ตาบลส่งกาลงั และกจิ การอ่นื ๆ
ตาบลส่งกาลงั และกจิ การอ่นื ๆ
สญั ลกั ษณอ์ าวธุ
สญั ลกั ษณอ์ าวธุ
สัญลกั ษณท์ างทหาร 4. หลกั การประกอบสญั ลกั ษณ์ 4.1 ผังการประกอบสญั ลกั ษณ์ 4.2 หลักทัว่ ไปในการประกอบสญั ลักษณ์ 4.2.1 “หนว่ ยทีร่ ะบถุ ึง” หมายถงึ หน่วยเล็กทีส่ ุดที่ต้องเขยี น 4.2.2 “ขนาดหน่วย” เป็นการแสดงขนาดของหน่วยทร่ี ะบุถงึ 4.2.3 “สญั ลักษณ์ เหล่า หรอื อกั ษร” เปน็ การแสดงเหล่าของหน่วย ที่ระบุถึง ถา้ ไมม่ ีใหใ้ ชอ้ ักษรยอ่ แทน 4.2.4 “อาวุธประจาหน่วย” สาหรับหน่วยบางหน่วยท่ีมีอาวุธ ประจาหนว่ ยเท่านั้น 4.2.5 “หน่วยเหนือ” หมายถึงหน่วยบังคับบัญชาตามลาดับของ หนว่ ยท่รี ะบุถึง
สัญลักษณท์ างทหาร 4.3 กรณีท่ีหน่วยเหนือไม่เป็นไปตามลาดับช้ันของหน่วยท่ี ระบุถึง ให้เขียนสัญลักษณ์ “ขนาดหน่วย” ไว้ส่วนบนของ “ตวั เลขหน่วย” นนั้ ด้วย 4.4 กรณีท่ีต้องเขียนหน่วยหน่ึงหน่วยใดเพียงหน่วยเดียว โดยไม่ต้องเขียนหน่วยเหนือ ให้เขียนหน่วยนั้นไว้ “ทางขวา” ของสญั ลกั ษณห์ นว่ ยทหาร
สัญลกั ษณท์ างทหาร 4.3 กรณีที่หน่วยเหนือไม่เป็นไปตามลาดับช้ันของหน่วยที่ ระบุถึง ให้เขียนสัญลักษณ์ “ขนาดหน่วย” ไว้ส่วนบนของ “ตัวเลขหน่วย” นั้นดว้ ย 4.4 กรณีท่ีต้องเขียนหน่วยหนึ่งหน่วยใดเพียงหน่วยเดียว โดยไม่ต้องเขียนหน่วยเหนือ ให้เขียนหน่วยนั้นไว้ “ทางขวา” ของสัญลกั ษณ์หน่วยทหาร 5. ตัวอย่างการเขียนสัญลักษณ์ และกิจกรรมทางทหาร ดัง รูปภาพต่อไปนี้
หนว่ ยทหาร
นามหนว่ ย
นามหนว่ ย
นามหนว่ ย
นามหนว่ ย
นามหนว่ ย
ท่ตี ั้งกจิ การ
ท่ตี ั้งกจิ การ
ท่ตี ั้งกจิ การ
ท่ตี ั้งกจิ การ
ท่ตี ั้งกจิ การ
ท่ตี ั้งกจิ การ
ท่ตี ั้งกจิ การ
ปอ้ มสนาม
เคร่อื งกดี ขวาง
เคร่อื งกดี ขวาง
เคร่อื งปิดก้นั ถนน หลุมระเบิด และทาลายสะพาน
ท่นุ ระเบดิ
สนามทุ่นระเบดิ
เรือ่ งท่ี 4 การพิจารณาภูมปิ ระเทศ บนแผนที่
ความสงู ทรวดทรง และการพจิ ารณาภมู ิประเทศ 1. ความมุ่งหมาย เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติสามารถพิจารณา รายละเอียด เกี่ยวกับความสูงและทรวดทรง บนแผนที่ได้อย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพยิ่งขึ้น 2. การพิจารณาลกั ษณะภูมิประเทศบนแผนที่นั้น โดยปกติ หน่วยปฏิบัติการรบมักจะนารายละเอียดของลักษณะภูมิ ป ร ะ เ ท ศ ที่ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ก ร ะ เ ทื อ น ต่ อ แ ผ น ก า ร ร บ ม า เ ป็ น ข้อพิจารณา เช่น ลักษณะภูมิประเทศที่มีผลกระทบกระเทือน ต่อการเคล่ือนย้าย การตรวจการณ์และพื้นการยิง เป็นต้น ลักษณะภูมิประเทศที่มีผลกระทบกระเทือนต่อเร่ืองดังกล่าว โดยเฉพาะก็คอื ความสูงและทรวดทรง 3. ความสูง คือ ระยะสูงตามทางด่ิงของจุดหนึ่งจุดใด, เหนือหรือต่ากว่าระดับน้าทะเลปานกลางปกติแสดงเป็น ฟุตหรอื เมตร
4. ความสูงนั้นจะต้องวัดจากพ้ืนหลักฐาน ปกติพื้น หลักฐานก็คือ ระดับน้าทะเลปานกลางนั่นเอง โดยคิดผลเฉล่ีย ปานกลางของการเปล่ียนแปลงขึ้นลงของระดับน้าทะเล ตาม อานาจแหง่ ดวงจนั ทร์ และ ดวงอาทิตยซ์ งึ่ หมนุ เวียนไปกับพิภพ เป็นเวลารอบละ 19 ปี การข้ึนลงของน้าทะเลในย่าน 19 ปี จึงมีลักษณะเดียวกันทุกๆ รอบ 19 ปี สาหรับประเทศไทยใช้ พื้นระดับน้าทะเลปานกลางซ่ึงตรวจวัดเพียง 5 ปี เท่าน้ัน (พ.ศ.2453 –พ.ศ.2458) ทั้งนี้เพ่ือนาผลมาใช้ไปพลางก่อน โดยเลือกเอาเกาะหลักประจวบคีรีขันธ์เป็นตาบลตรวจวัดแล้ว จึงทาระดับชั้นที่ 1 โยงขึ้นไปไว้บนฝ่ัง ณ หมุดหลักฐานการ ระดับซ่ึงเป็นหมุดหลักฐานแรกของประเทศไทย สูงจาก ระดบั นา้ ทะเลปานกลาง 1.4477 เมตร 5. ความสูงสามารถแสดงไว้บนแผนท่ีได้หลายวิธี เช่น แสดงดว้ ยเสน้ ชั้นความสูงจดุ กาหนดความสูง เส้นลายขวานสับ แถบสี เงาและทรวดทรงพลาสตกิ เป็นต้น ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับแผนที่ แต่ละชนิด ซ่ึงอาจแสดงความสูงด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายๆ วธิ รี วมกนั ก็ได้ แต่วธิ ีที่ให้ค่าความสูงได้ละเอียดและเหมาะสมที่ หน่วยทหารจะนาค่าความสูงมาพิจารณาวางแผนก็คือ ความ สูงที่แสดงด้วยเสน้ ชน้ั ความสูง
6. ประเภทของเสน้ ชัน้ ความสงู 6.1 เส้นชั้นความสูงหลัก คือ เส้นสีน้าตาลที่เขียนเป็น เส้นหนักทกุ ๆ เสน้ ที่ 5 ปกตจิ ะเขยี นตวั เลขค่าความสูงกากับไว้ 6.2 เส้นชั้นความสูงรอง คือ เส้นสีน้าตาลท่ีเขียนเป็น เส้นเบา โดยเขียนไว้ระหว่างเส้นช้ันความสูงหลัก ปกติจะไม่ เขียนตัวเลขค่าความสูงกากับไว้ แต่ผู้ใช้แผนที่สามารถหา ความสูงของเส้นช้ัน ความสูงเหล่านี้ได้จาก “ช่วงต่างเส้นชั้น ความสงู ” ของแผนท่ีแต่ละระวาง 6.3 เส้นชั้นความสูงแทรก คือ เส้นสีน้าตาลที่เขียน ด้วยเส้นประ เขียนไว้ระหว่างเส้นชั้นความสูงหลักหรือเส้นช้ัน ความสูงรองที่เขียนห่างกันมากๆ เพื่อแสดงความสูงคร่ึงหน่ึง ของชว่ งตา่ งเสน้ ช้ันความสูง 6.4 เส้นช้ันความสูงดีเพรสช่ัน คือ เส้นสีน้าตาลท่ี เขยี นมีลักษณะเหมอื นเส้นช้ันความสูงหลักและเส้นชั้นความสูง รองทุกประการ แต่ต่างกันท่ีมีขีดส้ัน ( TICK ) ประกอบภายใน และปลายขีดส้ันน้จี ะชไี้ ปสู่ทต่ี า่ แสดงไว้ ณ พ้ืนท่ีที่ต่ากว่าพื้นท่ี บรเิ วณรอบๆ
6.5 เส้นช้ันความสูงโดยประมาณ คือ เส้นสีน้าตาลที่ เขียนด้วยเส้นประทั้งเส้นชั้นความสูงหลักและเส้นชั้นความสูง รองเขียนแสดงพื้นท่ีบริเวณที่ได้ข้อมูลจากภาพถ่ายทางอากาศ ไม่สมบรู ณ์ หรอื บรเิ วณท่บี ินถา่ ยภาพทางอากาศไม่ได้ 7. เส้นช้ันความสูงท่ีถือว่าเป็นมาตรฐานนั้น จะแสดงช่วง ตา่ งระหวา่ งเสน้ ชั้นตามมาตราส่วนของแผนที่ คือแผนท่ีมาตรา ส่วน 1 : 25,000 = 10 เมตร, 1 : 50,000 = 20 เมตร, 1 : 100,000 = 40 เมตร, 1 : 200,000 = 80 เมตร , 1 : 250,000 = 100 เมตร และ 1 : 500,000 = 200 เมตร 8. การเปล่ียนแปลงในทางความสูง และรูปร่างลักษณะ ของภูมิประเทศท่ีเรียกว่าทรวดทรงน้ันแบ่งออกได้หลาย ลักษณะ แต่เพ่ือความสะดวกในการพิจารณา และง่ายในการ จ ด จ า จึ ง ไ ด้ ก า ห น ด ใ ห้ ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ ใ ด ท่ี มี รู ป ร่ า ง เหมือนกัน หรือคล้ายคลึงกันให้เรียกช่ืออย่างเดียวกัน เช่น สนั เขากับจมูกเขา (สันเขาย่อย) เรยี กว่า “สันเขา” หรอื หุบเขา กับซอกเขาเรียกว่า “หุบเขาเป็นต้น ดังน้ันจึงสามารถสรุป ลักษณะภูมิประเทศได้เพียง 5 ชนิดใหญ่ ๆ ยอดเขา สันเขา หุบเขา คอเขาและท่ตี ่า
รปู ยอดเขา
รปู สันเขาและจมูกเขา (สันเขายอ่ ย) รูป หบุ เขาและซอกเขา
รปู คอเขา รปู ทตี่ า่ (ก้นบอ่ )
9. ลกั ษณะของเส้นชนั้ ความสูงโดยท่วั ไปมีดงั นี้ 9.1 มีลักษณะเป็นเส้นโค้งเรียบและบรรจบตัวเอง เสมอ 9.2 บริเวณที่เป็นหุบเขาหรือลาธาร จะมีลักษณะ คลา้ ยอกั ษร “ U ” หรือ “ V ” หันปลายฐานไปสู่ท่สี ูง 9.3 บริเวณที่เป็นสันเนิน (สันเขา) จะมีลักษณะคล้าย อกั ษร “ U ” หรือ “ V ” และหันปลายฐานไปสูท่ ี่ต่า 9.4 บริเวณที่เป็นที่ชันจะมีลักษณะเป็นเส้นชิดกัน และบรเิ วณท่ีเปน็ ลาดจะมีลักษณะหา่ งกัน 9.5 ภูมิประเทศท่ีเป็นลาดเสมอ ธรรมดาเส้นช้ันความ สูงจะมีลักษณะห่างสม่าเสมอกัน และบริเวณท่ีเป็นลาดไม่ สมา่ เสมอเส้นชน้ั ความสงู จะหา่ งไม่สม่าเสมอ 9.6 เส้นชั้นความสูงจะไม่ตัดหรือจดกันนอกจาก บรเิ วณทเี่ ป็นชะโงกเขาหรือหนา้ ผาชัน 9.7 บริเวณท่ีเส้นชั้นความสูงเส้นสุดท้ายบรรจบกัน แสดงว่า เปน็ ยอดเขา ( ยอดเนนิ ) 9.8 การเคล่ือนขนานไปกับเส้นชั้นความสูง แสดงว่า เคล่ือนท่ีอยู่บนพื้นระดับเดียวกัน ถ้าเคล่ือนที่ตัดเส้นชั้นความ สูงจะเปน็ การขน้ึ ลาดหรือลงลาด
10. ทรวดทรง คือการเปล่ียนแปลงในทางความสูงและ ลักษณะของผิวพภิ พ 11. ลักษณะภูมิประเทศ อาจแบ่งเป็นลักษณะต่างๆ ได้ ดงั น้ี 11.1 ยอดเขา 11.2 สนั เขา 11.3 หุบเขา 11.4 คอเขา 11.5 ท่ีตา่ รูป ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ
11.2 ลักษณะภูมิประเทศต่างๆ ข้างต้นนี้จะสังเกตได้จาก เส้นชน้ั ความสูง 11.3 การพจิ ารณากาหนดความสงู ของภมู ิประเทศ 11.3.1 การพิจารณาความสูงของจุดท่ีอยู่ระหว่าง เสน้ ชน้ั ความสงู สองเสน้ ใหบ้ วกดว้ ยระยะโดยประมาณของช่วง ต่างเสน้ ชัน้ ความสูง กบั ค่าความสูงของเส้นชนั้ ความสูงลา่ ง 11.3.2 การกาหนดความสูงของยอดเขา ให้เอา คร่ึงหน่ึงของช่วงต่างเส้นชั้นความสูงบวกกับ ค่าความสูงของ เส้นชนั้ ความสงู เสน้ ในสดุ 11.3.3 การกาหนดความสูงของบริเวณก้นบ่อ (ที่ต่า) ให้เอาคร่ึงหนึ่งของช่วงต่างเส้นช้ัน ความสูงลบออกจากค่า ความสงู ดเี พรสช่ันเส้นในสุด
รปู ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศท่ปี รากฏบนแผนท่ี
คาอธิบายภูมปิ ระเทศ ในรปู ลักษณะภูมิประเทศทปี่ รากฏบนแผนที่ ยอดเขา คอื บรเิ วณพิกดั 26905230, 27665480 ฯลฯ สนั เขา คอื บริเวณพกิ ัด 26405100, 29405430 ฯลฯ หุบเขา คือ บรเิ วณพกิ ดั 26405347, 31805328 ฯลฯ คอเขา คือ บริเวณพกิ ดั 27205370, 30105490 ฯลฯ ทตี่ ่า คอื บริเวณพิกดั 29205240 ลาดเสมอ คือ บรเิ วณพิกัด 29005310 ถึง 29005418 ฯลฯ ลาดเวา้ คอื บรเิ วณพิกดั 31005200 ถงึ 33005000 ฯลฯ ลาดนนู คือ บรเิ วณพกิ ัด 27665480 ถึง 27605600 ฯลฯ ยอดเขาในจตุรัสกริด 2652 สูงจากระดับน้าทะเล ปานกลาง 230 เมตร (220+10) ภูมิประเทศบริเวณ 31605130 สูงจากระดับน้าทะเล ปานกลาง 70 เมตร (60+10 หรือ 80 –10) ก้นบ่อบริเวณ 29205240 สูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง 30 เมตร (40 – 10)
12. อีกประการหน่ึงที่ผู้พิจารณาลักษณะภูมิประเทศบน แผนที่ ควรคานึงอยู่ตลอดเวลาก็คือลักษณะภูมิประเทศท่ีเป็น “ที่ราบ” ซึ่งหมายถึงพ้ืนผิวพิภพท่ีมีบริเวณกว้างขวาง และมี ความสงู แตกตา่ งกนั ไมม่ ากนกั อาจแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ชนดิ คือ 12.1 ที่ราบสูง ท่ีราบชนิดน้ีโดยมากอยู่ใกล้บริเวณ ภูเขาหรือตดิ ต่อกับภเู ขา โดยปกติ ถือหลักว่า พื้นราบใดสูงจาก ระดับน้าทะเลปานกลาง ต้ังแต่ 200 เมตร ข้ึนไป เรียกว่า “ท่ีราบสงู ” 12.2 ท่ีราบต่า โดยท่วั ๆ ไป หมายถึงพื้นท่ีราบที่อยู่สูง จากระดับนา้ ทะเลปานกลางนอ้ ยกวา่ 200 เมตร พ้ืนราบชนิดนี้ อยู่ห่างจากทะเลไม่มากนัก ด้วยเหตุนี้เอง “ท่ีราบต่า” จึงมี พื้นท่ีราบดีกว่า “ที่ราบสูง” แต่ถ้าท่ีราบต่าอยู่ใกล้กับที่ราบสูง พื้นท่ีราบน้ันก็ย่อมไม่เรียบนัก และมักจะเป็นโคกเป็นเนินสลับ อย่เู ปน็ ระยะๆ หา่ งๆ เกณฑ์ที่ราบสูงกว่า 200 เมตร หรือต่ากว่า 200 เมตร จากระดับน้าทะเลปานกลางน้ัน จะถือเป็นเกณฑ์ท่ีแน่นอน เสมอไปไม่ได้ ท้ังน้ีจะต้องพิจารณาภูมิประเทศใกล้เคียง ประกอบด้วย
13. ลาด 13.1 ลาด คือพ้ืนเอียงซ่ึงทามุมกับพ้ืนระดับ หรือ อัตราเฉลี่ยของความสูงข้ึนหรือต่าลงของ ภูมิประเทศ เส้นชั้น ความสงู บนแผนท่ีจะแสดงให้ผู้ใช้แผนท่ีทราบลักษณะของลาด บริเวณน้นั ๆ 13.2 ชนิดของลาด โดยท่ัวไปลาดแบ่งออกเป็น 3 ชนดิ 13.2.1 ลาดเสมอ เส้นชน้ั ความสงู จะมีระยะห่าง เทา่ ๆ กนั 13.2.2 ลาดโค้ง (นูน) เส้นช้ันความสูงจะมี ระยะห่างกันตอนบนและจะค่อยๆ ชิดกัน ในตอนล่าง (ห่างกัน ทสี่ ูงชดิ กันที่ต่า ) 13.2.3 ลาดแอ่น (เว้า) เส้นช้ันความสูงจะมี ระยะชิดกันตอนบนและจะค่อยๆ ห่างกัน ในตอนล่าง (ชิดกันที่ สงู หา่ งกันท่ีต่า)
รปู ลาดชนดิ ตา่ ง ๆ
13.3 การแสดงค่าของลาด ลาดอาจจะมีผล กระทบกระเทือนต่อการเคล่ือนย้ายของยุทโธปกรณ์ หรือ กาลังพล จึงจาเป็นต้องทราบค่าของลาด เพื่อพิจารณาในการ เคลื่อนย้าย ค่าของลาดสามารถแสดงได้หลายวิธีซึ่งแต่ละวิธี ข้ึนอยู่กับการเปรียบเทียบระหว่าง “ระยะทางดิ่ง” และ ระยะทางระดับ ทั้งสิ้น 13.3.1 ลาดเป็นเปอรเ์ ซนต์ ระยะทางดิง่ X 100 13.3.2 ลาดเปน็ องศา ระยะทางด่งิ X 57.3 13.3.3 ลาดเปน็ มลิ เลียม
13.4 ข้อควรจา 13.4.1 ระยะทางดิง่ เปน็ ระยะผลต่างระหว่างความสูง ของจุดท่ีสูงสุด กับที่ต่าสุดของลาด บริเวณนั้นพิจารณาจาก เส้นชนั้ ความสงู 13.4.2 ระยะทางระดับเป็นระยะทางระหว่างตาบล ทั้งสอง วัดทมี่ าตราสว่ นเส้นบรรทดั 13.4.3 ระยะทางด่ิงกับระยะทางระดับ เป็นระยะทาง ท่ีคิดจากจุดท้ังสอง ที่เป็นตาบลเดียวกันนั่นเอง และต้องใช้ หนว่ ยวดั ระยะหน่วยเดียวกนั 13.4.4 “ลาดข้ึน” แสดงด้วยเคร่ืองหมาย (+) “ลาดลง”แสดงด้วยเครื่องหมาย (-)
13.5 วธิ หี าคา่ ของลาด
เร่อื งที่ 5 ทิศทาง และเขม็ ทศิ
ทศิ ทาง และมมุ ภาคทศิ เหนอื 1. ทิศทาง คือ แนวเส้นตรงที่ต้องการพิจารณาแนวใด แนวหนึ่ง บนแผนท่ีหรือในภูมิประเทศ ทิศทางแสดงด้วยมุม ภาคทิศเหนือ 2. มุมภาคทิศเหนือ คือมุมทางระดับวัดตามเข็มนาฬิกา จากทิศทางหลกั ไปยงั แนวพิจารณาหรอื ไปยงั ทหี่ มาย 3. ทิศทางหลัก คือ ทิศทางที่ใช้เป็นแนวเริ่มต้นในการวัด หรอื แนวศนู ย์ มี 3 ชนดิ 3.1 ทศิ เหนือจรงิ แสดงด้วยรูปดาว ( ) 3.2 ทิศเหนอื กรดิ แสดงด้วยอกั ษร ( GN ) 3.3 ทิศเหนอื แม่เหลก็ แสดงดว้ ยหวั ลูกศรผา่ ซกี ( ) 4. ทิศทางมุมทิศทาง จะเริ่มที่จุดศูนย์กลางของวงกลม ซึ่งเรียกว่า วงกลมมุมภาคทิศเหนือวงกลมนี้แบ่งออกเป็น 360 หน่วย เรียกว่า องศา เลของศาจะกาหนดตามเข็มนาฬิกา 0° อยู่ที่ทิศเหนือ, 90° ทิศตะวันออก, 180° ทิศใต้, 270° ทศิ ตะวันตก และ 360° หรอื 0° อยู่ที่ทิศเหนือ 5. ระยะทางจะไม่ทาให้คา่ ของมุมภาคทิศเหนอื แตกต่างกัน
6. มุมภาคทิศเหนือกลับ คือมุมภาคทิศเหนือท่ีวัดตรงข้าม กับมุมภาคทศิ เหนือของแนวใด แนวหน่งึ หรือ เป็นมุมที่วัดจาก จุดปลายทางมายังจุดเริ่มต้นนั่นเอง ค่าของมุมภาคทิศเหนือ กลับจะแตกต่างกับมุมภาคทิศเหนืออยู่ 180 องศาเสมอ การคิด คา่ ของมุมภาคทิศเหนือกลบั มีหลักเกณฑ์ดงั นี้ 6.1 ถา้ มุมภาคทศิ เหนือมากกว่า 180° เอา 180 ลบ 6.2 ถ้ามุมภาคทศิ เหนือนอ้ ยกวา่ 180° เอา 180 บวก 6.3 ถ้ามุมภาคทิศเหนือ 180°เอา 180 บวก หรอื ลบ 7. การวดั มมุ ภาคทิศเหนอื บนแผนที่ 7.1 การวัดมุมภาคทิศเหนือบนแผนท่ีอาจวัดด้วย เคร่ืองมือ P – 67 หรือเคร่ืองมืออย่างหน่ึงอย่างใดที่มีลักษณะ การใชท้ านองเดยี วกันนี้ 7.2 ถ้าจะใช้ P – 67 วัดมุมภาคทิศเหนือบนแผนท่ี ขั้นต้นให้ใช้ดินสอดาขีดเส้นตรงเช่ือมโยง ระหว่างจุดเริ่มต้น และจุดปลายทางบนแผนที่ที่ต้องการ แล้วใช้จุดหลัก ที่มี ลักษณะเป็นหัวลูกศรทับตรงจุดหรือตาบลเริ่มต้น แล้วจัด แนวขนานเสน้ กรดิ ของ P–67 ให้ขนานกับเส้นกริดตั้งบนแผนที่ โดยหันโคง้ วงกลมไปทางตาบลปลายทาง จุดทีเ่ สน้ ตรงตดั กับ
โค้งวงกลม คือ ค่ามุมภาคทิศเหนือท่ีวัดจากจุดเริ่มต้นไปยังจุด ปลายทางที่ต้องการ โดยถือหลักว่าถ้าหันโค้งวงกลมไปทาง ขวามือ จะต้องอ่านเลของศาแถวใน (0 – 180 องศา) แต่ถ้า หันโค้งวงกลมไปทางซ้ายมือจะต้องอ่านเลของศาแถวนอก (180 – 360 องศา) 7.3 แนวขนานเส้นกริดท่ีมีอยู่ถึง 10 เส้นและเรียงเกือบชิด กันบน P – 67 นี้ ช่วยในการจัดภาพขนานได้รวดเร็วมากทั้งน้ี เพราะไม่เส้นหนึ่งก็เส้นใดใน 10 เส้น นี้ อาจจะเฉียดหรือ อาจจะทาบทับไปกับเส้นกริดต้ังบนแผนที่ เลของศาใน 1 รอบ วงกลม ( 0 – 360 องศา ) ซึ่งนามาจัดทาเป็นภาพครึ่งวงกลม แบบ P – 67 นี้ช่วยให้สามารถหามุมภาคทิศเหนือได้ทันทีโดย ตัวเลขแถวในและแถวนอกจะเป็นมุมภาคทิศเหนือกลับกันอยู่ ในตัว เช่นวัดมุมภาคได้ 270 องศา ( แถวนอก ) มุมภาคทิศ เหนอื กลับก็คือ 90 องศา (แถวใน ) เปน็ ตน้
รปู วธิ ีวดั มมุ ภาคทศิ เหนอื บนแผนท่ดี ้วยเครื่องวดั มุม P -67
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189