รายงานการพิจารณาศกึ ษา เร่อื ง การจดั ทาระบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปอ้ งกันและปราบปราม การทุจรติ การจดั ซ้ือจัดจา้ งภาครัฐ ของคณะกรรมาธกิ ารศกึ ษาตรวจสอบเรื่องการทจุ รติ ประพฤตมิ ชิ อบและเสริมสร้างธรรมาภบิ าล วุฒิสภา ฝา่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ าร ศกึ ษาตรวจสอบเรื่องการทจุ ริต ประพฤติมชิ อบและเสรมิ สร้างธรรมาภิบาล สานักกรรมาธกิ าร ๒ สานกั งานเลขาธิการวุฒสิ ภา
(สำเนำ) บันทกึ ข้อความ สว่ นราชการ คณะกรรมำธิกำรศึกษำตรวจสอบเรอ่ื งกำรทุจรติ ประพฤติมิชอบและเสรมิ สรำ้ งธรรมำภิบำล วฒุ ิสภำ ที่ สว (กมธ ๒) ๐๐๑๐/ วนั ที่ กุมภำพันธ์ ๒๕๖๕ เร่อื ง รำยงำนกำรพจิ ำรณำของคณะกรรมำธิกำรศึกษำตรวจสอบเร่อื งกำรทจุ ริต ประพฤตมิ ชิ อบ และเสรมิ สร้ำงธรรมำภิบำล วุฒสิ ภำ กรำบเรยี น ประธำนวฒุ สิ ภำ ด้วยในครำวประชุมวุฒิสภำ ครั้งที่ ๑๗/๒๕๖๒ (สมัยสำมัญประจำปีคร้ังท่ีหนึ่ง) วันอังคำรที่ ๑๐ กันยำยน ๒๕๖๒ ที่ประชุมวุฒิสภำได้ลงมติตั้งคณะกรรมำธิกำรสำมัญประจำสภำตำมข้อบังคับ กำรประชุมวุฒิสภำ พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๗๘ (๒๓) ซึ่งคณะกรรมำธิกำรศึกษำตรวจสอบเร่ืองกำรทุจริต ประพฤติมิชอบและเสริมสร้ำงธรรมำภิบำล วุฒิสภำ เป็นคณะกรรมำธิกำรสำมัญประจำวุฒิสภำ มีหน้ำที่และอำนำจพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติ กระทำกิจกำร พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง ศึกษำตรวจสอบเร่ืองกำรกระทำกำรทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงำนของรัฐหรือหน่วยงำนอื่น กำรเสริมสร้ำงธรรมำภิบำลในกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินตำมหลักกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี และตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง และศึกษำเรื่องใด ๆ เก่ียวกับกลไก กระบวนกำร และมำตรกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตประพฤติมิชอบ พิจำรณำศึกษำ ติดตำม เสนอแนะ และเร่งรัดกำรปฏิรูปประเทศ และแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ ท่ีอยู่ในหน้ำท่ีและอำนำจ และอื่น ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง ซ่งึ ปจั จุบันกรรมำธิกำรคณะนี้ ประกอบด้วย (๑) พลเรอื เอก ศิษฐวชั ร วงษ์สวุ รรณ ประธำนคณะกรรมำธกิ ำร (๒) พลเอก สำเรงิ ศิวำดำรงค์ รองประธำนคณะกรรมำธิกำร คนทห่ี นง่ึ (๓) นำยธำนี อ่อนละเอยี ด รองประธำนคณะกรรมำธกิ ำร คนท่สี อง (๔) หม่อมหลวงสกลุ มำลำกุล รองประธำนคณะกรรมำธิกำร คนทีส่ ำม (๕) นำงสำวดำวน้อย สุทธนิ ิภำพนั ธ์รองประธำนคณะกรรมำธกิ ำร คนทส่ี ี่ (๖) นำยววิ รรธน์ แสงสุรยิ ะฉตั ร เลขำนกุ ำรคณะกรรมำธิกำร (๗) นำยประสิทธ์ิ ปทมุ ำรักษ์ รองเลขำนกุ ำรคณะกรรมำธิกำร (๘) นำงสำววไิ ลลักษณ์ อรนิ ทมะพงษ์ โฆษกคณะกรรมำธกิ ำร (๙) พลเอก วชิ ิต ยำทพิ ย์ ประธำนที่ปรึกษำคณะกรรมำธกิ ำร (๑๐) พลเอก เลิศฤทธ์ิ เวชสวรรค์ ที่ปรึกษำคณะกรรมำธิกำร (๑๑) พลอำกำศเอก ถำวร มณพี ฤกษ์ ท่ีปรึกษำคณะกรรมำธกิ ำร (๑๒) พลตำรวจโท ตรที ศ รณฤทธิวิชัย ท่ปี รึกษำคณะกรรมำธกิ ำร (๑๓) นำยอมร นิลเปรม ที่ปรึกษำคณะกรรมำธกิ ำร (๑๔) พลเอก พิสิทธิ์ สิทธสิ ำร กรรมำธกิ ำร (๑๕) นำงวรำรตั น์ อติแพทย์ กรรมำธกิ ำร (๑๖) นำยสมเดช นลิ พันธุ์ กรรมำธกิ ำร (๑๗) พลตำรวจโท สมบัติ มลิ นิ ทจินดำ กรรมำธกิ ำร (๑๘) นำยสัญชัย จลุ มนต์ กรรมำธิกำร (๑๙) พลเอก อำชำไนย ศรีสุข กรรมำธิกำร บดั น้ี ...
-๒- บัดนี้ คณะกรรมำธิกำรได้ดำเนินกำรพิจำรณำศึกษำ เรื่อง กำรจัดทำระบบกำรมีส่วนร่วม ของประชำชนในกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอรำยงำนกำรพจิ ำรณำศึกษำเรอ่ื งดงั กล่ำวตอ่ วฒุ สิ ภำตำมข้อบังคับกำรประชุม วุฒสิ ภำ พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ้ ๙๘ จึงกรำบเรียนมำเพื่อโปรดทรำบและนำเสนอรำยงำนของคณะกรรมำธิกำรต่อที่ประชุม วฒุ ิสภำต่อไป (ลงช่ือ) พลเรอื เอก (ศษิ ฐวัชร วงษ์สุวรรณ) ประธำนคณะกรรมำธกิ ำรศึกษำตรวจสอบเรอ่ื งกำรทจุ ริต ประพฤตมิ ชิ อบและเสริมสรำ้ งธรรมำภิบำล วุฒสิ ภำ สำเนำถูกต้อง (นำยอุสำห์ ชูสินธ์) ผู้ชว่ ยเลขำนกุ ำรคณะกรรมำธิกำรศึกษำตรวจสอบเร่ืองกำรทจุ รติ ประพฤตมิ ิชอบและเสริมสรำ้ งธรรมำภบิ ำล กลมุ่ งำนคณะกรรมำธกิ ำรศึกษำตรวจสอบ นยั นำ พิมพ์ เร่ืองกำรทจุ ริต และเสรมิ สรำ้ งธรรมำภบิ ำล อุสำห์ / นัยนำ ทำน สำนักกรรมำธิกำร ๒ สำนักงำนเลขำธิกำรวุฒสิ ภำ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๘๒ - ๓
ก รายนามคณะกรรมาธิการ พลเรือเอก ศิษฐวชั ร วงษ์สวุ รรณ ประธานคณะกรรมาธกิ าร พลเอก สำเริง ศิวำดำรงค์ นำยธำนี อ่อนละเอยี ด รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนง่ึ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนท่สี อง หม่อมหลวงสกุล มำลำกุล นำงสำวดำวนอ้ ย สทุ ธินภิ ำพนั ธ์ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทสี่ าม รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนท่สี ่ี นำยวิวรรธน์ แสงสุรยิ ะฉัตร นายประสทิ ธิ์ ปทุมารักษ์ นำงสำววไิ ลลักษณ์ อรนิ ทมะพงษ์ เลขานุการคณะกรรมาธกิ าร รองเลขานุการคณะกรรมาธกิ าร โฆษกคณะกรรมาธิการ
ข พลเอก วชิ ิต ยำทิพย์ ประธานท่ปี รึกษาคณะกรรมาธิการ พลอำกำศเอก ถำวร มณีพฤกษ์ พลเอก เลศิ ฤทธ์ิ เวชสวรรค์ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธกิ าร ทป่ี รกึ ษาคณะกรรมาธิการ พลตำรวจโท ตรีทศ รณฤทธวิ ิชัย นายอมร นิลเปรม ท่ีปรึกษาคณะกรรมาธกิ าร ที่ปรกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร
ค พลเอก พิสทิ ธ์ิ สิทธิสำร นำงวรำรัตน์ อตแิ พทย์ กรรมำธกิ ำร กรรมำธิกำร นำยสมเดช นลิ พนั ธุ์ พลตำรวจโท สมบัติ มลิ ินทจนิ ดำ กรรมำธิกำร กรรมำธกิ ำร นำยสญั ชัย จุลมนต์ พลเอก อำชำไนย ศรีสุข กรรมำธกิ ำร กรรมำธกิ ำร
ง รายงานการพจิ ารณา เรอ่ื ง การจดั ทาระบบการมสี ว่ นร่วมของประชาชนในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริต การจดั ซอ้ื จดั จ้างภาครฐั ของคณะกรรมาธิการศกึ ษาตรวจสอบเรอ่ื งการทจุ ริต ประพฤตมิ ิชอบและเสริมสรา้ งธรรมาภิบาล วุฒิสภา ดว้ ยในคราวประชมุ วฒุ ิสภา ครง้ั ที่ ๑๗/๒๕๖๒ (สมัยสามญั ประจาปีครง้ั ท่ีหนง่ึ ) วันองั คารท่ี ๑๐ กันยายน ๒๕๖๒ ที่ประชุมวุฒิสภาได้ลงมติตั้งคณะกรรมาธิการสามัญประจาสภาตามข้อบังคับ การประชุมวฒุ ิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ้ ๗๘ (๒๓) ซึง่ คณะกรรมาธกิ ารศกึ ษาตรวจสอบเรอ่ื งการทุจรติ ประพฤติ มิชอบและเสริมสร้างธรรมาภิบาล วุฒิสภา เป็นคณะกรรมาธิการสามัญประจาวุฒิสภา มีหน้าท่ีและอานาจ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติ กระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง ศึกษาตรวจสอบเร่ืองการกระทา การทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานอ่ืน การเสริมสร้างธรรมาภิบาล ในการบริหารราชการแผ่นดินตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีและตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และศึกษาเร่ืองใด ๆ เกี่ยวกับกลไก กระบวนการและมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ประพฤติมิชอบ พิจารณาศึกษา ติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ และแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ ทอ่ี ยู่ในหนา้ ทีแ่ ละอานาจ และอน่ื ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง บัดนี้ คณะกรรมาธิการได้ดาเนินการพิจารณาศึกษา เรื่อง การจัดทาระบบการมีส่วนร่วม ของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอรายงานผลการพิจารณาศึกษาเรื่องดังกล่าวต่อวุฒิสภา ตามข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๘ ดังนี้ ๑. การดาเนนิ งาน ๑.๑ คณะกรรมาธกิ ารได้มีมติเลอื กตาแหน่งต่าง ๆ ดงั นี้ ๑.๑.๑ พลเรือเอก ศิษฐวัชร วงษส์ ุวรรณ เป็นประธานคณะกรรมาธกิ าร ๑.๑.๒ พลเอก สำเรงิ ศวิ ำดำรงค์ เปน็ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนที่หน่ึง ๑.๑.๓ นำยธำนี อ่อนละเอียด เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนทส่ี อง ๑.๑.๔ หม่อมหลวงสกุล มำลำกลุ เป็นรองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนที่สาม ๑.๑.๕ นำงสำวดำวน้อย สทุ ธินิภำพันธ์ เปน็ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนที่สี่ ๑.๑.๖ นำยวิวรรธน์ แสงสุรยิ ะฉตั ร เป็นเลขานกุ ารคณะกรรมาธิการ ๑.๑.๗ นำยประสิทธิ์ ปทุมำรักษ์ เปน็ รองเลขานุการคณะกรรมาธกิ าร ๑.๑.๘ นำงสำววิไลลกั ษณ์ อรินทมะพงษ์ เป็นโฆษกคณะกรรมาธิการ ๑.๑.๙ พลเอก วิชิต ยำทิพย์ เปน็ ประธานทีป่ รกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร ๑.๑.๑๐ พลเอก เลศิ ฤทธิ์ เวชสวรรค์ เปน็ ทป่ี รึกษาคณะกรรมาธิการ
จ ๑.๑.๑๑ พลอำกำศเอก ถำวร มณพี ฤกษ์ เปน็ ที่ปรกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร ๑.๑.๑๒ พลตำรวจโท ตรีทศ รณฤทธิวิชัย เป็นทป่ี รึกษาคณะกรรมาธิการ ๑.๑.๑๓ นายอมร นิลเปรม เป็นทีป่ รึกษาคณะกรรมาธิการ ๑.๑.๑๔ พลเอก พสิ ทิ ธ์ิ สิทธิสำร เปน็ กรรมาธิการ ๑.๑.๑๕ นำงวรำรัตน์ อติแพทย์ เป็นกรรมำธิกำร ๑.๑.๑๖ นำยสมเดช นลิ พนั ธ์ุ เปน็ กรรมาธิการ ๑.๑.๑๗ พลตำรวจโท สมบตั ิ มลิ นิ ทจนิ ดำ เปน็ กรรมาธิการ ๑.๑.๑๘ นำยสญั ชัย จลุ มนต์ เปน็ กรรมาธิการ ๑.๑.๑๙ พลเอก อำชำไนย ศรีสขุ เป็นกรรมาธิการ ๒. วิธีการพจิ ารณาศกึ ษา ๒.๑ คณะกรรมาธิการไดจ้ ดั ให้มีการประชมุ จานวน ๖ ครั้ง ๒.๒ คณะกรรมาธิการได้ดาเนินการโดยการเชิญหน่วยงานมาให้ข้อมูลข้อเท็จจริง และประกอบการพิจารณา ดงั นี้ ๒.๒.๑ กระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง (๑) นายวฑิ ูร ทับเปนไทย ตาแหน่ง หัวหนา้ กลุม่ งานพสั ดุ กองคลงั (๒) นำงสำวศิรพิ ร เลห่ ์อมิ่ ตำแหน่ง นกั วิชำกำรพัสดุชำนำญกำร กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ (๑) นางสาวบานชน่ื วิจิตรกานตว์ งศ์ ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการกองคลัง (๒) นำยธนนติ ิ บุญปก ตำแหนง่ นักจดั กำรงำนท่วั ไปชำนำญกำร ๒.๒.๒ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกจิ และสังคม (๑) นางสมศรี หอกนั ยา ตาแหนง่ ผอู้ านวยการศนู ยเ์ ทคโนโลยี สารสนเทศและการส่อื สาร (๒) นำยทรงวฒุ ิ โชตกิ ำญจนวิทย์ ตำแหน่ง นักวชิ ำกำรคอมพิวเตอร์ ชำนำญกำรพิเศษ (๓) นำยรังสฤษฎ์ นอ้ ยอุบล ตำแหนง่ นกั วิชำกำรคอมพวิ เตอร์ชำนำญกำร ๒.๒.๓ กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม สานกั งานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) - นางสาวจุฑามาส อุดมสรยทุ ธ ตาแหนง่ ผชู้ ่วยอานวยการ สวทช. ศนู ยเ์ ทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนกิ ส์และคอมพวิ เตอร์แห่งชาติ (NECTEC) - นายวสันต์ ภัทรอธคิ ม ตาแหนง่ นกั วิจัยอาวโุ ส ๒.๒.๔ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สานักงานพัฒนารฐั บาลดิจทิ ัล (องคก์ ารมหาชน) (สพร.) - นายจริ ชาติ ทิพย์พงษ์จิตรา ตาแหน่ง นกั กลยทุ ธอาวุโส
ฉ ๒.๒.๕ สภาสถาปนกิ - พลอากาศตรีหม่อมหลวงประกิตติ เกษมสันต์ ตาแหนง่ นายกสภาสถาปนิก ๒.๒.๖ สภาวศิ วกร - นางสาวพัชญา บุญกรองแกว้ ตาแหนง่ ผชู้ ่วยหัวหน้าสานกั กฎหมาย และจรรยาบรรณ ๒.๒.๗ สมาคมอุตสาหกรรมก่อสรา้ งไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (๑) นายกฤษดา จนั ทรจ์ ารสั แดง ตาแหนง่ อปุ นายกสมาคม (๒) นางสาวผกาวดี สุนทรธรรม ตาแหน่ง ผจู้ ัดการสมาคม (๓) นายศิรวัจน์ โอฬารธนสิน ตาแหน่ง กรรมการสมาคม ๒.๒.๘ กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง (๑) นางภทั ทริ า สรุ วิ รรณ ตาแหนง่ ผอู้ านวยการกองคลงั (๒) นางสาวภาวณิ ี จูดคง ตาแหนง่ นักวิชาการพัสดชุ านาญการพิเศษ (๓) นางสาวฐิติกาญจน์ ทินอุทัย ตาแหนง่ นักวชิ าการพสั ดุปฏบิ ตั ิการ ๒.๓ อนกุ รรมาธกิ ารได้มีมติเดนิ ทางไปศกึ ษาดงู าน จานวน ๔ คร้ัง ดังน้ี ๒.๓.๑ จังหวัดเชยี งราย เมอ่ื วันพฤหสั บดที ่ี ๑ - วันเสารท์ ่ี ๓ เมษายน ๒๕๖๔ ๒.๓.๒ จงั หวัดระยอง เม่ือวันองั คารท่ี ๑๔ - วันพฤหัสบดที ่ี ๑๖ กนั ยายน ๒๕๖๔ ๒.๓.๓ จงั หวดั อบุ ลราชธานี เมื่อวนั พธุ ท่ี ๑๕ - วันศกุ ร์ท่ี ๑๗ ธนั วาคม ๒๕๖๔ ๒.๓.๔ จังหวดั สมุทรปราการ เม่ือวันพธุ ท่ี ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๖๔ ๓. ผลการพิจารณาศกึ ษา คณะกรรมาธิการขอรายงานผลการพิจารณาศึกษา เร่ือง การจัดทาระบบการมีส่วนร่วม ของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ โดยคณะกรรมาธิการ ซ่ึงคณะกรรมาธิการได้พิจารณารายงานด้วยความละเอียดรอบคอบแล้ว และได้มีมติให้ความเห็นชอบ กับรายงานดงั กล่าว จากการพิจารณาศึกษาเร่ืองดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมาธิการจึงขอเสนอรายงาน การพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ โดยมีรายละเอียดตามรายงานท้ายน้ี เพื่อให้วุฒิสภาได้พิจารณา หากวุฒิสภาให้ความเห็นชอบด้วยกับผลการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการขอให้โ ปรดแจ้งไปยัง คณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาและดาเนินการตามแต่จะเห็นสมควรต่อไป ท้ังน้ี เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติ และประชาชนสบื ไป (นายววิ รรธน์ แสงสุริยะฉตั ร) เลขานกุ ารคณะกรรมาธิการศกึ ษาตรวจสอบเรอื่ งการทจุ ริต ประพฤตมิ ิชอบและเสรมิ สร้างธรรมาภิบาล วฒุ ิสภา
ช บทสรปุ ผูบ้ ริหาร ด้วยสถานการณ์การทุจริต (Corruption) เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างในโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ เป็นปัญหาสาคัญระดับประเทศ เนื่องจากเป็นการทุจริตท่ีเก่ียวข้องกับการใช้จ่ายเงิน งบประมาณแผ่นดินเป็นจานวนมาก ซ่ึงเมื่อพิจารณาข้อมูลงบประมาณเก่ียวกับการจัดซื้อจัดจ้างของ หน่วยงานภาครัฐในระหว่าง ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๔ พบว่า มีจานวนเงินงบประมาณการจัดซ้ือจัดจ้าง และมูลค่าโครงการรวมที่มีมูลค่าสูงขึ้นทุกปี ส่วนในด้านจานวนโครงการก็เพ่ิมขึ้นทุกปีเช่นกัน กล่าวคือ เม่ือเปรียบเทียบงบประมาณการจัดซ้ือจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่มีจานวนงบประมาณ จัดซื้อจัดจ้าง ๑,๑๒๙,๒๘๓.๐๑ ล้านบาท มูลค่าโครงการรวม ๑,๑๑๙,๒๓๒.๓๐ ล้านบาท และจานวน โครงการรวม ๓,๔๗๐,๕๕๑ โครงการ กับปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ที่มีจานวนงบประมาณจัดซ้ือจัดจ้าง ๑,๒๑๗,๕๖๘.๔๐ ล้านบาท มูลค่าโครงการรวม ๑,๐๙๖,๕๖๙.๕๕ ล้านบาท และจานวนโครงการรวม ๔,๔๐๐,๗๑๗ โครงการ จะเห็นได้ว่า มีแนวโน้มงบประมาณการจัดซ้ือจัดจ้างที่ค่อนข้างสูง ขณะเดียวกัน จานวนโครงการก็จะย่ิงทวีเพิ่มมากขึ้น และเม่ือพิจารณาในรายละเอียดเกี่ยวกับ มูลค่าโครงการ ซึ่งจาแนกตามประเภทโครงการ พบว่า มูลค่าโครงการประเภทจ้างก่อสร้างเป็นโครงการที่มีมูลค่า งบประมาณสูงท่ีสุดในทุกปี ประกอบกบั เมื่อพิจารณาข้อมลู ดัชนีช้ีวัดความโกงหรือดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์ รัปชัน หรือ (Corruption Perceptions Index : CPI) ซ่ึงจัดทาโดยองค์กรเพ่ือความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International : TI) ซึ่งเป็นองค์กรระหว่างประเทศท่ีได้ก่อต้ังขึ้นเพ่ือรณรงค์แก้ไขปัญหา การทุจริตหรือคอร์รัปชัน โดยเม่ือวันท่ี ๒๘ มกราคม ๒๕๖๔ องค์กรเพ่ือความโปร่งใสนานาชาติหรือ TI ได้ แถลงรายงาน ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันโลก ประจาปี ๒๕๖๓ จาก ๑๘๐ ประเทศทั่วโลก พบว่า ประเทศไทย มีคะแนนจานวน ๓๖ คะแนน (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) อยู่ในลาดับท่ี ๑๐๔ จากประเทศท่ี เข้าร่วมประเมินทั้งหมด ๑๘๐ ประเทศ และอยู่ในอันดับท่ี ๕ ของกลุ่มประเทศอาเซียน ซึ่งสะท้อน ความหมายว่า การทุจริตหรือคอร์รัปชันในประเทศไทยยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง และมีผลกระทบโดยตรงต่อ ประชาชนในการใช้ประโยชน์จากโครงการที่ภาครัฐดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้าง อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อ ภาพลักษณป์ ระเทศเพราะเปน็ การทาลายความน่าเช่อื ถือของประเทศในสายตาของนักลงทนุ ตา่ งชาติอีกด้วย ซ่ึงจะเปน็ อุปสรรคตอ่ การพฒั นาความเจริญกา้ วหนา้ ของประเทศ ขณะที่ในปัจจุบันการแก้ปัญหาการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐจะใช้วิธีการตรวจสอบ และป้องกันปราบปรามการทุจริตโดยการตั้งคณะบุคคลขึ้นมาตรวจสอบ หรือการให้มีการร้องเรียนผ่าน ช่องทางต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ของหน่วยงานภาครัฐ หรือหน่วยงานตรวจสอบต่าง ๆ นั้น วิธีการตรวจสอบ โดยการต้งั คณะบุคคลต่าง ๆ เพ่อื ตรวจสอบและปอ้ งกนั ปราบปรามการทจุ ริต หรือการใหม้ กี ารร้องเรียนแต่
ซ เพียงอย่างเดียวนั้น อาจจะไม่เพียงพอต่อการสกัดก้ันหรือลดการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครฐั ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลทเ่ี ปน็ รูปธรรมอย่างแท้จริง ดังนั้น การสร้างเคร่ืองมือท่ีเป็นระบบการติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปราม การทุจริตในการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐ โดยการนาเทคโนโลยีรูปแบบ QR Code มาใช้งานในการเป็นตัว สื่อกลางในการส่งข้อมูลหรือแจ้งเบาะแสเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการติดตามตรวจสอบ ป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตจึงเป็นสิ่งสาคัญท่ีส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตรวจสอบและป้องกัน การทุจริต ซ่ึงเทคโนโลยีรูปแบบ QR code ย่อมาจาก Quick Response Code ท่ีสามารถใช้สมาร์ทโฟน เพอื่ อ่านขอ้ มูลต่าง ๆ เช่น ขอ้ ความ เบอรโ์ ทรศัพท์ URL เพื่อเชอื่ มโยงไปยงั เว็บไซต์ซึ่งเปน็ ฐานขอ้ มูลเก่ียวกับ การดาเนินการบริหารการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐที่เป็นการเปิดเผย โปร่งใส และมีกลไกในการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตในทุกข้ันตอน ตลอดจนมีกลไกในการป้องกันและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วน บุคคลให้กับประชาชนท่ีแจ้งเบาะแสหรือให้ข้อมลู การทุจริตในการจัดซื้อ จัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ โดยให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ปลอดภยั และยังเป็นการเปดิ โอกาสให้ภาคประชาชนและผู้ที่เกย่ี วขอ้ งทกุ ภาคส่วนได้เขา้ มามีสว่ นร่วมในการ ติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐอันจะทาให้เกิดประโยชน์ สงู สดุ ต่อประเทศและความผาสกุ ของประชาชน โค ร ง ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ จั ด ท า ร ะ บ บ ติ ด ต า ม ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ป้ อ ง กั น ป ร า บ ป ร า ม ก า ร ทุ จ ริ ต คอร์รัปชันในการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐในรูปแบบ QR Code ที่คณะกรรมาธิการได้ริเริ่มดาเนินการ พิจารณาศึกษานั้น จะเป็นเคร่ืองมือหรือกลไกสาคัญในการเปิดโอกาสและสร้างแรงจูงใจให้เครือข่ายภาค ประชาสังคมหรือประชาชนในพ้ืนที่เข้าร่วมเฝ้าระวัง สอดส่อง และแจ้งเบาะแสการทุจริตในพื้นที่ของตน เน่ืองจากได้เปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเขา้ ถึงข้อมูลและตรวจสอบการบรหิ ารการจัดซอ้ื จัดจ้างโครงการ ต่าง ๆ ของภาครัฐ ในรูปแบบ “๑ โครงการ ๑ QR Code” โดยมีการติดรหัส QR Code ดังกล่าวไว้ตาม ป้ายโครงการต่าง ๆ จะทาให้สามารถตรวจสอบกระบวนการจัดซ้ือจัดจ้างโครงการได้ตั้งแต่เร่ิมโครงการ ระหว่างดาเนินโครงการ และส้นิ สุดโครงการ ตลอดจนทาให้เกดิ ความสะดวกในการรวบรวมข้อมูลท้ังหมดใน แต่ละโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐที่มีการจัดซ้ือจัดจ้างว่า มีการเปลี่ยนช่ือใช้งบประมาณดาเนินโครงการ จานวนเท่าไหร่ และเป็นโครงการเดิมที่เคยดาเนินโครงการน้ีไปแล้วหรือไม่ ประการใด ซึ่งหากโครงการใดที่ ดาเนินการแล้วไม่กอ่ ให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนและมกี ารทุจริตเกดิ ขึ้นกส็ ามารถท่ีจะร้องเรียนโครงการน้ี ได้โดยสแกนรหัส QR Code เพ่ือแจ้งเบาะแสการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้าง ซ่ึงจะทาให้งบประมาณท่ีถูก นาไปใชจ้ า่ ยในแตล่ ะโครงการ เกดิ ความคุ้มคา่ ตอ่ การลงทนุ และไมเ่ กดิ ความซา้ ซ้อนในการขออนุมตั ิงบประมาณ
ฌ เพื่อดาเนินโครงการที่มีลักษณะเดียวกันอีก อีกท้ังการจัดทารหัส QR Code จะทาให้ง่ายต่อการติดตาม ตรวจสอบโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐท่ีมีการจัดซ้ือจัดจ้างด้วย ซ่ึงโครงการดังกล่าวน้ีสอดคล้องกับแนวคิด ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Democracy) ท่ีเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในทางการเมืองการปกครองมากยิ่งขึ้นมิใช่เพียงให้ประชาชนสามารถใช้อานาจอธิปไตยของตนผ่านการ เลือกต้ังเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ความเคล่ือนไหว และความคืบหน้าของการบริหารจัดการประเทศ หรือเข้าไปมีส่วนร่วมในการตรวจสอบเฝ้าระวัง สอดส่อง และแจ้งเบาะแสการทุจริต ซ่ึงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผน ปฏริ ูปประเทศดา้ นการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมิชอบในยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการปรับ สมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ข้อ ๔.๖ ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ โดยเน้นให้ประชาชนและภาคีต่าง ๆ ในสังคมร่วมมือกันในการป้องกันการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ กิจกรรมปฏิรูปท่ี ๑ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการต่อต้าน การทุจริต ประกอบกับแผนย่อยการป้องกันการทุจริตและประพฤติมชิ อบ ที่กาหนดแนวทางการพัฒนาให้ส่งเสริมการ ปฏิบัติหน้าท่ีของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความใสสะอาดปราศจากพฤติกรรมท่ีส่อไปในทาง ทุจริต โดยการปฏิบัติหน้าท่ีราชการอย่าเปิดเผย โปร่งใส ถูกต้องเป็นธรรม ไม่คดโกง รู้จักแยกแยะเรื่อง ส่วนตัวออกจากหน้าที่การงาน การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารงาน ตลอดจนการสร้างจิตสานึกและ ค่านิยมในการต่อต้านการทุจริตให้แกบ่ ุคคลากรขององค์กร โดยการสนับสนุนให้ข้าราชการและเจา้ หน้าที่รัฐ เข้ามามีส่วนร่วมเป็นเครือข่ายต่อต้านการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐ เพ่ือส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการเฝ้า ระวัง สอดส่อง ติดตามพฤติกรรมเส่ียงและแจ้งเบาะแส เพื่อสกัดก้ันมิให้เกิดการทุจริต ประพฤติมิชอบได้ โดยมีมาตรการสนับสนุนและคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส และแผนย่อยการปราบปรามการทุจริต ตามแนวทาง การพัฒนาเพ่ิมประสิทธิภาพการดาเนินงานของกระบวนการและกลไกการปราบปรามการทุจริต โดยการ ปรับกระบวนการทางานด้านการปราบปรามการทุจริตเขา้ ส่รู ะบบดิจิทัลมาใช้ในกระบวนการทางานด้านการ ปราบปรามการทุจริตให้ได้มาตรฐานสากลและเป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมท้ังบูรณาการข้อมูลกับหน่วยงาน ท้ังภาครัฐและเอกชนต่าง ๆ ในการตรวจสอบความถูกต้อง ปรับปรุงกระบวนการปราบปรามการทุจริตท่ีมี ความรวดเร็วและมปี ระสทิ ธภิ าพ
สารบัญ หนา้ บทที่ ๑ บทนา................................................................................................................................... ๑ ๑.๑ ความเปน็ มาหรอื สภาพปัญหา ..................................................................................... ๑ ๑.๒ วัตถุประสงคข์ องการศึกษา ......................................................................................... ๓ ๑.๓ ขอบเขตของการศึกษา ................................................................................................ ๓ ๑.๔ วิธกี ารดาเนินการศกึ ษา ......................................................................................... ๔ ๑.๕ ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะไดร้ บั .......................................................................................... ๕ บทที่ ๒ กฎหมาย ยุทธศาสตรช์ าติ และแผนปฏิรูปประเทศและนโยบายรัฐบาลท่เี ก่ียวข้อง กับการมสี ่วนรว่ มของประชาชนในการตอ่ ตา้ นการทุจรติ ..................................................... ๗ ๒.๑ กฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ ง …................................................................................................. ๗ ๒.๑.๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ……….................... ๗ ๒.๑.๒ พระราชบญั ญัติ และทเ่ี ก่ียวข้อง ................................................................. ๑๐ ๑) พระราชบัญญตั กิ ารจัดซื้อจดั จ้างและการบรหิ ารพัสดุภาครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐ ... ๑๐ ๒) พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ...................................................................... ๑๑ ๓) พระราชกฤษฎกี าว่าด้วยหลักเกณฑ์และวธิ ีการบริหารกจิ การ บ้านเมืองทดี่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖ ................................................................... ๑๒ ๔) พระราชบัญญตั ิการบรหิ ารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบ ดจิ ทิ ัล พ.ศ. ๒๕๖๒ .............................................................................. ๑๕ ๕) พระราชบัญญตั ิขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ...................... ๑๖ ๖) พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมลู ส่วนบคุ คล พ.ศ. ๒๕๖๒ ........................ ๑๘ ๒.๒ ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ประเด็นยุทธศาสตรช์ าติด้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ .......... ๒๐ ๒.๒.๑ เป้าหมาย ………....................................................................................……. ๒๑ ๒.๒.๒ ประเด็นยุทธศาสตร์ ....…….....…...........................................................……. ๒๑
สารบญั หนา้ ๒.๓ แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเดน็ การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมชิ อบ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) (แผนยอ่ ยการป้องกนั การทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ) ................................. ๒๓ ๒.๔ ยทุ ธศาสตร์ (เฉพาะที่เกยี่ วขอ้ งกับการมีส่วนรว่ มของประชาชนในการตอ่ ต้านการทจุ ริต)…. ๒๔ ๒.๕ แผนการปฏริ ปู ประเทศ (ฉบับปรับปรงุ ) ...............………………………………………………. ๒๖ ๒.๕.๑ ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมิชอบ ...................... ๒๖ ๒.๕.๒ ด้านการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ..................................................................... ๒๘ ๒.๖ นโยบายของรฐั บาล .............................................………………………………………………. ๒๙ บทที่ ๓ แนวคดิ ทฤษฎี และขอ้ มูลท่ีเก่ียวข้องกบั การมสี ว่ นร่วมของประชาชนในการต่อตา้ น การทจุ ริต และรูปแบบ QR Code ................................................................................ ๓๓ ๓.๑ แนวคดิ การมีส่วนรวมของประชาชน …....................................................................... ๓๓ ๓.๑.๑ ความหมายการมีสว่ นรวมของประชาชน ............................................……. ๓๔ ๓.๑.๒ รปู แบบและลกั ษณะการมสี ่วนรวมของประชาชน ..............................……. ๓๕ ๓.๒ แนวคดิ การบรหิ ารราชการแบบมสี ่วนรว่ ม (Participatory Governance) ............... ๓๗ ๓.๒.๑ ความหมายการบริหารราชการแบบมสี ว่ นร่วม ................................…...…. ๓๗ ๓.๒.๒ ประโยชน์ของการบรหิ ารราชการแบบมสี ่วนร่วม ..................................…. ๓๘ ๓.๓ แนวคดิ หลกั ธรรมาภิบาล (GoodGovernance) ........................................................ ๓๙ ๓.๓.๑ ความหมายของธรรมาภิบาล...............................................................……. ๔๐ ๓.๓.๒ หลักการพ้ืนฐานของการสรา้ งธรรมาภิบาลในองคก์ ร .........................……. ๔๐ ๓.๔ การประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั (Integrity and Transparency Assessment : ITA) .................................................................................... ๔๒ ๓.๕ ข้อมูลเบอ้ื งต้นเกีย่ วกับดชั นีการรับรกู้ ารทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) .. ๔๔ ๓.๖ การเขา้ ถงึ เทคโนโลยีของคนไทย .............................................................................. ๕๑ ๓.๗ นโยบายแผนพัฒนารฐั บาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ .............. ๕๔ ๓.๘ การพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ัลในตา่ งประเทศ .................................................................... ๕๖ ๓.๙ ความรู้ทว่ั ไปเกย่ี วกบั รูปแบบของ QR Code ………………………………………………….. ๕๘
สารบัญ หน้า บทท่ี ๔ ผลการพิจารณาศึกษา ........................................................................................................ ๖๓ ๔.๑ การรับความเหน็ จากหน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง .................................................................. ๖๔ ๔.๒ การเดินทางลงพื้นที่ เพื่อความเห็นจากหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง ...................................... ๘๕ ๔.๓ การวเิ คราะห์ผลรบั ความเหน็ จากหนว่ ยงานที่เกยี่ วข้อง .............................................. ๑๐๐ บทที่ ๕ สรุปผลการพจิ ารณาศึกษา ขอ้ สังเกตและขอ้ เสนอแนะ …………………………………..…....…… ๑๐๓ ๕.๑ สรุปผลการพจิ ารณาศึกษา ......................................................................................... ๑๐๓ ๕.๒ ขอ้ สงั เกตและข้อเสนอแนะ ........................................................................................ ๑๐๕ บรรณานุกรม .................................................................................................................................... ภาคผนวก .........................................................................................................................................
บทที่ ๑ บทนำ ๑.๑ ควำมเปน็ มำและสภำพปัญหำ ด้วยสถานการณ์การทุจริต (Corruption) เก่ียวกับการจัดซื้อจัดจ้างในโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ เป็นปัญหาสาคัญระดับประเทศ เน่ืองจากเป็นการทุจริตท่ีเก่ียวข้องกับการใช้จ่ายเงิน งบประมาณแผ่นดินเป็นจานวนมาก ซึ่งเม่ือพิจารณาข้อมูลงบประมาณเก่ียวกับการจัดซ้ือจัดจ้างของ หน่วยงานภาครัฐในระหว่าง ปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๔ พบว่า มีจานวนเงินงบประมาณการจัดซ้ือจัดจ้าง และมูลค่าโครงการรวมท่ีมีมูลค่าสูงข้ึนทุกปี ส่วนในด้านจานวนโครงการก็เพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกัน กล่าวคือ เมื่อเปรียบเทียบงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐ ปี ๒๕๕๘ ที่มีจานวนงบประมาณ จัดซ้ือจัดจ้าง ๑,๑๒๙,๒๘๓.๐๑ ล้านบาท มูลค่าโครงการรวม ๑,๑๑๙,๒๓๒.๓๐ ล้านบาท และจานวน โครงการรวม ๓,๔๗๐,๕๕๑ โครงการ กับปี ๒๕๖๔ ท่ีมีจานวนงบประมาณ จัดซ้ือจัดจ้าง ๑,๒๑๗,๕๖๘.๔๐ ล้านบาท มูลค่าโครงการรวม ๑,๐๙๖,๕๖๙.๕๕ ล้านบาท และจานวนโครงการรวม ๔,๔๐๐,๗๑๗ โครงการ จะเห็นได้ว่า มีแนวโน้มงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างที่ค่อนข้างสูง ขณะเดียวกัน จานวนโครงการก็จะย่ิงทวเี พ่ิมมากขน้ึ ดังพจิ ารณาได้จากตารางแสดงภาพรวมสถิติงบประมาณการจัดซ้ือ จัดจ้างของหน่วยงานภาครฐั ตำรำงแสดงภำพรวมสถิตงิ บประมำณกำรจดั ซื้อจดั จ้ำงของหน่วยงำนภำครฐั ๑ ปงี บประมำณ งบประมำณจัดซอื้ จดั จ้ำง มูลค่ำโครงกำรรวม จำนวนโครงกำรรวม (โครงกำร) ๒๕๕๘ (ลำ้ นบำท) (ล้ำนบำท) ๓,๔๗๐,๕๕๑ ๒๕๕๙ ๑,๘๕๔,๗๗๙ ๒๕๖๐ ๑,๑๒๙,๒๘๓.๐๑ ๑,๑๑๙,๒๓๒.๓๐ ๒,๐๑๗,๕๑๒ ๒๕๖๑ ๓,๕๒๔,๖๕๘ ๒๕๖๒ ๗๕๔,๒๒๒.๙๒ ๖๘๗,๖๘๗.๗๔ ๔,๐๑๐,๑๔๖ ๒๕๖๓ ๔,๙๑๐,๙๕๗ ๒๕๖๔ ๘๓๙,๐๐๔.๔๑ ๗๔๔,๘๐๖.๑๙ ๔,๔๐๐,๗๑๗ ๑,๐๐๐,๒๐๔.๑๖ ๙๒๑,๗๕๑.๕๓ ๑,๒๑๕,๙๑๐.๓๑ ๑,๑๐๙,๕๘๑.๘๗ ๑,๓๗๕,๒๖๐.๐๒ ๑,๒๑๘,๔๔๒.๐๐ ๑,๒๑๗,๕๖๘.๔๐ ๑,๐๙๖,๕๖๙.๕๕ ๑ สบื คน้ จาก https://govspending.data.go.th/dashboard/๑ .เมื่อวันท่ี ๒๔ ตลุ าคม ๒๕๖๔.
๒ และเมื่อพิจารณาในรายละเอียดเก่ียวกับมูลค่าโครงการ ซึ่งจาแนกตามประเภทโครงการ พบว่า มูลค่าโครงการประเภทจ้างก่อสร้างเป็นโครงการที่มีมูลค่างบประมาณสูงที่สุดในทุกปี ประกอบกับ เม่ือพิจารณาข้อมูลดัชนีช้ีวัดความโกงหรือดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชัน หรือ “CPI” (Corruption Perceptions Index) ซึ่งจัดทาโดยองค์กรเพ่ือความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International: TI) ซึ่งเป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ได้ก่อต้ังขึ้น เพื่อรณรงค์แก้ไขปัญหาการทุจริตหรือคอร์รัปชัน โดยเม่ือวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๖๔ องค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติหรือ TI ได้แถลงรายงาน ดัชนีชี้วัด ภาพลักษณ์คอร์รัปชันโลก ประจาปี ๒๕๖๓ จาก ๑๘๐ ประเทศท่ัวโลก พบว่า ประเทศไทย มีคะแนน จานวน ๓๖ คะแนน (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) อยู่ในลาดับที่ ๑๐๔ จากประเทศท่ีเข้าร่วมประเมิน ทั้งหมด ๑๘๐ ประเทศ และอยู่ในอันดับท่ี ๕ ของกลุ่มประเทศอาเซียน ซ่ึงสะท้อนความหมายว่า การทุจริตหรือคอร์รัปชันในประเทศไทยยังคงมีอยู่อย่างต่อเน่ือง๒ และมีผลกระทบโดยตรงต่อประชาชน ในการใช้ประโยชน์จากโครงการท่ีภาครัฐดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้าง อีกท้ังยังส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ ประเทศเพราะเป็นการทาลายความน่าเชื่อถือของประเทศในสายตาของนักลงทุนต่างชาติอีกด้วย ซึ่งจะเป็นอปุ สรรคต่อการพัฒนาความเจริญก้าวหนา้ ของประเทศ ขณะที่ในปัจจุบันการแก้ปัญหาการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐจะใช้วิธีการ ตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตโดยการตั้งคณะบุคคลขึ้นมาตรวจสอบ หรือการให้มี การร้องเรียนผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ของหน่วยงานภาครัฐ หรือหน่วยงานตรวจสอบต่าง ๆ นั้น วิธีการตรวจสอบโดยการต้ังคณะบุคคลต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริต หรือการให้มีการร้องเรียนแต่เพียงอย่างเดียวน้ัน อาจจะไม่เพียงพอต่อการสกัดกั้นหรือลดการทุจริต ในการจัดซ้ือจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่เป็นรูปธรรม อย่างแท้จรงิ ดังนั้น การสร้างเครื่องมือที่เป็นระบบการติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปราม การทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐจึงเป็นสิ่งที่สาคัญย่ิง เช่น การนาเทคโนโลยี QR Code มาใช้งานในการเป็นตัวสื่อกลางในการส่งข้อมูลเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการติดตามตรวจสอบ ป้องกัน และปราบปรามการทุจริตให้มากยิ่งข้ึน ซ่ึงเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR code) ย่อมาจาก Quick Response Code ท่ีสามารถใช้สมาร์ทโฟนเพ่ืออ่านข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข้อความ เบอร์โทรศัพท์ URL เพ่ือเช่ือมโยงไปยังเว็บไซต์ซึ่งเป็นฐานข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินการบริหารการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ ท่ีเป็นการเปิดเผย โปร่งใส และกลไกในการป้องกันปราบปรามการทุจริตในทุกขั้นตอน ตลอดจนมีกลไก ๒ค ะ แ น น ดั ช นี ก า ร รั บ รู้ ก า ร ทุ จ ริ ต ( CPI) ๒ ๐ ๒ ๐ สื บ ค้ น จ า ก https://www.nacc.go.th/files/article/attachments/26809121fcc59b165111ad494e9b86f2f5b8f4f.pdf?fbclid=I wAR25yhFi4tJQ7gE_9zFIC7smUoNJPfa-lPQbRmjNaNlUbFTmONyvBSzqFSU.เม่ือวนั ท่ี ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๔.
๓ ในการป้องกันและรักษาความปลอดภยั ของข้อมูลส่วนบุคคลให้กับประชาชนท่ีแจ้งเบาะแสหรือให้ข้อมูล การทุจริตในการจัดซ้ือจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ โดยให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล การจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย อีกท้ังยังเป็น การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนที่เป็นการเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและผู้ที่ เกี่ยวข้อง ทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตในการจัดซ้ือ จัดจ้างของภาครัฐอันจะทาให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศและความผาสกุ ของประชาชน เกิดความคมุ้ ค่าสูงสุดของเงินงบประมาณแผ่นดิน ประชาชนได้รับบริการจากการลงทุนโครงการต่าง ๆ ภาครัฐ ท่ีมคี ณุ ภาพ ซึ่งสอดรับกับแผนการปฏริ ูปประเทศดา้ นการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ตลอดจนนโยบายของรฐั บาลทีไ่ ดแ้ ถลงไวต้ อ่ รฐั สภา ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมาธิการศึกษา ตรวจสอบเร่ืองการทุจริตประพฤติมิชอบ และเสริมสร้างธรรมาภิบาล จึงเห็นควรดาเนินการศกึ ษาเพ่ือหาวิธีการจัดทาระบบการติดตามตรวจสอบ และป้องกันปราบปรามการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลและ ตรวจสอบการบริหารการจัดซื้อจัดจ้างโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ตามกรอบ หน้าท่ีและอานาจของคณะกรรมาธิการฯ ในรูปแบบการนาเทคโนโลยี QR Code มาใช้ให้เป็นรูปธรรม และมีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นเคร่ืองมือให้แก่ประชาชนสาหรับใช้ในการติดตาม ตรวจสอบและป้องกัน ปราบปรามการทจุ รติ ในการจดั ซอื้ จดั จา้ งของภาครัฐใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลยิ่งขนึ้ ต่อไป ๑.๒ วัตถปุ ระสงคข์ องกำรศกึ ษำ ๑.๒.๑ เพื่อดาเนินการศึกษาเรื่องใด ๆ ตามหน้าที่และอานาจของคณะกรรมาธิการ ศึกษาตรวจสอบเร่ืองการทุจริต ประพฤติมิชอบและเสริมสร้างธรรมาภิบาล ตามข้อ ๗๘ วรรคสอง (๒๓) ของขอ้ บังคบั การประชมุ วฒุ ิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑.๒.๑ เพ่ือเป็นการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการมีส่วนร่วม การตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริต ตามแผนการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตและยุทธศาสตรช์ าติ ๑.๒.๓. เพื่อสร้างระบบการติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริ ในการจัดซื้อ จัดจ้างของภาครัฐในการนาเทคโนโลยี QR Code สาหรับเช่ือมโยงไปยังเว็บไซต์ซึ่งเป็นฐานข้อมูล เก่ียวกับการดาเนินการบริหารการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐในโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐในทุกข้ันตอน เพือ่ ท่ีจะใหป้ ระชาชนสามารถเขา้ ถงึ ได้โดยสะดวก รวดเร็ว และเปน็ รปู ธรรม
๔ ๑.๓ ขอบเขตของกำรศึกษำ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการจัดทาระบบติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปราม การทุจริตคอร์รัปชั่นในการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐในรูปแบบการนาเทคโนโลยี QR Code สาหรับ เชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ซึ่งเป็นฐานข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินการบริหารการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐที่เป็น การเปิดเผย โปร่งใส และกลไกในการป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในทุกข้ันตอน รวมทั้ง มีกลไกในการป้องกันและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลให้กับประชาชน ที่แจ้งเบาะแสหรือ ใหข้ อ้ มลู การทุจรติ คอร์รปั ชนั ในการจดั ซื้อจัดจา้ งโครงการตา่ ง ๆ ของภาครัฐ ๑.๔ วิธีกำรดำเนินกำรศกึ ษำ ดาเนินการพจิ ารณาศกึ ษาโดยคณะกรรมาธิการศึกษาตรวจสอบเรอ่ื งการทจุ รติ ประพฤติ มิชอบและเสริมสร้างธรรมาภิบาล ตามหน้าท่ีและอานาจ ตามข้อ ๗๘ วรรคสอง (๒๓) ของข้อบังคับ การประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยเชิญผู้แทนจากหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องเข้าร่วมประชุมเพ่ือให้ ข้อมูลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคณะกรรมาธิการ รวมตลอดจนเดินทางไปศึกษาดูงาน ณ จังหวัด เชียงราย จังหวัดระยอง จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดสมทุ รปราการ เพื่อแลกเปล่ียนความคดิ เห็นกับ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน รวมทั้งการศึกษาจากเอกสารข้อมูลด้านกฎหมาย กฎ ระเบียบต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง นอกจากน้ี ยังมีการพิจารณาศึกษากฎหมาย ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนปฏิรูปประเทศ ที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต และนโยบายของรัฐบาล ตลอดจน แนวคิด ท่ีมา สภาพปัญหาและผลกระทบจากสถานการณ์การทุจริตคอร์รัปชันเก่ียวกับการจัดซ้ือจัดจ้าง ในโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ รวมท้ังเอกสารงานวิจัย บทความ กฎหมาย บทความทางวิชาการ และบทวิเคราะห์เกี่ยวกับการทุจริตคอร์รัปชันเก่ียวกับการจัดซื้อจัดจ้างในโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐ รวมทั้งระเบียบ หลักเกณฑ์ที่เก่ียวข้องต่าง ๆ เพื่อนาข้อมลู ที่ได้มาศกึ ษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์เพ่ือหา แนวทางในการจัดทาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายอันนาไปสู่การแก้ไขปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันเก่ียวกับ การจัดซื้อจัดจ้างในโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐที่เหมาะสมกับสังคมไทย เพ่ือให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพ่อื ขับเคลอื่ น และดาเนนิ การให้เกดิ ผลอย่างเปน็ รูปธรรมต่อไป
๕ ๑.๕ ประโยชนท์ ่ีคำดวำ่ จะได้รบั ๑.๕.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริต คอร์รัปช่ัน และภาครัฐมีการดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างในการโครงการต่าง ๆ โดยเปิดเผยข้อมูล อย่างโปรง่ ใส ๑.๕.๒ ระบบการติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชัน ในการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐท่ีจัดทาในรูปแบบการนาเทคโนโลยี QR Code สาหรับเชื่อมโยงไปยัง เว็บไซต์ซึ่งเป็นฐานข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินการบริหารการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐในโครงการต่าง ๆ ในทุกข้ันตอน เพือ่ ให้ประชาชนสามารถเข้าถงึ ได้ขอ้ มูลโดยสะดวก รวดเร็ว และเปน็ รปู ธรรม
บทที่ ๒ กฎหมาย ยทุ ธศาสตร์ชาติ และแผนปฏิรูปประเทศ และนโยบายรัฐบาลท่ีเกี่ยวข้องกบั การมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต ๒.๑ กฎหมายทเี่ ก่ียวข้อง ๒.๑.๑ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นกฎหมายแม่บทหลัก เพื่อใช้เป็นหลัก ในการปกครอง และเป็นแนวทางในการจัดทากฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญและกฎหมายอ่ืน ซึ่งในเร่ือง การมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้านการทุจริตน้ัน ถือเป็นกลไกหนึ่งท่ีรัฐธรรมนูญกาหนดไว้ โดยปรากฏอยู่ในบทบัญญตั ิตา่ ง ๆ ของรฐั ธรรมนญู ดงั นี้ คาปรารภของรฐั ธรรมนญู “...การวางกลไกป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบที่เข้มงวด เด็ดขาด เพ่ือมิให้ผู้บริหารท่ีปราศจากคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลเข้ามามีอานาจ ในการปกครองบ้านเมืองหรือใช้อานาจตามอาเภอใจ และการกาหนดมาตรการป้องกันและบริหาร จัดการวิกฤติการณ์ของประเทศให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น...การจะดาเนินการในเร่ืองเหล่าน้ีให้ลุล่วงไปได้ จาต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างประชาชนทุกภาคส่วนกับหน่วยงานท้ังหลายของรัฐตามแนวทาง ประชารัฐภายใต้กฎเกณฑ์ตามหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและประเพณีการปกครอง ทีเ่ หมาะสมกบั สถานการณ์และลักษณะสังคมไทย หลักความสุจริต หลักสิทธิมนุษยชน และหลกั ธรรมาภิบาล อันจะทาให้สามารถขับเคล่ือนประเทศให้พัฒนาไปข้างหน้าได้อย่างเป็นข้ันตอนจนเกิดความมั่นคง ม่ังคั่ง และย่ังยืน ท้ังในทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคมตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ ” มาตรา ๕๐ (๑๐) บุคคลมหี น้าทไ่ี มร่ ว่ มมอื หรอื สนบั สนุนการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบทุกรปู แบบ รัฐธรรมนูญแห่งราชการอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้บัญญัติเพิ่มหน้าท่ีของ ปวงชนชาวไทยหลายประการ เพ่ือให้สอดคล้องกับมาตรา ๓๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ซึ่งกาหนดให้ปวงชนชาวไทยมีหน้าที่ต่อประเทศชาติประการต่าง ๆ โดยการเพ่ิมหน้าท่ีตามอนุมาตรา (๑๐) กาหนดหลักการเกีย่ วกบั หน้าที่ปวงชนชาวไทยในเรอื่ งการป้องกัน และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น เพ่ือให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการต่อต้าน การทุจริตทุกรปู แบบ
๘ มาตรา ๖๓ รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แกป่ ระชาชนถึงอันตรายที่เกิดจาก การทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน และจัดให้มีมาตรการและกลไกท่ีมี ประสิทธิภาพเพ่ือป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมทั้งกลไกใน การส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกันเพ่ือมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ ต่อต้าน หรือชี้เบาะแส โดยไดร้ ับความค้มุ ครองจากรัฐตามทีก่ ฎหมายบญั ญตั ิ มาตรานี้เป็นบทบัญญัติใหม่ซึ่งมีความสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ (มาตรา ๓๕ (๓)) เพื่อให้การขจัดการทุจริตเกิดผลอย่างจริงจัง โดยต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนและประชาชนในการร่วมมือกัน แต่การที่ ประชาชนจะตื่นตัว เพื่อให้ความร่วมมือน้ัน รัฐจาเป็นต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชน ก่อนเป็นเบ้ืองต้น เม่ือประชาชนตระหนักถึงภัยอันตรายอันเกิดจากการทุจริตแล้ว จึงจะให้ความร่วมมือ เพ่ือขจัดหรือต่อต้านการทุจริตอย่างได้ผล ในขณะเดียวกันก็ต้องมีหลักประกันว่าประชาชนท่ีให้ความ รว่ มมือแลว้ จะได้รบั ความคมุ้ ครองจากรฐั ไมใ่ หถ้ กู รังแกหรือกลน่ั แกลง้ ได้ มาตรา ๗๘ รัฐพึงส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และมีส่วนร่วมในการพัฒนา ประเทศด้านต่าง ๆ การจัดทาบริการสาธารณะทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ รวมตลอดท้ังการตัดสินใจทางการเมือง และการอื่นใดบรรดาท่อี าจมีผลกระทบต่อประชาชนหรอื ชุมชน บทบัญญัติแห่งมาตรานี้เป็นบทบัญญัติใหม่ เป็นบทบัญญัติที่กาหนดให้รัฐส่งเสริม ให้ประชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง โดยกาหนดเป็นนโยบายสาคัญให้รัฐพึงมีแนวนโยบายในการส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจท่ีถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในการพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ ดังนี้ ๑. การจัดทาบริการสาธารณะทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น ๒. การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ๓. การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ๔. การตัดสินใจทางการเมือง และ ๕. การอื่นใดบรรดาท่ี อาจมีผลกระทบต่อประชาชนหรือชมุ ชน มาตรา ๒๕๘ ให้ดาเนินการปฏริ ปู ประเทศอยา่ งนอ้ ยในด้านต่าง ๆ ให้เกิดผล ดงั ต่อไปน้ี ฯลฯ ฯลฯ ข. ด้านการบริหารราชการแผ่นดนิ ฯลฯ ฯลฯ
๙ (๕) ให้มีการปรับปรุงระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐให้มีความคล่องตัว เปิดเผย ตรวจสอบได้ และมกี ลไกในการปอ้ งกันการทุจรติ ทกุ ข้นั ตอน ฯลฯ ฯลฯ ค. ด้านกฎหมาย (๑) มีกลไกให้ดาเนินการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับต่าง ๆ ท่ีใช้บังคับ อยู่ก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ให้สอดคล้องกับหลักการตามมาตรา ๗๗ และพัฒนาให้สอดคล้องกับ หลักสากล โดยให้มีการใช้ระบบอนุญาตและระบบการดาเนินการโดยคณะกรรมการเพียงเท่าท่ีจาเป็น เพ่ือให้การทางานเกิดความคล่องตัว โดยมีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน และไมส่ ร้างภาระแก่ประชาชนเกนิ ความ จาเป็น เพมิ่ ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ และป้องกนั การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ ฯลฯ ฯลฯ กล่าวโดยสรุป รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ถือเปน็ กฎหมายแม่บททวี่ างหลักการ เก่ียวกับเร่ืองต่าง ๆ ในการปกครองประเทศ ซ่ึงในเร่ืองการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้าน การทุจริตน้ัน ในรัฐธรรมนูญฉบับนี้ บัญญัติไว้ท้ังในคาปรารภของรัฐธรรมนูญท่ีกาหนดให้มีการวางกลไก ป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบที่เข้มงวด เด็ดขาด ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือ ระหว่างประชาชนทุกภาคส่วนกับหน่วยงานทั้งหลายของรัฐตามแนวทางประชารัฐภายใต้กฎเกณฑ์ ตามหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและป ระเพณี การปกครองที่เหมาะสมกับสถานการณ์ และลักษณะสังคมไทย หลักความสุจริต หลักสิทธิมนุษยชน และหลักธรรมาภิบาล โดยรัฐธรรมนูญยัง กาหนดให้ประชาชนมีหน้าที่ไม่ร่วมมือหรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ ขณะท่ี รัฐเองก็มีหน้าที่รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายที่เกิดจากการทุจริต และประพฤติมิชอบท้ังในภาครัฐและภาคเอกชน และจัดให้มีมาตรการและกลไกท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมทั้งกลไกในการส่งเสริมให้ ประชาชนรวมตัวกันเพื่อมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ ต่อต้าน หรือชี้เบาะแส โดยได้รับ ความคุ้มครองจากรัฐตามท่ีกฎหมายบัญญัติ และรัฐพึงส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเก่ียวกับการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบด้วย นอกจากนี้ ในส่วนของ บทบัญญัติเกี่ยวกับการปฏิรูปประเทศยังมีเน้นให้ดาเนินการปฏิรูปประเทศในด้านการบริหารราชการ แผ่นดินโดยเฉพาะการให้มีการปรับปรุงระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐให้มีความคล่องตัว เปิดเผย ตรวจสอบได้ และมีกลไกในการป้องกันการทุจริตทุกขั้นตอน รวมถึงด้านกฎหมายที่จะต้องมีกลไก ให้ดาเนินการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับต่าง ๆ ท่ีใช้บังคับอยู่ก่อนวันประกาศใช้ รัฐธรรมนูญนี้ให้สอดคล้องกับหลักการตามมาตรา ๗๗ และพัฒนาให้สอดคล้องกับหลักสากล โดยให้มี การป้องกันการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบดว้ ย
๑๐ ๒.๑.๒ พระราชบัญญตั ิ และทเี่ กย่ี วขอ้ ง ๑) พระราชบญั ญตั ิการจดั ซ้ือจัดจ้างและการบริหารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ สาหรับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ นี้ ได้ตราข้ึนตามความมุ่งหมายของรัฐธรรมนูญที่ต้องการให้มีการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ และเพื่อให้การดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐมีกรอบการปฏิบัติงานท่ีเปน็ มาตรฐาน เดียวกัน โดยการกาหนดเกณฑ์มาตรฐานกลาง เพื่อให้หน่วยงานของรัฐทุกแห่งนาไปใช้เป็นหลักปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชนให้มากท่ีสุด เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเปิดโอกาสให้มี การแข่งขนั อย่างเปน็ ธรรม มกี ารดาเนินการจดั ซ้ือจัดจ้างท่ีคานึงถึงวัตถุประสงค์ของการใช้งานเป็นสาคัญ ซึ่งจะก่อให้เกิดความคุ้มค่าในการใช้จ่ายเงิน มีการวางแผนการดาเนินงานและมีการประเมินผล การปฏบิ ัติงานซ่ึงจะทาให้การจดั ซื้อจัดจ้างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมท้ังเพื่อให้เป็นไปตามหลัก ธรรมาภิบาล มีการส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ซ่ึงเป็นมาตรการหนึ่งเพ่ือป้องกันปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ประกอบกับมาตรการอ่ืน ๆ เช่น การจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงจะทาให้เกิด ความโปร่งใสในการดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ อันจะเป็นการสร้างความเชื่อม่ันให้กับสาธารณชน และก่อให้เกิดผลดีกับการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐให้เป็นท่ียอมรับโดยทั่วไป โดยมีบทบัญญัติที่เก่ียวข้องกับ การมสี ว่ นรว่ มของภาคประชาชนในการป้องกันการทจุ ริต ดงั นี้ มาตรา ๑๖ เพ่ือให้เกิดความโปร่งใสในการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ ให้หน่วยงานของรัฐจัด ให้ ภ า ค ป ร ะ ช า ช น มี ส่ ว น ร่ ว ม ใน ก า ร สั งเก ต ก า ร ณ์ ขั้ น ต อ น ห น่ึ งข้ั น ต อ น ใด ข อ ง ก า ร จั ด ซ้ื อ จั ด จ้ า ง ของหน่วยงานของรัฐตามท่กี าหนดไวใ้ นหมวดน้ี มาตรา ๑๗ ในการดาเนินการตามมาตรา ๑๖ คณะกรรมการความร่วมมือป้องกัน การทุจริต อาจกาหนดให้มีการจัดทาข้อตกลงคุณธรรมตามโครงการความร่วมมือป้องกันการทุจริต ในการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐตามมาตรา ๑๘ ก็ได้ ท้ังน้ี การจัดซ้ือจัดจ้างที่ต้องจัดทาข้อตกลงคุณธรรม ดังกล่าวให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต ประกาศกาหนดในราชกิจจา นุเบกษา โดยอย่างน้อยให้คานึงถึงวงเงินของการจัดซ้ือจัดจ้าง มาตรการป้องกันการทุจริต การจัดซ้ือ จัดจ้างที่มีความเส่ียงต่อการทุจริต และความคล่องตัวในการดาเนินงานของหน่วยงานของรัฐ เพือ่ ประกอบการพิจารณาดว้ ย คณะกรรมการความรว่ มมอื ป้องกันการทุจริตอาจกาหนดวธิ ีการนอกเหนือจากวรรคหนึ่ง เพื่ออานวยความสะดวกให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐก็ได้ ท้ังนี้ ตามท่ี คณะกรรมการความร่วมมอื ป้องกนั การทุจรติ ประกาศกาหนดในราชกจิ จานุเบกษา
๑๑ มาตรา ๑๘ ข้อตกลงคุณ ธรรมตามโครงการความร่วมมือป้องกันการทุจริต ในการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ ให้จัดทาเป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐเจ้าของโครงการ และผ้ปู ระกอบการท่ีจะเข้าย่ืนข้อเสนอ โดยฝ่ายหน่วยงานของรัฐเจ้าของโครงการและฝ่ายผู้ประกอบการ ที่จะเข้ายื่นข้อเสนอต้องตกลงกันว่าจะไม่กระทาการทุจริตในการจัดซ้ือจัดจ้าง และให้มีผู้สังเกตการณ์ ซ่ึงมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ หรือประสบการณ์ ท่ีจาเป็นต่อโครงการจัดซื้อจัดจ้างนั้น ๆ เข้าร่วม สังเกตการณ์ในการจัดซ้ือจัดจ้างตั้งแต่ข้ันตอนการจัดทาร่างขอบเขตของงานหรือรายละเอียดของพัสดุ ท่ีจะทาการจัดซื้อจัดจ้างและร่างเอกสารเชิญชวนจนถึงข้ันตอนส้ินสุดโครงการ โดยผู้สังเกตการณ์ต้องมี ความเป็นกลางและไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสียในโครงการการจัดซ้ือจัดจ้างนั้น แล้วให้รายงานความเห็นพร้อม ข้อเสนอแนะตอ่ คณะกรรมการความร่วมมอื ป้องกนั การทุจริตทราบด้วย แนวทางและวิธีการในการดาเนินงานโครงการ แบบของข้อตกลงคุณ ธรรม การคัดเลือกผู้สังเกตการณ์ และการจัดทารายงานตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ ความรว่ มมือป้องกันการทุจริต ประกาศกาหนดในราชกิจจานเุ บกษา มาตรา ๑๙ ผู้ประกอบการที่อยู่ในประเภทหรือมีวงเงินในการจัดซื้อจัดจ้างตามที่ คณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริตประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา หากประสงค์จะเข้า ย่ืนข้อเสนอกับหน่วยงานของรัฐในการจัดซ้ือจัดจ้างตามพระราชบัญญัตินี้ ต้องจัดให้มีนโยบาย ในการปอ้ งกันการทจุ รติ และมแี นวทางปอ้ งกนั การทจุ รติ ในการจัดซ้ือจัดจา้ งท่ีเหมาะสม มาตรฐานข้ันต่าของนโยบายและแนวทางป้องกันการทุจริตในการจัดซ้ือจัดจ้าง ท่ีผู้ประกอบการต้องจัดให้มีตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการความร่วมมือป้องกนั การทุจริต ประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา ๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ .ศ. ๒๕๓๔ แก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ตราขึ้นเพ่ือปรับปรุงระบบ บริหารราชการเพื่อให้สามารถปฏบิ ัติงานตอบสนองต่อการพฒั นาประเทศและการให้บริการแกป่ ระชาชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึนโดยกาหนดให้การบริหารราชการแนวทางใหม่ต้องมีการกาหนดนโยบาย เป้าหมาย และแผนการปฏิบัติงานเพื่อให้สามารถประเมินผลการปฏิบัติราชการในแต่ละระดับ ได้อย่างชัดเจน มีกรอบการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดีเป็นแนวทางในการกากับการกาหนดนโยบายและ การปฏิบัติราชการ และเพ่ือให้กระทรวงสามารถจัดการบริหารงานให้เป็นไปตามเป้าหมายได้ จึงกาหนดให้มีรูปแบบการบริหารใหม่ โดยกระทรวงสามารถแยกส่วนราชการจัดต้ังเป็นหน่วยงานตาม ภาระหน้าที่ เพ่ือให้เกิดความคล่องตัวและสอดคล้องกับเป้าหมายของงานที่จะต้องปฏิบัติ และกาหนดให้ มีกลุ่มภารกิจของส่วนราชการต่าง ๆ ท่ีมีงานสัมพันธ์กัน เพ่ือท่ีจะสามารถกาหนดเป้าหมายการทางาน
๑๒ ร่วมกันได้ และมีผู้รับผิดชอบกากับการบริหารงานของกลุ่มภารกิจนั้นโดยตรงเพ่ือให้งานเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว รวมทั้งให้มีการประสานการปฏิบัติงาน และการใช้งบประมาณเพื่อที่จะให้ การบริหารงานของทุกส่วนราชการบรรลุเป้าหมายของกระทรวงได้อย่างมีประสิทธิภาพและลด ความซ้าซ้อน มีการมอบหมายงานเพ่ือลดข้ันตอนการปฏิบัติราชการ และสมควรกาหนดการบริหาร ราชการในต่างประเทศให้เหมาะสมกับลักษณะการปฏิบัติหน้าท่ีและสามารถปฏิบัติการได้อย่างรวดเร็ว และมีเอกภาพ โดยมีหัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชการ นอกจากนี้ สมควรให้มี คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการเพื่อเป็นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการดูแลการจัดส่วนราชการและ การปรับปรุงระบบการทางานของภาคราชการให้มีการจัดระบบราชการอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป โดยมีการหลักการสาคัญในการแก้ไขเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติฉบับน้ี นอกจากการปรับปรุงองค์ประกอบ ขององค์กรการบริหารราชการแผ่นดินแล้ว ยังมีการปรับปรุงประสิทธิภาพระบบการทางานของ ภาคราชการ เพ่ือให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและตอบสนองความต้องการ ของประชาชนในบทบญั ญตั ิ ดังน้ี มาตรา ๓/๑ วรรคสาม และวรรคส่ี ในการปฏิบัติหน้าท่ีของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี โดยเฉพาะอย่างย่ิงให้คานึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏบิ ัติงาน การมสี ่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผย ขอ้ มลู การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ท้งั น้ี ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากาหนด หลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติ กไ็ ด้ ๓) พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๖ สาหรับพระราชกฤษฎกี าฉบับนี้ เปน็ การตราขึ้นสืบเนื่องจากที่มกี ารปฏิรูประบบราชการ เพื่อให้การปฏิบัติงานของส่วนราชการตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศและให้บริการแก่ประชาชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ซึ่งการบริหารราชการและการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการน้ี ต้องใช้ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพ่ือให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของ ประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เกินความจาเป็น และประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับ การตอบสนองความต้องการ รวมท้ังมีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่าเสมอ และเน่ืองจาก มาตรา ๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ บัญญัติให้การกาหนด หลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติราชการ
๑๓ เพื่อให้เกิดการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดีกระทาโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา จึงมีการตรา พระราชกฤษฎีกาฉบับนีข้ ้ึน โดยหลักการสาคญั ของกฎหมายฉบบั นี้ ปรากฏในบทบญั ญัติดังตอ่ ไปนี้ มาตรา ๖ การบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี ได้แก่ การบริหารราชการเพื่อบรรลุ เป้าหมาย ดังต่อไปน้ี (๑) เกิดประโยชนส์ ขุ ของประชาชน (๒) เกดิ ผลสัมฤทธต์ิ ่อภารกจิ ของรัฐ (๓) มีประสิทธิภาพและเกิดความคมุ้ คา่ ในเชิงภารกจิ ของรัฐ (๔) ไมม่ ขี น้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านเกนิ ความจาเป็น (๕) มกี ารปรบั ปรงุ ภารกิจของส่วนราชการใหท้ ันต่อสถานการณ์ (๖) ประชาชนไดร้ ับการอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ (๗) มกี ารประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิราชการอย่างสม่าเสมอ มาตรา ๘ ในการบริหารราชการเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน ส่วนราชการจะต้อง ดาเนินการโดยถือว่าประชาชนเป็นศูนย์กลางท่ีจะได้รับการบริการจากรัฐ และจะต้องมีแนวทาง การบรหิ ารราชการ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) การกาหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการต้องเป็นไปเพ่ือวัตถุประสงค์ ตามมาตรา ๗ และสอดคลอ้ งกบั แนวนโยบายแห่งรฐั และนโยบายของคณะรัฐมนตรที แี่ ถลงตอ่ รฐั สภา (๒) การปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการต้องเป็นไปโดยซ่ือสัตย์สุจริต สามารถ ตรวจสอบได้ และม่งุ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ุขแกป่ ระชาชนทัง้ ในระดบั ประเทศและท้องถ่นิ (๓) ก่อนเริ่มดาเนินการ ส่วนราชการต้องจัดให้มีการศึกษาวิเคราะห์ผลดีและผลเสียให้ ครบถ้วนทุกด้าน กาหนดขั้นตอนการดาเนินการท่ีโปร่งใส มีกลไกตรวจสอบการดาเนินการในแต่ละ ขั้นตอน ในกรณีท่ีภารกิจใดจะมีผลกระทบต่อประชาชน ส่วนราชการต้องดาเนินการรับฟังความคิดเห็น ของประชาชนหรือชี้แจงทาความเข้าใจเพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่ส่วนรวมจะได้รับ จากภารกจิ นน้ั (๔) ให้เป็นหน้าท่ีของข้าราชการที่จะต้องคอยรับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจ ของสังคมโดยรวมและประชาชนผู้รับบริการ เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อให้มี การปรบั ปรุงวธิ ีปฏิบัตริ าชการใหเ้ หมาะสม (๕) ในกรณีท่ีเกิดปัญหาและอุปสรรคจากการดาเนินการ ให้ส่วนราชการดาเนินการ แก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้นโดยเร็ว ในกรณีท่ีปัญหาหรืออุปสรรคน้ันเกิดขึ้นจากส่วนราชการอื่นหรือ ระเบียบข้อบังคับที่ออกโดยส่วนราชการอ่ืน ให้ส่วนราชการแจ้งให้ส่วนราชการที่เก่ียวข้องทราบ เพื่อดาเนินการแกไ้ ขปรบั ปรงุ โดยเรว็ ต่อไป และให้แจ้ง ก.พ.ร. ทราบดว้ ย
๑๔ การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ส่วนราชการกาหนดวิธีปฏิบัติให้เหมาะสมกับภารกิจ แต่ละเร่ือง ทั้งน้ี ก.พ.ร. จะกาหนดแนวทางการดาเนินการทั่วไปให้ส่วนราชการปฏิบัติให้เป็นไป ตามมาตราน้ดี ้วยก็ได้ มาตรา ๒๓ ในการจัดซื้อหรือจัดจ้าง ให้ส่วนราชการดาเนินการโดยเปิดเผยและ เท่ียงธรรม โดยพิจารณาถึงประโยชน์และผลเสียทางสังคม ภาระต่อประชาชน คุณภาพ วัตถุประสงค์ ท่ีจะใช้ ราคา และประโยชน์ระยะยาวของสว่ นราชการท่จี ะไดร้ บั ประกอบกัน ในกรณีท่ีวัตถุประสงค์ในการใช้เป็นเหตุให้ต้องคานึงถึงคุณภาพและการดูแลรักษา เป็นสาคญั ให้สามารถกระทาไดโ้ ดยไม่ต้องถอื ราคาตา่ สุดในการเสนอซ้อื หรอื จา้ งเสมอไป ให้ส่วนราชการท่ีมีหน้าที่ดูแลระเบียบเกี่ยวกับการพัสดุปรับปรุงระเบียบท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อใหส้ ว่ นราชการดาเนนิ การตามวรรคหนึ่งและวรรคสองไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ มาตรา ๒๙ ในการปฏิบัติงานที่เก่ียวข้องกับการบริการประชาชนหรือการติดต่อ ประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน ให้ส่วนราชการแต่ละแห่งจัดทาแผนภูมิข้ันตอนและระยะเวลา การดาเนินการ รวมทั้งรายละเอียดอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้องในแต่ละขั้นตอนเปิดเผยไว้ ณ ที่ทาการของ ส่วนราชการและในระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการ เพ่ือให้ประชาชนหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง เข้าตรวจดูได้ มาตรา ๓๙ ให้ส่วนราชการจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการ เพ่อื อานวยความสะดวกให้แก่ประชาชนท่ีจะสามารถติดต่อสอบถามหรือขอขอ้ มูลหรือแสดงความคิดเห็น เก่ียวกับการปฏบิ ัติราชการของสว่ นราชการ ระบบเครือข่ายสารสนเทศตามวรรคหน่ึง ต้องจัดทาในระบบเดียวกับที่กระทรวง เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารจัดใหม้ ขี ้ึนตามมาตรา ๔๐ มาตรา ๔๐ เพ่ืออานวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่ประชาชนในการติดต่อกับ ส่วนราชการทุกแห่ง ให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารจัดให้มรี ะบบเครือข่ายสารสนเทศ กลางขน้ึ ในกรณีท่ีส่วนราชการใดไม่อาจจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการได้ อาจร้องขอให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารดาเนินการจัดทาระบบเครือข่ายสารสนเทศ ของส่วนราชการดังกล่าวก็ได้ ในการนี้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารจะขอให้ สว่ นราชการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ด้านบคุ ลากร คา่ ใชจ้ า่ ย และขอ้ มลู ในการดาเนนิ การก็ได้ มาตรา ๔๑ ในกรณีที่ส่วนราชการได้รับคาร้องเรียน เสนอแนะ หรือความคิดเห็น เกี่ยวกับวิธีปฏิบัติราชการ อุปสรรค ความยุ่งยาก หรือปัญหาอื่นใดจากบุคคลใด โดยมีข้อมูลและสาระ ตามสมควร ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการน้ันท่ีจะต้องพิจารณาดาเนินการให้ลุล่วงไป และในกรณีท่ีมี
๑๕ ที่อยู่ของบคุ คลน้ัน ให้แจง้ ใหบ้ คุ คลนั้นทราบผลการดาเนนิ การด้วย ท้ังนี้ อาจแจ้งใหท้ ราบผ่านทางระบบ เครอื ข่ายสารสนเทศของส่วนราชการดว้ ยกไ็ ด้ ในกรณีการแจ้งผ่านทางระบบเครือข่ายสารสนเทศ มิให้เปิดเผยช่ือหรือที่อยู่ของ ผูร้ ้องเรยี น เสนอแนะ หรือแสดงความคดิ เห็น กล่าวโดยสรุป กฎหมายในระดับพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง ได้บัญญัติหลักการที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต โดยเฉพาะส่วนท่ี เก่ียวข้องกับการจัดซ้ือจัดจ้างได้มีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุ ภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ในเรื่องสาคัญ ๆ หลายประการ อาทิ การจัดให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วม ในการสังเกตการณ์ขั้นตอนหนึ่งขั้นตอนใดของการจัดซ้ือจัดจ้างของหน่วยงานของรัฐ และการจัดระบบ บริหารราชการแผ่นดินเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศและการให้บริการ แก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน โดยในการปฏบิ ัติหน้าท่ีของส่วนราชการ ตอ้ งใช้วิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คานึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของ ประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามพระราชบัญญัติ ระเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญัติระเบยี บบริหารราชการ แผ่นดิน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ และมีการตราพระราชกฤษฎีกากาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ ในการปฏิบัติราชการและการสั่งการใหส้ ่วนราชการและข้าราชการปฏบิ ตั ิ กล่าวคือ พระราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ซ่ึงทุกส่วนราชการยังคงใช้เป็น แนวทางในการปฏิบัตริ าชการตลอดมา ๔) พระราชบัญญตั ิการบรหิ ารงานและการใหบ้ ริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. ๒๕๖๒ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ฉ บั บ น้ี เกิ ด ข้ึ น เนื่ อ ง จ า ก ปั จ จุ บั น เท ค โน โล ยี ได้ มี ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า และเป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตและการประกอบธุรกจิ ของประชาชน ซ่ึงในการบริหารงานและการให้บริการ ภาครัฐท่ีผ่านมายังมิได้นาเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพและอานวยความสะดวก แก่ประชาชนได้อย่างเต็มท่ี และโดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้มีการปฏิรูปประเทศ ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน โดยให้มีการนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการบริหาร ราชการแผ่นดินและการจัดทาบริการสาธารณะ และให้มีการบูรณาการฐานข้อมูลของหน่วยงานของรัฐ ทุกหน่วยงานเข้าด้วยกันเพื่อให้เป็นระบบข้อมูลเพ่ือประโยชน์ในการบริหารราชการแผ่นดินและเพื่อ อานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน สมควรให้มีกฎหมายในการขับเคล่ือนให้เกิดการปฏิรูปการบริหาร ราชการแผ่นดินและการบริการประชาชนตามบทบัญญัติ แห่งรัฐธรรมนูญ และเพื่อยกระดับ การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐให้อยู่ในระบบดิจิทัล อันจะนาไปสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล ทม่ี ีระบบการทางานและขอ้ มลู เช่ือมโยงกันระหวา่ งหน่วยงานของรัฐอย่างมั่นคงปลอดภยั มปี ระสทิ ธิภาพ รวดเร็ว เปิดเผยและโปร่งใส รวมทั้งประชาชนได้รับความสะดวกในการรับบริการและสามารถตรวจสอบ
๑๖ การดาเนินงานของหน่วยงานของรัฐได้ ซึ่งมาตราที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาระบบติดตามตรวจสอบ แ ล ะป้ อ งกั น ป ราบ ป ร าม การทุ จ ริต ค อ ร์รัป ชั่ น ใน ก ารจั ด ซ้ื อ จั ด จ้ างข อ งภ าค รัฐ ใน รูป แ บ บ ก ารจั ด ท า QR Code มดี งั น้ี มาตรา ๔ เพ่ือให้การบริหารงานภาครัฐและการจัดทาบริการสาธารณะเป็นไปด้วย ความสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และตอบสนองต่อการให้บริการและการอานวยความสะดวกแก่ ประชาชน ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการบริหารงานและการจัดทาบริการสาธารณะในรูปแบบ และช่องทางดิจิทัล โดยมีการบริหารจัดการและการบูรณาการข้อมูลภาครัฐและการทางานให้มี ความสอดคล้องกันและเชื่อมโยงเข้าด้วยกันอย่างมั่นคงปลอดภัยและมีธรรมาภิบาล โดยมุ่งหมายในการ เพิ่มประสิทธิภาพและอานวยความสะดวกในการให้บริการและการเข้าถึงของประชาชน และในการ เปดิ เผยข้อมูลภาครัฐตอ่ สาธารณะและสร้างการมีสว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ น (๔) การเปิดเผยข้อมลู หรือข่าวสารสาธารณะที่หน่วยงานของรัฐจัดทาและครอบครองใน รูปแบบและช่องทางดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงได้โดยสะดวก มีส่วนร่วมและตรวจสอบ การดาเนินงานของรัฐ และสามารถนาข้อมูลไปพัฒนาบริการและนวัตกรรมที่จะเป็นประโยชน์ต่อ ประเทศในดา้ นตา่ ง ๆ มาตรา ๑๗ ให้หน่วยงานของรัฐจัดทาข้อมูลท่ีต้องเปิดเผยตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูล ข่าวสารของราชการในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลต่อสาธารณะ โดยต้องให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ อย่างเสรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และสามารถนาไปเผยแพร่ ใช้ประโยชน์ หรือพัฒนาบริการและนวัตกรรม ในรูปแบบต่าง ๆ ได้ ท้ังน้ี มาตรฐานและหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูลให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ พัฒนารัฐบาลดิจิทัลกาหนด ซึ่งต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์ในการอานวยความสะดวกแก่ประชาชนในการ เข้าถึงขอ้ มูล ๕) พระราชบญั ญตั ิขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ พระราชบัญญตั ิฉบับนเ้ี กิดขึ้นเนือ่ งจากในระบอบประชาธิปไตยการให้ประชาชนมีโอกาส กว้างขวางในการได้รับข้อมูลข่าวสารเกย่ี วกับการดาเนินการต่าง ๆ ของรัฐเปน็ สิ่งจาเป็น เพื่อที่ประชาชน จะสามารถแสดงความคิดเหน็ และใช้สิทธิทางการเมอื งได้โดยถูกตอ้ งกับความเป็นจริง อันเปน็ การส่งเสรมิ ให้มีความเป็นรัฐบาลโดยประชาชนมากย่ิงข้ึน สมควรกาหนดให้ประชาชนมีสิทธิได้รู้ข้อมูลข่าวสาร ของราชการ โดยมีข้อยกเว้นอันไม่ต้องเปิดเผยท่ีแจ้งชัดและจากัดเฉพาะข้อมูลข่าวสารที่หากเปิดเผยแล้ว จะเกิดความเสียหายต่อประเทศชาติหรือต่อประโยน์ท่ีสาคัญของเอกชน ทั้งนี้ เพ่ือพัฒนาระบอบ ประชาธิปไตยให้ม่ันคงและจะยังผลให้ประชาชนมีโอกาสรู้ถึงสิทธิหน้าทท่ีของตนอย่างเต็มที่ เพื่อท่ีจะ ปกปักรักษาประโยชน์ของตนได้อีกประการหน่ึงด้วย ประกอบกับสมควรคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลในส่วน ท่ีเกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารของราชการไปพร้อมกัน ซ่ึงมาตราที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาระบบติดตาม
๑๗ ตรวจสอบและป้องกันปราบปรามการทุจริตคอร์รัปช่ันในการจัดซ้ือจัดจ้างของภาครัฐในรูปแบบ การจดั ทา QR Code มดี งั น้ี มาตรา ๗ หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารของราชการอย่างน้อยดังต่อไปน้ี ลงพพิ ม์ในราชกจิ จานุเกศา (๑) โครงสร้างและการจดั องค์กรในการดาเนินงาน (๒) สรปุ อานาจหน้าทที่ ีส่ าคญั และวิธกี ารดาเนนิ งาน (๓) สถานทีต่ ดิ ต่อเพอื่ ขอรับขอ้ มลู ข่าวสาร หรอื คาแนะนาในการติดต่อกับหน่วยงานของรัฐ (๔) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คาสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรือการตีความ ทั้งน้ี เฉพาะท่ีจัดให้มีขึ้นโดยมีสภาพอย่างกฎ เพ่ือให้มีผลเป็นการท่ัวไปต่อเอกชนที่ เกยี่ วข้อง (๕) ขอ้ มูลข่าวสารอืน่ ตามทคี่ ณะกรรมการกาหนด ข้อมลู ข่าวสารใดท่ีได้มีการจัดพิมพ์เพ่ือให้แพรห่ ลายตามจานวนพอสมควรแล้ว ถ้ามกี ารลง พิมพใ์ นราชกิจจานเุ บกิ ษาโดยอา้ งอิงถึงส่ิงพิมพ์นนั้ กใ็ หถ้ อื วา่ เปน็ การปฏิบตั ติ ามบทบญั ญัตวิ รรคหน่งึ แลว้ ให้หน่วยงานของรัฐรวบรวมและจัดให้มีข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งไว้เผยแพร่เพ่ือขาย หรอื จาหน่าย จ่ายแจก ณ ทีท่ าการของหนว่ ยของรฐั แหง่ นน้ั ตามท่ีเหน็ สมควร มาตรา ๙ ภายใตบังคับมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๕ หน่วยงานของรัฐตองจัดใหมีข้อมูล ข่าวสารของราชการอย่างน้อยดังตอไปน้ีไวใหประชาชนเขาตรวจดูได้ ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ คณะกรรมการกาหนด (๑) ผลการพิจารณาหรือคาวินิจฉัยท่ีมีผลโดยตรงตอเอกชน รวมทั้งความเห็นแย้งและ คาสั่งท่ีเกยี่ วของในการพิจารณาวินจิ ฉยั ดงั กล่าว (๒) นโยบายหรือการตคี วามท่ไี มเ่ ขาข่ายตองลงพมิ พในราชกจิ จานุเบกษา ตามมาตรา ๗ (๔) (๓) แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ายประจาปของปทกี่ าลังดาเนนิ การ (๔) คูมือหรือคาส่ังเก่ียวกับวิธีปฏบิ ัตงิ านของเจาหนาท่ขี องรฐั ซ่ึงมผี ลกระทบถึงสิทธิ หน าที่ของเอกชน (๕) สง่ิ พมิ พทไ่ี ด้มกี ารอ้างอิงถึงมาตรา ๗ วรรคสอง (๖) สัญญาสัมปทาน สัญญาท่ีมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญาร่วมทุนกับ เอกชนในการจดั ทาบริการสาธารณะ (๗) มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมการที่แต่งต้ังโดยกฎหมาย หรือโดยมติ คณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ ใหระบุรายช่ือรายงานทางวิชาการ รายงานขอเท็จจริง หรือขอมูลข่าวสารที่นามาใช ในการพิจารณาไวด้วย (๘) ขอมูลข่าวสารอ่นื ตามท่คี ณะกรรมการกาหนด
๑๘ ข้อมูลข่าวสารท่ีจัดใหประชาชนเขาตรวจดูได้ตามวรรคหน่ึง ถามีสวนท่ีตองห้ามมิให เปิดเผยตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๕ อยู่ด้วย ใหลบหรือตัดทอนหรือทาโดยประการอื่นใดที่ไม่เป็น การเปดิ เผยขอมูลขา่ วสารสวนน้ัน บุคคลไม่วาจะมีสวนได้เสียเกี่ยวของหรือไม่ก็ตาม ยอมมีสิทธิเขาตรวจดู ขอสาเนาหรือ ขอสาเนาท่ีมีคารับรองถูกตองของขอมูลข่าวสารตามวรรคหน่ึงได้ ในกรณีที่สมควรหน่วยงานของรัฐโดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการ จะวางหลักเกณฑเรียกคาธรรมเนียมในการน้ันก็ได้ ในการนี้ใหคานึง ถึงการช่วยเหลือผู้มรี ายได้นอ้ ยประกอบด้วย ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีกฎหมายเฉพาะบัญญตั ไิ วเปน็ อย่างอ่นื คนต่างด้าวจะมสี ิทธติ ามมาตรานเ้ี พยี งใดให้เป็นไปตามทีก่ าหนดโดยกฎกระทรวง ๖) พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองข้อมูลส่วนบคุ คล พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติฉบับนี้เกิดขึ้นเนื่องจากปัจจุบันมีการล่วงละเมิด สิทธิความเป็นส่วนตัว ของข้อมูลส่วนบุคคลเป็นจานวนมากจนสร้างความเดือดร้อนราคาญหรือความเสียหาย ให้แก่เจ้าของ ข้อมลู ส่วนบุคคล ประกอบกบั ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาให้การเกบ็ รวบรวม ใช้ หรือ เปิดเผยข้อมลู ส่วนบุคคลอันเป็นการล่วงละเมิดดังกล่าว ทาได้โดยงา่ ย สะดวก และรวดเร็ว กอ่ ให้เกิดความเสียหายต่อ เศรษฐกิจโดยรวม สมควรกาหนดให้มีกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เป็นการท่ัวไปข้ึน เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ กลไก หรือมาตรการกากับดูแลเก่ียวกับการให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่ เป็นหลักการท่ัวไป ซึ่งมาตราท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดทาระบบติดตามตรวจสอบและป้องกันปราบปราม การทจุ ริตคอร์รัปชน่ั ในการจดั ซ้อื จัดจ้างของภาครัฐในรูปแบบการจัดทา QR Code มีดงั น้ี มาตรา ๖ ในพระราชบัญญัตนิ ้ี “ข้อมูลส่วนบุคคล” หมายความว่า ข้อมูลเก่ียวกับบุคคลซ่ึงทาให้สามารถระบุตัวบุคคล นัน้ ได้ไมว่ า่ ทางตรงหรือทางอ้อม แต่ไม่รวมถงึ ข้อมลู ของผ้ถู งึ แก่กรรมโดยเฉพาะ มาตรา ๑๙ ผู้ควบคุมข้อมลู ส่วนบุคคลจะกระทาการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล ส่วนบุคคลไม่ได้หากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลไม่ได้ให้ความยินยอมไว้ก่อนหรือในขณะนั้น เว้นแต่ บทบญั ญตั ิแหง่ พระราชบัญญตั ิน้ีหรอื กฎหมายอนื่ บญั ญัตใิ ห้กระทาได้ การขอความยินยอมต้องทาโดยชัดแจ้ง เป็นหนังสือหรือทาโดยผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เวน้ แต่ โดยสภาพไม่อาจขอความยนิ ยอมดว้ ยวธิ ีการดังกลา่ วได้ ในการขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องแจ้ง วัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลไปด้วย และการขอความยินยอมน้ัน ต้องแยกสว่ นออกจากขอ้ ความอ่ืนอย่างชัดเจน มีแบบหรอื ข้อความทเี่ ขา้ ถึงได้งา่ ยและเขา้ ใจได้ รวมทั้ง ใช้ ภาษาที่อ่านง่าย และไม่เป็นการหลอกลวงหรือทาให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเข้าใจผิดในวัตถุประสงค์ ดังกล่าว ท้ังนี้ คณะกรรมการจะให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วน บคุ คล ตามแบบและขอ้ ความท่คี ณะกรรมการประกาศกาหนดกไ็ ด้
๑๙ ในการขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมลู ส่วนบคุ คล ผคู้ วบคุมขอ้ มูลส่วนบคุ คลต้องคานึง อย่างถึงท่ีสุดในความเป็นอิสระของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในการให้ความยินยอม ท้ังนี้ ในการเข้าทา สัญญา ซ่ึงรวมถึงการให้บริการใด ๆ ต้องไม่มีเงื่อนไขในการให้ความยินยอมเพื่อเก็บรวบรวม ใช้ หรือ เปิดเผย ข้อมูลส่วนบุคคลที่ไม่มีความจาเป็นหรือเกี่ยวข้องสาหรับการเข้าทาสัญญาซึ่งรวมถึงการ ใหบ้ ริการนน้ั ๆ เจ้าของขอ้ มูลส่วนบคุ คลจะถอนความยนิ ยอมเสียเมื่อใดกไ็ ด้โดยจะต้องถอนความยินยอม ได้งา่ ย เช่นเดียวกบั การให้ความยินยอม เว้นแต่มีขอ้ จากัดสิทธิในการถอนความยินยอมโดยกฎหมายหรือ สัญญาที่ให้ประโยชน์แก่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งนี้ การถอนความยินยอมย่อมไม่ส่งผลกระทบต่อ การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลท่ีเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ให้ความยินยอมไปแล้ว โดยชอบตามท่กี าหนดไวใ้ นหมวดน้ี ในกรณีที่การถอนความยินยอมส่งผลกระทบต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในเร่ืองใด ผู้ควบคุม ข้อมูลส่วนบุคคลต้องแจ้งให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลทราบถึงผลกระทบจากการถอน ความยนิ ยอมนนั้ การขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลที่ไม่เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในหมวดน้ี ไม่มีผลผูกพันเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล และไม่ทาให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลสามารถทาการเก็บ รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลสว่ นบคุ คลได้ มาตรา ๒๗ ห้ามมิให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล โดยไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล เว้นแต่เป็นข้อมูลส่วนบุคคลที่เก็บรวบรวมได้โดย ไดร้ บั ยกเวน้ ไมต่ ้องขอความยินยอมตามมาตรา ๒๔ หรือมาตรา ๒๖ บุคคลหรือนิติบุคคลท่ีได้รับข้อมลู ส่วนบุคคลมาจากการเปิดเผยตามวรรคหนึ่ง จะต้องไม่ ใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลเพ่ือวัตถุประสงค์อื่นนอกเหนือจากวัตถุประสงค์ท่ีได้แจ้งไว้กับผู้ควบคุม ขอ้ มูลสว่ นบุคคลในการขอรับข้อมลู ส่วนบุคคลนั้น ในกรณีท่ีผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่ได้รับยกเว้นไมต่ ้อง ขอความยินยอมตามวรรคหนึ่ง ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องบันทึกการใช้หรือเปิดเผยนั้นไว้ในรายการ ตามมาตรา ๓๙
๒๐ ๒.๒ ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐๑เป็นแผนการพัฒนาประเทศท่ีกาหนด กรอบและแนวทางการพัฒนาให้หน่วยงานของรัฐทุกภาคส่วนต้องทาตาม เพ่ือให้บรรลุวิสัยทัศน์ ประเทศไทยที่ว่า”ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจาชาติว่า “ม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน” เพื่อสนองตอบต่อผลประโยชน์แห่งชาติ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๖๕ กาหนดให้ รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทาแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน เพ่ือให้เกิดพลังผลักดันร่วมกัน ไปสู่เป้าหมายดังกล่าว ยุทธศาสตร์ชาติเป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งจะต้องนาไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ ข้างต้น ท้ังน้ี เพื่อความสุขของคนไทยทุกคน เพ่ือให้ประเทศสามารถยกระดับการพัฒนาให้บรรลุวิสัยทัศน์ และเป้าหมายการพัฒนาประเทศ จึงจาเป็นต้องกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศระยะยาวที่มงุ่ เน้น การสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนา ความม่ันคง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ ไดแ้ ก่ ๑. ยุทธศาสตรช์ าติด้านความม่นั คง ๒. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั ๓. ยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ๔. ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ๕. ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ท่เี ป็นมติ รตอ่ สงิ่ แวดล้อม ๖. ยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ สาหรับยุทธศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตนั้น ปรากฏ ในข้อ ๔.๖ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ที่มเี ปา้ หมาย การพัฒนาที่สาคัญเพื่อปรับเปลี่ยนภาครัฐท่ียึดหลกั “ภาครฐั ของประชาชนเพ่ือประชาชน และประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดท่ีเหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท ๑ ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ .สบื ค้นจาก http://plan.bru.ac.th/%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B 8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4-20- %E0%B8%9B%E0%B8%B5-%E0%B8%9E-%E0%B8%A8-2561-2580/.เมื่อวันที่ ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๖๔
๒๑ หน่วยงานของรัฐที่ทาหน้าที่ ในการกากับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจท่ีมีการแข่งขัน มีสมรรถนะสูง ยดึ หลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทางานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์สว่ นรวม มีความทันสมัย และพร้อมที่จะปรับตัว ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการนานวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทางานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้ อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทั้ง มีลักษณะเปิดกว้าง เช่ือมโยงถึงกันและ เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยม ความซื่อสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสานึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบ อย่างสิ้นเชิง นอกจากน้ัน กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าท่ีจาเป็น มีความทันสมัย มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และนาไปสู่การลดความเหลื่อมล้าและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรม มีการบรหิ ารท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และการอานวยความยตุ ธิ รรมตามหลักนติ ธิ รรม ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมัน่ คงมีเป้าหมายสาคัญในภาพรวมระยะ ๒๐ ปีท่ีเปน็ รูปธรรม ชัดเจน คือ “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข” โดยเร่งเสริมสร้างความเข้มแข็งและความรัก ความสามัคคีปรองดอง ของคนในชาติ ตลอดถึงการปลุกจิตสานึกด้านความมั่นคงให้เกิดข้ึนในประชาชน ทุกระดับ การพัฒนาระบบงาน ด้านการข่าวให้ม่งุ เน้นการบูรณาการข้อมูลข่าวสารด้านความมั่นคงอย่าง เป็นระบบ การพัฒนาปรับปรุงกลไก การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง และกลไกในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคงให้มีเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และมีการบูรณาการการดาเนินงาน อย่างแท้จริง โดยปัญหาความมั่นคงเร่งด่วน ที่จะต้อง ดาเนินการแก้ไข ประกอบด้วย ปัญหาความม่ันคง ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปัญหายาเสพติด ปัญหา ความไม่สงบในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัญหาอาชญากรรมทางไซเบอร์ และปัญหาการทุจริตในระบบราชการ ท้ังน้ี เม่ือพิจารณายุทธศาสตร์ ชาติดงั กลา่ วแลว้ มยี ทุ ธศาสตร์ท่ีเกยี่ วข้องสาคญั ๆ ดังนี้ ๒.๒.๑ เป้าหมาย (เฉพาะทเี่ กีย่ วขอ้ ง) ข้อ ๒.๓ ภาครัฐมคี วามโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ๒.๒.๒ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ (เฉพาะท่เี ก่ียวข้อง) ข้อ ๔.๑.๔ การพัฒนาและเสริมสร้างกลไกที่สามารถป้องกันและขจัดสาเหตุ ของประเด็นปัญหา ความมั่นคงที่สาคัญ เพ่ือให้ประเทศชาติมีกลไกเฉพาะเจาะจงที่มีประสิทธิภาพ สามารถแก้ไขต้นเหตุท่ีเป็น รากเหง้าของปัญหาภายในประเทศท้ังปวงให้หมดไป มีการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างจริงจัง และทาให้เกิดความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม โดยพัฒนาปรับปรุงกลไกและหน่วยงาน ด้านความม่ันคงท่ีมีอยู่เดิม เช่น กองอานวยการรักษา ความม่ันคงภายในราชอาณาจักร ศูนย์ประสานการปฏิบัติ ในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล เป็นต้น หรือท่ีต้องออกแบบใหม่ให้มีประสิทธิภาพ พร้อมรองรับ ปัญหาความมั่นคงท้ังรูปแบบเดิม
๒๒ และรูปแบบใหม่ได้ทุกมิติ กาหนดและเสริมสร้างบทบาทของหน่วยงาน องค์กร หรือคณะกรรมการ ท่ีรับผิดชอบอย่างชัดเจน สามารถตรวจสอบวิธีการดาเนินงาน การบูรณาการการปฏิบัติ ให้สอดคล้อง เก้ือกลู และต่อเนือ่ งกนั ตลอดไปจนถึงสามารถวเิ คราะห์และแกไ้ ขปญั หาทสี่ าเหตุไดอ้ ย่างแท้จริง ข้อ ๔.๕ การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความม่ันคงแบบองค์รวม เพื่อให้กลไก สาคัญต่าง ๆ ทางาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารและพัฒนา ประเทศได้อย่างแท้จริงเป็นรูปธรรม มีการใช้หลักธรรมาภิบาล และการบังคับใช้กฎหมายอย่าง เคร่งครัดและมีประสิทธิภาพ สามารถขจัดปัญหา การทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างจริงจัง เกิดความมั่นใจได้ว่าหน่วยงานรับผิดชอบท้ังหลักและรองพร้อมรับมือ กับภัยคุกคามทุกรูปแบบทั้ง ในปัจจบุ ันและอนาคต ข้อ ๔.๖ ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทุกภาคส่วน ร่วมต่อต้านการทุจริตภาครัฐมีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในทุกระดับ โดยเฉพาะการสร้างวัฒนธรรมแยกแยะประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม ของบุคลากรภาครัฐให้เกิดข้ึน รวมท้ังสร้างจิตสานึกและค่านิยมให้ทุกภาคส่วนตื่นตัวและละอาย ต่อการทุจริตประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ พร้อมท้ังส่งเสริม สนับสนุน ให้ภาคีองค์กรภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ชุมชน ประชาชน และภาคีต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการสอดส่อง เฝ้าระวัง ให้ข้อมูล แจ้งเบาะแสการทุจริต และตรวจสอบการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐและภาคส่วนอ่ืน ๆ โดยได้รับ ความค้มุ ครองจากรฐั ตามที่กฎหมายบญั ญัติ ๔.๖.๑ ประชาชนและภาคีต่าง ๆ ในสังคมร่วมมือกันในการป้องกัน การทุจริตและประพฤติมิชอบ รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายท่ีเกิด จากการทุจริตและประพฤติมิชอบท้ังในภาครัฐและภาคเอกชน จัดให้มีมาตรการและกลไกท่ีมี ประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมท้ัง ส่งเสริม และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยเฉพาะการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การรณรงค์ให้ความรู้ ตอ่ ต้าน หรือชี้เบาะแสการทจุ ริต โดยได้รับความคุ้มครองจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ พร้อมทัง้ มรี ะบบ การรับเรอื่ งรอ้ งเรยี นการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ ๔.๖.๒ บุคลากรภาครัฐยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรมและความ ซ่ือสัตย์สุจริต กาหนดให้เจ้าพนักงานของรัฐต้องยึดถือแนวทางปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลีกเล่ียงการขัดกันระหว่างประโยชน์บุคคลและประโยชน์ ส่วนรวม รวมท้ังยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของตนเอง คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ โดยเฉพาะผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน และผู้ดารงตาแหน่งระดับสูงตามที่กฎหมายกาหนดจะต้องเปิดเผยบัญชีแสดง รายการทรพั ย์สินและหนี้สนิ ใหป้ ระชาชนทราบ
๒๓ ๔.๖.๓ การปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบมีประสิทธิภาพ มีความเด็ดขาด เป็นธรรม และตรวจสอบได้ จัดการกับผู้กระทาความผิดทุจริตและประพฤติมิชอบ ในทุกระดับอย่างตรงไปตรงมา เป็นธรรม และตรวจสอบได้ พร้อมท้ังให้การดาเนินการตามกระบวนการ ยุติธรรมปราศจากการแทรกแซงของนักการเมืองและผู้มีอิทธิพล ตลอดจนวางมาตรการคุ้มครองพยาน และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง นอกจากน้ี ต้องกาหนดให้มีการลงโทษผู้กระทาผิดกรณีทุจริตและประพฤติมิชอบ อย่างจรงิ จงั และรวดเรว็ ๔.๖.๔ การบริหารจัดการการป้องกันและปราบปรามการทุจริต อย่างเป็นระบบแบบบูรณาการ จัดให้มีกลไกการประสานงานการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ท้ังในระดับนโยบาย ยุทธศาสตร์ และการขับเคล่ือนนโยบายและยุทธศาสตร์ ตลอดจนเพ่ิมประสิทธิภาพ การป้องกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ โดยการพัฒนาระบบงานและโครงสร้างองค์กร ท่เี อือ้ ตอ่ การดาเนนิ งานแบบบูรณาการและมุ่งผลสมั ฤทธ์ิ ๒.๓ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) (แผนย่อยการปอ้ งกนั การทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ) กระบวนการดาเนินงานด้านการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีการกาหนดยุทธศาสตร์การดาเนินงาน อาทิ “สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต” โดยยุทธศาสตร์ ดังกลา่ วมแี ผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ ซึ่งมแี นวทางการพฒั นาที่เกยี่ วขอ้ ง ดงั น้ี ๑) ปลูกและปลุกจิตสานึกการเป็นพลเมืองที่ดี มีวัฒนธรรม สุจริต และการปลูกฝัง และหล่อหลอมวัฒนธรรมในกลุ่มเด็กและเยาวชนทุกช่วงวัย ทุกระดับ มุ่งเน้นการปรับพฤติกรรม “คน” โดยการ “ปลูก” และ “ปลุก” จิตสานึกความเป็นพลเมอื งท่ดี ี มวี ฒั นธรรมสุจริต สามารถแยกแยะ ได้ว่าสิ่งใด เป็นประโยชน์ส่วนตน ส่ิงใดเป็นประโยชน์ส่วนรวม มีความละอายต่อการกระทาความผิด ไม่เพิกเฉยอดทน ต่อการทุจริต และเข้ามามีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ รวมถึง การส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรม และค่านิยมสุจริตในระดับชุมชนเพ่ือนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ค่านิยมท่ียึดประโยชน์สาธารณะมากกว่าประโยชน์ส่วนตน และต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ในทุกรูปแบบ โดยเฉพาะการส่งเสริมวัฒนธรรมสุจริตผ่านหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับที่เด็กไทยทุกคน ต้องเรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษา เพ่ือปฏิรูป “พลเมือง ไทยในอนาคต” ให้มีความเป็นพลเมืองเต็มข้ัน สามารถทาหน้าท่ีความเป็นพลเมืองที่ดี มีจิตสานึกยึดม่ัน ในความซ่ือสตั ยส์ จุ ริต มคี วามรับผิดชอบต่อส่วนรวม มีระเบียบวินัย และเคารพกฎหมาย ๔) ปรับ “ระบบ” เพ่ือลดจานวนคดีทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงานภาครัฐ มุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรมการต่อต้านการทุจริตอย่างต่อเน่ือง เพ่ือสนับสนุนให้การดาเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ในทุกข้ันตอนการดาเนินงาน และมีความเท่าทัน
๒๔ ต่อพลวัตของการทุจริต โดยการพัฒนาเคร่ืองมือ เพ่ือสร้างความโปร่งใส มุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรม และมาตรการในการต่อต้านการทุจริตที่มีประสิทธิภาพและเท่าทันต่อพลวัตของการทุจริต รวมถึงการ ประเมินความเสี่ยงด้านการทุจริต เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ มีมาตรการ ระบบ หรือแนวทางในบริหาร จัดการความเสี่ยงของการดาเนินงานที่อาจก่อให้เกิดการทุจริต และการบูรณาการติดตามประเมินผล การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐในโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐและรัฐวิสาหกิจตั้งแต่ ขนั้ วางแผนกอ่ นดาเนินงาน ขั้นระหว่างการดาเนนิ งาน และข้นั สรุปผลหลังการดาเนนิ โครงการ ๕) ปรับระบบงานและโครงสร้างองค์กรท่ีเอื้อต่อการลดการใช้ดุลพินิจในการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่ เช่น การนาระบบเทคโนโลยีเข้ามาใช้แทนการใช้ดุลพินิจเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน การสร้างมาตรฐานที่โปร่งใสในกระบวนการบริการของภาครัฐ ลดขั้นตอนกระบวนการและระยะเวลา ในการปฏิบัติงานด้วยวิธีปฏิบัติท่ีชัดเจนตรวจสอบได้ ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายและระเบียบที่เก่ียวข้อง เพ่ือลดการใช้ดุลพินิจ ของผู้มีอานาจในการพิจารณาอนุมตั ิ อนุญาต รวมถึงการสร้างความโปร่งใสในการ บริการข้อมูลภาครัฐท้ังระบบ โดยการพัฒนาระบบข้อมูลดิจิทัลท่ีมีการาหนดกฎเกณฑ์ กติกา กระบวนการ ขั้นตอนการดาเนินงาน การเข้าถึงข้อมูล รวมถึงข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างและการใช้ งบประมาณของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อส่งเสริม การเข้าถึงข้อมูลสาธารณะ สร้างความโปร่งใส และ ส่งเสริมให้มีการตรวจสอบการบริหารจัดการของภาครัฐ โดยสาธารณชน ซึ่งรวมถึงการมีกลไกที่เปิด โอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการจัดซื้อ จัดจ้างและการดาเนินการภาครัฐ เพื่อบูรณาการการทางานของรัฐและประชาชน รวมถึงส่งเสริมสนับสนุน การตื่นตัวและเพิ่มขีด ความสามารถของประชาชนในการร่วมเฝ้าระวัง และป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่น ที่มีอยู่ใกล้ตัว โดยมมี าตรการสนบั สนุนและคมุ้ ครองผู้ชเี้ บาะแสท่ีสามารถสร้างความเชือ่ มนั่ และม่ันใจให้กบั ผู้ให้เบาะแส ๒.๔ ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ๒.๔.๑ วสิ ัยทศั น์ “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance & Clean Thailand)” ประเทศไทยในระยะ 5 ปีข้างหน้า จะมุ่งสู่การเป็นประเทศที่มีมาตรฐาน ทางคุณธรรมจริยธรรม เป็นสังคมมิติใหม่ที่ประชาชนไม่เพิกเฉยต่อการทุจริตทุกรูปแบบ โดยได้รับความ รว่ มมือจากฝ่ายการเมอื ง หน่วยงานของรฐั ตลอดจนประชาชน ในการพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของชาติ แ ล ะ ป ร ะ ช า ช น เพื่ อ ให้ ป ร ะ เท ศ ไท ย มี ศั ก ด์ิ ศ รี แ ล ะ เกี ย ร ติ ภู มิ ใน ด้ า น ค ว า ม โป ร่ งใส ทั ด เที ย ม น า น า อารยประเทศ
๒๕ ๒.๔.๒ พันธกจิ “สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริตยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ ทุ ก ภ า ค ส่ ว น แ บ บ บู ร ณ า ก า ร แ ล ะ ป ฏิ รู ป ก ร ะ บ ว น ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร า บ ป ร า ม ก า ร ทุ จ ริ ต ท้ั ง ร ะ บ บ ใหม้ มี าตรฐานสากล” การป้องกันและปราบปรามการทุจริตในระยะ 5 ปีข้างหน้า จะเป็นการปฏิรูป กระบวนการดาเนินงานจากเดิม ไปสู่กระบวนการทางานแบบบูรณาการท้ังระบบ โดยเริ่มจากการ วางรากฐานทางความคิดของประชาชนที่นอกจากตนเองจะไม่กระทาการทุจริตแล้ว จะต้องไม่อดทน ต่อการทุจริตที่เกิดข้ึนในสังคมไทยอีกต่อไป ประชาชนไทยต้องก้าวข้ามคา่ นิยมอุปถัมภ์และความเพิกเฉย ต่อการทุจรติ ประพฤติมิชอบ เจตจานงทางการเมอื งของประชาชนที่ต้องการสร้างชาติท่ีสะอาดปราศจาก การทุจริต จะต้องได้รับการสานต่อจากฝ่ายการเมืองและเจ้าหน้าที่รัฐ การขับเคล่ือนนโยบายที่มีความ โปร่งใสตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน ขณะเดียวกนั กลไกการป้องกันและปราบปรามการทุจริตต้องเป็นท่ีได้รับ ความไว้วางใจ และความเช่ือม่ันจากประชาชนว่าจะสามารถเป็นผู้ปกป้องผลประโยชน์ของชาติ และประชาชนได้อย่างรวดเร็ว เป็นธรรม และเท่าเทียม ท้ังนี้ เพ่ือยกระดับมาตรฐานจริยธรรม คุณธรรม และความโปรง่ ใสของประเทศไทยในทุกมิติให้มีมาตรฐานตามอนุสัญญาสหประชาชาตวิ ่าด้วยการต่อต้าน การทุจริต ค.ศ. ๒๐๐๓ (United Nations Convention against Corruption : UNCAC) ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒.๔.๓ ยุทธศาสตร์ (เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนรวมของประชาชนในการต่อต้าน การทุจริต) ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ “พฒั นาระบบป้องกันการทุจรติ เชงิ รุก” มุ่งเน้นการพัฒนากลไกและกระบวนงานด้านการป้องกันการทุจริตของประเทศไทย ให้มีความเข้มแข็งและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อลดโอกาสการทุจริตหรือทาให้การทุจริตเกิดยากขึ้น หรือไม่เกิดขึ้น โดยอาศัยท้ังการกาหนดกลไกด้านกฎหมาย กลไกทางการบริหาร และกลไกอ่ืน ๆ ตลอดจนเสริมสร้างการปฏิบัติงานของหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนให้มีธรรมาภิบาลมากยิ่งขึ้น โดยมกี ลยทุ ธ์เฉพาะท่เี กย่ี วข้องกับการมสี ่วนรวมของประชาชนในการตอ่ ต้านการทจุ ริต ดงั น้ี กลยทุ ธท์ ี่ ๑ เพิม่ ประสิทธิภาพระบบงานปอ้ งกนั การทจุ ริต แนวทางตามกลยุทธ์ ๑. พัฒนามาตรการเชิงรกุ ทส่ี ามารถแก้ไขปัญหาการทุจริตในแตล่ ะระดบั ๒. พัฒ นาระบบการทางานแบบบูรณ าการระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ๓. เพ่ิมบทบาทของภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในการเข้ามามีส่วนร่วมกับ ระบบการป้องกันการทจุ รติ
๒๖ ๔. ยกระดับกลไกการกากับ ติดตาม และประเมินผลการปอ้ งกนั การทุจรติ ๒.๕ แผนการปฏิรปู ประเทศ (ฉบับปรับปรงุ ) นอกจากยุทธศาสตร์ชาติและแผนแมบ่ ทดงั กล่าวแลว้ แผนการปฏิรูปประเทศยังเปน็ หนึ่ง ในแผนที่รัฐธรรมนูญกาหนดไว้ ซึ่งแผนการปฏิรูปประเทศมีสาระสาคัญที่เก่ียวข้องกับการป้องกันและ ปราบปรามการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ ดังน้ี ๒.๕.๑ ดา้ นการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ในการจัดทาแผนการปฏิรูปฉบับปรับปรุงในเดือนกันยายน ๒๕๖๓ ได้ให้ ความ สาคัญ กับ กิจกรรมป ฏิ รูป ที่ จะส่งผลให้ เกิด การเป ลี่ยน แ ป ลงต่ อ ป ระชาช น อ ย่างมี นั ยสาคั ญ (Big Rock) จานวน ๕ กิจกรรม โดยมีกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการ ต่อต้านการทุจรติ จานวน ๒ กจิ กรรม ได้แก่ กิจกรรมปฏิรูปที่ ๑ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการต่อต้าน การทจุ ริต ปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐที่มีอานาจหน้าท่ีในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบมีกิจกรรมที่หน่วยงานสามารถดาเนินการได้ด้วยตนเองและกิจกรรมที่ต้องอาศัย การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเพ่ือช่วยสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงาน ซึ่งจะช่วยให้การ ดาเนินภารกิจของหน่วยงานมีประสิทธิภาพและผลสัมฤทธ์ิมากข้ึน โดยการส่งเสริมให้ภาคประชาชน มีส่วนร่วมในการต้านภัยทุจริตนี้สามารถดาเนินการผ่านภาคีการพัฒนาต่าง ๆ ท้ังภาคประชาชน เครือข่ายภาคประชาชน องค์กรชุมชน เครือข่ายภาคีประชาชน และองค์กรสาธารณประโยชน์ โดยเฉพาะท่ีอยู่ในจงั หวดั ต่าง ๆ และมปี ระสบการณ์ในการพฒั นาชมุ ชนในท้องถน่ิ ของตน ตลอดจนมีการ รวมกลุ่มและดาเนินกจิ กรรมในการป้องกันการทุจริตในพ้ืนที่ของตัวเองผ่านกิจกรรมโครงการต่าง ๆ อาทิ โครงการส่งเสริมธรรมาภิบาลขององค์กรชุมชน โครงการพัฒนาหมู่บ้านช่อสะอาด โครงการหมู่บ้าน ศีลห้า โครงการ STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทุจริต โครงการเครือขา่ ย ป.ป.ท. เฝ้าระวังการทุจริต (PACC Connect) และโครงการหมาเฝ้าบ้าน ซ่ึงเป็นการรว่ มมือกบั หนว่ ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน ในการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบในระดับท้องถ่ิน ทั้งน้ี การป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบโดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนน้ีจะมีประสิทธิภาพและสัมฤ ทธ์ิผลมากข้ึน หากมีการส่งเสริมความร่วมมืออย่างเป็นระบบ (People Engagement) โดยกาหนดบทบาทของรัฐ ให้เป็นผู้สนับสนุนและอานวยความสะดวก มกี ารใช้สื่อสังคมออนไลน์เพิ่มขึ้น ตลอดจนให้ความสาคัญกับ การส่งเสริมเครือข่ายภาคประชาชนและองค์กรชุมชนให้มีบทบาทและเป็นแกนนาในการดาเนินกิจกรรม การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบควบคู่ไปกับพัฒนาชุมชนและสังคม ซ่ึงจะเป็นการเสริมสร้าง ความม่ันคงทางสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน ดังนั้น การส่งเสริมให้เครือข่ายภาคประชาชน
๒๗ สภาองค์กรชุมชน และภาคีที่เกี่ยวข้องของภาคประชาชนทั้งจากมูลนิธิ องค์กรสาธารณประโยชน์ รัฐและเอกชน มีการบูรณาการดาเนินการตามบทบาทหน้าท่ีที่แตกต่างกันในแต่ละจังหวัดแต่ละท้องที่ และร่วมกันเป็นแกนกลางในการตรวจสอบ ป้องกัน ปัญหาจากการทุจริตและประพฤติมิชอบที่ส่งผล กระทบต่อผลประโยชน์ของชาวบ้านในพ้ืนที่โดยตรงจึงเป็นหัวใจสาคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพ การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบของประเทศอย่างมนี ัยสาคัญ โดยมเี ปา้ หมาย ดงั นี้ ๑) ส่งเสริมให้เครือข่ายภาคประชาชนสามารถมีบทบาทในการเสนอแนะแนวทาง ที่เหมาะสมและมีส่วนร่วมในการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบโดยเฉพาะในท้องที่ของตน อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และปลอดภยั ๒) สนับสนุนให้ประชาชนสามารถพ่ึงพาตนเองได้และมีความซ่ือสัตย์สุจริตตามรอย เบ้อื งพระยุคลบาท กิจกรรมปฏิรูปท่ี ๒ การพัฒนาการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและพัฒนาระบบ คุม้ ครองผ้แู จ้งเบาะแสการทุจริตทมี่ ปี ระสิทธิภาพ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ให้ความสาคัญกับ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต โดยบัญญัติไว้ใน มาตรา ๖๓ รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายท่ีเกิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน และจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและขจัดการ ทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมทั้งกลไกในการส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกนั เพื่อมี ส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ ต่อต้าน หรือช้ีเบาะแส โดยได้รับความคุ้มครองจากรัฐตามที่กฎหมาย บัญญัติ เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนและเจ้าหน้าท่ีของรัฐมีส่วนร่วมในการป้องกันและเฝ้า ระวังการทุจริต จึงต้องมีมาตรการทางกฎหมายที่เก่ียวข้อง ได้แก่ การเปิดเผยข้อมูลหรือข่าวสาร สาธารณะเพื่อให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสารโดยไม่ต้องร้องขอและได้มาตรฐานสากล ควบคู่กับ การเตรียมช่องทางให้ผู้มีเบาะแส ข้อมูลเชิงลึก สามารถแจ้งข้อมูลได้อย่างสะดวกและปลอดภัย รวมทั้งมี ระบบการแจ้งผลการติดตามให้กับผ้รู ้องเรียนหรือผู้แจ้งเบาะแสได้รับทราบตลอดจนต้องจดั ให้มีกฎหมาย เพ่ือปกป้องคุ้มครองและเยียวยาผู้ให้เบาะแสอย่างเหมาะสม โดยมีกิจกรรมหลักที่สาคัญเฉพาะ ที่เกย่ี วข้องกบั การมสี ่วนร่วมของภาคประชาชนในการตอ่ ต้านการทุจริต ดงั น้ี ๑. การพัฒนาการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของประชาชนผ่านการผลักดันการออก กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารสาธารณะท่ีประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารโดยไม่ต้องร้องขอ และหน่วยงานภาครัฐต้องเปิดเผยข้อมูลในครอบครองผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์ม เว้นแต่ข้อมูลที่เป็น ความลับหรือกระทบต่อความม่ันคง เพื่อให้ประชาชนในวงกว้างสามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าว ได้โดยสะดวก
๒๘ ๒. การพัฒนาช่องทางการแจ้งเบาะแสและข้อมูลเชิงลึกในรูปแบบที่หลากหลาย และมีระบบปกปิดตัวตนท่ีมีประสทิ ธิภาพและการคมุ้ ครองผู้แจ้งเบาะแสอย่างครบวงจร ใหผ้ ู้แจ้งเบาะแส สามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก มคี วามเช่ือม่ันในเร่ืองการเก็บรักษาความลับ และความปลอดภัย ตลอดจน การจดั ทาระบบแจ้งผลการตดิ ตามให้กบั ผู้ร้องเรยี นหรือผแู้ จ้งเบาะแสได้รับทราบ กจิ กรรมปฏริ ปู ดงั กลา่ วมีเปา้ หมาย ดังน้ี ๑. กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องมีผลบังคับใช้ในทางปฏิบัติ (กฎหมายป้องกันการฟ้อง ปดิ ปาก กฎหมายว่าด้วยข้อมลู ขา่ วสารสาธารณะ) ๒. พัฒนาระบบการคมุ้ ครองผู้แจ้งเบาะแสอย่างครบวงจร ๒.๕.๒ ด้านการบรหิ ารราชการแผ่นดิน แผนการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับปรับปรุง ได้ให้ ความสาคัญในการเตรียมความพร้อมเผชิญกับการเปล่ียนแปลงในทุกมิติ และรองรับผลกระทบของ สถานการณช์ ีวิตวิถใี หม่ (New Normal) และทิศทางที่กาหนดไวต้ ามยทุ ธศาสตร์ชาติ มวี ตั ถุประสงค์หลัก เพ่ือสร้างภาครัฐให้มีความโปร่งใส เป็นท่ีเชื่อถือไว้วางใจของประชาชนในความซื่อตรง และมาตรฐาน การทางานที่มีคุณภาพสูงในระดับสากล มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและมุ่งเน้นให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ชัดเจน สาหรับกิจกรรมการปฏริ ูปเฉพาะท่ีเกีย่ วข้องกับการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการต่อต้านการทุจริต อันจะส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงในภาครัฐและเกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่างมีนัยสาคัญภายใต้ แผนปฏิรูปฯ ฉบับปรับปรุงนี้ ได้แก่ กจิ กรรมปฏิรปู ที่ ๕ ขจดั อุปสรรคในการจัดซอื้ จัดจ้างภาครัฐ และการเบกิ จ่ายเงิน เพอื่ ให้เกิดความรวดเรว็ คมุ้ คา่ โปร่งใส ปราศจากการทุจรติ การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เปน็ กระบวนการท่สี าคญั ของการใชจ้ ่ายงบประมาณภาครัฐ ซึ่งพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ซ่ึงมีผลใช้บังคับเมื่อวันท่ี ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ มีเจตนารมณ์เพ่ือให้การดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ มีกรอบการปฏิบัติงานท่ีเป็นมาตรฐานเดียวกัน หน่วยงานของรัฐทุกแห่งสามารถนาไปใช้เป็นหลักปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชนให้มากที่สุด เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเปิดโอกาสให้มีการ แข่งขันอย่างเป็นธรรม มีการดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างท่ีคานึงถึงวัตถุประสงค์ของการใช้งานเป็นสาคัญ ซ่ึงจะก่อให้เกิดความคุ้มค่าในการใช้จ่ายเงิน มีการวางแผนการดา เนินงานแล ะมีการประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ซึ่งจะทาให้การจัดซ้ือจัดจ้างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมท้ังเพื่อให้เป็นไปตามหลัก ธรรมาภิบาล มีการส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ซ่ึงเป็นมาตรการหน่ึงเพื่ อป้องกันปัญ ห าการทุ จริตและประพฤติมิชอบ ในการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ
๒๙ โดยที่ผ่านมาคดีการทุจริตที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ชี้มูลความผิดในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ตง้ั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๙ สว่ นใหญ่ (ร้อยละ ๕๔) เกิดจากการทุจรติ ด้านการจดั ซ้อื จัดจ้าง อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติยังพบปัญหาในการดาเนินการหลายด้าน อาทิ ระบบ การตรวจสอบที่มีความเข้มข้นมากเกินไป จนกระท่ังเจ้าหน้าท่ีท่ีรับผิดชอบงานพัสดุมีความเกรงกลัวโทษ ทางอาญาจนทาให้การดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างเป็นไปด้วยความล่าช้า ยากลาบาก และอาจจาเป็นต้อง จัดซ้ือส่ิงของที่มีราคาถูกแต่ไม่มีคุณภาพ เพ่ือความถูกต้องและตามกฎหมาย ประกอบกับหน่วยงาน ของรัฐบางแห่งยังไม่ค่อยให้ความสาคัญกับเจ้าหน้าที่ท่ีรับผิดชอบงานพัสดุเท่าที่ควร ทาให้บุคลากร เหลา่ นีข้ าดความก้าวหนา้ ในสายงาน นอกจากนี้ การนาระบบดิจิทัลมาใช้สนับสนุนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐยังไม่สามารถ ทาได้ครบวงจร จากสาเหตุหลายประการ อาทิ งบประมาณในการพัฒนาระบบ กฎระเบียบราชการ บางเร่ืองไม่เอ้ือต่อระบบดิจิทัล รวมท้ังขาดการบูรณาการข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างระหว่างหน่วยงาน การปฏิรูประบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ควรจะมุ่งเน้นการวางระบบที่รวดเร็ว และโปร่งใสด้วยการใช้ เทคโนโลยีเข้ามาจัดการแทนบุคคล และควรให้ความสาคัญกับเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลด้านการจัดซื้อ จัดจ้าง และบูรณาการทางานร่วมกันระหว่างกรมบัญชีกลางและหน่วยงานตรวจสอบการทุจริต เพื่อให้มีแนวทางการป้องกันการทุจริตท่ีชัดเจน มีมาตรฐาน สร้างความเช่ือม่ันต่อเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ บุคลากรด้านพัสดุมีความรู้ ความสามารถ มีความภาคภูมิใจในวิชาชีพและมีเส้นทางความก้าวหน้า ในสายงาน รวมทั้งส่งเสริมบทบาทภาคเอกชน และภาคประชาชนในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของกลไกการตรวจสอบการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐเพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตประพฤติมิชอบในภาค ราชการได้อย่างครบวงจร กจิ กรรมปฏริ ปู ดงั กล่าวมีเป้าหมาย ดังน้ี ๑. หน่วยงานภาครัฐสามารถดาเนิน การจัดซื้อจัดจ้างได้โดยรวดเร็ว มปี ระสิทธิภาพ มีความคล่องตัว โปร่งใส ตรวจสอบได้ ผ่านระบบสนับสนุนจัดซื้อจัดจ้างเป็นแบบดิจิทัลในทุกข้ันตอน มีการบรู ณาการ และเชอ่ื มโยงขอ้ มลู ดา้ นการจดั ซ้ือจัดจ้างกับระบบอ่ืน ๆ อยา่ งเต็มรปู แบบ ๒. มีระบบในการติดตามและป้องกันการทุจริตท่ีรวดเร็ว มีมาตรฐาน ส่งเสริม บทบาทภาคเอกชน ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมตรวจสอบป้องกันการทุจริต เพ่ือสร้างความโปร่งใส และการทุจริตการจดั ซ้อื จดั จ้างลดลง ๒.๖ นโยบายของรัฐบาล คณะรัฐมนตรีท่ีมีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบาย ต่อรัฐสภา เม่ือวันพฤหัสบดีที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ โดยมีนโยบายหลัก ๑๒ ด้าน โดยด้านการป้องกัน และปราบปรามการทจุ ริตน้ัน ปรากฏอยู่ในนโยบาย ดงั นี้
๓๐ ข้อ ๑๒. การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และกระบวนการ ยุติธรรม ข้อ ๑๒.๑ แก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยจัดให้มีมาตรการและระบบ เทคโนโลยี นวัตกรรมที่ช่วยป้องกันและลดการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างจริงจังและเข้มงวด รวมท้ังเป็น เคร่ืองมือ ในการติดตามการแก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างเป็นระบบ พร้อมทั้งเร่งสร้าง จิตสานึกของคนในสังคมให้ยึดมั่นในความซื่อสัตย์ สุจริต ถูกต้อง ชอบธรรม และสนับสนุนทุกภาคส่วน ใหเ้ ข้ามามีสว่ นร่วมในการป้องกนั และเฝา้ ระวังการทจุ ริตประพฤติมิชอบ ข้อ ๑๒.๒ ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม โดยส่งเสริมให้มีรูปแบบการลงโทษอ่ืนท่ีไม่ใช่ โทษอาญาตามหลักสากล มุ่งเน้นยกระดับการพัฒนาระบบ แก้ไข บาบัด ฟ้ืนฟูผู้กระทาผิด ส่งเสริม ปกป้อง คุ้มครองสิทธิมนุษยชน พัฒนาประสิทธิภาพระบบการสืบสวนสอบสวนด้านการปราบปราม อาชญากรรมพิเศษ กาหนดมาตรการคุ้มครองเจ้าหน้าท่ีของรัฐในกระบวนการยุติธรรมให้สามารถปฏิบัติ หน้าที่โดยปราศจากการแทรกแซงหรือครอบงาใด ๆ พร้อมทั้งบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในกระบวนการยุติธรรม ให้ดาเนินงานสอดประสานกันอย่างเป็นองคาพยพ เพื่อให้สามารถจัดการกับ ข้อขัดแย้งและกรณีพิพาท ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการทางานเชิงรุก รวมทั้งพัฒนาบุคลากร ในกระบวนการยุติธรรม ให้สามารถอานวยความยุติธรรมยุติธรรมได้อย่างเป็นธรรม เสมอภาค โปร่งใส รวดเร็ว ท่ัวถึง และปราศจากการเลือกปฏิบัติ สร้างความเช่ือม่ันในกระบวนการยุติธรรมได้ และสร้างสังคมที่พัฒนาอย่างเป็นธรรม ลดความเหล่ือมล้า เกิดความเสมอภาคและเท่าเทียม พร้อมท้ังผลักดันให้เกิดการนาเทคโนโลยีดิจิทัล และนวัตกรรมสมัยใหม่มาใช้ในการพัฒนาระบบ ฐานข้อมูลกฎหมาย พัฒนากฎหมายและกระบวนการยุติธรรม เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ไม่เลือกปฏิบัติ และเป็นธรรม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย ท่ีจาเป็นและเหมาะสมแก่ผู้ยากไร้หรือผู้ด้อยโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้โดยสะดวก และรวดเรว็ นโยบายเร่งดว่ น ๑๒ เรื่อง โดยปรากฏอยใู่ นเรอื่ งที่ ๘ ดังน้ี ข้อ ๘. การแก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการท้ังฝ่ายการเมือง และฝ่ายราชการประจา โดยเร่งรัดการดาเนินมาตรการทางการเมืองควบคู่ไปกับมาตรการทางกฎหมาย เมื่อพบผู้กระทาผิดอย่างเคร่งครัด นาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการเฝ้าระวังการทุจริตประพฤติมิชอบ อย่างจริงจัง และเข้มงวด และเร่งรัดดาเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายเมื่อพบผู้กระทาผิดอย่าง เคร่งครัด เพ่ือให้ภาครัฐปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบโดยเร็วที่สุด พร้อมท้ังให้ภาคสังคม ภาคเอกชน และประชาชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการปอ้ งกันและเฝา้ ระวังการทุจริตประพฤติมชิ อบ กล่าวโดยสรุป ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท และแผนการปฏิรูปประเทศเก่ียวกับ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ได้มีการกาหนดไว้อย่างเป็นระบบ
๓๑ และมีแนวทางท่ีจะนาไปสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน ซึ่งมุ่งไปสู่เป้าหมายที่ทาให้ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ นอกจากน้ี ในด้านนโยบายของรัฐบาลซึ่งจะต้องดาเนินการ ให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท และแผนการปฏิรูปประเทศดังกล่าว ก็ได้มีการแถลงต่อรัฐสภา ท้ังที่เป็นนโยบายเร่ืองปกติและเรื่องเร่งด่วนอันเกี่ยวกับการป้องกัน และปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมิชอบไว้เชน่ เดียวกนั
บทที่ ๓ แนวคิด ทฤษฎี และขอ้ มลู ท่เี ก่ียวขอ้ ง กบั การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการตอ่ ต้านการทจุ ริต และรูปแบบ QR Code ๓.๑ แนวคิดประชาธปิ ไตยแบบมีสว่ นรว่ ม (Participatory Democracy) แนวคิดประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Democracy) เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. ๑๙๖๐ เมื่อสังคมมีความซับช้อนมากขึ้น และตัวแทนที่ได้รับเลือกตั้งไม่ได้ทาหน้าท่ีในการตัดสินใจ เร่ืองต่าง ๆ เกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินหลัก ๆ เนื่องจากการบริหารราชการแผ่นดินเป็นหน้าที่ ของระบบราชการและหน่วยงานฝ่ายบริหารต่าง ๆ และโดยท่ีการตัดสินใจสาคัญต่าง ๆ ในเบ้ืองต้น เกิดข้ึนภายนอกรัฐสภาและฝ่ายนิติบัญญัติ ทาให้เจ้าหน้าที่รัฐที่ทางานอยู่ในหน่วยงานของรัฐ กลับมีบทบาทในการตัดสนิ ใจสาคญั ๆ และใช้ผลจากการตัดสินใจนน้ั ไปดาเนินการ โดยการเห็นชอบของ ผู้นาหน่วยงานซึ่งไม่ได้มาจากการเลือกต้ัง โดยประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมเป็นการเปิดโอกาสให้ ประชาชนมีส่วนร่วมในทางการเมืองการปกครอง และในการตัดสินใจระดับต่าง ๆ มากข้ึน มิใช่เพียงให้ ประชาชนสามารถใช้อานาจของตนผ่านการเลือกตั้งเพียงอย่างเดียว แต่ยังเปิดช่องทางให้ประชาชน มีส่วนร่วมรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ความเคลื่อนไหว และความคืบหน้าของการบริหารจัดการประเทศ โดยผู้ที่ ทาหน้าท่ีแทนประชาชน หรือเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนร่วมแสดงความคดิ เห็นและใหข้ ้อมูลแก่ผทู้ ่ีทาหน้าที่ แทนตน เพ่ือประกอบการตัดสินใจในเรือ่ งต่างๆ รวมท้ังการท่ีประชาชนเข้าไปมสี ่วนร่วมในการตรวจสอบ และถอดถอนผทู้ ีท่ าหนา้ ท่แี ทนประชาชนทข่ี าดประสิทธภิ าพ บกพรอ่ งต่อหนา้ ทีห่ รอื ไมส่ ุจริตแล้วแต่กรณี ในบทนี้ จึงเป็นการนาเสนอสาระสาคญั ของแนวคิดการมีส่วนรวมของประชาชน แนวคิด การบริหารราชการแบบมีสว่ นร่วม และหลักธรรมาภิบาล การมีส่วนร่วมของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปตามบริบททางสังคมและการเมืองในอดีต การมีส่วนร่วมของประชาชนจะมีความหมายเพียงกระบวนการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในทางการเมืองที่ ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมในการไปใช้สิทธิเลือกตั้งที่เป็นไปตามหลักการของประชาธิปไตยแบบ ตัวแทน แต่กระแสสังคมในปัจจุบันให้ความสาคัญกับประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ท่ีประชาชนเข้ามา มีส่วนร่วมโดยตรงในกระบวนการตัดสินใจของภาครัฐซึ่งมีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน นอกเหนือจากมสี ิทธ์ิเพียงการเลือกผู้แทนเข้าไปทาหน้าทปี่ กครองและบริหารประเทศ
๓๔ ๓.๑.๑ ความหมายการมสี ่วนรวมของประชาชน การมีส่วนร่วมของประชาชน (Citizen Participation) มีความหมายหลากหลาย และใช้คาภาษาอังกฤษแตกต่างกัน เช่น Popular Participation, People Participation และ Public Participation ซ่ึงต่างก็มีเป้าประสงค์และเน้ือหาสาระไปในทางเดียวกัน การมีส่วนร่วม (Participation) เป็นคาที่เกิดและอยู่เคียงคู่กับการปกครองระบอบประชาธิปไตย เนื่องจากระบบการปกครองนี้ถือว่า อานาจอธิปไตยซ่ึงเป็นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศน้ันมาจากประชาชน ดังนั้นการมีส่วนร่วม จึงนามาใช้ในการบริหารงานแบบประชาธิปไตยและเป็นองค์ประกอบอย่างหน่ึงของหลักธรรมภิบาล การบริหารงานแบบมีส่วนร่วมหรือการมีส่วนร่วมในการบริหารงาน (Participate Management) จะเป็นการที่บุคคลได้มีส่วนเก่ียวข้องในการปฏิบัติงานทั้งในด้านการแสดงความคิดเห็นและการ ปฏิบัติการมีส่วนร่วมและช่วยสร้างพลังจิตให้ร่วมกันปฏิบัติงานอย่างเต็มท่ีมีประสิทธิภาพมากกว่าการ ยินยอมปฏิบัติตามคาสั่งการมีส่วนร่วมจะช่วยกระตุ้นให้บุคคลน้ันสนับสนุนเป้าหมายของกลุ่มตลอดจน วัตถปุ ระสงคร์ วมขององคก์ ร ยุวัฒน์ วุฒิเมธี๑ ได้อธิบายการมีส่วนร่วมของประชาชนว่า หมายถึงการเปิดโอกาสให้ ประชาชนได้มสี ่วนร่วมในการคดิ ริเรม่ิ การพิจารณาตัดสินใจการปฏบิ ัติและรับผิดชอบในเรอ่ื งต่าง ๆ อันมี ผลกระทบถึงตัวประชาชนเอง การท่ีจะสามารถทาใหป้ ระชาชนเข้ามามสี ่วนร่วมในการพัฒนาทอ้ งถิ่นเพ่ือ แก้ไขปัญหาและนามาซึ่งสภาพความเปน็ อยู่ของประชาชนที่ดีข้ึนได้นั้น ผู้นาการเปล่ียนแปลงต้องยอมรับ ปรัชญาพัฒนาชุมชนที่ว่ามนุษย์ทุกคนมีความปรารถนาท่ีจะอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างเป็นสุขได้รับการปฏิบัติ อย่างเป็นธรรมและเป็นที่ยอมรับของผู้อื่นและพร้อมท่ีจะอุทิศตนเพ่ือกิจกรรมของชุมชน ขณะเดียวกัน ต้องยอมรับความบริสุทธิ์ใจด้วยว่ามนุษย์น้ันสามารถพัฒนาได้ถ้ามีโอกาสและได้รับการช้ีแนะอย่าง ถกู ตอ้ ง สิริพัฒน์ ลาภจิตร๒ อธิบายว่า การมีส่วนร่วม (participation) เป็นกระบวนการส่ือสาร ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล ชุมชน หรือองค์กร ในการดาเนินกิจกรรมใด กิจกรรมหน่ึงหรือหลายกจิ กรรม ท้ังเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ซึ่งการมีส่วนร่วมจะเก่ียวข้องกับกระบวนการให้ประชาชนเข้ามามี ส่วนเกี่ยวข้องในการดาเนินงาน พัฒนา ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมการดาเนินการและร่วมรับ ๑ ยุวฒั น์ วุฒิเมธี. การเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ให้กบั ชมุ ชน. วารสารพัฒนาชุมชน. ปที ี่ ๓๖ ฉบับที่ ๔: หนา้ ๓๒. ๒ สิริพัฒน์ ลาภจิตร. (๒๕๕๐). ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการตัดสินใจมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสนุนการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตาบล อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๕๐), หนา้ ๒๖.
๓๕ ผลประโยชน์ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกันของกลุ่ม และเป็นการเสริมสร้างความ สามคั คี ความรู้สกึ รว่ มรับผิดชอบกบั กลมุ่ ดว้ ย ดุษฎี อายุวัฒน์ และคณะ๓ ให้ความหมายการมีส่วนร่วมของประชาชน ว่าเป็นการให้ โอกาสประชาชนเข้าร่วมดาเนินงานตั้งแต่กระบวนการเบื้องต้นจนถึงกระบวนการสิ้นสุด โดยท่ีการเข้า รว่ มอาจร่วมในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งหรือครบวงจรก็ได้ การเขา้ ร่วมมีทั้งรายบุคคล กลุ่ม หรือองค์กรที่มี ความคิดเห็นท่ีสอดคล้องกัน การรับผิดชอบร่วมกัน เพื่อดาเนินการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปในทิศทาง ท่ีต้องการ โดยการกระทาผา่ นกล่มุ หรือองค์กร เพอ่ื ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ กล่าวโดยสรุป คือ การมีส่วนร่วม หมายถึง การที่บุคคล กลุ่มคน หรือองค์กรภาค ประชาชนเข้ามาร่วมกันดาเนินงานกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมีการรับรู้ในขั้นตอนต่าง ๆ ต้ังแต่การ คดิ การตัดสินใจการกาหนดแนวทาง การวางแผน การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลของกิจกรรมน้ัน ๆ โดยคนทเี่ ขา้ มารว่ มนนั้ ตา่ งไดร้ ับผลของการดาเนนิ การโดยเฉพาะการได้รบั ประโยชนร์ ว่ มกนั ๓.๑.๒ รูปแบบและลกั ษณะการมีสว่ นรวมของประชาชน๔ รปู แบบของการมีสว่ นรว่ มของภาคประชาชนที่ดาเนนิ การอยูโ่ ดยทั่วไป สามารถสรปุ ได้ 5 รูปแบบ คือ ๑) การรับรู้ข่าวสาร (public information) การมีส่วนร่วมในรูปแบบนี้ ประชาชนผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย และบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องได้รับการแจ้งให้ทราบถึงรายละเอียด ของโครงการที่จะดาเนินการ รวมท้ังผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ท้ังนี้ การได้รับแจ้งข่าวสารดังกล่าว จะต้องเป็นการแจ้งก่อนทจี่ ะมกี ารตดั สนิ ใจดาเนินโครงการ ๒) การปรึกษาหารือ (public consultation) เป็นรูปแบบการมีส่วนร่วมที่มีการจัดการ หารือระหว่างผู้ดาเนินโครงการกับประชาชนที่เกี่ยวข้องและได้รับผลกระทบเพื่อที่จะรับฟังความคิดเห็น และตรวจสอบข้อมลู เพ่มิ เติมหรอื ประกอบการจัดทารายงาน การศึกษาผลกระทบส่งิ แวดล้อม นอกจากน้ี ๓ ดุษฎี อายวุ ัฒน์ และคณะ. (๒๕๓๕). การมีส่วนร่วมของชาวบ้านในงานวนศาสตร์ชุมชน : กรณีชุมชนห้วยม่วง. ขอนแก่น: มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ , หนา้ ๗. ๔ ประพันธ์ วรรณบวร. (๒๕๔๓). การมีส่วนร่วมของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลในการดาเนินงานองค์การ บริหารส่วนตาบล: กรณีศึกษาจังหวัดนครราชสีมา, (โครงการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (ศศ.ม.), บัณฑิตวิทยาลัย) ขอนแก่น: มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น, หน้า ๔๒.
๓๖ การปรึกษาหารือยังเป็นอีกช่องทางหน่ึง ในการกระจายข้อมูลข่าวสารไปยังประชาชนท่ัวไปและ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพื่อให้เกิดความเข้าใจในโครงการและกิจกรรมมากข้ึน เพื่อให้มีข้อเสนอแนะ เพื่อประกอบทางเลือกในการตัดสินใจ ๓) การประชุมรับฟังความคิดเห็น (public meeting) การประชุมรับฟังความคิดเห็นมี วัตถุประสงค์เพ่ือให้ประชาชนและฝ่ายท่ีเก่ียวข้องกับโครงการหรือกิจกรรม และผู้มีอานาจตัดสินใจใน การทาโครงการหรือกิจกรรมน้ัน ได้ใช้เวทีสาธารณะในการทาความเข้าใจ และค้นหาเหตุผลที่จะดาเนิน โครงการหรอื กจิ กรรมในพนื้ ท่ีน้ันหรือไม่ การประชมุ รับฟังความคดิ เห็นมหี ลายรูปแบบ ดังนี้ (๑) การประชุมในระดับชุมชน (community meeting) การประชุมลักษณะนี้ ต้อง จัดขึ้นในชุมชนท่ีได้รับผลกระทบจากโครงการโดยเจ้าของโครงการหรือกิจกรรมต้องส่งตัวแทนเข้า ร่วม เพื่ออธิบายให้ท่ีประชุมทราบถึงลักษณะโครงการและผลกระทบท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นและตอบข้อคาถาม การประชุมในระดับน้ีอาจจะจดั ในระดับท่ีกว้างข้ึนได้ เพื่อรวมหลาย ๆ ชุมชนในคราวเดยี วกันในกรณีท่ีมี หลายชุมชนไดร้ บั ผลกระทบ (๒) การประชุมรับฟังความคิดเห็นในเชิงวิชาการ (technical hearing) สาหรับ โครงการที่มีข้อโต้แย้งในเชิงวิชาการจาเป็นจะต้องมีการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นในเชิงวิชาการ โดยเชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาจากภายนอกมาช่วยอธิบายซักถาม และให้ความเห็นต่อโครงการประชุม อาจจะจัดในที่สาธารณะท่ัวไป ผลการประชุมจะต้องนาเสนอต่อสาธารณะ และผู้เข้าร่วมประชุมต้อง ไดร้ ับทราบผลดังกลา่ วด้วย (๓) การประชาพิจารณ์ (public hearing) เป็นการประชุมที่มีขั้นตอนการดาเนินการ ทช่ี ดั เจนมากขน้ึ เปน็ เวทีในการเสนอข้อมลู อยา่ งเปิดเผยทไี่ ม่มกี ารปดิ บงั ทั้งฝา่ ยเจ้าของโครงการ และผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียจากโครงการ และคณะกรรมการจัดการประชุมจะต้องมีองค์ประกอบของผู้เข้าร่วมท่ีเป็น ที่ยอมรับมีหลักเกณฑ์และประเด็นในการพิจารณาที่ชัดเจนและแจ้งให้ทุกฝ่ายทราบท่ัวกนั ซ่ึงมาจากการ ร่วมกันกาหนดข้ึน ทั้งน้ี รูปแบบการประชุมไม่ควรจะเป็นทางการมากนัก และไม่เกี่ยวข้องกับนัยของ กฎหมายมาก การจัดประชุมจึงอาจจัดในหลายวันและไม่จาเป็นจะต้องจัดเพียงครั้งเดียวหรือสถานท่ี เดยี วตลอดไป (๔) การร่วมในการตัดสินใจ (decision making) เป็นเป้าหมายสูงสุดของการมีส่วน ร่วมของประชาชน ซ่ึงในทางปฏิบัติที่จะให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจในประเด็นปัญหาเหล่านั้นไม่สามารถ ดาเนินการให้เกิดขึ้นได้งา่ ย ๆ อาจจะดาเนินการให้ประชาชนท่ีได้รับผลกระทบ เลือกตัวแทนของคนเข้า ไปนั่งในคณะกรรมการใดคณะหนึ่งท่ีมีอานาจตัดสินใจ ในฐานะที่เป็นตัวแทนขององค์กรท่ีทาหน้าที่เป็น ผู้แทนประชาชนในพนื้ ทม่ี ีบทบาทชนี้ าการตดั สินใจได้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125