Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เปิดไปอ่านความสุข

เปิดไปอ่านความสุข

Description: เปิดไปอ่านความสุข

Search

Read the Text Version

เปีดโปอ่าน ความสย ^ •• ส, ผ่องสวัสด

.cVd 'b O\" เปีดไปอ่านความสุข cv 4# ส. ผ่องสวัสดิ๋ ชมรมนักคิดนักเขึยนเพื่อสันติภาพโลก และมลนิธิพัฒนาเยาวชนต้นแบบคิลรรรม

เปีดไปอ่านความสุข ส. ผ่องสวัสดิ้ เลขมาตรฐานสาาลประจำหนังสิอ 978-974-623-921-9 พิมพ์ครั้งที่ ๖ ฐันวาคม la<lr<4:o จำ นวน &.000 เล่ม ลิฃสิทธ มูลนิธิพัฒนาเยาวฃนต้นแบบศีลธรรม ภาพประกอบและรูปเล่ม ลันทัด คักดิ้สาคร ออกแนบปกและศิลปกรรม ธาดา วงศ์คุณานนท และบริษัท คริเอทโชน จำ ลัด โทร 0๒-0ะCะรก-®(l:«)(Sr-& พิมพ์ที่ บริษัท รุ่งศีลปการพิมพ์(๑๙erer) จำ ลัด -๙๕ ถนนมห'•นคร เขตบางรัก กรุงเทพฯ ®o4:oo โทร- ๐๒-๒๓ร)-๐๐!ร:ระ โทรสาร ๐๒-๒๓ระ-ร:๐๒ระ จัดพิมพ์โดย ชมรมนักคิดนักเฃึยนเพี่อลันต้ภาพโลก และมูลนิธิพ้'ฒนาเยาวชน ต้นแบบศีลธรรม ®&/๑๙ หมู่ ๖ ด.คลองลาม อ,คลองหลวง จ.ปทุมรานี ๑๒๑๒๐ โทร. ๐๒-ระ๓®-®๒!ร:ระ. 06;-๙๖ระ๙-๒๑๙ร! โทรสาร ๐๒-ระ๓® -๑๒(ร:๙ e-mail: [email protected] ขอมูลทางบรรณานุกรมชองหอสมุดนห่งชาคิ. เปิดไปอ่านความสุข. - - พิมพ์ครั้งที่ 6. -- ปทุมรานๆ ; ขมรมนักคิดนักเฃิยนเพี่อลันดํภาพโลก และมูลนํรพัฌนาเยาวขนตันแนบคิลรรรม. 2550 168 หนา. 1. ความสุข. I. ชมรมนักคิดนักเข๊ยนเพี่อสันติภาพโลก. II. มูลนิธิพัฒนาเยาวขนตันแบบศิลรร?ม. III. ขีอเรอง. 158. ISBN 978-974-623-921-9 ดวง คัดจำหน่ายโดย บริษัท ดวงกมลลมัย จำ ลัด ๑,ร:/๒๓ร: ซอยเลอใหญ่ อุ^(ตุ ถนนรัชดาลัเบท แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ โทร, ๐๒-(ร:cr๑-๙๓๙4โ, ๐๒-๙๓๐-๖๒๑(ร: โทรสาร ๐๒-(ร:<r®-๙๓๙๙. ๐๒-๙๓๐-๙๙๓๓ www.dktoday.net E-maii:[email protected]. [email protected]. [email protected] ราคา ๑๖4: บาท(รายไต้ทั้งหมดน่ามาลนับลบุนการเผยแพร่พระพุทธศาลนา)

r- - 7-^ คำ นำ ...ก่อนจะอ่านความสุข -- ขึ้นชื่อว่า \"ความลุฃ\" ใครๆ ก็อยากได้ทังนัน ไม่ว่าเด็ก-ผู้ใหญ่ หญิง-ชาย หนุ่มลาว-คนแก่ คนยากจน- รรรวย ล้วนอยากได้ความสุข แด่จะมีกี่คนที่รู้ถึงวิรีลร้างความสุขอย่างแห้พิให้แก่ขืวิต พวกเราเองก็เป็นหนึ่งในผู้ที่ไม่รู้ว่า ทำ อย่างไรชวตจึงจะมื ความสุขอย่างแท้จริง เพราะความสุขที่ทำท่าจะแท้จริงในชีวิต มักเป็นความสุขชั่วคราว คืออยากมหนึ่ง พอมแล้ว เดียวก็อยาก มีสอง พอมีลอง ก็อยากมีลาม มี สี่ ห้า หก เรื่อยๆ ไป แด่แล้วก็เหมือนบุญพาวาลนาล่ง วันหนึ่ง เราได้มีโอกาลอ่าน บันทึกข้อคิดสำคัญๆ ที่พระเดชพระคุณพระภาวนาวิริยคุณใช้ เอนลคริป (script) เทศน์ลอนมงคลชีวิต ประการ ชองเมื่อ ประมาณยี่สิบกว่าปีที่แล้ว เมื่อบัน เราจึงได้รู้จักวิธีลร้างความสุข อย่างแท้จริง คำ น่า.,.ก่อนจะอ่านความสุข ^

บันทึกแต่ละหน้าที่เราเปิดอ่านไปนั้น เหมือนกับ \"เปิดไป อ่านความสุข\" ทุกตัวอักษรในบันทึกบัน ในความรู้สึกของเรา คือลิ่งที่ทรง คุณค่ามหาศาล และประมาณค่ามืได้ เมือเห็นตังบันแล้ว เราจึงคิดว่า ทำ อย่างไรคนอื่นจึงจะได้ อ่านเหมือนเราบ้าง และเกิดแรงบันดาลใจที่จะศึกษาให้ลึกซึ้งยิ่ง ขึ้นต่อไป เราจึงได้กราบขออนุญาตพระเดชพระคุณหลๆงพ่อ เพื่อขอ คัดลอกข้อความสำคัญทึสร้างแรงบันดาลใจและความสุข มาจัด ทำ เปีนหบังลือเล่มนืซึ้นมา ซึ่งเราพยายามทำให้ล้อยคำกะทัดรัด จำ ง่าย เข้าใจง่าย ใม่ด้องใข้เวลาอ่านมาก แต่อย่างไรก็ตาม สำ หรับท่านที่ด้องการทราบรายละเอียดที่มากกว่ๆข้อคิดบี้ อ็ สามารถหาเทปมงคลชืวิตของหลวงพ่อท่านมาทังเพิ่มเคิมได้ ท้ายที่สุดบี้ พวกเราหวังว่า \"เปิดไปอ่านความสุข\" เล่มบี้ จะเปีนอืกหนึ่งในหบังลือที่แบ่งบันความสุขไปลู่คุณผู้อ่าบ และ ช่วยสร้างกำลังใจในการทำความคืในชึวิตให้ยิ่งๆ ขึ้นไป และนั่น คือ ทางมาแห่งความสุขในชีวิตของทุกท่านและครอบครัาอย่าง แท้จริง ด้วยความปรารถนาดื ขมรมบักคืดบักเชียนเพื่อสันติภาพโลก (T เจฬปอ่านความสฺฃ

s% สารบัญ c (ว คำนำ.., ก่อนจะอ่านความสุข ๓ เปิดไปอ่านความสุข cs บันไดขั้นที่ ๑ ไม่คบคนพาล บันไดขั้นที่ ๒ คบบัณฑิต C)cn ๑Gว' บันไดขั้นที่ ๓ บูชาบุคคลควรบูขา บันไดขั้นที่ cr อยู่ในถิ่นที่เหมาะลม ๒๑ บันไดขั้นที่ ๕ มีบุญวาลนามาก่อน ๒ร: ๒๙ บันไดขั้นที่ ๖ ตั้งตนไว้ชอบ ๓๓ บันไดขั้นที่ gT เป็นพหูสูต ๓ร: บันไดขั้นที่ cr มีศิลปะ ๓๙ บันไดขั้นที่ ๙ มีวินัย <r๑ บันไดขั้นที่ (ร)0 มาาจาสุคา!^ต {ทรบัญ _ ๕

บันไดขั้นที่ เลี้ยงดูบิดามารดา *£๓ บันไดขั้นที่ ๑๒ เลี้ยงดูบุตร (£๙ บันไดขั้นที่ ๑๓ เลี้ยงดูภรรยา (สามื) (£๙ บันไดขั้นที่ ๑(ร: ทำ งานไม่ให้คั่งค้าง ๕๑ บันไดขั้นที่ ๑๕ การให้ทาน (ร:๓ บันไดขั้นที่ ๑๖ ประพฤติธรรม (ร:๙ บันไดขั้นที่ ๑*?/ สงเคราะห้ญาติ ๖๑ บันไดขั้นที่ ทำ งานไม่มืโทษ ๖*ร: บันไดขั้นที่ ๑๙ งดเว้นบาป ๖๙ บันไดขั้นที่ ๒๐ สำ รวมจากการดื่มนํ้าเมา ๙๑ บันไดขั้นที่ ๒๑ ความไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย ๙๓ บันไดขั้นที่ ๒๒ ความเคารพ ๙๙ บันไดขั้นที่ ๒๓ ความถ่อมตน Go(ร) บันไดขั้นที่ ๒ร: มีความสันโดษ (??(ร: บันไดขั้นที่ ๒(ร: มีความกตัญฌู (??๙ บันไดขั้นที่ ๒๖ การฟังธรรมตามกาล ๙๓ บันไดขั้นที่ ๒*?/ มีความอดทน ๙๙ บันไดขั้นที่ ๒Cะ? ความเป็นคนว่าง่าย ๙๙ บันไดขั้นที่ ๒๙ หมั่นพบปะสมณะ ๑๐๓ ฟ้('เไปอ่านความสุใ;

บันไดขั้นที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล ๑๐gY บันไดขั้นที่ ๓๑ บำ เพ็ญตบะ ๑๑๑ บันไดขั้นที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ ๑๑๕: บันไดขั้นที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ ๑๑gY บันไดขั้นที่ ๓ร: ทำ พระนิพพานให้แจ้ง ๑๒๑ บันไดขั้นที่ ๓๕: จิตไม่หวั่นไหวด้วยโลกธรรม ๑๒๕: บันไดขั้นที่ ๓๖ จิตไม่โศก ๑๒๙ บันไดขั้นที่ ๓ธร จิตหมดธุลี ๑๓๓ บันไดขั้นที่ ๓cr จิตเกษม ๑๓gY ๑ร:๕: บทสรป ท้ายเล่ม ๑ร:๙ ข้อคิดล่งท้าย ลา?นญ cr ว

เปิดไปอ่านความสุข การสร้างความสุขให้แก่ชึวิตของคนเรา ก็เหมือนไต่บันไดที ละขั้น เดิมทีแต่ละคนก็มาลู่โลกใบนีแบบตัวเปล่าไม่มืแน้เลื้อผ้าติด ตัวมาสักชิ้น ทุกอย่างที่เรามืฃณะนี้ เราล้วนมาแลวงหาในภาย หลังทั้งลิ้น ตั้งแต่หาเงิน หารถ หาบ้าน หาคู่ สร้างครอบครัว มี ลูกเต็มบ้าน มีหลานเต็มเมือง แล้วก็ตายจากโลกนี้ไป ทั้งลิ้ง ทั้งหมดที่หามาได้ไว้เบื้องหลัง อย่างมีอาจรับรู้ความเบ้นไปต่างๆ นาๆ ได้ ความสุขที่เราหามาทั้งหมดนี้ จึงเบ้นได้เพืยงความสุข ขั้วคราวสำหรับเรา แต่ยังมีสุขอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งเบ้นความสุขภายใน เกิดขึ้นมา ได้ด้วยการสั่งสมคุณธรรมเรื่อยไป เหมีอนไต่บันได ๓cr ขั้น ไต่ ไปได้ขั้นหนึ่ง ก็ให้ความสุขเพิ่มขึ้นอีกขั้นหนึ่ง ไต่ไปสองขั้น ให้ a เปิคไปร่านดวามลุข C

ความสุขเพิ่มขึ้นลองขั้น ไต่ไปได้มากเท่าใดก็ให้ความสุฃที่แท้ จริงต่อชืวิดมากเท่านั้น เป็นความสุขเย็นๆ จนกระทั่งให้ความ สุขอันไพบูลย์เป็นที่สุด และยังมีผลานิลงลนำมาซึ่งความสุขภาย นอกอื่นๆ อืกนานัปการที่ตามมาในภายหลัง สุขภายในที่เปริยบเหมีอนไต่บันได ๓ ขั้นนี้ จะเก็ดขึ้น มาได้อย่างไร และสุขชนิดนี้จะลร้างความสุขให้แก่ชีวิตของเรา และครอบครัวได้ขนาดไหน ขอเชิญทุกท่านค้นหาข้อคิดเหล่านั้น ได้จาก \"เปีดไปอ่านความสุข\" ณ บัดนี้ เปิดไปอ่านความลุข

-1^ Sr^ Gustavio augusta

บันไดขันที ๑ ไม่คบคนพาล % คนเราทุกคนอยากจะดีและเด่นทัง'นัน แด่เป็นไม่ได้ทุกคน ลาเหตุใหญ่ที่เป็นไม่ได้ ก็เพราะวินิจฉัยเลีย แยกไม่ออกว่า อะไร คือถูก-ผิด ดี-ชัว บุญ-บาป ควร-ไม่ควรทำ เข่น ดีมเหล้า-เล่น การพนัน-เจ้าฃู้ โกหก เป็นของขัว กลับเห็นว่าดี จึงทำซัวโดยคิด ว่าบันดี เลยไม่ได้ดี วินิจฉัยผิด-ถูกของคนเราได้มาจาก ๑. คนที่ใกล้ขิดอบรมถ่ายทอดให้ ๒. จากการดรองของตนเอง แด่ล้าข้อมูลจากมิตรผิด การไตร่ตรองก็จะผิด เลยคิดผิด พูดผิด และทำผิดตลอดทาง ซึ่งอาจหมายถึงตลอดขาดี เมื่อวินิจฉัยผิด ทำ ให้คิดผิด พูดผิด ทำ ผิด รวมลันเป็น \"ชัว\" พระท่านเรืยกว่า \"พาล\" แล้วพาลก็ถ่ายทอดวินิจฉัยผิด หรือความ เป็นพาลด่อๆ ลันไป ทำ ให้พาลทังบ้านทังเมือง หน้าที่ของเราคือ ต้องดูคนพาลให้ออก อย่าคบคนพาลอีก อย่าพาคนพาลเข้ามาในบ้าน และแก้ไขความพาลในตัวเราให้ หมดไป 17นใ?'.ขั้นทํ่ a ไมคบคนพาล «ร1

4^ ■^>>>>^^ V Sr^' Phrygonocydio corymbosa

บันไดขั้นที่ ๒ \\^ คบบัณฑิต C คนทั่วไปมักเข้าใจว่า ผู้ที่เรืยนหนังสือจบได้ปริญญามัน คือ บัณฑิต ความจริงนั่นเป็นเพยงบัณฑิตทางโลกเท่านั้นบังไม่ใช่บัณฑิต ที่แท้จริง เพราะผู้ที่ได้รับปริญญาแล้ว ถ้าความประพฤติไม่คื อาจไปท่าผิดติดคุกติดตารางได้ แต่บัณฑิตที่แท้จริงย่อมเป็นผู้ ตั้งใจละชั่ว ประพฤติชอบ ประกอบแต่ความติ ความถูกด้อง ความสุจริต ลามารถป้องกันตนใหพ้นจากคุกตะราง หริอแม้ กระทั่งจากนรกได้ บัณฑิตที่แท้จริง จึงต้องเป็นคนที่มืวินิจฉัยถูกต้อง รู้ว่าอะไร ถูก-ผิด ติ-ชั่ว บุญ-บาป ควร-ไม่ควรท่า ท่าให้ผู้อื่นมืความเห็นถูก ยึดถือค่านิยมที่ถูกต้อง สามารถดำเนินขวิดอยู่ด้วยปัญญา .สาเหตุที่ท่าให้เป็นบัณฑิต เพราะใจมีสมาธิตั้งนั่น ใจผ่องใส นันใคขั้นทั๋ B คบบัณฑิต «(ท

ใจปลอดโปร่ง เหมาะแก่การนำไปคิด ทำ ให้เกิดแต่ความสุข ไม่มืความคับแค้น ไม่เดือดร้อน ไม่ทุกข์ ไม่ทุรนทุราย ในที่สุด ก็ล่งผลให้คิดพูดทำแต่ลิ่งดื ๆ บัณฑิตที่แท้จริงอาจเป็นใครก็ไค้ อาจจะอ่านหนังสือไม่ออก เขืยนหนังสือไม่ไค้ หรืออาจเป็นผู้มีการศึกษาสูง หรืออาจเป็น ญาติของเรา ฯลฯ ก็ย่อมไค้ทั้งนั้น ขอเพืยงท่านผู้นั้นเป็นผู้ที่คิดดื พดดื และทำดื คิดดื ดือ คิดให้ทาน คิดให้อภัยอยู่เสมอ ไม่คิดผูกพยาบาท คิดเห็นถูกต้องดามความเป็นจริง เช่น เห็นว่าบุญบาปมีจริง พ่อ แม่มีพระคุณจริง พูดดื ดือ พูดคำจริง พูดคาสมานไมตริ พูดคำมีประใยซน พูดต้วยจิต\"ท\"ีม่่รปะรกะกออบบดต้ววยยเเมตตตตาาแลละะพ^ูดถ-^ูกต้องตามกาลเทศะ ทำ ดื ดือ มีเมตตากรุณา ประกอบสัมมาอาชืวะ ทำ บุญให้ ทาน รักษาศีล ทำ สมาธิภาวนาอย่างสมาเสมอ เพราะฉะนัน \"บัณฑิตที่แท้จริงนัน มิใช่เพืยงผู้มีปริญญา แต่ ดือผู้ที่อุดมค้วยศีล สมาธิ ปัญญา ลามารถดำเนินชืวิตที่ดืงาม และสร้างวินิจฉัยรู้ผิดชอบชั่วดืให้แก่ทุกคนที่อยู่ใกล้ หริอใครๆ ที่พบเห็นไค้\" ®<r เปิดไปอ่านความลฺา)

4^ & \"ไp ๑, Vneseo ensiformis var. bicolor

—บันไ-ดขน-ที่ ๓ —0 บชาบคคลควรบ'อ'า งานยากที่สุดในโลก คืองานปลูกฝังความคิดเห็นถูก เพราะ ฉะนั้น ใครลอนความเห็นถูกให้ จงกราบไหว้บูชาจนกว่าจะตาย จากกัน เราไม่คบคนพาล เพื่อป้องกันความเห็นผิด เราคบบัณฑิต เพื่อปลูกความเห็นถูกให้เกิดขึ้น และเราประคองความเห็นถูกไม่ ให้อับเฉาลงด้วยการบูชาบุคคลที่ควรบูชา บุคคลที่ควรบูชา คือ บุคคลที่มืคุณความดีควรค่าแก่การ ระลึกนึกถึงได้ ยึดเปีนแบบอย่างในการปฏิบัติตาม และสอนให้ เข้าไจเรื่องเหล่านี้ได้ ได้แก่ ๑. ทานดีจริง ควรทำ ๒. การลงเคราะห้ดีจริง ควรทำ ๓. การบูชาบุคคลที่มืคุณธรรม ควรทำ ฆันใmนทิ่ :บขาบุคคลควรบูชา acr ^ว่^^^

CET. ทำ ดีได้ดื ทำ ฃัวได้ชัวจริง ๕. โลกนี้มีที่มา ๖. โลกหน้ามืที่ไป cy. แม่มีพระคุณ CS. พ่อมีพระคุณ ๙. นรก - ลวรรคมีจริง ๑๐. พระอรหันตผู้หมดกิเลลแล้ว มีจริง เพราะนี่คือ ความจริงของโลกและชืวิตที่รู้ได้ยากกว่าการ ทำ มาหากิน บุคคลที่ทำเช่นนี้ได้ ย่อมเป็นผู้มีคืล สมาธิ ปัญญาสูงกว่า เรา ได้แก่ พระสัมมาลัมทุทธเจ้า. พระสงฆ์ผู้ทรงศีล, พระมหา กษัตริย์ผู้ตังอยู่ในทศพิธราชธรรม, บิดามารดาหรือญาติผู้ใหญ่ที่ มีความประพฤติดี, ครูอาจารย์ที่มีความรู้ความสามารถและ ความประพฤติดี,ผู้บังคับบัญชาที่มีความประพฤติดีตั้งอยู่ในธรรม ผลชองการบูชาบุคคลที่ควรบูชาทำให้เกิดฤทธได้เพราะการ บูชาท่านผู้สูงด้วยคุณธรรมเหล่านี้ ย่อมทำให้เรานึกคิดในทางที่ดี ไม่ตกลงในความคิดชั่ว เป็นผลให้ใจผ่องใสตลอดเวลา ®<ร ฟ็คไปอ่านควานรJTI

เกิดกำลังใจที่จะทำความดีตามท่าน (ฉันทะ) เกิดวิริยะที่จะทุ่มเทเรี่ยวแรงโดยไม่กลัวความเหนื่อยยาก เกิดจิตตะ ความปีใจจดจ่อ ไมทอถอยทอดรุระ ทิ้งไป กลางคัน เกิดวิมังสา สามารถพัฒนาปรับปรงแก้ไขตัวเองให้ดีขึ้นกว่า เดีมหลายเท่า ยันไดขั้นฑื่ ๓ ; บูชาบุคคลควรบซา ร)๙ ^\\ \" ะ^

,cVd, รองเท้านารึปิกแนลงปอ, รองเท้านารีลุฃะกล Paphiopedllum Sukhakulii Schoser & Senghas

บันไดขั้นที่ cr \\^ .ไ 5 อยู่ในถินทีเหมาะสม ต้นโพธต้นไทร ถ้าปลูกในที่ดินดี ยอมลามารถโตได้เรนโอบๆ สูงไต้ ๑๐-๒๐ วา แด่ถ้านำไปปลูกในกระถาง จะโตไต้แค่เป็นบอนไซ กลายเป็นไม้แคระไป แม้จะปลูกไปเป็นร้อยปีแล้ว ก็สูงไต้แค่คืบ คนเราก็เช่นกัน แม้จะมืความรู้ดี ความลามารถดี มีปัญญา มาก แด่ถ้าไปอยู่ในทำเลทุรกันดาร ไม่มีใครลนับลนุน ถึงจะเก่ง แค่ไหน ก็ทำ อะไรไม่ไต้เหมือนกัน พระพทธศาสนาสอนให้เรารู้มานานแล้วว่า สิ่งแวดล้อมมีผล ด่อความถ้าวหน้าของคนเรา และสิ่งแวดล้อมที่เหมาะลมแก่การ พัฒนาจิตใจ ไม่เป็นพิษเป็นภัยต่อสุขภาพกาย สนับลนุนให้เกิด ความถ้าวหน้าในการประกอบอาชีพให้เจริญถ้าวหน้าโดยง่าย และเหมาะต่อการลั่งสมคุณงามความดี พระพุทธองค์เรียกว่า ปฏิรูปเพส บันไ?!ขั้นที่ C: อย่ในถิ่นที่เหรjnrสม ba ^ --^ - -ว่ว

ลักษณะของปฏิรูปเทล คือ ๑. อาวาสเป็นที่สบาย หมายถึง เป็นที่ที่มืสภาพภูมิศาลดร ดี เช่น ถ้าเป็นบ้าน ก็ต้องให้มิต้นไม้ร่มรื่น นํ้าไฟสะดวก ถ้าเป็นโรงเรียน ก็ต้องมิสุขลักษณะดี มิอากาศ ถ่ายเทสะดวก ไม่มิเสียงอึกทึก มิบริเวณกว้างขวาง มิสนามถึฬา ถ้าเป็นที่ตั้งร้านค้า ก็ต้องเป็นบริเวณที่ อยู่ในย่านชุมชน ถ้าเป็นจังหวัดหริอภาค ก็ต้องเป็น บริเวณที่สภาพภูมิศาลดร์ดี เช่น ไม่หนาวเกินไป ไม่ ร้อนเกินไป ๒. อาหารเป็นที่สบาย หมายถึง เป็นบริเวณที่จัดหาอาหาร ไต้สะดวก เช่น อยู่ใกล้ดลาด หริอบริเวณที่มิ เกษดรกรรม สามารถผลิดอาหารไต้เองอย่างพอเพืยง ๓. บุคคลเป็นที่สบาย หมายถึง บริเวณที่อยู่นั้น ต้องไม่มิ นักเลง อันธพาล โจรผู้ร้ายไม่ชุกชุม คนส่วนใหญ่ใน ละแวกนั้น เป็นคนดี มิศืลธรรม มิวินัย ใฝ่ความก้าวหบ้า GT. ธรรมเป็นที่สบาย หมายถึง ความดีงาม ความเหมาะ สมใน ๒ ลักษณะคือ • ในทางโลก หมายถึง ในถิ่นนั้นมิโรงเรียน สถาน ศึกษาลำหรับให้ความรู้ไต้อย่างดี ดลอดจนมิ หลักการปกครองที่ดีอึกต้วย ๒๒ ฟ็ดไปอ่านควาฆสุไเ C

9 ในทางธรรม หมายถึง ในถิ่นนั้นรพระภิกษุ หรือ ฆราวาสผู้รู้ธรรมเป็นบัณฑิต สามารถให้การ อบรมสั่งสอนศีลธรรมได้อย่างดี หรือถิ่นที่ พระพทธศาลนาแผ่ไปถึง สามารถให้ทาน รักษาศีล ฟังเทศน์ ทำ สมาธิภาวนาได้เป็นนิจ บันไดขั้นที่ ar i อยู่ในถนmหมาะสม ๒๓ ^

<#%> c?- Heliconia spp.

บันไดขั้นที่ ๕ -0 มีบุญวาสนามาก่อน ผลไม้ที่คัดพันธุมาดืแล้ว รสโอชะของมันย่อมติดมาในเมล็ด เมื่อนำมาปลูก ต้นของมันย่อมให้ผลที่มีรสอร่อยทันทืโดยไม่ต้อง ทะนุบำรุงมาก ฉันใด คนเราก็เช่นกัน ถ้าในอดีตชาติละลมความดืมามากพอ เกิด มาชาตินี้ ก็เป็นคนใจใส ใจสะอาดบริสุทธิ้มาตั้งแต่เด็ก มืสติ ปัญญามาตั้งแต่กำเนิด รูปร่างสง่างาม ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ รโอกาสสร้างความดีไต้มากกว่าคนทั้งหลาย ฉันนั้น บุญคืออะไร ? บุญ แปลว่า ความดี, ความสุข หมายถึง สิ่งซึ่งเกิดขึ้นในจิตใจแล้ว ทำ ให้จิตใจใสสะอาด ปราศจากความเศร้าหมองขุ่นมัว ก้าวขึ้นลู่ภูมิที่ดี บันไทขั้นyi ±: บึบุญวาสนามาก่อน k!<t

\"บุญ\" แม้จะมองไม่เห็น แต่ก็สามารถรู้อาการของบุญได้ คือเมือเกิดขึ้นแล้วทำให้จิตใจซุ่มขืนเป็นสุข เพราะบุญช่วย ปรับปรุงใจให้มืคุณภาพดืขึ้น คือ ตั้งมั่นใม่หวั่นไหว บริสุทธิ้ผุดผ่อง สว่างไสว ปลอดโปร่ง ไม่อึดอัด อิ่มเอิบ ไม่กระสับกระส่าย ซุ่มขื่นเบาสบาย ผ่อนคลายไม่ตึงเครียด นุ่มนวลควรแก่ การงาน และบุญที่เกิดขึ้นนี้ยังสามารถสะสมไว้ในใจได้อึกด้วย บุญ แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ บุญช่วงไกล และบุญ ช่วงใกล้ ๑. บุญช่วงไกล คือ คุณความดืที่เราทำจากภพชาติก่อน มาจนถึงวันคลอดจากมารดา ซึ่งส่งผลให้เราพบ ความสะดวกสบายต่างๆ ตั้งแต่วันแรกเกิดเป็นด้นมา ทำ ให้เรามืโอกาสสร้างความติใด้มากกว่าคนทั้งหลาย ล้าไม่ประมาท หมั่นสะสมความดืในปัจจุบันเพิ่มขึ้นอึก ก็จะเจริญก้าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว แต่ล้าประมาทไม่ เอาใจใส่ในการทำความติในปัจจุบัน ก็เปรียบเสมือน ด้นไม้ยอดด้วน ยากที่จะเจริญเติบโตต่อไป ๒. บุญช่วงใกล้ คือ คุณความดืที่เราทำในภพชาติปัจจุบัน ตังแต่แรกคลอดจนถึงวันนี้ เช่น ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน ขยันหมั่นเพืยร คบคนดีเป็นมิตร ปีกใจให้ผ่องใสตั้ง แต่เด็ก ความคิด คำ พด การทำงาน ย่อมดีกว่า ■vl ๒๖ เปิฬปอ่านfทามลุ'รเ C

บุคคลอื่นในวัยเดียวกัน เมื่อเติบโตขนย่อมก้าวหน้า มากกว่าผู้อื่น การทำความดีทุกอย่างให้ผลเป็นบุญทั้งสิ้น เพี่อให้ง่าย ต่อการจดจำ พระลัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัลการทำบุญไว้โดยย่อ ๓ ประการ คือ ทำ ทาน รักษาศืล เจริญภาวนา บันไดขั้นทึ่ dr ; มีบุญวาสนามาก่อน tort

sepioiJDinoujn sisdouol C^(D d- (ว -O ร'-^

บันไดขั้นที่ ๖ 0^ ตังตนไว้ฃ'อบ พ่อค้ารวยได้ เพราะได้ทำเลดื ทุนดี และการบริหารที่ดี ชาวสวนรวยได้ เพราะได้ดีนดี พันธุพืชดี และบริหารงานดี ลาธุชน ได้ปฏิรูปเทลดี มีบุญมาแต่ปางก่อน แต่ไม่ทำความ ดีต่อ ในที่สุด บุญก็หมดเลียก่อน สิ่งแวดล้อมไม่อำนวยเลียก่อน และเจ็บดายเลียก่อน เพราะฉะนั้น แทนที่จะกินบุญเก่าจนกระทั่งหมด ก็ตอง ขวนขวายหาบุญใหม่ เพิ่มขึ้นด้วย วิธืตั้งตนไว้ชอบ คือ ตั้งเป้าหมายชีวิตไว้ ๓ ระดับ เป้าหมายบนดิน คือตั้งเป้าหมายว่าชาตินืจะด้องตังตัวดัง ฐานะด้วยความสุจริตให้ได้ เป้าหมายบนฟ้าคือตั้งเป้าหมายว่าจะต้องตั้งใจลร้างบุญกคล ให้เต็มที่เป็นทุนเป็นเสบียงในภพชาติต่อไป เพราะว่าสัตวโลกทัง มันใพขั้นทั๋ 0: ดั้งตนไว้ขอบ ๒๙

หลายตายแล้วไม่สูญ ตราบใดทีกิเลสยังไม่หมดก็ยังต้องเกิด อยู่รรไป เป้าหมายเหนือฟ้า คือ ตั้งเป้าหมายว่าตราบใดที่มีชืวิตจะ ปฎิบัตธรรมทุกรูปแบบเพื่อปราบกิเลสไปนิพพานตามพระลัมมๅ. ล้มพุทธเจ้าไปให้ไต้ ใครที'ตังตนไว้ในการทำเป้าหมายชึวิตทั้ง ๓ ระดับนี้ตลอด ชืวิต เราเรืยกว่า การตั้งตนไว้ชอบ vl ๓0 เปิฬปอ่านความลุข

r7f\\^(O c)^ ร^' โมกลา Wrightia religiosa Benth, & Hook.f,

บันไดฃั้'นที่ ต' i —จ เป็นพหสต ความทุกข์และความเสื่อมต่างๆ มีอย่รอบตัวเราตังแต่เกิด และเราก็ไม่ชอบมัน แต่เราชอบและต้องการความสุข ความเจริญ ซึ่งจะไต้มาก็ด้วยปัญญา ถ้าชาดปัญญา สุขภาพร่างกายก็เลือม ทรัพย์ก็เสือม ญาติ ก็เสื่อม ความทุกข์ก็ประดังมารอบทิศ ถ้ามีปัญญา ท่ามกลางความล้มเหลว กลับพบความสำเร็จ ท่ามกลางความทุกข์ กลับไต้ความสุข ท่ามกลางความยากแค้น กลับรารวย ท่ามกลางศัตรู กลับไต้มิตร ท่ามกลางความเสื่อม กลับเจริญ ทุกคนจึงแลวงหาปัญญา ปัญญาจะไต้จากความเป็นผู้ไต้ยินไต้ฟังมาก เรียกว่า พหูสูต %บนไดขบr rr ะ เป็นพหูสูต mm

'(ว d- c ๘^ นัวผับ, นิลอุบล Nymphaea cyaneo Roxb.

บันไดขั้นที่ C? มีสิลป: '(ว เมื่อเราปลูกมะม่วง จะอิ่มหรือจะรวย ล้วนอยู่ที่การออกผล ของมัน ในช่วงแรกที่ปลูก มะม่วงจะมีเพียงลำต้น กิ่ง และใบ เป็น เพียงระยะเตรืยมก่อนให้ผล ความรู้ทุกอย่างหรือความเป็นพหูสูตของคนเราก็เช่นกัน เป็นเพียงช่วงเตรืยมตัวก่อนจะใช้งานเก่านั้น ความรู้จะช่วยเราไต้จริงต่อเมื่อเรามีศิลปะในการนำความรู้ ออกมาใช้ให้เกิดประโยฃน์ต่อตนเองและล่วนรวมเก่านัน คำ ว่า '•ศิลปะ\" ในเนื้อแท้ของพระพุทธศาสนาหมายถึง \"ฉลาดทำ'' คนเรานั้น ถึงแม้จะมีความรู้ เป็นพหูสูตมากขนาดไหนก็ตาม แต่ล้าไม่ฉลาดทำ ก็ยากจะประลบความลำเร็จ บ้นใดขั้นที่ CS: 11ศลปะ aiiir -■o

เข้าทำนองความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด คือเป็นผู้มืความรู้ แต่ยังไม่มีดวามลามารถ ความฉลาดทำ เกิดขึ้นจากความตั้งใจจริง คนที่จะมีศิลปะได้นั้น มีคุณลมบ้ต คือ ๑. ด้องศรัทธาในสิ่งที่ตัวเองจะทำ ๒. ต้องเป็นผู้ไม่มีโรคภัยเมียดเบียน ๓. ต้องไม่โอ้อวด เพราะจะปีดกั้นความรู้อี่น cr. ต้องไม่เกียจคร้าน หมั่นเพิยรแกฝน ๕:. ต้องมีปัญญา นั่นคือ ต้องไต้ครูอาจารย์ที่ฉลาดลอน และต้องช่างลังเกดพินิจพิจารณา ข้อเตือนใจคือ อย่าเอาแต่จับผิดผู้อื่น มิฉะนั้น เราจะกลาย เป็น \"ศิลปีนนักติ\" คือตืแด'ตืผู้อื่นเรื่อยไป ติเอาไว้มากจนไม่กล้า แลดงปีมีอ เพราะกลัวเขา จะติคืนบ้าง เลยกลายเป็นคนไม่มีผล งาน และทำอะไรไม่เป็น ๓๖ 1ปิ«ไปอ่านดวามสุข C

4^ ๙ ลั่นทมเหลือง Plumeria acutifc^la Poir.

บันไดขั้นที่ ๙ มีวินัย ดาบคม แต่ไม่มีฝัก ระเบิดอันตราย แต่ไม่มีสลักนิรภัย ลวนลามารถให้คุณและโทษภับผู้ใช้ได้เท่าๆ กันเพราะปราศ จากการควบคุม ความรู้ และความลามารถ คือ พหูสูตกับศิลปะ ก็เช่นกัน สองอย่างนี้ ใช้ฟาดฟันอุปสรรคทุกชนิด และสรรค์สร้าง สรรพสิ่งได้ดังใจ แต่ถ้าไม่มีวินัยกากับ ก็ให้ผลเดือดร้อน เสืยหายอย่างเดืยว เพราะเขาแยกไม่ออกว่า สิ่งใดควรทำหรือไม่ สิ่งใดควร พูดหรือไม่ สิ่งใดควรมองหรือไม่ ฯลา แล้วหลงไปทำสิ่งที่ไม่ควรนั้นเช้า ความรู้ความสามารถ ของเขาจะย้อนกลับมาทำร้ายดัวเอง การปีกวินัย จึงควรปีกผ่านการรักษาคืล ๕ ให้เป็นปกติ และการปฏิบัติตามกฎระเบิยบของหมู่คณะ และกฎหมายบ้านเมีอง บันไดขั้นทํ่ ๙: บวนย 01๙

'(ว 4js<o Unknown plant

บันไดฃนที่ ๑๐ I^ มีวาจาสภาษิต การทำความดืให้ได้เต็มที่ เราจำเปีนต้อง ๑. หาความรู้ไล่ใจ (พหูสูต) ๒. ปีกความลามารถไล่ตัว (ศิลปะ) ๓. มืวินัยเข้ากำกับความรู้ความลามารถนั้น ความลามารถทางกาย เรืยกว่า |1มีอ แต่มึความลามารถอึกประการหนึ่งทางปาก เรียกว่า ^ปาก ทากไครปึกไต้อย่างดืแล้ว ย่อมสามารถฝากความดืไห้ซาว โลกเห็นได้มากกว่าปึมือเลึยอึก ตังเช่น พระพุทธศาลนาแพร่หลายขึ้นมาได้ เพราะปึปาก แท้ๆ เป็นปึปากที่ลร้างคนไห้เป็นคนดื ปึปากชนิดนี้ เรียกว่า วาจาสุภาษิต บันใดฃั้นที่ 0๐ ะ มีวาจาสุภาษต oca 0

4^■'t) a -p Memora schomburgkii Miers

บันไดฃั้นทิ่ ๑๑ เลี้ยงดูบิดามารดา ต้นไม้ที่ดูดนำ ดูดป๋ย อากาศ เข้าไปสะลมไว้ในต้นจน สมบูรณ์ แต่ถึงฤดูแล้วยังไม่ออกดอก ออกผล ก็ต้องโค่นทิง คนที่สะสมความรู้ความสามารถไว้ ว แต่ไม่ยอม ทำ ความดี ก็หนักแผ่นดิน อยู่ร่วมกันไม่ได้ การทำความดี ถ้าจะให้รัดกุม ไม่บีช่องโหว่ ต้องเริมจาก บุคคลใกล้ตัว ผู้ที่ใกล้ตัวเราที่สด คือ บิดามารดา ทองคำแท้หริอไม่ โดนไฟก็รู้ แช่กรดก็รู้ คนดีแท้หริอไม่ ให้ดูตรงที่เลี้ยงพ่อแม่หริอไม่ ถ้าไม่เลี้ยง แสดงว่าดีไม่จริง เป็นพวกทองซุบ ทองเก็ ถ้าดีจริงต้องเลี้ยงพ่อแม่ บันไ(ทข้นที่ SJSl . เลี้ยงตูบคามารคา gm

การแทนคุณพ่อแม่ให้หมดลิ้นนั้น ไม่ใช่ของง่าย เพราะแม้ จะเอาพ่อนั่งบนปาซ้าย แม่นั่งบนปาขวา ให้อาบนํ้า ถ่ายหนัก-เบา อยู่ตลอด ๑๐๐ ปี ก็ยังแทนคุณไม่หมด เราจงต้องศกษาวา เลยงพ่อแม่อย่างไรให้ดืทืสุด ตอบแทบ พระคุณท่านไต้มากที่สุด ซึ่งเรื่องนี้พระทุทฐศาสนามืคำตอบ —1 ฟ็ทไปอ่า'นค'}าฆรฺข

cVd, >9 Zygosepolum latxosum

บันไดฃั้นที่ ๑๒ เลียงดูบุตร วันหนึ่งเราต้องแก' ต้องตาย สิ่งที่อยากไต้ด้วยกันทุกคน คือ ความปีติ ปลื้มใจ ไว้หล่อเลี้ยงใจให้ลดชื่น ความปลื้มปีติจะเกิดไต้ ก็ต่อเมื่อไต้ผลแห่งความติ หรือผล งานติๆ ที่ตัวทำไว้ ยิ่งผลงานติมากเท่าไร ยิ่งชื่นใจมากเท่านั้น แล้วอายุจะยืนยาว สุฃภาพจะแข็งแรง ลุดยอดผลงานฃองนักปฎบัติธรรม คือ การกำจัดกิเลส ในตัว ลดยอดผลงานของชาวโลก คือ ลกหลานเปีนคนติ บันไเ«ขั้นทั๋ «111 : เสิยงคบุตร 0โ« --- -ำว

n^(9r^ c)^ .p Oncidium lanceanum Undl.

บันไดฃั้นทื่ ๑๓ เลียงดูภรรยา (สามี) ลามื แปลว่า นาย, ผู้เลี้ยง, ผัว ภรรยา แปลว่า คนควรเลี้ยง, เมีย คำ ทั้งสองนี้ เป็นคำที่อมความหมายในทางดี และเป็นคำ คู่กัน ผู้ชายที่จะได้ชื่อว่าสามี ก็เพราะเลี้ยงดูภรรยา ผู้หญิงที่จะได้นามว่า ภรรยา ก็เพราะทำตัวเป็นคนน่าเลี้ยง น้นไดพ้ทีflol: กรรยา(สาม) (Ctf9r

o- ปาหน้นข้าง Gonlotholamus gigonteus Hook. f. & Th.

บันไดฃนที่ ๑ร: ทำ งานไมให้คั่งค้าง เกิดเป็นคนก็มืหน้าที่ติดตัวมาทันที โดยหลีกเลียงไม่ได้ ตัง แต่หน้าที่ลูก, พี่, น้อง, นักเรืยน, ประชาชน, ผัว, เมีย, พ่อ, แม่- พระ, นาย, บ่าว ฯลฯ แต่ละหน้าที่ล้วนมีงานต้องทำทั้งนั้น ล้าไม่ทำก็เป็นคน บกพร่องหน้าที่ หรือลงมีอทำแล้ว แต่ทำไม่เลร็จ หรือเสร็จแต่ไม่ เติมรืเมีอ หรือเติม'ฝิมือแต่เป็นงานเลียหายทุจริต ก็ไม่ดีเป็น อัปมงคลทั้งนั้น เราจึงต้องศึกษาเรื่องการทำงานให้ครบทุกกระบว'นการ เพี่อสอบทาน ตนเองว่า เราเป็นคนทำงานประเภทไหน แล้ว แก้ไขเลีย คือ ต้องท่าให้เสร็จ และ ต้องท่าให้ดี บนพ้นท or: ทำงานไม่คั่งค้าง ±9 ----- —'จ

ci^ vP Mormodes buccinator

บันไดขั้นที่ ๑(ร: การให้ทาน ทำ ไมจึงต้อง \"ให้ทาน\" ก่อนอย่างอึน เพราะเหตุ ร: ประการ ๑. ทานเป็นบันไดขั้นแรกที่จะนำขี้นสู่เทวโลก เพราะเป็น ความดีที่ทำไต้ง่าย ๒. ทานเป็นเลบืยงติดตัวไปโดยปราศจากอันตราย และไห้ ผลคือความละดวกสบาย แก่ผู้ยังเวียนว่ายตายเกิด ในวัฏลงสาร ทั้งชาตินี้(ผลทานบัจจุบัน) และชาติหน้า ๓. ทานเป็นทางสายตรงที่จะนำไปสู่พระนิพพาน เพราะ อุดหนุนให้สร้างบารมือย่างอื่นไต้ง่าย <ร:. เป็นเหตุอย่างประเสริฐที่จะยังผลให้พ้นจากวัฏสงสาร Orบันไ?!ขั้นที «)±: การใฟ้ทาน *๓ ว