8. มมุ กริดแมเ่ หล็ก (มุม ก – ม.) 8.1 การที่จะรู้และเข้าใจมุมกริดแม่เหล็ก จะต้องรู้ ความหมายของมมุ ภาคทิศเหนอื ว่า คอื มมุ ทางระดับวัดตามเข็ม นาฬิกาจากทิศทางหลักผู้ใช้แผนที่มีความเกี่ยวข้องกับการใช้ ทิศทางหลักอยู่ 2 ชนิดคือ ทิศเหนือกริด(วัดจากแผนที่ด้วย เคร่ืองมือวัดมุม) และทิศเหนือแม่เหล็ก(วัดในภูมิประเทศด้วย เขม็ ทศิ ) 8.1.1 มุมภาคทิศเหนือกริด คือ มุมทางระดับวัดตาม เขม็ นาฬกิ าจากแนวทศิ เหนือกรดิ 8.1.2 มุมภาคทิศเหนือแม่เหล็ก คือมุมทางระดับวัด ตามเข็มนาฬกิ า จากแนวทิศเหนอื แมเ่ หล็ก 8.1.3 มมุ ก – ม คือ ความแตกต่างทางมมุ ระหว่างทิศ เหนือกริดกับมุมภาคทศิ เหนือแม่เหล็ก 8.2 การใช้มุมภาคทศิ เหนือกรดิ ในสนามจะต้องเปลี่ยนเป็น มุมภาคทศิ เหนือแมเ่ หล็กก่อน 8.3 การใช้มุมภาคทิศเหนือแม่เหล็กบนแผนท่ีจะต้อง เปลี่ยนเป็นมมุ ภาคทศิ เหนือกริดเสียก่อน 8.4 การเปลี่ยนค่าของมุมเป็นอย่างหน่ึงอย่างใดน้ีจะต้อง ใช้มุม ก – ม
8.5 การสรา้ งภาพมุม ก – ม 8.5.1 แผนท่ีบางระวาง จะมีรายการเปลี่ยนแปลง ประจาปีของแม่เหล็กเขียนไว้ใต้เดคลิเนช่ัน ซึ่งแผนที่จะต้อง เปล่ียนแปลงผังเดคลิเนช่ันใหท้ นั สมยั อยูเ่ สมอ 8.5.2 การคานวณค่าของมมุ ก – ม ใหค้ ดิ ใกล้เคียง ½ องศา โดยถือหลักดังน้ี 1 ถึง 14 ลิปดา = 0 องศา, 15 – 44 ลิปดา = ½ องศา และ 45 – 60 ลิปดา = 1 องศา 8.6 การเรียกชือ่ มุมตามผังเดคลเิ นชัน่ รปู การเรียกช่อื มุมตา่ ง ๆ ตามผังเดลิเนชั่น
8.7 การแปลงค่าของมุมภาคทิศเหนือกริดเป็นมุมภาคทิศ เหนือแม่เหล็ก หรือการแปลงค่ามุมภาคทิศเหนือแม่เหล็ก เป็น มุมภาคทิศเหนือกริด ใหป้ ฏิบัติดงั นี้ 8.7.1 เม่อื มุม ก – ม. มคี า่ เป็น ตะวันออก รปู การแปลงค่า มุม ก - ม ทม่ี คี า่ เปน็ ตะวนั ออก เป็นมมุ ภาคทิศเหนือกริด
รูป การแปลงคา่ มมุ ก - ม ที่มีค่าเปน็ ตะวันตก เปน็ มมุ ภาคทศิ เหนือกริด หมายเหตุ การแปลงค่ามุมตาม ข้อ 8.7 จะเห็นว่าต้องเอา มมุ ก – ม. มาเกยี่ วข้องทั้ง + (บวก) และ – (ลบ) ยุ่งยากและ สบั สนในการจดจา จงึ ใครแ่ นะนาวิธีจดจาที่ดีท่ีสุด คือการเขียน ภาพประกอบการพจิ ารณาแล้วทาความเข้าใจ
มมุ แบร่ิง 1. ความมงุ่ หมาย เพอื่ ตอ้ งการให้รู้จักประโยชน์และการใช้ คา่ มมุ แบรงิ่ มากยง่ิ ขึ้น 2. มุมแบร่ิง เป็นมุมทางระดับวัดตามหรือทวนเข็มนาฬิกา จากแนวทิศเหนือหรือแนวทิศใต้ ซึ่งมีขนาดมุม ไม่เกิน 90 องศา 3. การใช้คา่ มุมแบร่ิงในทางทหาร ปกติจะใช้ในการสารวจ ทางแผนท่ีโดยวิธีการแปลงค่าจากมุมภาค ทิศเหนือท่ีวัดได้ มาเป็นค่าของมุมแบร่ิง เพื่อคานวณหาพิกัด (ทางราบ) ของ ตาบลต่างๆ ที่ต้องการทราบ ตามหลักวิชาตรีโกณมิติ หน่วย ทหารท่ีจาเป็นต้องใช้ โดยเฉพาะในกองทัพบก คือ ป. และ ค. ในเม่ือการยิง ป. และ ค. ครั้งน้ันมีเวลาพอท่ีจะทาการยิงด้วย แผ่นเรขา ยิงจากการอ่านแผนท่ี นอกจากนั้นมุมแบริ่งยังใช้ใน กจิ การเดินเรือของกองทัพเรืออีกด้วย
รปู ความสมั พันธร์ ะหวา่ งมุมแบริ่ง กบั มุมภาคทิศเหนอื
รปู การเรยี กชื่อมมุ แบร่งิ
รปู การเรยี กช่อื มุมแบริ่ง และแบง่ ครึ่งจตรุ างคดล
รปู การหาคา่ มมุ แบริ่ง จากมมุ ภาคทศิ เหนอื
4. การหาคา่ ของมุมแบริ่ง จากมมุ ภาคทศิ เหนือ 4.1 จตรุ างคดลท่ี 1 มมุ แบรงิ่ = มมุ ภาค 4.2 จตรุ างคดลที่ 2 มมุ แบริ่ง = 180 – มุมภาค 4.3 จตรุ างคดลท่ี 3 มุมแบรง่ิ = มุมภาค – 180 4.4 จตรุ างคดลท่ี 4 มุมแบร่งิ = 360 – มุมภาค 5. การหาค่าของมุมภาคทศิ เหนอื จากมุมแบรง่ิ 5.1 จตุรางคดลที่ 1 มุมภาคทิศเหนือ = มมุ แบริ่ง 5.2 จตรุ างคดลท่ี 2 มุมภาคทศิ เหนอื = 180 – มมุ แบรงิ่ 5.3 จตุรางคดลที่ 3 มุมภาคทิศเหนอื = 180 + มมุ แบริง่ 5.4 จตรุ างคดลที่ 4 มุมภาคทิศเหนอื = 360 – มมุ แบรง่ิ 6. เม่อื มมุ ก – ม. มคี า่ เปน็ “ตะวันตก” 6.1 การแปลงคา่ มมุ แบร่ิงกรดิ เปน็ “มุมแบริ่งแม่เหล็ก” 6.1.1 จตรุ างคดลท่ี 1 – มมุ แบร่ิงกริด + มมุ ก – ม. 6.1.2 จตุรางคดลที่ 2 – มุมแบรงิ่ กริด – มมุ ก – ม. 6.1.3 จตรุ างคดลท่ี 3 – มุมแบรงิ่ กรดิ + มมุ ก – ม. 61.1.4 จตรุ างคดลท่ี 4 – มมุ แบริ่งกรดิ – มุม ก – ม. 6.2 การแปลงค่ามุมแบริ่งแม่เหล็กเป็น“มุมแบร่ิงกริด” ให้ กระทาตรงขา้ ม
7. เม่ือมุม ก – ม. มีค่าเป็น “ตะวันออก” การแปลงค่ามุม แบริ่งเป็นมุมแบริ่งกริดแม่เหล็ก หรือการแปลงค่ามุมแบร่ิง แม่เหล็กเป็นมุมแบร่ิงกริดจะต้องนาค่าของมุม ก –ม. มาเกี่ยวขอ้ ง (+ หรอื -) เสมอ ซงึ่ จะเหน็ วา่ เกิดความยุ่งยากใน การจดจา จึงใคร่ขอแนะนาวิธีจดจาที่ดีที่สุดคือ ทาความเข้าใจ โดยการเขียนภาพประกอบการพจิ ารณา
เข็มทิศเลนเซติก และการใช้ 1. ลกั ษณะของเขม็ ทศิ เลนเซตกิ 1.1 เข็มทิศเลนเซติก เป็นเข็มทิศท่ีทาข้ึนให้สามารถ ปิด –เปดิ ได้ เพือ่ ปอ้ งกนั การชารดุ และเสียหาย ท่ีขอบด้านข้าง มีมาตราส่วนเส้นบรรทัดขนาดมาตราส่วน 1 : 25,000 หรือ 1 : 50,000 สาหรับวัดระยะจริงบนแผนท่ี เข็มทิศแบบนี้ สามารถอ่านได้ถูกต้องใกลเ้ คยี ง 2 องศา 1.2 ส่วนประกอบทีส่ าคญั มี 3 สว่ น 1.2.1 ฝาตลบั เขม็ ทศิ 1.2.2 เรือนเขม็ ทิศ 1.2.3 ก้านเล็ง
1.3 ฝาตลับเข็มทิศ ส่วนประกอบส่วนนี้ทาหน้าที่เสมือน เปน็ ศนู ยห์ น้า ซง่ึ มีทั้งเส้นเลง็ และจุดพรายน้าเพอื่ สามารถใช้ได้ ท้งั กลางวนั และกลางคืน 1.4 เรอื นเข็มทศิ ประกอบด้วย 1.4.1 ครอบหนา้ ปดั เขม็ ทศิ หมายถงึ สว่ นบนท้ังหมดที่ เรือนเข็มทิศ ซึ่งประกอบด้วยวงแหวน มีลักษณะเป็นร่องหมุน ไปมาได้ เม่ือวงแหวนหมุนไป 1 คล๊ิก มุมภาคทิศเหนือจะ เปลี่ยนไป 3 องศา นอกจากน้ียังมีกระจกติดอยู่กับวงแหวน ท่ีกระจกมีขีดพรายน้ายาว และขีดพรายน้าสั้น เพื่อใช้ในการ ตั้งเขม็ ทศิ เพอื่ เดินทางในเวลากลางคืน 1.4.2 กระจกหน้าปัดเข็มทิศมีเส้นขีดดาหรือดัชนีชี้มุม ภาคทิศเหนือและจุดพรายน้า 3 จุด (90, 180 และ 270) การอ่านค่ามุมภาคทิศเหนือจะต้องอ่านเลขท่ีตรงกับดัชนีสีดาา เสมอ สาหรบั จดุ พรายน้า 3 จดุ จะช่วยให้นบั คลิก๊ น้อยลง 1.4.3 หน้าปัดเข็มทิศเป็นแผ่นใสลอยตัวอยู่บนแกน และจะหมนุ ไปมาได้เม่ือจับเข็มทิศให้ได้ระดับ ที่หน้าปัดมีลูกศร พรายน้าชี้ทิศเหนือ อักษร E, S และ W นอกจากนี้ยังมีมาตรา วัดมุมภาคทิศเหนือ 2 ชนิด รอบนอกเป็นมิลเลียมเร่ิมต้ังแต่ 0 – 6400 มิลเลียม รอบในเปน็ องศาเรม่ิ ต้งั แต่ 0 – 360 องศา
1.4.4 พรายน้าเรือนเข็มทิศ เพ่ือช่วยให้เกิดความ สวา่ งข้นึ ภายในเรือนเขม็ ทศิ 1.4.5 กระเด่ืองบังคับหน้าปัดเข็มทิศ เป็นกระเด่ือง ทใ่ี ชเ้ พ่ือปลดใหห้ นา้ ปัดลอยตัวหรอื บังคบั ไมใ่ หเ้ คลื่อนไหวเม่ือมี การยกหรอื กดก้านเลง็ 1.5 ก้านเล็ง ทาหน้าที่เป็นเสมือนศูนย์หลังของเข็มทิศ มีช่องเล็ง ไปยังที่หมายและมีแว่นขยายไว้สาหรับอ่านมาตรา มุมภาคทศิ เหนือที่หน้าปัดเข็มทิศ 1.6 นอกจากส่วนประกอบดังกล่าวแล้ว ยังมีบากเล็งหน้า บากเล็งหลังเพ่ือใช้ในการวัดมุม ภาคทิศเหนือแม่เหล็กบน แผนท่ี และมีห่วงถือเพื่อสะดวกในการจับถืออีกด้วย (แต่โดย ปกตแิ ลว้ เรามกั ใช้ ขอบดา้ นตรงของเข็มทิศวัดมุมภาคทิศเหนือ บนแผนท่ี ท้ังนีเ้ พราะสะดวกและรวดเร็วกวา่ )
2. การจับเข็มทศิ และการวดั มมุ ภาคทิศเหนือ 2.1 จับเพื่อยกข้ึนเล็ง (เล็งปราณีต) เป็นวิธีที่ใช้กันอยู่ โดยทัว่ ไปนานมาแล้ว 2.1.1 จับเข็มทิศด้วยมือท่ีถนัด โดยเอาหัวแม่มือสอด เข้าไปในห่วงถือนิ้วชี้รัดอ้อมไปตามขอบข้างล่างของเรือน เข็มทิศ น้วิ ท่เี หลอื รองรบั อย่ขู า้ งลา่ ง 2.1.2 เปิดฝาตลับเข็มทิศ ยกขนึ้ ใหต้ ้ังฉากกับเรือนเข็ม ทศิ และยกกา้ นเล็งให้สูงข้นึ ทามุมประมาณ 45 องศา 2.1.3 จับเข็มทิศให้ได้ระดับเสมอ เพื่อให้หน้าปัด ลอยตวั เปน็ อิสระ
2.1.4 การวัดมมุ ภาคทศิ เหนอื 2.1.4.1 ยกเข็มทิศให้อยู่ในระดับสายตา และ เล็งผ่านช่องเลง็ ตรงไปยงั เสน้ เล็งและท่หี มาย 2.1.4.2 ในขณะน้ีให้เหลือบสายตาลงมาท่ีแว่น ขยาย และอ่านค่ามุมภาคทิศเหนือท่ีอยู่ใต้เส้นดัชนีสีดาของ กระจกหนา้ ปดั เข็มทศิ 2.2 จับโดยไม่ต้องยกข้ึนเล็ง (เล็งเร่งด่วน) เป็นการใช้ เทคนิคการจับให้เข็มทศิ อยกู่ ่งึ กลางของลาตัว 2.2.1 เปิดฝาตลับเล็งเข็มทิศจนเป็นแนวเส้นตรงกับ ฐานและยกก้านเล็งขึน้ จนสุด
2.2.2 สอดหวั แมม่ ือขา้ งหลงั เข้าไปในห่วงถอื น้ิวชี้ทาบ ไปตามขอบด้านข้างของเข็มทิศ และน้ิวท่ีเหลือรองรับอยู่ ขา้ งลา่ งให้ม่นั คง 2.2.3 เอาหวั แมม่ อื อีกขา้ งหนึง่ วางลง ระหว่างก้านเล็ง กับเรือนเข็มทิศ และใช้นิ้วชี้ทาบไปตามด้านข้างของขอบเข็ม ทิศอีกข้างหน่ึง นิ้วท่ีเหลือรัดพับบนน้ิวมือของอีกข้างหน่ึง เพื่อให้แนน่ มากย่งิ ขึน้ 2.2.4 การจับโดยวิธีนี้ จะต้องให้ข้อศอกท้ังสองข้าง แนบแน่นกับลาาตวั และใหเ้ ข็มทศิ อยู่ระหว่างคางกับเข็มขดั 2.2.5 การวัดมุมภาคทศิ เหนอื 2.2.5.1 หมุนตวั ให้ไปอย่ใู นแนวของทีห่ มายและ ใหฝ้ าตลับเขม็ ทศิ พงุ่ ตรงไปยังท่หี มาย 2.2.5.2 ในขณะท่ีอยู่ตรงแนวท่ีหมายก้มศีรษะ ลงอา่ นมมุ ภาคทศิ เหนือท่อี ยใู่ ตด้ ชั นสี ดี า 2.3 จากประสบการณ์การใช้เทคนิคการจับเข็มทิศให้อยู่ ก่ึงกลางของลาตัว โดยวิธีนี้มีความถูกต้องเช่นเดียวกับการจับ เข็มทิศยกข้ึนเล็ง และย่ิงไปกว่านั้นการจับเข็มทิศ ก่ึงกลาง ลาตัวยังดีกว่าการจับเข็มทิศยกขึ้นเล็งอีกหลายประการ ดังต่อไปน้ี
2.3.1 ใช้ไดร้ วดเรว็ กวา่ 2.3.2 ใช้ได้ง่ายกว่าเพราะลดขั้นตอนการปฏิบัติ ลงมาก 2.3.3 สามารถใชไ้ ดท้ ุกสภาพการมองเห็น 2.3.4 สามารถใชไ้ ดใ้ นภูมิประเทศทกุ ชนิด 2.3.5 สามารถใช้ไดโ้ ดยไมต่ ้องนาเอาอาวุธออกจากตัว แตต่ ้องสายสะพายไวข้ ้างหลงั 2.3.6 สามารถใช้ไดโ้ ดยไมต่ ้องถอดหมวกเหล็กออก 3. การเดนิ ทางตามมมุ ภาคทศิ เหนอื ท่กี าหนด 3.1 จับเข็มทิศหันหน้าไปให้มุมภาคทิศเหนือที่กาหนดอยู่ ใต้ดชั นีสดี า 3.2 หาทห่ี มายทต่ี รงกับเส้นเล็งตามแนวมมุ ภาคทิศเหนือนี้ 3.3 เดินทางไปยังตาบลที่หมายท่ีเลือกไว้และทาเช่นนี้ ตลอดไป
4. การตงั้ เข็มทิศเพ่อื ใชง้ านในเวลากลางคนื 4.1 เมอ่ื มแี สงสว่าง 4.1.1 จับเข็มทิศหันไปจนดัชนีสีดาชี้ตรงมุมภาคทิศ เหนอื ทต่ี อ้ งการ 4.1.2 หมุนครอบหน้าปดั เขม็ ทิศใหข้ ีดพรายน้ายาวทับ หัวลกู ศรและรักษาไว้เชน่ น้ี 4.1.3 ทิศทางตามแนวเส้นเล็งขณะน้ีจะเป็นทิศทางที่ ตอ้ งการ 4.2 เมื่อไม่มแี สงสว่าง 4.2.1 ต้งั เขม็ ทิศปกติ (ดชั นีสีดา,หัวลูกศร,ขีดพรายน้า ยาวตรงกนั ) 4.2.2 หมุนครอบหน้าปัดเข็มทิศทวนเข็มนาฬิกาตาม จานวนคลก๊ิ ทีไ่ ด้ 4.2.3 ทิศทางตามแนวเส้นเล็งขณะท่ีขีดพรายน้ายาว ทับหัวลูกศร จะเป็นทศิ ทางทตี่ ้องการ
5. การเดนิ ทางอ้อมเครือ่ งกดี ขวางหรือข้าศกึ 5.1 ในเวลากลางวนั 5.1.1 ให้ถือหลักว่า หักออกจากแนวเดิมเป็นมุมฉาก ด้วยระยะหน่ึงท่เี หมาะสม 5.1.2 เดินหกั ออกทางขวาให้บวกด้วยมุม 90 องศา 5.1.3 เดนิ หกั ออกทางซ้ายใหล้ บดว้ ยมุม 90 องศา 5.1.4 ถา้ บวกด้วย 90 องศามมุ เกนิ 360 องศา ให้เอา 360 ลบออก 5.1.5 ถ้าบวกด้วย 90 องศามุมมีค่าติดลบให้เอา เฉพาะค่าตวั เลข ไปลบออกจาก 360 องศา
5.2 ในเวลากลางคนื 5.2.1 ใช้หลักการเดินหักออกจากแนวเดิมเป็นมุมฉาก เช่นเดยี วกันกับเวลากลางวัน 5.2.2 เดินหักออกทางขวาหันตัวไปทางขวาจนขีด พรายน้ายาว ตรงจุดกึง่ กลางของอกั ษร E 5.2.3เดินหักออกทางซ้ายหันตัวไปทางซ้ายจนขีด พรายน้ายาว ตรงจดุ กึ่งกลางของอักษร W 5.2.4 ข้อควรจาการเดินหักเป็นมุมฉากไม่ต้องใช้คลิ๊ก เลย
6. การใชเ้ ขม็ ทศิ วดั มุมภาคทศิ เหนือบนแผนท่ี 6.1 วางแผนท่ีให้ถูกทิศ (มุม ก – ม = 0) 6.1.1 เปดิ ฝาตลบั เขม็ ทิศ และกา้ นเลง็ ออกจนสุด 6.1.2 ใชม้ าตราส่วนเส้นบรรทดั ของเข็มทิศ (ขอบด้าน ตรง) ทาบไปกบั เส้นกริดต้ัง โดยหนั ฝาตลับไปทางหวั แผนที่ 6.1.3 จับแผนที่หมุนจนก่ึงกลางหัวลูกศรที่หน้าปัด เขม็ ทิศมาอยู่ใต้เสน้ ดชั นีสีดา 6.2 ยกเขม็ ทิศออกโดยแผนท่ไี ม่ขยบั เขย้อื น 6.3 ใช้ขอบด้านตรงของเข็มทิศทาบระหว่างตาบลท้ังสอง โดยให้ขอบด้านตัวเรือนเข็มทิศทับตาบลต้นทาง และขอบฝา ตลบั เขม็ ทศิ ทับตาบลปลายทาง 6.4 อ่านมาตรามมุ ภาคทศิ เหนอื ตรงใตเ้ ส้นดัชนสี ดี า
7. ขอ้ ระวงั ในการใชแ้ ละเก็บรกั ษา 7.1 เมื่อไม่ใชต้ อ้ งปิดฝาและใสไ่ ว้ในซอง 7.2 การใช้ต้องห่างจากโลหะและสายไฟแรงสงู ดังน้ี 7.2.1 สายไฟแรงสูง 55 ม. 7.2.2 ปนื ใหญส่ นาม, รถยนต์, รถถงั 18 ม. 7.2.3 สายโทรศพั ท์, สายโทรเลขและลวดหนาม 10 ม. 7.2.4 ปนื กล 2 ม. 7.2.5 หมวกเหลก็ หรือปนื เล็ก 0.5 ม. 8. การกะระยะทางในสนาม 8.1 วิธใี ชโ้ ดยท่ัวไปได้แก่การนบั กา้ วจากตาบลหนึ่งไปยังอีก ตาบลหน่ึง 8.2 เปลีย่ นระยะทางจากการนับกา้ วเป็นระยะแผนที่ 8.3 ผู้นับก้าวจะต้องตรวจสอบจากก้าวของตนกับระยะท่ี ทราบแลว้ 8.4 พึงระลึกเสมอว่าการเปลี่ยนแปลงของสภาพ ภมู ิประเทศ ลมฟ้าอากาศ และอาวุธยุทโธปกรณ์ จะมีผลกระทบ กระเทอื นเกีย่ วกับระยะของก้าวเปน็ อยา่ งย่งิ
8.5 ปจั จัยที่มีผลกระทบกระเทือนตอ่ ระยะก้าวโดยทั่วไป ไดแ้ ก่ 8.5.1 ลาด เดินลงลาดก้าวจะยาว และเดินขึ้นลาดก้าว จะสน้ั 8.5.2 ลม เดินทวนลมก้าวจะสน้ั เดินตามลมกา้ วจะยาว 8.5.3 ผิวพ้ืน ทราย กรวด โคลน และผิวพื้นในลักษณะ เดยี วกันนี้จะทาให้กา้ วส้ัน 8.5.4 สภาพอากาศ หมิ ะ ฝน น้าแข็ง จะทาใหก้ า้ วสั้นลง 8.5.5 เครื่องนุ่งห่ม น้าหนักของเสื้อผ้าท่ีมากไปจะทาให้ ก้าวสนั้ 8.5.6 ความอดทนความเหน็ดเหน่ือยย่อมเป็นผล กระทบกระเทอื นในการก้าว
เรอ่ื งที่ 6 การกาหนดจดุ ท่อี ยู่
การกาหนดจุดท่ีอยู่ 1. การกาหนดจุดที่อยู่ของตนลงบนแผนที่ โดยใช้เข็มทิศและ เครือ่ งมอื วัดมมุ 1.1 การเลง็ สกัดกลบั คอื วธิ ีการกาหนดจุดท่อี ยขู่ องตนเอง ลงบนแผนที่ โดยวัดมุมภาคทิศเหนือจากตาบลท่ียืนอยู่ใน ภูมิประเทศไปยังตาบลเด่นอีก 2 ตาบล ในภูมิประเทศซ่ึง ปรากฏอยบู่ นแผนที่ วิธปี ฏิบตั ดิ ังน้ี.- 1.1.1 วางแผนทใ่ี ห้ถกู ทิศ 1.1.2 เลือกตาบลเด่นในภูมิประเทศ 2 ตาบล ซ่ึงมีอยู่ บนแผนท่ี 1.1.3 วัดมุมภาคทิศเหนือจากจุดที่ยืนไปยังตาบล ท้ังสอง 1.1.4 เปล่ียนค่าของมุมที่วัดได้เป็นมุมภาคทิศ เหนอื กลับ 1.1.5 ขีดแนวมุมภาคทิศเหนือกลับจากจุดท้ังสอง บนแผนที่ 1.1.6 จุดที่แนวมุมภาคทิศเหนือทั้งสองตัดกัน คือ จุดที่อยขู่ องตนเองบนแผนท่ี
รปู การเล็งสกดั กลบั
1.2 การเลง็ สกัดกลับประกอบแนว วิธีน้ีเป็นการหาจุดท่ีอยู่ ของตนเองท่ีสะดวกและรวดเร็วแต่จากัดด้วยภูมิประเทศท่ียืน อยู่จะต้องเป็น ถนน เส้นทาง ลาน้าหรือลาธาร ที่ปรากฏบน แผนท่ี มวี ธิ ีปฏบิ ัติดังน้ี.- 1.2.1 วางแผนท่ใี ห้ถูกทิศ 1.2.2 เลือกตาบลเด่นในภูมิประเทศ 1 ตาบล ซ่ึงมีอยู่ บนแผนที่ 1.2.3 วัดมมุ ภาคทศิ เหนือจากจดุ ที่ยืนไปยังตาบลนัน้ 1.2.4 เปลี่ยนค่าของมุมท่ีวัดได้เป็นมุมภาคทิศเหนือ กลับ 1.2.5 ขีดแนวมุมภาคทิศเหนือกลับจากจุดท่ีเลือกไว้ บนแผนที่ 1.2.6 จุดที่แนวมุมภาคทิศเหนือตัดกับเส้นทางเป็นท่ี อย่ขู องตนเอง
รปู การเลง็ สกัดกลบั ประกอบแนว
1.3 การเล็งสกัดกลับโดยวิธีหมายตาบลระเบิด บางครั้ง ต้องปฏิบัติการ ในพื้นท่ีมีลักษณะภูมิประเทศเป็นพ้ืนราบหรือ ป่าสูง ไม่สามารถที่จะมองเห็นภูมิประเทศสูงเด่นได้ วิธีการ กาหนดจุดท่ีอยู่ของตนเองท่ีกล่าวมาแล้วนามาใช้ไม่ได้ จึงต้อง อาศัยหน่วยทหารปืนใหญ่เป็นผู้ทาตาบลเด่นให้ โดยการใช้ กระสุนควันฟอสฟอรัสขาวยิงแตกอากาศตามพิกัดที่ขอยิง ซึ่งสามารถปฏิบัติได้ 2 วิธี คือ การใช้ ป.ยิง 2 จุด และการใช้ ป.ยงิ จดุ เดยี ว 1.3.1 การใช้ ป.ยิง 2 จดุ ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี.- 1.3.1.2 เลอื กจดุ ขอยิงเป็นพิกัด (ตรงจุดตัดของ เส้นกริด) 2 จุด ห่างจากตัวเราประมาณ 2 กม. หรือมากกว่า และจดุ ท้ังสองนี้ควรหา่ งกันประมาณ 3 - 4 กม. 1.3.1.3 ขอยิงกระสุนควันทีละจุด แล้วใช้เข็ม ทศิ วัดมุมไปยังจุดทั้งสอง 1.3.1.4 แปลงมุมท่ีวัดได้เป็นมุมภาคทิศเหนือ 1.3.1.5 ขีดแนวมุมภาคทิศเหนือกลับ จากจุด ทง้ั สองบน แผนท่ี 1.3.1.6 จุดที่เส้นตรงสองเส้นตัดกันคือจุดที่อยู่ ของตนเอง บนแผนท่ี
รปู การเล็งสกดั กลับโดยใช้ ป. ยงิ 2 จดุ
1.3.2 การใช้ ป.ยิงจุดเดยี ว ปฏิบตั ดิ ังน้ี.- 1.3.2.2 เลือกจดุ ขอยงิ เป็นพิกัด (ตรงจุดตัดของ เสน้ กริด) 1 จุด หา่ งจากตวั เราประมาณ 2 กม. หรือมากกวา่ 1.3.2.3 ขอยงิ กระสุนควันที่จุดนั้น 1.3.2.4 นับเวลาเป็นวินาทีต้ังแต่มองเห็น กระสุนระเบิด และหยุดนับเมื่อได้ยินเสียงระเบิด พร้อมทั้งใช้ เขม็ ทิศวดั มมุ ไปยงั ตาบลระเบดิ น้ัน 1.3.2.5 หาระยะทางจากตาบลระเบิดถึงตัวเรา โดยใชส้ ตู ร 350 เมตร X(คูณ) จานวนวินาทีท่ีนับได้ และแปลง มุมทว่ี ดั ไดเ้ ปน็ มุมภาค ทศิ เหนือกลับ 1.3.2.6 ขีดแนวมมุ ภาคทศิ เหนือกลับ และระยะ ทีค่ ดิ ไดต้ ามขอ้ 1.3.2.5 บนแผนที่ โดยเริ่มต้นจากจุดขอยงิ 1.3.2.7 ปลายเส้นที่ขีดขึ้นตามข้อ 1.3.2.6 คือ จดุ ที่อยขู่ อง ตนเองบนแผนท่ี หมายเหตุ วิธีใช้ ป. ยงิ จุดเดยี วนีม้ ีความถูกต้องไม่มากนัก ปกติ ตาบลระเบิดจะสงู จากพ้นื ดินประมาณ 200 เมตร เมื่อขอยิงนัด แรกยงั มองไมเ่ หน็ ตาบลระเบดิ อาจขอยิงซ้า หรือขอเลื่อนตาบล ระเบิดสูงข้ึน แต่การขอเลื่อนตาบลระเบิดสูงขึ้นกว่าเดิมมาก เทา่ ไร ความถกู ตอ้ งของทอ่ี ยู่ยิง่ ลดนอ้ ยลงเทา่ น้ัน
รปู การเล็งสกดั กลบั โดยใช้ ป. ยิงจดุ เดยี ว
การกาหนดจดุ ท่ีอยู่ 2. การกาหนดจุดท่ีหมายลงบนแผนที่โดยใช้เข็มทิศและ เครื่องมอื วัดมมุ 2.1 วธิ ีโปล่า เป็นวธิ กี าหนดจุดทีห่ มายในภูมปิ ระเทศลงบน แผนท่ี โดยใช้มุมภาคทิศเหนือ (ทิศทาง) และระยะ (เมตร ,หลา) จากจุดเริ่มต้น (จุดที่ทราบ) วิธีนี้เหมาะสาหรับหน่วย ขนาดเลก็ ทป่ี ฏิบตั ิการในสนาม มวี ิธีปฏิบตั ิดังน้ี 2.1.1 จากจุดท่ีทราบแล้วในภูมิประเทศวัดมุมภาคทิศ เหนอื ไปยังทีห่ มาย 2.1.2 กะระยะดว้ ยสายตา 2.1.3 ขีดแนวมุมภาคทิศเหนือที่วัดได้จากจุดเร่ิมต้นท่ี ทราบแล้วบน 2.1.4 วัดระยะตามแนวมุมภาคทิศเหนือเท่ากับระยะ ท่กี ะได้ 2.1.5 จุดปลายของระยะตามแนวมุมภาคทิศเหนือ คอื จุดทหี่ มาย
รปู การกาหนดท่หี มายโดยวิธโี ปลา่
การกาหนดจดุ ทีอ่ ยู่ 2.2 การเล็งสกัดตรง คือ วิธีการกาหนดจุดที่หมายต่างๆ ในภูมิประเทศลงบนแผนที่โดยวัดมุมภาคทิศเหนือ จากตาบล 2 ตาบลที่ทราบแล้วท้ังในภูมิประเทศและบนแผนท่ี ไปยังจุดที่ หมายในภูมิประเทศ มีวธิ ีปฏบิ ตั ิดงั นี้ 2.2.1 วางแผนทใี่ ห้ถกู ทศิ 2.2.2 เลือกตาบลเด่น 2 ตาบล ซึ่งมีอยู่ทั้งในภูมิ ประเทศและบนแผนท่ี 2.2.3 จากตาบลทั้งสองในภูมิประเทศ วัดมุมภาคทิศ เหนือไปยังท่ีหมาย 2.2.4 ขีดแนวมุมภาคทิศเหนือท้งั สองนัน้ บนแผนท่ี 2.2.5 จดุ ทแี่ นวทั้งสองตดั กันเปน็ จดุ ของทหี่ มาย
รปู การเล็งสกดั ตรง
เอกสารอ้างอิง เอกสาร โรงเรียนทหารราบ ศูนยก์ ารทหารราบ เร่อื ง แผนที่ และการใชเ้ ขม็ ทศิ ตารา โรงเรียนแผนที่ กรมแผนทีท่ หาร เร่ือง ความรเู้ บ้อื งต้นในการอ่านแผนท่ี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189