Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Description: CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

CSRตามหลักปรช� ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย และ รศ.ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา



ในการประชมุ CSR Forum คร้งั ที่ ๑ วนั พฤหสั บดที ่ี ๒๕ สงิ หาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๖.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. ณ ห้องบอลรมู ๓ ชน้ั Lobby โรงแรมแกรนด์ไฮแอท เอราวัณ วิทยากร ศ.นพ.เกษม วฒั นชยั องคมนตรี รศ.ดร.จริ ายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ผู้อำนวยการสำนักงานทรพั ยส์ ินสว่ นพระมหากษัตรยิ ์ ผดู้ ำเนินรายการ ดร.วิรไท สันติประภพ รองผ้จู ัดการสายงานวางแผนกลยุทธ์องค์กรตลาดหลกั ทรัพย์แห่งประเทศไทย

2 “CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” คำนำ “ทำอย่างไรจึงจะสามารถดำเนินชีวิต ดำเนินธุรกิจได้อย่างสมดุล และยง่ั ยนื ” เป็นคำถามท่หี ลายคนจะไดร้ ับคำตอบจากหนงั สอื “CSR ตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” เล่มนี้ที่ได้ถ่ายทอดมุมมอง แนวคิด และประสบการณ์จากศาสตราจารย์ เกียรติคุณ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี และ รศ.ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ผู้ท่ีร่วมขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริมาอย่างยาวนาน ซึ่งได้ ให้ความกรุณาเป็นองค์ปาฐกในงาน CSR Forum : “CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” เมื่อวันท่ี ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๔ ซ่ึง CSR Club สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย ได้จัดข้ึน ด้วยเล็งเห็นว่า ท่ามกลางความผันผวนและการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคโลกาภิวัตน์นี้ การดำเนินชีวิต การดำเนินธุรกิจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ ทางออกสำคัญ ท่ีจะพาคนไทยและสังคมไทยไปสู่ความยั่งยืน และจะเป็นประโยชน์ย่ิงขึ้น หากภาคเอกชน สามารถประยุกต์ปรัชญาฯ ดังกล่าวสู่งานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร (CSR : Corporate Social Responsibility) ได้ร่วมพัฒนาควบคู่ไปกับเศรษฐกิจ สังคม และ ส่ิงแวดลอ้ มอย่างสมดลุ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอาจจะไม่ใช่เร่ืองใหม่ แต่กลับเป็นเร่ืองที่นับวัน ยิ่งทันสมัย โดยเฉพาะในต่างประเทศที่หันมาให้ความสนใจศึกษาและนำไปประยุกต์ใช้ร่วมกับ เครื่องมือทางธุรกิจอ่ืนๆ เพราะเป็นเคร่ืองมือท่ีจะช่วยให้เราอยู่ได้อย่างสมดุลพร้อมรับ การเปลี่ยนแปลง ซ่ึงหนังสือเล่มน้ี คณะผู้จัดทำได้ถอดเน้ือความจากงาน CSR Forum โดยมไิ ดด้ ดั แปลงใดๆ ทัง้ สิน้ เพ่ือให้คงความคดิ ในการถ่ายทอดจากวทิ ยากร บรรยากาศ และ อรรถรสไดอ้ ย่างสมบรู ณ์

“CSR ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” 3 CSR Club สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทยใคร่ขอขอบพระคุณศาสตราจารย์ เกียรติคุณนายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี และ รศ.ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา วิทยากรผู้ถ่ายทอดมุมมองและประสบการณ์อันทรงคุณค่านี้ รวมท้ัง ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ท่ีได้ให้ข้อมูล มุมมอง แง่คิด อันเป็นประโยชน์ยิ่งกับผู้เข้าร่วมงานและผู้อ่าน และ ดร.วิรไท สันติประภพ ผู้ดำเนินรายการในงานดังกล่าว พร้อมท้ังใคร่ขอขอบคุณ ดร.ปรียานุช  พิบูลสราวุธ และ ทีมงานคณะผู้จัดทำที่ทำให้หนังสือเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ด้วยดี ท้ังน้ี CSR Club สมาคมบริษัท จดทะเบียนไทยหวังเป็นอยา่ งย่งิ ว่า หนงั สือ CSR ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเลม่ น้ี จะจุดประกายให้ท่านผู้อ่านได้นำหลักปรัชญาดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ทั้งการดำเนินชีวิต และการดำเนินธุรกิจได้อย่างสมดุลและย่ังยืน อันนำไปสู่การสร้างความเข้มแข็งให้กับสังคม และประเทศโดยรวมตอ่ ไป นายชนินท์ ว่องกศุ ลกจิ นายวฒั นา โอภานนทอ์ มตะ นายกสมาคมบริษทั จดทะเบยี นไทย ประธาน CSR Club สมาคมบริษัทจดทะเบยี นไทย

4 “CSR ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” ดร.วิรไท สันติประภพ : ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยังเก่ียวข้องหรือไม่ ในยุคท่ีบริษัทไทยมีความเข้มแข็ง เศรษฐกิจไทยก็มีความเข้มแข็งมากขึ้นเรื่อยๆ แต่ถ้ามองในภาพกว้าง เราก็จะเห็นกันว่า เศรษฐกิจและสังคมไทยยังมีความเปราะบางอยู่มาก กับเหตุการณ์ความเหล่ือมล้ำในสังคม เหตุการณ์การเมืองท่ีเกิดข้ึน ปัญหาในชนบทไทย ก็ยังเป็นปัญหาท่ีรุนแรงสาหัสสากรรจ ์ อยู่ทีเดียว ด้วยความอ่อนไหวและความเปราะบางเช่นน้ี ผมเช่ือว่าปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงย่ิงมีความสำคัญมากข้ึนเรื่อยๆ และคนกลุ่มหนึ่งท่ีจะมีส่วนช่วยแก้ปัญหา ก็หนีไม่พ้นคือบริษัทจดทะเบียนที่มีกำลังอยู่ค่อนข้างมากทีเดียว เพราะเป็นกลุ่มบุคคล กล่มุ องค์กรในสงั คมไทย ท่ีจดั ไดว้ า่ เข้มแข็งทสี่ ดุ ในประเทศไทยในขณะนี้ครับ เพราะฉะนั้น ในวันนี้เป็นโอกาสดีอย่างยิ่ง ที่เราจะได้ทำความเข้าใจเก่ียวกับปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงว่ามีที่มาท่ีไปอย่างไร เราจะได้เห็นตัวอย่างของการประยุกต์ใช้ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในวงการธุรกิจท่ีจัดได้ว่าประสบความสำเร็จ และท้ายท่ีสุดนะครับ ก็คงจะได้เห็นตัวอย่างของการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการทำ CSR เพื่อที่จะ ช่วยใหป้ ระเทศไทย - สงั คมไทยมีความเขม้ แขง็ ขน้ึ นะครับ ผมเช่ือว่า ท้ายท่ีสุดของการสัมมนาในวันนี้ ท่านคงจะเห็นว่าปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงจะเป็นทางออกที่สำคัญของการท่ีเราจะหลุดจากกับดักประชานิยม ซึ่งเป็นปัญหา สำคัญของประเทศในวันนี้ได้นะครับ และท่านก็คงจะเห็นตัวอย่างท่ีดี ซ่ึงถ้าบริษัทจดทะเบียน แห่งใดสนใจท่ีจะเข้าร่วมทำกิจกรรม CSR ก็สามารถที่จะ Shortcut ได้ โดยเข้ามาร่วมกับ กิจกรรมท่ีทา่ นบรมครทู งั้ สองทา่ น ไดร้ ิเรม่ิ ไป และได้ดำเนนิ การไป ผมจะขออนุญาตกราบเรยี นถามท่านองคมนตรีก่อนนะครบั วา่ ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมีที่มาที่ไปอย่างไร และมีความหมายจริงๆ ว่าอะไรครับ เรียนเชิญท่านองคมนตรี ครับ

“CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” 5 ศ.นพ.เกษม วฒั นชัย องคมนตรี : ชื่อจริงๆ ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทาน คือ ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง มีคำว่า ของ ด้วย ทีนี้เวลาเราพูด มักจะพูดส้ันๆ เลยใช้คำว่า ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง และสั้นไปกว่านั้น คือคำว่า เศรษฐกิจพอเพียง และสั้นไปกว่าน้ันอีกคือ พอเพียง ทำความเข้าใจตรงน้ีก่อน … แต่ว่าถ้าจะให้เต็มท่ี คือ ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรับส่ังไว้หลายคร้ัง แต่จริงๆ พระองค์ท่าน พระราชทานให้เมื่อวันท่ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ พระราชทานคืนมาให้สภาพัฒน์ฯ๑ โดยได้ทรงแก้ไขพระราชทาน และมีพระราชวินิจฉัยชัดเจนว่า เป็นหลักคิดที่ประมวลเอา สัธรรมที่พิสูจน์แล้ว ทั้งทางโลก และทางธรรม มาทำให้เป็นระบบ แล้วพระราชทาน ให้พวกเรา เพ่ือจะได้นำไปใคร่ครวญ และนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิตตนเอง ครอบครัวตนเอง บรษิ ทั ของตนเอง หนว่ ยงาน ชุมชน ประเทศ … ส้นั ๆ แคน่ ี้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ก็คือ หลักคิด เพื่อจะให้เรารับมือกับการ เปลี่ยนแปลงในโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ... อยากจะให้พวกเราดูพระบรมราโชวาทท่ีสำคัญ ผมจะชใี้ หด้ ูสักนดิ เดยี ว คอื ๑สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ

6 “CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ¡¦³¦¤¦µÃªµšÂ¨³¡¦³¦µ—µÎ ¦­´ šÉ¸Áž}œÂœªšµŠ…°Šž¦´ µ…°ŠÁ«¦¬“„·‹¡°Á¡¸¥Š “...„µ¦¡•´ œµž¦³Áš«‹µÎ Ážœ} ˜°o ŠšµÎ ˜µ¤¨Îµ—´ …œ´Ê ˜o°Š­¦oµŠ¡ºÊœ“µœ ‡º° ‡ªµ¤¡°¤¡¸ °„·œ ¡°Äo…°Šž¦³µœ­ªn œÄ®Án žœ} ÁºÊ°Š˜œo „n°œ ץčoª·›¸„µ¦ ¨³Ä°o ž» „¦–šr ɞ¸ ¦³®¥´— ˜n™¼„˜o°Š˜µ¤®¨„´ ª· µ Á¤°Éº ŗo¡Êºœ“µœ¤Éœ´ ‡Š¡¦o°¤¡°‡ª¦ ¨³ž’· ˜´ ·Å—o¨ªo ‹Š¹ ‡n°¥­¦oµŠ‡n°¥Á­¦·¤‡ªµ¤Á‹¦·Â¨³“µœ³Á«¦¬“„·‹…´Êœš­¸É ¼Š…œ¹Ê ×¥¨µÎ —´˜°n Ş ®µ„¤nŠ» ˜‹n ³š»n¤Áš­¦oµŠ‡ªµ¤Á‹¦· ¥„Á«¦¬“„·‹…¹œÊ Ä®¦o ª—Á¦Èª ˜nž¦³„µ¦Á—¸¥ª ץŤnÄ®oŸœž’·˜´ „· µ¦­´¤¡œ´ ›r„´ ­£µª³…°Šž¦³Áš« ¨³…°Šž¦³µœÃ—¥­°—‡¨o°Š—ªo ¥ „È‹³Á„—· ‡ªµ¤Å¤­n ¤—¨» ĜÁ¦ºÉ°Š˜µn ŠÇ …¹Êœ ŽŠ¹É °µ‹„¨µ¥Ážœ} ‡ªµ¤¥»nŠ¥µ„¨¤o Á®¨ªÅ—Äo œš­¸É »—...” ¡¦³¦¤¦µÃªµšÄœ¡›· ¸¡¦³¦µšµœž¦·µ´˜¦…°Š¤®µª·š¥µ¨¥´ Á„¬˜¦«µ­˜¦r ª´œ¡§®´­—¸ šÉ¸ ÒÙ „¦„‘µ‡¤ ÓÖÒØ “การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น สร้าง พื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่ เป็นเบ้ืองต้นก่อน ใช้วิธีและอุปกรณ์ท่ีประหยัด ถูกต้องตามหลัก วิชา...” ขีดเส้นใต้ คำว่า ประหยัด และ ถูกต้องตามหลักวิชา “...เม่ือได้พ้ืนฐานม่ันคง จึงค่อยสร้างความเจริญและฐานะ เศรษฐกิจขน้ั สงู ขนึ้ ไป...”

“CSR ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” 7 บางคนไม่เข้าใจ แล้วบอกว่า ปรัชญาน้ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่อยากให ้ เรารวย อยากให้จนตลอดไป อันน้ันผิด ปรัชญาน้ีท่านรับสั่งว่า เราจะต้องดูสภาพสังคม ท่เี ปน็ จริง แลว้ คอ่ ยๆ สร้างสงิ่ ทเ่ี จริญ ทีท่ ่านเรียกว่า สร้างความเจรญิ คอ่ ยๆ ยกทลี ะขั้นไป เชน่ วันน้ี บริษัทเรามี Operation Scale ขนาด ๓ ล้าน ท่านใหค้ ่อยๆ สรา้ งข้นึ ไป ๓๐ ล้าน ๓๐๐ ล้าน ๓,๐๐๐ ลา้ น ๓๐,๐๐๐ ลา้ น ๓๐๐,๐๐๐ ลา้ น … ค่อยๆ เปน็ ขั้นเปน็ ตอนนะ วนั นป้ี ระชาชนส่วนหน่ึงในชนบท ... ที่คุณชาย (ม.ร.ว.ดศิ นัดดา ดศิ กลุ ) และพวกเรา ท่สี ถาบันปดิ ทองหลงั พระฯ๒ ได้ไปทำงานร่วมกัน ... เราใช้คำว่า กู้กิน กใู้ ช้ คอื จะกินก็ต้องกู้ เพราะไม่มีกิน จะใช้อะไรก็ต้องกู้ เพราะไม่มีใช้ เราต้องการให้เขาพัฒนาจาก กู้กิน กู้ใช้ ไปสู่ข้ันท่ีสองคือ พอกิน พอใช้ แล้วหลังจากน้ัน ขึ้นไปอีกขั้นหน่ึงคือ กินดี อยู่ดี ตรงนี้คือ ที่ดร.วิรไท พูดว่า ความเหล่ือมล้ำในชนบทของเรามีสูงมาก และยิ่งจะสูงมากขึ้นเร่ือยๆ ถา้ ไมท่ ำอะไร ๒สถาบนั ส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำริ

8 “CSR ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” เหตกุ ารณใ์ นอังกฤษก็ดี ในอยี ปิ ตก์ ็ดี ในบา้ นเราก็ดี ในยุโรปอีกหลายแหง่ ในอเมรกิ า ด้วยนะครับ … เกิดจากความเหล่ีอมล้ำทางฐานะเศรษฐกิจในสังคม เม่ือเกิดข้ึนอย่างนั้นแล้ว ก็อย่ไู มไ่ ด้ … เพราะมันมี Alienation (ความรู้สึกห่างเหนิ แปลกแยก) … คนเราเมื่อฐานะทาง เศรษฐกจิ ตา่ งกนั มาก มันจะพูดกันไม่รูเ้ ร่อื ง คอื Alienation เป็น Factor ท่ีสำคัญที่สุดเลย … ปรัชญานี้จะพยายามลบช่องว่างตรงน้ัน ลบ Gap ตรงนั้น ให้คนจนค่อยๆ ผ่านจากจนมาก เหลือจนน้อย และก็พอกิน และก็ร่ำรวยต่อไป คนรวยก็ค่อยๆ รวยมากข้ึนเร่ือยๆ เป็นมหา เศรษฐี … เป็นอะไรตอ่ มิอะไรของโลกเลยนะ … ปรชั ญาน้ีเป็นกลไก เป็น Mechanism ท่จี ะ ทำให้ท่านค่อยๆ ก้าวทีละขั้นไปเร่ือยๆ อย่างมั่นคง แต่อย่ากระโดดข้าม ... ปรัชญาน้ีไม่ให้ กระโดดข้าม … แล้ว Excessive Materialism หรือที่ผมใช้คำว่า … วัตถุนิยมเกินเหตุน้ัน ตรงกันข้ามกบั ปรัชญานี้

“CSR ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” 9 “...„µ¦nª¥Á®¨°º ­œ´ ­œœ» ž¦³µœÄœ„µ¦ž¦³„°°µ¡¸ ¨³˜´ŠÊ ˜´ª Ä®¤o ‡¸ ªµ¤¡°„·œ¡°Äo„n°œ°œÉº Ážœ} ¡œºÊ “µœœœ´Ê Áž}œ­É·Š­µÎ ‡´ °¥µn Š¥É·Š¥ª— Á¡¦µ³Ÿ¼oš¤¸É °¸ µ¡¸ ¨³“µœ³Á¡¥¸ Š¡°šÉ¸‹³¡ŠÉ¹ ˜œÁ°Š ¥°n ¤­µ¤µ¦™­¦µo Š ‡ªµ¤Á‹¦· „µo ª®œoµ¦³—´ š­É¸ ¼Š…Êœ¹ ˜°n ŞŗÃo —¥Âœœn °œ ­nªœ„µ¦™°º ®¨„´ š‹É¸ ³­Šn Á­¦¤· ‡ªµ¤Á‹¦· Ä®‡o °n ¥Áž}œÅž˜µ¤¨Îµ—´ —ªo ¥‡ªµ¤¦°‡° ¦³¤´—¦³ª´ŠÂ¨³ž¦³®¥´—œœÊ´ „ÈÁ¡°Éº ž°j Š„œ´ ‡ªµ¤Ÿ·—¡¨µ—¨o¤Á®¨ª ¨³Á¡Éº°Ä®o¦¦¨Ÿ» ¨­µÎ Á¦‹È ŗÂo œœn °œ¦· ¦¼ –r Á¡¦µ³®µ„Ťn„¦³šµÎ —ªo ¥ ‡ªµ¤¦³¤—´ ¦³ªŠ´ ¥°n ¤‹³®ª´ŠŸ¨Á˜¤È Á¤È—Á˜È¤®œªn ¥Å—Ão —¥¥µ„...” ¡¦³¦¤¦µÃªµšÄœ¡›· ¸¡¦³¦µšµœž¦· µ´˜¦…°Š¤®µªš· ¥µ¨´¥Á„¬˜¦«µ­˜¦r ª´œ«»„¦r šÉ¸ ÒÚ „¦„‘µ‡¤ ÓÖÒØ 2 ตรงนี้ ท่านจะรับส่ังถึงประชาชน พอกิน พอใช้ เป็นพ้ืนฐาน แล้วก็ค่อยๆ พัฒนา เปน็ ลำดบั ยืนยันอีกเหมือนกนั … ตอ่ ไปครับ

10 “CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” “...˜„n µ¦š‹¸É ³¡•´ œµÄ®Áo žœ} ¦¦¨Ÿ» ¨Ážœ} ž¦³Ã¥œ—r Š´ „¨µn ªÅ—o ‹ÎµÁžœ} š¸É ‹³˜o°Š¡•´ œµ“µœ³‡ªµ¤Ážœ} °¥…¼n °Šž¦³µœÄ®°o ¥n—¼ „¸ œ· —¸ Áž}œÁ°Êº Š˜œo „n°œ Á¡¦µ³“µœ³‡ªµ¤Áž}œ°¥…¼n °Šž¦³µœœœÊ´ ‡º°¦µ„“µœ°¥µn Š­Îµ‡´…°Š‡ªµ¤­ŠÂ¨³‡ªµ¤Á‹¦·¤´Éœ‡Š. ™oµž¦³µœš„» ‡œ¤¸“µœ³‡ªµ¤Áž}œ°¥š¼n —ɸ ¸ ¨ªo ‡ªµ¤­Š ¨³‡ªµ¤Á‹¦· ¥°n ¤‹³Áž}œŸ¨„n°Á„·—˜n°˜µ¤¤µ°¥nµŠÂœœn °œ. ‹¹Š°µ‹¡¼—Å—ªo µn „µ¦¡´•œµ„‡È °º „µ¦šµÎ ­Š‡¦µ¤„´‡ªµ¤¥µ„‹œ Á¡Éº°‡ªµ¤°¥n—¼ ¸„·œ—¸…°Šž¦³µœÃ—¥˜¦Š...” ¡¦³¦¤¦µÃªµšÄœ¡·›¸¡¦³¦µšµœž¦·µ´˜¦…°Š¤®µªš· ¥µ¨¥´ Á„¬˜¦«µ­˜¦r ªœ´ «»„¦r šÉ¸ Ó× „¦„‘µ‡¤ ÓÖÔÚ 3 อันนี้จะพดู ถงึ เรื่อง กนิ ดอี ยูด่ ี … พอกนิ พอใช้ กนิ ดีอย่ดู ี … คอ่ ยๆ ขยบั ขึ้นไปเร่ือยๆ ผมไปดูแผนพฒั นาประเทศ ๕ ปีของประเทศจีน เขาก็เหมอื นกนั เขาคดิ เหมอื นกัน … ตอนเขาเร่ิมพัฒนาใหม่ๆ ประชาชนเขายากจนมาก หลังจากท่ีประธานาธิบดีเติ้งเสี่ยวผิง เริ่มเปิดประเทศนะครับ คนของเขาส่วนใหญ่ยังอยู่ต่ำกว่าเส้นความยากจน หรือที่เรียกว่า Poverty Line ไม่รกู้ ่ีร้อยลา้ นคน … แตใ่ นช่วง ๓๐ ปี เขาทำให้คนของเขาพ้น Poverty Line มา ๑๔๐ ล้านคน แล้วเขาก็พยายามไปเรื่อย … แผนพฒั นา ๕ ปี แผนฯ ที่ ๑๒ ท่ีจะใชต้ ้งั แต่ เดือนตุลาคมน้ีไปอีก ๕ ปีข้างหน้า เขาเขียนไว้เลยว่า เป้าหมายแผนพัฒนาฯ ๕ ปีต่อไป จะทำใหส้ งั คมจนี กนิ ดอี ยดู่ รี อบด้าน ใชค้ ำว่า รอบดา้ น เลยนะ

“CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” 11 เรือ่ งน้ี พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั มพี ระราชดำรมิ านานแล้ว ๓๐ กว่าปแี ลว้ ว่าตอ้ ง ค่อยๆ พัฒนาขึ้นไป เป็นข้ันเป็นตอน แล้วก็ปรัชญาน้ีจะสร้างความมั่นคงและยั่งยืน ผมขอ อนุญาตขีดเส้นใต้คำที่สำคัญไว้ มั่นคง คือ มั่นคงในทุกสถานะของเรา ตามอัตภาพของเรา และ ยงั่ ยืน คอื เราสามารถท่จี ะพฒั นาต่อไปได้อีกในระยะยาว “...‡ªµ¤‹¦Š· Á‡¥¡—¼ Á­¤°Äœš¸Éž¦³¤» °¥µn Šœª¸Ê nµ „µ¦‹³Ážœ} Á­°º œœÊ´ Ťn­µÎ ‡´. ­Îµ‡´°¥š¼n ¸ÉÁ¦µ¤¸Á«¦¬“„‹· ¡°¤¸¡°„œ· . ¡°¤¸¡°„·œœœ´Ê ®¤µ¥‡ªµ¤ªnµ°¤»o ˜¼ ª´ Á°ŠÅ—o Ä®o¤¡¸ °Á¡¥¸ Š„´˜´ªÁ°Š...” ¡¦³¦µ—µÎ ¦­´ Áœº°É ŠÄœÃ°„µ­ªœ´ ÁŒ¨·¤¡¦³œ¤¡¦¦¬µ – «µ¨µ—­» ·—µ¨¥´ ­ªœ‹˜· ¦¨—µ ª´œ¡§®´­—¸ šÉ¸ Õ ›´œªµ‡¤ ÓÖÕÑ 4

12 “CSR ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” พระราชดำรัสองค์นี้ ทุกท่านคงรู้แล้ว เรื่อง เสือ ตอนนั้นเราพูดถึง Economic Growth ของอาเซียนหลายประเทศเหมือนเสือ เหมือน Tiger ตอนหลังเสือก็ง่อย เพราะ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๐ พอเราปล่อยค่าเงินบาทให้ลอยตัว เงินบาทของเรา ๑ ดอลล่าร์ ๒๖ บาทในตอนน้ัน ก็กลายเป็น ๕๐ กว่าบาท … พวกเราก็เจ๊งกันเป็นแถว!! เพื่อนผมก ็ ฆ่าตวั ตายไปคนหน่งึ … เจ้าของบริษทั ทำปลากระปอ๋ ง ฆ่าตวั ตายเลย! เพราะแกสนิ้ สดุ แลว้ ! … แต่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ถ้าเราจับหลักให้ได้ตอนนั้น ก็จะไม่มีการฆ่าตัวตาย เพราะมันมีองค์ประกอบ หรือ Component อนั หนงึ่ กค็ อื Component ของความมเี หตุผล … ความมีเหตผุ ล และ การใชห้ ลกั วชิ าในการตัดสินใจของผบู้ ริหาร … Component ๒ อันน้ี สำคัญมาก ซ่ึงเดี๋ยวจะอธิบายทีหลัง … วันนั้น ท่านรับสั่งว่า “การเป็นเสือหรือไม่ ไม่สำคัญ แต่เราควรมีเศรษฐกจิ แบบพอมพี อกนิ กอ่ น หมายความว่าอมุ้ ชูตัวเองได้ ให้พอเพียงกบั ตนเอง” พ.ศ. ๒๕๔๐ ถ้าเราจบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงได้ตอนนน้ั กจ็ ะไมม่ กี ารฆ่าตัวตาย เพราะมี องคป์ ระกอบ ความมีเหตุผล และ การใชห้ ลกั วิชา ในการตดั สินใจของผบู้ ริหาร Component ๒ อนั น้สี ำคญั มาก

“CSR ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” 13 “...™oµš»„ž¦³Áš«¤¸‡ªµ¤‡·— - °œ´ œÅ¸Ê ¤nčnÁ«¦¬“„‹· - ¤‡¸ ªµ¤‡·—ªnµšÎµ°³Å¦˜o°Š¡°Á¡¥¸ Š ®¤µ¥‡ªµ¤ªnµ ¡°ž¦³¤µ– Ť­n »—ØnŠ Ťn裰¥µn Š¤µ„ ‡œÁ¦µ„°È ¥Á¼n žœ} ­»…. ¡°Á¡¥¸ Šœ°Ê¸ µ‹‹³¤¤¸ µ„ °µ‹‹³¤¸…°Š®¦®¼ ¦µ„Èŗo ˜ªn nµ˜o°ŠÅ¤Ån žÁ¥¸ —Á¸¥œ‡œ°œºÉ . ˜o°ŠÄ®¡o °ž¦³¤µ–˜µ¤°´˜£µ¡...” ¡¦³¦µ—µÎ ¦´­…°Š¡¦³µš­¤Á—È‹¡¦³Á‹oµ°¥®¼n ´ª ¡¦³¦µšµœÂ„n‡–³»‡‡¨˜nµŠÇ šÁɸ …oµÁ µj ² ™ªµ¥´¥¤Š‡¨ ÁœºÉ°ŠÄœÃ°„µ­ª´œÁŒ¨¤· ¡¦³œ¤¡¦¦¬µ – «µ¨µ—­» —· µ¨´¥ ­ªœ‹˜· ¦¨—µ ¡¦³¦µª´Š—»­˜· ª´œ«»„¦r šÉ¸ Õ ›œ´ ªµ‡¤ ÓÖÕÒ 5 พระราชดำรัสองค์น้ี ผมคิดว่า อยากให้พวกเราศึกษาให้ละเอียดนะ ท่านว่า “ถ้าทุก ประเทศมีความคิด อนั นไี้ ม่ใช่เศรษฐกจิ แตม่ คี วามคิดวา่ ทำอะไรตอ้ งพอเพยี ง” คอื ความคิด พอเพยี ง นั่นเอง เปน็ Reasonableness ของ Thinking … ทำอะไร คดิ ทำอะไร ก็พอเพยี ง “...หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข พอเพียงน้ี อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอประมาณ ตามอตั ภาพ...” ได้รับสง่ั ดว้ ยว่า “...ถ้าบางประเทศมคี วามต้องการอย่างมาก เกนิ ขีดพอเพยี งไป จนต้องไปเบียดเบียนประเทศอ่ืน ต้องไปเบียดเบียนประเทศอ่ืนแล้ว ก็จะทำให้โลกน้ีไม่ม ี ความสุข โลกน้จี ะเกดิ การแก่งแย่ง โลกนี้จะเกดิ สงคราม!...”

14 “CSR ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” ท่านท้ังหลายที่เป็นนักธุรกิจ ท่านไม่อยากเห็นภาพของความขัดแย้งของสงคราม แน่นอน เพราะว่าความขัดแย้งของสงคราม ก็คือการหยุดชะงักงันของภาวะเศรษฐกิจโลก … อันนชี้ ัดเจน ทกุ คนรับรู้กันนะครับ … เพราะฉะน้ัน พระองค์ท่านรบั สั่งตรงนี้ ผมว่าสำคัญมาก ในช่วงแรก “...ถ้าทุกประเทศมีความคิด พอเพียง พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข...” ท่ีจริงตอนท่ีรับส่ังเชิญชวนให้พวกเราเอาปรัชญานี้ไปใช้ แล้วบอกว่า จะเป็นสุขนี่นะ รับสั่งไว้หลายที่ ตรงนี้ขออนุญาตยกมาที่เดียวก่อน ในระดับโลกนะ ... แต่ในระดับบุคคล ระดับครอบครัวนั้น ถ้าเอาปรัชญานี้มาใช้ พระองค์ท่านรับส่ังเลยว่า จะมีความสุข ตอนสัก ๑๐ กวา่ ปเี ศษๆ ผมไปท่ีท่าม่วง (จังหวัดกาญจนบุรี) เพือ่ นชวนไปทอดกฐนิ แล้วก็กำลังรอพระจะลงโบสถ์รับผ้ากฐิน พวกเราก็นั่งกับชาวบ้าน ก็มีสองคนผัวเมียตายาย อายุ ๗๐-๘๐ แล้ว ผมกค็ ยุ กบั ทา่ น ถามวา่ “เปน็ ยงั ไงอยูเ่ ยน็ เปน็ สุขไหม” เขาก็บอกว่า “มีความสขุ ดี” ผมถามวา่ “ทำอะไร” “ทำนา” “มีทกี่ ไ่ี ร”่ “๗ - ๘ ไร่” ถามว่า “มีลกู ไหม” บอก “ลกู หลานทกุ คนเรยี นหนังสอื สูง แลว้ กด็ แู ลตัวเองได้” เราตอนน้ัน ก็ปากคันนะ เพ่ิงจะรู้เร่ืองปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เลยถามว่า “คณุ ตารู้เรื่องเศรษฐกจิ พอเพียงของพระเจา้ อยู่หัวไหม?” ท่านตอบวา่ ยังไงรูไ้ หม ท่านตอบว่า “โอย๊ ! ตารเู้ รอื่ งเศรษฐกจิ พอเพยี งก่อนพระเจา้ อยหู่ ัวจะสอนพวกเราอีก” ฟังใหด้ ีนะครับ ผมวา่ ตรงนสี้ ำคัญมากเลย “ตานะ่ ร้เู รือ่ งเศรษฐกจิ พอเพยี ง ก่อนที่พระเจา้ อยหู่ วั จะสอนพวกเรา...” บอก “.. น่ีนะ อบต. มนั จะเอารางวง-รางวลั อะไรมาให้ ตาไมอ่ ยากไดห้ รอก ตามีความสขุ ตามคี วามสุขกับตวั เอง”

“CSR ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” 15 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมีความสอดคล้องกับวถิ ชี วี ิตดงั้ เดิมของคนไทย ท่พี ึ่งพาและเกอ้ื กูลกันระหว่างคนกับธรรมชาต ิ แลว้ ต้องขีดเสน้ ใต้อกี อนั คอื ตามอตั ภาพ เพราะวา่ คนสมยั น้ีไม่ไดย้ ดึ อตั ภาพ แต่วา่ ชอบ ... ชอบว่าเพื่อนมีอะไร ก็อยากจะมีตาม ท้ังๆ ท่ีอัตภาพของเรากับเพื่อนไม่เท่ากัน แต่วันหลังเราอาจจะแข่งชนะอัตภาพของเพื่อนก็ได้ เอาไว้วันหลังก่อน … แต่วันนี้ล่ะ อัตภาพของเราคืออะไร? … น่ีพระองค์ท่านรับส่ังเลยว่า “ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ” เพราะฉะนั้น คำว่า พอประมาณในปรัชญานี้สำคัญมาก จับหลักท่ีว่า พอประมาณตาม อัตภาพ … วันน้ีบริษัทเรามีอัตภาพอย่างไร - เท่าไร เทียบกับอีก ๑๐ บริษัท อยู่ตรงไหน เราต้องรู้เราต้องรู้อัตภาพของบริษัทเรา เพราะฉะนั้น Decision Making ทุกอย่างใน บริษัทเรา ต้องว่าตามอัตภาพ … เดี๋ยวจะมี Component อื่นอีกนะ ... แต่ผมว่าตรงน ี้ เป็นเร่ืองสำคัญ ... อีกอันหนึ่ง “ต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น” ปรัชญาน้ีส่ังเลยว่าต้องไม่ เบียดเบียนคนอ่ืน รับสัง่ ไว้หลายที่ ตอ่ ไปครบั

16 “CSR ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” “...Á«¦¬“„·‹¡°Á¡¸¥ŠÁžœ} Á­¤º°œ¦µ„“µœ…°Šª¸ ·˜ ¦µ„“µœ‡ªµ¤¤œÉ´ ‡Š…°ŠÂŸnœ—œ· Áž¦¥¸ Á­¤º°œÁ­µÁ…¤È š™É¸ „¼ ˜°„¦°Š¦´ oµœÁ¦°º œ˜ª´ °µ‡µ¦Åªoœœ´É Á°Š ­ÉŠ· „n°­¦µo Š‹³¤œ´É ‡ŠÅ—o„°È ¥n¼š¸ÉÁ­µÁ…Ȥ ˜‡n œ­nªœ¤µ„¤°ŠÅ¤nÁ®œÈ Á­µÁ…¤È ¨³¨º¤Á­µÁ…ȤÁ­¥¸ —ªo ¥ŽÎµÊ Ş...” ¡¦³¦µ—ε¦­´ …°Š¡¦³µš­¤Á—È‹¡¦³Á‹oµ°¥¼n®´ª ‹µ„ªµ¦­µ¦¥´ ¡•´ œµ ž¦³‹µÎ Á—º°œ­Š· ®µ‡¤ ¡.«. ÓÖÕÓ 6 ตอนนี้ พระองค์ท่านรับส่ังอย่างกล้าหาญมากเลย อันนี้เดือนสิงหาคม ๒๕๔๒ นะ ก่อนท่ีจะพระราชทาน Text ท้ังหมดของเศรษฐกิจพอเพียงให้พวกเรา แต่พระองค์ท่านกำลัง … ถ้าพูดเป็นภาษาชาวบ้าน … พระองค์ท่านกำลัง Formulate concept ของปรัชญานี้ … พระองคท์ ่านรับสัง่ เมอ่ื เดอื นสิงหาคมนะ … ลองดูนะ …

“CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” 17 เศรษฐกิจพอเพียงเป็นรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะม่ันคงได้ ก็อย่ทู เ่ี สาเขม็ คนสว่ นมากมองไมเ่ ห็นเสาเขม็ และลืมเสาเขม็ เสยี ด้วยซำ้ ไป ผมว่าตรงน้ีสำคัญมากนะครับ … พระองค์ท่านเชิญชวน … เชิญชวนว่า อันนี้เป็น Foundation ปรชั ญาน้ีเป็น Foundation … ถา้ นักเรยี นเอาไปใชก้ ค็ ือ Foundation ของชีวติ ครอบครวั ไหน หรอื ครเู อาไปใชก้ เ็ ปน็ Foundation ของครอบครวั ของครู ชมุ ชนไหนเอาไปใช ้ กเ็ ป็น Foundation ของชุมชนนนั้ บริษทั ไหนอย่างทบี่ อก หรอื ประเทศไหน เอาไปใชน้ ะครบั ก็เปน็ Foundation ของบรษิ ทั ของประเทศนนั้ ๆ … ซ่ึงตอนหลัง ๑๐ กวา่ ปีใหห้ ลงั กม็ ีการ พิสูจน์เยอะแยะเลยว่า ชุมชนที่เอาไปใช้น่ี เขามีความเข้มแข็งขึ้นมาได้อย่าง อย่างเรียกว่า พลิกหน้าพลิกหลังเลย หรือบริษัทเอกชนท่ีเอาไปใช้น่ีนะครับ เดี๋ยวจะพูดกันต่อ … เด๋ียว คุณชายเองก็มตี วั อยา่ งเยอะแยะเลย ต่อไปครับ ชุมชนท่นี ำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใชน้ ่ี เขามีความเขม้ แข็งขนึ้ มาได ้ อยา่ งเรียกวา่ พลิกหนา้ พลิกหลังเลย

18 “CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” อันน้ีเป็นหนังสือที่อดีตท่านราชเลขาธิการ ตอบว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานคืนมา เป็นคำนิยามที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้สภาพัฒน์ฯ ตอนกลางแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ … ตอนนั้นสภาพัฒน์ฯ กำลังจะประเมินกลางแผน ๘ ปี ๒๕๔๒ - ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ - กเ็ อากรอบตรงนม้ี าประเมิน … แลว้ ตอนหลงั สภาพัฒน์ฯ ทำแผน ๙ แผน ๑๐ ก็ยกเอาปรัชญานี้ข้ึนมา เป็นหลักคิดในการทำแผน ๙ แผน ๑๐ ผมเข้าใจว่า แผน ๑๑ ซึ่งกำลังทำกันอยู่ และจะเร่ิมใช้ปี ๒๕๕๕ นี้ ก็จะใช้ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นฐาน … แล้วก็ตอนเขียนรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ก็ได้เอาปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปใส่ในหลายมาตรา อยู่ในหลายมาตราของรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ด้วย นะครับ

“CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” 19 Á«¦¬“„·‹¡°Á¡¸¥Š Áž}œž¦´µÊ¸™¹ŠÂœª„µ¦—ε¦Š°¥¼n¨³ž’·´˜·˜œ…°Šž¦³µœÄœš»„ ¦³—´ ˜´ÊŠÂ˜n¦³—´‡¦°‡¦´ª ¦³—´»¤œ ‹œ™¹Š¦³—´¦´“š´ÊŠÄœ„µ¦¡´•œµÂ¨³¦·®µ¦ž¦³Áš« Ä®o—εÁœ·œÅžÄœ šµŠ­µ¥„¨µŠ ×¥ÁŒ¡µ³„µ¦¡´•œµÁ«¦¬“„·‹Á¡ºÉ°Ä®o„oµªš´œ˜n°Ã¨„¥»‡ 脵£·ª´˜œr ‡ªµ¤¡°Á¡¸¥Š ®¤µ¥™¹Š ‡ªµ¤¡°ž¦³¤µ– ‡ªµ¤¤Á¸ ®˜»Ÿ¨ ¦ª¤™¹Š‡ªµ¤ ‹ÎµÁž}œšÉ¸‹³˜o°Š¤¸¦³£¼¤·‡o»¤„´œÄœ˜´ªšÉ¸—¸¡°­¤‡ª¦ ˜n°„µ¦¤¸Ÿ¨„¦³šÄ—Ç °´œÁ„·—‹µ„„µ¦ Áž¨É¸¥œÂž¨Šš´ÊŠ£µ¥œ°„¨³£µ¥Äœ šÊ´ŠœÊ¸ ‹³˜o°Š°µ«´¥‡ªµ¤¦°¦¼o ‡ªµ¤¦°‡° ¨³‡ªµ¤ ¦³¤´—¦³ª´Š°¥nµŠ¥É·ŠÄœ„µ¦œÎµª·µ„µ¦˜nµŠÇ ¤µÄoĜ„µ¦ªµŠÂŸœÂ¨³„µ¦—εÁœ·œ„µ¦š»„…´Êœ˜°œ ¨³…–³Á—¸¥ª„´œ‹³˜o°ŠÁ­¦·¤­¦oµŠ¡Êºœ“µœ‹·˜Ä‹…°Š‡œÄœµ˜· ×¥ÁŒ¡µ³ Á‹oµ®œoµšÉ¸…°Š¦´“ œ´„š§¬‘¸ ¨³œ´„›»¦„·‹Äœš»„¦³—´ Ä®o¤¸­Îµœ¹„Äœ‡»–›¦¦¤‡ªµ¤ ŽÉº°­´˜¥r ­»‹¦·˜ ¨³Ä®o¤¸‡ªµ¤¦°¦o¼šÉ¸Á®¤µ³­¤ —εÁœ·œ¸ª·˜—oª¥‡ªµ¤°—šœ ‡ªµ¤Á¡¸¥¦ ¤¸­˜· ž{µÂ¨³‡ªµ¤¦°‡° Á¡Éº°Ä®o­¤—»¨Â¨³¡¦o°¤˜n°„µ¦¦°Š¦´„µ¦Áž¨É¸¥œÂž¨Š°¥nµŠ¦ª—Á¦Èª ¨³„ªoµŠ…ªµŠšŠÊ´ —µo œª˜´ ™» ­Š´ ‡¤ ­ŠÉ· ª—¨°o ¤ ¨³ª•´ œ›¦¦¤‹µ„è„£µ¥œ°„Å—oÁžœ} °¥µn Š—¸ š‡ªµ¤ ®¦º° ‡µÎ œ·¥µ¤ …°Šž¦´µ…°ŠÁ«¦¬“„‹· ¡°Á¡¸¥Š š¡É¸ ¦³µš­¤Á—‹È ¡¦³Á‹µo °¥n¼®ª´ š¦Š¡¦³„¦»–µ ž¦´ ž¦Š» „Åo …¨³¡¦³¦µšµœ­µÎ œ„´ Šµœ‡–³„¦¦¤„µ¦¡´•œµ„µ¦Á«¦¬“„‹· ¨³­´Š‡¤Â®nŠµ˜œ· µÎ ŞÁŸ¥Â¡¦˜n °n Ş Á¤°Éº ªœ´ šÉ¸ ÓÚ ¡§«‹·„µ¥œ ÓÖÕÓ 7 Text ของปรัชญานี้ มแี คน่ ้เี องครบั มหี น้าเดียว ผมจะลองเชญิ ชวนพวกเราดู และผม จะลองตัง้ คำถาม ๔ คำถาม ที่จะหาคำตอบได้จาก Text หน้าเดยี วนี้ คอื หนงึ่ ปรชั ญานีม้ วี ตั ถปุ ระสงคอ์ ะไร สอง คำว่าพอเพยี งหมายถึงอะไร สาม ถา้ บรษิ ัทฉันจะเอาไปใช้ ฉนั ตอ้ งเตรียมบรษิ ัท อะไรบ้าง ส่ี ถ้าบรษิ ัทฉนั เอาไปใช้แลว้ จะเกดิ ประโยชนอ์ ะไรกบั บรษิ ัทฉนั บ้าง ๔ คำถามน้ี จะมคี ำตอบอยใู่ น Text น้หี มดครบั

20 “CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” ประโยคแรกบอกว่า ปรัชญาน้ี พระราชทานมาเพื่ออะไร อยู่ในบรรทัดแรก เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาช้ีการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ ครอบครัว ชุมชน จนถึงรัฐ ในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ใช้ทางสายกลาง แต่ถ้า พูดเฉพาะด้านเศรษฐกิจ ท่ีจริงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำไปใช้ได้ทุกด้าน ไม่ใช่ด้าน เศรษฐกิจอย่างเดยี ว ทงั้ ในดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ นสงั คม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านวฒั นธรรม … ท่านเคยรับส่ังว่า ช่ือนี่ ใช้คำว่า เศรษฐกิจพอเพียง เพราะตอนน้ันเศรษฐกิจมันแย่ ก็เลยใช้ คำน้ี แต่จริงๆ ปรัชญานี้เป็นปรัชญาแห่งความพอเพียงทุกด้าน คือ ด้านเศรษฐกิจ ด้าน สังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และดา้ นวัฒนธรรม ท่านดูประโยคสดุ ทา้ ย พร้อมต่อการรองรบั การ เปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเร็วและกว้างขวาง ทง้ั ดา้ นวตั ถุ วัตถกุ ค็ อื เศรษฐกิจ สังคม ส่งิ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรม จากโลกภายนอกไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ประโยคแรกบอกว่า เป็นปรัชญาท่ีช้ีถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนทุกระดับ ใชท้ างสายกลาง แตพ่ ระองคท์ ่าน รบั ส่งั โดยเฉพาะการเศรษฐกจิ ใหก้ ้าวทนั ยคุ โลกาภิวตั น์ เห็นไหมครับ ท่านรับส่ังว่าเร่ืองเศรษฐกิจนี้ ประเทศไทยเมื่อใช้ปรัชญานี้ เป้าหมายต้อง ก้าวทันโลกในยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งมีการแข่งขันสูง มีการเปล่ียนแปลงสูง Change and competition โลกสมัยปัจจุบัน ก็คือ การเปล่ียนแปลง ซ่ึงเกิดขึ้นรวดเร็วมาก อัตรา แลกเปล่ยี นเงินเราเหน็ กันแล้ว ตลาดหุ้นเราเห็นกนั แล้ว ราคาทองคำ ที่โนน่ ที่นเ่ี กดิ การปฏวิ ตั ิ ท่ีโน่นท่ีน่ีเกิดการล้มรัฐบาล เปลี่ยนแปลงเร็วมาก … change เป็นเรื่องที่ทุกคนต้องรับมือ ปรัชญาน้ี พระองค์ท่านพระราชทานมา … ออกแบบมา … เพื่อให้เราเตรียมพร้อมรับมือ ตอ่ การเปล่ียนแปลง … การเปล่ียนแปลงของชีวติ เดก็ นักเรียน การเปลี่ยนแปลงของครอบครวั ใดๆ การเปลี่ยนแปลงของชุมชน การเปลี่ยนแปลงขององค์กรบริษัท การเปลี่ยนแปลงของ ประเทศ … จะรบั มือการเปล่ยี นแปลงอยา่ งไร? ปรัชญาบอกวา่ ถ้าจะรับมอื การเปล่ยี นแปลง ได้ ต้องมีความเข้มแข็ง ๔ ด้าน ต้องสร้างความเข้มแข็งทั้ง ๔ ด้าน คือ วัตถุ สังคม ส่งิ แวดล้อม และวฒั นธรรม

“CSR ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” 21 สำหรับบริษัท … วัตถุ ก็คือ สถานภาพของ Corporation สภาพเชิงกายภาพ Hardware สังคม ก็คอื สงิ่ ทเ่ี ป็น Software ทงั้ หลาย Humanware ทงั้ หลาย ทีอ่ ย่ใู นบรษิ ทั ของท่าน ส่ิงแวดล้อม - อันน้ีชัดเจน สิ่งแวดล้อม ทั้งภายในบริษัท และรอบๆ บริษัท โดยเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ท่ีเก่ียวข้องกับการดำเนินธุรกิจของบริษัท วฒั นธรรม ก็ชัดเจน วัฒนธรรมองค์กร วัฒนธรรมบริษทั ทา่ นสร้างได้หมด … ท่านผู้บรหิ าร สรา้ งความเข้มแขง็ ไดห้ มด หลกั อยตู่ รงไหน? หลกั อยตู่ รงประโยคทส่ี อง … ความพอเพยี งคอื อะไร ความพอเพยี ง หมายถึง หนึ่ง ความพอประมาณ สอง ความมีเหตุผล สาม มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ตอ่ การมผี ลกระทบใดๆ อันเกดิ จากการเปล่ียนแปลงทัง้ ภายนอกและภายใน … เปน็ หลกั คิด ในการสร้างความเข้มแข็ง ๔ ด้าน เพื่อให้บริษัทเราพร้อมรับการเปล่ียนแปลง - เปล่ียน รัฐบาล เปลี่ยนนโยบายของรฐั เปลี่ยนอตั ราแลกเปลยี่ น เปลย่ี นคแู่ ข่งทั้งในและนอกประเทศ … เราเตรียมความพร้อมด้วยการสร้างความเข้มแข็งพ้ืนฐาน ทางวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ทีนี้คำว่า พอประมาณ พระองค์ท่านรับสั่งไปแล้วว่า พอประมาณตามอัตภาพ Decision Making ในขณะใดก็ตาม ถา้ จะใชห้ ลกั ความพอเพียง ก็คือ หนงึ่ พอประมาณไหม? Over Shoot? หรือ Under Shoot? เรายิงเกินไป หรือยิงน้อยกว่า? มันควรจะยิงตรง เป้าหมาย! … ตรงเป้าหมายตามอัตภาพในขณะนั้น … ความพอประมาณนี่สำคัญมากเลย นะครบั - ไมท่ ำอะไรเกนิ ไป … ไม่ Over Invest! ไม่ Under Invest! อะไรตอ่ อะไรพวกน้ี .... ข้อท่ีสอง มีเหตุผล … มีเหตุผลทางกฎหมาย มีเหตุผลทางศีลธรรม มีเหตุผลทาง กฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ มีเหตุผลต่างๆ ฯลฯ เพราะฉะนั้นเรื่องความมีเหตุผล หรือ Reasonableness มีคนแปลเป็นภาษาอังกฤษ … ความมีเหตุผลตรงนี้ เราใช้คำว่า Reasonable … To be Reasonable. Reasonable to What? Reasonable to Law. Reasonable to Ethics. Reasonable to CSR Principle - ที่พวกเราเช่อื อยู่. Reasonable to Good Governance. นี่คอื ความมี Reasonable ทง้ั หลาย

22 “CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” หนึ่ง พอประมาณ … พอเพียง พอประมาณอย่างเดียวไม่พอ สองต้องคิดว่า มันมี เหตุผลไหม สมเหตุสมผลไหม ... แล้วเท่านั้นยังไม่พอ อันที่สาม ต้องบอกได้ด้วยว่าการ เปล่ียนแปลงมันไปกระทบกับทุนของเราในขณะน้ันหรือไม่ เรามีภูมิคุ้มกันท่ีดีไหมที่จะดูแล จัดการทนุ ของเรา - ทุนทางวัตถุ ทุนทางสังคม ทนุ ทางสิ่งแวดล้อม และทนุ ทางวัฒนธรรม - บริษัทเราไม่ใช่ม่งุ เดยี่ วไปเลยในเรอื่ งของวัตถุ จะเอาแต่ยอดขายสูงๆ จะเอากำไรเยอะๆ ส่วน สังคมในบริษัท ช.ม.ม. ย่อมาจาก ช่ังแม่งมัน ไม่อยากพูดนะ หรือเรื่องส่ิงแวดล้อม บริษัท ช.ม.ม. เรือ่ งวฒั นธรรม ช.ม.ม. ... ไมไ่ ด้นะ เพราะปรชั ญานี้บอกว่าต้องครบ ต้อง Holistic ต้องสมดุล เข้าใจนะครบั ... เพราะฉะนั้นตรงนีส้ ำคัญมากเลยครับ ทีน้ีคำถามทสี่ าม ถ้าบริษทั จะเอาไปใช้ ตอ้ งเตรยี มบริษัทอยา่ งไรบ้าง ก็มคี ำตอบแล้ว ในประโยคที่สาม ทั้งน้ี ต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ ความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และการดำเนินการทุกขั้นตอน Knowledge Based Decision Making นี่ต้องวางบน Knowledge Based ไม่ว่าจะลงทุน จะซ้ือหุ้น … มคี วามรูพ้ อไหม รูร้ อบหรือเปลา่ ปรชั ญานบ้ี อกวา่ ต้องรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ในการนำ วชิ าการมาใช้ ทง้ั ในข้ันวางแผน Planning Stage และในข้นั ปฏิบัติ Operation Stage ตัวอย่างท่ีคุณชายไปทำในชุมชน ที่น่านก็ดี ที่อุดรธานีก็ดีนะครับ ให้ชาวบ้านรู้จัก วางแผนโดยใชข้ อ้ มลู ความรู้ ตามความเปน็ จรงิ … ชดั เจนเลย ไมใ่ ช่วา่ Dream เอา ไม่ใช่ว่า อยากไดแ้ ลว้ ไปไมถ่ งึ เพราะมันไมใ่ ชค่ วามจริง … เราตอ้ งใชข้ ้อมลู จรงิ ครบั … สิ่งทีเ่ ราเอาไป ใช้ในชมุ ชน คณุ ชายเอาไปใช้ในชมุ ชน น่ันคอื ทุกคน - ชาวบา้ น ต้องรจู้ ักหาขอ้ มูลพ้นื ฐานของ ชุมชน ฐานะเศรษฐกิจของทุกครัวเรือน เอามารวมกันเป็นภาพรวมฐานะเศรษฐกิจของชุมชน หน่ึงๆ … แล้วก็เอาหลักปรัชญาน้ี มาเป็นฐานในการพัฒนาชุมชนของตัวเอง ว่าจะพัฒนา ไปอย่างไร … บรษิ ัทก็เหมอื นกนั เราไม่ได้บริหารบรษิ ทั ด้วยอารมณ์ หรอื หมอดู! … เพราะ หมอดูเป็นคนบอกให้ทำ! ให้ซื้อบริษัทโน้น บริษัทนี้! ... ไม่ใช่นะครับ … ต้องบริหารบริษัท ดว้ ยหลักวชิ าการตา่ งๆ

“CSR ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” 23 เง่ือนไขที่สอง เง่ือนไขคุณธรรม อ่านต่อไปนะครับ ขณะเดียวกันต้องเสริมสร้าง พ้ืนฐานจิตใจคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี นักธุรกิจ ทุกระดับ ให้มี สำนกึ ในคุณธรรม คำว่า คุณธรรมนเี้ ปน็ คำกว้าง Morality เป็นคำกวา้ ง มีความดี ความงาม ความจรงิ อยใู่ นคณุ ธรรม แต่ว่าขอยกเอามาอนั เดยี ว คือ ความซ่ือสัตยส์ ุจริต ในหลักปรชั ญา นี้ เพือ่ ไมใ่ ห้เย่ินเยอ้ … พระองคท์ ่านพระราชทานว่า มีคณุ ธรรมอยอู่ นั หน่งึ ซ่ึงเป็นคุณธรรม ที่ยง่ิ ใหญท่ ส่ี ดุ และสำคัญท่สี ดุ ในการนำปรชั ญานี้ไปใช้ คือ ความซือ่ สตั ยส์ จุ ริต มีชุมชนหน่ึงเขาบอกว่า เขาจะเอาปรัชญานี้มาใช้ มีผู้นำชุมชน แล้วเขาก็รวมตัวกัน เขาบอกว่านี่พวกเราเป็นหน้ีเป็นสินกันเยอะทุกครัวเรือน สุดท้ายก็บอกว่า ต้องทำบัญช ี ครัวเรือน … เดือนหน่ึงได้รายได้มาจากไหนบ้าง? บอกมาก่ีบาท? เดือนหนึ่งใช้อะไรบ้าง? แล้วต้องซื่อสัตย์สุจริตนะ! กินเหล้ากี่บาทก็ต้องบอกด้วย! เล่นหวยเถ่ือนก่ีบาทก็ต้องบอกนะ! ไม่งั้นมันแก้ปัญหาไม่ได้ … ต้องบอกหมด! พอบอกเสร็จ เขาก็ประชุมกัน … คร้ังแรก … เอ๊! จะทำยังไง? เราไม่อยากจะไปเหยียบเท้าใคร … เอาอย่างนี้ไหม! เอามารวมกันเป็น รายรับรายจ่ายของชุมชนต่อเดือน มันก็จะมีรายการว่า รายรับเดือนหนึ่งมาจากไหนบ้าง? รายจ่ายเดือนหน่ึงมาจากไหนบ้าง? ก็มีค่าอาหาร ค่าให้ลูกเรียนหนังสือ ค่าเดินทาง ค่ากินเหล้า คา่ เลน่ หวย อยใู่ นนน้ั หมด ... ทนี ้ตี อนแรกเขารวมตัวกันก็ยงั ไม่ค่อยไวใ้ จกนั เท่าไร ไม่ค่อยเช่ือม่ันใน Potential (ศักยภาพ) ของชุมชนเขา … เลยบอก เอาอย่างน้ีไหม มาแก้ ปัญหาเรื่องค่าน้ำปลาดีกว่า รายจ่ายเร่ืองน้ำปลา มันเป็นกลางๆ ดี ไม่ไปเหยียบขาใคร … เขาก็รวมกันคิดว่า เอ๊! เดือนหนึ่งชุมชนเราซื้อน้ำปลาไม่ใช่น้อยนะ! เราจะแก้รายจ่ายตรงน ี้ ลดรายจ่ายตรงนไ้ี หม? ... บอกเอาอยา่ งน้ี ... สง่ คนของเราไปเรียนวธิ ีทำนำ้ ปลาจากชุมชน ... พอเขากลับมา ก็เร่ิมทำน้ำปลากันในชุมชน เดือนต่อมาค่าน้ำปลาก็ลดลง จนกระท่ังสุดท้าย น้ำปลาเขาอรอ่ ย เอาไปขายชมุ ชนอนื่ ก็กลายเปน็ รายรบั เพราะฉะนั้น แทนท่ีจะเปน็ รายจา่ ย สุดท้ายกลายเป็นรายรับ … พอทำเรื่องน้ำปลาสำเร็จ เขาก็เกิดความม่ันใจ ภาษาธรรมดา เรยี กว่า เกิดความฮกึ เหิม เขากไ็ ปแกเ้ รอื่ งอนื่ แก้เรื่องกนิ เหลา้ แก้เร่อื งเล่นไพ่ แกเ้ ร่ืองสบู บุหรี่ … แล้วก็ค่อยๆ ลดลงไปเรื่อยๆ อบายมุขต่างๆ รายจ่ายท่ีไม่จำเป็นต่างๆ ... กลายเป็น ชมุ ชนเข้มแข็ง ยง่ั ยืน พอแก้เรื่องเศรษฐกิจได้ เขาก็ไปแก้เรือ่ งสังคม ….

24 “CSR ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มอี ยอู่ กี ชุมชนหน่งึ เขาบอกว่าบหุ ร่นี ่ีไมด่ ี ใน อบต. ของเรา มรี ้านขายปลีกขายบุหรี่ อยู่ถึง ๒๓ ร้าน ก็ไปเชิญมา ถาม ถ้าร้านของพ่ีๆ น้องๆ ไม่ขายบุหรี่จะกระทบต่อธุรกิจของ พ่ๆี นอ้ งๆ ไหม เขาบอกไมก่ ระทบ … ตกลงทกุ คนโหวต อบต. น้ันไมข่ ายบหุ ร่ี พวกข้ยี า อบต. น้ัน ต้องไปซื้อท่ีอ่ืนถ้าอยากสูบ … คือมันค่อยๆ ขยับไป หลังจากนั้นก็ทำเรื่องส่ิงแวดล้อมสิ! เร่ืองขยะเอาไหม? ทีนช้ี กั ได้ใจแลว้ เอาขยะไหม? ดา้ นวัฒนธรรมไหม? … มนั คอ่ ยๆ เพม่ิ ไป มันสรา้ งความเข้มแข็งท่จี บั ตอ้ งได้ - วัดได้ ปรชั ญานม้ี ี Momentum ใน ๔ ด้านนีน้ ะครับ เพอ่ื สรา้ งระบบภูมคิ ้มุ กนั ในตวั ทด่ี ี … ภมู คิ มุ้ กนั นนี่ ะครบั เราสรา้ ง KPI ได้ บรษิ ทั เราสรา้ ง KPI ไดว้ า่ ถา้ เปน็ ความเขม้ แขง็ ทางการเงนิ การลงทุน การอะไร … ของเราน่ี เราจะเอา KPI มาวัด ถา้ ดา้ นไหนยังออ่ นอยู่ ใหเ้ วลา ๑ ปี ๒ ปี เราจะขยับตัว KPI ของเราอยา่ งไร ดา้ นสงั คม กเ็ หมือนกัน เราไมค่ อ่ ยทักทายกนั เลย คนในบริษัท ต่างคนต่างอยู่ เวลาจะชวนให้ทำอะไรก็อิดๆ ออดๆ เรามาสร้างทุนทางสังคม มาสร้างทุนทางสังคมให้เข้มแข็งไหมในบริษัทเรา มีมาตรการ มี Project อะไรบ้าง ๑ ปี อย่างน้อยคน ๕๐ เปอร์เซน็ ต์ ต้อง Participate งานท่ีเปน็ งานบญุ งานกุศล แล้วคอ่ ยๆ ดูสิว่า เป็นอย่างไรบ้าง ทางด้านสิ่งแวดล้อม ก็เหมือนกัน เอาไหม รอบๆ บริษัทเรา เร่ืองขยะ ... มาช่วยกนั หนอ่ ย! อย่างน้นั ! อย่างนี้! ในทีท่ ำงาน แลว้ ทำ Project ขน้ึ มา เอา ๕ ส ขึน้ มา กอ่ นไหม? อยา่ งนั้น! อยา่ งนี้! พวกเราไม่เคยรู้จกั เลย ๕ ส เร่อื งความสะอาดเปน็ ระเบียบจะ ได้เข้ามา คือ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บังคับให้คนเกิด Dynamism ของการพัฒนา องค์กรของตวั เองทีละดา้ น ... ทีละด้าน ... เขา้ ใจนะครบั ผมเห็นมาหลายองคก์ รแลว้ ทเ่ี ขา พฒั นา ….

“CSR ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” 25 ผมเคยถามท่านนักธุรกิจอยู่เร่ือยนะว่า บริษัทท่านมีคนงาน ๓๕ คน ทุกคนกินเหล้า หมดเลย ข้ีเหล้าหมด ทุกคนเล่นการพนันหมด แล้ว Contribution จากคนงาน ๓๕ คน ในบรษิ ทั แน่นอนเลย มนั นิดเดยี วเทา่ น้นั เอง แตถ่ ้าสามารถเปลย่ี นใหเ้ ขานะ … เอาปรชั ญาน้ี เข้าไปเปลี่ยนเขา ๓๕ คน ค่อยๆ ผ่อนหนี้ ๕ ปี ไม่มีใครเป็นหนี้เลย ใช้ชีวิตสะอาด ออกกำลังกาย เข้าวัดเข้าวา ร้จู กั มธั ยัสถ์ รู้จกั ประหยดั รูจ้ ักดูแลครอบครัวนะ แลว้ กม็ ี Pride ในตัวเอง มาทำงานให้บริษัท ให้เกิดความฮึกเหิม ให้เกิดความจงรักภักดีต่อบริษัท Productivity ของบรษิ ัทจะเป็นอยา่ งไร … คนงาน ๒ ชดุ นี้ ต่างกันเยอะนะครับ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมีส่วนช่วยพัฒนา ให้บคุ ลากรขององค์กรเปน็ ทรพั ยากรทีม่ คี ุณภาพ

26 “CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” สถานศกึ ษา หนว่ ยงานสำคญั ทช่ี ่วยขบั เคลอ่ื น หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในสังคมให้ก้าวหน้า … เหมือนครู ครูขณะน้ีก็เป็นหนี้บานตะไท ถ้าเอาปรัชญานี้เข้าไป … ผมเช่ือว่า จะช่วยครูที่ไม่มีแรงสอนหนังสือได้ แล้วถ้าครูไม่มีแรงสอนหนังสือนี่ … คุณภาพการศึกษา จะอยู่ตรงไหน เข้าใจนะครับ เหมือนกัน … คนงานบริษัทท่านเหมือนกัน เป็นหน้ีบานตะไท แล้วส้ินเดือนก็หลบๆ หลีกๆ ไม่ยอมมาทำงาน เพราะกลัวเจ้าหน้ีทวง ถูกไหมครับ ถ้าท่าน สร้างชีวิตเขาให้ดีข้ึนจากปรัชญาน้ี … เพราะฉะนั้น ปรัชญานี้ ... คุณธรรม มีความรอบรู้ ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน มีความเพียร มีสติปัญญา ความรอบคอบ ต้องอดทน ต้องม ี ความเพยี ร ... ข้เี กยี จไมไ่ ด้ ปรชั ญานไ้ี มช่ อบคนขีเ้ กียจ ... ท่านบอกไว้ชัดเจน เราต้องใช้สติ ใช้ปัญญา เราต้องพฒั นาเขาตลอดเวลา พัฒนาคนของบริษัทตลอดเวลา ให้เป็น Knowledge Person - Knowledge People - Knowledge Culture - ทำเถอะครับ รับรองได้ บรษิ ทั ทา่ นไปรอดแนๆ่ สุดท้ายคำถามที่สี่ - ถ้าเอาปรัชญาน้ีไปทำท่ีบริษัท สุดท้ายหวังจะให้เกิดอะไรขึ้น เพือ่ ใหส้ มดุล บรษิ ัทเกิดสมดลุ อันทส่ี องพรอ้ มรองรับการเปลี่ยนแปลง - จะไฟไหม้ น้ำท่วม บรษิ ัทเราก็ยงั อยู่ได้ เข้าใจนะครับ ขอบคณุ มากครบั

“CSR ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” 27 ดร.วิรไท สันตปิ ระภพ : ขอบพระคุณครับ ท่านองคมนตรีครับ ท่านองคมนตรีได้สรุปท่ีมาท่ีไปของหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เราอาจจะมักได้ยินปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกันว่าม ี ๓ หว่ ง ๒ เง่ือนไข ทพ่ี ดู ถึง ความพอประมาณ ความมีเหตมุ ผี ล และการมีภมู ิคุ้มกนั ในตวั ทดี่ ี ท่านองคมนตรีได้กรุณาพูดถึง หน่ึงตัวอย่างของการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ในวงการธุรกิจ ก็คือ การสร้างสังคมของแรงงานให้ดีข้ึน เพ่ือมีผลต่อ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลขององค์กร ผมเชื่อว่าท่านผู้อำนวยการ ดร. จิรายุฯ ท่านมี อีกหลายตัวอย่างของการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในวงการธุรกิจ ขออนุญาต เรยี นเชญิ ทา่ นได้กรุณาเล่าให้เราฟังวา่ มีตัวอย่างอะไรบา้ งท่ีประสบความสำเรจ็ ครบั รศ.ดร.จริ ายุ อศิ รางกรู ณ อยุธยา : ก่อนพูดถึงเรื่องตัวอย่าง ผมอยากจะขออนุญาต เพื่อประหยัดเวลา ผมคิดว่าท่าน องคมนตรีเกษมฯ ได้ให้ข้อสรุปเก่ียวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแล้ว และรวมถึง การประยุกต์ใชด้ ว้ ย ซง่ึ คอ่ นข้างชดั เจนและคมมาก เพราะฉะน้ัน ผมจะลดในสว่ นของผมท่จี ะ พูดลงไปบา้ ง จากท่วี างแผนเอาไว้ แลว้ กใ็ นขณะเดยี วกนั กจ็ ะเปดิ โอกาสใหม้ ี Q & A หรือ การเสวนากนั มากขึ้นนะครบั แต่ก่อนที่จะไปถึงจุดน้ัน ขออนุญาตเรียนอย่างนี้ สำหรับสิ่งท่ีท่านองคมนตรีเกษมฯ ได้พดู มาน้ี ที่จริงท่านพูดถึงชว่ ง ๑๒ ปีท่ผี า่ นมา ทพี่ วกเราได้รบั พระราชทานคำนยิ ามนมี้ า -- พวกเราทีศ่ กึ ษาเร่อื งนม้ี าก็ได้รับพระราชทานคำนยิ ามอนั เดยี วกนั นมี้ า -- แต่ผมจำไดว้ ่า เม่ือ ประมาณ ๑๐ ปที แี่ ล้ว ธนาคารแหง่ ประเทศไทยได้เชญิ ใหท้ ่านองคมนตรี ไปพดู เร่อื งปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ผมได้มีโอกาสไปน่ังฟังอยู่ด้วย คุณหญิงชฎา (วัฒนศิริธรรม) ก็ไป น่ังฟังอยู่ด้วย พอไปฟังท่านแล้ว ก็เกิดแรงบันดาลใจว่า ต้องเอาส่ิงท่ีท่านพูดมาพิมพ์ แล้วมา แจก เพอื่ ทจี่ ะได้เผยแพร่ความเขา้ ใจอย่างรวดเร็วตอ่ ไป ตอนนน้ั เรากร็ สู้ ึกวา่ แก่นของปรชั ญา

28 “CSR ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เรารูห้ มดแล้ว พอมาฟงั ท่านวนั นี้ กเ็ หน็ ไดช้ ดั วา่ คมขึน้ อีก มีความกา้ วหนา้ ข้ึนอกี มีทง้ั ความ ลึกซึ้งของปรัชญานะครับ และมีทั้งตัวอย่างของการประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ เพราะฉะนั้น ผมคิดว่า พวกเราต้องขอขอบพระคุณท่าน ซึ่งวันน้ี ผมคิดว่า ผู้ที่ได้มาฟังท้ังหลาย โชคด ี ทไี่ ด้มาฟัง เกี่ยวกับความเปน็ มา ไดเ้ ข้าใจท้ังความลึกซง้ึ ของปรชั ญา รวมทงั้ การที่จะเอาไปใช้ ในทั่วๆ ไป แลว้ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในภาคธุรกจิ ด้วยนะครบั ผมคิดว่าคงมีหลายๆ คนทีเ่ คย มะงุมมะงาหราไป พยายามเข้าใจและศึกษาแล้วก็อาจจะไม่คม อาจไม่เข้าใจชัดเจน และเกิด ความสับสน ... เพราะฉะนัน้ ตามท่ีไดม้ ีอารมั ภบทตอนต้น พวกเราทกุ คนได้ยินไดฟ้ ัง เก่ยี วกับ เร่ืองปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมามาก แต่วันนี้เราได้ความเข้าใจท่ีลึกซึ้ง และถ่องแท้มาก ... และอีก ๑๐ ปีข้างหน้า ผมหวังว่า และผมคดิ วา่ จะมคี วามก้าวหน้าตอ่ ไปอกี เราจะเรียนรู้ ไปเร่อื ยๆ …. สำหรบั เร่อื งทผี่ มอยากจะขอมานำเรยี นตอ่ จากทา่ นองคมนตรี คือ ประมาณปี ๒๕๔๒ เราได้ต้งั กลุ่มเป้าหมายที่จะเผยแพรก่ ารนำหลกั ปรชั ญาฯ ไปใช้ ซึ่งมี ๘ กลมุ่ เปา้ หมายด้วยกนั หนึ่งในกลุ่มเป้าหมายนั้นก็คือ กลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ เพราะเราเห็นว่า มีความสำคัญมาก เม่ือตอนท่ีเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ๒๕๔๐ ผู้ท่ีประสบปัญหามากที่สุดกลุ่มหน่ึง ก็คือ กลุ่มธุรกิจ ขนาดใหญ่ เพราะฉะน้ัน เราเหน็ ว่า ตรงนี้ควรจะใหค้ วามสนใจอย่างยิ่ง ... ในวนั น้ีจะขอนำข้อ สรุปของการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเรียนให้ท่านท้ังหลายได้กรุณา พิจารณานะครบั ในประการท่ีหน่ึง เราตั้งตัวก่อนว่า เราอยู่ในระบบเศรษฐกิจซึ่งใช้ระบบตลาดเป็น สำคัญ เพราะฉะน้ัน คำถามสำคัญคือ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขัดแย้งหรือสอดคล้อง ไหมกับระบบตลาด นั่นคือประการที่หนงึ่ ประการทีส่ องคอื เราใช้นโยบายของเศรษฐศาสตร์ และการบริหารธุรกิจกระแสหลักท่ีอิงกับระบบตลาดเป็นประการสำคัญ ถามว่า ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงขัดแย้งหรือสอดคล้องไหมกับเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก บริหารธุรกิจ กระแสหลกั ขอ้ ยุตหิ รอื ข้อสรุปของเราก็คอื ไม่ขัดกนั สอดคลอ้ งกนั

“CSR ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” 29 แล้วจริงๆ ก็เป็นอย่างที่ท่านองคมนตรีเกษมฯ พูดไปแล้ว คือว่า ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถท่ีจะเพ่ิมคุณค่าของเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก และการ บริหารธุรกิจกระแสหลักได้ ด้วยการเน้นให้เราให้ความสำคัญกับความรู้ การใช้ความรู้ ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง ด้วยความมีเหตุผล ... พร้อมๆ กันน้ัน การตัดสินใจ และ รวมถึงการกระทำจริงด้วย ... ท่ีจะผลิต ลงทุนขยายธุรกิจ ทำการตลาด ตั้งราคา เตรียม คงคลังสินค้า และต่างๆ อีกมากมาย ที่อยู่ในกระบวนการทำธุรกิจของเราน้ัน ต้องคำนึงถึง อัตภาพ คำนึงถึงความสอดคล้องกับสถานการณ์ของสังคม ของประเทศ และตลาดโลก ไม่ขยายตัวเร็วเกินกำลังของตัวเอง แต่ก็ไม่น้อยจนต่ำกว่าศักยภาพท่ีมี นั่นคือ ความ พอประมาณในการทำธุรกิจ และประการต่อมา คือ เราควรให้ความสำคัญ โดยเฉพาะ สำหรับธรุ กจิ ขนาดใหญน่ ะครับ … ซึง่ เขาก็สนใจอยู่แล้ว แตเ่ ราเน้นให้ความสนใจย่ิงขึน้ ... คือ ระบบบริหารความเส่ียง หรือ Risk Management ที่เรารู้จักกันดี สาเหตุท่ีเราต้องมีการ บรหิ ารความเสี่ยง เพราะสถานการณ์ตา่ งๆ รอบๆ ตวั เรา มกี ารเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา เรา จึงต้องไม่ประมาท ต้องต้ังสติ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง และสร้างระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี เพื่อเตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ท่ีมาอย่างรวดเร็ว และส่งผลกระทบอย่าง กว้างขวาง ตามที่นิยามไว้ในหลักปรัชญาฯ ซึ่งการเตรียมพร้อมรับนั้น ต้องใช้ข้อมูลและ ความรทู้ างวชิ าการ อยา่ งเปน็ เหตเุ ปน็ ผล เพ่ือให้มีทางเลอื กในการตัดสินใจ และการปฏิบตั ิที่ เหมาะสมกับสถานการณ์ และสำคัญมากที่สุดคือ ต้องอยู่บนพื้นฐานคุณธรรม ใช้สติปัญญา ไม่ตัดสินใจหรือกระทำการใดๆ ท่ีออกนอกเส้นทางของความถูกต้อง ซ่ึงอันน้ีก็สอดคล้องและ เพมิ่ คณุ คา่ ให้กับระบบของเศรษฐกจิ กระแสหลักหรือระบบบริหารธุรกิจกระแสหลกั เพราะฉะน้ัน จริงๆ แล้ว ท่ีกล่าวมาข้างต้น คือส่ิงท่ีเรียกว่า ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ซึ่งเป็นคำนิยามของหลักพอเพียงน่ันเองครับ ... ๓ ห่วง ก็คือ ความพอประมาณ ความ มีเหตุผล และการบริหารความเสี่ยง หรือการสร้างระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ด้วยความ ไมป่ ระมาท ส่วน ๒ เง่อื นไข นน้ั อย่างแรก คอื การใชค้ วามรู้ ดว้ ยความรอบรู้ และรอบคอบ ระมดั ระวงั อยา่ งทท่ี ่านองคมนตรบี อกพวกเรา ผมขอย้ำอกี ครัง้ หนง่ึ ... แทนทจี่ ะฝนั อย่างน้ัน อย่างน้ี เอาตามความต้องการของผบู้ รหิ าร หรือผูถ้ อื หนุ้ ... ปรชั ญานบ้ี อกว่า ขอให้ใชข้ ้อมูล และความรู้ให้มากๆ แล้วต้องเป็นข้อมูลและความรู้ท่ีอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง

30 “CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” วิเคราะห์อย่างรอบคอบตามหลักวิชาการ ท้ังทางเศรษฐศาสตร์และการบริหารธุรกิจ เช่ือมโยงข้อมูล ความรู้ที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นความรอบรู้ท่ีไม่แยกส่วน แต่บูรณาการให้เป็น ความรู้ท่เี ปน็ องค์รวม จึงจะเป็นประโยชน์ ทจ่ี ะสามารถนำไปสู่ความเขม้ แขง็ ของธรุ กจิ ได ้ เงื่อนไขประการทส่ี อง คือสิง่ ที่ผมคดิ วา่ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได้เพ่มิ เข้าไป - เน้นเข้าไป - สเู่ ศรษฐศาสตรก์ ระแสหลัก และบรหิ ารธุรกจิ กระแสหลัก คือเรือ่ งของคุณธรรม ซึ่งปรัชญานี้ เน้นเร่ืองความซื่อสัตย์สุจริตเป็นอันดับแรก การทำธุรกิจตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งน้นั ทกุ ขั้นตอนต้องอย่บู นหลักของความซื่อสตั ย์สจุ รติ รวมถึงคณุ ธรรมอื่นๆ เช่น ความอดทน ความเพียร การใช้สติ ปัญญา การคำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม เป็นต้น ซึ่งต้องเสริมสร้างให้เกิดข้ึนในบุคลากรทุกระดับของบริษัท ส่งเสริมและพัฒนาคนในบริษัท ให้เห็นคุณค่าของความซ่ือสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร การมีสติ การใช้ปัญญา ในการทำงาน การช่วยเหลือ มีน้ำใจ แบ่งปันกัน ต่างๆ เหล่านี้ จึงจะทำให้สามารถดำเนิน ธุรกจิ ไปไดม้ ัน่ คงและยง่ั ยนื

“CSR ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” 31 ในส่วนของเป้าหมายของการดำเนินธุรกิจนั้น ปรัชญานี้เน้นความสมดุล นั่นคือ การสร้างความสมดลุ ระหว่างเปา้ หมายทางธุรกิจ หรือเป้าหมายทางดา้ นรายได้ หรือทางด้าน การเงิน ให้มีความสมดุลกับการจัดการด้านสังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม ด้วย … เพ่ืออะไร ก็เพ่ือให้ทุกคนอยู่ร่วมกันได้โดยไม่ขัดแย้งกัน บริษัทสามารถอยู่ร่วมกับสังคมได้ เพราะพึง่ พาอาศัยกันได้ -- ถา้ สังคมอยูไ่ มไ่ ด้ ธรุ กจิ ก็อยูล่ ำบาก -- และธรุ กิจกส็ ามารถอยู่รว่ ม กับส่ิงแวดล้อมได้อย่างย่ังยืน คนรุ่นปัจจุบันสามารถอยู่ร่วมกับคนรุ่นใหม่ได้ เพราะเห็นคุณค่า และสืบทอดวัฒนธรรมที่ดีงามร่วมกัน ... ท้ังหมดไม่ขัดแย้งกัน ไม่เบียดเบียน ไม่เอารัด เอาเปรียบกัน ก็เพราะการบริหารจัดการของภาคธุรกิจคำนึงถึงความสมดุลในด้านต่างๆ ตลอดเวลา ฉะนั้น ตรงนี้เป็นส่วนท่ีเป็นข้อยุติ ที่อยากจะนำเสนอให้พวกท่านพิจารณาว่า นี่คือส่วนที่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถเพิ่มให้กับความรู้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ กระแสหลัก หรือการดำเนนิ ธุรกจิ ในระบบตลาด ทีเ่ ราดำเนินการกนั อยู่นะครบั นอกจากนีแ้ ล้ว แนวคดิ เร่ืองความสมดุลนี้ ทำใหเ้ ราสามารถไปร่วมพจิ ารณาเร่อื งน้ใี น ระดับโลกได้ด้วย คือที่เรียกว่า แนวคิดระดับโลก ... ท่ีเขาพูดถึงเรื่อง Sustainable Development การพัฒนาอย่างย่ังยืน ... ซ่ึงตอนนี้เราได้เห็นหลักการบริหารอย่างสมดุลนี้ ถูกนำมาใช้มากในระดับโลก เราสามารถท่ีจะบอกได้ว่าสิ่งที่ชาวโลกสนใจนั้นสอดคล้องกันกับ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เราเห็นด้วยกับ Sustainable Development แต่แนวคิด Sustainable Development น้ัน กย็ ังขาดการมุง่ เน้นเร่อื งคณุ ธรรม เรอ่ื งการพฒั นาคนให้มี คุณธรรมเป็นพื้นฐานของความคิดและการกระทำ เพ่ือท่ีจะร่วมกันพัฒนาโลกให้ย่ังยืน ซึ่งตรงน้ีเป็นส่ิงที่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพิ่มเข้าไปในแนวคิดกระแสหลักของโลก ... ซึง่ ประเด็นน้เี ป็นจดุ ทีผ่ มอยากเนน้ ในการนำเสนอทา่ นทั้งหลายในวนั นี้

32 “CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ตวั อยา่ งการทำ CSR ของบรษิ ัทเอกชน ในการสร้างโรงเรยี นใหแ้ กช่ าวไทยภูเขาทห่ี ่างไกล ภายใตป้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มสี ่วนหนึง่ ทอี่ ยใู่ นเรื่องของคุณธรรม กค็ อื เร่อื ง ของการเออื้ เฟอ้ื เผอื่ แผ่ แบง่ ปัน เพื่อเปน็ การสร้างความสมดุลในสังคม และความสมดุลทาง เศรษฐกิจ การแบ่งปันเป็นช่องทางหน่ึงที่จะช่วยลดช่องว่างของความเหล่ือมล้ำท่ีมีอยู่มาก ในสังคมปัจจุบัน ... ผู้ท่ีมีมากกว่า เม่ือมีเกินพอแล้ว ก็ควรแบ่งปันให้ผู้ที่ขาดแคลน โดยไม่ จำกัดว่า จะต้องแบ่งปันเฉพาะเป็นข้าวของเงินทองเท่าน้ัน การแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ ความคิดดีๆ ต่างๆ ก็เป็นสิ่งสำคัญ ซ่ึงเร่ืองของการแบ่งปันน้ี จากการขับเคล่ือนในช่วงที่ ผา่ นมาของเรา กพ็ บวา่ ทางดา้ นธุรกิจขนาดใหญ่ ทีเ่ ป็นกลมุ่ เปา้ หมายกล่มุ หน่งึ ของเรา ก็ทำ อย่แู ล้วครับ ... ทำกอ่ นปี ๒๕๔๒ อกี นะครับ คือ เรื่องของ CSR การแบง่ ปนั จากผลกำไรที่ บริษัทขนาดใหญไ่ ดม้ โี อกาสท่ีจะนำไปช่วยเหลอื สังคม ... ก็มกี ารทำกนั อย่บู า้ งแล้วในสงั คมไทย

“CSR ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” 33 ž‹{ ‹» œ´ ›¦» „·‹˜nµŠÇ —µÎ Áœ·œ CSR ×¥Á„¥É¸ ª…°o Š„´ £µ‡­ªn œ˜µn ŠÇ ˜°n ޜʸ ‡‡¼n oµ ¨„¼ ‡oµ Ÿo™¼ °º ®o»œ CSR ¤» œš°É¸ Š‡„r ¦ ¡œ´„ŠµœÂ¨³ ˜´ÊŠ°¥¼n ‡¦°‡¦ª´ ­´Š‡¤Ã—¥¦ª¤Â¨³ ­Š·É ª—¨°o ¤ 8 ในการที่จะพูดถึงเรื่อง CSR โดยรวม ขอย้ำในสิ่งท่ีท่านองคมนตรีเกษมพูดแล้ว กอ่ นหน้านี้ คือ พนกั งานและครอบครัวกเ็ ป็น Stakeholder ทส่ี ำคัญ … เหมือนอย่างทที่ า่ น ได้พูดไปแลว้ ถ้าสมมุติว่า บริษทั และ HR ของบรษิ ัท รวมถึง CEO ของบริษัท ไดใ้ ห้ความ สนใจกับพนักงานและครอบครัว ในเรื่องชีวิต ความเป็นอยู่ต่างๆ ก็จะเกิดผลดีอย่างท่ีท่าน องคมนตรี ได้พูด … เพราะฉะน้ัน อันนี้เป็นเร่ืองท่ีอยากจะส่งเสริม และมีข้อพิสูจน์แล้ว จากหลายๆ กรณี ท่ีบริษัทได้ลงไปดูแลพนักงานและครอบครัว แล้วส่งผลที่ดีเกินคุณค่าของ จำนวนเงนิ หรอื ทรัพยากรท่ใี สเ่ ข้าไปในการดแู ลพนักงานและครอบครวั

34 “CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” นอกจากน้ี ส่ิงท่ีผมอยากจะเน้น คือ เร่ืองความใส่ใจในชุมชนที่องค์กรตั้งอยู่ ตรงนี้ เป็น CSR อีกด้านหน่ึง ท่ีผมคิดว่าทุกๆ บริษัทเวลานี้ เข้าใจดีแล้ว! โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ตอนเกิดเร่ืองมาบตาพุด ยิ่งชัดเจนว่า เรื่องสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม เหล่าน้ีเป็นเรื่องท ่ี ทุกบริษัทต้องให้ความสนใจ กล่าวคือ เราต้องดูแลสังคม … แล้วสังคมท่ีเราต้องดูแล อย่างแน่นอนในเบอื้ งตน้ กค็ ือ ชุมชนทอ่ี งคก์ รต้งั อยูน่ ะครับ … แต่นอกเหนือจากนี้ ถา้ มกี ำลงั ทีเ่ พิม่ ขน้ึ - ซึง่ บรษิ ทั หลายๆ แหง่ ทอ่ี ย่ใู นทีน่ ้ี กเ็ ป็นเช่นน้นั - คือมกี ำลงั มาก กน็ า่ ทจี่ ะขยาย ออกไปดูแลสังคมโดยส่วนรวม ผมอยากให้เราให้ความสนใจกับสังคมโดยส่วนรวม โดยขอย้อนกลับไปเร่ืองท ่ี ได้มกี ารตั้งข้อสงั เกตไวแ้ ลว้ และผมคิดวา่ พวกเราทุกคนกร็ ูส้ ึกถึงปญั หาน้ี นั่นคือ ปัญหาความ เหลื่อมล้ำในสังคม ซึ่งอยากจะขอนำตัวเลขมาให้ท่านดูเป็นส่วนประกอบ ... ณ ขณะน้ี จาก ตวั เลขที่เราพอมีลา่ สดุ คอื ปี ๒๕๕๓ พบวา่ ๒๐ เปอร์เซน็ ต์ของประชากรท่เี ปน็ ผทู้ ร่ี วยท่ีสุด เป็นเจ้าของทรัพย์สิน ๕๘ เปอร์เซ็นต์ของทรัพย์สินทั้งหมด สำหรับคนชั้นกลางอีก ๖๐ เปอร์เซ็นต์น้ัน เป็นเจ้าของทรัพย์สิน ๓๘ เปอร์เซ็นต์ แล้วก็ ๒๐ เปอร์เซ็นต์ที่จนท่ีสุด เป็นเจ้าของทรัพย์สินเพียง ๓.๙ เปอร์เซ็นต์ - อันน้ีเป็นตัวเลขของความเหลื่อมล้ำในสังคม ไทยที่เป็นอยู่ในปจั จบุ นั ... ซง่ึ ถา้ เราไมท่ ำอะไรเกยี่ วกบั เรอ่ื งนเี้ ลย ปลอ่ ยใหเ้ ปน็ ไปโดยโยนใหเ้ ปน็ ความรบั ผดิ ชอบของผู้อ่ืน … คือ เป็นเรื่อง ช.ม.ม. แบบที่ท่านองคมนตรีเกษมฯ ได้พูดถึง … ถา้ เป็น ช.ม.ม. มันก็จะเกดิ ปญั หามากขน้ึ ทกุ ที ... เพราะฉะน้ัน ตรงน้ี CSR ช่วยได้ CSR สามารถเข้าร่วมแกป้ ัญหา ความเหลือ่ มลำ้ ในสังคมได้

“CSR ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” 35 Asset Size ÔÕ% / Market Cap. ÕÔ% …°Š¦·¬´š‹—š³Á¸¥œš´ÊŠ®¤— Á„¬˜¦/°µ®µ¦ ­·œ‡oµ°»žÃ£‡¦·Ã£‡ ›¦» „‹· „µ¦ÁŠ·œ °­´Š®µ²„n°­¦µo Š š¦´¡¥µ„¦ ­·œ‡oµ°»˜­µ®„¦¦¤ ¦„· µ¦ Áš‡ÃœÃ¨¥¸ MAI CONNECT FOR SHARING ­¦oµŠ‡»–‡µn ­¦µo Š¡¨´Š¦ªn ¤ ­Šn Á­¦¤· ­œ´ ­œ»œÄ®o ‹. čo„¦³ªœ„µ¦ ž¦³­µœ«„´ ¥£µ¡ ­¦µo Š­¤—»¨ ¦®· µ¦‹—´ „µ¦ CSR Ĝ„µ¦¦·®µ¦›¦» „·‹ ¦³®ªµn Š­Š´ ‡¤Á¤°º ŠÂ¨³œš 9 มาถึงตรงน้ี ผมก็ต้องแสดงความขอบคุณและแสดงความชื่นชมว่า ทางตลาด หลักทรัพย์ฯ หรือบริษัทช้ันนำของตลาดหลักทรัพย์ฯ ๒๗ แห่ง ซ่ึงเราได้รับทราบมาว่ามี Market cap๓ รวมกันเปน็ ๔๓ เปอร์เซ็นตข์ องบริษัทจดทะเบยี นทัง้ หมด และมีสนิ ทรัพยเ์ ปน็ สดั ส่วนอยู่ ๓๔ เปอรเ์ ซน็ ต์ คอื พดู ได้ว่าเปน็ บริษทั ชั้นนำ ๒๗ บรษิ ทั เท่านัน้ แตไ่ ดร้ วมตวั กนั แสดงความเป็นผู้นำ รับรู้เก่ียวกับปัญหา และมีศักยภาพของการท่ีจะใช้ CSR เพื่อเป็น เครื่องมือในการร่วมแก้ปัญหาของประเทศ ... ท่ีผมบอกว่าแก้ปัญหาประเทศตามรูปเมื่อกี้ ประเทศกค็ อื สงั คมสว่ นรวม ท่ีทุกบริษัทตัง้ อยู่ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ก็ไดช้ ี้แนะ ว่า ให้แบ่งปันกันในสังคมเพื่อเสริมสร้างความสมดุลให้เกิดขึ้น และที่จริงแล้ว ๒๗ บริษัทน ี้ ผมดูแลว้ ก็คิดวา่ ทา่ นทำ CSR ของทา่ นอยแู่ ลว้ แต่ทา่ นมคี วามตัง้ ใจดวี ่า อยากจะทำใหด้ ีข้ึน ๓ Market Cap ยอ่ มาจากคำว่า Market Capitalization เป็นมลู คา่ ราคาตลาดของหนุ้ ทุน ถือเปน็ การวดั ความมงั่ ค่งั (Wealth) ของผถู้ ือหุ้น

36 “CSR ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” ประโยคทองของกล่มุ CSR CLUB คือ Connect for Sharing การรวมพลงั กันเพือ่ แบ่งปัน ขอยกตัวอย่างอันหนึ่ง ผมได้ข้อมูลมาว่าอย่างบริษัทเจริญโภคภัณฑ์ มีตัวเลขว่า ท่านให้ทุนการศึกษาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๒ ท่านองคมนตรีเกษม ท่านก็ไปเป็นกรรมการทุนฯ อยู่ด้วย ช่วยไปดูแล ตั้งแต่ปี ๒๕๒๒ ได้มอบทุนแล้ว ๓,๘๐๐ ทุน นี่เป็นตัวอย่างหนึ่งของ หลายๆ ตัวอย่าง ... เพราะฉะน้นั แตล่ ะบรษิ ทั ลว้ นแต่ไปทำ CSR ของตัวเองมาหมดแลว้ ... ถ้าเช่นนั้น ทำไมถึงมาร่วมกันต้ังเป็น CSR Club? ก็แสดงให้เห็นว่าต้องการรวมพลังกัน ... เพราะเห็นว่าถ้าต่างคนต่างทำ ก็ไม่น่าจะมี Impact หรือพลังในการแก้ปัญหาของประเทศ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เท่ากบั ที่จะมารวมกันทำ ... แลว้ ก็ไดเ้ กิดประโยคทองของ กลุ่ม ประโยคทองก็คือ Connect for Sharing คือ การรวมพลังกันเพอื่ แบ่งปัน ทีน้ีคำถามท่ีผมอยากถามเร็วๆ ต่อไปว่า Connect for sharing to do what? คอื จะรว่ มมอื กนั ลงไปทำ CSR ใน Activity อะไร? ในกจิ กรรมอะไร? อนั นไี้ มไ่ ดห้ มายความวา่ ท่ีท่านแตล่ ะคนทำในสว่ นของแต่ละบรษิ ัท ไม่ใช่เรือ่ งดีนะครบั แต่ถา้ จะมา Connect กนั เพ่ือ ให้มี Impact ทม่ี ากขึ้น และช่วยแกป้ ัญหาของประเทศได้ มอี ะไรบา้ งทีเ่ ราสามารถเรยี นร้ไู ด้ จากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเฉพาะจากการปฏิบัติท่ีเป็นรูปธรรม เท่าท่ีเราได้ทำ มาแล้วในช่วง ๑๒ ปีท่ีผา่ นมา จงึ อยากจะมาเรียนถามทา่ นว่า ทา่ นอาจจะสนใจเรื่องของการ Connect for Sharing เพอื่ จะมาช่วยแกป้ ญั หาของประเทศ

“CSR ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” 37 ตวั อยา่ งของโครงการที่ผมอยากจะนำเสนอ ก็คอื โครงการต่างๆ ของสถาบนั ปิดทอง หลังพระฯ ซ่ึงท่านองคมนตรีเกษมเป็นประธานของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ เป็นผู้ท่ีให้ Guideline เปน็ ผ้กู ำหนดนโยบายในเร่ืองน้ี มีคุณชายดศิ นัดดา (ดศิ กุล) เป็นประธานสถาบันฯ และเป็นผู้ Operate ในเรอ่ื งนนี้ ะครับ ถา้ ถามวา่ กจิ กรรมตา่ งๆ ของสถาบันปดิ ทองหลังพระฯ นี้ CSR Club อาจจะสนใจและช่วยอะไรได้บ้าง ก็อยากจะเล่าให้ฟงั วา่ นอกจากเรื่องหลักการ ซ่ึงยึดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่คมชัดอย่างท่ีท่านองคมนตรีเกษมได้พูดถึง ก็มีเรื่องท่ี เปน็ ตัวอย่างรปู ธรรมท่ี CSR Club น่าจะมารว่ มทำ for Sharing ได้ อยากจะเรียนว่า สถาบันปิดทองหลังพระฯ ได้เริ่มดำเนินการมา ๓ ปีแล้ว และการ ทำงานก็ลงไปปฏิบัติ ในแนวทางที่เรียกว่า Area-Based คือ ไม่ได้ทำท้ังประเทศ ทำเฉพาะ พื้นที่ท่ีกำหนดเป็นเป้าหมาย โดยวิธีการที่สอดคล้องกับภูมิสังคมน้ันๆ เริ่มจากลงไปที่พื้นท ี่ ลุ่มแมน่ ้ำนา่ น โดยมีหลกั การที่ยึดเป็นแนวปฏบิ ัติ และประสบการณ์ในการลงไปทำพน้ื ทีต่ รงนี้ ที่ผมอยากจะเล่าใหท้ ่านฟัง

38 “CSR ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” ǦŠ„µ¦šœÉ¸ µÎ ¦°n Šž’· ˜´ · ¨³ž¦³­Ÿ¨­µÎ Á¦‹È ‡º° „µ¦¡•´ œµ¦³˜oœÂ¦¼ –µ„µ¦„µ¦Â„oŅž{®µ ¨³¡•´ œµ¡Êœº šÉ¸ ¨n¤» œµÎÊ œµn œ °¥µn Š¥´ÉŠ¥ºœ˜µ¤Âœª¡¦³¦µ—ε¦· (¡.«. ÓÖÖÓ - ÓÖÖÔ) 10 หลักสำคัญประการที่หน่ึงคือ ชุมชนต้องเป็นเจ้าของ ชุมชนต้องเป็นผู้นำในการ พฒั นา การพัฒนาตอ้ งทำไปตามท่ชี ุมชนต้องการ ... อนั นี้แตกต่างจากในอดีต ที่โดยมากแล้ว หน่วยราชการจะเป็นคนที่ไปสั่งว่าควรจะทำอย่างน้ัน อย่างน้ี เพราะมีสมมติฐานว่าหน่วย ราชการรู้ดีกว่า เพราะฉะน้ัน ท่ีผ่านมา หน่วยราชการจึงเป็นคนไปกำหนดว่า จะทำอะไรท ่ี ตรงน้ี ... แตใ่ นช่วง ๒ ปีกว่าๆ มานี้นะครับ ปดิ ทองหลังพระ ได้ไปยืนยนั วา่ เลอื กไปเร่ิมทำที่ ลุ่มน้ำน่าน โดยชุมชนต้องเป็นเจ้าของโครงการ ชุมชนจะต้องเป็นผู้นำในการดำเนินการ แล้วก็ ตอ้ งเป็นไปตามความต้องการของชมุ ชนจริงๆ นะครับ

“CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” 39 ประการต่อมา คือ หลักการดำเนินการก็จะเป็นไปอย่างท่ีท่านองคมนตรีเกษม ได้พูดไปแล้ว คือ ต้องเป็นไปตามขั้นตอน เราไม่สามารถจะทำให้ประชาชนรวยได้ทันที อย่างรวดเร็วภายใน ๑ ปี แต่ว่าเราจะถือหลักว่า ข้ันแรก คนในชุมชนต้อง Survive ก่อน ต้องให้อยู่รอดก่อน และไม่เป็นหนี้ ... ข้ันที่สอง คือ Sufficiency ให้พอเพียง คือ พออย ู่ พอกนิ ... แลว้ ก็ข้นั ท่สี าม ถงึ จะทำให้มีการเจรญิ กา้ วหนา้ ของชมุ ชนอย่างย่ังยืน Sustainable ...เพราะฉะน้ัน ต้องมีสามข้ันตอน น่ีเป็น Guide หลักในการดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอน ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประการที่สาม ถึงแม้ชุมชนจะต้องเป็นผู้นำและเป็นเจ้าของ และเป็นไปตามความ ต้องการของชุมชน แต่สิ่งท่ีสำคัญมากที่จะก่อให้เกิดความสำเร็จ คือ การสนับสนุน โดยราชการ สถาบันการศึกษา องค์กรพัฒนาชุมชน ต่างๆ คือ จะต้องมีผู้เป็นพ่ีเลี้ยง และเป็น Supporter ท่ีทำงานอย่างบูรณาการ ไม่ใช่ต่างคนต่างช่วย ต้องมีการเข้าไปช่วย อย่างบูรณาการ ตรงนีเ้ ป็นหลักทีม่ ีความสำคัญเปน็ อย่างย่งิ แล้วสิ่งทเ่ี ป็น Input ที่สำคัญ คอื ความรู้ ไมใ่ ช่เงนิ ถา้ สมมตุ วิ า่ ชมุ ชนมาบอกวา่ “ปดิ ทองหลงั พระมาชว่ ยหนอ่ ย ขอ ๑๐ ลา้ น…” ถา้ เรมิ่ ตน้ อย่างนี้ ต้องคุยกันใหม่ ต้องบอก ต้องถามว่า “สิ่งท่ีท่านต้องการจริงๆ คือความรู้อะไร” เพราะความรู้ส่วนใหญ่จะสะสมอยู่ในโครงการพระราชดำริต่างๆ ซึ่งสถาบันปิดทองหลังพระฯ มีหน้าท่ีไปรวบรวมความรู้ที่สะสมอยู่ในการดำเนินโครงการพระราชดำริต่างๆ แล้วหาหนทาง นำมาประยุกต์ใช้สำหรับแต่ละพ้ืนท่ีท่ีมีความแตกต่างกัน กล่าวคือ ในการทำงาน Area- Based ก็แปลว่า ต้องไปดูภูมิสังคมของท่ีน่ันก่อนว่าเป็นอย่างไร? ... องค์ความรู้หรือวิธีการ บางอย่าง เมื่อนำมาใช้ทีจ่ ดุ น้แี ล้วประสบความสำเร็จกจ็ รงิ แต่พอไปอกี แหง่ หนงึ่ อาจจะใช้ไมไ่ ด้ เลยกไ็ ด้! ... เพราะฉะนน้ั จึงตอ้ งใช้หลกั Area-Based ใหเ้ ปน็ ไปตามภมู ิสงั คม และสถาบนั ปิดทองหลังพระฯ จะต้องไปรวบรวมพ่ีเลี้ยงและหน่วยงานทั้งหลายให้มาช่วยสนับสนุน ใหส้ ามารถดำเนินการไปไดต้ ามแผนงานท่มี าร่วมกันทำกบั ชุมชนนะครบั

40 “CSR ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” œµÎ œª¡¦³¦µ—µÎ ¦·Äœ × ¤˜· ¨· Š­n¼»¤œ • „µ¦¡´•œµÂ®¨Šn œÊε • „µ¦ž¦´ž¦»Š—·œ • „µ¦Á„ȝœÎʵĮo°¥nļ œž¦³Áš« • „µ¦ž¨„¼ ®oµÂ „ Ä®œo µœš¸É­—» • „µ¦ÄoœÎµÊ š»„®¥—Ä®Áo „—· • Á„¬˜¦š§¬‘¸Ä®¤n ž¦³Ã¥œr­¼Š­»— • Á„¬˜¦¦¼žÂ°ºœÉ • „µÎ ‹´—…¥³ š¸ÉÁ®¤µ³­¤„´ ¡ºÊœš¸É • µÎ —´ œÎʵÁ­¥¸ • „µ¦°œ¦» ´„¬r —¼ ¨¦„´ ¬µ ¨³Äo • ŝð—¸ÁŽ¨ ž¦³Ã¥œ‹r µ„žµi °¥µn Š™„¼ ª·›¸ • Á°ºÊ Á¡¨Š· ­Á¸ …¥¸ ª Á¡ºÉ°Ä®o¤œ»¬¥„r ´›¦¦¤µ˜· °¥¼n¦nª¤„´œÅ—°o ¥µn Š¤¸‡ªµ¤­…» ×¥ž¦³ œµÎÊ ®œ„³ ˜¨n ´Á¦°Éº Š˜µ¤­£µ¡£¤¼ ­· Š³ ‡¤Â¨´­£µ¡ž{ ®µÄœÂ˜¨n ´¡œÊº šÉ¸ 11 11 ประการท่ีสี่ เรือ่ งองค์ความรู้ และประเด็นทค่ี วรสนใจใหเ้ กิดการพฒั นานนั้ แทนทจ่ี ะ กว้างเกินไป ก็ได้กำหนดไว้ ๖ มิติ ตามท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานลงมา อย่างน้อยก็เพอ่ื ให้เกิดความอยู่รอดก่อน แล้วจะไดพ้ ฒั นาไปสู่ขั้นพออยู่พอกิน และยัง่ ยนื ต่อไป ... สำหรับ ๖ มิติน้ี ประกอบด้วย น้ำ ดิน เกษตร พลังงานทดแทน ป่า และส่ิงแวดล้อม สถาบันปิดทองหลังพระฯ มีความรู้ตามแนวพระราชดำริ ๖ มิตินี้ท่ีจะนำเข้าไปดำเนินการ รว่ มกับชุมชน ซงึ่ ในทุกกรณี จะไปพิจารณาดจู าก ๖ มติ ิน้ี วา่ ควรจะมีการดำเนินการในเร่ือง ใดบ้าง? ก่อนหลังอย่างไร? สัดส่วนน้ำหนักในการทำแต่ละเร่ืองอาจจะไม่เหมือนกันในแต่ละ หมบู่ ้าน แต่วา่ ส่วนใหญ่แล้ว ผมเรยี นเลยวา่ เทา่ ทส่ี ถาบนั ปดิ ทองหลงั พระฯ เข้าไปทำ จะต้อง เร่ิมต้นจากเรื่องน้ำ … และแทนท่ีจะไปเริ่มต้นท่ีศูนย์ คือไปเร่ิมต้นในจุดที่ยังไม่มีอะไรเลย สง่ิ ทีท่ างสถาบนั ปดิ ทองหลงั พระฯ ไดเ้ ขา้ ไปทำคอื เรม่ิ ต้นจากการจัดการน้ำ ซ่ึงโดยมากกม็ อี ยู่

“CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” 41 แล้วในพื้นที่ต่างๆ โดยเฉพาะการจัดการน้ำท่ีเป็นโครงการตามแนวพระราชดำริในพ้ืนที่ แล้วไปใช้ประโยชน์จากน้ำอย่างเต็มที่ และร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาให้ครอบคลุม ใหค้ รบ ๖ มติ ิ เพ่ือใหเ้ กิดผลทเี่ ปน็ ไปตามความตอ้ งการของชาวบ้าน … ของชมุ ชน มีอีกส่ิงหนึ่งท่ีขออนุญาตเรียนให้ทุกท่านทราบ เกี่ยวกับเร่ืองการวัดผลสำเร็จ ของชุมชน เพราะว่าคุณชายดิศนัดดาจะเตือนพวกเราเสมอ ถ้าจะไปวัดความสำเร็จ ของโครงการ ความสำเร็จน้ีต้องวัดจากคำถามว่า ชาวบ้านได้อะไร? … อย่าไปวัดว่า เราไปช่วยกันทำ แล้วได้น้ำมาเท่าไร ได้ต้นไม้มากี่ต้น อะไรแบบน้ี … แต่ต้องไปดูว่า ชาวบ้านไดอ้ ะไร? ตอ้ งนึกอยา่ งนอ้ี ยู่เสมอ แลว้ การวัดผลสำเรจ็ น้ัน ไมใ่ ชเ่ ข้าไปนงั่ ทำไปเรอ่ื ยๆ แล้วก็ทำอยู่ ๒๐ ปี จึงจะวัดผลสำเร็จ ไม่ใช่ครับ … ต้องวัดตลอดเวลาว่าความสำเร็จ เปน็ อย่างไร? … เพราะฉะน้นั จากการทำงานทั้งหมดนี่ ใน ๒ ปีทีผ่ า่ นมา ท่ีไดไ้ ปทำท่ลี ุม่ นำ้ น่าน ก็ต้องถือว่าประสบความสำเร็จ จากการวัดแบบที่ว่ามาน้ี และน่าจะเป็นโมเดลการทำงาน ที่สามารถนำไปใช้ได้ในพ้ืนทอ่ี นื่ ๆ เพ่ือขยายผลไปเรอื่ ยๆ ขณะน้ี ก็ได้ขยายไปที่จังหวัดอุดรธานี เราเพิ่มกำลังความสามารถของการทำงานใน สถาบันปิดทองหลังพระฯ ให้สามารถทำงานขยายผลได้ และบัดนี้หลังจากเวลา ๒ ปี สถาบนั ฯ ก็มีประสบการณ์ ความรู้ มเี จา้ หนา้ ท่ี มีบคุ ลากรเพม่ิ ขึ้น … และอยากจะขยายผลไป ทั่วประเทศ ... แต่ในทส่ี ดุ กรรมการก็ได้บอกว่า ถา้ ขยายเรว็ เกินไป โดยไม่มกี ำลงั ที่จะไปช่วย สนบั สนนุ ไดด้ ีเพยี งพอ ก็อาจจะไม่ประสบความสำเรจ็ … คือพดู ง่ายๆ วา่ ในการทำงานแต่ละ พื้นทนี่ น้ั จำเป็นตอ้ งไปให้ความใสใ่ จอยา่ งมาก ท้ังในรายละเอยี ด ขอ้ มูล ขั้นตอนตา่ งๆ ซงึ่ การ ทำงานในแต่ละแห่งนี่ ต้องถือว่ายากนะครับ!! … การพัฒนาท่ีจะให้เกิดความยั่งยืน เพ่ือประโยชนข์ องชาวบา้ นจริงๆ ไมใ่ ชเ่ รื่องง่าย …

42 “CSR ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” หัวหิน พน้ื ทขี่ ยายผลใน ๑๐ จงั หวัดทั่วประเทศ การขยายตัวต้องเป็นไปตามกำลังที่เรามี เพราะฉะน้ันเมื่อเร็วๆ น้ี ก็มีการตัดสินใจ แลว้ วา่ จะขยายผลไปอกี ๑๘ หมู่บ้าน ใน ๑๐ จงั หวัด ซ่งึ เหตผุ ลใหญ่ท่เี ลอื ก ๑๘ หมู่บา้ น ท่ีอยู่ใน ๑๐ จังหวัดนี้ เราเน้นว่าชุมชนเขาต้องพร้อมที่จะทำ มีความชัดเจนว่าเขาอยากทำ จริงๆ นี่คือเงื่อนไข “ระเบิดจากข้างใน” เงื่อนไขนี้สำคัญมากครับที่จะทำให้เกิดการพัฒนา ท่ีเข้มแข็ง และย่ังยืน … ในตอนแรกน้ัน กระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ ก็กระตือรือร้นและ ศรัทธา จึงยื่นรายช่ือหมบู่ า้ นเข้ามา แล้วบอกว่า “เอารายชื่อน้ีไปเลย ไปพัฒนาหมู่บ้านเหล่าน้ี แล้วจะสำเร็จแน่” เราก็ได้ขอปฏิเสธไป โดยบอกว่า “ถ้าชุมชนไม่ต้องการ และไม่พร้อมจริงๆ เราขอไม่ทำ … ถ้าเป็นเรื่องที่กระทรวง ทบวง กรม พร้อม ... เราคิดว่ายังไม่ใช่เง่ือนไขท่ีด ี เพียงพอ ต้องไปประเมินว่าชุมชนเขาพร้อมหรือเปล่า? อันน้ันสำคัญกว่า …” และท่าน

“CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” 43 องคมนตรีเกษมกไ็ ด้พดู ไปแลว้ เมอื่ สักครู่นี้ สิ่งสำคัญทสี่ ุด ณ จุดเร่ิมตน้ คอื ตอ้ งออกไปสำรวจ อย่างละเอียด ว่าความต้องการของชุมชนเขาเป็นอย่างไร? ปัญหาของชุมชนเป็นอย่างไร? ต้องมีขอ้ มลู ตรงน้ีให้ชัดก่อนท่ีจะเรม่ิ ตน้ ทำงานในพน้ื ที่ เพราะฉะน้ัน น่ีคอื ประสบการณ์เป็นรูปธรรม ทีส่ ถาบันปดิ ทองหลังพระฯ ได้ไปทำมา แล้ว และกำลังคิดท่ีจะขยายไปยงั พนื้ ทต่ี ่างๆ ส่ิงท่ีนำมาเสนอให้กบั พวกท่าน กับ CSR Forum กับการที่ท่านมารวมตัวกันเพ่ือจะช่วยสังคม Connect for Sharing คือ ในการพัฒนาพ้ืนที่ เหล่าน้ี ท่านอาจจะมาเป็นส่วนหน่ึงของการท่ีจะมาเป็นพ่ีเลี้ยง มาให้ความรู้ มาช่วยทำ โครงการย่อยต่างๆ ยกตัวอย่างนะครับ … เพราะมีด้านต่างๆ ซ่ึงท่านอาจจะมีประสบการณ์ แต่ในขณะนเ้ี รายงั ไมม่ ีประสบการณ์เลย … ท่ีจริงแล้ว ทา่ นทง้ั หลายอาจจะเคยไปดูกรณศี กึ ษา ของคุณมีชยั (วรี ะไวทยะ) ทไี่ ดท้ ำไปแลว้ ในบางหมบู่ า้ น และแตล่ ะท่านเองก็อาจจะมคี วามคิด ความอ่านของท่าน มีประสบการณ์ของท่าน ที่จะนำเข้ามาร่วมทำงานกับพวกเราทส่ี ถาบัน ปิดทองหลงั พระฯ ได้ เพราะตอนน้ีเราร้แู ลว้ ว่า มีพื้นทล่ี มุ่ แม่นำ้ นา่ น ทีอ่ ุดรธานี และมอี ีก ๑๘ หมู่บ้าน ใน ๑๐ จังหวัด บริษัทท่ีอยู่ในท่ีน้ี และสมาชิกของท่าน สามารถมาช่วยแบ่งปัน ในรูปแบบต่างๆ ได้นะครบั สมมุติว่า ตอนนี้มี CSR Club ที่เป็นผู้นำในภาคธุรกิจ รวมกันแล้วมี Market cap เป็น ๔๓ เปอร์เซ็นต์ของบริษัทจดทะเบียน และผมก็ยังเชื่อว่า ถ้าท่านมีกิจกรรมอะไรดีๆ ก็สามารถไปชักชวนสมาชิกที่เหลือของท่าน และบางบริษัทเหล่าน้ีก็อาจจะต้ังอยู่ในพื้นท่ี ๑๐ จังหวดั นี้กไ็ ด้ เพราะฉะน้ัน บางบริษัทอาจจะสนใจเมอ่ื ได้รับทราบวา่ มีคนมาทำอยา่ งนแี้ ล้ว ในพ้ืนท่ีท่ีบริษัทต้ังอยู่ หรือทำธุรกิจอยู่ หรืออยู่ในพ้ืนที่ท่ีบริษัทเองอาจจะอยากไปต่อยอดก็ได้ … อาจจะไปช่วยเรื่องการตลาดของผลิตภัณฑ์ของสินค้าเหล่านี้ก็ได้ หรืออาจจะไปช่วย ทางดา้ น Management ขององค์กรชมุ ชนเหลา่ นกี้ ็ได้นะครบั อาจจะไปชว่ ยในแง่เปน็ สว่ นหนงึ่ ของเงินทุนเพื่อไปพัฒนาพื้นท่ีเหล่านี้ก็ได้ … เพราะฉะน้ัน CSR ของท่านอาจจะเห็นคุณค่า แล้วทำร่วมกัน แทนท่ีจะต่างคนต่างทำ มาทำร่วมกับองค์กร อย่างเช่น สถาบันปิดทอง หลังพระฯ ก็ได้

44 “CSR ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” ความร่วมมือรว่ มใจของภาคสว่ นตา่ งๆ ทำให้การพฒั นาพ้ืนทน่ี ำรอ่ งใน จังหวดั น่าน ของสถาบันสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำริ สามารถสร้างความอยู่รอดให้แกช่ ุมชนในพื้นท่ีได ้

“CSR ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” 45 เมอ่ื วานนเ้ี อง เราประชมุ ปดิ ทองหลงั พระฯ กัน ก็ทราบวา่ ทางรฐั บาลตอนนี้ เร่มิ ได้ยนิ ได้ฟังเก่ียวกับรูปแบบของการพัฒนาชนบทท่ียากจนเพ่ือแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำอย่างย่ังยืน ไม่ใช่โยนเงินเข้าไปเฉยๆ แต่มีรูปแบบการพัฒนาท่ีสามารถนำไปขยายผลได้ ก็เริ่มมาถาม คุณชายแล้วว่า ถ้าจะใช้โมเดลนี้ในการพัฒนา จะขอให้ช่วยได้ไหม? ผมก็มีความยินดีว่า เราจะตอบไปยังรฐั บาล โดยผู้อำนวยการสถาบันฯ กจ็ ะตอบไปวา่ “เรามีความยินดีเปน็ อย่างยงิ่ ที่คนมาเห็นคุณค่าของโมเดลการพัฒนาชนบทยากจนอย่างนี้ แต่ว่าเราคงมีกำลังที่จะทำได้เท่าท่ี เรามีอยู่ในขณะน้ี คือ ๑๘ หมู่บ้านใน ๑๐ จังหวัด แต่ถ้าท่านอยากจะขยายผลอันน้ีต่อไป เรายนิ ดีทจ่ี ะให้เอาหลัก หรอื ประสบการณข์ องเรา โดยขอใหท้ ่านไปช่วยบรหิ ารจัดการ” … ซงึ่ ถ้ารัฐบาลเขาทำตามน้ี ก็จะเปิดโอกาสมากข้ึน ให้ท่านทั้งหลายที่อาจจะมีความสนใจในพ้ืนท่ี ตรงไหน แล้วมีโครงการที่มีเป้าหมายและการทำงานในลักษณะนี้ ให้ท่านเข้าร่วม โดยท่าน ไม่จำเป็นต้องมาช่วยที่สถาบันปิดทองหลังพระฯ เท่านั้น ... ถ้ามีโอกาสท่ีจะทำได้ แล้วใช้ โมเดลอันนี้ เรากจ็ ะยินดอี ยา่ งยิง่ ถ้าทา่ นไปใช้โอกาสอันน้ีในพ้นื ที่อืน่ … เพราะฉะน้ัน ผมคิดว่าในเบ้ืองต้น จึงขออนุญาตที่จะนำเรียนตัวอย่างท่ีเป็นรูปธรรม ทจี่ ะ match CSR Forum กบั โครงการทเ่ี ป็นรปู ธรรม ท่ีท่านจะไปชว่ ยแกป้ ญั หาของประเทศ แก้ปัญหาของสังคม ซ่ึงจะทำให้ลดปัญหาอันใหญ่อันหน่ึงก็คือ ความเหล่ือมล้ำระหว่างภาค เกษตรกบั ภาคอนื่ ๆ ความเหลอ่ื มล้ำระหว่างชนบทกับเมือง ในรอบนีจ้ งึ ขอนำเรยี นเพื่อให้ทา่ นได้ digest ส่ิงต่างๆ เหล่านี้ เร่ิมจาก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความเป็นมาอย่างไร มีความหมายอย่างไร ... วันน้ีเราโชคดี ได้ยิน ได้ฟังอย่างลึกซ้ึง และคมชัดที่สุด จากท่าน องคมนตรี ... ส่วนการที่วา่ CSR Forum ซ่งึ มีความศรัทธาในปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง จะนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบริหารบริษัทของท่านได้ประโยชน์อย่างไร และจะใช้ CSR ไปช่วยอย่างไรนน้ั เร่ืองที่นำเสนอมา ก็อาจจะเปน็ เมนูทท่ี า่ นสามารถนำไปพนิ ิจพิจารณา ดูได้ ขอบคณุ ครบั

46 “CSR ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ดร.วริ ไท สนั ติประภพ : กอ่ นทเี่ ราจะเปดิ โอกาสใหท้ า่ นผมู้ เี กยี รตไิ ดซ้ กั ถามกบั ทา่ นองคมนตรี ทา่ นผอู้ ำนวยการ ดร.จิรายุ และคุณชายดิศนัดดา เก่ียวกับโครงการปิดทองหลังพระฯ เกี่ยวกับการนำปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในด้าน CSR ผมอยากจะขออนุญาตให้ข้อมูลบางอย่างที่เป็น รูปธรรม ผมได้มีโอกาสตามคุณชายดิศนัดดา ไปเย่ียมโครงการปิดทองหลังพระฯ ท้ังท่ีน่าน และที่อุดรธานี ได้เห็นวิธีการทำงานของทีมงานปิดทองหลังพระฯ จะเห็นว่าเป็นทีมท่ีทำงาน แบบรูจ้ รงิ และเร่ิมเปน็ ขั้นตอนมาก เรมิ่ ตงั้ แต่การออกสำรวจชาวบา้ นใหไ้ ดข้ ้อมลู ท่ชี ดั เจน ... เพราะวา่ แผนงานของปิดทองหลังพระฯ นนั้ จะต้องกลับมาบอกได้ว่า ทา้ ยท่ีสุดผา่ นไป ๑ ปี ชาวบ้านไดอ้ ะไรในแต่ละครวั เรอื นท่ีได้เข้าร่วมโครงการปดิ ทองหลังพระฯ ในวันน้ีที่เราเห็น ท่ีท่านผู้อำนวยการจิรายุได้แสดงให้เห็น อาจจะไม่เห็นภาพว่า ขนาดของโครงการปิดทองหลังพระฯ ที่น่าน มีขนาดท่ีใหญ่แค่ไหน และประสบความสำเร็จ แค่ไหน ... จากการเร่ิมเพียงไม่กี่หมู่บ้าน แต่ด้วยความสำเร็จวันนี้ ทำให้หลายๆ หมู่บ้าน หลายๆ ตำบล มาขอร่วมเข้าโครงการปิดทองหลังพระฯ ผมเข้าใจว่า ในวันน้ี มีพื้นที่ที่อยู่ใน ครอบคลุมของปิดทองหลังพระฯ ประมาณ ๒๕๐,๐๐๐ ไร่ และภายใน ๒ ปีท่ีผ่านมาทำให้ ประเทศไทยได้ปา่ คนื มามากกว่า ๑ แสนไร่ จากการท่ีเมือ่ กอ่ นชาวบ้านต้องทำนาตามไหลเ่ ขา ครอบครวั หนึ่งกต็ อ้ งมี ๓-๔ แปลง พอทำไป ๑ ปี กต็ ้องทิ้งใหห้ น้าดนิ คอ่ ยๆ ปรับข้นึ มาใหม่ เขาก็ต้องย้ายท่ีทำไปเรื่อยๆ แต่เม่ือทำระบบนาข้ันบันได ทำให้แต่ละพื้นท่ีสามารถท่ีจะมี ผลติ ผลมากข้นึ ๓-๔ เท่า เขาก็เอาพน้ื ทีท่ ี่เป็นแปลงสำรองไว้ กลบั มาคนื ใหก้ บั รฐั บาล ในที่สุด ก็กลายเป็นป่า และที่น่าน ป่ามีความสำคัญมาก เพราะว่า ๔๐ เปอร์เซ็นต์ของน้ำในแม่น้ำ เจ้าพระยาวันนี้มาจากน่าน เพราะฉะนั้นการได้ป่ากลับคืนมาท่ีน่าน ก็จะแก้ปัญหาสำคัญของ ลุ่มน้ำทั้งประเทศ ไม่ใช่เพียงแค่หมู่บ้านท่ีเราไปช่วยแค่น้ัน น่ีเป็นตัวอย่างท่ีเป็นรูปธรรม ภายใน ๒ ปี

“CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” 47 จากความสำเร็จของการดำเนินงานโดยสถาบันส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ ทำใหพ้ น้ื ท่ปี ่ากลบั คนื มา ในจังหวัดอดุ รธานี ทีอ่ ่างเก็บนำ้ หว้ ยคลา้ ย อำเภอหนองวัวซอ มคี วามสำเร็จที่เกิดขึ้น ในระยะที่ส้ันมาก เป็นอ่างเก็บน้ำท่ีถูกท้ิงไว้ โดยที่ชาวบ้านไม่รู้สึกว่าเป็นเจ้าของ ไม่มีใครไป ช่วยกันดูแล แล้วก็อาศัยแต่งบประมาณของทางการ ... เม่ือโครงการปิดทองหลังพระฯ ไดเ้ ข้าไป ได้ทำให้ชาวบา้ นสามารถท่จี ะรวมตวั กนั แลว้ กเ็ กิดความเปน็ เจ้าของในแหล่งนำ้ น้ีขึ้น แลว้ รว่ มกนั พฒั นา และเมอ่ื มใี ครไดป้ ระโยชน์ กม็ เี งนิ กลบั เขา้ มาเพอ่ื ชว่ ยกนั ดแู ลรกั ษาอา่ งเกบ็ นำ้ ห้วยคล้ายแห่งนั้น ... ผมได้มีโอกาสคุยกับชาวบ้านท่ีมาร่วมตั้งแต่เริ่มต้นนะครับ เป็น ครอบครัวเริ่มต้น ๒-๓ ครอบครัว ถามว่าเขามีหนี้อย่เู ทา่ ไร หนเ้ี ขาไมเ่ ปล่ยี นเลยในชว่ ง ๒๐ ปี ท่ีผ่านมา ขึ้นๆ ลงๆ ตลอด แต่เมื่อมาเข้าร่วมโครงการปิดทองหลังพระฯ ได้ประมาณ ไม่กี่เดือน กค็ าดวา่ ส้ินปีน้ี หนเี้ ขาจะหายไปครง่ึ หนง่ึ เปน็ ครัง้ แรกที่หนี้เขาจะลดลงไปครึง่ หนง่ึ ของหนที้ เ่ี ขามอี ยมู่ าประมาณ ๒๐ ปี อนั นเ้ี ปน็ ตวั อยา่ งทชี่ ใี้ หเ้ หน็ วา่ โครงการปดิ ทองหลงั พระฯ

48 “CSR ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” จะมขี อ้ มูลเก่ียวกบั ชาวบา้ นทเี่ ขา้ รว่ มโครงการตลอด และมกี ารวางแผนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และทำ ไปตามข้นั ตอน เริม่ ตัง้ แต่การลดหนี้ ซึง่ เปน็ ปัญหาใหญ่ในวนั นี้ อกี ตัวอยา่ งหนึ่งทเ่ี หน็ ไดช้ ดั เวลาที่ไปตามหมู่บา้ นในชนบท โดยเฉพาะถ้าไปทางอสี าน หรือไปหมู่บ้านลึกๆ ในภาคเหนือ จะเห็นแต่คนแก่กับเด็กอยู่ในหมู่บ้าน คนหนุ่มสาวจะเข้ามา หางานในเมือง แต่ที่น่าน จะไปเจอคนหนุ่มสาวเยอะมากท่ียังอยู่ในพื้นที่ ท่ีเขาช่วยโครงการ ปิดทองหลังพระฯ ผมถามคุณชายดิศนัดดาว่า ทำไมคนหนุ่มสาวเหล่านี้ยังอยู่ในหมู่บ้าน ก็ไป คุยกับเขา ทุกคนเคยเข้ามาทำงานในกรุงเทพฯ หมดแล้ว แต่ตัดสินใจย้ายกลับไปอยู่ในพื้นที่ อยู่กบั ครอบครัว พ่อแม่ เพราะครอบครวั เขาสามารถอยู่อยา่ งพอเพียงไดใ้ นพื้นที่ และเป็นการ ตอกเสาเข็มชมุ ชนอยา่ งแทจ้ รงิ ... ตอกเสาเขม็ ให้แกป่ ระเทศอย่างแท้จริง เปน็ การลดปญั หา ของแหล่งเสื่อมโทรมหรือชุมชนเส่อื มโทรมในเขตกรุงเทพฯ และชุมชนเมืองด้วย ... จะเหน็ ว่า โครงการปดิ ทองหลังพระฯ ไม่ไดช้ ว่ ยเพียงแคช่ าวบ้านเท่านั้น ไม่ไดว้ ดั ผลจากชาวบา้ นได้อะไร เทา่ นน้ั แต่ส่งผลใหส้ งั คมไทยเข้มแขง็ ข้นึ ด้วย คนหนุ่มสาวเหลา่ น้ียงั อยู่ในหมูบ่ า้ น ทกุ คนเคยเขา้ มาทำงานในกรงุ เทพฯ แต่ตดั สินใจ ยา้ ยกลบั ไปอยู่ในพ้นื ท่ี อยกู่ บั ครอบครัว พ่อแม่ เพราะครอบครัวเขาสามารถอยู่อย่างพอเพยี งได้ในพนื้ ท่ ี และเปน็ การตอกเสาเขม็ ชุมชนอย่างแท้จรงิ