ศลิ ปะและวัฒนธรรม [Art and Culture] บทท่ี ๑ ศิลปวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย ผสู้ อน : ผศ.ดร.สำรำญ ผลดี
ประเด็นท่ตี ้องศกึ ษำ • ความรเู้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกบั ศลิ ปะและวฒั นธรรม • พน้ื ฐานวัฒนธรรมไทย • ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั ประเพณีไทย • ขนบธรรมเนียม ประเพณใี นสังคมไทย • ประเพณีท้องถน่ิ ของไทย • การเปลยี่ นแปลงขนบธรรมเนียมประเพณีของไทย
ศิลปวัฒนธรรม และประเพณไี ทย • เป็นการศกึ ษาถงึ พฤตกิ รรมการแสดงออกของคนในสงั คมไทย • อธบิ ายนัยความหมายของสภาพทางภูมศิ าสตร์ ความคดิ ความเชอื่ สภาพทางสงั คม เศรษฐกจิ การเมอื ง ที่สะท้อนตัวตนของคนในสงั คมนนั้ ว่าสามารถปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั ธรรมชาตแิ วดลอ้ มในแตล่ ะช่วงเวลาได้อยา่ งไร • ความคิดความเช่อื ถือเป็นตน้ กาเนนิ สาคัญของศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี • ความคดิ ความเช่ือท่หี ลากหลาย พฤตกิ รรมการแสดงออกจึงหลากหลาย
• “ศิลปวัฒนธรรม” เปน็ ผลรวมของความคดิ ของมนษุ ย์ • เกิดจากเหตปุ ัจจยั ทแ่ี วดลอ้ มและสะท้อนออกมาในรปู แบบนามธรรมและรปู ธรรม • ขนบธรรมเนยี ม ประเพณไี ทย คอื สงิ่ ที่สะทอ้ นความเปน็ ตวั ตนของไทย • เปน็ การแสดงออกร่วมกนั ของกลมุ่ สงั คมท่มี ตี ่อความคดิ ความเช่อื ความศรัทธาอยา่ ง ใดอยา่ งหน่งึ และประพฤตปิ ฏบิ ัตริ ่วมกนั • ส่วนใหญเ่ ปน็ เร่อื งทเี่ กย่ี วขอ้ งกับธรรมชาตแิ วดล้อม
ควำมรู้เบอ้ื งต้นเกยี่ วกบั ศลิ ปะ • ศิลปะ เปน็ ส่งิ ทีเ่ กดิ จากความคดิ สรา้ งสรรคข์ องมนษุ ย์ • ต้องมคี ณุ ลกั ษณะทางความงาม ความสะเทือนอารมณ์ • โน้มนา้ วจิตใจใหค้ ล้อยตามหรือหวัน่ ไหวไปตามความม่งุ หมายของผ้ทู ี่สรา้ งสรรค์ • เป็นสง่ิ ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ความรแู้ ละมคี ุณค่าตอ่ ชีวติ • เพอ่ื สนองตอบตอ่ ความตอ้ งการทางด้านร่างกายและจติ ใจ • ศิลปะทตี่ อบสนองทางด้านรา่ งกายเรียกวา่ ศลิ ปะประยกุ ต์ ในขณะทศ่ี ิลปะที่ ตอบสนองทางดา้ นจิตใจคอื วิจติ รศลิ ป์
• มนุษยม์ องศิลปะเปน็ 2 ลักษณะ คือการมองให้เหน็ ถึงคณุ ค่ากบั การมองที่มูลค่า • การมองและพจิ ารณาเพียงแต่ “มูลคา่ ” ของผลงานศิลปะนน้ั เป็นเพียงการมองแบบ ผวิ เผินที่ศลิ ปะไมต่ ่างอะไรจากวตั ถุท่สี นองความต้องการทางรา่ งกายท่ัวไป • หากว่าเราสามารถเข้าถึง “คณุ ค่า” ท่มี ีอยูใ่ นผลงานศิลปะทศ่ี ลิ ปนิ ได้สร้างสรรคไ์ ว้น้นั ได้ ก็นบั วา่ ความรู้สึกอ่มิ เอมกจ็ ะบงั เกิดขึน้ ได้
กำรแบ่งประเภทของศลิ ปะ วจิ ติ รศลิ ป์ หมายถึง ศิลปะท่ีมุ่งแสดงในด้านคุณภาพของความงาม ประยกุ ต์ศิลป์ มากกว่าประโยชนใ์ ช้สอย หมายถึง ศิลปะที่มีการนาเอาความรู้จากศิลปะแบบวิจิตร ศิลป์มาประยุกต์เพ่ือให้เกิดประโยชน์ในผลงานต่อทางกาย มุ่งเน้นประโยชน์ใชส้ อยมากกว่าความงามแบบวิจิตรศลิ ป์
วจิ ติ รศลิ ป์
วจิ ติ รศลิ ป์ : จติ รกรรมไทย • เป็นผลงานศลิ ปะท่ีแสดงออกด้วยการ ขีดเขยี น การวาด และระบายสี เพ่อื ให้ เกดิ ภาพ • เป็นงานศิลปะท่มี ี 2 มติ ิ เป็นรปู แบน ไมม่ ีความลึกหรอื นูนหนา • สามารถเขยี นลวงตาให้เหน็ ว่ามีความ ลึกหรอื นูนได้ จติ รกรรมไทยท่นี า่ สนใจ เช่น จติ รกรรมฝาผนังตามวัดวาอาราม ต่างๆ เป็นต้น
วจิ ติ รศลิ ป์ : ประตมิ ำกรรม • ศิลปะสาขาหน่งึ ที่เกีย่ วกับการ แกะสลักไม้ หนิ อ่อน โลหะ เป็นต้น ให้เป็นรปู ร่างลวดลายต่างๆ • แสดงออกด้วยการสรา้ งรูปทรง 3 มิติ มีปริมาตร มีน้าหนักและกินเนอ้ื ที่ในอากาศ • ผลงานประติมากรรมของไทยจะพบ คาทคี่ ลา้ ยกันคอื ประติมากรรม หรอื ผลงานศิลปะดังกล่าวข้างต้น กับคา ว่า “ปฏิมากรรม” อันหมายถึง พระพทุ ธรปู รูปแบบ หรือรปู แทน องค์พระพุทธเจ้า สว่ นศลิ ปินจะ เรียกวา่ ปฏมิ ากร
วจิ ติ รศลิ ป์ : สถำปัตยกรรม • ศลิ ปะและวทิ ยาทีเ่ กย่ี วข้องกับงาน กอ่ สร้าง • ศิลปะทีแ่ สดงออกด้วยการกอ่ สรา้ ง สิง่ ก่อสรา้ ง อาคาร ท่อี ยู่อาศยั ต่างๆ • การวางผงั เมือง การจัดผงั บริเวณ การตกแต่งอาคาร การออกแบบ กอ่ สร้าง • สถาปตั ยกรรมไทยมรี ปู แบบที่โดด เดน่ สวยงาม เฉพาะตวั
วจิ ติ รศิลป์ : วรรณกรรม • ผลงานศลิ ปะท่ีแสดงออกดว้ ยการใช้ ภาษา เพ่ือการสอื่ สารเรือ่ งราวให้เข้าใจ ระหวา่ งมนุษย์ • ประเทศไทยมผี ลงานวรรณกรรมท่ี ทรงคณุ ค่าจานวนมาก
วจิ ติ รศลิ ป์ : ดนตรแี ละนำฏศลิ ป์ • เปน็ ผลงานศลิ ปะท่ีแสดงออกดว้ ย การใช้เสียง การจัดจงั หวะ และ ท่วงทานองของเสยี ง • ด้วยการเล่นดนตรี และการขบั รอ้ ง เพลง ท่ีมีผลตอ่ อารมณ์และจติ ใจ ของมนษุ ย์ • การใช้ท่าทางประกอบเสยี ง การ เต้น ระบา รา ฟ้อน การแสดงละคร ฯลฯ
วจิ ติ รศลิ ป์ : ภำพพิมพ์ • คอื ศลิ ปะจากแม่พิมพอ์ อกมาเป็น ผลงานท่ีมีลักษณะเหมอื นกันกบั แม่พิมพ์ทกุ ประการ • ได้ภาพท่เี หมอื นกนั มจี านวนตัง้ แต่ 2 ชิ้นข้นึ ไป
ประยกุ ตศ์ ลิ ป์
ประยุกตศ์ ลิ ป์ : พำณชิ ย์ศิลป์ • คอื ผลงานศลิ ปะท่เี กี่ยวข้องกบั การออกแบบเพ่ือสนับสนุนกิจการ คา้ และการบรกิ าร • เชน่ เครื่องหมายการค้า การ ออกแบบโฆษณา การออกแบบ ตราสนิ ค้า เปน็ ตน้
ประยุกตศ์ ิลป์ : มณั ฑนศลิ ป์ • คอื ศิลปะการออกแบบตกแตง่ • เช่น การออกแบบตกแตง่ ภายใน อาคาร ภายนอกอาคาร เป็นตน้
ประยกุ ต์ศลิ ป์ : อุตสำหกรรมศิลป์ • คือ ศลิ ปะการออกแบบผลิตภณั ฑ์ ตา่ งๆ • เชน่ ขา้ วของเครอ่ื งใช้ต่างๆ เปน็ ตน้
ประยกุ ต์ศลิ ป์ : หตั ถศิลป์ • คือ ศลิ ปะทที่ าดว้ ยมอื • เชน่ เคร่อื งเบญจรงค์ เครอ่ื งจักสาน เป็นตน้
วฒั ควำนมรธู้เบรือ้ งรต้นมไทย
นยิ ามความหมายของคาวา่ “วฒั นธรรม” • หมายถงึ ควำมเจรญิ ควำมมีศลี ธรรมอนั ดงี ำม • “วัฒนธรรม” คอื สงิ่ ทเี่ กิดจากการสร้างสรรค์ของมนษุ ย์ • ทเี่ ป็นรูปธรรม เชน่ การแตง่ กาย อาหาร ทอี่ ยู่อาศยั เป็นตน้ • ทเี่ ป็นนำมธรรม เชน่ ประเพณี จารีต ความรูส้ กึ นกึ คดิ ตา่ งๆ • ตอ้ งได้รบั กำรสืบทอดกันมาจากรนุ่ สรู่ ุ่น • เป็นสง่ิ ทสี่ งั คมนัน้ ยอมรับ • แสดงออกถึงควำมเจริญงอกงำม ควำมดีงำม เหมาะสมท่จี ะนามา ประพฤติปฏบิ ัตติ อ่ กันในสังคม
กำรแบ่งประเภทของวฒั นธรรม วฒั นธรรมแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท (ภารดี มหาขันธ์) คือ • วัฒนธรรมทำงวัตถุ (material culture) ไดแ้ ก่ ส่ิงประดิษฐโ์ ดยมวี ตั ถุเป็น หลกั เช่น แบบแผนการประกอบอาชพี แบบแผนการประกอบพิธกี รรม เครอ่ื งมอื เครอื่ งใช้ เปน็ ต้น • วัฒนธรรมทำงจิตใจ (non-material culture) หมายถงึ แบบอย่างการ ปฏิบัติหรอื แนวทางแหง่ ความคดิ ความเชอ่ื อุดมการณ์ ศลี ธรรม จรรยา ธรรมเนยี ม ประเพณี ปรชั ญา กฎหมาย พิธีการตา่ งๆ เปน็ ตน้
กำรแบ่งประเภทของวัฒนธรรม (ต่อ) นักสังคมวิทยาได้แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท (ณรงค์ เสง็ ประชา) คอื • วฒั นธรรมทำงควำมคิด (Ideas Thinking) คอื วัฒนธรรมทเี่ ก่ยี วข้องกบั ความรู้สึกนกึ คิด เหตุผล การตดั สินใจของคน • วฒั นธรรมทำงบรรทัดฐำน (Norms Doing) คอื บรรดาระเบียบ แบบ แผน กฎเกณฑ์ตา่ งๆ ทส่ี งั คมหนงึ่ ยดึ ถือปฏิบตั ิ • วัฒนธรรมทำงวตั ถุ (Material Having) คือ บรรดาสิ่งทม่ี นษุ ยส์ รา้ งสรรค์ ข้ึนมาเพ่ือตอบสนองความต้องการของมนษุ ย์ สามารถจับตอ้ งได้ สมั ผสั ได้
กำรแบง่ ประเภทของวฒั นธรรม (ต่อ) พระรำชบัญญตั วิ ัฒนธรรมแห่งชำตแิ บ่งเป็น 4 ประเภท คือ • คตธิ รรม (Moral) คือ วฒั นธรรมทีเ่ ก่ียวกบั หลักในการดารงชวี ติ ส่วนใหญ่เป็นเร่ือง ของจิตใจ และไดม้ าจากศาสนา ใชเ้ ป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตของสังคม • เนติธรรม (Legal) คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย รวมทงั้ ระเบียบประเพณที ่ียอมรับ นับถือกนั ว่ามีความสาคญั พอๆ กบั กฎหมาย ข • สหธรรม (Social) คือ วฒั นธรรมทางสังคม รวมทงั้ มารยาทต่างๆ ท่ีจะติดต่อ เกี่ยวข้องกับสงั คม • วตั ถุธรรม (Material) คอื วฒั นธรรมทางงวัตถุ
กำรแบ่งประเภทของวัฒนธรรม (ต่อ) สานักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ ไดแ้ บง่ ออกเปน็ 5 สาขา คอื • สาขามนษุ ยศ์ าสตร์ ไดแ้ ก่ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี คุณธรรม ศลี ธรรม ศาสนา ปรัชญา ประวตั ิศาสตร์ โบราณคดี มารยาทในสังคม การปกครอง กฎหมาย เปน็ ตน้ • สาขาศลิ ปะ ไดแ้ ก่ ภาษา วรรณคดี ดนตรี นาฏศลิ ป์ วจิ ิตรศลิ ป์ สถาปตั ยกรรม ประตมิ ากรรม จติ รกรรม เปน็ ต้น • สาขาช่างฝมี อื ได้แก่ การเย็บปกั ถักรอ้ ย การแกะสลัก การทอผ้า การจดั สาน การทาเครื่องเขนิ การทาเคร่อื งเงนิ เคร่อื งทอง การจดั ดอกไม้ การประดษิ ฐ์ การทาเครอื่ งปน้ั ดินเผา เปน็ ต้น • สาขาคหกรรมศิลป์ ไดแ้ ก่ ความรูเ้ รอ่ื งอาหาร การประกอบอาหาร ความรูเ้ รื่องการแตง่ กาย การอบรมเลี้ยงดูเดก็ การ ดูแลบ้านเรอื นทอี่ ยู่อาศยั ความรู้เรอ่ื งยา การรู้จักใชย้ า ความรใู้ นการอยูร่ วมกนั เป็นครอบครวั เปน็ ตน้ • สาขากีฬาและนันทนาการ ไดแ้ ก่ การละเลน่ มวยไทย ฟันดาบสอบมอื กระบีก่ ระบอง การเลยี้ งนกเขา ไม้ดดั ต่างๆ เปน็ ต้น
องค์ประกอบของวฒั นธรรม • องค์มติ (Concepts) หมายถึง รูปแบบของความคดิ ความเช่อื เหตุผล อดุ มการณ์ ทสี่ ่งผลต่อการชีว้ ัดการกระทาหรอื การแสดงออก • องคก์ ำร (Association or Organization) หมายถึง กลมุ่ สังคมท่มี ีการจดั ระเบยี บของสภาพแวดล้อมอยา่ ง • องค์พธิ กี ำร (Usage) หมายถงึ ระเบยี บการประพฤติปฏิบตั ทิ ่สี ืบต่อกนั มาหรือ ประเพณีอนั เป็นทยี่ อมรับกันโดยท่ัวไป • องค์วัตถุ (Instrumental and Symbolic Objects) หมายถงึ บรรดาวัตถุ สง่ิ ของต่างๆ ท่เี กดิ ขน้ึ จากการสรา้ งสรรคข์ องมนุษย์
ทม่ี ำของวัฒนธรรมไทย • สภำพทำงภมู ศิ ำสตร์ • ระบบกำรเกษตร • คำ่ นยิ ม • กำรเผยแพร่ทำงวฒั นธรรม
ปจั จยั สำคัญทส่ี ่งผลตอ่ วฒั นธรรมไทย • พทุ ธศาสนา • ศาสนาพราหมณ์ • การรบั วัฒนธรรมตะวนั ตก • ปจั จัยจากธรรมชาตแิ วดล้อม
ลกั ษณะเฉพำะของวฒั นธรรมไทย
กำรมีพุทธศำสนำ เป็นศำสนำหลกั ของประเทศ • ซ่ึงคาส่ังสอนของพระพุทธศาสนา นามาซ่งึ การประพฤตปิ ฏบิ ัติตาม จนกลายเป็นศิลปวฒั นธรรมท่ี งดงามมากมาย
กำรมีพระมหำกษตั รยิ เ์ ป็นประมขุ ของชำติ • ความผูกพนั ระหว่างสงั คมไทยกับสถาบัน พระมหากษตั รยิ เ์ ป็นเรื่องยากทอ่ี ธิบาย • เห็นไดจ้ ากการแสดงออกของประชาชนที่มีต่อ สถาบนั กษตั รยิ ต์ ้ังแต่อดตี • คนไทยมีความเคารพยดึ ม่นั ในพระมหากษัตรยิ ์ ทรงเปน็ ศูนย์รวมทางจิตใจของคนทัง้ ประเทศ • ลกั ษณะของวัฒนธรรมไทยจึงไมส่ ามารถแยก ออกได้
เรำมอี ักษรไทยใช้เป็นของตนเอง • ภาษาคือส่ิงท่ีเกิดขนึ้ จากความคดิ การ สรา้ งสรรค์ การปรับปรงุ รวมถึงการสืบตอ่ ท่ี สาคญั ภาษาคอื เคร่อื งมอื สาคญั ในการ ถา่ ยทอดวฒั นธรรมจากรุน่ หนง่ึ สูร่ ุ่นหนง่ึ • ทาใหว้ ัฒนธรรมไทยสบื ตอ่ กนั มาไดใ้ นลักษณะ ท่เี ปน็ แบบเฉพาะของตนเอง
วฒั นธรรมท่เี ป็นปจั จัยพ้นื ฐำน • หรอื ปจั จัย 4 ของสังคมไทยแสดงออก ชัดเจนวา่ มคี วามสอดคลอ้ งกบั ธรรมชาติ แวดลอ้ ม • มีการปรบั เปล่ียนไปตามยุคสมัย ทลี่ ้วน แล้วแต่ถกู กาหนดโดยธรรมชาตทิ ง้ั ส้นิ • ปจั จบุ ันปัจจัยสาคัญท่กี าหนดลักษณะของ วัฒนธรรมที่เป็นปจั จยั พนื้ ฐานของไทยก็คอื การรบั วฒั นธรรมตา่ งชาติ
ศลิ ปกรรมของไทย • ทง้ั วรรณคดี ดนตรี จติ รกรรม ประตมิ ากรรม สถาปัตยกรรม เหล่าน้ี ลว้ นมลี กั ษณะเฉพาะ • แตเ่ ดมิ ไดร้ ับอิทธพิ ลมาจากความเชอื่ ทาง ศาสนาและธรรมชาติแวดล้อม • ปัจจุบนั ไดร้ ับอทิ ธิพลจากภายนอกสง่ ผล ใหศ้ ิลปกรรมของไทยเปลย่ี นไปเปน็ สากล มากขนึ้
วฒั นธรรมที่เก่ยี วกบั คุณลักษณะของคนไทย • เช่น จรรยามารยาท จติ ใจของคนไทย เป็นต้น • ลักษณะเฉพาะของคนไทยท่ีท่วั โลกต่างก็ ยอมรับก็คือ ความสภุ าพ ออ่ นนอ้ มถ่อม ตน จติ ใจดี ท่แี สดงออกมาในหลาย รูปแบบเช่น การยมิ้ การไหว้ เปน็ ต้น • เช่อื วา่ ได้รบั อิทธิพลมาจากความเชื่อและ ศาสนา
กำรพักผอ่ นและสันทนำกำร • ด้วยคุณลักษณะของคนไทยท่ขี องวถิ ีการดาเนิน ชีวิตทเ่ี รียบงา่ ย สนกุ สนาน • การพกั ผอ่ นและสนั ทนาการจึงเป็นส่วนหน่ึงในวิถี ชวี ติ ของคนไทย • สังคมไทยจึงมรี ูปแบบของกิจกรรมเพอ่ื การ พักผ่อนทห่ี ลากหลาย เรยี บง่าย ดว้ ยสงิ่ ทม่ี อี ยใู่ น ธรรมชาติรอบตวั • สงั คมไทยมกี ิจกรรมการละเล่นตัง้ แตเ่ ด็กจนถึง ผู้สงู อายุ
กจิ กรรมกลุม่ นักศกึ ษาเหน็ ดว้ ยหรอื ไม่กบั MV ชดุ ดังกลา่ ว
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127