก่แทนกันก็ได้ ความตอ้ งการ กินไก่ของเราจงึ มคี วามออ่ นไหวตอ่ ราคาหมูที่เปลี่ยนแปลงไป หรอื มีความยดื หยนุ่ ของอุปสงคต์ อ่ ราคาสินคา้ อื่นทีเ่ กีย่ วข้อง (ความยืดหยุ่นไขว)้ ความยดื หยุน่ ของอุปสงค์ตอ่ ราคาสินค้าอื่นท่เี กีย่ วข้อง = % การเปล่ียนแปลงในปริมาณอุปสงค์ % การเปลย่ี นแปลงของราคาของสนิ คา้ อน่ื ที่เกีย่ วขอ้ ง ดังนั้น แนวคิดความยืดหยุน่ ของอปุ สงคต์ ่อราคาสนิ คา้ อน่ื ท่ีเกยี่ วข้อง ทำ�ให้เราทราบว่า ราคาสินคา้ ชนิดหนึง่ ท่ีเปล่ียนแปลงไป จะทำ�ใหป้ ริมาณการซื้อสนิ คา้ อีกชนดิ ท่ีเกยี่ วขอ้ งเปล่ยี นแปลงไปแค่ไหน และทราบวา่ สินค้านั้นเปน็ สนิ ค้าทดแทนกนั (substitute goods) หรอื เปน็ สนิ ค้าทใ่ี ช้รว่ มกัน (complementary goods) โดยถ้าความยดื หยนุ่ มคี า่ เป็นบวก แสดงวา่ เมอื่ ราคาสนิ ค้า ก. เพ่มิ ขนึ้ ความต้องการซ้อื สินค้า ข. จะมีมากข้ึน และเม่อื ราคาสินคา้ ก. ลดลง ความตอ้ งการซือ้ สนิ ค้า ข. จะมนี ้อยลง นั่นแสดงว่า สินคา้ ข. สามารถทดแทนสนิ ค้า ก. ได้ ตัวอยา่ งเช่น เนื้อหมูกบั เนื้อไก่ แตใ่ นทางกลบั กัน ถา้ ความยดื หยุน่ มีคา่ เป็นลบ แสดงว่า เมอ่ื ราคาสินค้า ก. ลดลง ความต้องการซ้ือสินคา้ ข. จะมมี ากข้นึ และเมือ่ ราคา สนิ คา้ ก. เพิ่มข้นึ ความตอ้ งการซ้ือสนิ คา้ ข. จะมีนอ้ ยลง นั่นแสดงว่าสินค้า ข. จะเป็นสินคา้ ที่ใชร้ ่วมกับสนิ คา้ ก. ตัวอย่างเชน่ รถยนต์กับนำ�้ มัน ซง่ึ ได้พดู ถึงไปแลว้ ในหัวข้อ “การเปลยี่ นแปลงในอุปสงค”์ ทัง้ น้ี ขนาดของความยืดหยนุ่ ของอปุ สงคต์ อ่ ราคาสนิ คา้ อ่ืนท่เี กย่ี วข้อง (ความยดื หยนุ่ มีคา่ มากหรอื นอ้ ย) จะบอกใหเ้ ราทราบว่าสนิ คา้ นั้นสามารถ ทดแทนหรอื ใชร้ ว่ มกนั ไดด้ เี พยี งใด 58 เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดียวอยู่

ความยดื หยุ่นของอปุ ทานต่อราคา มาในฟากผผู้ ลติ กนั บา้ ง ความยดื หยนุ่ ของอปุ ทานตอ่ ราคา กห็ ลกั การคดิ เดียวกันกับความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา แต่เป็นการเปรียบเทียบ การเปล่ียนแปลงของปริมาณอุปทานกับการเปล่ียนแปลงของราคาสินค้าท่ีมี ความยืดหยุ่นของอปุ ทานต่อราคา = % การเปล่ยี นแปลงในปรมิ าณอุปทาน % การเปลี่ยนแปลงของราคา ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคามาก หรือ elastic คือสินค้าที่มีการ เปล่ียนแปลงของปริมาณอุปทานจะมากกว่าการเปล่ียนแปลงของราคา ตวั อยา่ งเชน่ เสอื้ ผา้ ส�ำ เรจ็ รปู เพราะเมอื่ ราคาเพม่ิ ขน้ึ ผผู้ ลติ สามารถผลติ ออก มาขายได้เพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน ไม่มีปัญหาในเรื่องวัตถุดิบ ผู้ผลิตสามารถ หาวัตถุดิบมาใช้ได้ง่าย ไม่เหมือนกับนำ้�มันที่การขยายการผลิตอาจ จะยากกวา่ อาจต้องมีการขอสัมปทาน มีตน้ ทนุ การขุดเจาะที่สงู ซงึ่ น�ำ้ มัน จะมกี ารเปล่ียนแปลงของปริมาณอปุ ทานน้อยกว่าการเปลี่ยนแปลงของราคา หรอื เปน็ สนิ คา้ ท่มี ีความยืดหยุน่ ของอุปทานตอ่ ราคานอ้ ย หรอื inelastic นอกจากต้นทุนการผลิตจะเป็นปัจจัยที่กำ�หนดค่าความยืดหยุ่นของ อุปทานตอ่ ราคาว่าจะมากหรอื นอ้ ยแล้ว ยงั มีปัจจัยอนื่ ๆ อกี ไดแ้ ก่ (1) ระยะเวลา ซงึ่ ท�ำ ใหอ้ ปุ ทานในระยะยาวมคี า่ ความยดื หยนุ่ มากกวา่ ในระยะสั้น เพราะผู้ผลิตสามารถเปล่ียนแปลงจำ�นวนการผลิตได้เต็มที่ตาม การเปลี่ยนแปลงของราคา (2) ความคงทนของสนิ ค้า สนิ ค้าซง่ึ เก็บไวไ้ ด้ไม่นาน เชน่ ผกั ผลไม้ ที่เน่าเสียได้ง่าย จะมีค่าความยืดหยุ่นของอุปทานน้อยมากหรือแทบจะ ไม่มีความยืดหยุ่นเลย ลองนึกถึง ช่วงเย็น ๆ (ใกล้คำ่�) แม่ค้าจะรีบขาย เลหลังผลไม้ แม้ว่าราคาจะลดลงมาก ๆ แตป่ รมิ าณผลไมท้ ่ีเอาออกมาขาย จะไมล่ ดลง เพราะแมค่ า้ กลวั ผลไมจ้ ะเนา่ เสยี กอ่ น ถงึ แมจ้ ะเกบ็ ไวก้ ไ็ มส่ ามารถ ขายได้ สูเ้ อามาลดราคายงั จะพอไดท้ ุนคนื บา้ ง 59เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดียวอยู่

กิจกรรมทดสอบความเข้าใจ ลองยกตวั อยา่ งสนิ คา้ ท่ีใช้ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ทมี่ ลี กั ษณะ elastic หรอื มคี วามยดื หยนุ่ ของอปุ สงคต์ อ่ ราคามาก ขณะเดียวกนั ก็มคี วามยืดหยุ่นของอปุ ทานตอ่ ราคามากเชน่ เดยี วกันมาสัก 1 อย่าง กล่องความรู้ที่ 2 ตลาดแรงงานและการกำ�หนดค่าจ้างขน้ั ต�ำ่ นอกจากอุปสงค์และอุปทานของสินค้าท่ีได้พูดถึงไปก่อนหน้านี้ กฎของอุปสงค์และอุปทานก็นำ�มาประยุกต์ใช้กับตลาดแรงงานได้ เช่นกัน โดยพิจารณาว่า จำ�นวนคนงานหรือจำ�นวนชั่วโมงทำ�งานเป็นสินค้าชนิดหนึ่งมีราคาเป็นค่าจ้าง เมื่อค่าจ้างเพิ่มสูงขึ้น นายจ้างจะมีความต้องการจ้างแรงงานลดลง แต่แรงงานจะมีความต้องการขายแรงงานหรือทำ�งานเพิ่มขึ้น ซึ่งกลไกราคาจะเป็น ตัวปรับให้ความต้องการจ้างแรงงานของนายจ้างเท่ากับความต้องการขายแรงงานพอดีกัน หรือได้จำ�นวนคนงานหรือจำ�นวนช่ัวโมง ทำ�งานท่ีเปน็ ดุลยภาพ ณ ค่าจา้ งทส่ี องฝ่ายตกลงร่วมกัน หรอื เรยี กวา่ “คา่ จา้ งดลุ ยภาพ” แตด่ ว้ ยความเปน็ หว่ งวา่ คา่ จา้ งดลุ ยภาพอาจอยใู่ นระดบั ต�่ำ เกนิ ไป เนอ่ื งจากแรงงานมอี �ำ นาจตอ่ รองนอ้ ยกวา่ นายจา้ ง ท�ำ ใหต้ อ้ งยอมรบั คา่ จ้างท่ตี ำ่�ซ่งึ อาจจะไม่เพียงพอต่อการใช้จา่ ยเพอ่ื ดำ�รงชีพในชวี ติ ประจ�ำ วัน รฐั บาลจึงก�ำ หนดให้มีคณะกรรมการชุดหน่งึ เขา้ มาดแู ล เพ่ือให้เกิดความเหมาะสมในการกำ�หนดค่าจ้างเรียกว่า “คณะกรรมการค่าจ้าง” ท่ีประกอบด้วยตัวแทนของนายจ้าง ลูกจ้างและ ภาครัฐ โดยจะทำ�การกำ�หนด “ค่าจ้างขั้นต่ำ�” ซึ่งเป็นค่าจ้างตำ่�สุด ซึ่งนายจ้างจะต้องจ่ายแก่ลูกจ้างเป็นรายช่ัวโมง รายวันหรือ รายเดือนตามที่กฎหมายก�ำ หนด โดยพิจารณาจากปจั จยั ต่าง ๆ เช่น ราคาสินคา้ ท่จี �ำ เป็นในการดำ�รงชพี ก�ำ ไรของนายจ้าง และ ภาวะเศรษฐกจิ โดยรวม ซง่ึ ทผ่ี า่ นมาจะมีการพจิ ารณาปรับคา่ จ้างขัน้ ต่�ำ เปน็ ประจำ�อยา่ งน้อยปลี ะ 1 ครัง้ แล้วการก�ำ หนดค่าจ้างขั้นต่ำ� จะส่งผลอย่างไรตอ่ ตลาดแรงงาน ? ค‹าจŒาง อปุ สงคใหม‹ อุปทาน อุปสงค คา‹ จาŒ งข้ันตำ่ อปุ ทานส‹วนเกEนิ 1 E จำนวนแรงงาน 60 เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดยี วอยู่

กลอ่ งความรู้ท่ี 2 (ตอ่ ) ตลาดแรงงานและการกำ�หนดคา่ จ้างขัน้ ต่�ำ หากมีการกำ�หนดค่าจ้างข้ันตำ่�ให้สูงกว่าค่าจ้างดุลยภาพในตลาด ก็จะมีแรงงานที่ต้องการทำ�งานมากขึ้น แต่นายจ้างจะต้องการ จ้างงานลดลงแสดงว่า มีคนท่ีต้องการทำ�งานแต่ไม่ถูกจ้างงานหรือคนว่างงาน น่ันคือ ทำ�ให้เกิดภาวะอุปทานของแรงงาน ส่วนเกินขน้ึ น่ันเอง แต่ในความเป็นจริงแล้ว การกำ�หนดค่าจ้างข้ันต่ำ�ไม่จำ�เป็นต้องทำ�ให้เกิดการว่างงานมากข้ึนเสมอไป หากแรงงานมีการพัฒนา ความรู้ และทักษะฝีมือทำ�ให้ผลิตสินค้าได้มากข้ึน นายจ้างก็จะยอมจ่ายค่าจ้างมากข้ึนได้ ทำ�ให้อุปสงค์ของแรงงานเพิ่มสูงข้ึน หรือเส้นอุปสงค์เคลื่อนจากเดิมไปทางขวาเป็นเส้นใหม่ และตัดกับเส้นอุปทาน เกิดดุลยภาพใหม่ที่จุด E1 ซ่ึงแรงงานจะได้ค่าจ้าง เท่ากับค่าจา้ งข้ันต�่ำ ซึง่ สงู กวา่ ค่าจ้างดุลยภาพเดมิ ในตลาด และเกิดการจา้ งงานมากขนึ้ ไม่เกิดอปุ ทานแรงงานส่วนเกิน กล่องความรู้ที่ 3 ทกั ษะแรงงานในโลกการทำ�งานยุคใหม่…เราต้องท�ำ อย่างไรเพอื่ อย่รู อดในอนาคต ? จากที่เราเขา้ ใจแล้ววา่ อะไรทเี่ ปน็ ตวั ก�ำ หนดค่าจ้างแรงงาน การพัฒนาทกั ษะฝมี ือท�ำ ให้เกดิ อปุ สงคห์ รือความตอ้ งการแรงงานเพิ่มข้นึ แล้วรู้หรือไม่ว่า ในโลกการทำ�งานยุคใหม่ท่ีเทคโนโลยีกำ�ลังจะเข้ามาเปลี่ยนโลก หรือท่ีเราได้ยินกันว่า “เทคโนโลยีดิสรัปชั่น” แรงงานไทยหรือผทู้ ่จี ะเข้าสตู่ ลาดแรงงานต้องเตรยี มพร้อมรับมอื กบั การเปล่ยี นแปลงขนานใหญน่ ีก้ นั อยา่ งไร อย่างทีร่ ู้กนั “โรบอต - เอไอ” หรือ เจ้าหุ่นยนต์ - ปัญญาประดษิ ฐ์ ทใ่ี ช้ระบบสมองกล ตัวอยา่ งเช่น ยานยนตข์ บั เคลอื่ นอตั โนมตั ิ หุ่นยนต์ท่ีช่วยดูแลผู้สูงอายุ นอกจากจะทำ�ให้เราใช้ชีวิตสะดวกสบายขึ้นแล้ว ยังมีแนวโน้มที่จะเข้ามาแย่งงานมนุษย์หรือมาทำ�งาน รว่ มกบั มนษุ ยม์ ากขนึ้ ขณะเดยี วกนั เราเหน็ เทรนดก์ ารเตบิ โตของ “Gig Economy” ซง่ึ คอื ระบบเศรษฐกจิ ทผี่ ทู้ �ำ งานรบั งานเปน็ ครง้ั ๆ มคี วามเปน็ อิสระและไม่ไดเ้ ปน็ ลูกจ้างประจ�ำ ของบริษทั หรอื ท่ีเรยี กคนท�ำ งานอาชีพอิสระนว้ี ่า “ฟรีแลนซ์ (freelance)” สว่ นใหญ่ เป็นคนรุ่นใหม่ทเ่ี ตบิ โตมาพร้อมกบั เทคโนโลยี แมจ้ ะสามารถใชโ้ ครงสร้างพน้ื ฐานอนิ เทอร์เน็ตท�ำ ให้ท�ำ งานได้ทกุ ที่ ทกุ เวลา และเน้น “การใชช้ วี ติ ไปด้วยและท�ำ งานไปดว้ ย” แตแ่ รงงานกลุม่ นี้จะมรี ายได้ทไ่ี มแ่ น่นอน รวมถึงขาดสวัสดิการและรายได้ในยามเจบ็ ปว่ ย ภาวะตลาดแรงงานไทยเอง ปัจจุบันก็มีแรงงานนอกระบบถึงกว่าครึ่งหนึ่งของแรงงานท้ังหมด ซ่ึงไม่ได้รับความคุ้มครองและไม่มี หลกั ประกนั ทางสงั คม ส่วนใหญม่ กี ารศกึ ษาและผลิตภาพนอ้ ย หรือก็คือจ�ำ นวนผลผลิตที่แรงงาน 1 คนผลิตไดน้ อ้ ยและมรี ายไดต้ �ำ่ เม่ือเทยี บกับแรงงานท่ีอยู่ในระบบ ยง่ิ ไปกวา่ นน้ั เป็นทนี่ ่าตกใจว่า ในช่วง 20 ปที ี่ผ่านมา ผลิตภาพแรงงานไทยแทบไม่เตบิ โต หรือ อยู่ในระดับใกล้เคียงเดิม มิหนำ�ซำ้� กำ�ลังแรงงานไทยก็ลดลงจากการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซ่ึงศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ได้ประเมินว่า หากแรงงานยังไม่ปรับปรุงผลิตภาพให้ดีขึ้น เศรษฐกิจไทยอาจต้องใช้เวลา 30 ปีหรือมากกว่า ในการก้าวพน้ กบั ดักรายได้ปานกลางเพื่อกลายเปน็ ประเทศรายได้สูง จงึ เปน็ ความท้าทายต่อผู้ท่เี กี่ยวข้องทุกฝ่าย 61เศรษฐศาสตร์...เล่มเดยี วอยู่

กลอ่ งความรูท้ ี่ 3 (ตอ่ ) ทกั ษะแรงงานในโลกการท�ำ งานยคุ ใหม่…เราต้องทำ�อยา่ งไรเพ่อื อย่รู อดในอนาคต ? ในส่วนของแรงงานเอง กุญแจท่ีจะทำ�ให้แรงงานไทยเป็น “แรงงานแห่งอนาคต” พร้อมรับมือกับคล่ืนเทคโนโลยีดิสรัปช่ันได้ คือ การยกระดบั และพฒั นาทักษะแรงงาน (upskil & reskil) หรอื การพัฒนาทักษะท่ีมีอยู่เดิมใหแ้ ข็งแกร่งมากขึ้น นำ�มาปรบั ในบริบทใหม่ ท่ีเกิดข้ึน และการเพม่ิ ทักษะใหม่ๆ ทไี่ ม่เคยมีมากอ่ น ตวั อยา่ งเชน่ ทักษะดา้ นการท�ำ งานรว่ มกับเคร่อื งจักรท่ีควบคุมด้วยโปรแกรม เอไอ ซึ่งหลายองค์กรในสหรัฐฯ​ และประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศพยายามหาทางออกกับเรื่องน้ี มุ่งม่ันให้พนักงานต้องผ่าน การฝึกอบรม reskiling และ upskiling เพือ่ ปิดชอ่ งว่างทกั ษะในปจั จบุ ัน และพัฒนาการศึกษาส�ำ หรบั อนาคต เห็นไดช้ ดั วา่ การปรับ ทกั ษะมีความส�ำ คญั อย่างมากในยคุ เทคโนโลยีดสิ รปั ช่นั นอกจากนี้ การเรียนรู้ตลอดชีวิต (lifelong learning) เป็นอีกส่ิงหนึ่งท่ีสำ�คัญ ไม่จำ�เป็นต้องเป็นการเรียนรู้เร่ืองใหม่ท้ังหมดก็ได้ แตเ่ ป็นการเอาความรเู้ ก่ามาต่อยอด หรือจะเรยี นรูจ้ ากการท�ำ งานไปด้วย เปน็ การอยากเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ไมต่ ้องมีใครมาเค่ียวเข็ญ และเชื่อว่าทุกอย่างพัฒนาได้ หรือการมี “growth mindset” รวมท้ังต้องปรับการเรียนรู้ของตัวเองให้เป็น “active learning” คอื ต้องคิดตาม พยายามทำ�ความเขา้ ใจ เชอื่ มตอ่ กับความรูเ้ ก่าทีม่ อี ยู่ ในสว่ นของภาครฐั และภาคเอกชน ตอ้ งมกี ารออกแบบหลกั สตู รทส่ี นองตอบความตอ้ งการของตลาดแรงงานทเ่ี ปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ เหมือนในประเทศเยอรมนีและสิงคโปร์ และเช่ือมโยงกับระบบการศึกษาให้มากขึ้นโดยเฉพาะพัฒนาทักษะแรงงานที่เป็นที่ต้องการ ในอนาคต เช่น ทกั ษะดา้ นการคิดวเิ คราะห์ (critical thinking) การคดิ เชิงนวตั กรรม (innovative thinking) ทกั ษะความคิดเชิงริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ (creative thinking) และภาษาต่างประเทศ นอกจากนี้ ต้องเน้นผ้เู รียนเป็นศนู ย์กลาง และเรียนรู้พัฒนาทกั ษะต่างๆ ผ่านการทำ�โครงงาน (project-based) เน้นความคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา ซ่ึงจะเป็นความท้าทายของระบบการศึกษาไทย อย่างมาก ตรงกับค�ำ กลา่ วทว่ี ่า “We can’t educate today’s students for tomorrow’s world with yesterday’s schools” วา‹รŒู…ไหม? จริง ๆ แล้ว นวัตกรรมไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งเป็นการประดษิ ฐส์ งิ่ ของชนดิ ใหมเ่ สมอไป อาจเป็นการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ กระบวนการ รูปแบบองค์กร หรอื การตลาดก็ได้ ทง้ั นี้ ก็เพ่ือสร้างมลู ค่าเพิม่ ให้สนิ คา้ หรือลดค่าใช้จา่ ยในการผลิต เพ่ิมประสทิ ธภิ าพหรือเพมิ่ อ�ำ นาจตอ่ รองในการกำ�หนด ราคาสนิ คา้ ให้สงู ข้นึ ซึง่ นวตั กรรมนี่แหละ...จะเป็นแรงขับเคล่อื นสำ�คัญทจ่ี ะช่วยใหเ้ ศรษฐกิจไทยสามารถเตบิ โตได้ในระยะยาวอย่างยั่งยนื จากที่เคยขับเคลือ่ นโดยปัจจยั การผลิต (factor-driven) และประสิทธิภาพ (efficiency-driven) การพัฒนานวตั กรรมต้องมกี ารลงทุนในการวจิ ัยและพัฒนาในระดับสูงและตอ่ เน่ือง ควบคู่ไปกับพฒั นาก�ำ ลังคนเพอ่ื ทจ่ี ะสามารถ สรา้ งนวตั กรรมและสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ด้วยการบรู ณาการความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ไดแ้ ก่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ หรอื ท่เี รียกวา่ “STEM (Science, Technology, Engineering and Mathematics)” ที่เชื่อมโยงกับชีวติ ประจำ�วนั ทีเ่ ป็นเรอ่ื งใกล้ตวั ที่สามารถน�ำ มาใช้ไดท้ กุ วัน 62 เศรษฐศาสตร.์ ..เลม่ เดียวอยู่

คณุ เรียนรู้สิง่ เหล่านี้แลว้ หรอื ยงั • เขา้ ใจการทำ�งานของกลไกราคา โดยมอี ุปสงคแ์ ละอปุ ทานเป็นตวั กำ�หนดราคาและปริมาณดลุ ยภาพ • น�ำ ความรเู้ กย่ี วกับกลไกราคา ความยดื หยุ่นของอุปสงค์ตอ่ ราคาสนิ คา้ ไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำ�วนั ได้ จากบทนี้เราทราบแล้วว่า กลไกราคาจะเป็นตัวปรับให้ราคาที่ผู้ซื้อ ต้องการซื้อเท่ากับราคาท่ีผู้ขายเสนอขาย หรือเกิด “ราคาดุลยภาพ” และ จำ�นวนสินค้าที่ผู้ซ้ือต้องการซื้อเท่ากับจำ�นวนสินค้าท่ีผู้ขายเสนอขายพอดี หรอื “ปรมิ าณดลุ ยภาพ” ในระบบตลาดทเี่ ปน็ การแขง่ ขนั เสรี จงึ ใชก้ ลไกราคา เป็นตัวจัดสรรทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจเพราะราคาทำ�ให้เรารู้ว่าระบบ เศรษฐกจิ ควรจะผลิตสงิ่ ใด (what) ผลติ อยา่ งไร (how) และจะผลติ ให้ใคร (for whom) รวมทัง้ ใครจะไดร้ บั ผลตอบแทนเท่าใด จากท่ีเราทราบเฉพาะส่วนย่อย ๆ หรือในระดับจุลภาคว่า อุปสงค์และ อุปทานเป็นอย่างไร และกลไกราคาทำ�งานอย่างไรจึงเกิดเป็นราคา ดลุ ยภาพ และปริมาณดลุ ยภาพ ตอ่ ไปในบทท่ี 5 - 7 ภาพจะใหญ่ขนึ้ จะเปน็ การศกึ ษากจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ในภาพรวมหรอื ในระดบั ประเทศ โดยจะเรม่ิ จากบทที่ 5 ท่ีเปน็ การอธบิ ายกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ในระบบ เศรษฐกิจปิดท่ีมีแค่ผู้บริโภค (ภาคครัวเรือน) และผู้ผลิต (ภาคธุรกิจ) กันก่อน จากน้ันบทที่ 6 ภาพจะค่อย ๆ ซับซอ้ นขน้ึ โดยมภี าครัฐบาล เข้ามาด้วย ต่อจากน้ันบทท่ี 7 จะเป็นลักษณะระบบเศรษฐกิจแบบเปิด ทมี่ ีภาคต่างประเทศ ซึ่งจะมีความซับซ้อนมากย่งิ ข้ึน 63เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดียวอยู่

บทที่ 5 การทำ�งานของระบบเศรษฐกจิ แบบปดิ บทนี้เป็นการทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับ กิจกรรมทางเศรษฐกิจในระบบเศรษฐกิจ แบบปิดท่ียังมีความซับซ้อนน้อย มีเพียง ภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจที่ผลิตและค้าขาย กันเอง โดยภาคครัวเรือนจะทำ�หน้าท่ีในการบริโภค (ซื้อของ) ขณะเดียวกันก็เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ที่ขายให้กับภาคธุรกิจด้วย ส่วนภาคธุรกิจจะทำ�หน้าท่ี ในการผลิตและลงทุน (ขายของ) ซึ่งสองภาคนี้มีความ เก่ยี วโยงซ่ึงกันและกัน และมีผลตอ่ เศรษฐกิจโดยรวม การทำ�งานของระบบเศรษฐกจิ แบบปดิ ระบบเศรษฐกิจท่ีมีการผลิตและการบริโภคมากข้ึน กิจกรรมทางเศรษฐกิจก็จะยุ่งยากซับซ้อนข้ึน โดยที่ ในความเป็นจริง ผบู้ รโิ ภคเองก็ไม่สามารถผลติ สงิ่ ของใช้เองได้ทกุ อย่าง จึงเกดิ หนว่ ยธุรกิจหรอื ภาคธรุ กิจขึน้ ซงึ่ เปน็ ผู้ที่รวบรวมปัจจัยการผลิตเพื่อนำ�มาผลิตสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค จากบทที่ 3 เราทราบแล้วว่าภาคครัวเรือนจะมีบทบาทเป็นทั้งผู้บริโภค ขณะเดียวกันก็เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตด้วย โดยวงจร กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ก็คือ ภาคครัวเรือนขายปัจจัยการผลิตให้กับภาคธุรกิจ และเมื่อภาคครัวเรือนได้เงิน คา่ ตอบแทนมากน็ �ำ มาซอื้ หาสนิ คา้ และบรกิ ารจากภาคธรุ กจิ เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของตน ในขณะทภี่ าคธรุ กจิ เมื่อได้รับปัจจัยการผลิตมาก็จะผลิตสินค้าและบริการแล้วจำ�หน่ายให้ภาคครัวเรือน ซึ่งก็จะได้รับเงินค่าสินค้าและ บริการจากภาคครัวเรือนซึ่งเป็นผู้บริโภคเป็นการตอบแทน และลงทุนเพ่ือขยายการผลิตต่อไป สรุปได้ง่าย ๆ ว่า ภาคครัวเรือนซ้อื ของ ภาคธรุ กจิ ขายของ 64 เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดียวอยู่

ระบบเศรษฐกิจแบบปด กรณีไม‹มีรฐั บาล ธรุ กิจ รายจ‹ายของธรุ กิจ = รายรับของครวั เรอน (ค‹าเช‹า ค‹าจŒาง ดอกเบ้ีย กำไร) ครัวเรอน ครวั เรอนขายปจจัยการผลต (ท่ดี นิ แรงงาน ทนุ ผปŒู ระกอบการ) ธุรกิจขายสนคาŒ และบรการ รายรับของธรุ กิจ = รายจ‹ายของครวั เรอน เสรมิ ความรู้ ในการดำ�รงชีพในแต่ละครัวเรือน ไม่ว่าจะมีรายได้หรือค่าตอบแทน จากการขายปจั จยั การผลติ มากนอ้ ยเพยี งใดกต็ าม จ�ำ เปน็ จะตอ้ งมกี ารใชจ้ า่ ย อรรถประโยชน์ (utility) หมายถึง เงินที่หามาได้น้ันไปในการซ้ือสินค้าและบริการมาเพื่อบริโภค ซึ่งหลังจาก ความพอใจท่ผี บู้ ริโภคได้รับจากการ ใช้จ่ายเพ่ือซ้ือสินค้ามาบริโภค รายได้ส่วนที่เหลือก็จะเก็บออมไว้เพ่ือ บรโิ ภคสนิ ค้าหรอื บรกิ ารชนิดใดชนดิ หนึ่ง ใช้จ่ายในการบริโภคในอนาคตเพราะปกติแล้วมนุษย์จะกลัวความเส่ียง ณ เวลาใดเวลาหน่งึ กังวลวา่ รายได้ในอนาคตอาจจะไมแ่ นน่ อน จงึ ไมใ่ ช้สอยเงนิ ทีไ่ ด้มาในวันน้ี รวดเดยี วหมด แตจ่ ะเกบ็ ออมเพอื่ วนั ขา้ งหนา้ โดยอาจน�ำ เงนิ ออมนนั้ ไปลงทนุ เมอ่ื ผบู้ รโิ ภคไดบ้ ริโภคสินค้าและบรกิ าร เพ่ือหากำ�ไรต่อ หรือนำ�ไปให้ภาคธุรกิจกู้ยืมเป็นเงินลงทุนขยายการผลิต เพ่มิ ข้นึ ทีละหน่วยแล้ว อรรถประโยชน์ ซงึ่ เราจะไดร้ บั ผลตอบแทน คือ ดอกเบ้ยี ดังนนั้ ในระบบเศรษฐกจิ หนึ่ง ๆ สว่ นทเ่ี พม่ิ ขึ้นหรอื ความพอใจของ จะมที ั้งการบรโิ ภค การออม และการลงทุน ผู้บรโิ ภคทเ่ี พ่มิ ขึ้นจากการบรโิ ภคสินคา้ นัน้ ๆ จะลดลงตามล�ำ ดับ ลองนึกถึง ภาคครัวเรอื นกบั การบริโภค ตอนท่เี ราหวิ และกนิ กว๋ ยเตย๋ี วชามแรก ความพอใจของเรากจ็ ะสงู มาก แตพ่ อ เมื่อสมาชิกในครัวเรือนได้รับผลตอบแทนของปัจจัยการผลิต เช่น กินอกี เป็นชามท่ี 2 ชามท่ี 3 ความพอใจ ไดร้ บั คา่ จา้ งจากการขายแรงงาน กส็ ามารถน�ำ เอาคา่ ตอบแทนหรอื รายไดน้ น้ั ส่วนทีเ่ พมิ่ ขน้ึ จากการกนิ กว๋ ยเต๋ียว ไปจับจ่ายใช้สอย ซ้ือหาสินค้าและบริการที่ต้องการได้ การจับจ่ายใช้สอย เพมิ่ อีก 1 ชาม ก็จะนอ้ ยลงเร่อื ย ๆ นี้เองท่ีเรียกว่า การบริโภค (consumption) ซ่ึงเม่ือครัวเรือนบริโภคสินค้า จนในท่สี ุด ความพอใจที่ได้กินเพิ่ม หรือบริการท่ีต้องการก็จะได้รับความสุขหรือได้รับประโยชน์จากการบริโภค อีกชามอาจจะถงึ กับตดิ ลบไปเลย ตอบแทน ภาษาทางเศรษฐศาสตร์เราจะเรียกว่า อรรถประโยชน์จากการ (ไม่พอใจ) นนั่ คอื เราอ่ิมมากจน บริโภค (utility) ไม่อยากกินตอ่ แลว้ 65เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดยี วอยู่

สินค้าและบริการที่ครัวเรือนบริโภคมีทั้งของใช้ที่จำ�เป็นในการ ดำ�รงชวี ิต ได้แก่ ปัจจัย 4 (อาหาร เครอื่ งนุง่ หม่ ท่ีอยอู่ าศัย และยารักษาโรค) และสิ่งอ�ำ นวยความสะดวกตา่ ง ๆ ท่ีชว่ ยสร้างความสขุ ในการดำ�รงชวี ติ เชน่ คำ�ถามชวนคิด...? รถยนต์ โทรศัพท์มือถือ การไปดูหนงั เปน็ ตน้ ในบรรดาสนิ คา้ ตา่ ง ๆ ยังอาจ ในชว่ งทีเ่ ศรษฐกจิ ไม่ดี เราจะชะลอการบรโิ ภค แยกประเภทสินค้าตามความคงทนหรือระยะเวลาการใช้งานได้ด้วย เช่น สนิ ค้าประเภทไหนมากกว่ากัน ระหวา่ งสินคา้ คงทน เช่น โทรทศั น์ กบั สนิ คา้ ไมค่ งทน เช่น รถยนต์ ตเู้ ยน็ โทรทศั น์ เปน็ สนิ คา้ ท่ีมีความคงทนสามารถใชไ้ ดน้ านหลายปี อาหาร สบู่ ยาสีฟัน ในขณะท่ีเส้ือผ้า รองเท้า ใช้ได้หลายคร้ัง แต่ก็ไม่นาน เราเรียกพวกนี้ว่า สนิ คา้ กง่ึ คงทน และสินค้าบางอย่างไม่คงทนเลย เชน่ พชื ผักผลไมท้ เ่ี น่าเสีย น่าจะตอบได้ไม่ยาก เมอ่ื รายไดล้ ดลง คนจะชะลอซอ้ื สินค้าที่ไมจ่ ำ�เป็นและมีราคาแพง ได้ในเวลาไมก่ ี่วัน หรือสบู่ ยาสระผม ยาสฟี นั ทีใ่ ชแ้ ล้วก็หมดไป ต้องซ้อื ใหม่ ออกไปกอ่ น ซ่ึงก็คือ พวกสนิ ค้าคงทน นั่นเอง โดยอาจจะใชง้ านของทีม่ ีอยูแ่ ล้วนานข้นึ ปัจจัยท่ีก�ำ หนดการบริโภคของภาคครวั เรอื น การบริโภคของภาคครัวเรือนได้จากการบริโภคของแต่ละคนในทุก ว‹ารูŒ…ไหม? ครวั เรอื นยอ่ ย ๆ มารวมกนั เพราะฉะนน้ั ปจั จยั สว่ นใหญท่ ก่ี �ำ หนดอปุ สงคก์ าร ซอ้ื สนิ ค้าของแตล่ ะบุคคล (ทไี่ ด้กล่าวไว้ในบทที่ 4) จึงสามารถน�ำ มาอธิบาย การบริโภคของภาคครวั เรือนได้ 1. ระดับรายได้ของผู้บริโภค คงเป็นปัจจัยอย่างแรกที่ผู้บริโภค ถ้ารวมรายจ่ายของคนท่ีอยูใ่ น จะพิจารณา เพราะรายได้มากก็บริโภคได้มาก รายได้น้อยก็บริโภคได้น้อย ประเทศไทยทกุ คนรวมกนั เกอื บครึง่ หนึ่ง ลงมา แต่ก็มกี ารบริโภคทไี่ ม่ข้นึ กับรายไดเ้ หมอื นกัน เพราะคนเรากต็ ้องกนิ ของรายได้ทงั้ หมดน้ัน เปน็ การจับจ่าย อาหารเพื่อประทังชีวิต มีเสื้อผ้าไว้สวมใส่ ซึ่งเราเรียกการบริโภคอย่างนี้ว่า ใชส้ อยเพอ่ื บริโภคสินค้าและบรกิ าร เป็นระดบั การบรโิ ภคขัน้ ต�ำ่ ทจี่ ะดำ�รงชีวติ ได้ และถึงจะไมม่ รี ายได้ เราก็ตอ้ ง ในประเทศ หรือการบริโภคของ ก้มู าเพ่อื ซอื้ หามาบรโิ ภค หรอื ขอคนอ่นื มา ครัวเรอื นคิดเปน็ สดั สว่ นถงึ คร่ึงหนงึ่ 2. การคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต การคาดการณ์ของผู้บริโภค ใน GDP ดว้ ยเหตนุ ้ีเอง การเพม่ิ ขน้ึ ไม่ว่าจะเป็นรายได้ในอนาคต ราคาสินค้า ปริมาณสินค้า ล้วนส่งผลต่อ หรอื ลดลงของการบรโิ ภค จึงสง่ ผลตอ่ การตัดสินใจในการบรโิ ภคทัง้ สิ้น เชน่ ถา้ คาดว่า เงินเดือนจะข้ึน 10% หรอื เศรษฐกิจโดยรวมอย่างมาก ซึ่งการ เงินโบนัสจะออกเดือนหน้า เขาอาจจะใช้จ่ายเพ่ือการบริโภคเพิ่มขึ้นต้ังแต่ คาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคตหรือ วันน้ี ท�ำ นองใช้กอ่ นล่วงหน้า แต่ถ้าคาดการณ์ว่า ในอนาคตรายไดข้ องเขา ความเชอื่ มัน่ ของผู้บริโภคมสี ว่ นส�ำ คญั จะลดลง เขาก็จะลดการบริโภคลง และออมให้มากข้ึนเพ่ือเอาไปใช้จ่าย ตอ่ การตดั สนิ ใจในการบริโภค ในวนั ขา้ งหนา้ หลายประเทศจงึ มกี ารจัดท�ำ ดัชนี ความเชื่อม่ันผบู้ รโิ ภคเพอื่ คาดการณ์ แนวโน้มเศรษฐกิจของประเทศ 66 เศรษฐศาสตร์...เลม่ เดยี วอยู่

ว‹ารูŒ…ไหม? ส่วนในแง่ของการคาดการณ์ราคาสินค้า ถ้าคาดว่าราคาจะสูงข้ึน ผู้บริโภคก็จะพากันไปซื้อสินค้ามากกว่าปกติ ก็คงไม่แปลกเพราะไม่มีใคร บัตรเครดติ หรอื บตั รสินเชอ่ื ก็เปน็ สนิ เชือ่ อยากซ้ือของแพง ลองนึกถึงว่า พอวันนี้ บริษัทนำ้�มันประกาศว่า พรุ่งนี้ ประเภทหนง่ึ ทที่ ำ�ให้ผูบ้ ริโภคสามารถ ราคาน้�ำ มนั จะปรับข้นึ อีก 80 สตางค์ต่อลติ ร เราจะเห็นรถแหเ่ ขา้ ปม๊ั เพอ่ื รอ ซ้ือก่อนจา่ ยทหี ลังได้ บตั รเครดติ เติมน�ำ้ มนั กันตั้งแตว่ ันนี้ หรือถา้ คาดวา่ ราคาสนิ คา้ จะลดลง เช่น สนิ้ เดือนนี้ ถอื กำ�เนดิ ขึน้ ในประเทศสหรฐั อเมรกิ า จะมีงาน MIDNIGHT SALE ห้างดังจะมีการนำ�สินค้ายี่ห้อดังมาลดราคา ปี 1914 โดยบรษิ ัท เยอเนอรลั กระหน่�ำ ถงึ 30 -70% หลายคนก็คงชะลอการซ้อื สินค้าย่ีหอ้ ดังนัน้ ออกไปก่อน ปิโตรเลยี ม คอร์ปอเรช่ัน ออฟ เพื่อรอซอ้ื ในงานทีส่ ามารถซ้ือไดถ้ กู กวา่ แคลิฟอร์เนยี ซ่งึ ปัจจบุ ัน คือ สำ�หรับการคาดการณ์ปริมาณสินค้า ถ้าเรารู้ว่า จะเกิดน้ำ�ท่วมใหญ่ บรษิ ัท โมบลิ ออยส์ จ�ำ กดั โดยท�ำ หรอื จะเกดิ ภาวะสงคราม แน่นอนว่า ปรมิ าณสนิ คา้ ท่อี อกขายก็จะมนี ้อยลง บัตรดังกล่าว ใหก้ บั ลกู คา้ และพนักงาน ผู้บริโภคก็จะแห่กันไปซ้ือสินค้าเพ่ือกักตุนไว้ก่อน การใช้จ่ายเพื่อการบริโภค ของบรษิ ทั เพอ่ื น�ำ ไปชำ�ระคา่ นำ�้ มนั กจ็ ะมาก ต่อมาราวปี 1950 นายแฟรงค์ 3. สนิ เชอ่ื เพอื่ การบรโิ ภค แมว้ า่ ผบู้ รโิ ภคจะมรี ายไดใ้ นขณะนไี้ มพ่ อจา่ ย แมคนามารา ซึ่งเป็นนกั ธุรกิจเกิดลมื ซอื้ สนิ คา้ และบรกิ าร แตผ่ บู้ รโิ ภคกส็ ามารถกยู้ มื โดยขอเงนิ สนิ เชอ่ื จากธนาคาร พกกระเปา๋ เงนิ ตดิ ตัวไปทานอาหาร เพื่อที่จะสามารถบริโภคสินค้าและบริการนั้น ๆ ได้ การบริโภคในปัจจุบัน และไมม่ ีเงนิ จ่าย จึงคิดว่าถ้ามบี ัตรพเิ ศษ จงึ สงู ข้นึ แต่ผ้บู รโิ ภคก็มีภาระท่ีต้องจ่ายคนื ในอนาคต ทำ�ใหค้ วามสามารถ ที่ใช้แทนเงินไดก้ จ็ ะดี จึงได้สรา้ งบัตร ในการใช้จ่ายเพ่ือการบริโภคในอนาคตลดลง หรือเป็นการนำ�เงินในอนาคต ไดเนอร์สคลับขึ้นมา ซึง่ สามารถใช้ได้ มาจ่ายซอ้ื สนิ ค้าเพ่ือบรโิ ภคในปจั จุบัน กับรา้ นอาหารต่าง ๆ ในกลมุ่ เพื่อนเขา 200 คน โดยไม่ต้องพกเงนิ สด แล้วกพ็ ฒั นาเรอ่ื ย ๆ จนเปน็ บตั รเครดิตในปจั จบุ นั Interest rate 4. อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบ้ียส่งผลต่อท้ังผู้ออมและผู้กู้ โดยเมื่อ อัตราดอกเบ้ียสูงข้ึน จูงใจให้คนออมเงินเพิ่มข้ึนและใช้จ่ายเพื่อการบริโภค น้อยลง ส่วนผู้กู้ก็จะกู้มาบริโภคน้อยลงเพราะอัตราดอกเบี้ย ซ่ึงเป็นต้นทุน ในการกยู้ ืมสงู ขึน้ (อ่านเพ่ิมเติมได้จากกล่องความรูท้ ่ี 3 เรือ่ ง ความเช่อื มโยง ของภาคเศรษฐกจิ จรงิ และภาคการเงิน) 67เศรษฐศาสตร์...เล่มเดยี วอยู่

5. รสนยิ ม หรอื คา่ นิยมทางสงั คม ฟังเผิน ๆ อาจจะคลา้ ยกัน แตไ่ ม่ใช่สิ่งเดยี วกัน เพราะค่านิยมทางสงั คม คือ ความนยิ มของคนสว่ นมากในสังคมหน่ึง ๆ ทเ่ี ปน็ ทยี่ อมรับเป็นการท่วั ไป เช่น แฟชนั่ การแต่งตัวในแต่ละยคุ สมัย แต่รสนิยม คือ ความชอบหรือไม่ชอบส่วนตัวของเรา ซ่ึงก็ถูกกำ�หนดจากค่านิยมทางสังคมเพราะมนุษย์เป็น สัตว์สังคมที่มีพฤติกรรมเลียนแบบการบริโภคของคนในสังคมเดียวกัน ดังน้ัน ถ้าค่านิยมทางสังคมให้ความสำ�คัญ กับวัตถุ ผู้บริโภคบางกลุ่มก็จะมุ่งใช้จ่ายซ้ือสินค้าและบริการที่ฟุ่มเฟือยและมีราคาสูง ทำ�ให้สังคมน้ันมีการบริโภค อยูใ่ นระดับสงู ขณะทกี่ ารออมต�ำ่ ยกตวั อย่าง เด็กนกั เรยี นชนั้ ประถมทีแ่ ข่งกนั มีโทรศพั ท์มือถอื รุ่นใหม่ ๆ ภาคครวั เรอื นกบั การออม บุคคลหรือครัวเรือนจะมีการแบ่งสรรรายได้ของเขาระหว่างการบริโภคและการออม โดยส่วนที่เหลือจาก ใช้จา่ ยเพอื่ การบริโภค กค็ อื การออมนั่นเอง ดงั น้นั การออมกบั การบรโิ ภคจึงมคี วามสมั พนั ธ์กัน ถ้าเรามีรายไดอ้ ยู่ จ�ำ นวนหนึ่ง หากบริโภคมาก การออมกจ็ ะน้อยลง ขณะทบี่ ริโภคน้อย การออมก็จะมากขึน้ หรอื เขียนอยา่ งง่าย ๆ ได้ว่า รายได้ = การบริโภค + การออม เมอื่ เราออมเงนิ กเ็ ท่ากับเราเสียสละการบริโภคในวนั นเ้ี พอ่ื ไปใชจ้ า่ ยในวนั ขา้ งหนา้ ผลตอบแทนของการออม ในวนั นี้ กค็ อื ดอกเบี้ยท่ีได้รบั ดงั นน้ั การออมของคนเราจะมากหรือนอ้ ยจึงขึ้นอยู่กับดอกเบี้ย นอกจากน้ี ยังข้นึ อยู่ กบั รายได้ (รายได้มาก ออมไดม้ าก) และการใชจ้ า่ ยในการบริโภค (บรโิ ภคมาก ออมน้อย) เราทราบแล้ววา่ รายได้ = การบริโภค + การออม คำ�ถาม คอื เราจะบรโิ ภคมากกวา่ รายได้ ได้หรือไม่ ถ้าหากเราบรโิ ภคมากกวา่ รายได้ นนั่ กเ็ ทา่ กับ การออมตดิ ลบ ซึง่ กค็ อื คำ�ถามชวนคดิ ...? เราตอ้ งไปกมู้ านน่ั เอง โดยอาจจะไปกคู้ นอน่ื มา หรอื กตู้ วั เอง ซง่ึ กค็ อื การเอา เงนิ ออมของตวั เองออกมาใชก้ อ่ น เราควรจะกกู้ ต็ อ่ เมอ่ื เราคาดวา่ จะสามารถ ภาคครัวเรือนเป็นแหล่งเงินออมทส่ี �ำ คัญ ชำ�ระคืนได้ในอนาคต และถ้าเรามีวินัยในการใช้เงิน เงินที่เรากู้มาน้ัน ของประเทศท่ีภาคธุรกิจกยู้ มื น�ำ ไปใช้ ควรต้องนำ�ไปใช้จ่ายในส่ิงที่สามารถสร้างผลตอบแทนได้มากกว่าดอกเบี้ย ในการลงทนุ แล้วภาคธรุ กจิ มกี ารออม เงินกู้ท่ีเราต้องจ่าย น่ันก็คือ ควรกู้เพียงเพ่ือใช้จ่ายสำ�หรับลงทุนให้ได้ ดว้ ยหรือไม่ การออมในภาคธรุ กจิ ไดแ้ กอ่ ะไร ผลตอบแทนงอกเงยกลับมา ไม่ควรกู้เพ่ือบริโภค เน่ืองจากการบริโภคเป็น การออมในภาคธุรกจิ ได้แก่ ผลกำ�ไร การใช้จ่ายแลว้ ก็หมดไป ท่เี กบ็ ไว้ (retained earnings) หรอื ก็คือ กำ�ไรของธรุ กจิ ทเี่ กบ็ สะสมไวห้ ลังจาก ที่จา่ ยเงนิ ปนั ผลให้กับผถู้ ือหุ้นแลว้ 68 เศรษฐศาสตร์...เลม่ เดียวอยู่

วา‹รูŒ…ไหม? การบรโิ ภค การออม กับผลทม่ี ตี ่อเศรษฐกจิ เม่ือการบริโภคของภาคครัวเรือนมากขึ้น ก็จะกระตุ้นให้ภาคธุรกิจ ทำ�การผลติ สนิ คา้ และบริการมากขนึ้ เกดิ การลงทุนขยายการผลิต มีการใช้ ปจั จัยการผลิตและเกดิ การจ้างงานเพิ่มข้ึน ทำ�ให้คนมีรายได้เพม่ิ ขึ้น น่นั คือ เศรษฐกจิ เตบิ โต หรอื รายได้ของคนในประเทศเพ่ิมข้ึนน่นั เอง ขณะที่การออมจะทำ�ใหเ้ ศรษฐกจิ เติบโตไดใ้ นอนาคต เพราะการออม ทำ�ให้เรามีเงินเหลือเพ่ือไปใช้ในการลงทุนมากข้ึน เม่ือเราลงทุนมากข้ึน อาทิ มีการซ้ือเคร่ืองจักรเพิ่ม ขยายโรงงาน ก็จะทำ�ให้เรามีความสามารถ ในการผลิตเพ่มิ ข้นึ เมื่อมีการผลิตมากขนึ้ กจ็ ะสง่ ผลใหก้ ารจา้ งงานเพิ่มขึ้น คนมีรายได้เพ่มิ ข้นึ บริโภคเพม่ิ ขน้ึ และเศรษฐกิจจงึ ขยายตวั การออมเป็นปัจจยั ส�ำ คญั ตอ่ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ แตอ่ ัตราการออมของไทยยงั ตำ�่ มากเม่ือเทยี บกับอดตี และเทยี บกบั ประเทศอ่ืน ๆ ในภูมภิ าค ยิง่ ไปกวา่ น้นั ไทยเข้าสสู่ ังคมผ้สู งู วยั โดยสมบรู ณ์ หรือพูดให้เหน็ ภาพ ทกุ 7 คน จะมคี นแก่ 1 คน โดยผสู้ งู อายมุ สี ดั ส่วนเพิ่มขึ้นเรอ่ื ย ๆ ขณะทป่ี ระชากรในวัยแรงงานมแี นวโนม้ ลดลงอยา่ งรวดเร็ว การออมจึงมีความส�ำ คญั มากข้ึน โดยเฉพาะเพือ่ เปน็ ค่าใชจ้ ่ายหลงั เกษียณ อ่านเพมิ่ เตมิ ไดจ้ ากโครงการศกึ ษาดา้ นโครงสรา้ งเศรษฐกิจไทยท่ีมีนยั ตอ่ การด�ำ เนนิ นโยบายการเงนิ เรื่อง “สังคมสงู วยั กบั ความท้าทายของตลาดแรงงานไทย” ได้ท่ี ประชากรไทยวัยแรงงาน 10 คน คาดวา‹ ตอŒ งดูแลผูŒสูงอายเุ พมข้นจากประมาณ 2 คน ในป‚ 2553 เปนš ประมาณ 6 คน ในป‚ 2583 อตั ราการพ่งึ พิง การออมภาคครัวเรอนตอ‹ ผลติ ภัณฑม วลรวมประชาชาติ (GDP) ตอ‹ แรงงาน 100รŒอยละ รอŒ ยละ เดก็ (0-14 ป‚) ผูŒสูงอายุ (60 ปข‚ ึ้นไป) รวม 12 10 เขŒาสูส‹ งั คมผูŒสงู วัย 75 8 50 6 4 25 2 0 0 2553 2558 2563 2568 2573 2578 2583 2533 2535 2537 2539 2541 2543 2545 2547 2549 2551 2553 2555 2557 2559 2561 ท่ีมา: การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553 - 2583 ทม่ี า: สำนกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง‹ ชาติ คำนวณโดย สำนกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห‹งชาติ ธนาคารแห‹งประเทศไทย * ค�ำ นยิ ามจาก องค์การสหประชาชาติ สงั คมผ้สู ูงวยั (aging society) คือ สงั คมทม่ี ปี ระชากรอายุ 65 ปีข้นึ ไปมากกว่ารอ้ ยละ 7 ของประชากรทงั้ หมด สงั คมผูส้ งู วยั โดยสมบรู ณ์ (aged society) คอื สงั คมทม่ี ีประชากรอายุ 65 ปีขนึ้ ไปมากกวา่ ร้อยละ 14 ของประชากรท้งั หมด 69เศรษฐศาสตร.์ ..เล่มเดียวอยู่