Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore DistanceLearning_CCT

DistanceLearning_CCT

Published by sasigarn.drvc, 2020-04-29 09:46:51

Description: แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบทางไกล
Distance Learning Guideline

Search

Read the Text Version

แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบทางไกล Distance Learning Guideline โรงเรียนสงั กดั มูลนิธแิ หง่ สภาคริสตจกั รในประเทศไทย ดร.กิตติพนั ธ์ อุดมเศรษฐ์ แผนกพฒั นาวิชาชพี และสง่ เสรมิ คณุ ภาพครแู ละบคุ ลากร โรงเรียนปรนิ ส์รอยแยลส์วทิ ยาลัย

1 การจัดการเรียนการสอน แบบทางไกลคอื อะไร ?

แหล่งเรยี นรู้ ผู้เรียนอยไู่ กลจากแหล่งเรยี นรู้ ใช้การปฏสิ ัมพันธแ์ บบทางเดียว/สองทาง เนอ้ื หา ผสู้ อน ผเู้ รยี น สถานที่ แหล่ง ขอ้ มูล การศึกษาทางไกล เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ - ผูเ้ รยี นไม่สามารถไปศกึ ษาไดจ้ ากแหล่งเรียนรู้ - ตอบสนองความต้องการของผู้เรยี นโดยไมม่ ขี ้อจากัดในเร่ืองสถานท่ี และเวลา - เนน้ การบรกิ ารทางการศึกษาแก่ผูเ้ รียนท่ตี ้องการศึกษาเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง - มีการใชเ้ ทคโนโลยเี ขา้ มาชว่ ยในการเรยี นการสอน - ข้นึ อย่กู บั ความต้องการ/ความพรอ้ ม/ขอ้ จากัด ของผู้เรยี นแตล่ ะคน

รปู แบบการเรยี นรู้ ทเี่ กี่ยวข้องกับการเรียนการสอนแบบทางไกล - การเรียนรทู้ บี่ ้าน (Learn at Home) - การเรยี นการสอนในระบบออนไลน์ (Online Learning) - การเรยี นการสอนผา่ นเว็บ (Web-based Learning) - การเรียนการสอนผ่านสื่อ/อปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) - การเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning)

OL OL/F2F OL/F2F OL/F2F F2F 100% 75%-25% 50%-50% 25%-75% 100%

การเรียนการสอนออนไลน์ ผา่ นระบบอินเทอร์เน็ต Online learning

คาเตือน : ***อนิ เทอรเ์ น็ตและ/หรือสอ่ื การสอนอิเล็กทรอนกิ ส์ ไม่ไดเ้ ป็นคาตอบเดียว ของการเรียนรู้ของผเู้ รียน ***อยา่ ใหก้ ารไมไ่ ด้เขา้ ถึงอนิ เทอร์เน็ตและ/หรือสอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ กลายเป็นข้อจากดั ในการเรียนรู้ของผเู้ รยี น ***คานึงถงึ เวลาและโอกาสที่ผ้เู รียนจะต้องเรียนรู้ผา่ นหน้าจอ

ความหมาย การเรยี นการสอนแบบออนไลน์ หมายถึง การท่ีครูใช้ช่องทาง และเครื่องมือในระบบออนไลน์หรือระบบอินเทอร์เน็ตในการ Online สอน โดยทีค่ รผู สู้ อนจะมีบทบาทท่สี าคญั ดงั น้ี Learning 1. การนาเสนอเนื้อหาหรอื การส่งมอบเน้อื หา (Content Delivery) 2. การชแ้ี จงและมอบหมายกิจกรรม (Activity Assignment) 3. การจดั การช้นั เรยี น (Class Management) 4. ปฏิสมั พันธ์และการติดต่อสอื่ สาร (Interaction & Communication) 5. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของผู้เรยี น (Evaluate) Kittipun Udomseth : 2020

2 การเรียนการสอน ผ่านระบบออนไลน์ มีแบบใดบ้าง ?

Platform สาหรับระบบการเรยี นการสอนออนไลน์ การเลอื กใช้ Platform สาหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ข้ึนอยูก่ ับ 1. ศกั ยภาพและความพร้อมของครูผู้สอน 2. ศกั ยภาพและความพร้อมของผู้เรยี น 3. ความสามารถในการออกแบบการสอนของครู 4. ประสทิ ธิภาพของเครื่องมอื ที่ใช้ ทางเลือกแรกของครกู ็คือ เลอื กวา่ จะสอนแบบใด? ไมม่ ีชน้ั เรียน (no-class) มชี ้นั เรยี น (class) Kittipun Udomseth : 2020

ไมม่ ชี น้ั เรยี น (no-class) การสอนที่ - ครูไมไ่ ด้หวังผลในการควบคุมชัน้ เรยี น - ไมห่ วงั ผลการประเมินในแบบออนไลน์ - ครหู วงั เพยี งแตใ่ ห้ผเู้ รียนได้เรยี นรู้เน้ือหา/เขา้ ถึงเนื้อหาท่ีครตู อ้ งการนาเสนอในชว่ งเวลาทีจ่ าเป็น - มีการมอบหมายงานบางส่วน ผ้เู รยี นปฏิบัตแิ ละส่งงานตามชอ่ งทางและระยะเวลาที่ครกู าหนด - ผู้เรยี นอาจติดตอ่ สอบถาม ขอคาชี้แจงหรอื ขอปรกึ ษาไดต้ ามช่องทางและเวลาท่คี รูกาหนด - ไม่เนน้ การประเมนิ ทนี่ าผลมาใชเ้ ป็นผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของผูเ้ รียน เปน็ วิธีการอย่างง่าย - เพียงครูอาศยั ช่องทางสื่อสงั คมออนไลนท์ ใี่ ช้กนั ทัว่ ไป (ครูใช้เปน็ ) - ไม่ตอ้ งอาศยั Platform ทีซ่ บั ซ้อนมากนกั - เหมาะสาหรบั ครูผู้สอนท่ีไมค่ ่อยเชยี่ วชาญด้านเทคโนโลยี - ผู้สอนกับผู้เรยี นยงั มโี อกาสมาพบหน้ากนั ในช้ันเรยี น ****อาจเรียกได้วา่ เป็นการ “เรยี นเล่น ๆ” กอ่ นเปิดเทอมของระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน**** Kittipun Udomseth : 2020

มชี ้ันเรียน (class) การสอนที่ - การสอนแบบ “เอาจรงิ ” - ผูส้ อนหวังผลในการประเมนิ เพ่อื ตดั สนิ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของผูเ้ รียน - อาศยั ระบบโปรแกรมทีท่ างานแบบออนไลนผ์ า่ นอนิ เทอร์เนต็ - ผเู้ รียนจะตอ้ งลงทะเบยี นเขา้ เรยี นและทากิจกรรมผ่านทางระบบและช่องทางที่ผูส้ อนกาหนด การเรียนประกอบไปด้วย การนาเสนอเนื้อหา/เขา้ ถึงเนอื้ หา/การทากจิ กรรม/การมอบหมายงานปฏบิ ตั ิ/การส่งงาน ผา่ นระบบของชน้ั เรียนหรือชอ่ งทางอื่น ๆ ในระยะเวลาทเ่ี รียนออนไลน์ ครผู ู้สอนสามารถติดตามผ้เู รยี น และผ้เู รยี นสามารถตดิ ต่อสอบถามหรอื ขอคาช้ีแจงจากผสู้ อนไดต้ ามช่องทางและเวลาที่กาหนด วธิ กี ารนเี้ หมาะสาหรบั ครูผู้สอนที่คอ่ นขา้ งมคี วามพร้อมในการจัดการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ และการเรยี นการสอนที่ผู้สอนกับผเู้ รียนมโี อกาสนอ้ ยทจี่ ะมาพบหน้ากันอีกในชัน้ เรียน จึงต้องมกี ารประเมินผล การเรียนผ่านทางระบบออนไลน์ไปเลย เชน่ ระบบการเรยี นของมหาวทิ ยาลัย (ในปัจจุบนั ) Kittipun Udomseth : 2020

3 ข้อจากดั ของการเรียนการสอน ผ่านระบบออนไลน์ ?

ข้อจากดั ของการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ ข้อจากดั 1. ครไู มส่ ามารถควบคุมและจดั การชนั้ เรียนไดเ้ ตม็ ที่เหมอื นการสอนแบบเผชญิ หน้าในชั้นเรียน 2. อาศัยความพรอ้ มและความรับผดิ ชอบตอ่ การเรยี นของผ้เู รียน 3. มีความยดื หยนุ่ เรอื่ งเวลา และการตอบสนองของผู้เรียน 4. ความน่าเชื่อถือตอ่ ผลการประเมนิ การเรียนรู้ของผู้เรียนผ่านเครือ่ งมือตา่ ง ๆ ทางระบบออนไลน์ 5. การกากับและตดิ ตามการเรยี นรู้เน้อื หาและการทากจิ กรรมทม่ี อบหมายของผู้เรยี น 6. ความเสถียรของระบบ สัญญาณอนิ เทอรเ์ นต็ และแอปพลิเคชันตา่ ง ๆ ทีน่ ามาใช้ 7. ความคลาดเคลอ่ื นของการนาเสนอข้อมูล เนื้อหาทีเ่ รียน และอาจรวมไปถึงปัญหาด้านลิขสทิ ธ์ิ 8. การจดั สรรเวลาสาหรับครูในการตอบคาถาม ขอ้ สงสยั ให้กับนกั เรยี น 9. เวลาและโอกาสท่ีผู้เรียนจะเรยี นผา่ นระบบออนไลน์ 10. การนาเสนอขอ้ มลู แหลง่ เรยี นรู้ แหลง่ ข้อมูลทีไ่ มถ่ กู ตอ้ ง ไม่เหมาะสม ที่อาจนาไปสู่ความคิดเหน็ ที่แตกต่าง และเกิดความขัดแยง้ ในสังคมหรอื กลุ่มคน *** พึงระลึกเสมอว่า โลกออนไลน์เปน็ พื้นทสี่ าธารณะ ส่ิงใด ๆ ท่ีถกู นาเสนอ มีโอกาสทจี่ ะอยู่ในนนั้ ตลอดไป *** Kittipun Udomseth : 2020

4 การเรยี นการสอน ผ่านระบบออนไลน์ เริ่มตน้ อย่างไร ?

สารวจ และ วิเคราะห์ ผู้สอน (ศกั ยภาพและความพร้อม) ผู้เรยี น (ศักยภาพ-ความพร้อม-การสนบั สนุน-เคร่อื งมอื ) หลักสตู ร (เนื้อหาท่ีเหมาะสม) ทรพั ยากรสนบั สนุนการจดั การเรียนรู้ของโรงเรียน

1. ความพรอ้ มของผู้เรียน 1.1 ด้านเคร่อื งมอื /อุปกรณ์/เทคโนโลยี/ชอ่ งทาง 1.2 โอกาส/เวลา/สภาพแวดลอ้ ม 4 1.3 การสนบั สนุน/การช่วยเหลอื จากผปู้ กครองหรอื คนทบ่ี า้ น ประเดน็ 2. ความสามารถและลกั ษณะของผ้เู รียน ที่ควร ทราบ 2.1 พืน้ ฐานความรู้ 2.2 การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง 2.3 ศกั ยภาพในการใชเ้ ครือ่ งมอื /อุปกรณ์/เทคโนโลยี 2.4 ลกั ษณะการเรยี นและพฤติกรรมการเรียนรู้ 3. เจตคตใิ นการเรยี นของผเู้ รยี น 3.1 เจตคติ 3.2 ความคาดหวงั 3.3 ความคิดเห็นของผูเ้ รยี น ใช้แบบสอบถามหรือ แบบสอบถามออนไลน์ 4. เจตคตขิ องผู้ปกครอง 4.1 เจตคติ 4.2 ความคาดหวัง 4.3 ความคิดเห็นของผ้ปู กครอง

ผู้เรียนท่ผี ่านการประเมนิ และคัดกรอง A–B C-D E-F A พร้อมทกุ อย่าง C พร้อมสว่ นใหญ.่ .แต่ E ไม่พรอ้ มส่วนใหญ่ B พรอ้ มเกอื บทกุ อยา่ ง D พร้อมบางสว่ น..แต่ F ไมพ่ รอ้ มทกุ อย่าง ผเู้ รียนกลุ่มน้ี ผเู้ รยี นกลุ่มนี้ ผู้เรียนกลุ่มน้ี จะสอนอยา่ งไร ? จะสอนอย่างไร ? จะสอนอย่างไร ?

- ทีม่ อี ยู่แล้ว/ใช้ง่าย/ตอบโจทยก์ ารใช้งาน ระบบ - มีความเสถียร/ไมซ่ ับซ้อน - ไมม่ ีค่าใชจ้ า่ ย เลือกใช้ - ทมี่ อี ยแู่ ลว้ /ใชง้ า่ ย/ตอบโจทยก์ ารใช้งาน ช่องทาง - เขา้ ถงึ งา่ ย/ปลอดภัย - มีความเป็นสว่ นตัว เคร่อื งมือ - ใช้งา่ ย/ตอบโจทยก์ ารใชง้ าน - ท่คี รใู ช้เปน็ /นกั เรียนใชเ้ ป็น - ไมม่ ีค่าใช้จา่ ย - มคี วามเสถียร/ไมซ่ บั ซอ้ น

5 การเตรียมการสาหรับ การเรยี นการสอน ผา่ นระบบออนไลน์ ต้องทาอะไรบ้าง ?

การเตรยี มตวั สาหรบั การจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ ฝา่ ยบรหิ ารสิง่ ที่ จะตอ้ งดาเนนิ การในการจัดการเรียนการสอนผา่ นระบบออนไลน์ 1. วเิ คราะหบ์ ริบท และสถานการณ์ 2. วางแผน กาหนดเป้าหมาย 3. กาหนดนโยบาย และแนวทางการปฏิบัติ 4. ประชุม ชีแ้ จง มอบหมายการปฏิบัติ 5. สนับสนุนทรพั ยากรในการปฏบิ ตั ิ 6. ติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ การปฏบิ ตั ิ

การเตรยี มตัวสาหรับการจดั การเรยี นการสอนผ่านระบบออนไลน์ ครูส่งิ ท่ี จะต้องดาเนินการกอ่ นการจดั การเรยี นการสอนผา่ นระบบออนไลน์ Study 1. ทาความเขา้ ใจกับระบบ/วิธีการ/ขอ้ จากดั ของการจดั การเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ Select 2. เลอื กเครอื่ งมือและช่องทางท่เี หมาะสมในการจัดการเรยี นการสอนผ่านระบบออนไลน์ Design 3. ออกแบบการจัดการเรยี นการสอน ผูเ้ รียน 3.1 วิเคราะหบ์ รบิ ทของการเรียนการสอน หลกั สูตร/เน้อื หา 3.2 คัดเลอื กเน้ือหา/กาหนดจุดประสงค์ สภาพแวดล้อมของการเรียน 3.3 กาหนดชน้ิ งาน/ภาระงาน/วิธกี ารวัดและประเมนิ 3.4 กาหนดกิจกรรมการเรยี นการสอน 3.5 กาหนดวธิ กี ารติดต่อส่ือสารกับผเู้ รยี น Develop 4. ผลติ ส่ือ/เอกสารการสอน Test 5. ทดสอบระบบ/เครื่องมอื /ช่องทางในระบบออนไลน์ 6. เตรียมการปฐมนิเทศ คาช้แี จง ทาความเข้าใจและขอ้ ตกลงกบั ผเู้ รียน Delivery Kittipun Udomseth : 2020

6 ครมู บี ทบาทอยา่ งไร ในการจดั การเรียนการสอน ผา่ นระบบออนไลน์ ?

สอนออนไลน์ ไมง่ ่าย...แตก่ .็ ..ไมย่ าก

บทบาท/หน้าที่สาคัญของครใู นการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ 1 การนาเสนอเนือ้ หาหรือการส่งมอบเนอื้ หา (Content Delivery) 2 การชีแ้ จงและมอบหมายกจิ กรรม (Activity Assignment) 3 การจดั การช้นั เรยี น (Class Management) 4 ปฏสิ มั พันธ์และการตดิ ตอ่ ส่ือสาร (Interaction & Communication 5 การประเมินการเรยี นรูข้ องผู้เรยี น (Evaluate) Kittipun Udomseth : 2020

1 การนาเสนอเน้ือหาหรอื การส่งมอบเนอ้ื หา (Content Delivery) การนาเสนอเนื้อหาหรอื การส่งมอบเน้ือหา (Content Delivery) เป็นการท่ีครูนาเสนอเน้ือหา ต่าง ๆ ในรายวิชาให้ผู้เรียนได้นาไปศึกษาหรือเข้าไปศึกษาผ่านสื่อ/วิธีการและช่องทางต่าง ๆ เพื่อ ทดแทนการสอนในช้ันเรยี นของครู ซงึ่ ถือเปน็ จุดเริม่ ต้นของการเรียนการสอนออนไลน์ โดยทั่วไปเน้ือหา ที่นาเสนอจะมีลกั ษณะดังนี้ 1.1 เปน็ ไฟล์ข้อมูล ไดแ้ ก่ ครูผลิตขนึ้ เองหรอื ไฟลเ์ อกสาร Word/Excel/PDF ผลติ โดยผูอ้ ่ืน ไฟล์นาเสนอด้วยโปรแกรม PowerPoint ไฟล์วีดทิ ัศน์ (Video) ไฟล์บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI) ไฟล์หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-book) เป็นต้น Kittipun Udomseth : 2020

“PowerPoint” “Video” “Word” “Excel” “e-Book” “Application” “CAI” “Website” *** ทาหนา้ ที่เปน็ สื่อในการถา่ ยทอดเนื้อหาหรอื นาส่งเนื้อหาไปยงั ผเู้ รียนทางระบบออนไลนผ์ ่านช่องทางตา่ ง ๆ ท่คี รู ได้กาหนดไว้และแจ้งใหผ้ ู้เรียนเขา้ ไปศกึ ษาในเวลาท่กี าหนด

*** ไฟล์ข้อมลู นาเสนอเนอ้ื หาทนี่ ยิ มมากท่ีสุดได้แก่ ไฟล์วีดทิ ัศน์ - งา่ ยและสะดวกต่อการทาความเขา้ ใจในเนือ้ หาของผเู้ รยี น - มีลักษณะเหมือนการบรรยายในช้นั เรียนของครู - ครทู ีบ่ รรยายเก่งจะช่วยให้ผเู้ รียนเขา้ ใจเนอื้ หาได้ดี - ไม่ควรมีแต่ภาพครูและเสยี งบรรยายของครเู พียงอยา่ งเดียว ควรแทรกขอ้ มลู อน่ื ๆ เช่น ภาพประกอบ แผนผงั แผนภมู ิ ประกอบการบรรยายจะช่วยใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจ เนื้อหาได้ดยี ่งิ ขึ้น - เวลาท่ใี ช้ในการบรรยายแต่ละเนอื้ หาขนึ้ อยูก่ ับระดับของผเู้ รยี น - ผเู้ รียนช้นั ประถมควรใช้เวลาไมเ่ กิน 15 นาที - ผเู้ รียนช้ันมัธยมอาจใช้เวลา 20-30 นาทีก็ได้ Kittipun Udomseth : 2020

การจดั ทาไฟลข์ ้อมลู การจัดทาไฟล์ข้อมลู มขี ัน้ ตอนดังน้ี 1. วิเคราะห์มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรู้ 2. รวบรวมเนือ้ หา คัดเลือกเนื้อหา เรียบเรยี งและ/หรอื บูรณาการเนอื้ หาทีเ่ หน็ ว่า เป็นเนื้อหาทผ่ี เู้ รียน สมควรทจ่ี ะไดศ้ ึกษาและสอดคล้องกบั มาตรฐาน/ตัวช้วี ัดตามหลกั สตู รรายวชิ า 3. จัดทาสื่อนาเสนอเน้อื หาในรูปแบบต่าง ๆ ท่คี รูผ้สู อนสามารถจัดทาได้ เช่น ไฟล์เอกสาร ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัด สอ่ื คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน วีดทิ ศั น์ เปน็ ต้น *** ไฟล์เอกสาร ใบงาน ใบความรู้ จัดทาโดยโปรแกรม Microsoft Word หรอื PowerPoint แลว้ export เป็นไฟล์ .pdf *** ไฟลส์ อ่ื คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนหรอื CAI จัดทาโดยโปรแกรม Adobe Captivate export เปน็ ไฟล์ .exe *** ไฟล์วีดทิ ัศน์ บันทกึ ดว้ ยกล้องถ่ายวิดโี อ กล้อง Webcam หรอื Smartphone และถ้าต้องมีการแทรกข้อมูลอื่น ๆ ก็ใช้ โปรแกรมตัดตอ่ วดิ ีโอ เช่น Adobe Premiere หรอื Sony Vegas หรอื Camtasia ฯลฯ ท่ีครูใชเ้ ปน็ แลว้ export เปน็ ไฟล์ วดิ ีโอ เช่น .mp4 .wmv .avi เป็นต้น (แนะนาเป็นไฟล์ .mp4 เน่ืองจากมีการบีบอัดข้อมูลท่ีทาให้ได้ไฟล์ขนาดเล็ก ผู้เรียน สามารถดาวน์โหลดไดง้ ่าย) Kittipun Udomseth : 2020

1.2 เป็นเว็บไซต์ ได้แก่ เว็บไซต์ท่ีเป็นแหล่งข้อมูลหรือแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ท่ีนาเสนอเน้ือหาข้อมูลสาหรับ คนท่ัวไปหรอื เฉพาะกลุ่ม โดยครูอาจไปคัดลอกมาบางส่วนหรือท้ังหมด หรือเพียงระบุท่ีจัดเก็บ (URL) ให้กับผู้เรียน แลว้ ให้ผเู้ รียนเข้าไปศึกษาจากแหลง่ เรยี นรนู้ ั้น ๆ เอง การเลือกเน้อื หาจากเวบ็ ไซต์ ครูจาเปน็ ตอ้ งระบุขอบเขตในการเข้าศึกษาเน้ือหาในเว็บไซต์ให้กับผู้เรียน ให้ชัดเจน เน่ืองจากบางเว็บไซต์อาจมีเนื้อหามากแต่ไม่ได้เป็นเนื้อหาสาคัญท่ีจะให้ผู้เรียนศึกษา ผู้เรียนอาจต้อง ศกึ ษาเนือ้ หามากเกินไปหรือให้ความสนใจกับเนื้อหาอ่ืนมากกว่าเนื้อหาที่ครูต้องการให้ศึกษา ในกรณีนี้ครูอาจต้อง ใชว้ ิธกี ารคัดลอกเอาเฉพาะเน้ือหาท่ีสาคัญ ๆ หรือจาเปน็ แล้วนามาจดั ทาเปน็ ไฟล์ขอ้ มูลให้ผเู้ รยี นศกึ ษาจะดีกวา่ การใช้เนื้อหาจากเว็บไซต์ จาเป็นต้องมีการอ้างอิงที่มาของข้อมูล เพื่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล การเลอื กเว็บไซต์ที่เป็นแหลง่ ข้อมลู ควรเลือกเวบ็ ไซต์ทมี่ ีความนา่ เชือ่ ถือ โดยอาจพิจารณาดังนี้ 1. เวบ็ ไซต์ของหนว่ ยงานราชการ สถานศึกษา หรือหน่วยงานเอกชนที่เป็นเจ้าของข้อมูล หรือมีหน้าที่ ในการใหข้ ้อมูลหรอื เผยแพร่ขอ้ มูลโดยตรง 2. เว็บไซต์ท่ีมีความน่าเช่ือถือโดยหน่วยงานหรือบุคคลที่น่าเชื่อถือ เว็บไซต์องค์กรสาธารณะที่ไม่ แสวงหารายได้ เวบ็ ไซต์ท่ไี ม่ฝกั ใฝท่ างการเมือง หรอื เว็บไซต์ทไี่ ม่มีการโฆษณาชวนเชอ่ื หรือหวังผลทางการค้า 3. ควรศึกษา พรบ. ว่าด้วยการกระทาความผิดเกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 ไวบ้ ้างกด็ ี Kittipun Udomseth : 2020

เคร่ืองมือทีส่ ามารถใช้นาเสนอเน้ือหาให้กับผเู้ รียน 1. e-mail Address (ควรใชเ้ มลของหนว่ ยงาน) 2. Google Drive (ต้องสมัครสมาชกิ Google ก่อน) 3. OneDrive (ต้องสมัครเปน็ สมาชกิ Hotmail) 4. ชอ่ งทาง YouTube (ใช้ Gmail สมคั รได้) 5. ระบบ Microsoft Teams (Office 365) 6. ระบบ Google Classroom (ใช้ Gmail สมัครได้) 7. ระบบ Social Network เชน่ LINE หรือ FACEBOOK ต้องเป็นสมาชิกและมีการจดั กลุ่มผู้เรียนแล้ว 8. อน่ื ๆ Kittipun Udomseth : 2020

7 กจิ กรรมการเรยี นการสอน ผา่ นระบบออนไลน์ ทาอยา่ งไรไดบ้ ้าง ?

2 การชแ้ี จงและมอบหมายกิจกรรม (Activity Assignment) การเรียนการสอนโดยปกติในชนั้ เรียน ไม่ใช่การท่ีผ้เู รียนน่ังฟงั ครูบรรยายเพียงอย่างเดียว แตจ่ ะตอ้ งให้ผู้เรียนไดล้ งมอื ทากิจกรรมตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหเ้ กิดการเรยี นรู้เนอ้ื หาน้ัน ๆ ผ่านกิจกรรมที่ครูจัด ให้ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมรายบุคคลหรือกิจกรรมกลุ่ม การจัดการเรียนในระบบออนไลน์ก็เช่นเดียวกัน ในระหว่างท่ีผู้เรียนศึกษาเนื้อหาจากส่ือที่ครูนาเสนอ อาจให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมไปด้วย หรือให้ทา กิจกรรมภายหลงั จากศึกษาเน้ือหาจบแลว้ ก็ได้ (ขึ้นอยกู่ ับการออกแบบกิจกรรมของครู) กิจกรรมท่สี ามารถกาหนดให้ผู้เรียนปฏิบตั คิ วบคู่ หรอื ภายหลังการเรียนรเู้ น้อื หาจากส่อื One minute paper การสงั เกต การชมภาพยนตร์ การสืบค้นข้อมูล การฟงั /การฝกึ ฟงั การตคี วาม/แปลความ การเรยี นรู้ผ่านสื่อ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู การพดู /การฝกึ พดู การขยายความ การวเิ คราะหป์ ํญหา การใช้กรณศี กึ ษา การอา่ น/การฝกึ อา่ น การยอ่ /สรุปความ การวเิ คราะห์ผลกระทบ การวางแผนปฏบิ ตั งิ าน การเขียน/การฝึกเขยี น การจาแนก การวิเคราะห์พฤตกิ รรม การออกแบบ การทาแบบฝกึ /แบบฝกึ หัด การเปรยี บเทียบ การวิเคราะห์องค์ประกอบ การผลิต การต้งั คาถาม การเชื่อมโยง การตดั สนิ ใจ การนาเสนองาน การตอบคาถาม การประยกุ ต์ การกาหนดเกณฑ์ การประเมนิ ตนเอง การแสดงความคิดเห็น การทดลอง การประเมินคณุ ค่า การประเมนิ โดยเพ่ือน การทาผงั ความคิด การฝึกปฏบิ ัติ การกาหนดนยิ าม Pair – Share การทดสอบ การเล่นเกม การสรา้ งสรรค์ การสะทอ้ นคดิ ฯลฯ *** สแกน QR Code ดรู ายละเอยี ดกิจกรรมท่เี ป็น Active Learning Kittipun Udomseth : 2020

ตวั อย่าง การสอนและมอบหมายกจิ กรรม (Activity Assignment) กิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมระหว่างเรียน งานที่มอบหมาย การวดั และประเมนิ ผล 1 ใหน้ ักเรยี นศึกษาเนอื้ หา ศกึ ษาแล้วใหน้ กั เรียนตอบคาถาม สง่ คาตอบทางช่องทางท่คี รกู าหนด ตรวจคาตอบของนักเรยี น จากสอื่ /เอกสารที่ครจู ดั ให้ ศกึ ษาแล้วให้ทาแบบฝกึ หดั ตามท่ีครกู าหนด ส่งงานตามชอ่ งทางและวิธีการที่ครูกาหนด ตรวจผลงาน/ช้นิ งาน/แบบฝกึ หดั ของ หรอื ใหผ้ เู้ รยี นไปศกึ ษา ศกึ ษาแลว้ ใหน้ กั เรยี นปฏิบตั งิ าน/ทาชน้ิ งาน สง่ งานตามชอ่ งทางและวธิ กี ารท่คี รูกาหนด นักเรียน เนือ้ หาจากแหล่งเรียนรู้ท่ี ศกึ ษาแลว้ ใหน้ กั เรียนทาการทดลอง (ท่ีบา้ น) รายงานผลการทดลอง+หลักฐานการปฏิบตั ิ ตรวจรายงานตา่ ง ๆ ของนักเรยี น ครูผู้สอนระบุ ศกึ ษาแลว้ ใหน้ กั เรยี นลองฝึกปฏบิ ัติ รายงานผลการฝึกปฏบิ ตั ิ+หลักฐานการปฏิบตั ิ ตรวจหลักฐาน/ร่องรอยของการปฏิบตั ิ (เป็นการเรียนแบบตา่ งเวลา ศึกษาแล้วใหน้ กั เรียนวิเคราะหแ์ ละสรปุ ความ จดั ทาผังความคิด (Mind map) มีการยนื ยนั จากผู้ปกครอง Asynchronous) ศกึ ษาแลว้ ใหน้ ักเรียนค้นคว้าเพ่มิ เติม สง่ รายงานการค้นคว้า ตรวจการเข้าชน้ั เรยี นออนไลน์ ศกึ ษาแลว้ ใหน้ กั เรยี นเปดิ อภิปรายกลมุ่ ยอ่ ย ส่งรายงานสรุปผลการอภิปราย ตรวจการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมของช้นั เรยี น ความรบั ผดิ ชอบในการส่งงานตรงเวลา 2 ให้นกั เรียนเขา้ เรียนในเวลา ครอู ธิบายเนื้อหาและซักถามเป็นรายบุคคล ใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั ท้ายบท ตรวจแบบฝกึ หดั /ตรวจสอบการเขา้ เรยี น ตรวจผลงาน/ชนิ้ งาน/แบบฝึกหดั ท่คี รูกาหนด โดยครูมีการ ครอู ธิบาย/สาธิตและมอบหมายงาน ใหน้ ักเรียนปฏบิ ตั ิงาน/ทาชน้ิ งานต่าง ๆ ตรวจหลักฐาน/รอ่ งรอยของการปฏบิ ตั ิ นดั หมายลว่ งหนา้ /เชค็ ช่ือ ตามที่ครูผสู้ อนกาหนด ตรวจผลงานและการนาเสนองาน (เรยี นสดผา่ นระบบ ครูช้ีแจงและมอบหมายงาน ตรวจการเขา้ รับฟังการนาเสนอ (สด) ออนไลน์ (Synchronous) 3 ใหน้ ักเรยี นนาเสนอผลงาน/ นกั เรียนนาเสนอผ่านทางระบบออนไลน์ (สด) งานนาเสนอของนกั เรียน ชนิ้ งาน/โครงงานท่คี รู นกั เรยี นบนั ทึกวดิ ีโอการนาเสนอ (ส่งไฟล์) มอบหมายเป็นรายบคุ คล/ กลุม่

การมอบหมายกจิ กรรมใหผ้ ้เู รียนไปปฏิบัติ จาแนกได้ 2 ประเภทคือ 1. กิจกรรมหลัก คอื กจิ กรรมท่ีกาหนดให้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของกระบวนการเรียนการสอน หรืออาจ เรียกวา่ เปน็ “กจิ กรรมบังคับ” ทผี่ เู้ รียนจะตอ้ งปฏิบัตแิ ละมีการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ขิ องผ้เู รียน โดยถือเป็นสว่ น หนึ่งของการประเมนิ ผลการเรียนร้ขู องผเู้ รียนด้วย 2. กจิ กรรมเสรมิ เปน็ กจิ กรรมท่ใี ห้ผู้เรยี นไปศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ให้มีความรู้ความเขา้ ใจมากยิ่งขนึ้ เพอื่ ให้ ผู้เรยี นท่ีความรูท้ ก่ี ว้างขวาง ลกึ ซง้ึ มากย่ิงข้นึ โดยไม่เป็นการบงั คับ การมอบหมายกจิ กรรมใหผ้ เู้ รยี นไปปฏิบตั ิ ครผู ้สู อนต้องชแี้ จงรายละเอยี ดใหช้ ดั เจน เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นทราบ วา่ จะต้องทาอะไร-อย่างไร-แค่ไหน-เมือ่ ไหร่ น่นั คอื การมอบหมายงาน (Assignment) ของครคู วรประกอบไป ด้วยข้อมลู เหลา่ นีค้ อื 1. ภาระงาน (Task) ทผ่ี เู้ รียนจะต้องไปปฏบิ ัตหิ รอื จัดกระทา 2. ลักษณะช้นิ งาน (Product) ทผ่ี ู้เรยี นจะตอ้ งสง่ 3. ปรมิ าณงาน (Amount) ทผ่ี ูเ้ รยี นจะต้องจัดทา 4. เวลา (Time) ระยะเวลาท่ีกาหนดใหผ้ ู้เรียนปฏบิ ัติ รวมถงึ เวลากาหนดส่ง 5. เกณฑก์ ารประเมนิ งาน (Criteria) ที่ครูมอบหมาย 6. วธิ กี าร (Process) และเงื่อนไข (Condition) ในการปฏบิ ตั ิของผูเ้ รยี น (ถา้ มี) ในกรณีท่งี านทค่ี รู มอบหมายมีความซบั ซ้อน หรือมีหลายขนั้ ตอน หรือเป็นงานกลมุ่ ก็ต้องระบุเงือ่ นไขของการจัดกลมุ่ เป็นต้น *** ยิง่ ครชู แี้ จงรายละเอียดได้มากเทา่ ไหร่ ผเู้ รยี นก็จะสามารถปฏบิ ัตงิ านได้อยา่ งมคี ณุ ภาพตรงตามทค่ี รูมอบหมายมากเทา่ นน้ั Kittipun Udomseth : 2020

3 การจดั การช้ันเรียน (Classroom Management) การจัดการชนั้ เรยี นเป็นหนา้ ทสี่ าคญั ประการหนึ่งของครผู สู้ อน ซงึ่ ไมไ่ ดม้ ีหน้าท่เี พียงแต่ใหค้ วามรู้ แก่ผ้เู รียนเพียงอยา่ งเดยี ว แตย่ ังตอ้ งดแู ล ช่วยหลอื และกากบั ควบคุมพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ของผู้เรียนด้วย ซงึ่ การเรยี นการสอนออนไลน์กเ็ ช่นเดยี วกันเพียงแต่มีข้อจากัดมากกว่าในช้ันเรยี น บทบาทในการจัดการช้ันเรียน ของครทู จ่ี ัดการเรยี นการสอนในระบบออนไลน์ มีดังนี้ 1. ทาความร้จู กั กับผเู้ รยี น ครผู ู้สอนต้องทราบวา่ ผู้เรียนในช้ันเรียน (ออนไลน)์ ของครูมีใครบ้าง จานวนกคี่ น โอกาสและความพร้อมของผู้เรยี นในการเข้าถงึ เนือ้ หาทเ่ี รียน รวมถึงโอกาสในการมีปฏสิ ัมพนั ธ์ ตดิ ต่อส่ือสารเป็นอยา่ งไรบา้ ง ถา้ พบผ้เู รยี นทีข่ าดความพร้อมครจู ะช่วยเหลืออย่างไร 2. มีการปฐมนเิ ทศ โดยเปน็ การชีแ้ จงวธิ กี ารเรียน ระบเุ งอื่ นไข หรอื ทาข้อตกลงร่วมกันกับผเู้ รียนกอ่ น เร่มิ การเรยี นการสอน เงือ่ นไขควรมีความยืดหยุ่นและตอบสนองความพรอ้ มในการเรยี นของผู้เรียนได้ทุกคน 3. แจง้ กาหนดการสอน (Course Schedule) เพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนทราบว่าต้องเรยี นเนอ้ื หาอะไรบา้ ง มี กิจกรรมอะไรบ้าง มีงานท่ีต้องปฏิบตั ิอยา่ งไรบา้ ง รวมถงึ จะมีการประเมินผลการเรยี นร้อู ยา่ งไร ในชว่ งเวลา ใดบ้าง ซึ่งเดิมครอู าจไม่จาเปน็ ตอ้ งชแี้ จงให้ผู้เรียนทราบ แต่การเรยี นการสอนในระบบออนไลน์มีความสาคัญ และจาเปน็ มาก 4. ปรากฎตัวอย่เู สมอในชอ่ งทางติดตอ่ ส่อื สาร มีการทักทาย ตอบคาถาม ให้คาแนะนา ชว่ ยเหลอื กระตุ้น เสริมแรง จงู ใจ ใหข้ อ้ คิดเหน็ ให้ขอ้ มูลย้อนกลบั รวมถงึ การติดตามผู้เรยี นทไี่ มส่ นองตอบตอ่ กิจกรรม การเรียนรู้ที่กาหนด ทาใหผ้ ้เู รยี นเห็นวา่ มีครูคอยอย่ดู แู ลตลอดเวลา Kittipun Udomseth : 2020

การเช็คชือ่ ผูเ้ รียน การเชค็ ชอื่ ผ้เู รียน เปน็ วิธีการทค่ี รสู ามารถตรวจสอบผ้เู รียนคล้ายกบั การเชค็ ช่อื ในช้ันเรยี น แตเ่ ปน็ การ เช็คชือ่ ผา่ นทางระบบออนไลน์ จะใชเ้ มอื่ ครูได้มีการนดั หมายชว่ งเวลาออนไลนข์ องครู เชน่ ครูแจ้งวา่ ในวันพุธที่ 25 มนี าคม พ.ศ. 2563 เวลา 13:00-15:00 ใหผ้ ้เู รียนเข้ามาเรยี นตาม ชอ่ งทางท่ีกาหนด เม่ือถงึ เวลากใ็ หผ้ ูเ้ รยี นรายงานตัว (ในช่องทางทีค่ รกู าหนด) ครูก็สามารถตรวจเช็คการเขา้ เรียนของผู้เรียนได้ ถา้ ครตู ้องการตรวจสอบว่าผเู้ รียนอยตู่ ลอดเวลาท่ีครอู อนไลน์หรือไม่ กใ็ ช้ท้งั การเชค็ ช่ือเข้าเรียน และเชค็ ชอ่ื ออกจากชน้ั เรยี น เช่น เชค็ ชอื่ เขา้ เรยี นตัง้ แต่ 13:00-13:10 เช็คชือ่ ออกตั้งแต่ 14:50-15:00 ดังนนั้ เวลากจิ กรรมของครคู อื ต้งั แต่ 13:10-14:50 *** การเช็คช่ือผู้เรียน เป็นกจิ กรรมอยา่ งหนึง่ ของระบบการเรียนการสอนออนไลน์ เพ่ือให้ผู้เรียนรู้สึกเหมือนกับ การเขา้ ชัน้ เรียนจรงิ ๆ แต่ไมส่ ามารถคาดหวังตอ่ ประสิทธภิ าพในการเรยี นร้ขู องผ้เู รียนได้ เน่ืองจากครไู มส่ ามารถ ตรวจสอบไดว้ า่ เม่ือผู้เรียนเช็คชอ่ื เขา้ เรยี นแล้วยงั คงอยูก่ บั กจิ กรรมการเรียนการสอนตลอดเวลาหรือไม่ ซึ่งถ้าครู มีกิจกรรมให้ผู้เรียนปฏิบัติในขณะเรียนและกาหนดให้ผู้เรียนส่งผลงานในทันที ก็อาจเป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้กากับ ติดตามใหผ้ ูเ้ รยี นอยกู่ ับกจิ กรรมการเรียนการสอนที่ครูจดั ใหไ้ ด้ Kittipun Udomseth : 2020

4 ปฏิสมั พนั ธแ์ ละการติดต่อสื่อสาร (Interaction & Communication) เปน็ การใช้ชอ่ งทางตา่ ง ๆ ในระบบออนไลน์ผา่ นเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ในการมีปฏสิ ัมพันธ์และการ ตดิ ต่อสื่อสารกบั ผูเ้ รยี นซึ่งถอื เปน็ สว่ นหนึ่งของการจัดการชนั้ เรียนของครู จดุ มุ่งหมายในการมีปฏิสมั พนั ธ์ และติดต่อส่ือสารกบั ผูเ้ รยี นในการเรียนการสอนออนไลน์ มีจุดมุ่งหมายดงั นี้ 1. เพอ่ื ส่งมอบเนื้อหา สาระ ความรู้ตา่ ง ๆ ใหก้ ับนักเรียน 2. เพื่อใช้ดาเนินกจิ กรรมในชั้นเรยี นโดยอาศยั ชอ่ งทางออนไลน์ 3. เพอ่ื ช้ีแจง สัง่ งาน มอบหมายงานปฏบิ ตั ใิ ห้กบั นกั เรียน 4. เพือ่ ติดตาม ตรวจสอบการเข้ามาเรยี นของนกั เรียน 5. เพือ่ ตอบคาถาม ข้อสงสัย ให้ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมแกน่ กั เรียน 6. เพ่อื ติดตาม กระต้นุ จูงใจ เสริมแรง กากบั ดูแล ควบคุม การเรยี นของนักเรยี น ให้ผเู้ รยี น รูส้ ึกว่ามีครูคอยให้การช่วยเหลอื ในการเรยี นร้ขู องนักเรียน 7. เพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ในการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ของนักเรียน ***ช่องทางในการปฏสิ ัมพันธ์และตดิ ต่อสือ่ สารทค่ี วรเลอื กใช้คอื ชอ่ งทางทีค่ รสู ะดวกใช้ และผเู้ รียนสะดวกใช้ Kittipun Udomseth : 2020

8 การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ผา่ นระบบออนไลน์ ทาอย่างไรบา้ ง ?

5 การประเมินผลการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน (Evaluate) - ตรวจสอบว่าผู้เรยี นเกิดการเรียนรจู้ ากกิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีครจู ัดข้ึนไดม้ ากหรอื นอ้ ยอยา่ งไร - ตดั สินผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของผ้เู รยี น - บอกระดับความรู้ความสามารถของผูเ้ รยี นแต่ละคน และในภาพรวมของทงั้ ชัน้ ท้ังโรงเรยี น - บง่ บอกประสทิ ธภิ าพในการสอนของครู และนาผลไปปรบั ปรุงพฒั นาการสอนให้ดยี ง่ิ ขนึ้ ตอ่ ไป - นาผลไปใชป้ รับปรุงพัฒนาผเู้ รียน การประเมินการเรยี นรมู้ ี 2 สว่ นคอื 1. การวดั (Measurement) เป็นการตีคา่ ความสามารถของผเู้ รยี นทีแ่ สดงออกมาให้เหน็ ด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ โดยมากวดั จะในเชงิ ปรมิ าณออกมาเปน็ ตัวเลข 2. การประเมิน (Evaluate) เป็นการระบคุ า่ จากผลการวัดนามาเทยี บกับเกณฑท์ ่กี าหนด แล้วบอกเป็น คุณภาพหรือระดับคณุ ภาพ เช่น ผลการวัด เทยี บเกณฑก์ ารประเมิน ผลการประเมิน นักเรยี น ก สอบได้คะแนน 8 คะแนน 1-10 คะแนน = นอ้ ย นักเรยี น ก มคี วามร้นู อ้ ย นกั เรียน ข สอบไดค้ ะแนน 12 คะแนน 11-13 คะแนน = พอใช้ นักเรยี น ข มคี วามรูป้ านกลาง นกั เรียน ค สอบไดค้ ะแนน 15 คะแนน 14-17 คะแนน = ดี นักเรยี น ค มีความร้ดู ี นักเรยี น ง สอบไดค้ ะแนน 18 คะแนน 18-20 คะแนน = ดมี าก นกั เรียน ง มีความรู้ดมี าก Kittipun Udomseth : 2020

การประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี นในระบบออนไลน์ การประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในระบบออนไลน์มีข้อจากัดอยู่มาก ประการสาคัญคือ ครูตรวจสอบตัวตนของผู้เรียนได้ยาก คือไม่ทราบแน่ชัดว่าผู้ที่กาลังตอบคาถามหรือทา แบบทดสอบเป็นผู้เรียนคนนั้นจริงหรือไม่ ถึงแม้ว่าเป็นผู้เรียนคนนั้นจริง คาตอบของเขาจะเป็น ความคิดของเขาเองหรือนาเอาความคิดของคนอื่นมาตอบ ซ่ึงต่างจากในช้ันเรียนท่ีครูสามารถ ตรวจสอบได้ง่ายกว่า ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ส่วนใหญ่จึงไม่คาดหวังผลการ ประเมินผา่ นทางระบบออนไลน์มากนกั อย่างไรก็ตาม การประเมินก็ยังเป็นสิ่งจาเป็นเพราะช่วยกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสตรวจสอบความสามารถของตนเองด้วยตนเอง เพราะถ้าครูระบุว่าผลการ ทดสอบไม่มีผลต่อการให้คะแนนของครู ก็จะช่วยให้ผู้เรียนไม่กังวลต่อผลคะแนนและลงมือทา แบบทดสอบด้วยตนเอง ในกรณีนี้ครูควรใช้เครื่องมือสร้างแบบทดสอบท่ีสามารถตรวจสอบได้เอง แลว้ ใหผ้ ูเ้ รยี นไปทดลองทา เมอ่ื ผเู้ รียนทาเสร็จก็จะรายงานผลยอ้ นกลับให้ผเู้ รียนทันทีกจ็ ะช่วยในการ เรยี นรู้ของผเู้ รยี นไดม้ าก Kittipun Udomseth : 2020

เครือ่ งมือชว่ ยในการประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องผู้เรียนในระบบออนไลน์ มี Application จานวนมากทชี่ ่วยให้ครผู สู้ อนสามารถสรา้ งแบบทดสอบในระบบออนไลน์ ได้แก่ 1. Application KAHOOT! 2. Application SOCRATIVE 3. Application Google Form Kittipun Udomseth : 2020 4. Application Microsoft Form 5. Application Adobe Captivate ใชส้ รา้ ง CAI แบบทดสอบใหก้ บั ผูเ้ รียน

แนวทางการประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี นในระบบออนไลน์ ถงึ แม้วา่ ครูจะไมจ่ รงิ จงั กับการประเมินทางระบบออนไลน์มากนกั แตค่ รูก็สามารถเกบ็ รวบรวม ข้อมูลตา่ ง ๆ ของผเู้ รยี นจากการเข้าเรียนและทากิจกรรมออนไลน์ เพอ่ื นามาเปน็ ขอ้ มูลในการประเมินผล การเรยี นรูข้ องผเู้ รียนได้เชน่ กัน ดังน้ี ประเมนิ ความรู้และทกั ษะของผ้เู รยี น (Knowledge & Skill) 1. ประเมินจากชิน้ งาน/ภาระงาน/กิจกรรม ท่มี อบหมายใหผ้ ู้เรยี นปฏิบตั ใิ นระหวา่ งเรยี นออนไลน์ 2. ประเมนิ จากการทาแบบฝึกหัด แบบทดสอบออนไลน์ของผเู้ รียน 3. ประเมินจากความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีเพอ่ื การเรยี นรทู้ างระบบออนไลน์ ประเมนิ ด้านจิตพิสยั (Attitude) 1. ประเมินจากความถี่ในการเขา้ เรยี น (การ Login หรอื การรายงานตัวเข้าเรยี นถ้าครูมีการเชค็ ชอ่ื ) 2. ประเมนิ จากความถใ่ี นการตอบสนองการเรียนรู้ผา่ นกิจกรรมออนไลน์ 3. ประเมินความรับผิดชอบในการเรียนและการสง่ งานทไี่ ดร้ ับมอบหมายตรงเวลา 4. ประเมินจากความถใี่ นการมปี ฏิสมั พันธ์ตดิ ต่อสอื่ สารกบั ครูผู้สอน *** โดยท่วั ไปจติ พิสัยท่ีประเมินไดค้ อื ความพรอ้ ม ความสนใจ ความต้งั ใจ ความรว่ มมือ และความรับผิดชอบ Kittipun Udomseth : 2020

ภาพรวมของรปู แบบการจดั การเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ ขนั้ เตรียม การเตรียมการกอ่ นการจดั การเรยี นการสอนในระบบออนไลน์ ศกึ ษา คดั เลอื ก ออกแบบ ผลติ ทดสอบ นดั หมาย พน้ื ท่ขี องสภาพแวดลอ้ มการเรียนรเู้ สมือน การเรยี นรอู้ อนไลนผ์ ่านระบบอินเทอรเ์ นต็ ขนั้ สอน การนาเสนอเนอื้ หา ปฏสิ มั พนั ธ์และ การมอบหมายกิจกรรม การจดั การ การติดตอ่ สอ่ื สาร การประเมนิ การเรียนรู้ ชั้นเรียน กระต้นุ /ชว่ ยเหลอื กากบั /ติดตาม Kittipun Udomseth : 2020

9 ทางเลอื กในการจดั การเรยี นการสอนทางไกล โดยไม่ใช้ระบบออนไลน์

การสนบั สนุน ชว่ ยเหลือผเู้ รียนท่มี ขี ้อจากดั ในการเรียนผ่านระบบออนไลน์ 1. จัดทาเอกสารการสอน ตารา ใบงาน ใบความรู้ แบบฝกึ ชุดฝึก แบบฝกึ หดั สื่อ บทเรยี นสาเร็จรูป ฯลฯ ทม่ี คี าอธบิ ายทชี่ ดั เจน สง่ ให้กบั ผเู้ รยี น 2. มอบหมายงาน/กจิ กรรมต่าง ๆ ให้ทาทบี่ า้ น ทีผ่ ูเ้ รยี นสามารถกระทาไดด้ ว้ ย ตนเอง หรอื ด้วยความช่วยเหลอื จากผปู้ กครอง 3. ระบแุ หล่งเรียนรูใ้ กลบ้ ้าน (ถา้ ม)ี ท่ีผู้เรียนสามารถเขา้ ไปศกึ ษาไดอ้ ยา่ งสะดวก 4. สนับสนุนส่อื /วสั ดุอุปกรณ์/เคร่อื งมอื ใหก้ บั ผู้เรยี น 5. ประสานความรว่ มมอื กบั ผู้ปกครองในการกากับ ดูแล ช่วยเหลอื นักเรียน 6. ใช้ช่องทางการตดิ ตอ่ ส่อื สารกับผเู้ รยี นหลากหลายช่องทางทผ่ี เู้ รียนสะดวก 7. ระบุแหลง่ เรยี นรอู้ ืน่ ๆ ที่ผู้เรียนสามารถศกึ ษาไดเ้ ชน่ โทรทัศนก์ ารศกึ ษา DLTV

ตัวอย่าง การวเิ คราะหม์ าตรฐาน/ตวั ช้วี ดั และการจัดการเนอ้ื หา สาหรบั การออกแบบการเรยี นการสอน ในระบบออนไลน์

วิชา ทัศนศิลป์ ชั้น ม.4-6 การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) 1. วเิ คราะห/์ รวบรวม/เรียบเรียง/ 2. กาหนดจุดประสงคก์ ารเรียนรทู้ ่ีสอดคลอ้ งกบั บรู ณาการเนือ้ หารายวชิ า มาตรฐานและตวั ช้ีวดั พรอ้ มทงั้ กาหนดชนิ้ งาน/ ภาระงาน สาระการเรยี นรู้-เนอื้ หารายวิชา 1. ทัศนธาตุ (องค์ประกอบศิลป์) จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2. หลกั การออกแบบ 1. ระบุ (บอก) บรรยาย (อธบิ าย) - รู้ เข้าใจ 3. การสรา้ งสรรค์งานศลิ ปะดว้ ย 2. วิเคราะห์ / เปรียบเทียบ - วเิ คราะห์ 3. มีทกั ษะ (สามารถ-ปฏิบัติ) - ใช้ เทคโนโลยี 4. สรา้ งสรรค์ (ออกแบบ-สร้าง-วาด) – ใช/้ สร้างสรรค์ 4. การวิจารณง์ านทศั นศิลป์ 5. ประเมิน - ตดั สนิ คุณคา่ 5. การวาดภาพสะท้อนสังคม 6. วจิ ารณ์ - วิเคราะห์ 6. ศิลปะสากล 7. อภปิ ราย - วิเคราะห์ ***กาหนดชน้ิ งาน/ภาระงาน

3. กาหนด ภาระงาน/ช้ินงานและอตั ราส่วนคะแนน Knowledge 50 5 ใบงานท่ี 1 1. วิเคราะหก์ ารใชท้ ศั นธาตุ และหลกั การออกแบบในการสอ่ื ความหมายในรปู แบบตา่ ง ๆ 5 ใบงานที่ 2 2. บรรยายจดุ ประสงค์ และเนอื้ หาของงานทศั นศิลป์ โดยใชศ้ ัพทท์ างทศั นศลิ ป์ 5 ใบงานท่ี 3 3. วเิ คราะหก์ ารเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิคของศิลปนิ ในการแสดงออกทางทศั นศิลป์ 5 วิจารณ์ผลงานศิลปะ 7. วเิ คราะห์และอธบิ ายจุดมุ่งหมายของศิลปินในการเลอื กใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ เทคนิคและเน้อื หา เพอ่ื สร้างสรรค์งานทัศนศลิ ป์ 10 สอบปลายภาค 8. ประเมนิ และวจิ ารณ์งานทัศนศิลป์ โดยใชท้ ฤษฎกี ารวิจารณศ์ ิลปะ 10 รายงานการคน้ คว้าศิลปะสากล 9. จัดกลุม่ งานทศั นศิลป์เพื่อสะทอ้ นพัฒนาการและความก้าวหน้าของตนเอง 10 รายงานการวจิ ารณ์งานศลิ ปะ 12. วิเคราะห์ และเปรียบเทยี บงานทศั นศลิ ป์ในรปู แบบตะวนั ออกและรูปแบบตะวันตก 13. ระบงุ านทัศนศลิ ปข์ องศิลปนิ ที่มชี ื่อเสียงและบรรยายผลตอบรับของสงั คม 20 ผลงานวาดภาพระบายสี 1 14. อภิปรายเก่ยี วกบั อทิ ธพิ ลของวัฒนธรรมระหว่างประเทศทมี่ ีผลตอ่ งานทศั นศลิ ปใ์ นสงั คม ผลงานวาดภาพระบายสี 2 Skills 40 20 ผลงาน CG 1 ผลงาน CG 2 4. มที กั ษะและเทคนิคในการใช้วัสดอุ ุปกรณแ์ ละกระบวนการท่ีสงู ขึน้ ในการสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ 5. สรา้ งสรรค์งานทศั นศิลปด์ ้วยเทคโนโลยตี ่าง ๆ โดยเนน้ หลักการออกแบบและการจัด ผลงาน CG 3 องคป์ ระกอบศลิ ป์ 6. ออกแบบงานทัศนศิลปไ์ ด้เหมาะกบั โอกาสและสถานท่ี 10. สรา้ งสรรคง์ านทศั นศิลป์ไทย สากล โดยศกึ ษาจากแนวคิดและวธิ ีการสร้างงานของศลิ ปนิ ท่ี ตนช่ืนชอบ 11. วาดภาพระบายสเี ปน็ ภาพล้อเลยี นหรือภาพการ์ตูนเพอ่ื แสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับสภาพ สังคมในปัจจบุ นั Attitudes 10

4. จดั ทาหนว่ ยการเรียนรู้ ออนไลน์ 35 % : เรียนท่โี รงเรยี น 65 % หน่วยที่ 1 เรยี นที่บา้ น เรียนท่โี รงเรียน การวดั และประเมิน องคป์ ระกอบศลิ ป์ หน่วยท่ี 1 หน่วยท่ี 2 ออนไลน/์ ตรวจผลงาน/ หน่วยท่ี 2 หนว่ ยท่ี 2 หนว่ ยที่ 3 สอบปลายภาค หลกั การออกแบบ หนว่ ยที่ 3 หน่วยท่ี 4 ออนไลน์/ตรวจผลงาน/ หนว่ ยท่ี 5 สอบปลายภาค หน่วยที่ 3 หน่วยท่ี 6 หนว่ ยที่ 6 ออนไลน/์ ตรวจผลงาน การใชเ้ ทคโนโลยฯี ตรวจผลงาน หนว่ ยท่ี 4 การวาดภาพสะท้อน ตรวจผลงาน สงั คม ตรวจผลงาน/สอบปลายภาค หนว่ ยท่ี 5 การวจิ ารณ์งานศลิ ปะ หน่วยที่ 6 ศิลปะสากล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook