Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การทำบาตรของชุมชนบ้านบาตร

การทำบาตรของชุมชนบ้านบาตร

Description: การทำบาตรของชุมชนบ้านบาตร

Search

Read the Text Version

๓๗ เปยกๆ ไมได ตองผ่ึงแดดกอน หามผ่ึงท้ังยังเปยก ตองเช็ดน้ําใหหมดกอนจึงผึ่ง จะผึ่งไวนานก็ไมได ใหผ่ึง สักครหู น่ึง 36สว นประกอบของบาตร ๑) 36ถลกบาตรหรือตลกบาตรหรือถุงสายโยค คือ ถุงใสบาตรท่ีมีสายสําหรับคลองบา มีไวเ พอ่ื สอดบาตรเขา ไวแ ละคลอ งจะงอยไหลเ วลาเดนิ ทางหรอื บิณฑบาต เมื่อแยกสวนออกจะมีสวนประกอบ คอื - 36สายโยค คอื สายของถลกบาตร สําหรับคลองบา - 36ถุงตะเครยี ว คอื ถุงตาขา ยทถ่ี ักดวยดา ยหรอื ไหมเปน ตาโปรงมหี ูรดู หุมถลกบาตรอีกช้นั หน่งึ ภ36 าพท่ี ๒.๗ ถลกบาตรหรอื ตลกบาตรหรือถุงสายโยค ๒) 36ฝาบาตร สว นใหญจ ะเปนวัสดชุ นิดเดียวกบั เชิงบาตร 36ฝาบาตรไมชงิ ชัน 36ฝาบาตรไมตาล 36ฝาบาตรไมมะคา ภ36 าพท่ี ๒.๘ ฝาบาตร ๓) 36เชิงบาตรหรือขาบาตร คือ ที่รองบาตรของพระ พระพุทธองคทรงอนุญาตใหมีเชิงบาตรไว สําหรบั รบั บาตร เพื่อกันบาตรกลงิ้ กนั กน บาตรสึกเพราะถกู ครูดสี 36การจกั สานเชิงบาตรพระของชาวบานโพธกิ์ ลาง ตําบลคอกชาง อําเภอสระใคร จังหวัดหนองคาย ใช อปุ กรณส าคญั คอื ไมไ ผแ ละหวาย วธิ กี ารทํานาํ ไมไ ผมาเหลาเปนเสน ตอกแลว สานขึ้นรูปเปนเชิงบาตรพระ ใช หวายทเ่ี หลาเปน เสนสานยึดเชงิ บาตรเพอ่ื ใหมีความแข็งแรง ม่ันคง เม่ือทางกลุมจัดทําเชิงบาตรพระเสร็จแลว จะมผี ูม ารบั ซือ้ หรอื จาหนายท่ัวไปในพ้นื ที่จงั หวดั หนองคายและจังหวดั อ่นื ๆ

๓๘ 36ภาพที่ ๒.๙ เชงิ บาตรหรอื ขาบาตร ๔) 36ตะขาบรัดขาบาตร ใชย ดึ กบั สายบาตรไมใหห ลุด 36ภาพท่ี ๒.๑๐ ตะขาบรดั ขาบาตร ๕) 36เฉวยี นบาตรหรือที่คลุมขาบาตร 36ภาพท่ี ๒.๑๑ เฉวยี นบาตรหรอื ท่คี ลุมขาบาตร

๓๙ 36บาตรและสวนประกอบของบาตรที่หายากและบาตรสมัยโบราณ 36ภาพที่ ๒.๑๒ บาตรดินเผา ณ36 พพิ ธิ ภณั ฑสมเด็จพระสังฆราช (ปุน ปุณณฺ สริ ิ) วดั สุวรรณภมู ิ จ.สพุ รรณบรุ ี ภ36 าพที่ ๒.๑๓ บาตรดนิ เผา สมัยอยธุ ยา ณ36 พิพธิ ภัณฑว ดั ภุมรินทร กุฎีทอง อ.อมั พวา จ.สมทุ รสงคราม (บาตรสดี าํ ดานขวาเปนบาตรดินเผาสมัยอยุธยา ทมี่ ีขนาดใหญม ากเม่ือเทยี บกับบาตรสมัยปจ จุบนั 36)

๔๐ ภ36 าพที่ ๒.๑๔ ฝาบาตรไมฝง มุก สมัยรัชกาลที่ ๕ ณ36 พิพธิ ภัณฑเ ครอ่ื งราชศรัทธารัชกาลที่ ๕ วัดประดู พระอารามหลวง อ.อมั พวา จ.สมุทรสงคราม 36ฝาบาตรไมฝ งมกุ อกั ษรยอ \"ส.พ.ป.ม.จ.\" ซ่ึงยอมาจากคําวา \"สมเด็จพระปรมินทรมหา-จุฬาลงกรณ\" รับอาราธนาเขาไปในงานพระศพ พระองคเจา อุรุพงษรัชสมโภช พระราชปโยรส ร.ศ.๑๒๘ ในพระบรม มหาราชวัง ภ36 าพท่ี ๒.๑๕ บาตรสงั คโลก สมัยสุโขทัย พุทธศตวรรษท่ี ๑๘-๑๙ ณ36 พพิ ธิ ภัณฑสมเดจ็ พระสังฆราช (ปนุ ปุณฺณสริ ิ) วัดสวุ รรณภมู ิ อ.เมอื ง จ.สุพรรณบุรี 36บาตรสังคโลก ยุคสุโขทัย พุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ เปนบาตรสังคโลกใบเดียวในประเทศไทย (หรือ อาจเปนใบเดียวในโลกก็ได) ปจจุบันอยูในพิพิธภัณฑสมเด็จพระสังฆราช (ปุน ปุณฺณสิริมหาเถระ) สมเด็จ พระสงั ฆราชองคท่ี ๑๗ วดั สวุ รรณภูมิ จ.สุพรรณบรุ ี 36ผูท ่ีเปน เจา ของบาตรคนแรก คือ หลวงพอเปลื้อง หรือพระเทพวุฒาจารย (เปล้ือง คงฺคสุวณฺโณ) อดีต เจา อาวาสวัดสุวรรณภูมิ และอดีตเจา คณะจงั หวัดสุพรรณบุรี โดยซ้ือมาจากหญิงผูหน่ึงในราคา ๒๐ บาท เม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๕ 3636(36โพสตทเู ดย, ๒๕๕๕36)

๔๑ 36ภาพที่ ๒.๑๖ ฝาบาตรและขาบาตรประดับมุก สมยั รัตนโกสินทร ณ36 พิพิธภณั ฑส มเด็จพระสังฆราช (ปุน ปณุ ณฺ สริ )ิ วัดสวุ รรณภูมิ จ.สพุ รรณบุรี 36ภาพท่ี ๒.๑๗ ฝาบาตรและขาบาตรประดบั มกุ ของสมเดจ็ พระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวรยิ าลงกรณ ณ พพิ ิธภัณฑเจา อาวาส วัดบวรนเิ วศวิหาร กรงุ เทพฯ

๔๒ ภ36 าพท่ี ๒.๑๘ ฝาบาตรและขาบาตรฝงมกุ ของสมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ณ36 พิพิธภัณฑเจา อาวาส วัดบวรนิเวศวหิ าร กรงุ เทพฯ

๔๓ 36ภาพที่ ๒.๑๙ ฝาบาตรและขาบาตรประดบั มุก ของสมเดจ็ พระสังฆราชเจา กรมหลวงวชริ ญาณวงศ ณ36 พิพิธภัณฑเจาอาวาส วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ

๔๔ ภ36 าพท่ี ๒.๒๐ ฝาบาตร ขาบาตร และบาตรเหลก็ ณ36 พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร ภ36 าพท่ี ๒.๒๑ ภาพดา นซา ยเปน บาตรของพระสงฆล งั กา ภาพดานขวาเปนบาตรของพระสงฆพมา ณ36 พพิ ิธภณั ฑสถานแหง ชาติ พระนคร

๔๕ 36ภาพท่ี ๒.๒๒ บาตรสมัยรตั นโกสินทร ณ พพิ ิธภณั ฑสถานแหง ชาติ พระนคร

๔๖ 36ภาพท่ี ๒.๒๓ บาตรถมปด ของพระราชาคณะ ณ36 พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

๔๗ ภ36 าพที่ ๒.๒๔ ฝาบาตร งานปฉลู สมยั รตั นโกสนิ ทร ณ36 พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร 36ภาพที่ ๒.๒๕ บาตรไมข องพระครสู ถติ ยธรรมวิสทุ ธิ (หลวงปูถริ ฐิตธมโฺ ม) 36วดั ทพิ ยรฐั นมิ ติ ร (วดั บานจกิ ) จ.อุดรธานี

๔๘ 36ภาพที่ ๒.๒๖ บาตรเหล็กของพระธรรมวิสทุ ธมิ งคล (หลวงตามหาบัว ญาณสัมปน โน) 36วดั ปา บานตาด จ.อดุ รธานี 36ภาพที่ ๒.๒๗ บาตรเหล็กอายกุ วา ๑๐๐ ป ที่มีความหนามาก 36ขอมูลจาก นายหิรญั เสือศรีเสรมิ (ประธานชุมชนบา นบาตร)

๔๙ ดงั นั้นการทาํ บาตรบานบาตรมีความสําคัญตอวงการสงฆในดานความหมายท่ีแฝงอยูในการทําบาตร คอื ทาํ จากสวนประกอบของเหลก็ ๘ ชิ้น ซ่ึงมคี วามเชือ่ มาจาก มรรคมีองค ๘ หรืออริยมรรค คือ หนทางแหง การดับทกุ ข 36วสั ดแุ ละรปู ทรงยังถูกตอ งตามพระวินยั ทพี่ ระพุทธเจา ทรงบญั ญัตไิ ววา “บาตรพระตองทําจากดิน เผาหรือเหล็ก มีขนาดระหวาง ๗-๑๑ น้ิว” 36นอกจากน้ันยังมีความสําคัญตอวงการชางฝมือไทย เนื่องจาก บาตรบานบาตรมีความละเอียดประณีตในการทํามากและทําดวยมือทุกขั้นตอน36 ดวยวิธีด้ังเดิม คือ การตอ เหล็กและตีข้ึนรูป36 รวมทั้งสามารถทําไดหลายรูปทรง ไดแก ทรงมะนาว ทรงลูกจัน ทรงไทยเดิม ทรงตะโก และทรงหัวเสือ ตามความตองการของผูใช และหากผานการบมบาตรดวยความรอนเพ่ือใหเกิดการทํา ปฏกิ ิรยิ าของเหล็กกับความรอน จะทําใหบ าตรมคี วามสวยงามมาก และ36มคี วามคงทนไมผุพังงายหรือเกิดสนิม36 ไมทําปฏิกิริยากับอาหาร และเมื่อถือขณะไปบิณฑบาตรจะไมรอนเทากับบาตรสแตนเลสหรือบาตรปมจาก โรงงาน จากคุณคาในทางศาสนาและทางศิลปะทําใหผูทําบาตรมีความภาคภูมิใจในภูมิปญญาและสืบทอด มรดกภูมิปญ ญาทางวฒั นธรรมการทําบาตรแบบด้ังเดมิ ใหอ ยคู ูกับคนไทยตอไป ๒.๒ ความรขู องมรดกภูมปิ ญ ญา ๒.๒.๑ ชอ่ื ท่ีปรากฏในทอ งถ่ิน หรือช่ือเทียบเคียง 15บาตรเหล็ก บาตรเหลก็ ทาํ มือ บาตรตะเข็บ บาตรเหลก็ รมดํา บาตรบุ ๒.๒.๒ ประเภท การทําบาตรบานบาตรเปนมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม สาขางานชางฝมือด้ังเดิม โดยอยู ในประเภทเครือ่ งโลหะ เนอ่ื งจากวตั ถุดบิ ที่สาํ คัญที่ใชใ นการทาํ บาตร คือ เหลก็ แตเดิมจะใชกระปองสี ถังยาง มะตอย ฝาถังน้ํามันกาด ถังแกส หรือฝากระโปรงรถ โดยนําถังเหล็กเหลานั้นมาทําความสะอาดโดยการเผา ซงึ่ ในอดีตถังเหลก็ ยางมะตอยไดมาจากเทศบาลกรุงเทพมหานครท่ีใชใสยางมะตอยเพ่ือราดถนน เมื่อถึงเวลา จะมคี นนาํ ถงั ยางมะตอยทใี่ ชแ ลว มาสงใหทช่ี ุมชน ราคาประมาณ ๑๐ กวาบาทตอ ถัง ๑ ใบ โดยถังยางมะตอย ทําจากเหล็ก มีเนื้อบางทําใหสามารถตีบาตรไดงาย สะดวก และราคาไมแพง ปจจุบันเกิดการแขงขันท่ีสูงขึ้น จงึ ทาํ บาตรจากเหล็กแผนและเหล็กเสน โดยเหล็กแผนจะนํามาทําตัวบาตร สวนเหล็กเสนทําขอบบาตร โดย จะไปซ้ือแถววัดดวงแข ยานหัวลําโพง แถวถนนรองเมือง บางประกอก และบางปะแกว (ปราณี กล่ําสม, ๒๕๕๒) สวนเหลก็ แผน ซ้ือจากรานจําหนายเหล็ก ขนาดเบอร ๒๓-๑๘ เบอร ๑๘ เปนอยางหนาที่สุดที่ใชใน การทาํ บาตร ๒.๒.๓ ลักษณะพเิ ศษหรือเอกลักษณข องงานชางฝม ือดง้ั เดมิ 36ลักษณะพิเศษของบาตรบานบาตร คือ เปน36บาตรที่มีความละเอียดในการทําและทําดวยมือ ทุกขั้นตอน36 ดวยวิธีด้ังเดิม คือ การตอเหล็กและตีขึ้นรูป ซ่ึง36ทําจากสวนประกอบของเหล็ก ๘ ช้ิน ซึ่งมีความ เชื่อมาจาก มรรคมีองค ๘ หรือหนทางแหงการดับทุกขทั้ง ๘ นั่นเอง บาตรจากบานบาตรจะมีการรมดํา ท่ี เรียกวา บาตรเหล็กรมดําซ่ึงจะไมทําปฏิกิริยากับอาหาร และเม่ือถือขณะไปบิณฑบาตรจะไมรอนเทากับบาต รสแตนเลสหรือบาตรปมจากโรงงาน 36บาตรบานบาตรนอกจากจะมีรูปทรง และวัสดุที่ตองกับพระวินัยตามท่ี พระพทุ ธเจา ทรงบญั ญัตไิ ววา “บาตรพระตองทําจากดินเผาหรือเหล็ก มีขนาดระหวาง ๗-๑๑ นิ้ว” แลว ยังมี ความคงทนไมเ กดิ ผุพังงา ยหรอื เกิดสนมิ 36ดวยคุณสมบัตขิ องบาตรที่ทําดวยมือของชาวบานบาตร เมื่อเทียบกับ ราคาแลวถือวาคุมคาเปนอยางมากเม่ือเปรียบเทียบกับบาตรปมที่ทําจากเครื่องจักรกล นอกจากนั้นบาตรยัง ถูกตอ งกบั พระวินยั และยังมคี วามคงทนมีความหลากหลายในรูปทรงที่สืบทอดภูมิปญญามาแตโบราณ ซึ่งชาง

๕๐ ทําบาตรท่ียึดอาชีพนี้จะตองทําดวยใจรักอยางแทจริง ทําข้ึนดวยความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ดวยความ เคารพในวิชาความรู ครูบาอาจารย ตลอดจนเคร่ืองมือเคร่ืองใชสอยในการยังชีพทุกชิ้นตามแบบแผน ขนบธรรมเนียมประเพณขี องคนไทย บาตรบานบาตรจงึ กอปรดวยคุณคาที่ผสานฝมือแรงงานและจิตใจไวเปน อันหน่ึงอันเดียวกัน จนบางคร้ังการตีคาความคุมคาของบาตรอาจไมสามารถกําหนดดวยคาเงินตรา แตควร เปน คาท่จี ติ ใจมากกวา ๒.๒.๔ เครือ่ งมอื ชา งผีมือดัง้ เดิม เครอ่ื งมือทใ่ี ชในการทาํ บาตร (วฒั นะ จฑู ะวภิ าต, ๒๕๔๔) ๑) คอนขนาดตางๆ ใชสําหรบั ตเี หลก็ และตีบาตรใหเรียบ ภาพท่ี ๒.๒๘36 36 คอ นขนาดตา งๆ ๒) คีม ใชส าํ หรบั หักเหลก็ (หกั ฟนปลา) ภาพท่ี ๒.๒๙36 36 คีม

๕๑ ๓) แทงเหลก็ ใชสําหรบั ขีดกะเหล็ก ภาพที่ ๒.๓๐36 36 แทง เหลก็ ๔) ทั่งเหล็ก ใชส าํ หรับรองในการทบุ เหล็กและตีเหลก็ ภาพท่ี ๒.๓๑36 36 ทงั่ เหล็ก 36ทมี่ า: รายการกบนอกกะลา ตอน วิธีศรัทธาคุณคา บาตรไทย วนั ท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔

๕๒ ๕) กรรไกร หรือกรรไกรมอญ ใชส าํ หรับการจกั เหล็ก ภาพท่ี ๒.๓๒36T 36T กรรไกร หรอื กรรไกรมอญ ๖) คอนลาย ใชส าํ หรบั ทาํ ลายบาตร ภาพที่ ๒.๓๓36T 36T คอนลาย

๕๓ ๗) ท่ังลาย ใชส าํ หรับเปนที่รองรับสว นโคงของขอบบาตรเพื่อทาํ ลายบาตร ภาพที่ ๒.๓๔36 36 ทง่ั ลาย ๘) กรรไกรญวน ใชส ําหรับตัดแผนเหล็ก ภาพที่ ๒.๓๕36 36 กรรไกรญวน

๕๔ ๙) ลกู กะลอนและหัวลูกกะลอนขนาดตา งๆ ใชสําหรับรองรับในการทําบาตรและตีบาตร ลูกกะลอนที่ใชมีหลายขนาดขึ้นอยูกับขั้นตอนวา ตอ งการความละเอยี ดมากนอยเพียงไร เชน การตบี าตร ก็ตอ งใชล กู กะลอ นที่เรยี บละเอยี ดมากทส่ี ดุ ภาพท่ี ๒.๓๖36 36 ลูกกะลอ นและหวั ลกู กะลอนขนาดตางๆ ๑๐) เตา ใชสาํ หรับเปา แลน ภาพท่ี ๒.๓๗36 36 เตาสําหรับแลน บาตร

๕๕ ๑๑) มา ตะไบ ใชสําหรบั ตะไบบาตร มหี ู ๒ หู ภาพที่ ๒.๓๘36 36 มาตะไบ ๒.๒.๕ กลวธิ ีการผลิตงานชางฝมือด้ังเดมิ การทําบาตรในชุมชนบานบาตร ไดรับการถายทอดตอๆ กันมาตามสายเลือด และไมมีใคร ทราบวา กรรมวิธีการทําบาตรไดรับการถายทอดมาจากผูใด ใครเปนผูริเร่ิมการทําบาตร แตชาวบานบาตร เชอื่ กนั วาพอปูครูเปนผูประสาทวิชาทําบาตรให ดังนั้นในชุมชนจึงมีศาลพอปูอยูหลายหลัง ซึ่งชาวบานบาตร ทุกคนจะเคารพและบูชาพอปูครูมาก นอกจากนี้ ชาวบานบาตรยังมีส่ิงท่ีเคารพบูชาอีกอยางหนึ่ง คือ ทอสูบ ซึ่งเปนเคร่ืองใชในการทําบาตร เม่ือชาวบานเลิกทําบาตรแลว จึงนํามาบูชาขางศาลพอปู (ปราณี กล่ําสม, ๒๕๕๒) ศาลพอปู ทอ สูบ ภาพที่ ๒.๓๙36 36 ศาลพอปูและทอสบู

๕๖ ข้ันตอนการทาํ บาตร การทําบาตรเร่ิมตนโดยการทําโครงของบาตร ซึ่งประกอบดวยเอ็นและฝาท้ัง ๒ ขาง การเช่ือม เหล็กในสมยั กอ นจะใชไฟ แตใ นปจ จุบันเทคโนโลยีกาวหนาจึงใชการเช่ือมเหล็กแทน ตอจากน้ันก็ตัดเหล็กมา ปดกงใหเปนรูปเปนรางโดยอาศัยกรรไกรมอญ ซึ่งมีขนาดใหญพอสมควร และจะตองมีการวัดขนาดจากกง ซ่ึงสมัยกอนใชดินสอที่ใชเขียนกระดานชนวน แตปจจุบันใชแทงเหล็กขีดแผนเหล็กท่ีตัดออกมา มีลักษณะ คลา ยหนา ววั เราจงึ เรยี กบาตรน้ีวา บาตรหนา ววั แผน เหลก็ ท่ีตัดมานต้ี อ งนํามาตัดฟนปลา โดยใชเคร่ืองมือท่ี เรยี กวา กรรไกรจักร และคีมคีบเหล็ก หรอื เหลก็ แหนบ ตอจากนัน้ กน็ ํามาทุบใหแ บนราบ แลวตองหักฟนปลา เหลานน้ั สลบั ขน้ึ ลงเรียกวา การหกั หนา วัว การตอ บาตรกเ็ สรจ็ สมบรู ณ ขั้นตอมาเรียกวาการประกอบหนาวัว โดยเอาบาตรไปชุบน้ําแลวนําขึ้นโดยใหนํ้าสะเด็ดเสียกอน จึง ใชทองแดงที่บดจนหายคม สมยั กอนใชบ ุงหรอื บั้ง ในการบดผสมทองแดง ๑ สว น ตอน้ําประสานทอง ๒ สวน ครึง่ แลวนําส่ิงท่ีผสมไปโดยตามตะเข็บดานในของบาตรตองใชความรอนในการประกอบดวย ชางตองดูดาน ในของบาตรทองแดงที่ผสมแลววิ่งตามไฟ เรียกวิธีน้ีวา การเปาแลนบาตร ใชความรอนประมาณ ๕ นาทีเศษ เทาน้ัน ชา งตองรบี แลน บาตร กอ นท่ที องแดงกับนา้ํ ประสานทองจะรวงออกมา สวนเช้ือเพลิงที่ใชในสมัยกอนใชถานฟนไมสัก เพราะไมสักมีคุณภาพดี คือ ไฟแรงเร็วแตไมอมความ รอนมาก จะไหมรวดเร็วแลวก็ลุกเร็ว ไมสักจะซ้ือจากหัวคลองวัดสระเกศ เพราะที่น่ันมีโรงงานทําประตู หนาตา ง ชา งจะซ้ือเศษไมสักมาเผาเอง แตเตาไฟท่ีใชใ นปจ จบุ ันใชดินเหนียวและทรายปนเปนตัวเตา เรียกวา เตาเปา เหตุผลเพ่ือใหแข็งแรงทนทานและใชมอเตอรพัดลม ใชแกวไฟ บาตรท่ีไดออกมามีสีน้ําเงินอมดํา มี รอยเชอื่ มประสานในการประกอบบาตร และบาตรมีลกั ษณะเปน เหล่ียมอยู เรยี กบาตรน้ีวา บาตรแลน บาตรแลนบางใบจะมีรอยถูกเจาะรู นั่นเปนเทคนิคที่จะทําใหขอบบาตรไมหลุดออกงาย แตถาขอบ บาตรติดแนนอยแู ลว ก็ไมจ ําเปน ตองเจาะรู ขั้นตอไปก็ถึงการยุบมุมโดยใชคอนทุบ ข้ันตอนน้ีเปนการตรวจตราตะเข็บที่เราแลนไปแลววาติดกัน อยางม่ังคง การทุบแบบน้ีตองนําบาตรไปค่ําบนหัวกะลอน ซึ่งสมัยกอนดามนั้นทําดวยไมไผแตในสมัยน้ีใช เหล็กแทน เนื่องจากไมไผจะผุงาย เหล็กจะแข็งแรงทนทานกวา ที่เรียกหัวกะลอน เพราะมีประโยชนสารพัด อยางทเี ดยี ว และดานหลงั หวั กะลอ นมเี กา อนี้ ่งั ขั้นทําลายบาตร โดยใชคอนลาย ที่มีขนาดส้ันและยาวตางกัน และมีแทงรองรับบาตรอยู ลายให เปน รูปทรงของบาตรตามจินตนาการ แลวนํามาลางใหส่ิงท่ีสกปรกออกใหหมด โดยแชในกรดที่ผสมกํามะถัน ออ นๆ ซึง่ สมยั กอ นไมมีการลา ง แตป จ จุบันตอ งการความสวยงามมากขึ้น บาตรทไ่ี ดเรียกวา \"บาตรลาย\" ซ่ึงมี ลกั ษณะเปน รูปรา งบาตรแลว และยงั มีรอยทองแดงทเ่ี ชือ่ มไวปรากฏใหเ หน็ แลว นําบาตรลายนี้มาตีตะเข็บใหเรียบรอยท้ังใบ โดยใชการสังเกตดวยตา ถาตีไปแลวมีเม็ดๆ ขึ้นมา เราตองไมตีซ้ําลงไปตรงน้ัน ถาตีซํ้าลงไปจะทําใหบาตรโปงออกมาแลวชางยังตองใชมือลูบดูดวย และอาจใช ตะไบแตงไดดวย ชางจะไมใชกระดาษทรายในการแตงบาตร เพราะจะทําใหกินเน้ือบาตรเขาไป ในการขัด ตะไบบาตรน้ันชางตางไปนั่งท่ีมานั่งท่ีมีหู ๒ หู ชางใชเทายันตะไบใหเปนเสนในทางเดียวกัน ข้ันตอนน้ีใช เวลานานพอสมควรพอๆ กบั การตีบาตรทีเดยี ว เมอื่ ตะไบเสรจ็ บาตรจะเงาสวย มองจากดานบนเหมือนศีรษะมนุษย ดูแลวไมมีที่บรรจบเรียกบาตรนี้ ไดว า \"บาตรขาว\" บาตรนธี้ รรมดาจะนาํ ไปรมควันตอ บาตรจึงมสี ดี าํ เหมอื นบาตรทีเ่ ราเห็นทั่วไป การรมดาํ นใ้ี ชเ วลาไมนาน แตถ าเปน พระกรรมฐาน ทานจะนาํ บาตรขาวไปเผาเอง ซึ่งเรียกวา \"ระบม บาตรหรือบมบาตร\" คือ การอบโดยการตั้งอิฐขึ้นมา นําบาตรวางไวแลวนําเหล็กครอบ จุดไฟอบประมาณ ๘-๙ ชัว่ โมง โดยใหบาตรแดงถงึ ขอบแลว ทิง้ ไวใ หเยน็ เอง โดยไมตองเปดถึง เม่ือเสร็จแลวเหล็กจะขับคารบอน ออกมาจะดสู วยงามมาก

๕๗ การทําบาตรสามารถแบง เปนขนั้ ตอนไดด ังตอไปน้ี (วฒั นะ จูฑะวิภาต, ๒๕๔๔) ๑) การทําปากบาตร (ตีขอบ) ใชเหล็กเสน ตรง แลวนํามาโคงทํา ขนาดของเหล็กท่ีใชในการทําปากบาตร หนา ๑ หุน กวาง ๖ หุน ความยาวขน้ึ อยูก ับขนาดของบาตร เชน บาตรขนาด ๗ นวิ้ ใชเ หลก็ ยาวประมาณ ๒๒ นิว้ (สําหรบั พระบวชใหม) บาตรขนาด ๘ นว้ิ ใชเหล็กยาวประมาณ ๒๖ นวิ้ บาตรขนาด ๘ ๑/๒ นว้ิ ใชเ หล็กยาวประมาณ ๒๗ ๑/๒ นิว้ บาตรขนาด ๙ น้ิว ใชเหล็กยาวประมาณ ๒๙ น้ิว (สําหรับพระอาวุโส หรือพระท่ีมีพรรษามาก หรือ ระดับชน้ั มาก) เริ่มจากนําเหลก็ เสนตรงท่ีผานการวัดและกําหนดขนาดมาแลว ตีไลไปเรื่อยๆ บนทั่งท่ีรองรับสวนโคง ของเหลก็ ตีไปเรือ่ ยๆ จนโคง เปนคร่ึงวงกลมตามขนาดของบาตรท่ีตองการ แลวตีตอไปจนกระท่ังเปนวงกลม ของขอบบาตร เพื่อนําไปใชใ นการขึ้นตัวบาตรตอไป ภาพท่ี ๒.๔๐36 36 การทาํ ปากบาตร (ตีขอบ) 36ที่มา: รายการกบนอกกะลา ตอน วิธีศรทั ธาคุณคาบาตรไทย วันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ๒) การกะเหลก็ การกะเหล็กนน้ั เปนการขีดวัดขนาดของเหลก็ ทจ่ี ะนํามาตอเปนกง ความยาวประมาณจะเทากับปาก บาตร แตท้ังนี้ก็ข้ึนอยูกับรูปทรงของบาตรดวย ในสมัยกอนใชดินสอหินที่ใชเขียนกระดานชนวน แตใน ปจ จบุ นั ชางทาํ บาตรนิยมใชเ หล็กขดี เพราะมคี วามแนนอนกวา

๕๘ ภาพท่ี ๒.๔๑36 36 การกะเหล็ก 36ท่ีมา: รายการกบนอกกะลา ตอน วธิ ีศรทั ธาคณุ คา บาตรไทย วนั ท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ๓) การตัดเหล็ก ตัดแผน เหล็กดว ยกรรไกรญวนใหเปนรปู กากบาทตามที่วัดไว โดยเร่มิ จากการนําแผนเหล็กมาวัดและ ตัดตามขนาดท่ีตองการ ท้ังหมด ๓ แผน แผนแรกจะมีขนาดยาวเปนพิเศษ เรียกวา เอ็น ซึ่งจะทําหนาที่แบง คร่ึงของบาตร สวนอีกสองแผนท่ีเหลือจะส้ังกวา เรียกวา ฝาขาง จะใชในการกําหนดดานขางของบาตร แต เมื่อไดมาแลวเหล็กทุกแผน จะเขา สกู ารจกั เหลก็ ซง่ึ เปนเกร็ดเคล็ดลับแหงภูมิปญญาที่เกาแกของชางตีบาตรที่ บานบาตร ภาพท่ี ๒.๔๒36 36 การตัดเหล็ก 36ทีม่ า: รายการกบนอกกะลา ตอน วิธศี รทั ธาคุณคาบาตรไทย วนั ท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔

๕๙ ๔) การเวา เหลก็ เปนการตัดสวนปลายของแผนรูปกากบาทใหเวาลงไปทั้ง ๔ ดาน เพ่ือใหเขากับปากบาตรไดพอดี กอ นเวา ตอ งงอเหล็กตรงปลายแตละดานข้ึนเล็กนอย เพื่อจะไดไมสะดุดกับกรรไกรในขณะท่ีตัด เมื่อเวาเสร็จ จงึ ทุบใหเรียบรอ ยเหมือนเดมิ (ปจจบุ นั ขน้ั ตอนนไี้ มม ีการทําแลว) ภาพที่ ๒.๔๓36 36 การเวา เหล็ก ที่มา: (วฒั นะ จฑู ะวิภาต, ๒๕๔๔) ๕) การจกั ขอบเหล็ก ใชกรรไกรจักตรงสวนเวาของแผนเหล็กรูปกากบาททั้ง ๔ ดาน แลวทุบใหเรียบ เพื่อเวลานําแตละ ช้นิ สวนมาตอ กนั เหล็กจะประสานกนั แนบสนทิ และทําใหบาตรมคี วามคงทนกวาการเชื่อมตอธรรมดา ภาพที่ ๒.๔๔36 36 การจกั ขอบเหลก็ 36ทมี่ า: รายการกบนอกกะลา ตอน วธิ ศี รทั ธาคุณคา บาตรไทย วนั ท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔

๖๐ ๖) การงอเหล็ก เปน การดดั เหล็กทจี่ ักแลว ใหโคง ไดลักษณะของบาตร ภาพที่ ๒.๔๕36 36 36 การงอเหล็ก 36ทมี่ า: รายการกบนอกกะลา ตอน วธิ ีศรทั ธาคณุ คา บาตรไทย วนั ที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ๗) การหกั เหลก็ หักเหล็กที่จักไวใหเปนแบบสลับฟนปลาดวยคีมคีบเหล็กหรือเหล็กแหนบเพ่ือจะนําไปประกอบเขา กบั ปากบาตร ภาพท่ี ๒.๔๖36 36 การหกั เหลก็

๖๑ ๘) การติดกงหรือการประกอบกง การติดกงหรือการประกอบกงเปนการรวมประสานเขาดวยกันของปากบาตร เอ็นบาตร และฝาขาง ทั้ง ๒ โดยไมตองพ่ึงกาวหรือน็อต สกรูใดๆ เลย อาศัยเพียงแคซ่ีเหล็กท่ีผานการจักมากอนหนานี้ ในการ ประสานยึดเหล็กทั้ง ๔ เขาดวยกนั ภาพท่ี ๒.๔๗36 36 36 การตดิ กงหรือการประกอบกง 36ท่มี า: รายการกบนอกกะลา ตอน วธิ ศี รทั ธาคณุ คาบาตรไทย วันท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔

๖๒ ๙) การกะหนาววั หนา ววั คอื แผน เหลก็ ทใ่ี ชส ําหรบั ตดิ ชองวา งทีเ่ หลอื ทัง้ ๔ ดา น ในการกะหนาวัว จะนําแผนเหล็กมา วัดกะขนาดเพื่อประกอบกบั กง ภาพที่ ๒.๔๘36 36 36 การกะหนา ววั 36ทม่ี า: รายการกบนอกกะลา ตอน วิธศี รทั ธาคุณคาบาตรไทย วนั ท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ๑๐) การตดั หนาวัว การตัดแผนเหล็กท่ีวัดไวและตองตัดเผื่อไวสําหรับจักฟนประมาณ ๒ มิลลิเมตร โดยหนาวัวแตละ ดานเมอื่ ผา นการตัดมาแลวจะมลี ักษณะคลา ยแผน เตารีด ภาพท่ี ๒.๔๙36 36 36 การตดั หนา วัว 36ทีม่ า: รายการกบนอกกะลา ตอน วิธีศรทั ธาคุณคาบาตรไทย วนั ท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔

๖๓ ๑๑) การจักหนา วัว นําหนาวัวท่ีตัดแลว มาจักดวยกรรไกรโดยรอบ ตัดใหเปนซี่เล็กๆ เพ่ือใชสําหรับการยึดประสานติด กับกงของบาตรทีร่ ออยกู อนหนา น้ี เสรจ็ แลวทุบดวยคอ นใหเ รียบ ภาพที่ ๒.๕๐36 36 36 การจักหนาวัว 36ท่ีมา: รายการกบนอกกะลา ตอน วธิ ีศรทั ธาคุณคาบาตรไทย วนั ท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ภาพที่ ๒.๕๑36 36 36 การจกั หนา วัว (ทบุ ) ๑๒) การโคงหนาวัว ดดั หนาววั ใหโ คง เพอ่ื จะนาํ ไปประกอบกงใหไดร ูปทรงของบาตร ภาพที่ ๒.๕๒36 36 การโคง หนาววั

๖๔ ๑๓) การหักหนาววั งา งเหลก็ ท่จี ักใหไ ดลกั ษณะสลับฟนปลา ภาพท่ี ๒.๕๓36 36 การหกั หนา ววั

๖๕ ๑๔) การเขาหนาววั นาํ เหลก็ หนาวัวประกอบเขา กับกงใหครบท้งั ๔ ดาน จนเปนรปู บาตร แลวใชค อ นทุบบนลกู กะลอน ภาพท่ี ๒.๕๔36 36 36 การเขาหนาวัว 36ที่มา: รายการกบนอกกะลา ตอน วิธศี รทั ธาคุณคาบาตรไทย วันท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ๑๕) การหยอดบาตร (การโรยผงประสานทอง) ผงประสานทอง เปนของผสมระหวางผงบอแรกซกับผงทองแดง การโรยผงประสานทองจะโรยลง ตามตะเขบ็ ดา นในของบาตร กอ นการหยอดบาตร ตองนําบาตรไปแชน้ํากอน พอสะเด็ดนํ้าจึงโรยผงประสาน ทองลงไป ถาบาตรแหงเสียกอนก็ตองสลัดนํ้าใสอีก มือท่ีจับผงประสานทองตองแหง การโรยตองโรยให สมํ่าเสมอ เปนเสนเล็กและนูนและตองระวังไมใหผงประสานทองเลอะเทอะสวนอื่น เพราะเวลาเปาแลนผง ประสานทองจะลามติดผิวบาตรทําใหบาตรไมเรียบได แตกอนจะเอาไปเปาแลนตองเผาใหน้ําประสานทอง ละลายเพอื่ ใหยึดตะเข็บไว ถา ไมเ ผามันจะหลดุ แลว พอเอาไปแลน มันก็จะไมต ดิ ภาพที่ ๒.๕๕36 36 การหยอดบาตร (การโรยผงประสานทอง) 36ที่มา: รายการกบนอกกะลา ตอน วธิ ศี รัทธาคุณคาบาตรไทย วนั ที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔

๖๖ ๑๖) การเปาแลน (แลน บาตร) การเปาแลนบาตรตองใชไฟแรงสูง ใชไมสักเปนเชื้อเพลิงเพราะใหไฟแรง กอนเปาแลนตองใชไฟ ออนๆ เผาดานในของบาตรกอนเพ่ือใหผงประสานทองละลายลงไปเกาะในตะเข็บ โดยใชข้ีกบหรือกระดาษ เปนเชือ้ เพลิง จากนั้นควํ่าบาตรลงกลางเตา (สวนท่ีใหไฟรอนสูงสุด) เผาจนเหล็กแดง แลวใชไมเขาควายเขี่ย ใหบาตรหงายข้นึ กลบั ใหท กุ ดา นของบาตรไดร ับความรอ นอยา งท่ัวถึง เพ่ือใหผงทองแดงและนํ้าประสานทอง ละลายเชื่อมเนอื้ เหลก็ ใหเปน เนอ้ื เดยี วกัน ภาพที่ ๒.๕๖36 36 36การเปาแลน (แลนบาตร) 36ที่มา: รายการกบนอกกะลา ตอน วธิ ศี รทั ธาคณุ คา บาตรไทย วนั ที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ หมายเหตุ: ปจจุบันการแลนบาตรไมไดทําแลว แตใชวิธีการเช่ือมบาตรหรือออกแทน โดยมีการเชื่อมดวยเหล็ก หรือทองแดงแลว แตความตอ งการของลูกคา

๖๗ ภาพที่ ๒.๕๗36 36 การเชอื่ มบาตรในปจจุบัน (อดตี ใชวธิ ีการแลนบาตร) ๑๗) การยบุ มมุ บาตร เมื่อบาตรท่ีเปา แลนหรือเช่ือมเสร็จและเย็นลงแลว นํามายุบมุมโดยใชคอนตีตามตะเข็บและจะเปน การตรวจสอบดว ยวาทกุ ตะเข็บเชื่อมติดกันดหี รือยงั ถา ยังกต็ องนําไปเปาแลนซอมสวนทีย่ ังไมเชอ่ื มกนั อีกที ภาพท่ี ๒.๕๘36 36 การยบุ มุมบาตร

๖๘ ๑๘) การลายบาตร ใชคอนลายทุบบาตรโดยตีผิวบาตรใหไดรูปทรงท่ีกลมกลึง ใหไดรูปทรงบาตรโดยจะตีบน \"ท่ังลาย\" ทั่งลายจะมีลักษณะเปนลองเวาลงไปเพื่อรองรับสวนโคงของบาตร แตถายังไมเรียบตองนําไปแชนํ้ากรดให กรดกดั ข้เี หลก็ ออกใหห มด น้าํ กรดทใ่ี ชจะผสมนํ้า ๑ ถงั ตอ นํา้ กรดประมาณ ๑/๒ ขวด ภาพท่ี ๒.๕๙36 36 การลายบาตร ๑๙) การตีบาตร นําบาตรลายตีตะเข็บใหเรียบรอยอีกคร้ัง โดยใชคอนปอนดตีบาตรท่ีควํ่าบนลูกกะลอน การตีน้ี เรยี กวา \"ตเี รยี งเมด็ \" ภาพท่ี ๒.๖๐36 36 การตบี าตร

๖๙ ๒๐) การตะไบบาตร นําบาตรท่ีตีแลวมาเจียรและตะไบใหเรียบ การตะไบบาตรจะทําบนมาตะไบ เทาของชางดานหน่ึง จะสอดเขา ในบาตร อีกขางหน่ึงจะยันบาตรไวใ หต ดิ กับหมู าตะไบ เพ่อื ความมั่นคงของบาตรซ่ึงจะชวยใหตะไบ ไดดี บาตรท่ีตะไบเสร็จเรียบรอยแลวเรียกวา \"บาตรขาว\" ในการตะไบจะใชตะไบ ๒ หนา โดยจะใชตะไบ เบอร ๑๒ และเบอร ๑๔ ภาพท่ี ๒.๖๑36 36 การตะไบบาตร

๗๐ ๒๑) การรมดาํ ขั้นท่ี ๑ นาํ บาตรมาเช็ดใหส ะอาด ข้นั ท่ี ๒ ทาน้ํามนั แอลกอฮอล หรอื เชลแลก็ ขนั้ ท่ี ๓ นาํ บาตรท่ที าดวยน้ํามนั แอลกอฮอลหรอื เชลแลก็ มาต้ังไฟเพื่อรมดาํ ภาพท่ี ๒.๖๒36 36 การรมดํา (๑) ท่มี า: กวา จะเปนบาตรพระ (http://www.dmc.tv/forum/index.php?showtopic=๒๑๓๓๔) ภาพที่ ๒.๖๓36 36 การรมดาํ (๒) ทม่ี า: ชุมชนบา นบาตร Ban Baat (http://www.klongdigital.com/webboard๓/๔๘๖๒๕.html)

๗๑ ขั้นท่ี ๔ เม่ือรมดําทั่วแลวก็ยกออกจากไฟ ปลอยไวใหบาตรเย็นแลวนําไปเคลือบดวยวานิช บาตรที่ ไดจ ะดาํ เปนเงา การระบมบาตรหรอื การบม บาตร การเผาเขียว การเคลือบสี ชางบาตรชุมชนบานบาตรจะไมทํา แต ในท่ีนจ้ี ะกลา วใหทราบถงึ ขนั้ ตอนการทําเหล็กใหสุกทั้ง ๓ ประเภท เพื่อใหทราบทุกกรรมวิธีของการทําเหล็ก ใหส กุ การระบมบาตรหรือการบม บาตร การระบมบาตรหรือการบมบาตรมีจุดประสงคเพ่ือใหบาตรแกรงทนย่ิงข้ึน สามารถใชไดทนโดยไม เกิดสนิม วิธีการบมบาตรจะใชความรอนสูงมาก ถานที่ใชสวนใหญจึงเปนถานไมสัก หลักสําคัญจะตองใช ความรอนเทาน้ัน บาตรตองไมโดนเปลวไฟ โดยใชถังมาครอบบาตรใหมิด แลวใชไฟเผาขางนอก การที่จะ ระบมบาตรไดสวยงามจะตองข้ึนอยูกับคุณภาพของเหล็กท่ีนํามาทําบาตรดวย บาตรใบหน่ึงจะเผาประมาณ ๘-๙ ช่ัวโมง เผาเสร็จตองปลอยท้ิงไวใหเย็นเองจึงจะเปดถังที่ครอบออก ถาเปดออกทันทีจะกระเทาะหรือ แตกงาย บาตรที่ไดจะมสี คี อนขา งดําและดา น ซึง่ ถาเปนพระสายธรรมยุต สวนใหญจะนําบาตรไปบมเอง โดย จะใชเวลาท้ังวันท้ังคืน เมื่อบมเสร็จแลวจะเกิดไฮ (Hi Carbon Steel หรือ Hi Tempered Carbon) เปน ประกายเพชรขึ้นมาเคลือบบาตร ซ่ึงเกิดจากการทําปฏิกิริยาของเหล็กกับความรอน ทําใหบาตรมีความ ทนทาน ไมเกิดสนิม และไมทําปฏิกิริยากับอาหาร แตอยางไรก็ตามหากจะใหบาตรใชไดนานๆ ก็ตองมีการ ดแู ลอยา งถกู ตอ งตามพระวนิ ัย ภาพที่ ๒.๖๔36 36 บาตรที่ผานการบมจนข้นึ ไฮเปนประกาย จากปฏกิ ิริยาของเหล็กกบั ความรอน

๗๒ การเผาเขียว เปนการเผาดวยความรอนสูง ใหเหล็กหลั่งสารออกมาเคลือบผิวบาตร ถาทากํามะถันจะทําใหเขียว เร็ว เผาเสรจ็ อาจเคลือบดว ยวานิชอกี รอบกไ็ ด บาตรที่ไดจ ะมีลกั ษณะเปน มนั วาว มสี ดี ําอมเขยี ว การเคลือบสี เปนวิธีท่ีใชเทคโนโลยีสมัยใหมมาทําเหมือนการเคลือบสีรถยนต จะมีโรงงานเคลือบสีบาตรที่ซอย ศิรชิ ยั ๒ จังหวัดนนทบุรี ๒.๒.๖ กระบวนการการจดั การองคความรู ไดมีการแลกเปลย่ี นเรยี นรรู ะหวางคนในชุมชนเกี่ยวกับการรักษามรดกทางวัฒนธรรมการทํา บาตรบานบาตรใหส ามารถสบื ทอดสูลกู หลานตอไป ซึ่งผนู ําชมุ ชนเปนผนู าํ ในการสืบทอดโดยการเปดสอนการ ทาํ บาตรใหแ กค นในชุมชนและคนทวั่ ไปท่ีสนใจ ปจจุบันมีผูสนใจมาเรียนรมู ากขึ้น หลายคนสามารถนําความรู ไปประกอบอาชพี ได ภาพที่ ๒.๖๕36 36 แหลง เรียนรูชมุ ชนบา นบาตร

๗๓ นอกจากน้ันไดพาคนในชุมชนบานบาตร ที่เปนชางทําบาตร ไปแลกเปล่ียนเรียนรูกับพระท่ีทําบาตร เอง ท่ีวัดเวฬุวัน อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ซึ่งพระทานไมเคยเรียนการทําบาตรมากอน แตอาศัยความรูที่ เปน ชางเคาะรถยนต มาทดลองทาํ บาตรดวยตวั เอง มีการลองผดิ ลองถกู จนกระทั่งสามารถทําบาตรไดเอง ซ่ึง มีหลักการใกลเคียงกับท่ีบานบาตรมาก ตางกันแคข้ันตอนการทําจักฟนโดยรอบเพื่อใชเปนตะเข็บเชื่อมกับ สว นตางๆ แตใ ชว ิธกี ารเชอื่ มตะเข็บโดยตรงเลย ซงึ่ ทบี่ า นบาตรเองกเ็ ปลย่ี นจากการแลนบาตรมาเปนการออก บาตรเชนกนั เนอ่ื งจากชา งทจ่ี ะแลน บาตรไดเ หลอื เพียงคนเดียวเทานัน้ และอกี อยา งหนึ่งท่ีแตกตางกันก็คือ ที่ วัดเวฬุวันสามารถบมบาตรเองไดดวย เพราะมีพ้ืนท่ีในการทําสะดวกกวาท่ีบานบาตร สวนที่บานบาตรไม สามารถทําการบมบาตรไดเนื่องจากมีพื้นที่จํากัด ดังนั้นหากพระหรือชาวบานท่ีซื้อบาตรจากบานบาตรไปจะ ยังไมสามารถใชงานได เพราะยังไมผานขั้นตอนการบมบาตร จึงตองนําบาตรไปหาที่บมบาตรเอง ดังน้ันเม่ือ ชาวบานไดไปเห็นวิธีการบมบาตรดวยแกส ซึ่งพระทานไดประดิษฐคิดคนเตาที่ใชแกสบมบาตร แทนการใช ถานหรือฟน ชาวบานบาตรจึงสนใจท่ีจะพัฒนาเคร่ืองบมบาตรดวยแกส มาใชในชุมชนบาง เพราะใชเน้ือท่ี เพยี งเลก็ นอ ย แตป จ จุบันชาวบา นบาตรแกป ญ หาการบมบาตรโดยการไปจางทอ่ี ่ืนบม โดยบาตรท่ีผานการบม แลวจะมีราคาสงู มาก ภาพท่ี ๒.๖๖36 36 ชางของชุมชนบา นบาตรแลกเปล่ียนเรยี นรูก ับพระทีท่ ําบาตรเอง วัดเวฬวุ ัน อ.ทองผาภมู ิ จ.กาญจนบุรี

๗๔ ๒.๒.๗ การจัดการแหลงผลติ กระบวนการผลิตบาตรแตละใบจะตองผานกระบวนการหลายขั้นตอนและชางท่ีมีความ ชํานาญเฉพาะทางหลายแขนงทาํ งานรว มกนั ภายในชุมชน ที่มีกระบวนการทําบาตรดวยภูมิปญญาดั้งเดิม คือ การตอเหล็กและตีขึ้นเปนรูปบาตรดวยมือ บาตรบานบาตรจะมีราคาสูง เนื่องจากในการทําบาตรแตละใบ ตองอาศัยชางที่มีความชํานาญเฉพาะอยาง ซ่ึงประกอบดวย ชางตีขอบ ชางตอบาตร ชางแลน (ปจจุบันเปน ชางเช่อื ม) ชา งลาย ชา งตี และชางตะไบ ทีต่ อ งทาํ งานประสานกันเพื่อผลิตบาตรตามการสั่งซ้ือ หรือเพ่ือขาย หนาราน ซึ่งปจจุบันจะมีการส่ังซ้ือตลอดทั้งป โดยผูซ้ือสามารถมาซื้อไดโดยตรงที่ชุมชนบานบาตร หรือ สามารถโทรส่งั ก็ได โดยมรี า นที่จัดจําหนายอยู ๕ รา น คือ ๑) รานของ นายหริ ญั เสอื ศรีเสริม ๒) รานของ 36นางกฤษณา แสงไชย ๓) รานของ 36นางมยุรี เสอื ศรเี สริม36 (รา นปาไก) ๔) รานของ นายสมศกั ด์ิ บพั ชาติ (รานลงุ หม)ู ๕) รานของ นางอารยี  สายรัดทอง (รา นปาอารีย) ๒.๒.๘ ลกั ษณะเฉพาะอนื่ ๆ บาตรบานบาตรมีลักษณะเฉพาะ คือ เปนบาตรท่ีทําดวยมือทุกข้ันตอน โดยเปนการ ประกอบกันของเหล็ก ๘ ช้ิน ถูกตองตามหลักพระวินัย ท้ังวัสดุที่ใชและขนาด สามารถนําไปบมเพ่ือใหเกิด การทําปฏิกิริยาระหวางความรอนกับเหล็ก เกิดเปนสารเคลือบบาตร ทําใหบาตรไมเปนสนิมหรือชํารุดยาก แตเ วลาดูแลตองดูแลอยา งมสี ติ ตามหลักพระวินยั ดว ย จะทาํ ใหส ามารถใชบาตรน้ันไดนานหลายสบิ ป ๒.๒.๙ คุณคา ๑) คณุ คา ทางศาสนา บาตรภาชนะใสอาหาร สําหรับพระภกิ ษสุ ามเณร ถอื วาเปน ของใชท มี่ ีความสําคัญสําหรับ พระสงฆเปนอยางมาก และเปนหน่ึงในอัฐบริขาร ๘ อยาง ท่ีบัญญัติไวในพระวินัย นอกจากน้ันยังทําหนาท่ี เปนสอื่ กลาง ระหวางพุทธศาสนิกชนกับพระสงฆ ผา นการทําบญุ ตกั บาตร สบื ทอดพุทธศาสนาใหดํารงไว โดย บาตรบานบาตรนั้น 36เปน36บาตรที่มีความละเอียดในการทําและทําดวยมือทุกข้ันตอน และยังแฝงความหมาย ซึ่งสามารถตีความไดถึงหลักธรรมที่สามารถหลอหลอมและขัดเกลาชาวพุทธไดเปนอยางดี 36 โดยเปนบาตรที่36 ทาํ จากสวนประกอบของเหลก็ ๘ ชิ้น ซงึ่ มีความเชอื่ มาจาก มรรคมอี งค ๘ หรอื อรยิ มรรค คือ หนทางแหงการ ดบั ทุกข ซ่งึ เปน สว นหนง่ึ ของอรยิ สัจ โดยมรี ายละเอยี ดงั นี้ -สัมมาทิฐิ คือ ปญญาเห็นชอบ หมายถึง การปฏิบัติอยางเหมาะสมดวยความเปนจริง ดว ยปญญา -สัมมาสังกัปปะ คือ ดําริชอบ หมายถึง การใชสมองความคิดพิจารณาแตในทางกุศล หรอื ความดี -สมั มาวาจา คือ เจรจาชอบ หมายถงึ การพดู ตองสภุ าพ พดู ในสงิ่ ทส่ี รา งสรรคดงี าม -สัมมากัมมันตะ คือ การประพฤติดงี าม ทางกายหรือกิจกรรมทางกายทงั้ ปวง -สมั มาอาชีวะ คือ การทํามาหากินอยา งสจุ รติ ชน ไมค ดกง เอาเปรยี บผูอ่นื -สมั มาวายามะ คอื ความอตุ สาหพยายาม ประกอบความเพยี รในกศุ ลกรรม -สัมมาสติ คือ การไมปลอยใหเกิดความพลั้งเผลอ จิตใจเลื่อนลอย ดํารงอยูดวยความ รตู วั อยเู ปน ปกติ

๗๕ -สัมมาสมาธิ คอื การฝกจติ ใหต ้งั ม่นั สงบ สงดั จากกิเลส นวิ รณอยูเปน ปกติ จากคณุ คาที่แฝงอยใู นการทําบาตรทําใหชาวบา นบาตรมีความภาคภูมิใจในภูมิปญ ญาและ สืบทอดมรดกภูมิปญ ญาทางวัฒนธรรมการทาํ บาตรแบบดั้งเดมิ ใหอยูคูก บั พทุ ธศาสนิกชนตอ ไป ๒) คุณคา ทางศลิ ปะ การทําบาตรบานบาตรเปน มรดกภมู ิปญญาทางวฒั นธรรม สาขางานชางฝม ือดั้งเดิม โดย อยูในประเภทเคร่ืองโลหะ ซึ่งการทําบาตรมีหลายขั้นตอนมาก และแตละข้ันตอนตองใชความละเอียด และ ความเช่ียวชาญอยางสูง โดยชางทําบาตรแตละคนไมสามารถทําบาตรไดทุกข้ันตอน ดังน้ันบาตรใบหน่ึงตอง อาศัยชางฝมือหลายประเภท คือ ชางตีขอบ ชางตอบาตร ชางแลน (ปจจุบันเปนชางเชื่อม) ชางลาย ชางตี และชา งตะไบ ชว ยกันทํา ซ่ึงทําดวยมือทุกขั้นตอนอยางประณีต จะตองใชศิลปะระหวางการทํา เชน การทํา โครงของบาตร การทําขอบปากบาตร จะตองมีการตัดเหล็กและตีเหล็กใหเปนรูปทรงเพื่อท่ีจะนําแตละ ช้นิ สวนไปประกอบกนั พอดี หรอื ขนั้ ตอนอ่นื ๆ เชน การลายบาตร การตีบาตร การตะไบบาตร เพื่อใหไดบาตร ทีม่ ีรูปทรงทีเ่ หมาะสม สวยงามในรปู แบบท่ีตองการ เชน ทรงมะนาว ทรงลูกจัน ทรงไทยเดิม ทรงตะโก และ ทรงหัวเสือ เปนตน และขั้นตอนสุดทายในการทําบาตร คือ การระบมบาตรหรือบมบาตรดวยการใชความ รอน เม่ือบมเสร็จแลวทําใหลักษณะของบาตรมีความทนทาน ไมเกิดสนิม และไมทําปฏิกิริยากับอาหาร การ ระบมบาตรหรือการบมบาตรจะทําใหมีประกายเพชรข้ึนมาเคลือบบาตร ซ่ึงทําใหบาตรมีความสวยงาม จะ เห็นไดวา คุณคาของบาตร นอกจากการนําไปใชประโยชนแลวยังมีคุณคาทางดานศิลปะในตัวเอง ทําใหการ ทาํ บาตรบา นบาตรเปน สมบัตศิ ลิ ปท่ีสบื ทอดมาแตโ บราณตามพุทธานญุ าต ๒.๒.๑๐ การถา ยทอดและการสบื ทอด กระบวนการทําบาตรมีหลายขนั้ ตอน ประกอบดวยงานชางที่มีความชํานาญเฉพาะดานซ่ึง ทํางานเกี่ยวเน่ืองสมั พนั ธกันเปนกระบวนการ เทคนิค ความรูที่แตกตางกันในแตละแขนง ประกอบดวย ชาง ตีขอบ ชา งตอบาตร ชางแลน (ปจจุบนั เปนชางเชือ่ ม) ชา งลาย ชางตี และชางตะไบ ตางมีจุดรวมเดียวกัน คือ ประณตี ศลิ ปท ส่ี รางสรรคจากความศรัทธาพระพทุ ธศาสนาและความศรัทธาตอพอปู ครูบาอาจารยผูประสิทธ์ิ ประสาทวิชาภูมิปญญาท่ีทรงคุณคาใหแกชาวบานบาตร การทําบาตรในชุมชนบานบาตรไดรับการถายทอด ตามสายเลือดและไมมีใครทราบวา กรรมวิธีการทําบาตรน้ีไดรับการถายทอดมาจากผูใด ใครเปนผูริเริ่มการ ทาํ บาตร ทราบเพยี งวาการทําบาตรไดร ับการถายทอดมาจากพอปูครู ชาวบานบาตรมีความเชื่อวา พอปูหรือ ปูครูเปนบุคคลธรรมดาทีม่ คี วามรูเ รือ่ งการทาํ บาตรเปนอยางดีต้ังแตโบราณ ชาวบานจึงใหความเคารพนับถือ สืบทอดกันมาและไดตั้งศาลพอปูไวกลางหมูบาน เพ่ือสักการบูชา ศาลนี้สามารถปกปกษรักษาใหทุกคนอยู อยางรมเย็นเปนสุขและเปนที่ยึดเหน่ียวทางจิตใจ ชาวบานบาตรจะเคารพบูชาพอปูครู นอกจากนี้แลว ชาวบานบาตรทุกคนจะมีส่ิงท่ีบูชาอีก ๒ ส่ิง คือ เตาสูบ ซึ่งมีลักษณะเปนทอนไม ๒ ทอนต้ังขึ้นมา และพระ วิษณุ ความศรัทธาตอ พระพุทธศาสนาเปนสิ่งท่ีสําคัญตอการสืบสานวัฒนธรรมหรือภูมิปญญาการ ทาํ บาตรบานบาตร แมจะตองแขงขันกับปญหาภายนอก จากผลกระทบการเปล่ียนแปลงทางสังคม โดยไดมี การแลกเปล่ียนเรียนรูระหวางคนในชุมชนเกี่ยวกับการรักษามรดกทางวัฒนธรรมการทําบาตรบานบาตรให สามารถสืบทอดสูลูกหลานตอไป ซ่ึงผูนําชุมชนบานบาตรเปนผูนําในการสืบทอด โดยการเปดสอนการทํา บาตรใหแกค นในชมุ ชนและคนทัว่ ไปทส่ี นใจ ปจจบุ นั มผี ูส นใจมาเรยี นรูมากข้ึน หลายคนสามารถนําความรูไป ประกอบอาชพี ได และหลวงตาชา ง พระสงฆที่ทําบาตร ท่ีวัดเวฬุวัน จ.กาญจนบุรี ก็สอนพระและเณรที่สนใจ เชน กนั นอกจากน้นั โรงเรยี นอนบุ าลบานบาตรไดจ ดั โครงการเรยี นรเู รอื่ งบาตร โดยพาเด็กๆ ไปดูการทําบาตร จริงๆ ที่ชุมชนบานบาตร เพ่ือสงเสริมการเรียนรูภูมิปญญาทองถิ่น โดยใหชุมชนใกลเคียงไดมีสวนรวมสราง

๗๖ กระบวนการเรียนรูวิถีชีวิตของคนในชุมชนและปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมใหกับเด็กๆ ผานการเรียนรูเรื่อง บาตรพระ โดยสามารถเขาไปดรู ายละเอยี ดเพิ่มเตมิ ไดท่ี http://www.banbatr.ac.th/activity_project_batr.php ภาพท่ี ๒.๖๗ โครงการเรยี นรูเ ร่อื งบาตร โรงเรยี นอนบุ าลบานบาตร พระสงฆสวนใหญตองการใหมีการอนุรักษและสืบทอด การอนุรักษการทําบาตรบานบาตร ใหคงอยู ซ่งึ ควรมกี ารรณรงค สงเสริม ใหการทําบาตรเปนท่ีรูจัก และตองไดรับสนับสนุนการขายบาตรเหล็ก ของชุมชนบานบาตร นอกจากนี้ยังมีการแสดงความคิดเห็นวาใหผูท่ีเกี่ยวของวางกฎเกี่ยวกับการใชเคร่ือง อัฐบริขาร เรื่องของบาตรสําหรับพระใหม ใหใชบาตรเหล็ก ก็จะทําใหบาตรบานบาตรคงอยูตอไป และท่ี สาํ คัญการอนุรักษจะตองเกดิ จากสามัญสาํ นกึ ของทุกภาคสว น 36นอกจากน้ันทางผูวิจัยกับชุมชนไดรวมกันดําเนินการรวบรวมและจัดเก็บขอมูล36 “การทํา บาตรบานบาตร36” โดยกระบวนการใหชุมชนมีสวนรวม เพื่อถายทอดและสืบทอดมรดกภูมิปญญาทาง วฒั นธรรมน้ีไว ดวยวิธกี ารดาํ เนินงานตามขัน้ ตอนตา งๆ ดงั น้ี ๑) การจัดเวทีช้ีแจงโครงการตอชุมชนบานบาตร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหชุมชนและ หนวยงานที่เกี่ยวของเกิดความเขาใจเปาหมาย วัตถุประสงค ตลอดจนวิธีการในการดําเนินงานโครงการ รวบรวมและจัดเกบ็ ขอ มูลมรดกภมู ิปญ ญาทางวฒั นธรรม เรอ่ื ง “การทําบาตรบานบาตร”

๗๗ ภาพท่ี ๒.๖๘ ทีมนกั วจิ ยั จดั เวทชี ี้แจงโครงการตอชมุ ชนบานบาตร ๒) เก็บขอ มูลจากพน้ื ทีภ่ าคสนาม เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองมากที่สุด ตลอดจนเปนการสราง กระบวนการเรียนรูรวมกันกับชุมชน โดยชุมชนบานบาตรมีบทบาทเปนทีมวิจัยชุมชน กลาวคือ ชุมชนบาน บาตรมีสวนสําคัญในการเก็บรวบรวมขอมูลและเปนผูใหขอมูล โดยเนนการสาธิตวิธีการทําบาตร เพื่อใช ประกอบในการเกบ็ รวบรวมและบันทกึ ขอมลู ดวยตนเองและมีสวนในการวิเคราะห ซึ่งจะใชกระบวนการเก็บ ขอ มลู ดังนี้ - วิธีการสัมภาษณเชิงลึก (Depth interview) เปนการสัมภาษณอยางไมเปนทางการ (informal interview) หรือพูดคุยอยางเปนกันเองกับผูใหขอมูลหลัก ไดแก ตัวแทนชางทําบาตรในชุมชน บานบาตร หลวงตาชางที่ทาํ บาตรเอง จากวัดเวฬุวัน จ.กาญจนบุรี ตัวแทนกรรมการบรหิ ารชมุ ชน ตัวแทนคน ในชุมชน พระสงฆสายปฏิบัติผูท่ีใชจากชุมชนบานบาตร และผูท่ีช่ืนชอบบาตร ทั้งพระสงฆและฆราวาสท่ีซื้อ บาตรไปถวายพระ โดยทีมวิจัยเปนผูสัมภาษณหรือเก็บขอมูล เกี่ยวกับประวัติความเปนมาของชุมชนบาน บาตร การทําบาตร และคุณคาของบาตร เปนตน และนําขอมูลที่รวบรวมไดทั้งหมดไปใหตัวแทนชุมชน ตรวจสอบความถกู ตองอกี ครั้ง

๗๘ ภาพท่ี ๒.๖๙ ทีมนกั วจิ ัยสมั ภาษณเ ชงิ ลึกกับตัวแทนกลุมผูผลติ กลมุ ผใู ชแ ละกลุมผูชืน่ ชอบ - การประชุมกลุมยอย (Focus Group) โดยผูวิจัยไดพาตัวแทนคนในชุมชนบานบาตร ไป รวมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับพระท่ีทําบาตรที่วัดเวฬุวัน ตําบลทาขนุน อําเภอทองผาภูมิ จังหวัด กาญจนบรุ ี เกีย่ วกบั ขัน้ ตอนและกรรมวธิ กี ารทาํ บาตรของท้ังสองแหง และการอนุรักษการทําบาตรบานบาตร ใหอ ยคู กู ับสังคมไทยตอไป ภาพที่ ๒.๗๐ การประชมุ กลุมยอยพระสงฆวัดเวฬวุ นั จังหวัดกาญจนบรุ ี และชาวชุมชนบานบาตร

๗๙ - การสังเกตอยา งมีสว นรว ม (Participant Observation) โดยผูวจิ ัยจะเขารวมสังเกตการณ รวมกิจกรรมกบั ชมุ ชนเพื่อใหไดข อ มลู จริงมากทส่ี ุด ภาพท่ี ๒.๗๑ การสงั เกตอยา งมีสวนรวม ณ ชุมชนบา นบาตร - การจดั เวทีชาวบาน เพื่อรว มแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั ประวัติของชุมชน บานบาตร การทําบาตร การอนุรักษและสงเสริมใหการทําบาตรยังคงอยูตอไป ดวยการจัดเวทีชาวบาน ณ ศาลากลางบาน ชุมชนบา นบาตร กรุงเทพมหานคร ภาพที่ ๒.๗๒ การจดั เวทชี าวบาน ณ ชมุ ชนบานบาตร

๘๐ ๒.๒.๑๑ ขอมูลของผูบอกรายละเอียด - นายหิรญั เสือศรเี สริม ทีอ่ ยู เลขท่ี ๓๘ ซ.บา นบาตร ถ.บริพัตร แขวงสําราญราษฎร เขตปอ มปราบศตั รูพาย กรงุ เทพฯ เบอรโ ทรศัพท ๐๘๖-๘๙๒-๓๖๖๐ - นางมยุรี เสอื ศรีเสริม ทีอ่ ยู เลขที่ ๘๔/๕ ซ.บานบาตร ถ.บรพิ ตั ร แขวงสําราญราษฎร เขตปอมปราบศตั รูพา ย กรงุ เทพฯ เบอรโ ทรศัพท ๐๘๙-๐๐๒-๕๙๓๑ - นางสาวมณรี ัตน นาครตั น ทอ่ี ยู เลขท่ี ๘๔/๕ ซ.บา นบาตร ถ.บริพัตร แขวงสําราญราษฎร เขตปอมปราบศตั รูพา ย กรงุ เทพฯ เบอรโ ทรศัพท ๐๘๙-๐๐๒-๕๙๓๑ - นางสาวกสุ มุ า เชียดรัมย ทอี่ ยู เลขที่ ๓๘ ซ.บานบาตร ถ.บริพัตร แขวงสําราญราษฎร เขตปอ มปราบศตั รูพา ย กรุงเทพฯ เบอรโทรศัพท ๐๘๖-๑๐๔-๙๖๓๖ - นางกฤษณา แสงไชย ทอี่ ยู เลขที่ ๔ ซ.บานบาตร ถ.บรพิ ัตร แขวงสําราญราษฎร เขตปอมปราบศตั รูพา ย กรุงเทพฯ เบอรโ ทรศัพท ๐๘๕-๙๑๙-๒๖๐๗ - 36เจาอาวาสวดั ปาอรญั ญวเิ วก วดั ปาอรญั ญวเิ วก ตาํ บลอินทขลิ อําเภอแมแตง จงั หวดั เชียงใหม - 36พระอาจารยละมา ย อพิ ิสวง วัดปาอรญั ญวิเวก ตําบลอินทขลิ อาํ เภอแมแตง จังหวดั เชียงใหม - 36พระโสภณธรรมสาร (ฤทธิรงค ญาณวโร) วดั ปา ดาราภิรมย ตาํ บลรมิ ใต อําเภอแมรมิ จงั หวดั เชียงใหม - 36พระอาจารยบ ารมี 36วัดปา บานตาด ตําบลบา นตาด อําเภอเมือง จังหวดั อุดรธานี - 36พระสงฆว ัดปานโิ ครธาราม 36วดั ปา นิโครธาราม ตําบลหนองบัวบาน อําเภอหนองววั ซอ จังหวัดอุดรธานี - 36พระอาจารยเ สน ปฺญาธโร (เจาอาวาส) 36วัดปา หนองแซง (วัดราษฎรสงเคราะห) ตําบลหนองบัวบาน 36อาํ เภอหนองวัวซอ จงั หวัดอดุ รธานี - 36พระสงฆวัดปาภผู าแดง วัดปาภผู าแดง ตาํ บลหนองออ อาํ เภอหนองววั ซอ จังหวดั อดุ รธานี

๘๑ ๒.๒.๑๒ ผเู ก็บขอมูล และวันเวลาทีเ่ ก็บ - นายปภสั พงศ สุภาพพันธ (นกั ศึกษามหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนดุสิต) เก็บขอมูลเดือนมกราคม ๒๕๕๗ - นายอนุชา ยมภมู ี (นักศึกษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนดสุ ิต) เกบ็ ขอมลู เดือนมกราคม ๒๕๕๗ - นายณัฏฐวรรธน สวุ รรณาโชติ (นักศึกษามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนดุสติ ) เก็บขอมลู เดือนมกราคม ๒๕๕๗ - นายกานต คงสวสั ด์ิ (นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนดสุ ติ ) เกบ็ ขอมลู เดือนมกราคม ๒๕๕๗ - นางสาวปรศิ นา มัชฌิมา (ทีมวจิ ัย) เก็บขอมลู เดือนมีนาคม – มิถุนายน ๒๕๕๗ - นางสาวณัฏฐา ผวิ มา (ทีมวจิ ัย) เกบ็ ขอมลู เดือนมนี าคม – มถิ ุนายน ๒๕๕๗ - นายศิรลิ กั ษณ หลอพนั ธมณี (ทมี วจิ ัย) เกบ็ ขอมลู เดือนมนี าคมและเมษายน ๒๕๕๗

บทท่ี ๓ เงอื่ นไขภาวะ/ปจ จัยคกุ คามของมรดกภมู ิปญ ญาทางวัฒนธรรม ๓.๑ สภาพปจ จุบนั ทุกวันนี้บาตรบานบาตร ยังคงเปนที่นิยมอยูพอสมควร สําหรับผูท่ีรูซ้ึงถึงคุณคาของงานฝมือ ยืนยัน ไดจากท่ีมีคนมาส่ังทําบาตรอยูมิไดขาด ผูท่ีมาส่ังทํามีท้ังพระและฆราวาส นอกจากน้ันก็ยังมีผูที่มาซ้ือจากที่ รานโดยตรง ทั้งชาวไทยและชาวตางชาติ ซึ่งมากับทัวรหรือบางคนก็ดั้นดนมาซ้ือเอง โดยมีมาอยูเร่ือยๆ สังเกตไดวาในระยะหลังผูท่ีมาส่ังทําบาตรจะเปนผูที่ตองการบาตรไปใชเอง เชน พระสงฆสายธรรมยุตหรือ สายพระปา ซงึ่ เครงครดั ในพระวินัยมาก และปฏบิ ตั ติ ามคาํ สั่งสอนของพระผูใหญมาโดยตลอด นอกจากน้ันก็ เปน ฆราวาสซง่ึ เขาใจคณุ คา ของบาตรบา นบาตร โดยอาจจะเอาไปใชเองเมื่อจะบวช หรือพอแมญาติผูใหญมา ซื้อใหลูกหลานไปใชตอนบวช หรือซื้อเปนของท่ีระลึกฝากผูอ่ืน หรือซ้ือเพื่อถวายแดพระสงฆ ไมคอยมีพอคา คนกลางมารบั ไปขายตอ ดังนัน้ ตามรานขายเครือ่ งสงั ฆภณั ฑท ่ัวไปจงึ มีแตเพยี งบาตรปม เทาน้ัน บาตรเหล็กจะ มีนอยมาก เน่ืองดวยมีราคาสูงและดูแลรักษายากเมื่อนํามาเก็บไวท่ีราน สวนบาตรที่ทําจากวัดเวฬุวัน จ.กาญจนบุรี นัน้ พระทานไมไ ดทําขาย แตท ําใชเ องหรือแจกพระทีม่ าจากวดั อนื่ ทีต่ องการนาํ บาตรเหลก็ ไปใช ๓.๒ ปจจยั คุกคาม การเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรมและการเติบโตของกระแสทุนนิยมโลกในโลกโลกาภิวัตนเปนปญหาท่ี สําคัญและสงผลกระทบตอวัฒนธรรมและภูมิปญญาอยางตอเนื่อง เพราะภูมิปญญาบางอยางไมสามารถ แขงขันกับระบบทุนนิยมไดหรือปรับตัวไดยากในสังคมสมัยใหม การขาดการจัดการระบบที่ดี หรือการ เปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ซ่ึงบาตรบานบาตรนับเปนภูมิปญญาไทยอีกแขนงหนึ่งซ่ึงกําลังไดรับผลกระทบ ทางวฒั นธรรมและเปนปญ หาที่จะตองรีบแกไ ขอยา งเรง ดวน จากปจจัยคุกคามตางๆ ดังนี้ ๓.๒.๑ ปจ จัยคุกคามท่มี ีผลตอความอยูร อดของมรดกภมู ปิ ญญาทางวฒั นธรรมภายในชมุ ชน ๑) ระบบทนุ นยิ ม ระบบทุนนิยมเปนระบบเศรษฐกิจท่ีมีการใชเคร่ืองจักรเขามามีบทบาทในการดําเนินการ ทางเศรษฐกิจ และแนวคิดในระบบทุนนิยมท่ีอาศัยกลไกตลาดเปนเคร่ืองมือในการขับเคลื่อน เปนตัวขัดแยง กับภูมิปญญาการทําบาตร ทั้งนี้เนื่องจากตนทุนของการทําบาตรปมในโรงงานอุตสาหกรรมมีตนทุนที่ต่ํากวา และใหผลผลิตในปริมาณที่มากกวาเม่ือเทียบกับการทําบาตรแบบภูมิปญญาดั้งเดิมของชาวบานบาตรที่ตอง อาศยั เวลาและตน ทุนสงู ดงั นนั้ ปจจยั หลกั ทท่ี ําใหหตั ถกรรมการทาํ บาตรเหล็กแบบดั้งเดิมลดนอยถอยลงไป ก็ คือการมีบาตรปมเขามาแทนท่ีเมื่อราว ๓๐ ปที่ผานมาและมีสวนแบงการตลาดเปนสวนใหญ บาตรปมซ่ึงมี กําลังการผลิตสูง ราคาขายสงถูก จึงเปนท่ีตองการของพอคาคนกลางมากกวา พอคาคนกลางจึงหันมา จําหนายบาตรปมและกดราคาบาตรเหล็กลง จนชางทําบาตรไมสามารถหากําไรจากการขายสงได บางคนก็ ละท้ิงอาชีพชางทําบาตรไปประกอบอาชีพอื่น บาตรปมจึงเขายึดครองตลาดเคร่ืองสังฆภัณฑในชวง ๓๐ ปที่ ผา นมา ทาํ ใหบ าตรบานบาตรขายไดเฉพาะคนบางกลุมเทานั้น สาเหตุที่บาตรบานบาตรมีราคาแพงเนื่องจาก เปนบาตรทําดวยมือทุกขั้นตอนและการทําบาตรตองอาศัยชางหลายประเภท ประกอบดวย ชางตีขอบ ชาง ตอบาตร ชางแลน ชา งลาย ชางตแี ละชา งตะไบ จึงมีคา ใชจ า ยเปน ตนทุนสูง ชางบางคนก็ทําไดเองทุกขั้นตอน แตมักจะแบงงานกันไปตามความชํานาญเปนการผอนแรงกัน

๘๓ ๒) การขาดแคลนชางทาํ บาตรที่มคี วามประณีต ปจจยั คุกคามอีกอยางหน่ึงของการทําบาตรบานบาตร คือ ฝมือ จากการสัมภาษณพระสงฆ หลายรปู ที่เคยใชบาตรจากชางฝมอื เมอื่ สมยั กอ น บอกวา คนรนุ หลงั หรอื ชางในปจจุบันไมสามารถทําบาตรได ละเอียด ประณีต เทากับชางฝมือสมัยกอน อาจเปนเพราะเวลาที่เรงรีบและมุมมองของคนรุนใหมท่ีเห็น คณุ คาของวัตถุเงนิ ทองเหนอื คุณคาทางจติ ใจ ๓) ประเพณีการอุปสมบททเี่ ปลยี่ นแปลงไป สังคมไทยเปนสังคมที่ใหความสําคัญกับพระพุทธศาสนา ซึ่งเขามามีบทบาทและเกี่ยวของ กับการดําเนินชีวิตและเปนสิ่งท่ีหลอหลอม เสริมสรางวัฒนธรรมไทย คติโบราณมีความเช่ือวาผูชายทุกคน จะตองบวชเรียนเพ่ือตอบแทนคุณบุพการี ซ่ึงคติความเชื่อดังกลาวยังถายทอดมาถึงปจจุบัน อยางไรก็ตาม เน้ือหาและรูปแบบทางวัฒนธรรมมีการเปลี่ยนแปลงไป ในสังคมสมัยใหมไมไดบวชเพื่อศึกษาหาความรู เหมือนในอดตี เนอื่ งจากในอดตี การศึกษามวี ัดเปนศูนยกลางและการศึกษาเปนเรื่องเฉพาะผูชายเทานั้น จึงมี การนิยมเขามาบวชหรืออุปสมบทเพื่อศึกษาหาความรูและขัดเกลาศีลธรรมกอนจะแตงงานตามประเพณี แต ในปจจบุ นั การบวชมีรูปแบบเปนเพียงธรรมเนียมและตอบสนองความเชื่อคติโบราณเทานั้น การอุปสมบทใน สมัยใหมจึงเปนการอุปสมบทในระยะส้ันๆ เชน ๓ วัน หรือ ๗ วัน เปนตน การบวชในระยะส้ันๆ ดังกลาวนี้ ทาํ ใหผ ูคนตัดสนิ ใจซื้ออัฐบรขิ ารในราคาถูก ซ่ึงบาตรเหล็กของชุมชนบานบาตรมีราคาที่สูงกวา เนื่องจากวัสดุ และคุณภาพ แตไมสามารถแขงขันดานราคากับโรงงานอุตสาหกรรมได ซ่ึงมีราคาที่ถูกและหาซ้ือไดสะดวก กวา การเปลีย่ นแปลงทางวฒั นธรรมและสังคม จึงมผี ลกระทบท่ีสาํ คญั ตอภมู ปิ ญญาการทาํ บาตร ๔) การนําบาตรไปใชง านผิดวตั ถปุ ระสงค จากสภาพสงั คมในปจ จุบนั ทที่ ุกคนตองดิ้นรนทํามาหากิน ทําใหชาวบานบาตรทําบาตรเพ่ือ การคาเปนหลัก โดยอาจจะมองขามคุณคาทางพุทธศาสนาหรือคุณคาทางจิตในไปบาง เชน มีการทําบาตร เปนของที่ระลึก หรือการใสลวดลายลงไปบนบาตรใหเกิดความสวยงาม เพ่ือขายใหกับนักทองเที่ยว โดยไม คาํ นึงถึงวา ผซู ้อื ซอื้ บาตรไปเพือ่ อะไร คุณสรินยา สดุ ดิศ ชางเขียนทอง ลูกสาวของชางสุเทพ สุดดิศ ชางบาตร ฝมือดี (ซ่ึงเสียชีวิตไปแลว) ที่เคยทําบาตรถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ขณะทรงผนวช ณ วัดพระศรี รัตนศาสดาราม ไดกลาววา “ถาพอและพี่ยังอยู พวกเขาคงไมขายบาตรใหฝร่ังหรอก เพราะฝรั่งไมรูคุณคา” (กมลพร สุนทรสีมะ, ๒๕๕๔) ดังน้ันการทําบาตรเพ่ือเปนของท่ีระลึกใหกับนักทองเที่ยว จึงเปนภัยคุกคาม อยางหนึ่งท่ีอาจทําใหบาตของชุมชนบานบาตรดอยคาลง เนื่องจากนักทองเที่ยวโดยเฉพาะชาวตางชาติอาจ นําบาตรไปใชผิดวัตถุประสงคจากการเปนภาชนะสําหรับพระภิกษุ ซึ่งถือเปนของสูง หากนําไปใชผิด วตั ถปุ ระสงคกจ็ ะดไู มดี ไมเหมาะสม ๓.๒.๒ ปจจัยคุกคามที่มีผลตอการสืบทอดของรายการมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมภายใน ชมุ ชน ๑) ปจจุบันภูมิปญญาการทําบาตรบานบาตรอยูกับกลุมผูสูงอายุ ขาดผูสืบทอดภูมิปญญาที่ เปนเยาวชนรุนใหมท่ีมีความสนใจการทําบาตรอยางจริงจัง ท้ังท่ีชุมชนบานบาตร และท่ีวัดเวฬุวัน จ.กาญจนบุรี เนื่องจากเยาวชนรุนใหมมีความอดทนนอย และคิดวาไปทํางานอยางอื่นสบายกวา ไมตองมา ลําบากทาํ บาตร เพราะมีหลายขนั้ ตอน และตองอาศัยความชํานาญและความประณีตมาก ๒) ผูท่ีมีความรูความชํานาญการทําบาตรเหล็กดวยมือ ใชเวลาในการถายทอดนาน ทําให เยาวชนรุนใหมซึ่งตองการความรวดเร็วในการเรียนรูส่ิงตางๆ ไมสนใจการทําบาตร เพราะตองใชเวลานาน และความอดทนสูง

บทที่ ๔ การสงวนรักษา ๔.๑ การสงวนรกั ษาทผ่ี า นมา ชางฝมือในชุมชนบานบาตรไดจัดสอนการทําบาตรใหกับคนรุนใหมในชุมชน และคนทั่วไปที่สนใจ การทําบาตรแบบด้งั เดมิ และมกี ารประชาสัมพันธเก่ยี วกับบาตรบา นบาตรผานทางสอื่ ตา งๆ ไดแ ก - ทางเว็บไซต เชน http://www.banbatt.com โดยกลุมอนุรักษบาตรและภูมิปญ ญาไทย (บานบาตร) ภาพท่ี ๔.๑ เว็บไซตช มุ ชนบานบาตร

๘๕ - ทาง Facebook ภาพที่ ๔.๒ เฟซบกุ ชมุ ชนบา นบาตร - รายการโทรทัศน เชน รายการกบนอกกะลา ตอนวิถีศรัทธา คุณคาบาตรไทย เม่ือวันท่ี ๘ และ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๔ นอกจากนั้นทางรายการยังทําเปนหนังสือ ฉบับการตูน เร่ือง วิถีศรัทธาคุณคา บาตร ไทย (กบนอกกะลา เลม ๘๒): การต นู สารคดเี สรมิ ทกั ษะ โดย สาํ นักพิมพท วี บี รู พา ภาพที่ ๔.๓ การต ูนสารคดีเสริมทักษะ โดย สาํ นกั พิมพทวี ีบรู พา

๘๖ ๔.๒ การดําเนินงานของผวู ิจยั กบั ชมุ ชน 36ทางผูวิจัยไดดําเนินการรวบรวมและจัดเก็บขอมูล36 “การทําบาตรบานบาตร36” โดยกระบวนการให ชุมชนมีสวนรวม เพ่ือการสงวนรักษามรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมน้ีไว ดวยวิธีการดําเนินงานตามขั้นตอน ตา งๆ ดงั นี้ ๑) การจัดเวทีชี้แจงโครงการตอชุมชนบานบาตร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหชุมชนและหนวยงานที่ เกี่ยวของเกิดความเขาใจเปาหมาย วัตถุประสงค ตลอดจนวิธีการในการดําเนินงานโครงการรวบรวมและ จดั เก็บขอ มลู มรดกภูมปิ ญ ญาทางวฒั นธรรม เรื่อง “การทาํ บาตรบา นบาตร” ภาพที่ ๔.๔ การจดั เวทชี ี้แจงโครงการตอชมุ ชนบา นบาตร ๒) เก็บขอมูลจากพื้นท่ีภาคสนาม เพ่ือใหไดขอมูลที่ถูกตองมากท่ีสุด ตลอดจนเปนการสราง กระบวนการเรียนรูรวมกันกับชุมชน โดยชุมชนบานบาตรมีบทบาทเปนทีมวิจัยชุมชน กลาวคือ ชุมชนบาน บาตรมีสวนสําคัญในการเก็บรวบรวมขอมูลและเปนผูใหขอมูล โดยเนนการสาธิตวิธีการทําบาตร เพื่อใช ประกอบในการเกบ็ รวบรวมและบันทกึ ขอ มลู ดวยตนเองและมีสวนในการวิเคราะห ซึ่งจะใชกระบวนการเก็บ ขอ มลู ดงั นี้ - วิธีการสัมภาษณเชิงลึก (Depth interview) เปนการสัมภาษณอยางไมเปนทางการ (informal interview) หรือพูดคุยอยางเปนกันเองกับผูใหขอมูลหลัก ไดแก ตัวแทนชางทําบาตรในชุมชน บา นบาตร หลวงตาชา งท่ที ําบาตรเอง จากวดั เวฬวุ นั จ.กาญจนบรุ ี ตัวแทนกรรมการบริหารชมุ ชน ตวั แทนคน ในชุมชน พระสงฆสายปฏิบัติผูที่ใชจากชุมชนบานบาตร และผูที่ช่ืนชอบบาตร ทั้งพระสงฆและฆราวาสท่ีซื้อ บาตรไปถวายพระ โดยทีมวิจัยเปนผูสัมภาษณหรือเก็บขอมูล เก่ียวกับประวัติความเปนมาของชุมชนบาน บาตร การทําบาตร และคุณคาของบาตร เปนตน และนําขอมูลที่รวบรวมไดท้ังหมดไปใหตัวแทนชุมชน ตรวจสอบความถูกตอ งอกี คร้งั