100 เมอื่ ตะวนั ออกพบตะวันตก : พิพธิ สมบัติพระราชา ณ วังหน้า การโกนหวั ซ่ึงเป็นประเพณีโบราณในคราวท่พี ระเจ้าแผ่นดนิ สยามเสดจ็ สวรรคตนน้ั ไดต้ ั้งตน้ ท�ำกนั แลว้ และได้ทราบ ว่าทางราชการได้สง่ คนไปทกุ หวั เมืองไกลเพอื่ บอกขา่ วการเปลย่ี นแผน่ ดินใหม่ มขี า่ วลอื กนั วา่ จะจดั เปลยี่ นแปลงระเบยี บราชการเกา่ หลายประการโดยวธิ อี นั กวา้ งขวาง การเปลย่ี นเชน่ นนั้ เปน็ สงิ่ ท่พี งึ หวงั และเป็นสิ่งที่ต้องการ แต่จะจัดไปเพียงไหนนนั้ ยงั ไม่แน่ ประเพณยี ่อมมีอำ� นาจบงั คับแข็งเสมอเหล็ก แตว่ า่ โซแ่ หง่ ประเพณนี นั้ ลกู โซบ่ างลกู ไดข้ าดไปแลว้ ถา้ มกี ฎหมายและกศุ โลบายมาแทนเมอื่ ไร คอื หวงั ไดว้ า่ ความสงบ และความรงุ่ เรอื งจะเกดิ เปน็ ผลขนึ้ เมือ่ นัน้ ขา่ วเกอื บทง้ั ส้ินซึ่งพมิ พ์ไว้ในหนังสอื ของทา่ นนั้น มีผู้แปลและเขา้ ใจกันในประเทศน้ี และคำ� กล่าวสบั เพร่า ของผ้เู ขยี นซ่งึ ไมเ่ ซน็ นามน้ัน มักจะเกดิ ผลเปน็ โทษมากๆ ข้าพเจา้ ยอ่ มทราบอยแู่ ลว้ วา่ บางทผี ูเ้ ขียนพึงรั้งรอการบอก นามให้คนทราบ แต่ถา้ ถูกบงั คบั ให้ลงช่อื ของตนผเู้ ขยี นหลายคนก็คงจะระแวงกลวั ผิดในข้อความที่กล่าวและสบื สวน ให้แน่ชัดขึ้นอีก ถ้าเพียงแต่บอกว่าข่าวลือเป็นข่าวลือ และความจริงเป็นความจริงแล้ว ผู้เขียนรับรองโดยวิธีลงนาม จริงของตนไวเ้ ทา่ นี้ ผู้อา่ นกจ็ ะทราบได้ดขี น้ึ ว่าจะควรวางใจเชื่อข้อความทอี่ า่ นน้ันไดเ้ พยี งไหน วันท่ี ๑๒ เมษายน ได้มกี ารประชมุ ในพระราชวังหลายครง้ั ๆ ละนานๆ เพือ่ หารือราชการท่จี ะเปลยี่ นแปลง ในรฐั บาลใหม่ ในจำ� พวกขา่ วลอื นน้ั มี เชน่ วา่ จะจดั ตงั้ กองทพั เรอื ซง่ึ มเี รอื กลไฟบา้ ง จะฝกึ หดั ทหารบกเตม็ ตามแบบแผน จะลดภาษีสินค้าบางอย่างและยอมให้ส่งข้าวออกไปขายต่างประเทศ เม่ือราคาข้าวต�่ำกว่าราคาที่ก�ำหนดไว้ เป็นต้น พระเจ้าแผ่นดินรองนั้น ข้าพเจ้าได้ทราบมาว่าถึงแม้พระนามต�ำแหน่งจะเป็นเช่นนั้น “สมเด็จพระเชษฐาธิราช” ก็ ก�ำหนดในพระราชหฤทัยว่าจะทรงพระราชอ�ำนาจร่วมและเสมอกัน งานพระบรมราชาภิเษกเล่ือนไปมีในเดือน ๖ แต่ว่าได้บอกเชิญชาวต่างประเทศแล้วให้เข้าไปในงานพิธีซึ่งมีเนื่องในงานน้ัน เพราะฉะน้ีท่านคงจะได้รับรายงาน ละเอยี ดในวนั ตอ่ ไปข้างหนา้ ขา้ ราชการมีศักดส์ิ งู หลายคน ซง่ึ ถกู จับไปขงั ไว้หลายปีแลว้ นนั้ บดั นี้โปรดเกลา้ ฯ ใหค้ ืน เข้าตำ� แหนง่ เดมิ หรือตำ� แหนง่ เสมอกัน อนึ่ง มีกล่าวกันว่า ได้น�ำเร่ืองคิดเลิกการพนันมาปรึกษากันในที่ประชุม และเจ้าพระยาพระคลัง (สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์) มีความเห็นสนับสนุนอย่างแข็งแรงว่าให้เลิก การเปล่ียนแปลงต่างๆ น้ันจะ ทำ� ใหด้ ขี ้นึ หรือเลวลงกต็ ามแต่คงจะมเี ปลย่ี นอยา่ งกวา้ งขวาง ผู้มีความจรงิ ต่อท่าน (เซ็น) ยอน เทเลอ โยนส์๓๙ นอกจากหนังสอื ของเจ้าเมืองสิงคโปร์ และหนังสือของนายยอน เทเลอ โยนส์ ดังข้างต้นแลว้ นั้น ยังมขี ่าว ในหนังสือพิมพ์สิงคโปรอ์ กี มีใจความว่า “เรอื ใบไทยชอื่ แอเรยี ล ซงึ่ มาถึงเม่ือวันที่ ๓๐ เดือนก่อน ได้นำ� ขอ้ ความละเอียดมาใหท้ ราบเร่ืองพระเจา้ แผน่ ดนิ สยามเสดจ็ สวรรคตเมอื่ พระชนมายไุ ด้ ๖๓ ปี ขา่ วนนั้ ไดท้ ราบมาถงึ เมอื งนก้ี อ่ นแลว้ พระเจา้ แผน่ ดนิ ผสู้ วรรคต นัน้ เป็นพระราชโอรสนอกวิวาหะ (พระราชชนนมี ิใช่พระมเหษี) ของพระเจ้าแผน่ ดนิ พระองค์กอ่ นขึ้นไปแตโ่ ดยเหตุท่ี พระชนมพรรษาแกก่ ว่าพระราชโอรสในวิวาหะ ๒ พระองค์ (เปน็ พระราชโอรสเกิดแตพ่ ระมเหษี) และโดยเหตทุ ีเ่ คย ๓๙ เรื่องเดียวกัน, ๑๑๘ – ๑๒๒.
เม่ือตะวันออกพบตะวันตก : 101 พิพธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วังหน้า ทรงชำ� นาญราชการแผน่ ดนิ มามาก จงึ สามารถทรงดำ� เนนิ การใหพ้ ระองคเ์ องไดข้ นึ้ ครองราชยส์ มบตั เิ มอ่ื ครสิ ตศ์ กั ราช ๑๘๒๔ (พุทธศกั ราช ๒๓๖๗) เมือ่ สมเด็จพระชนกนาถเสดจ็ สวรรคต ในบดั นี้เจา้ ชายพระองคใ์ หญใ่ น ๒ พระองคซ์ ง่ึ กลา่ วมาขา้ งต้น คอื ท.ญ. เจา้ ฟ้ามงกฎุ ได้ทรงรับยกขน้ึ ครองราชสมบตั ิ เมื่อสมเด็จพระชนกนาถเสด็จสวรรคตแล้ว เจ้าชายพระองค์น้ีก็ออกทรงพระผนวช (ความจริงพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระผนวชอยู่ก่อน พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั รัชกาลที่ ๒ สวรรคตแลว้ ) และตัง้ แตน่ น้ั มาก็สนพระทัยในการศึกษาศาสนา และวชิ า หนงั สอื อนั เปน็ ความรู้ ๒ แผนก ซงึ่ ทรงไดร้ บั การยกยอ่ งความรใู้ นภาษาบาลี คอื ภาษาซง่ึ นบั ถอื ในศาสนานนั้ พระองค์ ทรงทราบลกึ ซง้ึ ทง้ั ไดท้ รงศกึ ษาภาษาตา่ งประเทศหลายภาษาจนสำ� เรจ็ ภาษาเหลา่ นนั้ มภี าษาลาตนิ และภาษาองั กฤษ เป็นต้น ภาษาท่ีออกชอื่ ขา้ งท้ายน้นั ตรสั และทรงเขยี นไดอ้ ย่างคล่อง พระราชอนุชาของพระเจ้าแผ่นดินคือ เจ้าชาย ท. หม่อมฟ้าน้อย (คือพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า เจา้ อยู่หวั ) ได้ทรงรับยกขนึ้ เปน็ วงั หนา้ คอื พระเจ้าแผน่ ดนิ รอง เจ้าชายพระองค์นี้ก็เป็นผ้มู ีปญั ญาสว่างมากและ ทรงคนุ้ กบั ภาษาของเราเปน็ อยา่ งดี มสิ เตอร์ โรเบติ ส์ ครง้ั เปน็ ทตู เขา้ ไปในประเทศสยามเมอื่ ครสิ ตศ์ กั ราช ๑๘๓๓ (พุทธศักราช ๒๓๗๖) ได้กล่าวถึงพระองค์ไว้ดังน้ี “มีพระนิสัยโปรดการสนุกเฮฮาประกอบกับความสามารถ เปน็ อันมาก ทรงเป็นเพ่ือนกบั วชิ าเครื่องกลและวทิ ยาศาสตรแ์ ละมพี ระทัยไมตรกี บั ชาวตา่ งประเทศเชน่ เดียวกบั พระเชษฐา” ในยโุ รปไดต้ ั้งตาคอยมาแลว้ อยากใหเ้ จ้าชายท้ังสองน้ีขน้ึ ทรงอ�ำนาจในประเทศสยาม เพราะจะเปน็ ทค่ี วร หมายได้ว่าบ้านเมืองจะเร่ิมเข้าสู่สมัยใหม่อันรุ่งเรืองกว่าแต่ก่อน เจ้าชายทั้งสองพระองค์น้ีได้เตรียมพระองค์มานาน แล้วเพ่ือให้สมแก่ฐานะสูงท่ีทรงรับอยู่ในเวลาน้ีคือทรงศึกษา และทรงติดต่อกับชาวยุโรปและชาวอเมริกันผู้มีปัญญา ซึ่งเข้าไปในเมืองของพระองค์ ในเร่ืองการค้าขายกับคนต่างประเทศนั้น พระเจ้าแผ่นดินทรงมีความเห็นกว้างขวาง กอบด้วยปัญญาสว่าง และเราควรหวังได้ว่าความเห็นน้ันๆ คงจะได้ทรงปฏิบัติตามโดยประการซึ่งท�ำให้การค้าขาย ตา่ งประเทศได้รบั การอดุ หนนุ และขยายใหก้ วา้ งขวางออกไป แตก่ ารบำ� รุงอุตสาหกรรม และทรัพยใ์ นพ้นื เมืองอันถูก กีดขวางจนดำ� เนินไปไม่ได้เลยในปีที่แล้วๆ มานี้ ก็คงจะทรงจัดใหเ้ จริญไปในเวลาเดยี วกนั ด้วย การทเ่ี ชอร์ เยมส์ บรกุ๊ ไดเ้ ขา้ ไปเมอื งไทยเมอ่ื เรว็ ๆ น้ี และการทท่ี า่ นผนู้ นั้ ไดม้ คี วามตดิ ตอ่ กบั พระเจา้ แผน่ ดนิ ปจั จบุ นั และพวกเสนาบดนี นั้ เรา ควรอา้ งไดบ้ า้ ง วา่ เปน็ เหตใุ หป้ ลงใจกนั โดยเรว็ วา่ จะจดั การเปลย่ี นแปลงอยา่ งสำ� คญั ๆ ในเรอื่ งราชการภายในบา้ นเมอื ง กบั ทงั้ การเกยี่ วกนั กบั ชาตติ า่ งประเทศดว้ ย ทง้ั นเี้ พราะราชการใหมๆ่ หลายอยา่ ง ซงึ่ มขี า่ ววา่ จะจดั เปลยี่ นแปลงนนั้ มี แนะน�ำไว้ในหนังสอื ซงึ่ เซอร์ เยมส์ บร๊กุ ไดเ้ สนอต่อรฐั บาลสยามแลว้ พระเจ้าแผน่ ดนิ พระองคใ์ หม่เปน็ ผ้มู ีความคดิ ความเห็นกวา้ ง ทรงเห็นไกลวา่ ชาวประเทศเดียวกบั พระองคท์ ่วั ๆ ไป แตถ่ า้ มิได้ทรงตดิ ต่อกบั ทูตองั กฤษเมอ่ื เรว็ ๆ น้ี พระด�ำริอันเด็ดขาดและแจ่มแจ้งว่าส่ิงใดบ้างจะต้องจัดเพ่ือประโยชน์อันดีย่ิงของบ้านเมืองนั้น บางทีจะยังไม่ตกลง พระทยั ไดโ้ ดยเรว็ การทค่ี วามเหน็ ของเซอร์ เยมส์ บรกุ๊ ส ในเรอ่ื งราชการเมอื งไทยเปน็ ทพี่ อใจและไดร้ บั ความเหน็ ชอบ จากพระเจา้ แผน่ ดนิ เดย๋ี วน้ี และพวกเสนาบดนี นั้ มพี ยานใหเ้ หน็ ไดโ้ ดยขอ้ ทก่ี ลา่ วกนั วา่ ในราชสำ� นกั ไทยอยากใหเ้ ซอร์ เจมส์ กลบั มากรุงเทพฯ อีกคร้ังหนึ่งโดยเร็วที่สดุ ท่ีจะมาได้ ข่าวท้ังสิ้นท่ีได้รับจากประเทศสยามโดยโอกาสน้ีกล่าวเป็นเสียงเดียวกันในการบรรยายว่า ท่วงทีของการ ทัง้ หลายจะเป็นไปในทางดี จดหมายฉบับหนึ่งซ่ึงเราไดอ้ า่ นมคี วามวา่ “เราคิดว่าพระเจ้าแผน่ ดินปัจจุบนั จะจัดการใน บ้านเมืองใหด้ ขี ้ึนมาก คงจะมีพระทัยเอ้อื เฟือ้ แกช่ าวตา่ งประเทศและการค้าขาย คงจะทรงบ�ำรุงการเพาะปลกู และ เปล่ียนแปลงราชการในรัฐบาลเป็นอย่างดี ประชาชนในประเทศสยามต่างยินดีต่อพระเจ้าแผ่นดินและรัฐบาลอันมี แนวความคดิ กว้างขวางของพระองค”์
102 เม่อื ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พพิ ิธสมบตั พิ ระราชา ณ วังหน้า พระเจ้าแผ่นดินได้พระราชทานอนุญาตแก่มิชชันนารีฝรั่งเศสผู้ต้องออกไปจากประเทศสยามนานแล้วให้ กลับมา เหตุฉะนั้นการให้อภัยแก่ศาสนาอื่นคงจะเป็นคุณธรรมอันหน่ึงของพระองค์ เมื่อร�ำลึกว่าพระเจ้าแผ่นดิน พระองค์น้ีเคยทรงสมณศักด์ิสูง ก็น่านึกว่าคงจะทรงแลดูผู้ถือศาสนาอื่น และผู้สอนศาสนาอ่ืนด้วยความไม่พอ พระราชหฤทัยหรืออย่างนอ้ ยก็ดว้ ยความสงสัย ที่ไม่เป็นเช่นนนั้ จงึ เปน็ เครอ่ื งน่าปลม้ื ใจยงิ่ ขึ้น การบรมราชาภเิ ษกของพระเจา้ แผน่ ดนิ นน้ั ไดท้ ำ� เมอื่ วนั ท่ี ๑๕ พฤษภาคมทแ่ี ลว้ มา มกี ารฉลองอยา่ งโอฬารกึ และไดม้ แี หด่ งั ทเ่ี คยมแี ละพระเจา้ แผน่ ดนิ ทรงแจกเงนิ ตราทำ� ดว้ ยทองคำ� และเงนิ ซงึ่ ทำ� ขน้ึ สำ� หรบั งาน ชาวยโุ รปไดร้ บั เชญิ ไปในงานพิธีนั้น และได้รับความตอ้ นรบั อยา่ งออ่ นโยน ท้งั ไดร้ ับเล้ียงอาหารเยน็ ตามแบบยโุ รป ภายหลังได้มขี อง แจกแก่ทกุ ๆ คนทีร่ ับพระราชทานเล้ยี ง ของแจกนน้ั คอื ดอกไมท้ องและเงนิ (เหน็ จะเป็นดอกพิกุลทองและเงนิ ) กับ เงนิ ตราท�ำดว้ ยทองคำ� และเงนิ ในรัชกาลใหม่ ในเรว็ ๆ นจี้ ะมีกำ� ปนั่ ออกมาสงิ คโปร์อีก ๒ ลำ� เราจึงหวังว่าจะได้รับขา่ วละเอยี ดย่ิงข้ึนจากประเทศสยาม อนง่ึ ทราบว่าไดจ้ ัดเตรียมเรืออกี ๒ ล�ำเพือ่ จะพาขา่ วไปเมอื งจีนให้ทราบวา่ พระเจ้าแผน่ ดินพระองค์ปจั จบุ นั ได้เสด็จ ขน้ึ เถลิงพระราชบลั ลงั ก์ในประเทศสยาม”๔๐ ชาวต่างประเทศที่เคยพ�ำนักอยู่ในประเทศไทยหรือติดต่อกับประเทศไทยต่างรู้สึกยินดีเป็นอย่างมากท่ี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็น รัชกาลที่ ๔ ในครง้ั น้ัน เพราะทง้ั สองพระองคท์ รงคนุ้ เคยกบั ชาวตา่ งประเทศท้ังหลายเหล่าน้นั มาก่อน อกี ทงั้ ยงั เป็น เหตอุ นั หนง่ึ ทท่ี ำ� ให้ไทยรอดจากการเป็นเมืองขน้ึ ของฝรง่ั อย่างประเทศอ่นื ๆ ในเอเชีย ในรชั กาลท่ี ๔ น้ี นบั เปน็ ชว่ งสมยั ของการเจรญิ พระราชไมตรกี บั ชาวตะวนั ตก ไดม้ คี ณะทตู จากตา่ งประเทศ จ�ำนวนมากเข้ามาผูกมิตรไมตรี อาทิ อังกฤษ อเมริกา ฝรั่งเศส เดนมาร์ก เยอรมัน ฮอลันดา ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงจัดการต้อนรับทูตต่างประเทศเป็นอย่างดีตามแบบแผนเมื่อคร้ังสมเด็จพระนารายณ์ มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา นอกจากน้ีพระองค์ทรงส่งพระราชสาส์นไปเจริญพระราชไมตรี ณ ต่างประเทศเช่นกัน พระองค์ทรงเขียนพระราชสาส์นด้วยพระราชหัตถเลขาพระองค์เองเป็นภาษาอังกฤษ นับเป็นพระมหากษัตริย์ พระองคแ์ รกในภมู ภิ าคโลกตะวนั ออกทท่ี รงพระปรชี าสามารถดา้ นภาษาองั กฤษและทรงเขยี นพระราชสาสน์ เปน็ ภาษา อังกฤษ พระราชสาสน์ ดังกล่าวนี้ไดม้ ถี ึงสมเด็จพระนางเจ้าวกิ ตอเรยี พระเจ้าแผ่นดนิ แหง่ เกรตบรเิ ตน และดว้ ยเหตทุ ี่ ประเทศสยามในรชั กาลท่ี ๔ นน้ั มีพระมหากษตั รยิ ์สองพระองค์ ดังน้นั ในการแสดงออกตอ่ นานาประเทศก็ย่อมต้อง แสดงออกในพระนามพระเจ้าแผ่นดินท้ังสองพระองค์ ทูตานุทูตต่างประเทศท่ีเข้ามาเจริญพระราชไมตรีในรัชกาล ท่ี ๔ จึงต้องเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระเจ้าแผ่นดินใหญ่ท่ี ๑ และ พระบาทสมเดจ็ พระปนิ่ เกลา้ เจา้ อยู่หัว พระเจ้าแผ่นดินรองหรอื พระเจา้ แผ่นดนิ ท่ี ๒ รวมถึงเคร่ืองราชบรรณาการท่ี ตา่ งประเทศจดั มาถวายกต็ อ้ งจดั ถวายสำ� หรบั ทงั้ สองพระองคด์ ว้ ย เชน่ เครอ่ื งราชบรรณาการทป่ี ระเทศองั กฤษจดั สง่ มากรงุ สยามคร้ังน้ัน ก็จัดถวายสำ� หรบั ทัง้ วงั หลวงและวังหน้า เฉกเช่นเดยี วกัน หากประเทศสยามจะสง่ เครื่องมงคล ราชบรรณาการไปถวายพระราชาธิบดีหรือประธานาธิบดีต่างประเทศ ก็ต้องเป็นเคร่ืองราชบรรณาการจากในส่วน ของวังหลวงในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเครื่องราชบรรณาการในส่วนของวังหน้าในพระบาท สมเด็จพระปน่ิ เกล้าเจ้าอยูห่ ัวร่วมไปดว้ ยกนั ๔๐ เร่ืองเดยี วกนั , ๑๒๓ – ๑๒๖.
เมื่อตะวนั ออกพบตะวนั ตก : 103 พพิ ธิ สมบตั ิพระราชา ณ วังหน้า ลูกโลกจ�ำลองสภาพภูมปิ ระเทศและแผนท่ีดาวนพเคราะห์ และรถไฟจ�ำลอง เป็นเครอ่ื งราชบรรณาการจากสมเดจ็ พระนางเจา้ วกิ ตอเรยี แห่งประเทศอังกฤษ ส่งมาถวายแด่พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว จัดแสดง ณ พระทน่ี ง่ั ศวิ โมกขพิมาน พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรงุ เทพฯ
104 เม่อื ตะวันออกพบตะวันตก : พพิ ธิ สมบตั ิพระราชา ณ วังหนา้ เซอร์จอห์น เบาวร์ ่ิง (Sir John Bowring) อัครราชทูตผอู้ ญั เชญิ พระราชสาส์นของสมเด็จพระนางเจา้ วกิ ตอเรียแห่งประเทศองั กฤษ มาเจรจาท�ำสนธิสญั ญาทางไมตรีกับไทยเมอื่ พทุ ธศักราช ๒๓๙๘ ขณะนัน้ ด�ำรงต�ำแหนง่ ข้าหลวงองั กฤษท่ฮี อ่ งกง ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๓๙๘ (คริสต์ศักราช ๑๘๕๕) องั กฤษสง่ ราชทตู เขา้ มาอีกครง้ั โดยมเี ซอร์จอห์น เบาว์ริ่ง เป็นราชทูต เบาว์ร่ิงได้บันทึกไว้ว่า “ดูมีคนไทยพูดอังกฤษได้หลายคนจนกระท่ังข้าราชการผู้น้อย ซึ่งน�ำสาส์นมาให้ เบาว์ริ่ง” และเบาว์ริ่งเล่าว่าได้ยินข่าวว่า “พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ ทรงเคยอ่านหนังสือภาษาอังกฤษของ เซอรว์ อลเตอร์ สกอตต์ (Sir Walter Scott) นกั เขยี นนวนยิ ายชน้ั เอกขององั กฤษในยคุ นนั้ จนเอาชอ่ื หนงั สอื เลม่ นน้ั พระราชทานเปน็ นามเรอื ” นอกจากนี้ เซอรจ์ อหน์ เบาวร์ ง่ิ ไดเ้ ฝา้ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั อยา่ งใกลช้ ดิ และไดบ้ นั ทกึ ไวว้ า่ “พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงเปน็ ผสู้ มำ�่ เสมอ สงบเงยี บและนา่ รกั อาจจะเปน็ เพราะ ทรงระมัดระวังและทรงมีนโยบาย จึงไม่ค่อยจะทรงเกี่ยวข้องในราชการ” และในห้องที่ประทับของพระองค์ เบาว์ร่งิ กลา่ ววา่ “ถา้ จะดเู ครอ่ื งเรอื นและของตกแตง่ อยา่ งอนื่ ๆ ก็จะร้สู กึ เหมอื นกับวา่ เป็นบ้านของคนองั กฤษ”๔๑ จากหนงั สอื เร่อื ง เซอร์ยอนโบวร์ งิ เขา้ มาเมืองไทย แปลแตง่ โดย นายเพ่ง พ.ป. บนุ นาค ได้กลา่ วถึง “วนั ที่ ๒๗ มนี าคม (พุทธศกั ราช ๒๓๙๘) ...ในเรือลำ� ท่ีสองน้ีได้มคี นไทยอ์ ย่างเฉยี บแหลมออกมาดว้ ยคนหน่งึ ซ่ึงเรียกชือ่ กนั ว่ากับตนั ดิ้ก และว่ามาแตว่ ังนา่ ซง่ึ เปนกับตนั บังคบั การเรอื ล�ำหน่งึ ของวังน่า...ได้บอกว่าวงั นา่ ได้ทรงสอนใหพ้ ูดภาษา องั กฤษ และพดู ยกยอเราว่าเมืองไทยค์ งจะไดต้ ดิ ตอ่ กับองั กฤษสนทิ สนมกนั เขา้ สกั วนั หนงึ่ ...และว่าวงั นา่ ไดท้ รงมสี มุด เครอ่ื งหมาย (มารแ์ ย๊ตโคด๊ สิคแนลสำ� หรับเรือค้าขาย) และอยากจะได้สมุดสิคแนลของกระทรวงทหารเรอื องั กฤษจะ ไดห้ รือไม่ และทง้ั ขอดเู คร่อื งจักรของเราดว้ ย...”๔๒ ๔๑ พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ จลุ จกั รพงษ์, เจา้ ชีวติ พงศาวดาร ๙ รชั กาลแหง่ ราชวงศจ์ กั ร,ี (กรุงเทพฯ : บริษัท สำ� นกั พิมพ์ รเิ วอร์ บ๊คุ ส์ จ�ำกดั , ๒๕๕๔), ๑๙๕, ๑๙๗. ๔๒ นายเพง่ พ.ป. บนุ นาค, เซอรบ์ อนโบวร์ งิ เขา้ เมอื งไทย, พมิ พเ์ ปน็ อนสุ รณใ์ นงานพระราชทานเพลงิ ศพ หมอ่ มนมุ่ วฒั นวงศ์ ณ อยธุ ยา ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนมรุพงศศ์ ิริพฒั น์, (กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชวนพิมพ์, ๒๕๐๙), ๗-๘.
เมอื่ ตะวนั ออกพบตะวันตก : 105 พพิ ิธสมบัติพระราชา ณ วังหนา้ วนั ท่ี ๑๖ เมษายน พทุ ธศักราช ๒๓๙๘ เซอร์จอหน์ เบาวร์ งิ่ ไดเ้ ขา้ เฝ้าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวอย่างเป็นทางการ ซึ่งพระองค์ทรงมีพระราชด�ำรัสโต้ตอบกับเซอร์จอห์น เบาว์ริ่ง “...ได้มีรับสั่งถามว่าการท�ำ หนงั สอื สญั ญาไดแ้ ลว้ เสรจ็ ทกุ อยา่ งหรอื มพี ระราชประสงคจ์ ะไดเ้ หน็ หนงั สอื สญั ญาเพอื่ จะไดว้ นิ จิ ฉยั ดว้ ยพระองคเ์ อง แลจะไดป้ รึกษาหารอื โตเ้ ถยี งเร่ืองข้อสัญญากับวังน่า...”๔๓ วนั ท่ี ๑๗ เมษายน พทุ ธศกั ราช ๒๓๙๘ เซอรจ์ อหน์ เบาวร์ ง่ิ ไดเ้ ขา้ เฝา้ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั และไดบ้ ันทกึ สภาพแวดล้อม เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ท่ีไว้เข้าเฝา้ วงั หนา้ และการต้อนรับของวังหนา้ ดังความในบันทกึ ว่า “วนั นี้ไดไ้ ปสนทนากับวงั น่า การทจี่ ัดรับกโ็ ออ่ ่าเกอื บเหมอื นกันกบั วงั หลวง ที่จดั รบั พธิ ีแขกเมอื งเมื่อวานน้ี แตว่ า่ เปน็ การทไี่ ดป้ ระสบสคู่ วามเจรญิ ในยคุ ใหมย่ ง่ิ กวา่ กนั และแสดงใหเ้ หน็ วา่ มคี วามรดู้ กี วา่ ในทำ� เนยี มฝรง่ั ในเวลาท่ี เราขน้ึ ทา่ เรอื มนี ายทหารและกองทหารมาคอยรบั ไมม่ แี ครม่ าคอยหามเอาเราไป และใชร้ ถมา้ คอยรบั แทนแครห่ ลาย คนั เราไดข้ น้ึ รถเขา้ ไปในวงั ผา่ นแถวทหารทยี่ นื รายสองขา้ งทางยาวกวา่ สบิ เสน้ แตท่ หารเหลา่ นนั้ โดยมากแตง่ ตวั อยา่ ง ประหลาด และถืออาวธุ ตา่ ง ๆ มีธนู หน้าไม้ งา้ ว ทวน และโลด่ ั้งรูปแปลกต่างกนั ต่อไปก็ถงึ แถวทหารตงั้ แถวยืนราย ยาวประมาณเทา่ กนั และเหน็ ชดั ไดว้ า่ ทหารพวกน้ี ไดร้ บั ความฝกึ หดั ดว้ ยครทู หารฝรง่ั และตอ่ มากถ็ งึ แถวชา้ ง แตง่ ตวั ด้วยเคร่ืองรบสำ� หรับศึกมีคนขี่ประจ�ำทกุ ตัว แล้วถึงกองทหารปนื ใหญ่ แต่งตวั คล้ายกับทหารปืนใหญอ่ ังกฤษ ซงึ่ เหน็ ชดั ไดว้ า่ ไดร้ บั ความฝกึ หดั อยใู่ นยทุ ธวนิ ยั อนั ดี เราไดเ้ หน็ มา้ หลายตวั ผกู เครอ่ื งอานอยา่ งมรี าคาและแตง่ ทศ่ี รี ษะและนา่ อกม้าอยา่ งสวยงาม มา้ ตวั หน่ึงเปนมา้ พระทนี่ ั่งตัวโปรดของวงั น่า มา้ เหลา่ นีเ้ ล้ียงดูอว้ นพงี ามดที กุ ตัว แลว้ เราจงึ ไดไ้ ป ถึงทพ่ี กั ขุนนางซึง่ อยู่รมิ กำ� แพงพระราชวงั ช้ันใน เจา้ พนักงานไดเ้ อาบู้หร่แี ละกาแฟมาเลย้ี ง แลว้ เจ้าพนักงานก็มาเชิญ เราเขา้ ไปยังทอ้ งพระโรง แลว้ ไดย้ ินเสยี งกลองตขี น้ึ (เข้าใจวา่ มหรทึก) พวกขนุ นางท่ีเขา้ ไปก่อนเรา กล็ งหมอบคลาน เขา้ ไปในทอ้ งพระโรง แตข่ ้าพเจา้ กับพวกทีไ่ ปด้วยน้นั เดนิ ตรงเขา้ ไปท่ีกลางท้องพระโรง แต่งตัวเตม็ ยศและสพายดาบ ด้วยกันทุกคน เข้าไปยืนอยู่ในกลางหมู่พวกขุนนางท่ีหมอบราบอยู่น้ันท่ีน่าพระที่น่ังได้มีเบาะวางอยู่ส�ำหรับพวกเรา นงั่ เมื่อพวกเราเข้าไปถงึ น่าพระท่ีน่ังและไดพ้ ากันกม้ ศีรษะลงถวายค�ำนบั สามคร้ัง แล้วกพ็ ากันเข้าไปน่ังท่ีบนเบาะซง่ึ วางอยู่กับพื้น ได้มีเจ้าพนักงานผู้ใหญ่ทูลเบิกข้าพเจ้าด้วยเสียงอันดัง แล้วข้าพเจ้าก็อ่านสุนทรพจน์ถวายวังน่ากล่าว ความเคารพนับถือ และกราบทูลถึงการท่ีท�ำหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรี ซ่ึงได้เปนท่ีตกลงท�ำกันแล้ว ท้ังกล่าว ถงึ ความหวังใจท่เี ช่ือว่าได้กระทำ� ความดีตอ่ กนั ระหวา่ งประเทศสยาม และบา้ นเมืองของขา้ พเจ้าแลชาติศาสนา ได้มี รบั สั่งถามหลายอยา่ งถึงพระนางราชินแี ละเจา้ นายในราชวงษ์อังกฤษ โดยทที่ รงถามถงึ ว่าพระชนนษา พระนางราชนิ ี เท่าไร มพี ระราชบุตรก่ีพระองคแ์ ล้ว และไดเ้ สด็จไปยงั กรงุ ปารสี พบกบั พระเจ้าหลุยส์นะโปเลยี นหรือเปล่า แล้วทรง รับส่ังถามถงึ ชอ่ื และตำ� แหนง่ น่าที่ผทู้ ี่เข้าไปเฝา้ กับขา้ พเจา้ ดว้ ยทุกคน ทรงถามถงึ ความสุขส�ำราญของพวกกลาสีทม่ี า ด้วยในเรือกับข้าพเจ้า และรับส่ังว่าเม่ือเรืออเมริกันเข้ามา พวกกลาสีเจ็บป่วยกันมาก เม่ือเรากราบทูลตอบอย่างไร ได้มีเสมียนคอยจดถ้อยค�ำท่ีกราบทูลนั้น มีรับสั่งว่าข้าพเจ้าแก่แล้วยังทนความเหน็จเหนื่อย และทนอากาศน่าระดู รอ้ นได้ดี และคงจะเปนทเี่ พยี งพอใจในการรบั รองในคร้ังนี้ กับมีรบั สั่งวา่ ยังไม่ได้ทรงเหน็ หนังสือสญั ญาท่ีไดท้ �ำกันนนั้ ข้าพเจ้าเต็มใจในข้อสัญญาเหล่าน้ันทั้งหมดหรือ และเรือไฟจะกลับออกไปเม่ือไร ข้าพเจ้ากราบทูลว่า แต่พอลงช่ือ หนงั สอื สญั ญากนั แลว้ เรอื กลไฟกจ็ ะไดถ้ อยลอ่ งลงไปโดยทนั ที มรี บั สง่ั ถามวา่ ขา้ พเจา้ จะอยตู่ อ่ ไปอกี สกั เทา่ ไร ขา้ พเจา้ กราบทูลว่าอีกสัก ๒ – ๓ เวลา ด้วยข้าพเจ้ามีการที่จะต้องท�ำที่เมืองจีนอยู่มาก วังน่าไม่ได้ทรงแต่งพระองค์สรวม พระมาลาเหมือนพระเจ้าแผ่นดนิ และฉลองพระองค์ที่ทรงน้ัน กไ็ มส่ วยงามเสมอเหมอื นกัน ไดป้ ระทานพระโอสถกับ ๔๓ เรื่องเดียวกนั , ๗๔.
106 เมือ่ ตะวันออกพบตะวนั ตก : พิพธิ สมบตั ิพระราชา ณ วังหน้า พระสุธารสเครื่องต้นมาให้พวกเราสูบและดื่ม หีบพระโอสถน้ันท�ำด้วยทองค�ำฝังลายลงยาด้วยฝีมือช่างอย่างงามนัก แต่พอเสด็จขึ้นก็ปิดม่าน ดนตรีก็ประโคมข้ึนในทันใดนั้น เราได้หยุดพักอยู่อีกสักประเดี๋ยวหน่ึงคอยรอท่ีจะได้ค�ำนับ กับคนที่รู้จักกันกับเรา แต่คนเหล่าน้ันไม่ได้ลุกข้ึนยืน จนกว่าที่เราได้ออกไปพ้นจากท้องพระโรง เจ้าพนักงานได้พา เราไปยังที่อีกแห่งหนึ่ง ซ่ึงเปนท่ีวังน่าส�ำหรับทรงรับพรพวกพระสงฆ์ ในท่ีนี้ได้จัดโต๊ะส�ำหรับเล้ียงอาหารกลางวันไว้ พร้อมเสรจ็ อยา่ งโตะ๊ เลย้ี งอาหารฝรงั่ ของทตี่ ั้งบนโตะ๊ มีแต่ผลไม้และแชอ่ ่มิ เท่านั้นท่เี ปนของไทย์ นอกจากนั้นขนมปัง ย่างอเมรกิ ัน กับเข้าฝรั่ง พอ่ ครวั ทีท่ ำ� ก�ำเข้านน้ั ถ้าไมใ่ ชค่ นฝร่งั แล้วกค็ งเปนคนหนงึ่ ที่เรียนท�ำกำ� เข้ามาแตฝ่ ร่งั ไดย้ ิน ขา่ ววา่ การทำ� อาหารนน้ั ทรงเอาเปนพระธรุ ะและตรวจตราโดยเลอยี ดยงิ่ กวา่ สง่ิ ทง้ั หลายหมดทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งไดท้ ำ� ดว้ ย ความสะอาด และจดั ท�ำเลยี้ งดอู ย่างสบาย เวลารับประทานอาหารได้มลี กู เธอพระองค์หนึง่ มาประทบั อยดู่ ว้ ย แตไ่ ม่ เสวย การเลี้ยงมคี นคอยรับใชค้ วักไขวม่ ากตามเคย”๔๔ วนั ที่ ๑๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๙๘ เซอร์จอหน์ เบาว์รง่ิ ไดไ้ ปลงช่ือในหนงั สือสัญญากนั ทบี่ า้ นสมเดจ็ หลงั จากทล่ี งชอื่ และประทบั ตรากนั เสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ กม็ กี ารชกั ธงเครอื่ งหมายบนเสาธงสมเดจ็ ใหเ้ รอื กลไฟแรต็ เตอร์ ทราบ มกี ารยิงปนื สลตุ ย่ีสิบเอด็ นดั ทั้งที่เรือกลไฟและที่ปอ้ ม ในเวลาคำ�่ ของวนั นั้น เซอรจ์ อห์น เบาวร์ ิ่ง ไดไ้ ปเขา้ เฝ้า พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกล้าทีใ่ นวงั หน้า และได้บนั ทึกวา่ “วงั นา่ เปนคนมีปญั ญาความคิด ฉลาดและเงียบขรึม และออ่ นโยนดี จากปญั ญาความคดิ ท่ฉี ลาดจงึ ไม่คอ่ ย จะทรงเก่ียวข้องกับทางราชการ ตั้งแต่ท่าน้�ำท่ีเราเดินข้ึนไปจนถึงพระราชวัง ได้ปูเสื่อลาดตลอดทาง ห้องที่ประทับ เหมาะดแี ละตกแตง่ เขา้ ทดี ี เวน้ แตท่ ช่ี กั พดั แขวนสงู เกนิ ไปจนตดิ เพดานสงู เทา่ นนั้ ถา้ ไมฉ่ นน้ั แลว้ การทใี่ ชเ้ ครอ่ื งตกแตง่ เกอื บจะทำ� ใหเ้ ชอื่ วา่ เขา้ ไปอยใู่ นบา้ นผดู้ ีฝร่ัง ทรงรับสง่ั สนทนาดว้ ยภาษาองั กฤษไดด้ เี ปนทไ่ี พเราะพอฟงั ได้ ซึ่งเหน็ ได้วา่ เปนผูท้ ่ีไดเ้ ล่าเรียนเพาะปลูกความรดู้ ว้ ยอยา่ งดี และทั้งมีห้องสมดุ หนงั สืออังกฤษทเี่ ลือกคดั ดว้ ยอยา่ งดแี ละมาก กบั มเี ครือ่ งมือต่าง ๆ สำ� หรบั ใช้ท�ำเครื่องจกั รก์ ล เทา่ กับพิพธิ ภัณฑอ์ นั หนึ่ง กับตวั อยา่ งวชิ าชา่ งหลายอยา่ งท่ไี ด้เจริญ ดีขึ้นในสมัยปัจจุบัน โดยมีตัวอย่างเรือกลไฟขนาดย่อมและตัวอย่างเครื่องอาวุธต่าง ๆ ได้มีพิณพาทเล่นตลอดเวลา ในคืนวันน้ัน ข้าพเจ้าชอบเครื่องดนตรีอย่างหนึ่งที่ท�ำด้วยผิวไม้ ใช้ตีบนผิวไม้ฟังเพราะดีเรียงกันเปนแผ่นต่อกันยาว ประมาณสกั ๗ ฟติ ส์ ไดท้ รงลองเลน่ ใหด้ ดู ว้ ยพระองคเ์ อง และประทานให้ขา้ พเจ้ารจู้ ักลกู เธอตัวโปรดทีเ่ รียกว่า เปยี (Pia) ไดเ้ ฝ้าอย่ดู ว้ ย และวา่ มลี ูกเธออยู่ในราวยสี่ บิ คน องค์ใหญ่ชือ่ หยอ๊ ช เปนผดู้ ีหนมุ่ ที่ฉลาดอายุไดส้ บิ แปดปี เราได้ เหน็ จอมมารดาเปยี มาแอบยนื ดอู ยทู่ ปี่ ระตู เปยี แตง่ ตวั ดว้ ยเครอื่ งทองและเพชรมาก แตเ่ มอ่ื เขา้ มาใกลก้ ระทำ� ใหเ้ สอื้ ผา้ เราเป้ือนเหลอื งด้วยขมน้ิ วังนา่ มรี บั สง่ั ว่า เรือกำ� ปัน่ สรา้ งท�ำขึ้นไดใ้ นประเทศสยามอยู่ในราคาตนั ละสบิ ปอนด์องั กฤษ เวลาน้กี �ำลงั ต่อก�ำป่นั ใบ น้�ำหนักเจ็ดร้อยตนั ส�ำหรบั ท�ำการค้าขายกบั เมอื งจีน เมอ่ื ปีกลายน้มี ีก�ำไรงามดี เพราะพวก เรอื สำ� เภาแลน่ ไปมาไมค่ อ่ ยจะได้ ดว้ ยถกู พวกโจรสลดั คอยตปี ลน้ วงั นา่ มพี ระราชประสงคจ์ ะสง่ ของไปถวายพระราชนิ ี องั กฤษ แต่อยากจะทรงทราบเสียกอ่ นวา่ พระเจา้ แผ่นดนิ จะส่งอะไรไปถวาย ขา้ พเจ้ากราบทูลวา่ ของท่จี ะสง่ ออกไป ถวายนน้ั ไมต่ ้องเปนของที่มีราคาใหม้ ากนัก เป็นแตข่ องเครือ่ งระลกึ ออกไปจากประเทสสยามแต่เพียงสักเล็กนอ้ ยก็ พอทพี่ ระราชินจี ะทรงโปรดรับรองยิ่งกว่าของที่มีคา่ ”๔๕ ๔๔ เรือ่ งเดียวกนั , ๗๖-๗๙. ๔๕ เรอ่ื งเดยี วกัน, ๘๖-๘๗.
เมอื่ ตะวันออกพบตะวันตก : 107 พพิ ธิ สมบัติพระราชา ณ วงั หนา้ พระราชหตั ถเลขาของพระบาทสมเด็จพระปิน่ เกล้าเจ้าอยหู่ วั ถึงเซอร์จอห์น เบาวร์ ่ิง ลักษณะการออกพระนามหรือการลงพระนามของพระมหากษัตริย์ไทยทั้งสองพระองค์ดังกล่าวข้างต้นน้ี รวมไปถึงการส่งคณะทูตานุทูตไปเจริญพระราชไมตรี ณ ต่างประเทศ คณะทูตจะประกอบด้วยข้าราชการวังหลวง และขา้ ราชการวงั หนา้ รว่ มกนั ไป ดงั เชน่ ในคราวทส่ี ยามสง่ ทตู ไปเจรญิ สมั พนั ธไมตรกี บั ประเทศองั กฤษในพทุ ธศกั ราช ๒๔๐๐ คณะทูตจะประกอบด้วยพระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม บุนนาค) บุตรสมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่เป็นราชทูต จมื่นสรรเพธภักดี (เพ็ง เพญ็ กลุ ) เป็นอุปทูต จมื่นมณเฑียรพทิ ักษ์ (ด้วง) เป็นตรที ตู หมอ่ มราโชทัย (ม.ร.ว.กระต่าย อศิ รางกูร) เปน็ ล่ามหลวง จมืน่ ราชามาตย์ (ทว้ ม บุนนาค) และนายพิจารณ์สรรพกิจ (ทองอยู่ กลั ยาณมิตร) เป็นผู้ กำ� กบั เครอื่ งราชบรรณาการ พรอ้ มดว้ ยคณะผตู้ ดิ ตามอกี รวมทง้ั สนิ้ ๒๘ คน (ตามบญั ชรี ายชอ่ื ทตู ในพระราชหตั ถเลขา
108 เมอื่ ตะวันออกพบตะวนั ตก : พิพธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วงั หนา้ ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้านการต่างประเทศ) ซ่ึงในคณะทูตท่ีอัญเชิญพระราชสาส์นและเคร่ือง ราชบรรณาการออกไปเจริญพระราชไมตรีกบั องั กฤษนี้ มจี มืน่ มณเฑยี รพิทักษ์ (ด้วง) บตุ รพระนมนางของพระบาท สมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ขา้ หลวงเดมิ ในพระบวรราชวงั ซงึ่ เปน็ ตรที ตู นายพจิ ารณส์ รรพกจิ (ทองอยู่ กลั ยาณมติ ร) บุตรเจา้ พระยานกิ รบดินทร์เปน็ ผู้กำ� กบั เคร่ืองราชบรรณาการ เป็นข้าราชการจากวังหน้ารว่ มไปดว้ ย จากหนงั สอื พมิ พไ์ ทมส์ วนั องั คารที่ ๒๐ ตลุ าคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๐๐ ระบวุ า่ “ขอ้ มลู เกยี่ วกบั คณะทตู สยามที่ เดนิ ทางมาเยอื นประเทศองั กฤษนี้ กลา่ วกนั วา่ ทา่ นราชทตู และอปุ ทตู ไดร้ บั การโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตง้ั โดยพระมหากษตั รยิ ์ พระองคท์ หี่ นงึ่ ของสยาม สว่ นตรที ตู นน้ั โปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตง้ั โดยพระมหากษตั รยิ พ์ ระองคท์ ส่ี อง เพราะทป่ี ระเทศสยาม จะมพี ระมหากษตั รยิ อ์ ยดู่ ว้ ยกนั สองพระองค์ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระองคท์ หี่ นง่ึ ทรงโปรดฯ สง่ ราชทตู และ อุปทูตมารวม ๒ ท่าน สว่ นพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั พระองคท์ ี่สองทรงโปรดฯ ส่งราชทูตมาหนึ่งท่าน...” หนงั สือพิมพล์ อนดอนการ์เซต็ ต์ วนั ท่ี ๒๐ พฤศจิกายน พุทธศกั ราช ๒๔๐๐ ระบุวา่ “ปราสาทวนิ ดเ์ ซอร์ วันท่ี ๑๙ พฤศจกิ ายน พุทธศกั ราช ๒๔๐๐ วนั นีค้ อื วนั เข้าเฝ้าสมเด็จพระราชนิ ีแหง่ ประเทศอังกฤษ ฯพณฯ พระยา มนตรสี รุ ยิ วงศ์ ทา่ นราชทตู คนทห่ี นงึ่ และจมนื่ สรรพเ์ พธภกั ดี ทา่ นราชทตู คนทสี่ อง จากพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ร่วมด้วยจมืน่ มณเฑยี รพทิ กั ษ์ ราชทตู จากพระบาทสมเดจ็ พระป่ินเกลา้ เจา้ อยู่หัว ไดเ้ ขา้ เฝ้ารอรับเสดจ็ เพื่อ ทูลเกลา้ ถวายสารตราตัง้ และพระราชหตั ถเลขาในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ...” ๔๖ คณะราชทูตไทยทเี่ ดินทางไปประเทศองั กฤษ เม่ือพทุ ธศักราช ๒๔๐๐ เพือ่ เชญิ พระราชสาสน์ และเครือ่ งราชบรรณาการไปถวายสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งองั กฤษ เป็นการเจรญิ พระราชไมตรี ๔๖ กรมศลิ ปากร, ข้อคิดเหน็ ส่อื มวลชน เรอ่ื ง คณะทตู สยาม ณ ประเทศอังกฤษ (พ.ศ. ๒๔๐๐ - พ.ศ. ๒๔๐๑), (กรุงเทพฯ : ส�ำนัก วรรณกรรมและประวัตศิ าสตร์กรมศลิ ปากร, ๒๕๕๖), ๑๘, ๕๐.
เม่อื ตะวันออกพบตะวันตก : 109 พพิ ิธสมบตั ิพระราชา ณ วังหน้า ภาพเขียนลายเส้นฝมี อื จติ รกรชาวตา่ งประเทศ คณะราชทูตไทยไปเจริญทางพระราชไมตรกี ับประเทศองั กฤษ เมอ่ื พุทธศักราช ๒๔๐๐ ภาพเขยี นลายเสน้ ฝมี ือจิตรกรชาวต่างประเทศ พระยามนตรสี รุ ิยวงศ์ (ชมุ่ บนุ นาค) เป็นราชทตู (คนกลาง) จม่นื สรรเพธภักดี (เพง็ เพ็ญกลุ ) เปน็ อุปทูต (คนขวา) และจม่ืนมณเฑียรพิทกั ษ์ (ดว้ ง) เป็นตรที ตู (คนซ้าย)
110 เม่อื ตะวนั ออกพบตะวันตก : พิพิธสมบตั ิพระราชา ณ วงั หนา้ ขอ้ ความทป่ี ระกาศตง้ั พระยามนตรสี รุ ยิ วงศ์ (ชมุ่ บนุ นาค) เปน็ ราชทตู ไปลอนดอนเมอื่ ปมี ะเสง็ พทุ ธศกั ราช ๒๔๐๐ นัน้ กต็ อ้ งออกพระนามพระเจา้ แผน่ ดนิ ทง้ั สองพระองคด์ งั ปรากฏในประกาศพระบรมราชโองการตงั้ พระยา มนตรีสรุ ยิ วงศเ์ ปน็ ราชทูตวา่ “สมเด็จพระปรเมนทรมหามกุฎพระจอมเกลา้ เจา้ แผน่ ดนิ สยาม และสมเดจ็ ปวเรนทราเมศวรมหศิ วเร ศรังสรรค์พระป่ินเกล้าเจ้าอยูห่ ัวประเทศสยามท้ังสองพระองค์ ขอประกาศแก่คนนอกประเทศ ในประเทศทัง้ ปวง เปน็ อนั มากฤาผเู้ ดยี ว บรรดาทจ่ี ะไดอ้ า่ นและฟงั แลรคู้ วามในหนงั สอื นใี้ หท้ ราบและเชอ่ื เปน็ แนว่ า่ เราพระเจา้ กรงุ สยามทั้งสองแลเสนาบดีได้มีความประสงค์จะส่งทูตานุทูตไปจ�ำทูลพระราชสาส์นส่งเคร่ืองราชบรรณาการทรง ยินดไี ปยังสมเด็จพระนางวกิ ตอเรียมหาราชนิ ี พระเจ้ากรุงบรติ าเนียถึงกรุงลอนดอน...”๔๗ และเมือ่ คณะทูตานุทูตไทยไปเจรญิ ทางพระราชไมตรใี นพุทธศักราช ๒๔๐๐ น้ัน ปรากฏว่าค�ำทูตทลู ถวาย มอบพระราชสาสน์แด่สมเด็จพระนางเจ้าวิกตอเรียมหาราชินี พระเจ้ากรุงบริตาเนียนั้นก็ต้องอ้างว่ารับพระบรม ราชโองการพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบวรราชโองการพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทัง้ สองพระองคด์ ังนี้ “ขา้ พระพทุ ธเจา้ ทตู านทุ ตู สยามทงั้ ปวง คอื พระยามนตรสี รุ ยิ วงศ์ ราชทตู เจา้ หมนื่ สรรเพธภกั ดี อปุ ทตู จมนื่ มณเฑยี รพทิ กั ษต์ รีทูตๆ พวกนไ้ี ดร้ บั พระบรมราชโองการมารพระบันฑูรสุรสงิ หนาทในพระบาทสมเดจ็ พระ ปรเมนทรมหามกุฎพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระเจ้าแผ่นดินกรุงสยามพระองค์ใหญ่ ผู้เป็นใหญ่แก่ประเทศราช ตา่ งๆ ทีใ่ กลเ้ คียง คือ เมืองลาว เมืองกมั โพชา เมอื งมลายู หลายเมืองแลที่อน่ื ๆ และรบั พระบวรราชโองการมาร พระบนั ฑรู สรุ สงิ หนาทในพระบาทสมเดจ็ พระปวเรนทราเมศวรมหศิ วเรศรงั สรรค์ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระเจา้ ประเทศสยามพระองค์ที่สอง โปรดเกล้าฯ ให้เชิญพระบรมราชสาส์นและพระบวรราชสาส์นและเครื่องมงคล ราชบรรณาการเป็นส่วนในพระบรมบวรราชวัง ซึ่งเป็นของทรงยินดีออกมาค�ำนับเจริญทางพระราชไมตรีแด่ พระองคท์ า่ น ซงึ่ เปน็ สมเดจ็ พระเจา้ กรงุ บรติ าเนยี ผเู้ ปน็ เจา้ เปน็ ใหญท่ รงพระเดชานภุ าพมาก ในพระราชอาณาจกั ร อนั รวมกนั คอื ทวปี บรติ าเนยี ใหญ่ และไอยแ์ ลน แลกอลอนนี านาประเทศตา่ งๆ บดั นไ้ี ดม้ าถงึ ทเ่ี ฉพาะพระองคท์ า่ น พร้อมทั้งพระราชสาส์นและเครื่องมลคลราชบรรณาการ ได้น�ำเข้ามาเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทพระองค์ท่านในกาล บดั นแี้ ล้ว อนง่ึ ข้าพระพุทธเจา้ ทั้งปวงขอกราบถวายบังคมทูลให้พระองคท์ า่ นแนพ่ ระไทยวา่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ แผ่นดินสยามพระองค์ใหญแ่ ละพระองคท์ ่สี องทรงเหน็ ว่า ทางพระราชไมตรกี รงุ บริตาเนียกบั กรงุ สยามไดต้ อ่ ติดสนทิ ชดิ ชมชดั แจง้ กวา่ แตก่ อ่ น ในกาลบดั นนี้ นั้ กด็ ว้ ยความดำ� รหิ ข์ องพระองคท์ า่ น ซง่ึ เปน็ พระเจา้ กรงุ บรติ าเนยี ไดท้ รงจดั เปน็ เดมิ เหตุ ใหเ้ ปน็ กญุ แจท�ำใหเ้ ปน็ พระเกยี รตยิ ศแกพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ กรงุ สยามทง้ั สองพระองค์ และบา้ นและเมอื ง สยามนป้ี ระจกั ษม์ ากเปน็ หลายประการ มคี วามกลา่ วแจง้ ถว้ นถใ่ี นพระราชสาสน์ นแ้ี ลว้ บดั นขี้ า้ พระพทุ ธเจา้ ทตู านทุ ตู ทั้งปวงชาวสยามซึ่งมาครั้งนี้ได้อาศัยพระเดชานุภาพ พระเมตตากรุณาปรานีแลอนุเคราะห์ของพระองค์พระเจ้า กรงุ บรติ าเนยี ได้โปรดใหเ้ รอื รบไปรับมาแต่กรุงเทพมหานครในท้องทะเล และส่งต่อๆ มาตามทางจนถึงกรงุ ลอนดอน โดยความสุขสวัสด์ิสะดวกสบายปราศจากอันตรายต่างๆ ข้าพระพุทธเจ้าทูตานุทูตท้ังปวงขอถวายความสัตย์ว่า ได้ รู้พระเดชพระคุณพระองค์ท่านเป็นอันใหญ่ยิ่ง แล้วจะไม่ลืมลบหลู่พระเดชพระคุณพระองค์ท่านเลยฯ แลขอรับ ๔๗ ณฐั วุฒิ สุทธสิ งคราม, เรือ่ งเดมิ , ๑๕๒ – ๑๕๓.
เมือ่ ตะวันออกพบตะวนั ตก : 111 พพิ ธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วงั หนา้ พระราชวโรกาศเพื่อจะถวายพระราชสาส์นแลเครื่องมงคลราชบรรณาการ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินสยามทั้งสองพระองค์แก่พระองค์ท่าน ซึ่งเป็นพระเจ้ากรุงบริตาเนีย ณ กาลบัดน้ี ขอพระองค์ท่านได้โปรดทรง รับไว้ให้เป็นพระเกียรติยศสมพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระ ปรเมนทรมหามกุฎพระจอมเกล้าเจ้าแผ่นดินสยามและสมเด็จพระ ปวเรนทราเมศวรมหิศวรเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าประเทศสยาม ซึ่ง เป็นพระเจา้ อยหู่ ัวของข้าพระพทุ ธเจา้ ทง้ั สองพระองคน์ ัน้ เทอญ ควรมิควร แล้วแต่จะทรงพระกรณุ าโปรดฯ”๔๘ เคร่ืองราชบรรณาการฝ่ายพระบวรราชวังท่ีส่งไปถวายสมเด็จพระ ราชินีนาถวิกตอเรยี นัน้ ประกอบดว้ ย ๑. ขันนำ้� ทองค�ำลงยา มพี านรอง ภาพเขียนลายเสน้ เครื่องราชบรรณาการ ๒. กระโถนทองค�ำลงยา ได้แก่ เครือ่ งราชปู โภคและเคร่ืองสูง ๓. ซองบหุ รที่ องคำ� ลงยา ทจ่ี ำ� ลองแบบนำ� ไปถวาย ๔. ฉลองพระองค์กรองทอง ๒ พระภูษา ๒ ๕. พระกลด ๒ สมเดจ็ พระราชนิ นี าถวิกตอเรียแห่งอังกฤษ ๖. พระแสงทวน คร่ำ� ทอง เครอ่ื งทองประดับทบั ทิม ๒ เมอ่ื พุทธศกั ราช ๒๔๐๐ ๗. พระแสงตรี ๒ ๘. พระวอ คณะทูตสยามขณะเข้าเฝา้ ฯ เพ่ือทลู เกลา้ ฯ ถวายพระราชสาส์นตามโบราณราชประเพณไี ทย ๔๘ เรือ่ งเดยี วกนั , ๑๕๓ – ๑๕๔.
112 เม่อื ตะวนั ออกพบตะวันตก : พิพิธสมบตั พิ ระราชา ณ วังหนา้ เช่นเดยี วกันในปมี ะโรง พุทธศกั ราช ๒๓๙๙ พระเจ้ากรุงสยามมีพระราชสาส์นไปถงึ ประธานาธบิ ดอี เมรกิ า ความวา่ “สมเด็จพระปรเมนทรมหามกุฎ พระจอมเกล้าเจ้ากรุงสยามเป็นใหญ่ได้ครอบครองพระราชอาณาจักร สยามราษฎร แวดล้อมดว้ ยนานาประเทศราชชนบทต่างๆ ทกุ ทศิ คือลาวโยน ลายเฉยี งใน ทิศพายัพแลอุดร ลาวกาว แตท่ ศิ อสิ าณจนบรู พ์ กำ� โพชาเขมรแต่บรู พ์จนอาคเนย์ เมืองมลายูเป็นอันมาก แตท่ ศิ ทักษิณจนทศิ หรดแี ลบ้านเมอื ง กะเหรย่ี งบางเหล่าแตท่ ิศประจิมจนพายัพแลข่าชองแลชาตติ ่างๆ อืน่ ๆ อีกเป็นอันมาก และเปน็ ผู้ประจกั ษ์ในภาษา มคธและคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาขอเจริญทางพระราชไมตรีมายังแฟรงกลิน เปียศ ปริศเดน ผู้บังคับการแผ่นดิน ยุในตศิ เตศอเมรกิ า”๔๙ เมอื่ ประธานาธบิ ดแี ฟรงคลนิ เพยี รซ์ ประธานาธบิ ดคี นที่ ๑๔ แหง่ สหรฐั อเมรกิ าไดร้ บั พระราชสาสน์ แลว้ สง่ “มิศตะโตน เซนฮาริด” (นายแฮร่ี) มาเจรจาความไมตรีขอท�ำสัญญาใหม่กับเมืองไทยเมื่อ พุทธศักราช ๒๓๙๙ มิศตะโตน เซนฮาริดได้มาถึงนอกหลังเต่าตรงปากน�้ำเจ้าพระยาเม่ือวันเสาร์ เดือน ๕ ขึ้น ๗ ค่�ำ ปีมะโรง นักษัตร อัฐศก โดยเรือก�ำปั่นรบกลไฟ “แซนแยกซินโต” ในพระราชสาส์นที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงถึง ประธานาธบิ ดดี งั กล่าวมาปรากฏความในพระราชสาส์นถงึ ประธานาธบิ ดเี ม่ือปีมะโรง พทุ ธศักราช ๒๓๙๙ น้ันวา่ “คร้นั มาเมื่อวันศกุ ร์ เดอื น ๕ แรม ๑๒ ค่�ำ โตนเซนฮาริศ อศิ เกว ทตู ของทา่ น (ประธานาธิบด)ี กบั พวก อเมรกิ ันทุกคน กไ็ ดข้ น้ึ ไปในพระบวรราชวังเขา้ เฝา้ สมเด็จพระปรวเรนทราเมศวรมหศิ เรศรังสรรค์ พระปน่ิ เกล้า เจา้ อยูห่ ัวซง่ึ เปน็ พระเจ้านอ้ งของกรงุ สยาม และเปน็ พระเจ้าประเทศสยามทีส่ องรองกรุงสยามอยู่ในบัดน้ี จึงได้ ถวายเครอื่ งราชบรรณาการบางสงิ่ แล้วได้รับราชปฏิสนั ถานในพระบวรราชวังน้นั โดยการอนั สมควร คลา้ ยกบั การท่ใี นพระบรมมหาราชวังนเ้ี ม่ือวนั หลัง ครัน้ มาวันภายหลังแต่วนั ชุมนมุ ใหญร่ ับอกั ษรสาสน์ ของทา่ น กรุงสยาม กไ็ ด้พร้อมกันกับพระเจา้ นอ้ งของกรงุ สยาม ซึง่ เปน็ พระเจ้าประเทศสยามท่สี องรองกรงุ สยามบังคับพนกั งานให้เขยี น ในบังคับรับส่ังตั้งผู้ส�ำเร็จราชการท้ัง ๕ ท่ีได้มีช่ือและพนักงานแจ้งในหนังสือสัญญาแล้วนั้น ให้ได้รับอ�ำนาจอันเต็ม ทุกประการเพอื่ จะทำ� สัญญา จงึ กรุงสยามทั้งสองได้ลงลายราชหัตถ์และราชลญั จกรทง้ั พระบรมมหาราชวัง พระบวร ราชวังเสร็จแล้ว ได้มอบใบบังคับรับสั่งนั้นแก่ท่านผู้รับส่ังท้ัง ๕ ซ่ึงได้มีอ�ำนาจในการท�ำสัญญาฝ่ายสยาม แต่ในวัน จนั ทร์ เดอื น ๖ ขึ้น ๑ ค�่ำ...”๕๐ ในบันทึกรายวนั ของเทาเซนด์ แฮรสี ซึ่งได้บนั ทกึ การเดินทางมายงั สยามเพือ่ ท�ำสนธิสญั ญา ไดร้ ะบวุ ่า “ในวันอังคารที่ ๒๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๙๙ (คริสต์ศักราช ๑๘๕๖) ในเวลาค่�ำประมาณ ๑ ทุ่ม เจา้ ชายยอช วอชงิ ตนั ๕๑ พระโอรสของพระบาทสมเด็จพระป่นิ เกลา้ เจ้าอยู่หวั เสดจ็ มาเยอื นขา้ พเจา้ มนี ายสมิทแหง่ คณะมชิ ชันนารอี เมรกิ นั แบบติสท์เป็นล่ามให้พระองค์ มีทหารไทยคนหนึ่งต�ำแหนง่ เทา่ พันตรขี องเรา และข้าราชการ อ่นื ๆ บางคน กับทหารคนหนงึ่ ของพระราชบิดาของพระองค์ตามเสด็จมาดว้ ย ๔๙ เร่ืองเดียวกนั , ๑๕๕. ๕๐ เรือ่ งเดียวกนั , ๑๕๕ – ๑๕๖. ๕๑ เจ้าชายยอช วอชิงตัน คือ พระองค์เจ้ายอดยิ่งยศ เมื่อยังเป็นหม่อมเจ้าในรัชกาลท่ี ๓ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานนามว่า ยอช วอชิงตัน ตามนามประธานาธิบดีคนแรกของอเมริกา คนทั้งหลายเรียกพระนามว่ายอด พระบาทสมเด็จ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวพระราชทานนามใหม่ว่า พระองค์เจ้ายอดยิ่งยศ ในรัชกาลที่ ๕ ไดพ้ ระราชทานอุปราชาภิเษกเปน็ กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล และทวิ งคตในรัชกาลท่ี ๕
เม่ือตะวันออกพบตะวันตก : 113 พพิ ธิ สมบตั พิ ระราชา ณ วังหนา้ เจ้าชายยอช วอชิงตัน ทรงน�ำความจากพระราชบิดาของพระองค์มาแจ้งแก่ข้าพเจ้าว่า พระราชบิดาคือ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงเสียพระทัยทีย่ ังไม่อาจพบขา้ พเจ้าได้ จนกว่าขา้ พเจ้าจะไดร้ บั การตอ้ นรับ เป็นทางการแล้ว และว่าทันทีที่ข้าพเจ้าเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในท้องพระโรงแล้ว พระองค์ ก็หวังว่าจะได้พบข้าพเจ้าบ่อยๆ ฯลฯ นอกจากน้ีเจ้าชายได้น�ำความมาแจ้งแก่ผู้บังคับการเรือและบรรดานายทหาร ของเขาวา่ ขอให้พวกเขาไปเฝ้าพระองคเ์ ปน็ การสว่ นตวั เพราะพระองคไ์ ม่สามารถต้อนรบั เขาเป็นทางการไดจ้ นกว่า ขา้ พเจา้ จะได้เขา้ เฝ้าพระเจ้าแผ่นดินแลว้ ”๕๒ นอกจากนยี้ งั ได้กล่าวถงึ พระบาทสมเดจ็ พระปิ่นเกล้าเจ้าอย่หู วั ว่า “พระเจา้ แผ่นดินองคท์ ่ีสองทรงสง่ พระราชสาส์นอนั เปย่ี มไปด้วยพระกรุณาย่งิ มายงั ขา้ พเจ้า พรอ้ มทง้ั ของ ขวัญผลไมง้ ามๆ ทส่ี ดุ ของประเทศสยามถงึ ๘๗ จานใหญ่ๆ ผลไมม้ ีปรมิ าณมากเหลอื เกิน และเห็นจะมากพอสำ� หรบั คน ๕๐๐ คน จะกินอยา่ งอ่ิมแปล้ ทา่ นขุนนางผใู้ หญ่ผ้พู ูดภาษาอังกฤษไดด้ วี ิเศษ รับหน้าทีเ่ ปน็ ผนู้ �ำของขวญั มาให้ เขามาในเรอื ทตี่ กแต่งประดับประดาอยา่ งสวยงาม ของขวัญจากพระเจา้ แผ่นดินยงั ความปล้ืมเปรมใหแ้ กผ่ ู้บังคบั การ เรือ และบรรดาสุภาพบุรุษในคณะของข้าพเจ้าท้ังหมดอย่างย่ิง ไวยากรณ์ในพระราชสาส์นก็ถูกต้องสมบูรณ์ และ การเขียนลายมือบรรจงก็งดงามมาก ท�ำให้ฝีมือเขียนบรรจงของเราได้อายทีเดียว อักษรแต่ละตัวเขียนอย่างไม่มีท่ีติ ประหนึ่งวา่ ครูคัดลายมือเป็นผเู้ ขียนทเี ดยี ว และยิ่งกว่านนั้ ทั้งข้อความและการเขยี น พระเจ้าแผน่ ดนิ องค์ทส่ี องเป็น ผทู้ รงเองท้ังหมด พระราชสาส์นของพระเจา้ แผ่นดินองค์ที่สอง (พระราชลัญจกร) ถึงฯพณฯ เทาเซนต์ แฮรสี ทูตผู้มอี ำ� นาจเตม็ แห่งสหรฐั อเมริกา มายงั ประเทศสยามฯลฯ ฯพณฯ ที่นบั ถอื ศภุ สาส์นของท่าน ลงวันที่ ๑๕ เดือนน้ี แจ้งเรื่องทา่ นเดินทางมาถึงนอกสนั ดอนโดยปลอดภัย ได้รบั แล้ว ขา้ พเจา้ มีความยินดี ขอตอ้ นรับทา่ นและคณะผู้ติดตามของท่านสู่ประเทศของเรา โปรดรับผลไมซ้ ง่ึ ได้ส่งมาพร้อมนี้ ข้าพเจา้ มีความยนิ ดที ่ีจะได้พบท่านเร็วๆ นี้ ซ่งึ ทา่ นจะได้รบั แจง้ ให้ทราบ ดว้ ยความปรารถนาดีทสี่ ุดแดต่ วั ท่าน และบรรดาสุภาพบุรษุ แห่งเรอื กลไฟนี้ ขอแสดงความนบั ถือ ป.ส. พระปิ่นเกลา้ เจ้าอยูห่ วั พระเจ้าแผน่ ดนิ องค์ทส่ี องของประเทสสยามฯลฯ พระบวรราชวัง กรงุ เทพฯ ประเทศสยาม วันท่ี ๒๒ เมษายน ค.ศ. ๑๘๕๖ (พ.ศ. ๒๓๙๙)”๕๓ ๕๒ กรมศลิ ปากร, บันทกึ รายวนั ของเทาเซนด์ แฮรสี , (โรงพมิ พ์การศาสนา, ๒๕๑๕), ๔๒ – ๔๓. ๕๓ เรื่องเดียวกัน, หน้า ๔๕ - ๔๖.
114 เมอื่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พพิ ธิ สมบตั พิ ระราชา ณ วังหนา้ นายเทาเซนด์ แฮรีส ได้เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเม่ือวันพฤหัสบดีท่ี ๑ พฤษภาคม พทุ ธศักราช ๒๓๙๙ (ครสิ ตศ์ ักราช ๑๘๕๖) หลงั จากนัน้ ในวนั รุง่ ขึ้น คือวนั ศกุ ร์ท่ี ๒ พฤษภาคม พทุ ธศักราช ๒๓๙๙ (คริสตศ์ กั ราช ๑๘๕๖) นายเทาเซนด์ แฮรสี ไดเ้ ข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระป่นิ เกลา้ เจา้ อยูห่ ัว โดยจดั ขบวนเรือเหมือน อย่างเม่ือวานนี้ ไปพระบวรราชวงั ของพระเจ้าแผน่ ดินองคท์ สี่ อง “...มีการยิงสลุต ๒๑ นัด บรรดาทหารของพระองคอ์ ย่ใู นระเบยี บวนิ ัยดียงิ่ กว่าพวกทหารของพระเจา้ แผน่ ดนิ องคท์ หี่ นงึ่ เสยี อกี บางคนแตง่ กายแบบยโุ รป มที หารองครกั ษเ์ ดนิ นำ� หนา้ เรา และเปน็ ทหารทฝ่ี กึ มาแลว้ อยา่ งดที ส่ี ดุ เทา่ ทข่ี า้ พเจา้ เคยเหน็ ปนื ใหญส่ นามทใี่ ชใ้ นการยงิ สลตุ กไ็ ดร้ บั การดแู ลรกั ษาอยา่ งงดงาม ทอ้ งพระโรงโออ่ า่ หรหู รานอ้ ย กว่าท้องพระโรงของพระเจ้าแผ่นดินองค์ท่ีหนึ่ง ข้าพเจ้ายินดีท่ีได้เห็นขุนนางชั้นสูงท่ีสุดหลายคน ที่ข้าพเจ้าได้เห็นที่ ท้องพระโรงของพระเจ้าแผน่ ดนิ องค์ทีห่ น่ึง เช่น เจา้ ชายวงศาธิราชสนิทและสมเด็จองคน์ ้อย มาอยู่ที่ทอ้ งพระโรงของ พระเจา้ แผ่นดนิ องค์ท่ีสองพระอนุชาดว้ ย...”๕๔ “...พระเจา้ แผน่ ดนิ องคท์ ส่ี องทรงไตรถ่ ามถงึ สขุ ภาพของเรา พระองคต์ รสั วา่ ทรงรชู้ อื่ ประธานาธบิ ดที กุ คน ยกเวน้ แตป่ ระธานาธบิ ดคี นทแ่ี ลว้ และทรงมพี ระราชประสงคท์ จี่ ะทราบชอื่ ของรองประธานาธบิ ดซี งึ่ เปน็ อยใู่ นเวลานี้ การเข้าเฝ้าได้ผ่านพ้นไป เราได้รับประทานอาหารแล้วก็กลบั วนั เสารท์ ่ี ๓ พฤษภาคม พทุ ธศักราช ๒๓๙๙ (ครสิ ตศ์ ักราช ๑๘๕๖) ข้าราชการหลายคนที่ยงั ไมไ่ ด้รับเชิญ ให้ไปเฝา้ พระเจ้าแผน่ ดนิ พระองค์ทส่ี องเป็นการสว่ นพระองคไ์ ด้ไปเฝา้ พระองค์ในวันน้ี... วันพุธท่ี ๗ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๓๙๙ (คริสต์ศักราช ๑๘๕๖) พระเจ้าแผ่นดินองค์ท่ีสองทรงมี พระราชด�ำรัสมาว่าให้บรรดาเจ้าหน้าที่ท่ีมาถึงใหม่ไปเฝ้าพระองค์ ซึ่งบรรดาเจ้าหน้าที่เหล่านั้นก็ได้ไปเฝ้าในเย็นวัน น้ัน และเฝา้ อย่จู นกระท่ังเย็น ”๕๕ ภายหลงั จากการลงนามในสนธสิ ญั ญาเมอื่ วนั พฤหสั บดที ี่ ๒๙ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๓๙๙ (ครสิ ตศ์ กั ราช ๑๘๕๖) นายเทาเซนด์ แฮรสี ได้แต่งตงั้ นายแมททนู เปน็ กงสุลอเมริกัน และในวนั ศกุ รท์ ี่ ๓๐ พฤษภาคม พทุ ธศักราช ๒๓๙๙ (ครสิ ต์ศักราช ๑๘๕๖) เวลาบ่าย ๒ โมง พระบาทสมเด็จพระป่ินเกลา้ เจ้าอยู่หัวทรงใหน้ ายเทาเซนด์ แฮรสี ไป เฝา้ พระองค์ ซ่งึ ในเวลาห้าโมงเยน็ เขาได้ไปเฝ้าพระเจ้าแผ่นดนิ องคท์ ี่ ๒ กบั นายแมททนู ดอกเตอร์วดู้ และนายเลวสิ อีก ๑ ช่วั โมงต่อมา ดอกเตอรเ์ ซมเพลิ้ และนายเฮิสเกน้ ก็มาสมทบ ในบันทกึ รายวันของเขาไดก้ ล่าวถึงการเขา้ เฝ้าเพือ่ ทลู ลาในครง้ั น้ันวา่ “...มีเส่ือปูลาดให้ข้าพเจ้าเดินต้ังแต่ประตูใหญ่นอกวังข้ึนไปจนถึงที่ซึ่งพระเจ้าแผ่นดินทรงเรียกว่าพระ ต�ำหนักอังกฤษของพระองค์ พระเจ้าแผ่นดินองค์ที่สองทรงต้อนรับข้าพเจ้าอย่างทรงพระเมตตาที่สุด พระองค์ตรัส ภาษาองั กฤษได้วเิ ศษจรงิ ๆ ทรงใหข้ า้ พเจา้ ดหู นงั สอื จ�ำนวนมาก ส่ิงพิมพ์ อาวธุ เครือ่ งเคมฯี ลฯ ท้งั หมดนล้ี ว้ นเปน็ ของ แทข้ องยโุ รปหรอื อเมรกิ า นาฬกิ าแบบแปลก บอกชว่ั โมงของวนั บอกวนั ของสปั ดาห์ วนั ของเดอื น และเดอื นของปี ใน ทส่ี ดุ กบ็ อกจนถงึ อายขุ องพระจนั ทร์ ชว่ั โมงของวนั ถกู ทำ� เครอ่ื งหมายไวบ้ นลกู โลกสฟี า้ สด ตง้ั อยเู่ หนอื นาฬกิ าและหมนุ ไปบนเดอื ย ขณะเดยี วกันลน้ิ สีแดงของงูสีเขยี วและงสู ที อง กห็ มายบอกช่วั โมงซึง่ เปน็ อยู่ในขณะนน้ั สิ่งของท่มี กี ลไก ๕๔ เร่ืองเดียวกนั , ๗๘. ๕๕ เร่อื งเดยี วกัน, ๘๐.
เมอ่ื ตะวันออกพบตะวนั ตก : 115 พิพธิ สมบตั ิพระราชา ณ วงั หนา้ ซับซ้อนน้ี พระเจ้าแผ่นดินทรงดูแลรักษาให้เป็นระเบียบและสะอาดสะอ้านด้วยพระองค์เอง ได้สนทนากันมากมาย เกยี่ วกบั สหรฐั อเมริกา ประธานาธิบดี และเก่ยี วกบั พวกเจ้าหน้าที่ของเรือพีค๊อก (The Peacock) ผเู้ คยมาท่ีนี่ในปี พทุ ธศักราช ๒๓๗๖ (ครสิ ต์ศกั ราช ๑๘๓๓) พระเจา้ แผน่ ดนิ ทรงจำ� ไดไ้ ม่เพียงแตช่ อ่ื สกุลของพวกเขาแต่ละคนเทา่ นัน้ ยังทรงจำ� ชอ่ื ต้นของเขาไดด้ ว้ ย และทรงถามถึงคนเหล่าน้ันเกอื บทุกคน พระองคท์ รงมอบใบรบั ของบรรณาการจากประธานาธบิ ดี ซง่ึ ขา้ พเจา้ นำ� มาถวายพระองคใ์ หแ้ กข่ า้ พเจา้ และ ทรงใหบ้ ญั ชีรายการสง่ิ ของ ๔ หบี ซึ่งพระองค์ทรงจัดให้เป็นของขวญั แก่ท่านประธานาธบิ ดีแก่ข้าพเจา้ หบี เหล่าน้ีท�ำ เครือ่ งหมายไวอ้ ย่างประณีตมาก และพระองค์ตรัสว่า ทรงท�ำด้วยพระหตั ถข์ องพระองคเ์ องทีเดยี ว พระเจา้ แผน่ ดนิ องคท์ สี่ องพระราชทานเลย้ี งนำ�้ ชา กาแฟ ชอคโกแลต ผลไม้ ขนมหวาน และอนื่ ๆ ทรงชงชา ดว้ ยพระองคเ์ อง และไดต้ รสั ถามแตล่ ะคนวา่ เขาชอบดม่ื อยา่ งไร ใสน่ มหรอื ไมใ่ สน่ มฯลฯ มเหสี ๒ องคใ์ นจำ� นวนหลาย องคข์ องพระองค์ประทับอย่ดู ้วย ขณะท่เี ราอยู่ในหอ้ งนำ�้ ชา และทรงร่วมในการสนทนาดว้ ยอยา่ งเสรี แตน่ งั่ หมอบอยู่ กบั พน้ื หมอบราบอยู่ทเี ดียว ทลู ลากลบั เมอ่ื เวลาประมาณ ๑ ทมุ่ คร่ึง และกลบั มายงั ที่พกั ของขา้ พเจ้า แลว้ จดั ของทุก สง่ิ ทกุ อยา่ งเพอื่ ให้พร้อมทีจ่ ะออกเดนิ ทางพร่งุ นเี้ ชา้ ตรู”่ ๕๖ ในพระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔ ของเจา้ พระยาทพิ ากรวงศมหาโกษาธิบดี ได้กลา่ วถึง เรอื่ งทตู อเมรกิ นั เขา้ มาทำ� หนงั สอื สญั ญา ไดร้ ะบถุ งึ เครอื่ งราชบรรณาการทนี่ ายเทาเซนด์ แฮรสี นำ� มาถวายแดพ่ ระบาท สมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั วา่ “ของทรงยนิ ดใี นพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั กระจกรปู ปเรไสแดน ๒ บาน แผนทบี่ ้านเมืองตา่ ง ๆ ๖ แผน่ กระจกเงาใหญบ่ านหนึ่ง เครื่องไฟฟ้าส�ำรบั หนึ่ง ปืนชาตไิ รฟกาแมนบอกหนึ่ง ปนื มอื เสอื หบี หนึ่ง เคร่อื งปนื ๔ หอ่ หนงั สอื เรื่องต่าง ๆ ๑๐ เล่ม แผนทเ่ี มืองอเมริกาแผ่นหนึง่ ” ในบันทกึ รายวันของเทาเซนด์ แฮรสี ไดร้ ะบุบัญชีเครอ่ื งบรรณาการสำ� หรบั พระเจ้าแผ่นดินสยาม องค์ที่ ๒ ไว้ดงั น้ี “หมายเลข ๑ กระจกเงารปู วงรชี นดิ ดเี ยีย่ ม ๒ บาน แผน่ หนามาก ขนาด ๘๐ x ๕๖ นวิ้ กรอบไมแ้ ข็ง สลกั งามวจิ ิตรและปดิ ทองระยบั หมายเลข ๒ (ก) เครอื่ งไฟฟา้ ๑ เครอ่ื ง รนุ่ ลา่ ทส่ี ดุ และไดร้ บั ความนยิ มมากทส่ี ดุ มพี ลงั เปน็ พเิ ศษ มแี ผน่ กระจกหนา ๓๐ น้วิ ป่นั ดว้ ยลูกยาง ๔ ลกู มีสกรปู รบั เลือ่ นได้ สื่อไฟฟา้ ทองเหลอื ง รองรับบนก้านแก้ว ๔ กา้ น ซ่ึงตง้ั อยใู่ นช่องทองเหลือง (ข) ขวดเลยเ์ ดนเปน็ จดุ ๆ ซงึ่ เมอื่ ไดร้ บั กระแสไฟหรอื ปลอ่ ยกระแสไฟ ภายในขวดกจ็ ะสวา่ ง (ค) โลหะปลอ่ ยกระแสไฟฟ้ารว่ มส�ำหรับถอนไฟฟา้ ออกจากขวดเลย์เดน (ง) ระฆังไฟฟา้ ซ่ึงส่ันได้ดว้ ยอ�ำนาจพลงั ไฟฟ้า มเี สยี งไพเราะ ๕ ใบ ๑ ชุด (จ) ม้าน่ังฉนวน ตอนบนเป็นไม้มะฮอกกานีขัดเงา และขาเป็นแก้วตั้งในช่องทองเหลือง คนท่ียืนบนม้านั่งนี้แล้ว จะได้รับประจุกระแสไฟฟ้าจากเครื่องจักรจนเส้นผมของเขา จะตัง้ ตรงทีเดยี ว และร่างกายของเขาจะปลอ่ ยไฟฟ้าให้เมอื่ มีคนอ่นื มาถกู ต้องตัวเขา (ฉ) มิเตอรไ์ ฟฟ้าเครอ่ื งวดั ความแรงของกระแสไฟฟา้ โดยลูกกลมจะลอยขน้ึ ๕๖ เรื่องเดยี วกนั , ๑๐๙ – ๑๑๑.
116 เมอ่ื ตะวันออกพบตะวันตก : พพิ ธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วังหน้า (ช) กระบอกแก้วบรรจลุ ูกกลมท�ำจากแกนไมห้ ลายลกู ลกู กลมเหล่านจ้ี ะลอยขึ้น ๆ ลง ๆ อย่างรวดเร็วด้วยอทิ ธิพลของกระแสไฟฟา้ (ซ) ลูกกลมทำ� จากแกนไมอ้ กี ๑ โหล เพ่อื เอาไว้สำ� รอง เมอื่ ลกู กลมบางลกู ในเครือ่ งมือนั้น หายไป จะไดใ้ ชล้ กู กลมเหลา่ น้ีแทน (ฌ) บ้านสายฟ้า เพ่ือแสดงให้เห็นผลเม่ือสายฟ้าฟาดผ่าลงบนบ้าน และแสดงให้เห็น ประโยชนข์ องการมสี ายล่อฟ้าในอาคาร (ญ) ชายผมยาว แสดงใหเ้ หน็ ว่าไฟฟ้าจะทำ� ให้เส้นผมของเขาลกุ ชนั ข้นึ (ฒ) หนุ่ จำ� ลองโรงเลอื่ ยจกั รใชพ้ ลงั ไฟฟา้ เปน็ หนุ่ ทนี่ า่ สนใจมาก เดนิ ดว้ ยเครอื่ งกระแสไฟฟา้ (ณ) บ้านตดิ ไฟฟา้ เพอื่ แสดงให้เหน็ วา่ ไฟฟา้ อาจลกุ ไหม้บา้ นได้ (ด) นกั กฬี าไฟฟา้ มขี นนกหลายอนั มสี ายเชอื กเลก็ ๆ ผกู โยงกบั ขวดเลยเ์ ดน กระแสไฟฟา้ จะทำ� ใหข้ นนกเหลา่ นนั้ ปลวิ อยใู่ นอากาศ เวลาปลอ่ ยกระแสไฟฟา้ จากปนื ของนกั กฬี า จะท�ำใหพ้ วกขนนกตกลงมาเหมอื นหนง่ึ ว่าถูกยงิ (ต) ขนนกกระจาย ขนนกจ�ำนวนมากถกู ผกู ตดิ กบั ลวดทองเหลืองด้วยสายเลก็ ๆ บนแก้ว ต้งั ขนนกเหลา่ นถี้ กู ท�ำใหป้ ลวิ ไปไดร้ อบ ๆ ด้วยอ�ำนาจไฟฟา้ (ถ) เครอื่ งไฟฟา้ ซ่ึงแสดงให้เหน็ ตำ� แหน่งสัมพันธ์กันในระบบสรุ ยิ ะ หรือโลก พระจันทร์ และพระอาทติ ย์ หมนุ ไปไดด้ ว้ ยกระแสไฟฟา้ มนั ตง้ั อยบู่ นขาตง้ั ทม่ี ขี ดลวดอยใู่ นหลอด ซงึ่ เม่อื กระแสไฟฟ้าผา่ นจะเปลง่ แสงสวยงามมาก หลอดขดลวดไฟฟา้ นี้ เมอื่ กระแสไฟฟา้ ผา่ นเขา้ ไปในขดลวดจะเปลง่ แสงเจดิ จา้ ประกาย แสงสวา่ งวาบผา่ นจากจุดโลหะแต่ละจดุ (ท) ครอบแก้วหมุนด้วยไฟฟ้า แสดงให้เห็นอ�ำนาจอันมหัศจรรย์ของไฟฟ้าที่ท�ำให้วัตถุ เคลอ่ื นไหว (ธ) ทวี่ างไข่ไฟฟา้ ทำ� ไขใ่ ห้มีแสงสวา่ งด้วยไฟฟา้ (น) เครื่องบดไฟฟ้า ประกายไฟฟ้าได้ระเบิดแกสไฮโดรเยน และท�ำให้เกิดเสียงดังอึกทึก มาก (บ) ตะคนั ส�ำหรบั ตามไฟหรอื เผาอีเทอร์และอ่ืน ๆ ใช้ไฟฟา้ (ป) แผน่ หนุ่ ไฟฟ้า มีสายชักเลือ่ นไปมาได้ มีรูปห่นุ เล็ก ๆ ตั้งอยรู่ ะหวา่ งแผ่นเหลา่ น้ี ไฟฟ้า จะทำ� ให้มันเต้นขึน้ ๆ ลง ๆ อยา่ งรวดเรว็ (ผ) รูปหุ่นไสไ้ มบ้ างชนิด ๒ ตัว ส�ำหรับใช้กับแผน่ ไฟฟา้ ดงั กล่าว (ฝ) ภาพมหัศจรรย์สำ� หรับให้คนกระตุกดว้ ยไฟฟ้าอย่างไมค่ าดฝัน (พ) คนขี่ม้า ๖ คน ข่ีม้าหมุนไล่กันไปด้วยอ�ำนาจไฟฟ้าต้ังอยู่บนพื้นแก้ว คนข่ีม้าทุกคน เคลือ่ นไหวเมื่อไดร้ ับกระแสไฟฟ้า ว่ิงไล่กนั ไป แตไ่ มม่ ีใครไล่ทันกัน
เมอ่ื ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : 117 พพิ ธิ สมบตั ิพระราชา ณ วังหนา้ (ฟ) แบตเตอร์รีไ่ ฟฟ้าในขวดเลย์เดน ๔ ใบ ส�ำหรบั เพิม่ กระแสไฟฟา้ ใหม้ ปี ริมาณมากเพอื่ ท�ำการทดลอง (ภ) ปรอทผสมกับโลหะอืน่ ๑ ปอนด์ เพื่อใช้ชโลมลูกยางของเครือ่ งจกั ร (ม) การทดสอบสายตา การผสมกลมกลนื ของสี เพอื่ แสดงใหเ้ หน็ วา่ การผสมรวมของสที กุ สใี นส่วนท่ถี กู ตอ้ งจะทำ� ใหเ้ กดิ เปน็ สขี าว หมายเลข ๓ ภาพนายพลวอชิงตนั ขนาดเท่าตวั จรงิ ๑ ภาพ หมายเลข ๔ ภาพประธานาธบิ ดเี พยี ร์ซ ขนาดเทา่ ตัวจริง ๑ ภาพ หมายเลข ๕ ปืนสนั้ ของโคลท์ ๑ กระบอก ขนาด ๕ นวิ้ ดา้ มงา สลักปดิ ทองระยบั จัดท�ำสวยงาม เป็นพเิ ศษ บรรจกุ ลอ่ งไมก้ ุหลาบ คาดดว้ ยทองเหลอื ง บกุ �ำมะหย่ี พร้อมดว้ ยขวดเงนิ หรอื ทองชุบสวยงาม ดินปืน และลกู ปนื หมายเลข ๖ ปืนคาร์ไบนเ์ ชือ้ ประทขุ องชาร์พ ๑ กระบอก ล�ำกลอ้ งปนื กลมกลวง ขนาด ๓๒ ด้าม ปืนท�ำด้วยเงินเยอรมัน เช้ือประทุของชาร์พจ�ำนวน ๒,๐๐๐ กระสุนปืนรวมทั้งแก๊ป ปลอกและหัวตะก่ัวจำ� นวน ๑๐๐ หมายเลข ๗ หนงั สือเรอ่ื ง “Republican Court or Society in the Days of Washington” มี ภาพประกอบ เย็บปกหรูหราด้วยหนังแพะนิ่มพ้ืนด้านของตุรกี สีเลือดหมู เดินทอง ระยับ ๑ เล่ม หมายเลข ๘ หนงั สอื เร่อื ง “American Scenery, or Principal Views in the United States” พรอ้ มกับค�ำบรรยายละเอียด เยบ็ ปกด้วยหนงั แพะนมิ่ พื้นด้านของเกา่ โบราณ ๑ เลม่ หมายเลข ๙ คำ� บรรยายประกอบภาพเกยี่ วกบั ศลิ ปกรรม ฯลฯ ซงึ่ แสดงทง่ี านแสดงทนี่ วิ ยอรค์ (The New York Exhibition) เยบ็ ปกด้วยหนงั แพะนิม่ พ้ืนดา้ นของตรุ กี เดินทอง ๑ เลม่ หมายเลข ๑๐ หนังสือ “Iconographic Encyclopaedia or the Arts and Sciences Fully Described and Splendidly Illustrated” เย็บปกด้วยหนังแพะน่ิมพ้ืนด้านของ ตรุ กี เดินทอง ๑ เล่ม หมายเลข ๑๑ หนงั สอื “Webster’s American Dictionary” ฉบบั สมบรู ณ์ ปกหนงั แพะนมิ่ พน้ื ดา้ น ของตุรกี สเี ลอื ดหมเู ดินทองระยับ และเขียนลายลักษณอ์ ักษรวา่ “ถวายแด่พระเจา้ แผน่ ดนิ สยามองค์ท่ี ๒ โดยแฟรงกลนิ เพียร์ซ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา” ๑ เล่ม หมายเลข ๑๒ แผนทีส่ หรัฐอเมรกิ า ตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนตคิ ถงึ แปซฟิ คิ ม้วนไว้ หมายเลข ๑๓ ภาพสที ิวทัศนข์ องนครวอชงิ ตัน ๑ ภาพ ภาพสีทวิ ทศั นข์ องเมืองนิวออลนี ส์ ๑ ภาพ ภาพสที วิ ทศั น์ของเมืองนิวยอร์ค ต้งั แตโ่ บสถ์เซน้ ตป์ อล ภาพสีทิวทศั นข์ องเมืองนวิ ยอร์ค ตง้ั แตอ่ ่าว ภาพสที วิ ทัศน์ของเมอื งบอสตนั ภาพสที ิวทศั น์ของสภาซีเนทท่วี อชงิ ตนั ”
118 เมอ่ื ตะวนั ออกพบตะวันตก : พิพธิ สมบตั พิ ระราชา ณ วังหน้า กระจกเงารูปวงรชี นิดดเี ยยี่ ม ๒ บาน เคร่ืองราชบรรณาการจากประธานาธิบดี แฟรงกลนิ เพยี รซ์ (Franklin Pierce) แห่งสหรัฐอเมริกา ส่งมาถวายแดพ่ ระบาทสมเด็จพระปิน่ เกลา้ เจา้ อยู่หัว พระเจ้าแผน่ ดนิ สยาม องค์ท่ี ๒ จัดแสดง ณ พระท่ีนัง่ อศิ เรศราชานุสรณ์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพฯ ภาพนายพลวอชิงตนั ขนาดเท่าตวั จรงิ เครื่องราชบรรณาการจากประธานาธิบดี แฟรงกลนิ เพยี รซ์ (Franklin Pierce) แหง่ สหรฐั อเมริกา ส่งมาถวายแดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระปิน่ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว พระเจ้าแผน่ ดินสยาม องค์ที่ ๒ จัดแสดง ณ พระที่นง่ั อศิ เรศราชานสุ รณ์ พิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร กรงุ เทพฯ
เม่ือตะวันออกพบตะวนั ตก : 119 พิพธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วังหน้า ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวน้ีทรงด�ำเนินนโยบายเปิดประเทศให้มีการค้าเสรีอย่าง แท้จรงิ เรม่ิ ตั้งแต่การลงนามในสนธิสัญญาเบาวร์ งิ่ กับประเทศองั กฤษ (พทุ ธศักราช ๒๓๙๘) และหลังจากนน้ั ไดท้ �ำ สนธสิ ญั ญาทำ� นองเดยี วกนั เชน่ นกี้ บั ประเทศอน่ื ๆ อกี หลายประเทศ อาทิ สหรฐั อเมรกิ า (พทุ ธศกั ราช ๒๓๙๙) ฝรงั่ เศส (พทุ ธศกั ราช ๒๓๙๙) เดนมารก์ (พทุ ธศักราช ๒๔๐๑) สาธารณรัฐฮานเซียติค๕๗ (พุทธศักราช ๒๔๐๑) โปรตุเกส (พทุ ธศกั ราช ๒๔๐๑) ฮอลนั ดา (พทุ ธศกั ราช ๒๔๐๓) ปรสั เซยี ๕๘ (พทุ ธศกั ราช ๒๔๐๔) ออสเตรยี (พทุ ธศกั ราช ๒๔๑๐) สวเี ดน (พุทธศกั ราช ๒๔๑๑) นอร์เวย์ (พุทธศกั ราช ๒๔๑๑) เบลเยยี ม (พุทธศักราช ๒๔๑๑) ซ่ึงในการท�ำสญั ญากับ ประเทศต่างๆ เหลา่ นี้ จะมกี ารมาเจรจาร่วมกันแกไ้ ขสนธิสัญญาในรูปแบบเดียวกนั ทุกครั้ง กล่าวคอื ทรงแต่งตัง้ คณะ กรรมาธกิ ารเปน็ ผดู้ ำ� เนนิ งาน โดยมพี ระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงวงษาธริ าชสนทิ เปน็ ประธานคณะกรรมาธกิ ารทกุ ชดุ การแต่งตั้งคณะกรรมาธิการแก้ไขสนธิสัญญากับประเทศอังกฤษเร่ิมข้ึนเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เซอร์จอห์น เบาว์ร่ิง เข้าเฝ้าเป็นการส่วนพระองค์เป็นคร้ังที่ ๒ ทรงแจ้งว่าพระองค์และ พระอนุชาผ้ทู รงเป็นพระเจ้าแผน่ ดนิ องค์ท่ี ๒ (พระบาทสมเด็จพระปนิ่ เกลา้ เจ้าอยูห่ ัว) ได้ทรงแต่งต้งั คณะกรรมการ ๕ ทา่ น จากเสนาบดีชนั้ สูงสดุ น�ำโดยพระอนุชา กรมหลวงวงษาธริ าชสนทิ โปรดเกลา้ ฯ ให้มอี �ำนาจเตม็ ในการเจรจา สนธิสัญญากับอคั รราชทตู ดังความตอนหน่ึงในพระบรมราชโองการว่า “...บุคคลทั้ง ๔ รวมทั้งองค์ประธานมีอ�ำนาจเต็มทั้งฝ่ายราชวงศ์ และขุนนางในการเจรจาต่อรองในสนธิ สัญญาต่าง การจัดการแก้ไขข้อสัญญาเก่าเพ่ือให้ท้ังสองฝ่ายมีสันติภาพ โดยการจัดการ่วมกับเซอร์จอห์น เบาว์ร่ิง ผแู้ ทนผมู้ ีอำ� นาจเตม็ ของพระนางเจ้าวคิ ตอเรยี แหง่ สหราชอาณาจกั รองั กฤษ ในการนี้ ไมว่ ่าคณะบคุ คลน้ีจะเหน็ ชอบ ใดใด หรืออนญุ าต ผูแ้ ทนพระองค์ กใ็ หถ้ อื ว่า พระเจา้ แผน่ ดนิ ทง้ั สองทรงเหน็ ชอบดว้ ย รวมทง้ั ราชวงศแ์ ละเสนาบดี สยาม...”๕๙ สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพทรงกลา่ วไว้ในพระนิพนธ์เร่ือง “ความทรงจำ� ” ความตอนหนึ่งว่า “เวลาเม่อื พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัวเสด็จผ่านพภิ พนนั้ ภายในประเทศสยามบา้ นเมืองกเ็ ปน็ ปรกตเิ รยี บรอ้ ยกวา่ เมอื่ เปลยี่ นรชั กาลกอ่ นๆ ในกรงุ รตั นโกสนิ ทรน์ ี้ เพราะคนทงั้ หลายนยิ มเปน็ น้�ำหนง่ึ ใจเดยี วกนั หมด แตท่ างภายนอกมเี หตุเป็นขอ้ วิตกอยู่ ด้วยเมือ่ ใกลจ้ ะส้ินรัชกาลที่ ๓ รฐั บาลอังกฤษได้มาขอท�ำหนังสือสัญญาใหม่ แต่ ขา้ งฝา่ ยไทยไมย่ อมทำ� เพราะเหน็ วา่ ถา้ ทำ� หนงั สอื สญั ญาตามขอ้ ความทอ่ี งั กฤษปรารถนาจะเกดิ ความเสยี หายในบา้ น เมือง ทูตองั กฤษขดั ใจกลบั ไป จึงระแวงกันอยู่วา่ อังกฤษจะกลับมาอกี และคราวนี้จะมาดีหรอื มารา้ ยก็เปน็ ไดท้ ้งั สอง สถาน กใ็ นเวลานนั้ ผใู้ หญใ่ นราชการ มสี มเดจ็ เจา้ พระยาฯ ทง้ั สององค์ เปน็ ตน้ ยงั นยิ มในทางรฏั ฐาภปิ าลนโยบายอยา่ ง ครั้งรัชกาลที่ ๓ อยูโ่ ดยมาก ผู้ทม่ี คี วามเหน็ เป็นชัน้ สมยั ใหมเ่ หมอื นอย่างพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว มนี ้อยตวั มีชือ่ เสียงปรากฏมแี ต่พระบาทสมเดจ็ พระป่ินเกล้าเจ้าอยหู่ วั พระองค์ ๑ แตเ่ ม่ือบวรราชาภิเษกแลว้ ก็ เอาพระองค์ออกห่าง ไมเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การเมือง ด้วยเกรงจะเป็นแข่งพระบารมีพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อย่หู วั คงมีแตก่ รมหลวงวงศาธิราชสนิท พระองค์ ๑ สมเด็จเจา้ พระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ เม่ือเป็นเจา้ พระยาวา่ ท่ี สมหุ พระกลาโหม องค์ ๑ กับเจา้ พระยาทิพากรวงศ์ เปน็ ผู้ชว่ ยในการตา่ งประเทศ ๑” ๕๗ เมืองทา่ เรอื ฮานเซียตคิ (Hanseatic League) ทางฝงั่ ทะเลเหนือของเยอรมนั ปจั จบุ ันรวมเข้าอยกู่ บั เยอรมนี) ๕๘ กลายเป็นเยอรมนีในภายหลัง ๕๙ อนุกรรมการฝ่ายจัดการสัมมนาทางวิชาการด้านสนธิสัญญาและการต่างประเทศ งานฉลอง ๒๐๐ ปี วันคล้ายวันประสูติพระเจ้า บรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนทิ , เอกสารสมั มนาทางวชิ าการ เรื่อง สนธิสัญญาและการต่างประเทศในรชั สมยั พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว : ผลสืบเน่ืองจากสยามเก่าสโู่ ลกาภวิ ัตน,์ (ปทมุ ธานี : โรงพิมพ์มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๕๒), ๕๒.
120 เมือ่ ตะวันออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้ วันที่ ๑๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๙๙ (คริสต์ศักราช ๑๘๕๖) ไทยเซน็ ต์สัญญากับฝรั่งเศส ซ่ึงตรงกับ รชั กาลของพระจกั รพรรดนิ โปเลยี นท่ี ๓ ราชทูตฝร่งั เศสคือ ม. เดอ มอนตยิ ่ี (M. de Montigny) นำ� เอาของขวัญมา หลายอย่าง อาทิ พระรปู ป้ันทองสมั ฤทธขิ์ องพระจักรพรรดิและพระจกั รพรรดินี ทั้งมรี ถน่งั เทียมมา้ แบบใหม่ รวมทงั้ มา้ ด้วย ตอ่ มาพระเจา้ นโปเลียนที่ ๓ ทรงสง่ เรอื กลไฟมาดว้ ยล�ำหนง่ึ ๖๐ ในพระราชพงศาวดารกรงุ รัตนโกสินทร์ รชั กาลท่ี ๔ ของเจา้ พระยาทิพากรวงศมหาโกษาธบิ ดี ได้กลา่ วถึง เร่ืองทูตฝร่ังเศสเขา้ มาท�ำสญั ญา ๓๒ ข้อ ไดร้ ะบถุ งึ เครือ่ งมงคลราชบรรณาการท่ีพระจกั รพรรดินโปเลียนที่ ๓ ถวาย แดพ่ ระบาทสมเด็จพระป่ินเกลา้ เจา้ อยูห่ ัววา่ “ของสมเดจ็ พระเจา้ อำ� เปรอ (ถวายพระบาท) สมเด็จพระป่ินเกลา้ เจ้า อยหู่ วั เคร่ืองดบั ไฟหนึง่ ตู้เขยี นฉากหนึง่ ปืนโก๊มีล�ำกล้องหนั ยิงได้ ๕ นดั บอกหนึง่ แก้วทบั กระดาษหน่ึง นาฬิกาตั้ง หนึง่ กลอ้ งส่องดูของเลก็ เปน็ ใหญ่หน่งึ ” คณะราชทตู ไทยเข้าเฝา้ ฯ จกั รพรรดินโปเลยี นที่ ๓ ณ พระราชวงั ฟงแตนโบล ประเทศฝร่งั เศส เมอ่ื พุทธศักราช ๒๔๐๔ ๖๐ พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ จุลจกั รพงษ,์ เจา้ ชวี ติ พงศาวดาร ๙ รชั กาลแหง่ ราชวงศ์จักรี, (กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท สำ� นกั พิมพ์ รเิ วอร์ บคุ๊ ส์ จ�ำกดั , ๒๕๕๔), ๑๙๙.
เมอ่ื ตะวันออกพบตะวนั ตก : 121 พิพิธสมบัติพระราชา ณ วงั หนา้ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั เสดจ็ ออกใหเ้ มอซิเออร์ เดอ มงติญี (Monsieur de Montigny) ราชทตู ฝรงั่ เศสเข้าเฝา้ ฯ ท่ีท้องพระโรงพระที่นั่งอนันตสมาคม ในปีเดียวกันประธานาธิบดีแฟรงคลิน เพียร์ซ (President Fanklin Pierce) แห่งสหรัฐอเมริกาส่ง มร. แฮรร์ ี พารค์ ส์ (Harry Parkes) มาเปน็ ทตู เจรจาสนธสิ ญั ญาใหม่ จนลงนามสำ� เรจ็ ในพุทธศักราช ๒๔๐๑ โปรตเุ กสแตง่ ทูตเขา้ มาเจริญพระราชไมตรี มีหมายรบั สง่ั เร่ือง ต้อนรับทตู โปรตุเกส ฉบับท่ี ๔ เรอ่ื งแขกเมอื งเขา้ เฝา้ วังหนา้ เดือน ๓ ขนึ้ ๑๐ ค�ำ่ ทูลเจา้ นายวงั หนา้ แต่งพระองค์เข้าเฝ้าให้พรอ้ ม ความวา่ “ด้วยนายราชาอัฎนายเวรพระบวรราชวังมาส่ังว่า ด้วยพระราชานุประดิษฐ์ รับพระบวรราชโองการใส่ เกลา้ ฯ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ สงั่ ว่า วิชโิ กโรเขา้ มาเฝา้ ฝา่ ละอองฯ ณ วนั เดอื น ๓ ขึน้ ๑๐ ค่ำ� เพลาเชา้ เสด็จ ออก ณ พระท่นี ่ังอศิ ราวินิจฉยั เหมอื นเม่ือครั้งเซอรย์ อนเบารงิ เข้าเฝา้ ทูลละอองฯ ให้หมายบอกจางวาง บอกเจา้ กรม บอกปลดั กรมสมุห์บญั ชี กราบทลู พระราชวรวงศเ์ ธอ ๓ ทูลพระวรวงศ์เธอ ๒ พระองคเ์ จา้ ชั้นหนงึ่ ๒ เป็น ๗ พระองค์ สมั พนั ธวงศเ์ ธอ ๕ พระองค์แตง่ พระองคเ์ ร่ิมไปเฝ้า”๖๑ ในพระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔ ของเจา้ พระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี ไดก้ ลา่ วถงึ เรื่องทูตโปรตุเกสเข้ามาท�ำหนังสือสัญญา ได้ระบุถึงเคร่ืองมงคลราชบรรณาการที่พระเจ้าแผ่นดินโปรตุเกสแต่งให้ อิสิโดโรฝรั่งสิสุโกดิมาเรน เจ้าเมืองมเกา เป็นราชทูตน�ำมาถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า “ของทรงยนิ ดใี นสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เครอื่ งนำ้� รอ้ นทำ� ดว้ ยเงนิ สำ� รบั ๑ ฉากคู่ ๑ หบี เครอ่ื งหอมหบี ๑ กลอ้ ง สอ่ งแฝด ๑ กล้องส่องตาเดียวขอน ๑ หบี เหล้าหวาน ๒ หบี ” ๖๑ กรมศลิ ปากร, ประชุมพงศาวดาร ภาคท่ี ๖๒ เร่อื ง ทตู ฝร่ังในสมัยกรงุ รตั นโกสินทร,์ ๓๓๔.
122 เม่อื ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พพิ ิธสมบตั พิ ระราชา ณ วงั หนา้ ปีพุทธศักราช ๒๔๐๓ ทูตฮอลันดาเข้ามาท�ำหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรี โดยพระเจ้าแผ่นดิน เนเธอรแ์ ลนดแ์ ตง่ ตงั้ ใหก้ องเดอรเกอเชยี ดเปน็ ราชทตู ในพระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลที่ ๔ ของเจา้ พระยา ทพิ ากรวงศมหาโกษาธบิ ดี ไดร้ ะบถุ งึ เครอื่ งมงคลราชบรรณาการทนี่ ำ� มาถวายแดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั วา่ “ของทรงยนิ ดใี นสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ดาบญป่ี นุ่ ๒ เลม่ เสอ้ื หมวกเครอ่ื งแตง่ ตวั อยา่ งทหารญปี่ นุ่ สำ� รบั หนงึ่ ธนู ๑๖ คนั มเี ครือ่ งสำ� หรับธนพู รอ้ ม เชงิ เทียนทองแดงค่หู นึ่ง ดอกไมท้ องแดงคหู่ นง่ึ กระถางธปู ทองแดงขอนหนงึ่ ” ในเดือนพฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๐๖ พลเรือเอกโบนารด์ ได้รับคำ� ส่งั จากพระเจ้านโปเลยี นที่ ๓ ให้ส่ง ดวงตราเลจอิ อง ดอนเนอร์ (Legion d’Honneur) ประดับเพชรเป็นพเิ ศษ มาถวายแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งขณะน้ันไทยเรายังไม่เคยมีเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์แบบฝรั่ง พระเจ้าแผน่ ดินพระราชทานเกียรติแกเ่ จ้านายและขนุ นางโดยพระราชทานเครอื่ งยศ อาทิ กาทอง พานทอง กระบ่ี หรอื ดาบอนั มฝี กั เปน็ ทอง พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จงึ ทรงคดิ จดั เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณแ์ บบฝรงั่ ขน้ึ บา้ ง ทรงสร้างเครื่องราชอิสรยิ าภรณน์ พรตั น์ข้ึน และสง่ ไปยงั พระเจ้านโปเลียนที่ ๓ หลังจากที่ไทยลงนามในสัญญากับต่างประเทศหลายประเทศข้ึน ประเทศเหล่าน้ันก็ส่งกงสุลมาอยู่ใน กรุงเทพฯ มากข้ึนด้วย และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงโปรดให้มีกงสุลเป็นผู้แทนประเทศไทยไป ประจ�ำกรุง ณ ตา่ งประเทศเช่นกนั ซึง่ ในระยะตน้ กงสุลของไทยท่ใี นยุโรป โปรดทรงใช้ฝรงั่ ท้ังสน้ิ อาทิ เซอรจ์ อห์น เบาวร์ งิ กงสลุ ไทยทก่ี รงุ ลอนดอน๖๒ กงสลุ ไทยทกี่ รงุ ปารสี รองกงสลุ ทเี่ มอื งมารเ์ ซลส์ (Marseilles) กงสลุ ทกี่ รงุ เบอรล์ นิ กรุงลสิ บอน ลว้ นเปน็ ฝรั่งและสว่ นมากเป็นพอ่ ค้า ในทวีปเอเซยี ทเ่ี มอื งปนี ัง สิงคโปร์ ฮอ่ งกง มาเกา๊ และปัตตาเวยี (ปัจจุบันเรียกจาการ์ตา) ทรงใช้พ่อคา้ คนจนี เป็นกงสุลของไทย สถานทูตฝร่งั เศส รมิ แม่น้ำ� เจ้าพระยา ขา้ งโรงแรมโอเรยี นเต็ล ๖๒ เซอรจ์ อหน์ เบาวร์ งิ อดตี ราชทตู องั กฤษทกี่ รงุ เทพฯ เมอ่ื เกษยี ณอายรุ าชการทอี่ งั กฤษแลว้ กโ็ ปรดแตง่ ตงั้ ใหด้ ำ� รงตำ� แหนง่ อคั รราชทตู ผมู้ อี ำ� นาจเต็มฝ่ายไทยคนแรกประจำ� อยทู่ ี่ลอนดอน มอี ำ� นาจเตม็ ในการเจรญิ สัมพนั ธไมตรกี ับประเทศอ่นื ๆ ในยุโรปตามนโยบายของไทย และพระราชทานบรรดาศักดใ์ิ ห้เปน็ พระยาสยามานกุ ูลกิจ สยามมิตรมหายศ
เมือ่ ตะวันออกพบตะวนั ตก : 123 พพิ ิธสมบตั พิ ระราชา ณ วังหน้า บา้ นกงสุลอังกฤษ ตึกรับรองของหลวงส�ำหรบั ชาวต่างประเทศท่มี ารับราชการได้พักอาศยั อยูด่ า้ นเหนอื ของทา่ เตียน ปัจจบุ ันคอื สำ� นักงานบรกิ ารจดทะเบียนธุรกิจ ๑ สำ� นักทะเบียนธรุ กิจ กรมพฒั นาธุรกจิ การค้า
124 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพธิ สมบัติพระราชา ณ วังหนา้ ผลดจี ากการทไ่ี ทยทำ� สญั ญากบั ประเทศตา่ งๆ หลายฉบบั นำ� ความเจรญิ กา้ วหนา้ มาสสู่ ยามประเทศในเวลา นน้ั เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งผลทางเศรษฐกิจ ไทยยอมอนญุ าตใหส้ ่งขา้ วเปลือกเป็นสินค้าออกเปน็ ครง้ั แรก ทำ� ใหต้ อ้ งปลกู ขา้ วมากยงิ่ ขนึ้ และในไมช่ า้ ขา้ วเปน็ สนิ คา้ ออกทส่ี ำ� คญั ทสี่ ดุ ของประเทศไทยจนทกุ วนั น้ี และในสมยั นนั้ ไดม้ กี ารประกาศเตือนให้ราษฎรซ้อื ขา้ ว เพราะจะเปิดใหจ้ �ำหน่ายออกนอกประเทศ ประกาศ ณ วนั พฤหสั บดี เดอื น ๘ ขึ้นค�่ำ ๑ ปมี ะโรง นักษตั ร อฐั ศก (ตรงกบั วันที่ ๓ กรกฎาคม พทุ ธศักราช ๒๓๙๙) ความวา่ “มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศแก่ข้าราชการแลราษฎรชาวพระนครแลชาวนอกกรุงท้ังปวงให้ทราบ วา่ บดั น้ีก็เปน็ ต้นฝนกลางมอื แล้ว ฝนก็งามดีอยู่ กลัวแตฝ่ นจะมากเกินไปเสียอกี ทรงก�ำหนดไว้วา่ ถ้าฝนงามจนเดอื น ๑๐ แล้ว จะโปรดเปิดใหล้ ูกค้าซื้อขา้ วออกไปจ�ำหนา่ ยนอกประเทศ เมอื่ เปดิ แล้วราคาข้าวจะขน้ึ ไป เพราะฉะน้ันใคร ที่จะใคร่ซ้ือข้าวด้วยราคาถูกๆ ก็ให้รับซื้อหาเก็บไว้ใช้สอยหรือมากเหลือใช้สอย เม่ือเปิดข้าวออกนอกประเทศแล้วก็ จะไดข้ ายเอาก�ำไร อย่าเสยี ดายเงินทนุ กลัวข้าวผุเลย รบี ซื้อไวเ้ สยี เมื่อราคาขา้ วยังไมข่ ้ึน ไม่ซ้ือแล้วถา้ ราคาขา้ วข้นึ ไป เพราะเปดิ ขา้ วออกนอกประเทศ กอ็ ยา่ บน่ เอาในหลวงวา่ ทำ� ใหร้ าคาขา้ วแพงขนึ้ เพราะในหลวงทรงพระเมตตากรณุ า แกช่ าวนาจะไดข้ ายขา้ วไดร้ าคา ไมท่ ง้ิ นาเสยี ไปทำ� การอนื่ ๆ แลแกค่ นนอกประเทศทเ่ี ปน็ มนษุ ยเ์ หมอื นกนั ใหใ้ ชข้ า้ วไป กนิ โดยสะดวกตามกำ� ลงั ทรพั ยข์ องเขา เพราะฉะนนั้ จงึ เตอื นชาวในพระนครทไ่ี มไ่ ดท้ ำ� นาซอ้ื ขา้ วเขากนิ นนั้ รบี ซอื้ ขา้ วไว้ จะต้องเสยี เงนิ มากเม่อื ข้าวขน้ึ ราคา หรอื อย่าใหต้ อ้ งอายปากเลย”๖๓ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระปรีชารอบรู้การในพระนครและต่างประเทศ ตลอดจน ขนบธรรมเนียมต่าง ๆ เป็นอย่างดี การที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงด�ำเนินวิเทโศบายเจริญความสัมพันธ์กับประเทศมหาอ�ำนาจชาติตะวันตก โดยเฉพาะประเทศอังกฤษ และฝร่งั เศส ซึ่งพยายามแผ่อทิ ธพิ ลครอบครองดนิ แดนในภูมิภาคแถบนี้ ดงั เหน็ ไดจ้ ากประเทศเพื่อนบา้ นของสยาม ที่ต้องตกอยู่ภายใต้อาณานิคมของประเทศตะวันตก การที่สยามส่งคณะราชทูตไปเข้าเฝ้าประมุขของประเทศใน ยุโรปนั้น นับเป็นเร่ืองส�ำคัญในการสร้างความเข้าใจกับประมุขของประเทศเหล่านั้น และยังเป็นการแสดงถึงความ เปน็ มติ ร ยืนยนั ใหเ้ ห็นว่าประชาชนชาวสยามพรอ้ มท่ีจะรบั การติดต่อคา้ ขายกบั ประเทศอนื่ ๆ อนั เป็นสว่ นสำ� คัญท่ี น�ำพาใหป้ ระเทศชาตริ อดพ้นจากวกิ ฤติภยั คุกคาม ไม่ตอ้ งตกเป็นอาณานคิ มของชาติตะวันตก น�ำความภาคภูมิใจมา สปู่ ระชาชนชาวไทยจนทกุ วันนี้ ๖๓ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั , รวมพระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เรอื่ ง ประชมุ ประกาศ รชั กาลท่ี ๔, (กรงุ เทพฯ : องคก์ ารคา้ ของคุรสุ ภา, ๒๕๔๘), ๙๙.
รายการวตั ถจุ ัดแสดงนิทรรศการ
128 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้
เมอื่ ตะวันออกพบตะวันตก : 129 พิพธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้ พระบวรฉายาสาทสิ ลกั ษณข์ องพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ศิลปะ/อายสุ มยั ศลิ ปะตะวันตก พทุ ธศตวรรษท่ี ๒๕ ชนิด ผ้าเขียนสีนำ้� มนั ขนาด กว้าง ๑๖๕ เซนติเมตร ยาว ๒๗๑ เซนติเมตร ประวตั ิ เป็นของพิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาตมิ าแต่เดมิ สถานท่ีเกบ็ รักษา พระทนี่ ่ังอิศเรศราชานุสรณ์ พระบวรฉายาสาทิสลักษณ์ของพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เขียนสีน�้ำมัน ภาพประทับยืนทรงฉลองพระองค์ ชุดราชนาวี คาดกระบี่ และประดับตราเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ตะวันตก ตามพระประวัติกล่าวว่า พระบาท สมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั มกั ทรงเครอื่ งฉลองพระองคอ์ ยา่ งนายทหารตะวนั ตก โดยเฉพาะเครอ่ื งทรงทหารเรอื ซง่ึ ทรงใช้เปน็ พระองค์แรกในประเทศไทย๑ ท้ังน้เี ปน็ ทีป่ ระจกั ษว์ า่ ทรงโปรดปรานวิชาการทหาร ท้ังทหารบกและทหาร เรือ แต่ทรงมีความสามารถเป็นพิเศษโดยเฉพาะวิชาการต่อเรือแบบตะวันตก เมื่อได้รับพระราชทานบวรราชภิเษก แล้ว ทรงบงั คบั การทหารเรอื วงั หน้า และไดส้ รา้ งเรอื รบกลไฟไว้เปน็ ความชอบแกแ่ ผ่นดนิ ไดแ้ ก่ เรืออาสาวดีรศ และ เรอื ยงยศอโยฌิยาตามบนั ทกึ ของหมอบรดั เล เมอ่ื วนั ที่ ๑๓ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๓๗๔ เลา่ วา่ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงไดร้ บั พระราชทานเครอื่ งทรงทหารเรอื และโปรดฉลองพระองคท์ หารอยา่ งตะวนั ตกมาแตค่ รงั้ รชั กาลที่ ๓ ความวา่ “เยน็ วนั น้ี ขณะทห่ี มอบรดั เลนง่ั อยใู่ นหอ้ งอา่ นหนงั สอื มเี สยี งรอ้ งทกั เปน็ ภาษาองั กฤษวา่ Hallo Doctor ! How do you do? เปน็ อยา่ งไรหมอ สบายดีหรอื หมอบรดั เลได้ยนิ เช่นน้นั จงึ หนั ไปดูทางนอกชานวา่ จะเป็นชาว อังกฤษท่ีไหนมา เม่ือได้เห็นคนรูปร่างสันทัดผิวเนื้อด�ำแดง แต่งตัวเป็นทหารเรือ มีกระบี่กะไหล่ทองแขวนอยู่ข้างๆ จึงเดินตรงเข้าไปหา ขณะที่หมอบรัดเลเดินตรงเข้าไปหานี้เอง นายทหารเรือผู้น้ันอดขันไม่ได้ หัวเราะออกมาดังๆ อาการเช่นนี้ท�ำให้หมอบรัดเลจ�ำได้ว่าไม่ใช่ใครท่ีไหนมา คือเจ้าฟ้าน้อยนั่นเอง พระองค์ทรงเครื่องทหารเรือท่ีได้รับ พระราชทานเม่ือเร็วๆ นี้ และการท่ีทรงเครื่องมาเช่นน้ีก็โดยพระประสงค์จะทรงสัพยอกหมอบรัดเลกับภรรยาเล่น เพือ่ เป็นการสนุกซ่ึงพระองคท์ รงโปรด”๒ ผู้บนั ทกึ จารุณี อินเฉิดฉาย ๑ สาระน่าร้กู รงุ ธนบุรี (กรงุ เทพฯ : มูลนิธิอนรุ ักษ์โบราณสถานในพระราชวงั เดมิ , ๒๕๔๓), ๔๙. ๒ ประชุมพงศาวดารเล่ม ๑๘ (องค์การคา้ คุรุสภา, ๒๕๐๘), ๘๔ - ๘๕.
130 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้
เม่อื ตะวันออกพบตะวนั ตก : 131 พพิ ิธสมบัตพิ ระราชา ณ วงั หนา้ พระบวรฉายาสาทสิ ลกั ษณข์ องพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ศลิ ปะ/อายุสมัย สมยั รัตนโกสินทร์ ชนดิ กระดาษ เขยี นสนี ำ้� มัน ขนาด กวา้ ง ๖๔.๕ เซนตเิ มตร ยาว ๖๔.๕ เซนติเมตร ประวัติ เปน็ ของพพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติมาแต่เดิม สถานท่ีเกบ็ รกั ษา พระท่นี ่งั ศิวโมกขพมิ าน พพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร พระบวรฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉลองพระองค์อย่างทหารยุโรป เขียน ดว้ ยสนี ำ้� มนั อยใู่ นกรอบสลกั ลวดลายสที อง แสดงถงึ พระราชนยิ มซงึ่ ทรงโปรดปรานวทิ ยาการทางตะวนั ตก โดยเฉพาะ ทางด้านการทหาร ผบู้ ันทกึ จารุณี อนิ เฉดิ ฉาย
132 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้
เม่อื ตะวันออกพบตะวันตก : 133 พพิ ธิ สมบตั พิ ระราชา ณ วังหน้า พระแทน่ เศวตฉตั ร ศลิ ปะ/อายุสมยั สมัยรัตนโกสินทร์ รชั กาลที่ ๔ ชนดิ ไมแ้ กะสลกั รักลงปดิ ทองประดบั กระจก ขนาด กวา้ ง ๒๗๕ เซนติเมตร ยาว ๒๗๕ เซนตเิ มตร สูง ๑๙๐ เซนติเมตร ประวตั ิ เปน็ ของพระราชวังบวรสถานมงคลมาแต่เดิม สภาพเดมิ ช�ำรดุ น�ำไปซ่อมท่ฝี า่ ยช่างสบิ หมู่ กองหตั ถศิลป์ เม่ือ วนั ที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๙ ส่งกลบั คนื มาเมอ่ื วนั ที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๓๙ สถานท่เี ก็บรกั ษา พระทีน่ งั่ ภิมุขมณเฑยี ร พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร พระแทน่ ราชบัลลังก์บวรเศวตฉัตร เป็นพระแท่นไม่มีเครอ่ื งยอด ทำ� ด้วยไมแ้ กะสลกั ลงรกั ปิดทองประดบั กระจกสี ฐานสงิ หแ์ ละฐานเชงิ บาตรซอ้ น ๒ ชน้ั หนา้ กระดานฐานสงิ หช์ นั้ ลา่ งปดิ ทองทบึ จำ� หลกั ลายทปี่ ากสงิ ห์ นมสงิ ห์ กาบเทา้ สงิ ห์ และบวั หลงั สงิ หส์ ลกั ลายบวั หลงั เจยี ด ทฐ่ี านเชงิ บาตรชน้ั ลา่ งประดบั รปู ครฑุ พนม ๓๑ ตวั ชน้ั บนประดบั รปู เทพนม ๓๒ ตวั หนา้ กระดานฐานเชงิ บาตรแตล่ ะชนั้ ตลอดจนถงึ พนกั พระแทน่ ประดบั ดว้ ยไมป้ ดิ ทองประดบั กระจก แกะลายลอย รองซบั ด้วยแผ่นกระจก เปน็ ลายกระกนกใบเทศ ทอ้ งไม้ประดบั กระจกลายลกู ขนาบ คอื ลายประกับ ด้วยลายริ้วขนาบ ๒ ข้าง กึง่ กลางเปน็ ลายดอกประจำ� ยาม ราวพนกั ทำ� ดว้ ยไมก้ ลงึ กลมประดับกระจกลายยา (ไมข้ ดุ ลวดลายเป็นรอ่ ง ประดบั กระจกสใี นรอ่ งลาย พนื้ ปิดทองทบึ ) มีตราประจำ� พระองคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระปิน่ เกลา้ เจ้า อยหู่ วั รปู พระจุฑามณีวางบนพานแวน่ ฟา้ ตรงกลางพนักพงิ ด้านหนา้ พนกั พงิ ประดับกระจกสีขาวเตม็ แผน่ ด้านหลัง ประดบั กระจกลายดอกพกิ ลุ ขอบแกะลายดอกและใบอย่างเทศ พระแทน่ เศวตฉตั รองคน์ ี้ มขี นาดใหญก่ วา่ พระแท่นเศวตฉัตรวังหน้าสามญั ท้ังน้ีคงท�ำตามอยา่ งพระแท่น เศวตฉตั รวงั หลวง๑ เพอื่ เฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั โดยใชเ้ ปน็ พระแทน่ ราชบลั ลงั กส์ ำ� หรบั เสดจ็ ออกทอ้ งพระโรงเตม็ ยศอยา่ งใหญ่ รวมทงั้ ใชใ้ นการพระราชพธิ แี ละการบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลตา่ งๆ ภายในพระราช วงั บวรฯ ในปี พ.ศ.๒๔๐๐ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดใหอ้ ญั เชญิ “พระเสรมิ ” มาจากเมอื งหนองคาย พระแทน่ เศวตฉตั รจงึ ใชเ้ ปน็ ทปี่ ระดษิ ฐานพระเสรมิ ตง้ั เปน็ ประธานในการพระราชพธิ เี ฉลมิ พระชนมพรรษาบา้ ง และ การพระราชพิธีสงกรานต์บ้าง เป็นตน้ ๒ ผูบ้ นั ทกึ เดน่ ดาว ศิลปานนท์ ๑ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ, “ต�ำนานวงั หนา้ ,” ประชุมพงศาวดารฉบบั กาญจนาภเิ ษกเลม่ ๔, ๑๑๗. ๒ กรมศลิ ปากร, ลัทธิธรรมเนยี มต่างๆ เลม่ ๑, พิมพ์คร้ังท่ี ๔ (พระนคร : ส�ำนกั พมิ พค์ ลังวทิ ยา, ๒๕๑๕), ๕๕๖ - ๕๕๗, ๕๖๔, ๕๖๖, ๕๖๙.
134 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้
เม่ือตะวันออกพบตะวนั ตก : 135 พิพธิ สมบตั ิพระราชา ณ วงั หนา้ พระแท่นออกขนุ นางโดยปกติ ศิลปะ/อายุสมัย สมยั รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลที่ ๔ ชนิด ไม้แกะสลกั ลงรักปิดทองประดบั กระจก ขนาด กวา้ ง ๑๗๔ เซนติเมตร ยาว ๒๔๑ เซนติเมตร สงู ๒๐ เซนติเมตร ประวัติ เปน็ ของพระบาทสมเดจ็ พระป่ินเกลา้ เจา้ อยหู่ วั อยู่ในพิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนครมาแตเ่ ดมิ สถานทีเ่ กบ็ รกั ษา พระท่นี ั่งอุตราภมิ ุข พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร พระแท่นที่ประทับออกขุนนางโดยปกติ ของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระแท่นทรง ส่ีเหล่ียมผืนผ้าขนาดใหญ่ อย่างประทับเอนพระองค์ได้ ท�ำด้วยไม้จ�ำหลักลายปิดทองประดับกระจก ตัวพระแท่น เปน็ ฐานสงิ หช์ น้ั เดยี ว หนา้ กระดานเชงิ ฐานจำ� หลกั ลายประจำ� ยามกา้ มปสู ลบั ดอกกลม หลงั สงิ หแ์ ละหนา้ กระดานบน สลกั ลายบวั กระจงั พนื้ ทาชาดทบึ ตง้ั ซอ้ นอยบู่ นฐานหนา้ กระดานเกลย้ี งอกี ชน้ั หนงึ่ สรา้ งขนึ้ เพอื่ เปน็ พระเกยี รตยิ ศใน พระบาทสมเดจ็ พระปิ่นเกล้าเจา้ อยหู่ วั เสด็จขึ้นพระแทน่ ออกว่าราชการตามเวลาเชา้ และค่�ำ พระบวรราชวงั เลา่ กนั มาวา่ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระอธั ยาศยั ไมโ่ ปรดทจี่ ะแสดงยศศกั ด์ิ โดยปกติโปรดที่จะเสด็จออกให้ขุนนางข้าราชการเฝ้าที่โรงรถ๑ ทั้งน้ีเข้าใจว่าประทับบนพระราชอาสน์ มิได้ประทับ พระแทน่ ออกขนุ นาง ซงึ่ คงทอดไวย้ งั พระท่ีนัง่ ทอ้ งพระโรง (พระทีน่ ัง่ อศิ ราวนิ ิจฉยั ) ผบู้ ันทกึ เด่นดาว ศิลปานนท์ ๑ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ, “ต�ำนานวงั หน้า,” ประชุมพงศาวดารฉบบั กาญจนาภิเษก เล่ม ๔, ๘๙.
136 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้
เมือ่ ตะวันออกพบตะวนั ตก : 137 พพิ ิธสมบตั พิ ระราชา ณ วงั หนา้ พระทนี่ ง่ั พุดตานทองวงั หนา้ ศิลปะ/อายสุ มยั สมัยรตั นโกสนิ ทร์ รัชกาลท่ี ๔ ชนดิ ไมแ้ กะสลกั ลงรกั ปิดทองประดับกระจก ขนาด กวา้ ง ๑๒๗ เซนตเิ มตร สงู ๑๑๕.๕ เซนตเิ มตร ประวัติ กระทรวงวังส่งมา สถานทเ่ี กบ็ รักษา พระทีน่ ั่งภมิ ขุ มณเฑียร พพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร พระที่น่ังพุดตาน เรียกว่า “พระที่นั่งพุดตานทองวังหน้า” สร้างขึ้นเป็นของส�ำหรับพระราชวังหน้า ท�ำ ด้วยไม้ปิดทองประดับกระจก สันนิษฐานว่าสร้างข้ึนเพ่ือเฉลิมพระเกียรติยศพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว พระท่ีนั่งพุดตานทองวังหน้า มีรูปทรงใกล้เคียงกับพระที่น่ังพุดตานวังหลวง ลักษณะเป็นพระแท่นไม่มีเคร่ืองยอด ประกอบดว้ ยฐาน ๓ ช้ัน ฐานช้นั ลา่ งเปน็ ฐานสิงห์ ถดั ขึ้นไปเป็นฐานเชิงบาตร ๒ ช้นั ด้านหน้ามเี กยลาทางข้นึ ๒ ชน้ั หนา้ กระดานเชงิ ฐานลา่ งสดุ แกะเปน็ ลายเกลยี วดอกประจำ� ยามสลบั กบั ลายดอกแปดกลบี เหนอื หนา้ กระดานชกั ลวด บวั ๒ ชน้ั ชน้ั ลา่ งประดบั กระจงั ตาออ้ ยและชนั้ บนประดบั กระจงั เจมิ ฐานชนั้ สงิ หแ์ กะสลกั ลวดลายกระหนกใบเทศเตม็ ท้ังหมด บวั หลงั สิงห์แกะลายบัวกระจัง เหนอื ขึ้นไปประดับกระจงั ๒ ชนั้ บวั ปากฐานทรงบวั แวง และหน้ากระดาน ฐานสงิ ห์แกะสลักลายเกลยี ว เหนอื หน้ากระดานมแี ถวลวดบวั ตกแต่งลายกระจัง ๒ ช้นั ถัดจากนั้นเปน็ ฐานเชงิ บาตร ชนั้ แรก ท้องไมป้ ระดับกระจกลายลูกขนาบ กงึ่ กลางเป็นลายดอกประจ�ำยาม ประกับดว้ ยลายร้ิวขนาบ ๒ ข้าง มีรูป ครฑุ พนมทำ� ดว้ ยไมแ้ กะสลกั ปดิ ทองประดบั กระจกรายโดยรอบ ๒๓ ตวั ถดั ขนึ้ ไปเปน็ บวั หงาย คนั่ ดว้ ยลวดบวั ลกู แกว้ อกไก่ ประดบั แถวลายกระจังตาออ้ ยทั้งดา้ นบนและดา้ นลา่ ง และหน้ากระดานฐานเชิงบาตรสลักลายเกลียว ตกแตง่ ดว้ ยแนวกระจงั ตาออ้ ยและกระจงั เจมิ แบบเดยี วกบั หนา้ กระดานฐานสงิ ห์ ฐานเชงิ บาตรชนั้ บนตกแตง่ เชน่ เดยี วกบั ฐาน เชงิ บาตรช้ันล่าง ท่ีรอบฐานประดบั รูปเทพพนม ๒๓ ตวั บัวปากฐานสลักเปน็ ลายบวั กลบี ขนุนขนาดใหญ่ มเี กสรบัว และกระจงั ซ้อนกนั ๔ ช้นั ล�ำดบั จากแถวกระจงั ตาอ้อย กระจังเจมิ และกระจงั ปฏญิ าณ ฐานพระราชยานตอนบนมีพนัก ๓ ด้าน ท�ำด้วยงาแกะสลักและกลึงเป็นลูกมะหวด ปลายยอดแกะเป็น ลายใบไม้แบบตะวันตก ด้านข้างและด้านหลังมีกระหนกใบปรือขนาดใหญ่ แกะลายกระหนกใบเทศ ฝีมือละเอียด ประณตี เปน็ พิเศษ พนักพิงขอบไม้แกะสลักลวดลาย ด้านหนา้ ประดับกระจกลายเกล็ดกระดองเต่าสที องเตม็ พื้นท่ี ผูบ้ ันทึก เด่นดาว ศิลปานนท์
138 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้
เมอื่ ตะวนั ออกพบตะวันตก : 139 พพิ ธิ สมบตั ิพระราชา ณ วงั หน้า แผ่นไม้จ�ำหลัก ศิลปะ/อายุสมัย ศิลปะรัตนโกสินทร์ รชั กาลท่ี ๔ – ๕ ชนดิ ไมแ้ กะสลัก ขนาด กว้าง ๖๕.๕ เซนติเมตร ประวัติ ซือ้ มาจากพิพธิ ภัณฑ์ของหมอ่ มเจา้ ปิยะภกั ดีนาถ สุประดิษฐ์ เมือ่ วันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๙ เดิมไดม้ า จากพระราชวงั บวรสถานมงคล สถานท่ีเกบ็ รกั ษา พระที่นง่ั มขุ เด็จ พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร แผน่ ไมแ้ กะ กรอบทรงรี จ�ำหลกั เป็นรปู สายเข็มขดั ลายเครอื อยา่ งเทศ แบบอทิ ธิพลตะวนั ตก ราวรัชกาล ที่ ๔ – ตน้ รชั กาลท่ี ๕ ภายในแกะเปน็ รปู โขลงชา้ ง พน้ื เจาะทะลเุ ปน็ รวู างระยะเสมอกนั ๖ แหง่ เดมิ คงตดิ หมดุ สำ� หรบั ตกแตง่ สถาปตั ยกรรมหรอื ประกอบเขา้ กบั งานศลิ ปกรรมอน่ื ๆ เดมิ ไดจ้ ากพระราชวงั บวรสถานมงคล คงเปน็ ของสรา้ ง โดยช่างฝีมือวงั หน้า ผู้บันทกึ เดน่ ดาว ศิลปานนท์
140 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้
เม่อื ตะวันออกพบตะวนั ตก : 141 พพิ ธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วงั หนา้ แผ่นภาพเขยี นบนผนังพระที่น่งั เอกอลงกฏ ศลิ ปะ/อายุสมัย ศิลปะรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔ ชนดิ ปูน ขนาด กวา้ ง ๖๙ เซนตเิ มตร ยาว ๙๐ เซนติเมตร ประวัติ ภาพเขียนสพี ระท่ีนั่งเอกอลงกฏ ในบรเิ วณพพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ซ่งึ ได้รอ้ื แล้ว สถานท่ีเกบ็ รักษา คลังพระทน่ี งั่ วายุสถานอมเรศ พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร แผ่นภาพตัดจากผนังส่วนบนด้านในพระที่น่ังเอกอลงกฏ เทคนิคเขียนสีทองบนพ้ืนรัก ตอนบนภาพเขียน ลายเฟอ่ื งอบุ ะ เชงิ ลายดอกพดุ ตาน ทอ้ งผนงั เขยี นลายดอกไมท้ พิ ย์ แทรกดว้ ยรปู นกและแมลงตา่ งๆ ตามแบบอทิ ธพิ ล ศิลปะจนี ผบู้ นั ทึก เดน่ ดาว ศิลปานนท์
142 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้
เมอ่ื ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : 143 พพิ ธิ สมบตั ิพระราชา ณ วงั หนา้ ภาพพลายไฟพทั ธกลั ป์ ศิลปะ/อายสุ มัย ศลิ ปะรัตนโกสนิ ทร ์ ชนิด สีฝนุ่ บนกระดาษ ขนาด กวา้ ง ๖๐.๕ เซนติเมตร ยาว ๗๒ เซนติเมตร ประวัติ เป็นของอยู่ในวัดไพชยนต์พลเสพ อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ มาแต่เดิม พระครูบวรวิมุติ เจ้าอาวาสวดั ไพชยนตพ์ ลเสพมอบใหพ้ ิพธิ ภณั ฑสถาน สถานท่เี กบ็ รกั ษา พิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ หอศิลป ภาพจติ รกรรมสฝี นุ่ อยใู่ นกรอบไม้ แสดงภาพชา้ งสวมวลยั ทองทงี่ าทงั้ สองขา้ ง ยนื บนแทน่ เบญพาด ขาหนา้ ผกู ดว้ ยเชือกสแี ดงกบั เสาหมอ ขาหลงั ผูกดว้ ยเชอื กสแี ดงกบั เสาเบญพาด ในภาพมีค�ำบรรยาย “พลายแก้วข้นึ ระวาง เปนไฟพตั กรรณ”์ ชา้ งนม้ี ชี อื่ วา่ “พลายไฟพทั ธกลั ป”์ ทม่ี าของชา้ งพลายไฟพทั ธกลั ปไ์ มช่ ดั เจนนกั ในตำ� นานวงั หนา้ ไดก้ ลา่ ววา่ “เดิมชื่อ “พลายแก้ว” ข้ึนระวางเป็นช้างต้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นช้างพลายท่ีมีช่ือ เสียงในดา้ นความฉลาด แต่มอี ปุ นิสยั ดุรา้ ย และตกมันทุกปี แทงคนที่ไปลอ่ (ล่อแพน)ตายหลายคน มีรปู ภาพเขียนไว้ (อยทู่ ใ่ี นพพิ ธิ ภณั ฑสถาน)” สว่ นในหมายรบั สง่ั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ไดป้ รากฏชอื่ พลายไฟพทั ธกลั ป์ ในการขึน้ ระวางชา้ ง สมเดจ็ กรมพระราชวังบวรฯ ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๓๕๗ ชา้ ง “พลายสิงทอง” ขนึ้ ระวางเปน็ “พลาย ไฟพัทธกลั ป์” ช้างต้นในกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรกั ษ์ ช้างน้ลี ้มในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ผบู้ นั ทกึ กาญจนา โอษฐยิม้ พราย
144 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้
เมื่อตะวันออกพบตะวันตก : 145 พิพธิ สมบตั พิ ระราชา ณ วังหน้า ภาพพลายไฟพทั ธกลั ป์ ศิลปะ/อายุสมัย รูปแบบศิลปะ รตั นโกสนิ ทร ์ ชนดิ สฝี นุ่ บนกระดาษ ขนาด กว้าง ๕๗ เซนตเิ มตร ยาว ๘๗.๕ เซนติเมตร ประวตั ิ เป็นของอยู่ในวัดไพชยนต์พลเสพ อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ มาแต่เดิม พระครูบวรวิมุติ เจา้ อาวาสวัดไพชยนต์พลเสพมอบให้พพิ ธิ ภัณฑสถาน สถานที่เก็บรกั ษา พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ภาพจิตรกรรมสีฝุ่นอยู่ในกรอบไม้ แสดงภาพช้างตกมนั ถูกผูกมัดเอาไว้กับเสาไม้ ไมท่ ราบนามศลิ ปินและ ปที ่ีสรา้ งสรรคผ์ ลงาน พลายไฟพัทธกัลป์ท่ีมีช่ือเสียงทั้งความฉลาดและความดุร้าย ได้ปรากฏช่ือในต�ำนานวังหน้าในส่วน พระประวัติของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว จนเป็นที่เลื่องลือ ในคราวนั้นพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า เจา้ อยหู่ วั ทรงมา้ เจา้ พระยาสายฟา้ ฟาดเขา้ ลอ่ แพนชา้ งพลายไฟพทั ธกลั ปท์ กี่ ำ� ลงั ตกมนั ณ สนามภายในพระราชวงั บวร สถานมงคล ซงึ่ นบั วา่ เสย่ี งอนั ตรายเปน็ อยา่ งยงิ่ เหตกุ ารณน์ น้ั สะทอ้ นใหเ้ หน็ ความมน่ั พระทยั ในการบงั คบั ชา้ งมา้ และ พระอุปนิสยั อนั ห้าวหาญของพระองค์ ผ้บู นั ทกึ กาญจนา โอษฐย้ิมพราย
146 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้
เม่ือตะวนั ออกพบตะวันตก : 147 พพิ ิธสมบัติพระราชา ณ วังหน้า มา้ พระท่ีนงั่ และคนเล้ยี ง ศลิ ปะ/อายุสมยั รูปแบบศลิ ปะ รัตนโกสนิ ทร์ ชนิด ไมแ้ ละปูนปลาสเตอร์ ขนาด หุน่ ม้า สูง ๑๖๘ เซนตเิ มตร ยาว ๑๗๒.๖ เซนตเิ มตร หุ่นคนเล้ยี ง สงู ๑๖๗.๕ เซนติเมตร ประวัติ เปน็ ของสมเดจ็ พระป่นิ เกลา้ เจ้าอยู่หัว สถานท่ีเกบ็ รกั ษา พระที่นง่ั ปฤษฎางคภมิ ขุ พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร หุ่นม้าพระที่นั่ง จ�ำลองลักษณะม้ามงคลมีกายสีขาว ศีรษะสีด�ำ กีบเท้าสีแดง สวมบังเหียนและอานม้า หุ่นคนเล้ยี งมา้ นุ่งผ้าลายทองส้นั ผา้ สแี ดง มีผา้ ปักคาดทับสีนวล ปักดิน้ ทอง ไม่สวมเสอ้ื ทงั้ หนุ่ มา้ และคนเลยี้ งมา้ จำ� ลองขนาดเทา่ จรงิ คาดวา่ ใชเ้ ปน็ แบบในการจดั ทำ� เครอ่ื งทรงมา้ และเครอื่ งแตง่ กาย คนเลย้ี งมา้ ผู้บันทึก กาญจนา โอษฐยิ้มพราย
148 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้
เมือ่ ตะวันออกพบตะวันตก : 149 พิพิธสมบตั พิ ระราชา ณ วังหนา้ พัชนดี ้ามงา ศลิ ปะ/อายสุ มยั สมยั รัตนโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี ๒ ชนดิ ผ้า และ งา ขนาด สงู ๙๒ เซนติเมตร ประวัติ เป็นของพระบาทสมเดจ็ พระป่นิ เกล้าเจา้ อยู่หวั ทรงถอื เม่อื ทรงผนวช เดิมอยทู่ วี่ ัดบวรนิเวศ สถานทีเ่ กบ็ รกั ษา พระท่นี ่ังพรหมเมศธาดา พพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร พัชนี เดิมเป็นเครื่องยศส�ำหรับคฤหัสถ์ ต้ังแต่ชั้นพระเจ้าแผ่นดิน เจ้านาย และขุนนาง ต่อมาถวายให้แก่ พระสงฆใ์ ชเ้ ปน็ สมณบรขิ าร สำ� หรบั ลกู ศษิ ยพ์ ดั วปี รนนบิ ตั ิ หรอื ถอื แทนตาลปตั ร จงึ เกดิ เปน็ ธรรมเนยี มพระสงฆผ์ มู้ ยี ศ ชน้ั พระราชาคณะ ฐานานกุ รม และเจา้ อธกิ าร ตา่ งกถ็ อื พชั นเี ปน็ เครอื่ งยศแทนตาลปตั รสบื มาทกุ แหง่ เมอื่ ครง้ั พระบาท สมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงผนวชเปน็ สามเณร ในแผน่ ดนิ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั (เมอ่ื ประมาณ พ.ศ. ๒๓๖๕) ทรงถือพัชนีดา้ มงาเลม่ นี้ ลักษณะหมุ้ ดว้ ยผ้าไหม บัวงาจำ� หลกั รูปพานผลไม้ ด้ามงา ถอื เป็นเครื่องยศ ตอ่ มาสมเด็จ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ ประทานพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงถือเม่ือทรงผนวชเป็นสามเณร แลว้ จึงพระราชทานมาไว้ในหอพทุ ธสาสนสังคหะ๑ ครนั้ เม่ือพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟา้ มหาวชริ ุณหศิ ทรงผนวชเปน็ สามเณร ได้ทรงถือพัชนดี งั กล่าวนท้ี ัง้ สองพระองค๒์ รัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าอยู่หัวไม่โปรดใช้พัชนี เพราะมลี กั ษณะคลา้ ยจวกั เปน็ อัปมงคล จงึ ให้ เลิกใช้พัชนีทั้งส้ิน และโปรดให้ใช้พัดขนนกถวายงานแทน พัชนีของหลวงจึงเลิกใช้ไป ต่อมาทอดพระเนตรเห็น พระสงฆบ์ างหมยู่ งั ใชพ้ ชั นกี นั อยบู่ า้ ง จงึ มพี ระบรมราชโองการประกาศใหบ้ รรดาพระสงฆท์ งั้ ปวงเลกิ ใชพ้ ชั นี พรอ้ มกบั ทรงพระราชดำ� ริจัดสรา้ งพดั รองข้นึ ส�ำหรบั แทนพัชนใี ช้โดยทัว่ ไป๓ ผบู้ นั ทกึ เด่นดาว ศิลปานนท์ ๑ ต�ำนานหอพระสมุด หอพระมณเฑยี รธรรม หอวชิรญาณ หอพทุ ธสาสนสงั คหะ แลหอสมดุ ส�ำหรับพระนคร (พิมพเ์ ปน็ ท่ีระลึก ในงานพระราชทานเพลิงศพพระอนิ ทเบญจา (สะราคำ� วตั ถา) ณ เมรวุ ัดมกฎุ กษัตรยิ าราม วนั ท่ี ๒๒ ตลุ าคม ๒๕๑๒), ๓๙. ๒ ราชบัณฑิตยสภา, อธิบายว่าด้วยหอพระสมุดวชิรญาณแลพิพิธภัณฑสถานส�ำหรับพระนคร (โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๗๐, ๓๐. ๓ เรงิ อรรถวบิ ูลย์, “พดั วาลวชิ นี และพัดรอง,” ความร้เู รื่องพิธธี รรมเนียมสงฆ์ เล่ม ๑ (กรงุ เทพฯ : องคก์ ารคา้ ของคุรสุ ภา, ๒๕๑๒), ๑๗๘ - ๑๘๖.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202