จติ วญิ ญาณ และ ปรัชญาแห่งโลกตะวนั ออก เม่ือตะวันออกพบตะวนั ตก : 51 ๒บทท่ีพพิ ิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหน้า ศกึ ษาศลิ ปวทิ ยาตามโบราณราชประเพณี กาญจนา โอษฐยมิ้ พราย๑ สมเดจ็ พระป่นิ เกลา้ อยูเ่ ศยี ร ทรงสวา่ งทางเรียน เท่ารู้ นานาวิชาเพยี ร พรรลึก น้อยจะมีใครส้ ู เมอ่ื รอ้ ยปีปลาย๒ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นแบบอย่างในด้านการศึกษา พระองค์ให้ความสนพระทัย ในศาสตรต์ า่ งๆ ทไ่ี ดท้ รงศกึ ษาจนเชย่ี วชาญ เปน็ ทก่ี ลา่ วถงึ โดยทวั่ ไป ไมเ่ วน้ แมแ้ ตช่ าวตา่ งชาติ พระราชประวตั ใิ นดา้ น การศกึ ษาของพระองคไ์ มไ่ ดม้ บี นั ทกึ ไวอ้ ยา่ งชดั เจน แตส่ ามารถศกึ ษาจากหลกั ฐานเอกสารหลายอยา่ งมาประกอบกนั และเทียบเคยี งกบั การศกึ ษาของเจ้านายช้นั เจา้ ฟา้ ในช่วงรัตนโกสนิ ทรต์ อนต้น สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพทรงนพิ นธค์ ำ� นำ� หนงั สอื สขุ มุ าลยน์ พิ นธเ์ กยี่ วกบั การ ศกึ ษาของเจา้ นายสมยั กอ่ นความวา่ “...ตามราชประเพณมี าแตโ่ บราณการศกึ ษาของเจา้ นายซงึ่ เปน็ พระราชโอรสและ พระราชธดิ ากวดขนั ยง่ิ กวา่ บคุ คลจ�ำพวกอนื่ จำ� เดมิ แตย่ งั ทรงพระเยาวอ์ ยใู่ นพระราชวงั พอรคู้ วามกต็ อ้ งเรมิ่ ทรงศกึ ษา ส�ำหรบั เจ้านายจงึ เรียนในสำ� นกั เจ้านายพระองค์หญงิ ซง่ึ เปน็ ผใู้ หญ่พระองค์ใดพระองค์หนึง่ เปน็ อาจารย์ (เมอ่ื รชั กาล ที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯให้หม่อมเจ้าและราชินิกุลท่ีเข้ามารับราชการฝ่ายใน เล่าเรียน อักขรสมยั จนถึงข้ันสูง ท่านเหล่านไ้ี ดเ้ ปน็ อาจารยเ์ มอ่ื รัชกาลที่ ๔ มีบา้ ง) เจา้ นายที่ยังทรงพระเยาวท์ รงศึกษาเบอ้ื ง ต้นไปจนไดค้ วามรู้ช้ันอา่ นเขียนหรอื ถา้ จะเรยี กอยา่ งปัจจุบนั นี้กค็ อื จนส�ำเร็จชน้ั ประถมศึกษา กอ่ นพระชนั ษาได้ ๑๐ ปีตอ่ น้ันถึงเวลาเรียนชัน้ มัธยม คอื เรียนภาษาไทยช้นั สงู ขน้ึ ไป และเริ่มเรียนภาษามคธเรียนในส�ำนักอาจารย์เดิมบ้าง ๑ ภณั ฑารักษช์ ำ� นาญการ หัวหน้าพิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ ช้างตน้ ๒ พระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหม่ืนพทิ ยาลงกรณ,์ สามกรุง (กรงุ เทพฯ : คลังวทิ ยา) ๒๔๕.
52 เม่ือตะวันออกพบตะวนั ตก : พพิ ธิ สมบัติพระราชา ณ วงั หน้า ไปเรยี นตอ่ อาลกั ษณห์ รอื ราชบณั ฑติ ยเ์ ปน็ อาจารยบ์ า้ งจนพระชนั ษาถงึ กำ� หนดโสกนั ต์ คอื พระราชกมุ ารเมอ่ื พระชนั ษา ได้ ๑๓ ปพี ระราชกุมารีเมือ่ พระชนั ษาได้ ๑๑ ปตี ง้ั แต่นไี้ ปการศึกษาจงึ ไดแ้ ยกกนั ฝา่ ยพระราชกุมารเมอ่ื ไปทรงผนวช เปน็ สามเณรเลา่ เรยี นศลี ธรรมและพระศาสนาในสำ� นกั พระอปุ ชั ฌายอ์ าจารยต์ ามสมควรแกพ่ ระชนั ษาแลว้ ลาผนวชมา ประทับอย่ฝู ่ายหนา้ แตน่ ี้ไปทรงศกึ ษาวิชาเฉพาะอย่างตามพระอธั ยาศยั คือศลิ ปะศาสตร์ เช่นหัดทรงม้าและใชเ้ ครือ่ ง ศสั ตราวธุ กด็ ี หตั ถกรรมทำ� การชา่ งตา่ งๆ กด็ ี นติ ศิ าสตรร์ าชประเพณแี ละวรรณคดกี ด็ ชี น้ั นที้ รงศกึ ษาในสำ� นกั เจา้ หนา้ ที่ หรอื ผเู้ ชย่ี วชาญในการนน้ั ๆ ไปจนพระชนั ษาได้ ๒๑ ปี ออกทรงผนวชเปน็ พระภกิ ษุ เทยี บตรงกบั เขา้ มหาวทิ ยาลยั ทรง ศึกษากิจในพระศาสนาชั้นสูงข้ึนไปจนถึงสมถภาวนาและวิชาวรรณคดีถึงช้ันสูงสุดหรือวิชาอ่ืนอันไม่ขัดแก่สมณรูป จนส�ำเรจ็ การศึกษาลาผนวชก็เขา้ รับราชการไดต้ ามคุณวชิ า…”๓ เจา้ นายพระองคน์ ้อย จะไดร้ ับการศึกษาขน้ั ตน้ ภายในพระราชวงั ในภาพ (จากซ้าย) หมอ่ มเจ้าจลุ ดศิ ดิศกุล พระองค์เจ้าดิลกนพรตั น์ สมเด็จฯ เจา้ ฟา้ มหาวชิรุณหิศ พระองคเ์ จา้ รังสติ ประยรู ศกั ด์ิ ล่าง-พระองค์เจ้าสุรยิ งประยรู พนั ธุ์ ๓ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ, สขุ มุ าลนพิ นธ์ (โสภณพิพรรฒธนากร) คำ� น�ำ (๑)-(๒).
เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวันตก : 53 พพิ ธิ สมบัติพระราชา ณ วังหนา้ ศึกษาวิชาการ ในรัชกาลท่ี ๒ เม่ือพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จเถลิงถวัลราชสมบัติ สมเด็จพระเจ้า ลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑามณี จึงได้ตามเสด็จสมเด็จพระบรมชนกนาถเข้ามาประทับอยู่ในพระบรมมหาราชวัง ขณะ พระชันษาราว ๑๓ เดือน เม่ือรู้ความการศึกษาของพระองค์จึงเป็นไปตามแบบอย่างของพระราชกุมารทุกประการ คาดวา่ พระองคค์ งเร่มิ เรียนอักขรสมัยในสำ� นกั สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ (ขุน) วดั โมลโี ลกยาราม ร่วมพระอาจารย์ เดียวกนั กับพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระเชษฐาธิราชของพระองค์๔ เมือ่ เจรญิ พระชนมพรรษาจึงทรง เริม่ เรยี นวชิ าช้างม้า และวิชาศาสตราวุธต่างๆ เชน่ ทวน กระบ่กี ระบอง กฬี ามา้ ชา้ งจดั เจนมวญ ตะบองกระบ่ีคลรี ำ� ทวน ทา่ นพร้อม แคล่วคล่องทกุ ขบวน อาวุธ ปนื ใหญป่ นื เลก็ ซอ้ ม ศสั ตร์ซ�้ำช�ำนาญ๕ เจา้ ฟา้ จฑุ ามณมี คี วามสนพระทยั ใฝร่ ใู้ นศาสตรแ์ ขนงตา่ งๆ จนเปน็ ทก่ี ลา่ วถงึ กนั ทว่ั ไป พระองคไ์ ดห้ าความรู้ จากการอ่านหนังสือ ทรงสะสมหนังสือ และตั้งห้องสมุดในวังหน้า นับเป็นพระวิสัยทัศน์อันกว้างไกล เซอร์จอห์น บาวริง ไดก้ ล่าวชมถงึ ห้องสมุดวงั หน้าไว้วา่ “...มหี อ้ งสมุดหนงั สือองั กฤษท่คี ัดเลอื กด้วยอย่างดแี ละมาก...”๖ เม่อื พระราชโอรสไดเ้ ขา้ พธิ ีโสกณั ฑแ์ ล้ว จะทรงผนวชเป็นสามเณรตามโบราณราชประเพณี ในภาพ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพขณะทรงผนวชเป็นสามเณร ๔ ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม, กษตั ริยว์ ังหน้า : พระบาทสมเดจ็ พระป่นิ เกลา้ เจ้าอยู่หัว, (กรุงเทพฯ : สรา้ งสรรค์บคุ๊ ส,์ ๒๕๕๒) ๕ พระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหมนื่ พิทยาลงกรณ,์ สามกรุง (กรงุ เทพฯ : คลังวิทยา) ๒๔๔. ๖ พระปิ่นเกล้า อา่ น เขยี น เรียน ฝร่งั รเู้ ท่าทนั ตะวันตก
54 เม่อื ตะวนั ออกพบตะวันตก : พิพิธสมบตั พิ ระราชา ณ วงั หนา้ ศึกษาทางธรรม ครน้ั พระชนมายุได้ ๑๒ ขวบ ๖ เดอื น เจ้าฟ้าจฑุ ามณีได้รับมงคล การโสกันต์ในพระราชพิธีใหญ่ อย่างสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้า๗ คาด ว่าพระองค์คงได้ผนวชเป็นสามเณรพระชันษา ๑๓-๑๔ ปี ตามโบราณ ราชประเพณีส่วนการผนวชเป็นพระภิกษุปรากฏอยู่ในพระนิพนธ์ของ พระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื พทิ ยาลงกรณใ์ นเรอ่ื ง “บวชวดั พระแกว้ ” ตอนหนง่ึ ว่า “...พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงผนวชในมหานิกายก่อน ทรงตง้ั นกิ ายธรรมยตุ ขิ นึ้ ในรชั กาลท่ี ๓ ในรชั กาลนน้ั เจา้ นายทรงผนวชในมหา นกิ ายโดยมาก รวมทง้ั พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ดว้ ย....”๘แตม่ ไิ ด้ มรี ายละเอยี ดอน่ื ใดวา่ เจา้ ฟา้ จฑุ ามณที รงผนวชในปใี ดและผนวชกพ่ี รรษา แต่ นา่ จะประทบั ทว่ี ดั ระฆงั โฆษติ าราม ในประวตั วิ ดั ไดก้ ลา่ วถงึ เหตกุ ารณใ์ นสมยั พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวโดยมีเรื่องเล่าว่า วันหนึ่งควาญช้างน�ำ ช้างพระที่น่ัง ออกอาบน้�ำในเวลาเช้าที่ท่าช้างวังหลวง เม่ือควาญช้างได้ อาบนำ�้ ใหแ้ ลว้ ขน้ึ จากทา่ ชา้ งไมย่ อมกลบั เขา้ โรง วงิ่ อาละวาดไลค่ นทเี่ ดนิ ผา่ น ไปมาตง้ั แตท่ า่ ชา้ งถงึ หลกั เมอื ง และวนเวยี นอยแู่ ถวนน้ั ตง้ั แตเ่ ชา้ จนถงึ เทยี่ งเศษ พัดวิชนี : พระบาทสมเด็จพระป่นิ เกลา้ ก็ยังไม่ยอมกลับเข้าโรง พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงทราบ เจา้ อยู่หวั ทรงถอื เม่อื ทรงผนวช และเม่อื จึงมีพระราชด�ำรัสสั่งให้อาราธนาสมเด็จพระพนรัตน (ทองดี)๙ วัดระฆัง พระบาทสมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชเจ้าฟา้ มหาวชริ ณุ หศิ ทรงผนวชเปน็ สามเณรแลว้ กใ็ หท้ รงถอื ทง้ั สองพระองค์ วัดระฆงั โฆสิตาราม ๗ พระบวรราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระปิน่ เกล้าเจ้าอย่หู วั พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๔ ๘ นมส., ผสมผสาน ชดุ ที่ ๑, (กรงุ เทพฯ : อกั ษรเพชรเกษม, ๒๕๑๔) ๒๕๔. ๙ สมเด็จพระพนรัตน มีนามเดิมว่าทองดี มเี ชอ้ื สายชาวมอญ เดิมเป็นพระญาณวิรยิ ะ ชน้ั พระราชาคณะ ในรชั กาลพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯให้เป็นพระธรรมไตรโลก ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เป็น สมเด็จพระพนรัตน์
เมอ่ื ตะวันออกพบตะวนั ตก : 55 พพิ ธิ สมบตั ิพระราชา ณ วังหนา้ โฆสติ าราม ใหไ้ ปชว่ ยน�ำชา้ งเขา้ โรง เพราะทรงทราบวา่ สมเดจ็ พระพนรตั นนม้ี คี วามรทู้ างคชศาสตร์ และทา่ นกไ็ ดช้ ว่ ย จดั การนำ� ชา้ งกลบั เขา้ โรงไดอ้ ยา่ งงา่ ยดายสมพระราชประสงค์ และในการปราบชา้ งของสมเดจ็ พระพนรตั นในครงั้ นน้ั เจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ได้ประทับทอดพระเนตรอยู่กับพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวที่หน้า โรงทานข้างประตูวิเศษไชยศรี ไดท้ รงเหน็ ความสามารถของสมเดจ็ พระพนรตั น จึงเปน็ เหตใุ ห้พระองค์ทา่ นเกดิ ความ เลือ่ มใสในวชิ าคชศาสตร์ ต่อมาจึงได้ทรงให้สร้างตำ� หนกั เก๋งหนง่ึ หลงั อยูท่ างทศิ ใต้ของวัด และเมือ่ ทรงผนวชแลว้ ได้ เสดจ็ ไปประทบั จำ� พรรษาอยทู่ ตี่ ำ� หนกั ทท่ี รงสรา้ งไว๑้ ๐ ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั ขอ้ สงั เกตของสมเดจ็ พระสมมตอิ มรพนั ธ์ และ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ ทีไ่ ดป้ ระทานไวใ้ นหนงั สือต้ังพระราชาคณะกรงุ รัตนโกสินทร์วา่ “...พระบาท สมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงผนวชอยวู่ ดั ระฆงั ดว้ ยทรงนบั ถอื สมเดจ็ พระพนรตั นองคน์ มี้ าแตเ่ ดมิ ..”๑๑ ในระหวา่ ง ที่ทรงผนวชพระองค์ก็ใฝศ่ กึ ษาทางธรรม “เมอื่ ทรงผนวชกย็ งั ทรงอุตสาหวริ ยิ ะหดั เทศนก์ ณั ฑม์ หาราช”๑๒ “...ถา้ ปใี ด มีพระองค์เจ้าทรงปนวชถวายเทศน์กัณฑ์ไรก็เสด็จออกในกัณฑ์น้ันไปเสด็จตอนค่�ำก็เมือถึงกัณฑ์มหาราชที่เป็นกัณฑ์ โปรดมาก เพราะเคยทรงเทศน์เมือ่ ทรงผนวช พระราชทานรางวลั บ้าง ทรงตเิ ตยี นบา้ งเป็นการครึกคร้ืนเสมอ..”๑๓ ศกึ ษาวชิ าช้าง-มา้ ช้างและม้าเป็นสัตว์พาหนะทผ่ี ูกพันกับสังคมไทยมาชา้ นานวิชาช้างและวชิ าม้า จึงเปน็ ศาสตรส์ �ำคัญ และ เปน็ โบราณราชประเพณสี บื เนอ่ื งมาแตค่ รง้ั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ทเี่ จา้ นายจะตอ้ งศกึ ษาเรยี นรแู้ ละฝกึ ฝนการบงั คบั ชา้ งมา้ ให้ ชำ� นชิ ำ� นาญ ในชว่ งรตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ บา้ นเมอื งกำ� ลงั อยใู่ นยคุ เปลยี่ นผา่ น รปู แบบของการรบเรมิ่ มกี ารเปลยี่ นแปลง ไปจากอดตี การรบบนหลงั ชา้ งเรม่ิ ลดบทบาทความสำ� คญั ลง อาวธุ ยทุ ธภณั ฑท์ ใ่ี ชใ้ นกองทพั เรม่ิ มคี วามทนั สมยั มากขน้ึ ดงั นน้ั การใชช้ า้ งมา้ ในราชการสงครามจงึ ไมเ่ ขม้ ขน้ เทา่ ในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ถงึ กระนน้ั กต็ ามกย็ งั คงเปน็ ราชประเพณที ่ี เจา้ นายตอ้ งศกึ ษาวชิ าชา้ ง มา้ เปน็ วชิ าประจำ� พระองค์ จนทรงมคี วามเชยี่ วชาญสามารถวนิ จิ ฉยั ชา้ งสำ� คญั ดงั ปรากฏ ในพระราชหตั ถเลขาสมเดจ็ พระป่ินเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวถงึ สมเด็จเจา้ พระยาพระองค์นอ้ ย๑๔ “...ครั้นร่งุ ขึ้น ณ วนั พุธเดอื น ๓ แรม ๖ ค่�ำ เพลาเชา้ ได้ไปพเิ คราะดชู ้าง๑๕ กบั กรมสมเดจ็ พระเดชาดศิ รพอ่ หนอู ิศราพงษพร้อมกนั เหนวา่ รปู พรรณ งามดี เจา้ พญานกิ รบดินทร์กบั พญาสรบุรไี ดใ้ หม้ ลี คอรสมโพธอยวู่ นั หนึ่ง แล้วได้ให้น�ำเอาช้างออกมาอาบน�้ำนอกโรง สีตวั เปียกงามดกี ว่าอยใู่ นโรง ขนตวั สเี หลอื งเสมอท่ัวท้ังตวั ขนหางสแี ดงหูหางสัพ ไดใ้ หพ้ นกั งานวดั ชนั สูตดูสูงภอได้ ๓ ศอกคบื แต่ดฉิ นั เห็นวา่ ชา้ งตัวน้ยี ากที่จะตดั สินอยู่ จะวา่ ช้างเผือกก็หาเหมอื นกนั กับพญาเสวตรก์ ุญชร พญาเสวตร์ ไอยรา พญาเสวตร์คชลกั ษณ์ แลพระเทพกญุ ชรที่เคยเหนผิดกนั ไปทั้งนั้น คร้ันจะว่าช้างสปี ลาดสตี วั ของทา่ นกข็ าวดี กว่า ชา้ งสปี ลาดทุกตวั ทเี่ คยเหนมาแตก่ อ่ นๆ คร้ันจะเรียกเอาตามเขาว่าช้างเผือกโท ดิฉันก็ยังไมเ่ คยเหนช้างเผือก โททไ่ี หนเปนตวั หยา่ งเลยสักตวั หน่ึงไดย้ ินแตต่ �ำราว่าไว้เท่านนั้ แตพ่ เิ คราะหด์ ลู ักษณทงั้ ๔ หย่าง จักขุเล็บขนตวั ขน หางนนั้ กไ็ มห่ นไี กลจากช้างสปี ระหลาดไปได้ เลบ็ ก็มีฝาหอย น้�ำจกั ขกุ ส็ เี หลอื งเหมอื นจกั ขุช้างสปี ระหลาด เพดานใน ปากก็มปี านด�ำอยู่...” ๑๐ www.watrakang.com ๑๑ พระเจา้ บรมวงศ์เธอกรมพระสมมตอมรพนั ธุ,์ เรื่องต้ังพระราชาคณะผใู้ หญ่ในกรุงรัตนโกสนิ ทร์ เล่ม ๑, (กรุงเทพฯ : รุ่งศลิ ป์การ พมิ พ,์ ๒๕๔๕) ๖๙. ๑๒ พระป่ินเกล้า อา่ น เขียน เรียน ฝรง่ั ร้เู ท่าทนั ตะวันตก, ๑๑๓. ๑๓ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ, ลทั ธิธรรมเนียมตา่ งๆ เล่ม ๑, พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๕, (กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์อกั ษร บรกิ าร, ๒๕๑๕), ๖๒๓. ๑๔ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพไิ ชยญาติ (ทัต บุนนาค) ๑๕ พระวิสตู รรัตนกริณีฯ ชา้ งตน้ ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั
56 เมอ่ื ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พพิ ิธสมบัตพิ ระราชา ณ วงั หนา้ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดให้ พระเจ้าลูกยาเธอทรงศึกษาวิชาคชกรรมทุกพระองค์โดยศึกษาจากเจ้าพระยาศรีธรรมาธิราช (บุญรอด) ต�ำแหน่ง สมุหพระคชบาลซ้ายและเจ้าพระยาสุรินทราชา (จันทร์) ต�ำแหน่งสมุหพระคชบาลขวา ขณะพระบาทสมเด็จ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงผนวชอยู่วัดระฆังโฆสิตาราม พระองค์น่าจะได้ทรงศึกษาวิชาคชกรรมเพ่ิมเติมจากสมเด็จ พระพนรตั นทมี่ คี วามรดู้ ้านคชศาสตร์ ซ่ึงพระองคไ์ ด้ทรงประจกั ษด์ ว้ ยพระองค์เองตงั้ แตค่ ร้งั กอ่ นผนวช เกยชา้ ง ในพระราชวังบวรสถานมงคล เดมิ เคยเป็นส่วนหน่ึงของพระทนี่ ่ังคชกรรมประเวศ ปัจจบุ ันคอื บริเวณหนา้ พระทนี่ ่ังพทุ ธไธสวรรย์ พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร
เมื่อตะวนั ออกพบตะวนั ตก : 57 พิพิธสมบตั ิพระราชา ณ วังหนา้ หุ่นมา้ และเครื่องมา้ ของพระบาทสมเดจ็ พระป่ินเกล้าเจา้ อยู่หวั ปจั จุบันจัดแสดงในพพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กลา่ วกนั วา่ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระปรชี าในวชิ าคชกรรมและอศั วกรรมเปน็ อยา่ งยง่ิ จนเปน็ ทร่ี ำ่� ลอื วา่ พระองคท์ รงชา้ งแขง็ แรงนกั ขณะทพ่ี ระองคม์ าประทบั อยทู่ พ่ี ระราชวงั บวรสถานมงคล ทรงสรา้ งโรง ช้างตน้ โรงมา้ ตน้ ทดแทนของเดิมซึง่ ท�ำด้วยเครอื่ งไม้ ซงึ่ ชำ� รุดหกั พงั ลงไปหมดแลว้ พระองค์ทรงสรา้ งโรงชา้ งระวาง ใน ๓ โรง โดยสรา้ งเปน็ ตกึ และโรงม้าแซง ๒ หลงั ๑๖ บริเวณพระราชวังบวรฯชั้นนอก ด้านทิศตะวนั ออก “อันเร่ืองทรงม้าเล่ากันว่าพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดนักประทับอยู่พระบวรราชวังเสด็จ ทรงมา้ เลน่ ในสนามไมข่ าด บางทกี ท็ รงคลี บางทเี วลากลางคนื ใหเ้ ลน่ ขม่ี า้ ซอ่ นหา วธิ เี ลน่ นน้ั ใหม้ คี นขมี่ า้ ตะพายยา่ มตวิ้ แต่งตัวเหมือนกับคนอยู่โยงอีกคนหนึ่ง คนขี่ม้าหนีต้องได้ต้ิวก่อนจึงจะเข้าโยงได้ ความสนุกอยู่ที่รู้ไม่ได้ว่าม้าตัวไหน เปน็ มา้ ติ้วและม้าไหนเป็นมา้ อย่โู ยงเพราะแต่งตัวเหมือนกนั บางทีคนข่มี า้ ตวิ้ แกล้งไล่ผทู้ ่ไี มร่ ูห้ ลงหนี เลยเข้าโยงไม่ได้ กม็ เี ล่ากนั วา่ สนกุ นกั ”๑๗ ๑๖ อาคารเหล่านี้ถกู ร้อื เมอ่ื คราวขยายเขตทำ� สนามหลวงในปี พ.ศ. ๒๔๔๐ ๑๗ สมเด็จพระบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ, ต�ำนานวังหนา้ , ๔๕.
58 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วงั หน้า ภาพเขยี นสนี ำ้� มนั ชอ่ื ภาพ “ไฟพัทธกัลป์ (พลายแกว้ ) ภาพบนขณะขน้ึ ระวาง ภาพล่างขณะตกมนั ถูกผกู มดั เอาไว้กับเสา ปจั จบุ ันจัดแสดงในพิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ หอศลิ ป
เม่ือตะวนั ออกพบตะวนั ตก : 59 พิพิธสมบัติพระราชา ณ วงั หน้า พระอปุ นสิ ยั ทชี่ อบการสนกุ และความเชอ่ื มน่ั ในฝมี อื การบงั คบั มา้ ของพระองคจ์ งึ ทรงกลา้ ทจี่ ะลอ่ แพนชา้ ง พลายไฟพัทธกัลป์ ช้างหลวงที่ตกน�้ำมันทุกปีและมีความดุร้าย ซึ่งนับว่ามีความอันตรายและเส่ียงเป็นอย่างย่ิง โดย สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพไดก้ ลา่ วไวใ้ นตำ� นานวงั หนา้ วา่ “...มเี รอื่ งเลา่ กนั มาวา่ เมอื่ รชั กาล ที่ ๓ มีช้างงาของหลวงตัวหนึ่งอยู่ในกรุงเทพฯขึ้นระวางชื่อว่า “พลายไฟพัทธกัลป์” แต่คนเรียกกันเป็นสามัญตาม ชอ่ื เดมิ วา่ “พลายแก้ว” เป็นชา้ งฉลาดแต่ดุร้ายตกน�้ำมนั ทกุ ปี แทงคนที่ไปลอ่ ตายหลายคน จนขน้ึ ชอ่ื ลือเลอ่ื ง ถึงมี รปู ภาพเขยี นไว้ (อยทู่ ใี่ นพพิ ธิ ภณั ฑสถาน) ชา้ งพลายแกว้ ตวั นนั้ อยมู่ าจนถงึ ในรชั กาลท่ี ๔ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั มมี า้ พระทนี่ ง่ั ตวั หนง่ึ ขนึ้ ระวางเปน็ “เจา้ พระยาสายฟา้ ฟาด” เปน็ มา้ ขคี่ ลอ่ งแคลว่ ฝตี นี ดี ทง้ั เตน้ และวง่ิ ใหญ่ กร็ วดเร็ว พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ ัวโปรดถงึ เกดิ อยากทรงมา้ สายฟ้าฟาดตัวน้นั ลอ่ แพน๑๘ช้างพลายแกว้ เวลาตกน�้ำมัน ตรัสสั่งให้มีการล่อแพนพลายแก้วท่ีสนามในวังหน้าเสด็จทรงม้าสายฟ้าฟาดสะบัดย่างเข้าไปถึงหน้า ช้างแลว้ ชักตลบหลงั ทรงยืน่ แพนลอ่ ช้างตามต�ำรา พอพลายแกว้ ขยับตัวจะไลพ่ ระบาทสมเด็จพระป่นิ เกลา้ ฯ กท็ รง กระทบพระบาทขับม้าจะให้วิ่ง แต่อย่างไรม้าสายฟ้าฟาดเข้าใจว่าโปรดให้เต้นก็เต้นน้อยย�่ำอยู่กับท่ีไม่วิ่งหนีช้างแต่ หมอช้าง ๑๙ ทข่ี ่ีพลายแก้ววันนัน้ ปัญญาไว คงเป็นคนสำ� คญั ท่กี รมช้างเลือกสรรไป เขาแกไ้ ขด้วยใช้อุบายกม้ ตวั ลงเอา มือปิดตาพลายแก้วท้ังสองข้างแล้วขับเบนให้วิ่งไล่เฉไปเสียทางอ่ืน พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ จึงพ้นอันตราย เล่ากนั มาอย่างน.้ี ..๒๐” การซอ้ มชา้ งท่เี รยี กวา่ “ขมี่ า้ ลอ่ แพน”ภาพจติ รกรรมบนตู้พระธรรม ปัจจุบันจดั แสดง ณ พพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร ๑๘ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพทรงอธิบายเร่ืองการล่อแพนไว้ในนิทานโบราณคดีว่า “ซ้อมช้างอย่าง “ลอ่ แพน” นนั้ ส�ำหรับซ้อมชา้ งไล่ เวลารบไมจ่ �ำตอ้ งใชช้ า้ งตกนำ�้ มันเหมือนช้างชน แต่ซ้อมถวายทอดพระเนตรอยา่ งกีฬาใชช้ ้างตกนำ้� มนั เสมอ มที ที่ ้องสนามชัย ทอดพระเนตรบนพระท่ีน่งั สทุ ไธสวรรย์ หมอควาญข่ีชา้ งผูกเครอ่ื งมนั่ หลงั เปลา่ มายืนอยูท่ ีห่ วั สนามทางด้านเหนือ กรมมา้ เลอื กมา้ ตวั ดที ค่ี ลอ่ งแคลว่ และใจกลา้ ตวั หนง่ึ ผกู เครอ่ื งแผงอยา่ งเตม็ ยศใหข้ นุ มา้ ผเู้ ชยี่ วชาญขขี่ นุ มา้ นน้ั กแ็ ตง่ ตวั เตม็ ยศโพกผา้ สที บั ทมิ ขลบิ ทองมือถอื “แพน” ท�ำด้วยไมร้ วกยาวสกั ๖ ศอกผูกผ้าสเี ป็นปล้องๆ ในจนพูท่ ี่อยู่ปลายรำ� แพนขับมา้ สะบัดย่างเข้าไปจนถงึ หน้าชา้ ง ชกั มา้ หนั หนา้ กลบั แลว้ ยนื่ ปลายแพนเขา้ ไปลอ่ ใกลๆ้ ชา้ ง พอชา้ งขยบั ไลก่ ข็ บั มา้ วงิ่ ลอ่ มาในสนามแตม่ ใิ หห้ า่ งชา้ ง ถอื แพนเอาปลายลอ่ ใหช้ า้ ง ฉวย ดเู หมอื นถอื กนั วา่ ถา้ ชา้ งฉวยเอาแพนไดก้ เ็ ปน็ ชา้ งชนะ ถา้ ฉวยไมไ่ ดก้ เ็ ปน็ มา้ ชนะไลก่ นั มาหวดิ ๆ จนคนดอู อกเสยี วไส้ เหน็ ไดว้ า่ มา้ และ คนขด่ี หี ือเลว ด้วยมมี า้ บางตวั ไม่กลา้ เขา้ ใกล้ชา้ ง และคนขบี่ างคนพอชา้ งไล่ก็ขบั ม้าหนเี ตลิดเปดิ เปิง ชวนให้เหน็ วา่ ขลาดเกนิ ไป ในตำ� ราว่า ถ้าช้างฉวยได้แพน ให้หมอควาญหยุดไล่ และรำ� ขอเลน่ หนา้ เยาะเยย้ ถ้าชา้ งไมไ่ ด้แพน ก็ใหไ้ ลต่ ลอดจนถงึ ปลายสนามแล้วหยุดไล่เป็นเสร็จ การล่อแพน บางทเี ปล่ยี นชา้ งเปลยี่ นม้าใหล้ อ่ สองเทยี่ วหรือสามเทยี่ วก็มี” ๑๙ หมออาจ ๒๐ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ, นทิ านโบราณคดี (กรงุ เทพฯ : ไทยควอลิตีบ้ ุคส์ (๒๐๐๖), ๒๕๕๖) ๖๐๑- ๖๐๒.
60 เมอื่ ตะวันออกพบตะวันตก : พิพธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วงั หน้า การซ้อมช้างท่ีเรียกวา่ “ชา้ งบ�ำรงู า” ภาพจติ รกรรมบนตพู้ ระธรรม ปัจจบุ นั จัดแสดง ณ พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร นอกจากน้ี ยังทรงศึกษาทางด้านเวทมนตร์ควบคู่ไปด้วย เพื่อใช้ในการสะกดช้างม้าควบคู่กันไป ท�ำให้มี เสยี งเลา่ ลอื กนั วา่ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงวชิ าอาคม บา้ งวา่ หายพระองคไ์ ด้ บา้ งวา่ เสดจ็ ลงเหยยี บ เรือก�ำปั่นฝรั่งเอียงก็มี๒๑ แม้แต่พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงทราบว่า พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า เจ้าอย่หู วั นน้ั เปน็ ทน่ี ิยมยินดขี องคนเป็นอนั มากว่าอยูค่ งกระพันชาตรี๒๒ ศกึ ษาวรรณคดี พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงไดร้ บั การศกึ ษาวชิ าวรรณคดเี ปน็ อยา่ งดี และทรงไดแ้ สดงใหเ้ หน็ ถงึ พระอจั ฉรยิ ภาพในการนพิ นธ์ประเภทตา่ งๆ ด้วยพระราชกจิ ท่ีมมี ากมาย และการศกึ ษาท่ไี มห่ ยุดนงิ่ ของพระองค์ ท�ำให้บทพระราชนิพนธ์ส่วนใหญ่จะเป็นบทพระราชนิพนธ์เพียงส้ันๆ มีบทพระนิพนธ์ที่เป็นเร่ืองยาวเพียงเร่ืองเดียว คอื บทแอว่ เรือ่ งนทิ านนายค�ำสอน แม้บทพระราชนพิ นธ์เหลา่ นัน้ จะมไี มม่ ากแตพ่ ระองคท์ รงนพิ นธไ์ ดไ้ พเราะงดงาม สักรวาเวลากด็ กึ ด่ืน นำ้� ค้างชืน้ เมฆหมอกออกหนาวหนาว จำ� จะลารอ้ งรักไวส้ ักคราว หนทางบา้ นย่านยาวระยะไกล องค์อเิ หนาสักรวาจะลาแล้ว ไปทางแถวชลธาชลาไหล ด้วยกลัวน้�ำจะแหง้ คลองจงึ ตอ้ งไป ถ้าอยไู่ ด้กจ็ ะอยูจ่ นกรู่ เอยฯ ๒๑ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ, ตำ� นานวงั หนา้ , ๒๕๒๔, ๔๖. ๒๒ การวเิ คราะห์ในเชงิ ประวัตศิ าสตร์ เรื่องบทบาทของวงั หน้าสมยั รัตนโกสินทร์ : พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๔๒๘
เมื่อตะวันออกพบตะวันตก : 61 พพิ ิธสมบัตพิ ระราชา ณ วงั หน้า สักรวาเวลากด็ กึ ดน่ื น้�ำคา้ งช้ืนเมฆหมอกออกหนาวหนาว เสียงไก่แจ้แซ่ขนั กระชัน้ ช้าว จนฟ้าขาวเดอื นดับลับโพยม จะขอลาครรไลไปสถาน ไม่เน่ินนานกจ็ ะกลบั มาชมโฉม เสียดายนกั ความรักจะหรดุ โทรม จะทุกขโ์ ทมนสั หาสดุ า เอยฯ นอกจากนี้ยังมีบทพระราชนิพนธ์ข�ำขันท่ีแสดงถึงความช่างสังเกตและความใส่พระราชหฤทัยในข้าราช บรพิ ารของพระองค์ พระราชนพิ นธ์ ทรงคอ่ นข้าราชการวงั หน้า เป็นนายทหารไม่รจู้ ักอะไร พระพิไชยสรเดช สงู เป็นเปรต คณุ เทศอูฐ พูดอะไรเหมือนไม่พูด พระยาวสิ ูตรโกษา เขา้ วังไมเ่ ปน็ เวลา พระยาภกั ดีภธู ร กินแล้วนอน พระยาประเสรฐิ หมอ หยบิ อะไรไม่ร้ขู อ เฝา้ ที่พรง้ิ จรติ ติดจะหยง่ิ ยม้ิ เจา้ สวั สี้ กวนโมโหทุกท ี อคี งคณุ น้อย พูดจาสำ� อดิ ส�ำออย ยายมาทนาย ดองยาขาย ทนายเรือนเตาะ เป่าป่ีเพราะ พระประดิษฐ พดู อะไรไมค่ ดิ คุณเอมใหญ่ ท�ำราชการถลากไถล นายปานขนุ บ�ำรุง ทำ� ราชการเขา้ พกเข้าถงุ คณุ ปลดั น้อย รับสนิ บนบ่อยบ่อย จ่าแตม้ เห็นหน้าวบั วับแวมแวม หลวงนายมหาใจภกั ดี หม่ันเป็นพักพัก พระยาบริรกั ษร์ าชา เมาเป็นเวลา พระพรหมสุรนิ ทร์ หาได้พอกิน นายนรนิ ทร์กบั หมืน่ เดช พลัดพรากจากพระนเิ วศน ์ หม่อมเกษพระราชรองเมอื ง นอนกินเป็นไอต้ ้ือให้เขาลอื หวั เมืองกระเด่อื ง เจา้ จอมมารดาขลิบ เขา้ เจา้ หวั ขูดตดู ขมุบขมบิ นางแดงนครนายก บทพระราชนิพนธ์ต่างๆ ของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวมีลักษณะท่ีโดดเด่นประการหน่ึงคือ พระองค์จะน�ำสิ่งใกล้ตัวท่ีได้พบเห็นน�ำมาเรียงร้อยเป็นถ้อยค�ำที่สละสลวยแล้วถ่ายทอดออกไปตามความมุ่งหมาย ของพระองค์ เชน่ ช่ืนชม ส่งั สอน ตักเตือน หรือล้อเลยี น เปน็ ต้น
62 เมอ่ื ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พพิ ธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้ ศกึ ษาดนตรี พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั คงไดท้ รงศกึ ษาศาสตรแ์ ขนงนต้ี งั้ แตค่ รง้ั ยงั ทรงพระเยาว์ พระองคท์ รง ถนดั ในมโหรปี ีพ่ าทย์อยูไ่ มน่ อ้ ย ได้ทรงระนาดพระราชทานเซอรจ์ อหน์ บาวริงซึ่งไดบ้ นั ทึกไวว้ า่ “...ไดม้ ีพิณพาทยเ์ ลน่ ตลอดเวลา ในคนื วนั นนั้ ขา้ พเจา้ ชอบเครอื่ งดนตรีอยา่ งหนึ่ง ท่ีทำ� ดว้ ยผวิ ไมใ้ ชต้ บี นผวิ ไมฟ้ งั เพราะดี เรยี งกนั เป็นแผ่น ตอ่ กนั ยาวประมาณสกั เจด็ ฟติ ไดท้ รงลองเลน่ ใหด้ ดู ว้ ยพระองคเ์ อง...” แตเ่ ครอื่ งดนตรที ท่ี รงนยิ มเปน็ พเิ ศษคอื “แคน” ทรงศึกษาและฝึกฝนจนมีความช�ำนาญสามารถเล่นได้อย่างไพเราะ อาจเป็นเพราะแคนเป็นเคร่ืองดนตรีท่ีมีความ สนุกสนาน ประกอบกับขา้ ราชบรพิ ารในพระองคก์ เ็ ป็นชาวลาวเสยี ส่วนมาก และในช่วงเวลานน้ั แคน ก็เป็นท่ีนยิ ม กันท่วั ไป ดงั ในบันทกึ ของหมอบลดั เล เม่ือวนั ท่ี ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๓๗๙ ความวา่ “...เจา้ ฟา้ นอ้ ยทรงพาหมอบลัดเล กับภรรยาชมเครื่องดนตรีชนิดหน่ึงเป็นเคร่ืองลาว (แคน) หมอบลัดเลเคยทราบว่าแคนมีเสียงไพเราะนักอยากจะ ได้ฟัง จึงถามว่าใครๆ ท่ีอยู่ในน้ีเป่าแคนได้บ้าง เจ้าฟ้าน้อยตรัสตอบว่าได้ซิ แล้วพระองค์จึงหยิบแคนข้ึนทรงเป่า แลตรัสถามหมอบลดั เลวา่ ตอ้ งการจะฟังแอ่วดว้ ยหรือ เมอื่ หมอบลดั เลตอบรบั แล้ว พระองคจ์ ึงทรงเรียกคนใช้เข้ามา คน ๑ คนใช้นน้ั เขา้ มากระท�ำความเคารพโดยคกุ เขา่ กราบลง ๓ คร้งั แลว้ นัง่ ลงยงั พ้ืนคอยฟงั แคนอยู่ ครัน้ ได้จงั หวะก็ เริม่ แอว่ อย่างไพเราะจบั ใจ ดเู หมือนจะได้ศกึ ษามาเป็นอยา่ งดจี ากโรงเรยี นสอนดนตรฉี ะนนั้ ...” แม้ว่าจะไม่มีการบันทึกพระราชประวัติด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็น ลายลกั ษณอ์ กั ษรไวอ้ ยา่ งครบถว้ น แตก่ ารศกึ ษาพระราชประวตั แิ ละพระปรชี าสามารถในดา้ นตา่ งๆ แลว้ น�ำสงิ่ เหลา่ นน้ั มาปะติดปะต่อกนั ทำ� ใหเ้ ห็นพระองค์ในภาพของนักการศกึ ษา นักปราชญ์ พระองคม์ ีความสนพระราชหฤทยั ใฝร่ ใู้ น ทกุ ศาสตรท์ ่ีทรงไดม้ ีโอกาสศกึ ษา และน�ำมาประยกุ ตใ์ ช้ พฒั นาตอ่ ยอด ทั้งน้กี ็เพื่อประโยชน์ของประเทศชาตนิ น่ั เอง การทำ� นธุ ำ� รงศาสนาและราชประเพณี เด่นดาว ศิลปานนท๒์ ๓ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงทำ� นบุ ำ� รงุ การพระพทุ ธศาสนา และการพระราชพธิ ใี นพระบวร ราชวังสบื ตามโบราณราชประเพณี คอื เม่ือด�ำรงพระยศเป็นเจ้าฟ้าจุฑามณี ทรงบรรพชาและอุปสมบท ตามธรรมเนียมราชกุมารท่ีสืบมาแต่ครั้ง อยธุ ยาตอนปลาย ทเ่ี จา้ นายในพระราชวงศจ์ ะต้องทรงผนวชทกุ พระองค์ อยา่ งเปน็ ส่วนหนึง่ ของการศึกษา โดยทรง ผนวชตามกำ� หนดพระชนมายุ คอื ทรงผนวชเปน็ สามเณรเมอื่ พระชนั ษา ๑๔ ปี ครง้ั หนง่ึ ๒๔ และผนวชเปน็ พระภกิ ษเุ มอ่ื พระชนั ษา ๒๑ ปี อกี คร้ังหนง่ึ ถงึ แม้ไม่ปรากฏหลักฐานในพระราชพงศาวดาร กลา่ วถึงการผนวชของพระองคไ์ ว้เลย ถงึ กระน้ันก็นา่ เช่อื ไดว้ ่าพระองคท์ รงผนวชเป็นสามเณร เม่ือพระชนมพรรษาถงึ ๑๔ พรรษา เพ่ือทรงศกึ ษาศลี ธรรม และทรงผนวชเปน็ พระภกิ ษเุ มอื่ พระชนมพรรษาถงึ ๒๑ พรรษา เพอื่ ศกึ ษาพระศาสนาและวชิ าชนั้ สงู ตามระเบยี บการ ศกึ ษาของเจา้ นายในสมยั นนั้ ๒๕โดยประเพณเี จา้ นายทรงผนวชทวี่ ดั พระศรรี ตั นศาสดารามในพระบรมมหาราชวงั และ ๒๓ ภณั ฑารักษช์ ำ� นาญการพิเศษ พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร ๒๔ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ, เรอื่ งประวตั วิ ดั มหาธาตุ (โรงพมิ พโ์ สภณพพิ รรฒธนากร, ๒๔๖๓), ๕๐-๕๑. ๒๕ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ, ความทรงจำ� พระนพิ นธ์ สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ (กรงุ เทพฯ : มตชิ น, ๒๕๔๖), ๕๑.
เมื่อตะวนั ออกพบตะวนั ตก : 63 พิพธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วงั หนา้ สมเด็จพระสงั ฆราชทรงเป็นพระอุปชั ฌาย์ ระหวา่ งทรงผนวชมีหลักฐานว่าพระองค์เสด็จประทับจ�ำพรรษาทว่ี ดั ระฆัง โฆสติ าราม ดว้ ยทรงนบั ถือพระพนรตั น์ (ทองด)ี วดั ระฆังมาแต่เดมิ ๒๖ ทรงอุตสาหะฝกึ เทศนม์ หาชาตกิ ณั ฑ์มหาราช๒๗ ยงั ปรากฏพระพัชนดี า้ มงาทรงถือเมื่อผนวช ปจั จบุ นั เก็บรกั ษา ณ พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร เมื่อพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบวรราชาภิเษกเสด็จประทับยังพระบวรราชวังแล้ว สนั นษิ ฐานวา่ โปรดใหป้ ฏสิ งั ขรณพ์ ระทน่ี งั่ พทุ ไธสวรรยเ์ ปน็ ทป่ี ระดษิ ฐานพระพทุ ธสหิ งิ คใ์ นพระบวรราชวงั ดว้ ยพระบาท สมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดใหเ้ ชญิ พระพทุ ธสหิ งิ คจ์ ากวดั พระศรรี ตั นศาสดารามกลบั คนื มายงั พระราชวงั บวรฯ เมอ่ื วนั ขน้ึ ๑ คำ่� เดอื น ๖ ปกี นุ ตรศี ก พ.ศ. ๒๓๙๔๒๘ ยงั ปรากฏรอ่ งรอยฝมี อื ชา่ งครงั้ รชั กาลที่ ๔ ซอ่ มบรู ณะจติ รกรรม ฝาผนงั ผสมผสานกบั ฝมี อื ชา่ งเดมิ ครงั้ รชั กาลที่ ๑ อยภู่ ายในพระทน่ี ง่ั ตอ่ มาพระทรงพระราชดำ� รจิ ะเชญิ พระพทุ ธสหิ งิ ค์ เปน็ ประธานในวดั บวรสถานสทุ ธาวาส จงึ โปรดใหท้ ำ� การบรู ณปฏสิ งั ขรณว์ ดั บวรสถานสทุ ธาวาส กอ่ ฐานชกุ ชขี น้ึ กลาง พระอโุ บสถ ภายในเขยี นภาพจติ รกรรมฝาผนงั เรอ่ื งตำ� นานพระพทุ ธสหิ งิ ค์ และเรอื่ งประวตั พิ ระพทุ ธเจา้ ๒๘ พระองค์ จนแลว้ เสร็จ แต่ยงั มิทันจะได้อัญเชิญพระพุทธสหิ งิ คม์ าประดิษฐาน พระองคก์ ็เสด็จสวรรคตเสียก่อน พระพุทธสหิ งิ ค์ จงึ คงประดิษฐานอยู่ทพี่ ระทน่ี ั่งพุทไธสวรรยต์ ราบเทา่ ถึงทุกวันน๒ี้ ๙ นอกจากน้ี พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างและปฏิสังขรณ์พระอารามหลายแห่ง ทรงสถาปนาวดั ราชผาตกิ าราม ครงั้ ดำ� รงพระยศเปน็ สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจา้ ฟา้ กรมขนุ อศิ เรศรงั สรรค์ เมอื่ พ.ศ. ๒๓๗๙ เพอื่ เป็นการผาติกรรมแทนวดั เดมิ ทพ่ี วกญวนทหารปืนใหญ่ในกำ� กับของพระองค์ พากนั ไปรอื้ เอาอิฐของวดั มาสรา้ งบา้ นเรอื นของตนแหง่ ๑ สรา้ งวดั เลก็ ๆ ในเขตพระราชวงั สที า จงั หวดั สระบรุ ี เพอื่ ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ศลิ า ทช่ี าวบา้ นขดุ พบ๓๐ ใช้เป็นสถานทบ่ี �ำเพญ็ พระราชกศุ ลเมอ่ื เสดจ็ แปรพระราชฐานไปประทับที่พระราชวงั สีทาแหง่ ๑ ทรงปฏสิ งั ขรณว์ ดั หงสร์ ตั นาราม ตามพระราชโองการในพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงชกั ชวนสมเดจ็ พระ ศรสี ุรเิ ยนทรามาตย์ กบั พระบาทสมเดจ็ พระป่นิ เกลา้ เจา้ อยู่หวั ปฏิสังขรณ์วัดเจ้าขรัวหงส์แห่ง ๑๓๑ ปฏิสงั ขรณว์ ดั โมลี โลกยาราม และโปรดให้ร้ือพระต�ำหนักแดงที่ประทับของสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี พระราชชนนีไปปลูก เปน็ กฏุ ิเจ้าอาวาสแหง่ ๑ ทรงบูรณปฏสิ งั ขรณ์วัดศรสี ุดาราม ซ่งึ สมเด็จพระเจา้ พนี่ างเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสดุ ารกั ษ์ พระอยั ยกิ าทรงสถาปนาไว้ แห่ง ๑ รวมสถาปนาพระอาราม ๒ แหง่ และทรงปฏิสงั ขรณ์พระอาราม ๔ แหง่ ๒๖ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพันธุ,์ ตั้งพระราชาคณะผูใ้ หญใ่ นกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ เลม่ ๑ (กรุงเทพฯ : กรมศลิ ปากร, ๒๕๔๕), ๖๙. ๒๗ ลัทธิธรรมเนียมต่างๆ ภาคที่ ๑๑ ลักษณะการพระราชพิธี ฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคล (โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๔), ๑๗. ๒๘ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ, ต�ำนานวังหนา้ , พมิ พ์ครงั้ ท่ี ๘ (กรุงเทพฯ : แสงดาว, ๒๕๕๓), ๖๐. ๒๙ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ, สาส์นสมเดจ็ เล่ม ๑๑ (องคก์ ารค้าของคุรุสภา, ๒๕๐๔), ๑๒๑ – ๑๒๕. ๓๐ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั , ชมุ นมุ พระบรมราชาธบิ ายในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ฉบบั พ.ศ. ๒๔๕๗ (นนทบุรี : ตน้ ฉบบั , ๒๕๕๔), ๓๕. ๓๑ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั , ชมุ นมุ พระบรมราชาธบิ ายในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั หมวดวรรณคดแี ละ หมวดโบราณคดี และประชมุ พระราชนิพนธใ์ นรัชกาลที่ ๔ ภาคปกิณกะ (โรงพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๔๑), ๒๕ - ๒๗.
64 เมื่อตะวนั ออกพบตะวันตก : พพิ ิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหน้า พระทีน่ ่งั พุทไธสวรรย์ พระราชวงั บวรสถานมงคล จติ รกรรมฝาผนงั พระท่นี งั่ มังคลาภเิ ษก สนั นษิ ฐานว่าซ่อมใหม่ครงั้ รัชกาลที่ ๔ เขียนลายช่อดอกไม้เคลา้ ลายสตั วม์ งคลอย่างจีน ทรงมีพระราชศรัทธาอญั เชญิ พระพทุ ธรูปมชี ่อื เสียง มีคนนบั ถือมาก มาประดษิ ฐานเป็นพระพทุ ธรูปสำ� คัญ ประจ�ำพระบวรราชวัง และพระอารามทที่ รงสถาปนาและบูรณปฏิสังขรณ์ โดยโปรดให้เชิญ “พระเสรมิ ” พระปฏิมา เมืองเวียงจันทน์ มาจากเมืองหนองคาย เมื่อปีมะเส็ง นพศก พ.ศ. ๒๔๐๐ แห่ประดิษฐานบนพระที่นั่งเศวตฉัตร ในพระทีน่ งั่ ศวิ โมกขพิมาน๓๒ ต่อมาเม่ือพระบาทสมเด็จพระป่ินเกลา้ เจ้าอยหู่ วั สวรรคต เม่ือ พ.ศ. ๒๔๐๘ พระบาท สมเด็จจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดพระราชทานไปประดิษฐานไว้ที่วิหารวัดปทุมวนาราม๓๓ เชิญพระแสนเมืองเชียง แตง ซึ่งมีพุทธลักษณะงดงาม มาประดิษฐานท่ีวัดหงส์รัตนาราม๓๔ และเชิญพระสุกไปประดิษฐานเป็นประธานใน พระอโุ บสถวดั ราชผาตกิ าราม พระบาทสมเดจ็ พระปิน่ เกล้าเจ้าอยหู่ ัวทรงโปรดใหบ้ �ำรงุ การพระราชพิธี การบำ� เพ็ญพระราชกุศลเพิ่มเตมิ ขนึ้ ในพระบวรราชวงั โดยถ่ายแบบพระราชพิธฝี ่ายพระราชวงั หลวงครั้งรัชกาลที่ ๓ มาเป็นแบบอย่าง เนอื่ งจากทรง ด�ำรงพระเกียรติยศเทียบเท่ากับพระเจ้าแผ่นดิน การพระราชพิธีฝ่ายพระราชวังฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคลใน สมยั รัชกาลที่ ๔ จึงเพม่ิ เตมิ ขนึ้ ตามพระเกียรตยิ ศ ปรากฏหลักฐานในหนงั สอื ลทั ธิธรรมเนียมภาคที่ ๑๑ เร่อื ง ลักษณะ การพระราชพิธฝี า่ ยพระราชวงั บวรสถานมงคล ต้งั แต่พระราชพิธีเดือน ๕ ถึงกลางเดือน ๑๑ ประกอบดว้ ยพระราช พธิ ตี า่ งๆ คือ เดือนห้า พระราชพิธสี งกรานต์ เร่ิมต้ังแตว่ ันกอ่ นสงกรานต์หนึ่งวนั เริ่มต้งั แตว่ นั จ่าย เวลาเย็นพระสงฆ์ ๕ รูปสวดพระปริตรเศกเครอื่ งมรุ ธาภเิ ศกท่พี ระท่นี ่งั พุทไธสวรรย์ ๓ วัน รุ่งเชา้ วันเถลิงศก พระราชทานบณิ ฑบาต ถวาย เครื่องไทยทาน นิมนต์พระสงฆ์ พระองค์เจ้าพระ หม่อมเจ้าราชาคณะ สมเด็จพระราชาคณะ และพระราชาคณะ จำ� นวนเทา่ พระชนมพรรษา สวดมนตเ์ ยน็ ทพ่ี ระทน่ี งั่ อศิ ราวนิ จิ ฉยั วนั มหาสงกรานต์ เวลาเชา้ ถวายอาหารบณิ ฑบาตแก่ ๓๒ ลทั ธิธรรมเนียมตา่ งๆ ภาคที่ ๑๑ ลกั ษณะการพระราชพธิ ี ฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคล, ๔. ๓๓ กองวรรณกรรมและประวตั ศิ าสตร,์ กรมศลิ ปากร, พระพทุ ธรปู สำ� คญั (กรงุ เทพฯ : กองวรรณกรรมและประวตั ศิ าสตร์ กรมศลิ ปากร, ๒๕๔๓), ๓๓๓-๓๓๔. ; ๓๔ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั , ชมุ นมุ พระบรมราชาธบิ ายในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ฉบบั พ.ศ. ๒๔๕๗, ๕๓-๕๔.
เมอ่ื ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : 65 พิพิธสมบตั พิ ระราชา ณ วงั หน้า พระสงฆ์ ถวายผา้ ไตร สรงนำ�้ พระ เพลถวายขา้ วแช่ มกี อ่ พระทรายเตยี งยกรบั เสดจ็ ทหี่ นา้ พระทนี่ ง่ั อศิ ราวนิ จิ ฉยั เวลา เยน็ พระสงฆ์ ๓๐ รูป สวดฉลองพระทราย วนั เนา เวลาเช้าเลี้ยงพระสวดฉลองพระทราย เพลถวายขา้ วแชพ่ ระสงฆ์ ๑๕ รูป ถวายเครอื่ งไทยทาน ตง้ั บายศรสี มโภชเวยี นเทยี น และแห่พระทรายไปวัดมหาธาตุ วัดบวรสถานสทุ ธาวาส มี สรงนำ�้ ตน้ พระศรมี หาโพธว์ิ ดั มหาธาตุ วดั สทุ ศั นเทพวราราม และวดั สระเกศ สรงนำ�้ พระพทุ ธสหิ งิ ค์ ตง้ั บายศรี สมโภช เวียนเทียน ประโคมแตรสงั ขพ์ ณิ พาทยก์ ลองแขก ๓ วัน สรงน้�ำและเวียนเทียนพระพุทธบาทวดั บวรสถานสุทธาวาส จุดดอกไมเ้ พลงิ คืนละ ๕ พมุ่ ทงั้ ๓ คืน เวลาเย็นพระราชาคณะและถานานุกรม ๒๐ รปู สวดมนตใ์ นการสรงมรุ ธา ภเิ ศก วนั เถลงิ ศก เวลาเชา้ เสดจ็ ขนึ้ หอพระธาตุ สรงนำ�้ พระบรมธาตแุ ละพระพทุ ธรปู แลว้ เสดจ็ ขนึ้ พระทน่ี งั่ วายสุ ถาน อมเรศและหอพระอฐั ิ สรงนำ้� พระบรมอฐั แิ ละพระอฐั ิ จากนน้ั เสดจ็ ออกพระทน่ี ง่ั อศิ ราวนิ จิ ฉยั เลย้ี งพระ และสรงมรุ ธา ภิเศก เวลาเพลทรงประเคนขา้ วแชถ่ วายพระสงฆ์ ทอ่ี าสนส์ งฆพ์ ระทน่ี ั่งศิวโมกขพมิ าน พระสงฆส์ ดับปกรณ์ ทรงพระ ราชอทุ ิศสดับปกรณ์พระบรมอัฐิ พระอฐั ิ และสรงน�ำ้ พระเจา้ พย่ี าเธอ พระเจา้ พี่นางเธอผใู้ หญ่ รดน้ำ� เจ้าจอมมารดา ในรชั กาลท่ี ๒ สมเด็จเจา้ พระยาองค์ใหญ่ สมเด็จเจ้าพระยาองคน์ อ้ ย และพระนม เดอื นหก พระราชพธิ ีวสิ าขบูชา พระสงฆ์สวดมนตเ์ วลาบ่าย ๓ วัน ในวนั ขนึ้ ๑๓ คำ�่ วันขึ้น ๑๔ คำ่� และ วันขึ้น ๑๕ คำ่� เวลาเช้าพระราชทานอาหารบิณฑบาต ๓ วนั ในวนั ขึน้ ๑๔ ค่�ำ วนั ข้ึน ๑๕ คำ่� และวันแรม ๑ ค่ำ� และ ถวายไทยทาน ตัง้ เคร่ืองนมัสการและตะเกียงน�้ำมันหอมบชู าเจติยสถาน ๕ แห่ง คือ พระพทุ ธสหิ ิงค์ (พระทน่ี ง่ั พทุ ไธ สวรรย)์ ๑ พระเสรมิ (พระท่ีนงั่ ศวิ โมกขพิมาน) ๑ พระอุโบสถวัดบวรสถานสทุ ธาวาส ๑ พระพุทธบาทบนเขา ๑ และ พระพุทธบาทสรี่ อย ๑ มเี ทศนาในพระทน่ี งั่ อศิ ราวนิ จิ ฉัย ๓ คนื จดุ ดอกไมเ้ พลิงทหี่ น้าวัดบวรสถานสุทธาวาส และ หนา้ พระท่นี ่งั พุทไธสวรรย์ ประกวดโคมข้าราชการแขวนท่พี ระอโุ บสถวัดบวรสถานสทุ ธาวาส พระท่ีนงั่ พุทไธสวรรย์ และพระทนี่ ่งั ศวิ โมกขพิมาน พระสงฆส์ ดับปกรณ์พระบรมอัฐแิ ละพระอฐั ิ และถวายสลากภตั พระสงฆ์ ๑๕๐ รปู เดอื นแปด การพระราชกศุ ลเขา้ พรรษา ขน้ึ ๘ คำ่� เสดจ็ ทรงหลอ่ เทยี นพรรษาทเี่ กง๋ ขา้ งพระทน่ี ง่ั อศิ ราวนิ จิ ฉยั ดา้ นใต้ จ�ำนวน ๕ เล่ม น�ำขน้ึ ถวายตัวยงั ทอ้ งพระโรงวันข้ึน ๑๓ ค่ำ� เวลาเย็นพระสงฆ์ ๑๐๐ รปู สวดมนต์ ๓ วนั ในวันข้ึน ๑๓ คำ�่ ๑๔ คำ�่ ๑๕ ค�่ำ เวลาเชา้ วันขึ้น ๑๔ คำ่� ๑๕ คำ่� และวันแรม ๑ คำ่� พระสงฆ์ฉันอาหารบิณฑบาต ทรงถวายเครอ่ื งเขา้ พรรษา รปู สตั วส์ ผี งึ้ เทยี น สงิ่ ละ ๑๐๐ วนั ขนึ้ ๑๔ คำ่� เจา้ พนกั งานนำ� เทยี นพรรษาไปตงั้ ยงั วดั พระ ศรรี ตั นศาสดาราม ๑ พระทนี่ งั่ พทุ ไธสวรรย์ ๑ พระทนี่ ง่ั ศวิ โมกขพมิ าน ๑ วดั บวรสถานสทุ ธาวาส ๑ วดั หงสร์ ตั นาราม ๑ วันข้นึ ๑๕ คำ่� เสด็จพระราชดำ� เนนิ จุดเทียนพรรษาทีพ่ ระพทุ ธสหิ ิงค์ และพระเสริม ถวายพมุ่ พรรษา เคร่อื งบชู า และเครอื่ งเขา้ พรรษา สว่ นทวี่ ดั บวรสถานสทุ ธาวาสและวดั หงส์ พระราชทานเทยี นชนวนและโคมเพลงิ ใหพ้ ระองคเ์ จา้ นำ� ไปจดุ จากนนั้ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ทรงจดุ เทยี นถวายเครอื่ งบชู าแกพ่ ระมหามณรี ตั น ปฏิมากร วันแรม ๑ ค่�ำ เชิญพระบรมอัฐิและพระอัฐิสดับปกรณ์ท่ีพระที่น่ังพุทไธสวรรย์ ต้ังแต่เข้าพรรษามีเทศนา คืนละ ๑ กัณฑ์ ที่พระท่นี งั่ อิศราวินจิ ฉัยตลอดท้ัง ๓ เดือน การพระราชกุศลถวายพระบรมอัฐิ วันแรม ๑๑ ค่�ำ เดือน ๘ เป็นวันคล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีการบ�ำเพ็ญพระราชกุศลตามกาลานุกาล เวลาเช้าอัญเชิญพระบรมอัฐิตั้งเหนือพระท่ีน่ัง เศวตฉตั รในพระที่น่ังอิศราวินจิ ฉยั เลีย้ งพระราชาคณะและถานานุกรม ๑๐ รูป พระสงฆส์ ดับปกรณ์ มีสดบั ปกรณ์ พระอนั ดบั ๑๐๐ รูป เทศนา ๑ กัณฑ์ ถวายเครอ่ื งไทยธรรม เวลาเย็นนิมนต์พระสงฆส์ วดมนต์เชา้ เข้ามาสวดมนต์ เช่นเดียวกบั การบ�ำเพญ็ พระราชกศุ ลวันข้ึน ๑๑ ค่ำ� เดอื น ๔ อันเปน็ วนั คลา้ ยวนั พระราชสมภพในพระบาทสมเด็จ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัย
66 เม่ือตะวนั ออกพบตะวันตก : พพิ ธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วงั หน้า บวชนาคหลวง บางปีมีหม่อมราชวงศ์เข้าไปบวชเป็นนาคหลวงในพระบวรราชวัง มีต้ังบายศรีท�ำขวัญท่ี พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน วันหน่งึ รุ่งข้นึ เวลาเช้า ๕ โมง แห่นาคหลวงข้นึ เสล่ียงก้ันกลดก�ำมะลอ จากหน้าพระทนี่ ่ัง ศิวโมกขพิมาน ออกไปทางประตูโอภาษพิมาน ประตูพระราชวังชั้นกลางด้านเหนือไปบวชท่ีอุโบสถวัดบวรสถาน สุทธาวาส โปรดให้เจ้านายถวายเคร่ืองบริขาร เครื่องไทยทานถวายจีวรธูปเทียนหมากพลูแก่พระอุปัชฌาย์และ พระสงฆค์ ่สู วดน่ังหัตถบาสรวม ๓๐ รูป เดอื นสบิ การพระราชพธิ เี ฉลมิ พระชนมพรรษา พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชสมภพ เม่อื วนั อาทติ ย์ ขนึ้ ๑๕ คำ�่ เดอื น ๑๐ ปมี ะโรง สัมฤทธิศก จลุ ศกั ราช ๑๑๗๐ โปรดให้บำ� เพญ็ พระราชกศุ ลเมอ่ื บรรจบ รอบคล้ายวันพระราชสมภพในเดือน ๑๐ โดยต้ังการสวดมนต์ที่พระท่ีน่ังอิศราวินิจฉัย พระสงฆ์จ�ำนวนมากกว่า พระชนมพรรษารปู ๑ เวลา ๕ โมงเยน็ เสดจ็ ออกทรงประเคนผา้ ไตร ผา้ กราบปกั ลายพระปน่ิ และอกั ษรพระบวรราชวงั และยา่ ม พระสงฆค์ รองไตรแลว้ เจรญิ พระปรติ ร เมอื่ สวดจบ มเี สภาหนา้ เฉลยี งทอ้ งพระโรง โหรบชู าเทวดานพเคราะห์ ท่พี ระท่ีนงั่ สนามจนั ทร์ รงุ่ เช้าเสด็จออกทรงประเคนอาหารบณิ ฑบาต พระสงฆ์ฉันแลว้ ทรงถวายเคร่ืองสมณบริขาร ภัณฑ์ตา่ งๆ พระสงฆ์ถวายอนุโมทนา ถวายอดเิ รก ถวายพระพรลา มสี รงมุรธาภเิ ศก ทรงปล่อยปลา เปด็ ไก่ และสกุ ร การพระราชพธิ ีสารท วันแรม ๑๓ ค�ำ่ ๑๔ คำ�่ ๑๕ ค�ำ่ เดือน ๑๐ นมิ นต์พระสงฆ์ ๒๐ รปู สวดมนตเ์ ย็นท่ี พระทนี่ ง่ั ศิวโมกขพมิ าน รงุ่ ข้ึนวนั แรม ๑๔ ค�่ำ ๑๕ ค�่ำ และข้นึ ๑ คำ่� เดือน ๑๑ พระสงฆฉ์ ันเชา้ พรอ้ มพระราชทานโถ ขา้ วยาคู และถวายไทยทาน วันขึน้ ๑ ค่�ำ เดือน ๑๑ เชิญพระบรมอัฐแิ ละพระอัฐิ ต้งั บำ� เพญ็ พระราชกุศลกาลานุกาล มีสดับปกรณ์รายร้อย ๔๐๐ รูป มีกระทงข้าวตูเคร่ืองคาวหวานถวายพระสงฆ์ราชาคณะฉันวันละ ๑ กระทง ทรงบาตรโถยาควู ันละ ๑๐๐ รปู ท้งั ๓ วัน มดี อกไม้เพลงิ หนา้ พระท่นี งั่ พุทไธสวรรย์ คนื ละ ๕ พุ่ม ๓ คืน เดือน ๑๑ เทศนามหาชาติและจัตุราริยสัจ นิมนต์พระสงฆ์เทศนาบนพระที่นั่งเศวตรฉัตร ภายในพระที่ น่งั อศิ ราวินจิ ฉัย วันขนึ้ ๑๔ คำ่� และวันแรม ๑ ค่ำ� พระสงฆเ์ ทศนาอริยสจั ๒ กัณฑ์ ท้งั ๒ วนั วันข้ึน ๑๕ คำ�่ เทศนา มหาชาติ ๑๓ กณั ฑ์ วนั ขึน้ ๑๔ ค�ำ่ และแรม ๑ ค�่ำ เวลาเที่ยงเศษ เสด็จพระราชด�ำเนินประทบั ฟงั เทศนา และถวาย เครอ่ื งไทยธรรม เสด็จขึ้นเวลาบา่ ยสามโมงเศษ วนั ขนึ้ ๑๕ คำ�่ เสดจ็ พระราชดำ� เนินเวลาเชา้ ๑ โมง ประทบั ฟังเทศนา มหาชาติ เทศนจ์ บถวายเครอ่ื งไทยธรรม แลว้ เสด็จข้ึน เวลา ๒ ยาม เสด็จพระราชดำ� เนินลงลอยพระประทปี วันแรม ๑ คำ่� อญั เชิญพระบรมอฐั ิ และพระอฐั ิ สดับปกรณก์ าลานุกาล มีสำ� รับเลยี้ งพระเทศน์และพระรับสัพพี เวลาเช้าเพล บนพระทน่ี งั่ พทุ ไธสวรรย์ มีดอกไม้เพลิงบชู าพระพทุ ธสหิ ิงค์ ๕ พมุ่ ทั้ง ๓ คืน๓๕ เจงิ้ แซเ่ จงิ้ : เจง้ิ เจง้ิ วัฒนธรรมอย่างจีนเข้ามาผสมผสานอยู่กับวัฒนธรรมไทยมาช้านานสืบมาตั้งแต่คร้ังกรุงศรีอยุธยา ด้วย ชาวจีนเข้ามาติดต่อค้าขายและเข้ามาพ่ึงพระบรมโพธิสมภารต้ังถิ่นฐานชุมชนอยู่ในสยามประเทศเป็นจ�ำนวนมาก ราชสำ� นกั สยามกไ็ ดม้ กี ารเจรญิ สมั พนั ธไมตรที างการทตู เพอื่ ประโยชนท์ างการคา้ กบั ราชส�ำนกั จนี อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เปน็ เหตุ วัฒนธรรมช้ันสงู ของจนี แพร่หลายอยูใ่ นราชส�ำนกั โดยปรับเขา้ กับขนบธรรมเนียมอยา่ งไทย ๓๕ ลัทธธิ รรมเนียมตา่ งๆ ภาคท่ี ๑๑ ลกั ษณะการพระราชพิธี ฝ่ายพระราชวงั บวรสถานมงคล.
เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : 67 พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วงั หนา้ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชนิยมอย่างจีน อันเป็นแบบแผนความนิยมสืบ ต่อเนือ่ งมาตั้งแตแ่ ผ่นดนิ พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจา้ อย่หู ัว รัชกาลที่ ๓ ด้วยการนำ� เอารปู แบบศิลปกรรม ตลอด ถงึ ขนบธรรมเนยี มจนี เขา้ มาปรบั ในราชสำ� นกั เหน็ ไดจ้ ากเมอ่ื บวรราชาภเิ ษกเสดจ็ ประทบั ณ พระบวรราชวงั แลว้ มไิ ด้ ประทับยังพระวิมานอันเป็นท่ีประทับของสมเด็จพระมหาอุปราชตามพระราชประเพณีแต่เดิมมา แต่โปรดให้ขยาย เขตพระราชฐานชั้นในด้านทศิ เหนือออกไป เพ่ือสรา้ งพระราชมณเฑียรตามแบบพระราชนิยมเป็นท่ปี ระทบั พระราช มณเฑียรท่ีสร้างข้ึนใหม่เป็นเก๋งจีน สร้างขึ้นโดยฝีมืออย่างประณีตบรรจง แต่การณ์ปรากฏว่าเม่ือเสด็จขึ้นประทับ ทรงประชวรเสาะแสะตดิ ต่อมาไมเ่ ป็นปกติ โปรดใหจ้ ีนแสมาดู กราบทูลว่าเพราะพระท่ีน่งั เกง๋ ทป่ี ระทับนนั้ สรา้ งในท่ี ฮวงจุ้ยไม่ดี จึงโปรดให้ร้ือพระที่นั่งเก๋งจีนนั้นไปปลูกสร้างที่วังใหม่ ริมคลองคูเมืองด้านเหนือ จากน้ันจึงทรงสร้าง พระราชมณเฑียรขน้ึ ใหม่ในบรเิ วณเดียวกนั ท�ำเปน็ ตกึ อย่างฝรง่ั เรียกว่าพระท่นี ่ังวงั จนั ทร์ ปจั จบุ ันมีนามว่าพระที่นง่ั อศิ เรศราชานุสรณ์ เสด็จประทับอยูต่ อ่ มาจนสวรรคต๓๖ อยา่ งไรกด็ ี ในตอนปลายแห่งพระชนมช์ พี ได้โปรดให้พระวิสตู รวารี (มลิ) สรา้ งพระท่นี ่ังเกง๋ จนี ถวายตรง หน้าพระที่นั่งวังจันทร์อีกแห่งหนึ่ง มีประตูและก�ำแพงก้ันเป็นสัดส่วนแยกจากกัน ศาลาและสวนที่สร้างในบริเวณนี้ เป็นอย่างจนี ทง้ั สิ้น พระราชประสงค์ในพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกล้าเจ้าอยูห่ วั คงจะทรงจัดเปน็ อย่างจนี บริเวณหนง่ึ และอย่างฝรั่งบริเวณหนึ่ง เข้าใจวา่ คงเปน็ ที่สำ� หรบั เสด็จประพาสฝ่ายใน แต่สร้างไม่ทันแลว้ เสร็จ การคา้ งอยจู่ นเสดจ็ สวรรคต พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ัวจงึ โปรดใหส้ รา้ งตอ่ มาจนส�ำเรจ็ เป็นพระท่ีนัง่ เกง๋ จีน ๕ ห้อง ๒ ชั้น ขนานนามว่า “พระท่ีน่ังบวรบริวัติ” ใช้เป็นที่ประทับเม่ือเสด็จประทับยังพระราชวังหน้า ครั้งรัชกาลท่ี ๕ สมเด็จ กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ทรงใช้พระที่นั่งบวรบริวัติชั้นล่างเป็นที่ประทับภายหลังการอุปราชาภิเษก ต่อมาเม่ือ สร้างพระที่นั่งสาโรชรัตนประพาสเป็นท่ีประทับแล้ว โปรดใช้ชั้นล่างเป็นห้องพระสมุดและท่ีเสด็จออกฝ่ายในมาจน ทวิ งคต๓๗ เมอื่ มกี ารจดั ตง้ั พพิ ธิ ภณั ฑสถานสำ� หรบั พระนครภายในพระราชวงั หนา้ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๖๙ พระทนี่ ง่ั บวรบรวิ ตั ิ ใช้จัดแสดงเครื่องจีน ส่วนหนึ่งเป็นเครื่องจีนของพระราชวังบวรสถานมงคลมาแต่เดิม๓๘ ต่อมาพระที่นั่งหลังน้ีช�ำรุด รอื้ ไปในการขยายพน้ื ทเ่ี พอื่ สรา้ งอาคารจดั แสดงแหง่ ใหมข่ องพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร เมอื่ ราว พ.ศ. ๒๕๐๕ อาคารเกง๋ จีนในบรเิ วณดงั กล่าว ทอี่ าจเปน็ สว่ นของพระทีน่ ่ังบวรบรวิ ัติ ที่ปรากฏอย่ใู นปจั จบุ นั คือเก๋งจนี นุกิจราชบริหาร ต้ังอยู่ข้างหน้าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของพระท่ีนั่งอิศเรศราชานุสรณ์ปัจจุบัน ลักษณะเป็น อาคารชน้ั เดยี วกอ่ อฐิ ถอื ปนู ขนาดเลก็ รปู ทรงและการตกแตง่ เปน็ อยา่ งจนี ทง้ั สนิ้ หลงั คามงุ กระเบอื้ งอยา่ งจนี หนา้ บนั จั่ว และสันหลังคาเขยี นสีตกแต่งลายมงคลจนี บานประตูไม้ด้านหน้าแกะสลกั ลายกระบวนจีน ผนังภายในเขยี นภาพ จติ รกรรมทงั้ ๓ ดา้ น เรอื่ งพงศาวดารหอ้ งสนิ ดว้ ยฝมี อื ชา่ งจนี ภายหลงั ใชเ้ ปน็ ทเี่ กบ็ รกั ษาโตะ๊ เครอื่ งบชู า และพระปา้ ย ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระป่นิ เกล้าเจ้าอยหู่ ัว อาคารหลังนค้ี งเป็นส่วนของศาลาภายในสวนของหมูพ่ ระทีน่ ง่ั บวรบรวิ ัติ นอกจากน้ี พระทนี่ งั่ ทสี่ รา้ งขน้ึ เปน็ เครอื่ งเฉลมิ พระเกยี รตยิ ศพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ในรชั กาล ที่ ๔ ตามแบบพระทน่ี ง่ั ในพระบรมมหาราชวงั อาทิ พระทนี่ ง่ั มงั คลาภเิ ษก พระทนี่ ง่ั เอกอลงกฎ ซง่ึ สรา้ งขน้ึ เปน็ พระทนี่ งั่ ๓๖ สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ, ตำ� นานวังหน้า, พิมพค์ รั้งที่ ๖ (กรุงเทพฯ : แสงดาว, ๒๕๕๓), ๖๓-๖๔. ๓๗ เรื่องเดียวกนั , ๗๐, ๑๓๒-๑๓๓. ๓๘ ราชบัณฑิตยสภา, อธิบายว่าด้วยหอพระสมุดวชิรญาณแลพิพิธภัณฑสถานส�ำหรับพระนคร (โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๗๐), ๓๐-๓๑.
68 เมื่อตะวันออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัติพระราชา ณ วังหนา้ โถง เรยี กโดยสามญั วา่ “พระทน่ี ง่ั เยน็ ” ตงั้ อยเู่ หนอื กำ� แพงแกว้ เปน็ คกู่ นั ๒ ขา้ ง พระที่นงั่ มังคลาภเิ ษก ทางตอนหนา้ พระทน่ี งั่ อศิ ราวนิ จิ ฉยั อนั เปน็ พระทน่ี งั่ ทอ้ งพระโรงสำ� หรบั เสดจ็ พระราชวงั บวรสถานมงคล ออกขนุ นาง ผนงั ภายในโปรดใหเ้ ขยี นลายตกแตง่ ลายชอ่ ดอกไมส้ ที อง บนพน้ื จติ รกรรมฝาผนงั พระทน่ี ่ังมงั คลาภิเษก สดี ำ� ผกู เปน็ ลายดอกไมจ้ นี เคลา้ ดว้ ยลายรปู สตั วม์ งคลตามคตอิ ยา่ งจนี แสดง เขยี นลายช่อดอกไม้เคลา้ ลายสัตวม์ งคล ถึงกล่ินอายความนิยมในศิลปะสถาปัตยกรรมแบบจีน อันถือเป็นแบบอย่าง ความงามตามสมยั นิยมครง้ั พระบาทสมเด็จพระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยูห่ วั อยา่ งจนี วถิ แี ห่งแบบแผนความนยิ มอย่างจีน ยังสะทอ้ นให้เหน็ ไดใ้ นเครอ่ื ง จีน อันเป็นสิ่งของเคร่ืองใช้ในการด�ำเนินชีวิต หรือส�ำหรับตกแต่งใช้สอยใน พระราชมณเฑียรแบบเก๋งจีน อาทิ พระแท่นบรรทมจีนประดับมุกพ้ืนหิน พระแท่นราชบัลลังกจ์ ีนของพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกล้าเจา้ อยูห่ วั พระป้าย ถวายชัยมงคลอักษรจีน โคมส่องน�ำเสด็จ เคร่ืองเรือนจีน และสิ่งของสะสม จ�ำพวกเครอื่ งลายครามจนี เปน็ ต้น นอกจากศิลปกรรมที่แสดงออกให้เห็นโดยรูปธรรมแล้ว ในการ พระราชพิธีอันเป็นขนบธรรมเนียมฝ่ายพระราชวังบวรสถานมงคล ก็มี การปรับใช้ธรรมเนียมอย่างจีนเข้ากับพระราชพิธีในทางพุทธศาสตร์และ โหราศาสตร์อย่างไทย เช่น การบ�ำเพ็ญพระราชกุศลเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชด�ำริขึ้นใหม่ เทียบเคียง กับธรรมเนยี มจีนทีเ่ รียกว่า “บ้นั ส้วิ ” หรอื “แซยดิ ” คือการท�ำบุญฉลองอายุ ซึ่งทำ� กนั ในหมู่ชาวจีนทุกชว่ งอายุ เพ่ือสร้างสริ สิ วสั ดมิ งคลเจรญิ พระชนมส์ ขุ ยง่ั ยนื จึงทรงรับคตินยิ มดงั กลา่ วมากระท�ำในพระราชวังหนา้ ดว้ ย๓๙ เมื่อพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต พ.ศ. ๒๔๐๘ ฝา่ ยพระราชวงั หนา้ มกี ารสรา้ งพระปา้ ยฉลองพระองค์ จารกึ พระนาม พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เพ่ือการเซ่นไหว้บูชาตามแบบ ธรรมเนียมชาวจีนข้ึนเป็นครั้งแรก ตามความเชื่อเร่ืองการนับถือบรรพบุรุษ ของชาวจีน โดยถือว่าการบูชาเซ่นสรวงบรรพบุรุษเป็นการส�ำคัญ แสดงให้ คนทั้งปวงนบั ถอื ยอมรับวา่ เปน็ คนดี และเปน็ เจริญแกผ่ ถู้ อื ปฏิบัติ ต่อมาเมอ่ื พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต ฝ่ายพระราชวังหลวงจึง จารึกพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นสักการบูชา ณ พระราชวงั หลวง และพระราชวังบางปะอนิ เป็นปฐม๔๐ ๓๙ ลัทธธิ รรมเนียมต่างๆ ภาคที่ ๑๑ ลักษณะการพระราชพิธี ฝา่ ยพระราชวงั บวรสถานมงคล (โสภณพพิ รรฒธนากร, ๒๔๖๔),๑๑. ๔๐ “การฉลองพระปา้ ยทพ่ี ระราชวงั บางปะอนิ ,” ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๗ ตอน ๓๗ วนั ที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๔๓๓, ๓๒๔.; กรมศลิ ปากร, ส�ำนักวรรณกรรมและประวัตศิ าสตร,์ นามานุกรมขนบประเพณีหมวดพระราชพิธี (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๖), ๒๓๑.
เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวันตก : 69 พิพิธสมบตั พิ ระราชา ณ วงั หน้า พระปา้ ยฉลองพระองค์จารึกพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระป่นิ เกลา้ เจ้าอยู่หัว พระปา้ ยเทพารักษ์ และพระป้ายพระโพธิสตั ว์ ปัจจุบนั ประดิษฐานทีต่ ู้ทอง พระท่นี งั่ อิศเรศราชานสุ รณ์ พระป้ายฉลองพระองค์ฝ่ายพระราชวังหน้า มีจารึกพระนามจีนในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ออกพระนามวา่ “เจงิ้ เจิง้ ” คอื ชือ่ เจง้ิ แซ่ เจิ้ง ตามการออกเสียงในภาษาจนี กลาง หรือ ช่ือ เจ่ีย แซ่ แต้ ตามการ ออกเสียงในภาษาจนี แตจ้ ว๋ิ ธรรมเนยี มพระเจา้ แผ่นดินสยามทรงมพี ระนามจีน สืบเนื่องมาจากการเจริญพระราชไมตรีระหวา่ งไทยกบั จนี ทนี่ บั เนอ่ื งมาแตโ่ บราณ โดยมกี ารสง่ พระราชสาสน์ ไปมาตดิ ตอ่ ระหวา่ งกนั เสมอ พระเจา้ แผน่ ดนิ สยามจงึ มพี ระนาม อย่างจีน ส�ำหรบั พระราชสาส์นเพ่ือติดตอ่ กบั พระเจ้ากรงุ จนี นบั ตัง้ แต่สมเด็จพระเจ้ากรงุ ธนบุรี สืบต่อเน่ืองมาจนถึง สมยั รัตนโกสินทร์ จนเลกิ ประเพณี “จ้มิ กอ้ ง” พระเจา้ กรุงจีน ไปในครง้ั รัชกาลท่ี ๔ พระเจ้าแผ่นดนิ ในราชวงศจ์ กั รีทุกพระองค์ ทรงมพี ระนามจีน และใช้แซ่เดยี วกนั คอื แซ่ “เจิง้ ” หรอื แซ่ “แต”้ กล่าวคือ รัชกาลท่ี ๑ ทรงพระนาม แตฮ้ ดุ รัชกาลที่ ๒ ทรงพระนาม แต้ฮ้วั รัชกาลที่ ๓ ทรงพระนาม แตฮ้ ก รชั กาลที่ ๔ ทรงพระนาม แตเ้ หมง๔๑ พระบาทสมเดจ็ พระป่นิ เกลา้ เจ้าอย่หู วั ทรงพระนาม แต้เจย่ี ขนบธรรมเนียมประเพณดี ังกล่าว สะท้อนถงึ คตินิยมของราชสำ� นกั สยามในชว่ งรชั กาลที่ ๔ ที่รับเอาศลิ ป วัฒนธรรมแบบแผนขนบประเพณีจนี อนั เป็นชาติอารยะทีย่ งิ่ ใหญ่ในโลกตะวนั ออก ที่มคี วามสัมพันธต์ ดิ ต่อระหวา่ ง กันมาช้านาน มาปรับปรุงผสมผสานกลมกลืนเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับประเพณีวิถีชีวิตอย่างไทย แสดงให้เห็นถึง ช่วงระยะเวลาแห่งการเปลี่ยนผ่าน ระหว่างกระแสนิยมแบบตะวันออกและแบบตะวันตกท่ีปรากฏอยู่ในสังคมไทย ในช่วงระยะเวลานั้น ก่อนทค่ี วามนิยมอย่างตะวนั ตกจะแพร่กระจายเขา้ สู่สยามประเทศอย่างเขม้ ขน้ ข้นึ โดยลำ� ดับ ๔๑ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์, บันทึกเร่ืองความรู้ต่างๆ เล่ม ๕, พิมพ์ครั้งที่ ๓ (กรุงเทพฯ : มูลนธิ เิ สฐยี รโกเศศ-นาคะประทปี , ๒๕๕๓), ๕๒-๕๓.
70 เมื่อตะวนั ออกพบตะวันตก : พพิ ิธสมบตั ิพระราชา ณ วงั หน้า พระราชนยิ มและพระอจั ฉรยิ ภาพดา้ นวรรณกรรม ดนตรี และศลิ ปกรรม พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงสง่ เสรมิ ทำ� นบุ ำ� รงุ งานศลิ ปกรรมทสี่ บื ทอดมาตามขนบประเพณี หลายประการ ตามธรรมเนียมของเจ้านายในพระราชวงศ์ท่ีทรงศึกษาและคุ้นเคยกับศาสตร์และศิลป์ช้ันสูงใน ราชสำ� นกั อนั มีความละเอยี ดออ่ นประณีต ศาสตร์ท่ีทรงแตกฉานเชย่ี วชาญอย่างย่งิ แขนงหน่งึ คอื อักษรศาสตร์ ทรงมี พระราชหฤทัยรักในงานด้านภาษาและวรรณศลิ ป์ กล่าวได้วา่ ทรงมบี ทบาทสำ� คัญในการจรรโลงกวรี ว่ มสมยั ทรงมี พระราชอัธยาศยั โปรดการสงั คตี ดนตรี และโปรดการเลน่ สนุกตา่ งๆ เป็นเหตใุ หท้ รงอุปถัมภ์ศิลปินหลากหลายสาขา ด้านภาษาและวรรณกรรม พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีความช�ำนาญด้านอักขรสมัย สามารถประพันธ์บทร้อยกรองประกอบด้วยฉันทลักษณ์ประเภทต่างๆ ทรงประพันธ์วรรณกรรมไว้จ�ำนวนหนึ่ง อนั จัดเปน็ วรรณกรรมในราชสำ� นักในยคุ รัตนโกสินทรต์ อนตน้ สมยั รัชกาลที่ ๓ และ ๔ ใชฉ้ นั ทลกั ษณป์ ระเภท กลอน เพลงยาว และสักวา๔๒ เม่ือคร้ังทรงบวรราชาภิเษกเป็นพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวและเสด็จประทับยัง พระบวรราชวัง ทรงพระราชนิพนธ์บทกลอนค่อนขอดข้าราชการวังหน้า มีเนื้อหาเป็นการค่อนแคะข้าราชบริพาร ผูใ้ กล้ชิดในพระบวรราชวงั แสดงถึงพระอารมณข์ นั ของพระองค์ สำ� หรบั เพลงยาวเปน็ คำ� ประพนั ธป์ ระเภทกลอน ๑ บทมี ๔ คำ� กลอน มฉี นั ทลกั ษณเ์ ชน่ เดยี วกบั กลอนแปด ข้ึนต้นด้วยวรรคสดับหรือวรรคที่สองของบท ลงท้ายบทด้วยคำ� “เอย” จำ� นวนบทกลอนไม่จำ� กัดความยาว มเี น้ือหา ว่าด้วยเรื่องต่างๆ ทรงพระราชนิพนธ์เพลงยาวไว้หลายบท ในต่างกรรมต่างวาระ อาทิเช่น เพลงยาวพระราชทาน โอวาทแกเ่ จา้ จอมและขา้ ราชสำ� นกั ฝา่ ยใน เรอ่ื งการประพฤตติ วั ใหเ้ หมาะสมของขา้ ราชสำ� นกั และเจา้ จอมหมอ่ มหา้ ม จำ� นวน ๓๐ ค�ำกลอน เพลงยาวเชิงสงั วาส มเี นือ้ หาวา่ ดว้ ยความรักต่อเจา้ จอม จ�ำนวน ๑๐ ค�ำกลอน ทรงพระราช นิพนธ์เพลงยาวสามชาย ร่วมกับกวีร่วมสมัย ๓ ท่าน เป็นเพลงยาวท่ีน�ำโครงเรื่องอิเหนามาแต่งเป็นบทโต้ตอบกัน ระหว่างชาย ๓ คน กับหญิง ๑ คน ว่าด้วยเรื่องนางบุษบา ชายที่ ๑ คือ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือคร้ังดำ� รงพระยศเปน็ สมเดจ็ พระเจา้ น้องยาเธอ เจา้ ฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ เปน็ ตวั อิเหนา ชายที่ ๒ คอื กรมหล วงวงศาธริ าชสนทิ เมอ่ื ครงั้ ดำ� รงพระยศเปน็ กรมหมน่ื วงศาสนทิ เปน็ ตวั สงั คามารตา ชายที่ ๓ คอื พระสรุ ยิ ภกั ดี (สนทิ บุนนาค) บุตรสมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาพชิ ยั ญาติ เป็นตวั ประสันตา โตต้ อบกับหญิงซ่งึ เปน็ ตัวนางมะเดหวี คอื คุณ พุม่ “บษุ บาท่าเรือจา้ ง” สะท้อนถึงความสัมพันธอ์ นั ดีระหว่างผู้นิยมการกวรี ่นุ ราวคราวเดยี วกัน บทพระราชนพิ นธส์ ักวา แสดงถึงพระราชนิยมในพระบาทสมเดจ็ พระปิน่ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัวทท่ี รงโปรดปราน การประชันด้านวรรณศิลป์ รวมถึงความช�ำนิช�ำนาญปฏิภาณกวีของพระองค์ การเล่นสักวาคือการแต่งบทสักวา อันเปน็ กลอนล�ำน�ำชนดิ หนงึ่ ๑ บทมี ๔ คำ� กลอน ข้นึ ต้นด้วยคำ� “สกั วา” และลงทา้ ยดว้ ยคำ� “เอย” กลา่ วโตต้ อบ กันในระหว่างผู้เล่นหลายคน ซึ่งต้องอาศัยการร้อยกรองภาษาที่งดงามถูกต้องตามฉันทลักษณ์ และต้องมีไหวพริบ ปฏภิ าณในการโตต้ อบอยา่ งทนั ทว่ งที เปน็ การแสดงออกถงึ ความสามารถดา้ นกวนี พิ นธอ์ ยา่ งโดดเดน่ และสนกุ สนาน ทงั้ ผเู้ ลน่ ผฟู้ งั กลา่ วกนั วา่ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมอ่ื ยงั ดำ� รงพระยศเปน็ สมเดจ็ เจา้ ฟา้ กรมขนุ อศิ เรศ รังสรรค์ ไปติดพันเล่นสักวากับคุณพุ่ม ธิดาของพระยาราชมนตรี (ภู่) ข้าหลวงเดิมในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัว ซึ่งกวีหญิงท่ีมีชื่อเสียงมาตั้งแต่ครั้งรัชกาลท่ี ๓ ท่ีแพหน้าบ้านบิดาคุณพุ่มข้างเหนือท่าพระเป็นนิตย์ ยัง ๔๒ บวรราชนพิ นธ์ เล่ม ๒ (กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๔๕), ๘-๑๑๒.
เม่ือตะวนั ออกพบตะวนั ตก : 71 พพิ ธิ สมบัติพระราชา ณ วังหนา้ ปรากฏพระราชนพิ นธ์บทสกั วา เปน็ บทสกั วาลา ๒ บท พระราชนพิ นธแ์ ทนตัวอิเหนา ส่วนคุณพุ่มกล่าวกันว่าเปน็ ตวั บษุ บา จนได้รบั ฉายาวา่ “บษุ บาท่าเรอื จา้ ง” นอกจากนี้ ยังทรงโปรดเล่นแอ่วลาว ทรงพระราชนิพนธ์บทแอว่ ลาวผกู เป็นเรอื่ ง เรยี กวา่ นทิ านนายคำ� สอน เปน็ เร่ืองสภุ าษติ แสดงลักษณะหญงิ ดีและชว่ั พรอ้ มไดท้ รงทำ� ปทานุกรมภาษาลาวเป็นภาษาไทยเพอ่ื ความเข้าใจของ ผู้อ่านไว้ด้วย ทรงเรียกปทานุกรมฉบับน้ีว่า “อภิธาน” แสดงถึงความแตกฉานในขนบวัฒนธรรมของชาวลาวและ ภาษาลาวเปน็ อยา่ งดี จัดเปน็ วรรณกรรมท่ีต่างไปจากวรรณกรรมราชส�ำนักท่ัวไป ด้วยเหตทุ ท่ี รงโปรดปรานการกวีนี้ เอง จงึ พระราชทานพระบรมราชานเุ คราะห์แก่กวีส�ำคัญในยุคสมัยพระองค์ คอื สนุ ทรภู่ กวีเอกในแผ่นดินพระบาท สมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั รชั กาลท่ี ๒ ซงึ่ ตกอบั ลงในสมยั รชั กาลที่ ๓ เนอ่ื งจากไมเ่ ปน็ ทโ่ี ปรดปรานของพระบาท สมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมอ่ื ครง้ั ดำ� รงพระยศเปน็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ โปรดใหก้ ารอปุ ถมั ภส์ นุ ทรภเู่ ขา้ ไปอาศยั อยู่ ในพระราชวังเดิม (ท่ีประทับของพระองค์) และเมื่อบวรราชาภิเษกเป็นพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว จงึ โปรดเกลา้ ฯ แต่งตงั้ สุนทรภู่เป็นขุนนางมรี าชทนิ นาม “พระสุนทรโวหาร” ตามทเี่ คยไดร้ บั ในสมัยรัชกาลท่ี ๒ ดา้ นศลิ ปกรรม ทรงอปุ ถมั ภช์ า่ งฝมี อื ฝา่ ยพระราชวงั หนา้ หลากสาขา ดว้ ยทรงดำ� รงพระเกยี รตยิ ศเทยี บเทา่ พระเจ้าแผ่นดิน ท�ำเนียบข้าราชการฝ่ายพระราชวังหน้าจึงสมทบเพ่ิมเติมต�ำแหน่งขุนนางขึ้นให้คล้ายกับข้าราชการ วังหลวง รวมถึงต�ำแหน่งการช่างต่างๆ การช่างหลวงของพระราชวังหน้าจึงเฟื่องฟูข้ึน ดังปรากฏช่างในท�ำเนียบ ข้าราชการฝ่ายพระราชวงั บวรสถานมงคลในกรมต่างๆ คอื ไพรห่ ลวงข้ึนกรมพระสุรัสวดี ช่างสลักซ้าย กรมชา่ งรัก ชา่ งเขยี นซ้าย ช่างสนะไทย ช่างเขียนขวา ชา่ งสนะจีน ช่างปัน้ ซา้ ย กรมคลังมหาสมบตั ิ ชา่ งปั้นขวา กรมช่างทอง ช่างหล่อ กรมชา่ งมุก ช่างหุ่น กรมพระตำ� รวจซ้าย ช่างแกะ กรมช่างทหารในไทยซ้าย ช่างปนู ซา้ ย กรมชา่ งทหารในไทยขวา ช่างปูนขวา กรมช่างเรือไทยซา้ ย ชา่ งกลึง กรมช่างเรอื ตะนาวขวา ชา่ งชาดสสี กุ กรมชา่ งสิบหมู่ กรมอาสาญ่ีปุ่น ช่างสลกั ขวา จีนชา่ งดีบุก๔๓ ๔๓ ทำ� เนยี บนาม ภาคท่ีสอง ทำ� เนียบข้าราชการวังหลงั และทำ� เนยี บสมณศกั ด์ิ (พมิ พ์เนือ่ งในงานพระราชทานเพลิงศพรองเสวกตรี ขุนนาถจำ� นง บ.ม.,ร.จ.พ. (เจริญ นาถจ�ำนง) ณ เมรุวดั มกุฏกษตั รยิ าราม วนั อังคารท่ี ๒๓ เมษายน ๒๕๑๑, ๑-๕๘.
72 เม่ือตะวันออกพบตะวนั ตก : พพิ ิธสมบตั พิ ระราชา ณ วังหน้า พระที่นั่งคชกรรมประเวศ พระท่ีน่ังทรงปราสาทหลงั แรกในพระราชวงั หนา้ พระท่นี ง่ั เอกอลงกฏ สร้างเปน็ คูก่ บั สร้างขน้ึ เป็นพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระป่นิ เกลา้ เจา้ อย่หู วั พระทนี่ ง่ั มงั คลาภเิ ษก อยา่ งพระท่นี งั่ เยน็ ซ่งึ ทรงพระเกยี รตยิ ศเทียบเทา่ กับพระเจ้าแผ่นดนิ ภายในพระราชวงั หลวง พระทีน่ ัง่ วงั จนั ทรภ์ ายหลังเปล่ยี นช่อื เป็น พระทนี่ ่งั อศิ เรศราชานุสรณ์ พระบาท สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจา้ อยู่หวั โปรดให้สรา้ ง ขนึ้ เป็นพระราชมณเฑยี รทปี่ ระทับ จนเสด็จสวรรคต พลบั พลาสงู พระราชวังบวรสถานมงคล พระบาทสมเดจ็ พระปิน่ เกลา้ เจา้ อยู่หัว โปรดให้สร้างข้ึนสำ� หรับทอดพระเนตร การฝึกทหาร
เมอ่ื ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : 73 พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วงั หน้า การชา่ งศลิ ปกรรมในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ปรากฏในการซอ่ มและปลกู สรา้ งอาคาร สถานภายในพระราชวงั บวรสถานมงคลจำ� นวนมาก เนอ่ื งจากเมอื่ เสดจ็ ครองพระบวรราชวงั พระราชวงั วงั หนา้ มสี ภาพ ปรกั หักพังช�ำรุดทรุดโทรมมาก เนือ่ งจากได้รา้ งไปถงึ ๑๘ ปี จงึ โปรดเกลา้ ฯ ให้ท�ำการปลกู สรา้ งซอ่ มบูรณปฏิสงั ขรณ์ พระราชมณเฑียรสถานต่างๆ รวมท้ังก่อสร้างอาคารสถานเพื่อเฉลิมพระเกียรติยศท่ีเสมอด้วยพระเจ้าแผ่นดินหลาย สิ่งเทียบกบั การช่างพระราชวงั หลวง เช่น พระท่ีน่งั คชกรรมประเวศ พระที่น่งั ทรงปราสาทแหง่ แรกและแหง่ เดียวใน พระราชวงั บวรสถานมงคล พระทีน่ ง่ั มังคลาภเิ ษก พระท่นี ง่ั เอกอลงกฏ พระทีน่ ่งั เกง๋ จีน พระท่นี ่ังวังจนั ทร์ (พระทีน่ ั่ง อิศเรศราชานสุ รณ)์ พระทน่ี งั่ บวรบรวิ ัติ พระท่นี ัง่ สนามจันทร์ พระต�ำหนักแพ และพลบั พลาสงู โรงช้างต้น โรงมา้ ต้น ประตพู ระราชวงั เป็นตน้ ๔๔ นอกจากนี้ ทรงสรา้ งพระราชวงั แหง่ ใหมร่ ิมคลองคเู มอื งเดิมด้านทิศเหนอื แหง่ ๑ และ พระราชวงั สีทา จังหวัดสระบรุ ี แหง่ ๑ งานชา่ งฝมี อื ครงั้ รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยทู่ เี่ ปน็ การสำ� คญั คอื การบรู ณปฏสิ งั ขรณว์ ดั บวร สถานสทุ ธาวาส และการเขยี นจติ รกรรมฝาผนงั ภายในทงั้ สนิ้ โดยทผี่ นงั เหนอื ประตหู นา้ ตา่ งเขยี นประวตั พิ ทุ ธเจา้ ๒๘ พระองค์ ผนังระหว่างช่องประตูหน้าต่างเขียนประวัติพระพุทธสิหิงค์ ผนังด้านทิศตะวันตกเขียนภาพเทพชุมนุม และบานประตูหน้าต่างเขียนภาพเทพในศาสนาฮินดู ชา่ งฝ่ายพระราชวงั หนา้ คนสำ� คัญในรัชสมยั ของพระองค์ ไดแ้ ก่ เจา้ ฟา้ อศิ ราพงศ์ ซง่ึ เปน็ แมก่ องจดั เลอื กชา่ งเขยี นจติ รกรรมฝาผนงั พระอโุ บสถวดั บวรสถานสทุ ธาวาส ปรากฏชา่ งฝมี อื เขยี นดีหลายห้อง เช่น หอ้ งฝมี อื เขยี นพระอาจารยแ์ ดง ห้องนายมน่ั ชา่ งเขยี น๔๕ เปน็ ตน้ ดา้ นการสงั คตี กลา่ วกนั วา่ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดปรานการดนตรมี าก ทรงดนตรดี ว้ ย พระองคเ์ องโดยเฉพาะการทรงแคนและแอว่ เขา้ ใจวา่ เปน็ เพราะทรงคนุ้ เคยใกลช้ ดิ กบั ชาวลาวมาแตก่ อ่ น และปรากฏ เหตวุ า่ พวกลาวไดเ้ ขา้ มาสมคั รเปน็ ขา้ ในพระองคต์ ง้ั แตค่ รง้ั ยงั ดำ� รงพระยศเปน็ กรมขนุ อศิ เรศรงั สรรค์ พระอจั ฉรยิ ภาพ และพระราชนยิ มดงั กลา่ วสะทอ้ นจากบทพระราชนิพนธบ์ ทแอว่ ลาว เรอ่ื งนทิ านนายคำ� สอน และบันทกึ ชาวต่างชาติ กลา่ วไวใ้ นทตี่ า่ งๆ เชน่ จดหมายเหตขุ องหมอบรดั เล (BRADLEY) บนั ทกึ ไวเ้ มอื่ วนั ท่ี ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๓๗๙ ตอนหนง่ึ วา่ “เจ้าฟา้ น้อยทรงพาหมอบรัดเลกับภรรยาชมเครื่องดนตรชี นิดหนึ่ง เป็นเคร่ืองลาว หมอบรัดเลเคยทราบว่า แคน มเี สยี งไพเราะนักอยากจะได้ฟงั จึงถามวา่ ใครๆ ท่อี ยู่ในทีน่ ี้เป่าแคนได้บ้าง เจ้าฟา้ นอ้ ยตรัสตอบวา่ ไดซ้ ิ แลว้ พระองค์ จงึ หยบิ แคนซึง่ ทรงเป่า แลว้ ตรสั ถามหมอบรดั เลว่าต้องการจะฟังแอว่ ดว้ ยหรอื หมอบรัดเลตอบรบั แล้ว พระองคจ์ ึง ทรงเรยี กคนใชเ้ ขา้ มาคน ๑ คนใช้นน้ั เข้ามากระทำ� ความเคารพโดยคุกเขา่ กราบลง ๓ คร้งั แลว้ กน็ ่ังลงยงั พ้ืน คอยฟงั แคนอยู่ ครน้ั ไดจ้ งั หวะกเ็ รมิ่ แอว่ อยา่ งไพเราะจบั ใจ ดเู หมอื นจะไดศ้ กึ ษามาเปน็ อยา่ งดจี ากโรงเรยี นสอนดนตรฉี ะนนั้ ” ๔๔ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ, ต�ำนานวังหน้า, พิมพ์ครั้งที่ ๘ (กรุงเทพฯ : แสงดาว, ๒๕๕๓), ๕๙-๖๕. ๔๕ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ, สาสน์ สมเด็จ เลม่ ๑๑ (องคก์ ารคา้ ของครุ ุสภา, ๒๕๐๔), ๑๔๒, ๑๖๘.
74 เมือ่ ตะวันออกพบตะวนั ตก : พพิ ธิ สมบัติพระราชา ณ วังหนา้ เซอร์ จอห์น เบาว์รงิ (SIR JOHN BOWRING) อัครราชทูตผ้อู ญั เชญิ พระราชสาสน์ ของสมเด็จพระนางเจ้า วิคตอเรยี แห่งประเทศองั กฤษเขา้ มาเจรจาขอทำ� สนธสิ ัญญาทางไมตรกี ับประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๘ ได้บนั ทกึ การ เขา้ เฝา้ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไวเ้ ชน่ กนั วา่ “มดี นตรบี รรเลงตลอดเยน็ นนั้ และขา้ พเจา้ หลงใหลในความ ไพเราะของเครื่องดนตรีที่ประกอบด้วยไม้ซางสูงกว่า ๗ ฟุต พระองค์ทรงเป่าแคน และหลังจากนั้นก็พระราชทาน เครื่องดนตรดี งั กลา่ วแก่ขา้ พเจา้ ๔๖” นอกจากจะทรงสนั ทดั ทงั้ แคนและแอว่ แลว้ ทรงสนพระราชหฤทัยใหค้ วามอนเุ คราะห์ดา้ นการสังคตี ดนตรี โดยทรงรวบรวมคนหัดปี่พาทยข์ นึ้ เล่นประชันกันระหว่างวงของเจา้ นายพระองค์ตา่ งๆ คร้งั รชั กาลท่ี ๓ - ๔ ปรากฏ เร่ืองเล่าว่าทรงอุปถัมภ์ยกย่อง “ครูมีแขก” ซ่ึงเป็นครูปี่พาทย์มีชื่อ เป็นผู้เช่ียวชาญเล่นเครื่องดุริยดนตรีได้ทุกอย่าง โดยเฉพาะเปา่ ปีไ่ ด้อยา่ งไพเราะ และมีความสามารถแตง่ เพลงได้ดี เพลงมชี ื่อรำ่� ลอื คือ “เพลงทยอยใน” และ “ทยอย นอก” ครงั้ หนึ่งไดแ้ ตง่ เพลงเชิดจีนข้ึนบรรเลงถวาย พระบาทสมเด็จพระปิน่ เกล้าโปรดปรานพระราชทานบรรดาศกั ด์ิ เปน็ ท่ี “พระประดิษฐ์ไพเราะ” ตำ� แหน่งจางวางกรมปพ่ี าทยฝ์ า่ ยพระราชวังบวรสถานมงคล๔๗ ระนาดทุ้มเหล็ก เครือ่ งดนตรที พี่ ระบาทสมเดจ็ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประดษิ ฐ์ขึ้นจากกลไลของนาฬกิ าเข่ียหวี แคน เคร่อื งดนตรีซ่งึ เป็นทโ่ี ปรดปรานของ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยู่หัว ๔๖ นันทนา ตนั ติเวสส, แปล, บนั ทึกรายวนั ของเซอร์จอห์นเบารงิ และสนธสิ ัญญาเบารงิ , พิมพ์ครัง้ ที่ ๔ (กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช, ๒๕๕๖) ๑๔๙. ๔๗ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ, สาสน์ สมเด็จ เลม่ ๒ (องค์การค้าของครุ ุสภา, ๒๕๐๕), ๑๒๑-๑๒๒.
เมอ่ื ตะวันออกพบตะวนั ตก : 75 พิพิธสมบัติพระราชา ณ วงั หนา้ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงคิดประดิษฐ์เครื่องดนตรีไทยขึ้นใหม่อย่างหน่ึง คือ ระนาด เหล็ก กล่าวกันว่าทรงได้รับแรงบันดาลใจมาจากเคร่ืองกลไกของนาฬิกาตั้งโต๊ะที่ตีเป็นเสียงเพลง ด้วยความสน พระราชหฤทัยในกลไกการท�ำงานของนาฬกิ าดังกลา่ ว จึงทรงเปิดออกดู ทอดพระเนตรเหน็ ลวดเหล็กเล็กๆ สนั้ บ้าง ยาวบา้ งเรยี งกนั เปน็ วงกลมคลา้ ยหวี ตรงกลางมแี กนหมนุ และมเี หลก็ เขย่ี เสน้ ลวดเหลก็ ผา่ นไปโดยรอบ จงึ ทรงเรยี กวา่ “นาฬกิ าเขยี่ หว”ี ทรงดำ� ริว่าเสน้ ลวดเลก็ เพียงนีย้ ังให้เสียงดังกังวาน หากท�ำเป็นระนาดจะดงั ไพเราะขึน้ มาก จึงทรง สร้างลูกระนาดขน้ึ ชุดหนงึ่ มีเสียงต�่ำ วางบนราง เรยี กวา่ “ระนาดทุ้มเหลก็ ” เมอื่ ทรงสร้างส�ำเรจ็ แล้ว ลองตีดู ได้ผล สมดังพระราชประสงค์ จึงทรงสรา้ งขนึ้ อีกรางหน่ึง ขนาดเลก็ กวา่ มเี สียงสงู กว่า เรยี กวา่ “ระนาดเอกเหล็ก” เพ่ิม เขา้ ไปในวงปพ่ี าทย์ เรยี กวงป่ีพาทยว์ งนีว้ ่า “วงป่พี าทยเ์ คร่ืองใหญ่” ใชส้ ืบมาจนทุกวนั น๔้ี ๘ _________________________ ๔๘ ดนตรไี ทยของมนตรี ตราโมท (กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั โรงพมิ พไ์ ทยวฒั นาพานชิ จำ� กดั , ๒๕๓๘. ธนาคารกรงุ เทพจำ� กดั พมิ พเ์ ปน็ อนสุ รณ์ ในงานพระราชทานเพลิงศพนายมนตรี ตราโมท ม.ป.ช., ม.ว.ม., ท.จ.ว. ณ เมรุหนา้ พลบั พลาอศิ รยิ าภรณ์ วัดเทพศริ นิ ทราวาส วนั อาทิตย์ ท่ี ๒๒ เดอื นตุลาคม พทุ ธศักราช ๒๕๓๘), ๒๔ง
76 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้
เปดิ สยามสโู่ ลกตะวนั ตก ๓บทท่ี การเรยี นรแู้ ละรเิ รม่ิ พฒั นา ตราไวใ้ นแผน่ ดนิ ฤทยั วัลค์ุ มโนสา๑ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงไดร้ บั การยอมรบั วา่ มพี ระสตปิ ญั ญากา้ วลำ�้ นำ� สมยั พระองคห์ นงึ่ ขณะเม่ือยังทรงพระเยาว์ ทรงมีพระราชอุตสาหะพากเพียรเรียนภาษาอังกฤษจนถึงข้ึนใช้การได้เป็นอย่างดีเป็น คนแรกๆ ของสยาม ทำ� ใหท้ รงรอบรู้ข่าวสารสถานการณข์ องโลกในเวลานั้นได้ ทำ� ใหท้ รงตระหนกั ถึง “ภัยใหม”่ จาก มหาอำ� นาจชาตติ ะวนั ตกทแ่ี ผแ่ สนยานภุ าพเขา้ มายดึ ครองบรรดาประเทศนอ้ ยใหญท่ ง้ั หลายในภมู ภิ าคโลกแถบตะวนั ออก สยามจึงจ�ำเป็นต้องปรับปรุงและเปลย่ี นแปลงรัฐประศาสนโยบายคร้งั ใหญ่เพื่อความอยรู่ อดของชาตบิ า้ นเมือง กอ่ นที่จะปรับปรุงประเทศนั้น พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปรบั ปรุงพระองคเ์ องก่อน ด้วย การคน้ ควา้ และคบคา้ สมาคมกบั บรรดาชาวตะวนั ตกชนั้ นำ� ทเ่ี ขา้ มาทำ� ธรุ กจิ หรอื ปฏบิ ตั ริ าชการในสยาม ทรงศกึ ษาถงึ เทคโนโลยที ที่ นั สมยั ของชาวตะวนั ตก ความเปน็ อยู่วิถกี ารด�ำเนินชีวิตและธรรมเนยี ม จนทรงสามารถน�ำมาประพฤติ ปฏิบัติได้เป็นอย่างดี ท�ำให้ทรงได้รับการสดุดีสรรเสริญจากชาวตะวันตกในเวลานั้นเป็นอย่างมาก พระองค์จึงทรง เป็นพระมหากษัตริย์ส�ำคัญยิ่งพระองค์หนึ่งของพระบรมราชจักรีวงศ์ ทรงพระปรีชาสามารถหลายด้านอย่างเป็นท่ี นา่ อัศจรรย์ กล่าวคือ ท้ังการทหาร (ทหารบกและทหารเรอื ) การเมือง อกั ษรศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ พทุ ธศาสตร์ ตลอดจนการกฬี า เรอื่ งราวของพระองคม์ ปี รากฏเปน็ หลักฐานอยูต่ ามเอกสารตา่ งๆ ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ แต่คนไทยเราสว่ นใหญ่ไมม่ ใี ครทราบ ทำ� ใหท้ รงตกอยู่ในฐานะพระมหากษตั ริย์ที่โลกลืมเรอ่ื งราวของพระองคป์ รากฏ หลกั ฐานอยใู่ นพระราชพงศาวดารและเอกสารของทางราชการนอ้ ยมาก ประกอบกบั พระองคเ์ องกไ็ มถ่ นดั หรอื ไมโ่ ปรด ในการทรงพระราชนิพนธ์บนั ทึกเรอ่ื งราวตา่ งๆ ไว้ ทรงหนั ไปทุม่ เทอุทิศพระองค์ใหก้ ับการทหารและเครือ่ งจกั รยนต์ กลไก นับวา่ ยังเป็นความโชคดที ี่ชาวตะวันตกท่ีเขา้ มาอยู่ในสยามในสมยั ท่ีพระองคย์ ังทรงมพี ระชนม์อยู่นนั้ ได้บนั ทึก เรื่องราวเก่ียวกบั พระองคไ์ วพ้ อสมควร ประกอบกับพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั ผู้เปน็ พระเชษฐา โปรด การจดบันทึกเรื่องราวต่างๆ ดงั ปรากฏพระราชนพิ นธข์ องพระองค์อยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก ๑ ภณั ฑารักษ์ช�ำนาญการ หวั หน้าพพิ ธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ เรือพระราชพิธี
78 เมอื่ ตะวนั ออกพบตะวันตก : พพิ ธิ สมบตั พิ ระราชา ณ วงั หนา้ พระปรีชาสามารถในศาสตรต์ ะวนั ตก เมอื่ ครัง้ ท่ีพระบาทสมเดจ็ พระปิ่นเกล้าเจา้ อย่หู วั ยังทรงพระเยาว์ ทรงมีพระนามเปน็ ที่รู้จกั กันทว่ั ไป แม้ใน หม่พู วกฝรัง่ ที่เขา้ มาอยใู่ นเมืองไทยตงั้ แตส่ มัยรัชกาลท่ี ๓ วา่ “เจ้าฟ้านอ้ ย” หรือ “ท่านฟ้านอ้ ย” เปน็ ท่ีลือชาปรากฏ แกบ่ คุ คลโดยทว่ั ไปทงั้ คนไทยและตา่ งชาตวิ า่ ทรงนยิ มในวฒั นธรรมตะวนั ตก ทรงมคี วามรใู้ นภาษาองั กฤษทงั้ ตรสั และ เขียนไดเ้ ปน็ อย่างดี ทรงศึกษาวิทยาการสมัยใหม่ของชาวตะวันตก โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เกยี่ วกบั เครือ่ งจกั ร เคร่ืองยนต์ กลไก การช่าง การทหารฯลฯ ดร.คาร์ล กุสลาฟ (ในครั้งนั้นคนไทยเรียกว่า “หมอกิศลับ”) ชาวเยอรมันซ่ึงเป็นมิชชันนารีคนแรกของ คริสต์ศาสนานิกายโปรเตสแตนท์ ท่ีได้เดินทางเข้ามาถึงเมืองไทยเมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๑ ต้นสมัยรัชกาลท่ี ๓ แห่งกรุง รตั นโกสนิ ทร์ พร้อมกบั ศาสนาจารย์จาคอบ ทอมลิน (หรือ “หมอตอมลิ้น”) ชาวองั กฤษ เนือ่ งจาก ดร.คาร์ล กุสลาฟ มคี วามรทู้ างดา้ นการแพทย์ จงึ รบั รกั ษาโรคภยั ไขเ้ จบ็ นอกเหนอื จากการสอนศาสนาใหแ้ กค่ นไทยในเวลานน้ั จงึ เปน็ เหตุ ใหค้ นไทยเรียกมิชชันนารนี ิกายโปรเตสแตนทว์ า่ “หมอ” ติดปากตง้ั แต่น้ันเป็นตน้ มา ดร.คารล์ กุสลาฟ เขยี นบันทึก เรอื่ งราวเก่ียวกบั สภาพโดยท่ัวไปของสงั คมไทยในเวลาน้ัน ได้เขียนถงึ เรอ่ื งราวของเจ้าฟา้ น้อยไว้ดงั นี้ “...เจ้าฟ้านอ้ ย (chow-fa-nooi) พระอนุชาในพระเจ้าแผ่นดนิ องคก์ ่อน ทรงเป็นรชั ทายาทโดยชอบ ธรรมของบลั ลงั ก์ พระองคท์ รงมพี ระชนมายุ ๒๓ พรรษา และทรงมพี ระปรชี าสามารถบางประการ ซง่ึ ยงั ไมเ่ ปน็ ที่ ปรากฏ เน่ืองจากยงั ทรงพระเยาว์ พระองคต์ รสั ภาษาองั กฤษได้และทรงเขยี นได้เล็กน้อย นอกจากน้ียังทรงมีพระ ปรีชาสามารถในการเลยี นแบบงานของช่างฝมี อื ชาวยโุ รปได้เปน็ อย่างดี พระองคท์ รงใฝ่พระทัยอย่างแนว่ แนใ่ น วทิ ยาการตา่ งๆ ของชาวยุโรป และดา้ นคริสต์ศาสนา และทรงพยายามทีจ่ ะผกู มติ รกบั ชาวยโุ รปทกุ คน โดยเปดิ โอกาสให้ทกุ คนสนทนากบั พระองคไ์ ดอ้ ย่างเสรี และยังทรงใฝห่ าความร้ทู กุ อย่างเท่าทที่ รงสามารถ พระองคท์ รง เป็นที่รักของประชาชนซ่ึงเบื่อหน่ายตอ่ การเสยี ภาษีอย่างหนกั แตเ่ จ้าฟา้ ใหญ่ พระเชษฐาของพระองค์ ซงึ่ เพง่ิ จะ ผนวชเปน็ ภกิ ษุ ทรงเปน็ ทร่ี กั ของประชาชนยง่ิ กวา่ ถา้ เจา้ ฟา้ ทง้ั สองพระองคน์ ไี้ ดข้ น้ึ ครองราชย์ จะทำ� ใหเ้ กดิ ความ เปลย่ี นแปลงอยา่ งใหญห่ ลวงในทุกๆ สถาบนั ของประเทศ แตบ่ างทมี นั กอ็ าจจะรวดเรว็ เกนิ ไป...”๒ ๒ เสทือ้ น ศภุ โสภณ, พระป่ินเกล้า เจา้ กรงุ สยาม, ๓๐.
เมอื่ ตะวนั ออกพบตะวันตก : 79 พพิ ธิ สมบตั ิพระราชา ณ วงั หน้า ทรงศกึ ษาภาษาอังกฤษ พระบาทสมเดจ็ ปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงเอาพระทยั ใสศ่ กึ ษาภาษาองั กฤษมากอ่ นใครในหมคู่ นไทยดว้ ยกนั มาต้ังแต่ พ.ศ. ๒๓๗๔ ขณะท่ที รงมีพระชนมพรรษาได้ ๒๓ พรรษา ส่วนพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั นนั้ ทรงศึกษาอย่างจริงจังใน พ.ศ. ๒๓๘๘ ขณะทพ่ี ระชนมพรรษา ๔๑ พรรษาแลว้ (แตใ่ นความเปน็ จรงิ พระบาทสมเด็จ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว ไดท้ รงเคยศึกษาภาษาอังกฤษกับหมอบรดั เลมาบา้ งแล้วตง้ั แต่ปี พ.ศ. ๒๓๘๒) จากเรม่ิ ตน้ ทที่ รงรภู้ าษาองั กฤษเพยี งเลก็ นอ้ ย จนกระทง่ั ทรงมคี วามรใู้ นภาษาองั กฤษเปน็ อยา่ งดยี งิ่ ทง้ั ตรสั และเขียน ดังปรากฏใน “บันทกึ รายวนั ของเทาเซนด์ แฮรสี ” (The Complete Journal of Townsend Harris, First American Consul and Minister to Japan) ราชทูตสหรัฐอเมริกาท่ีเดินทางเข้ามาเจรจาท�ำสัญญาทาง พระราชไมตรีกับไทยในสมัยต้นรัชกาลท่ี ๔ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๙ ได้เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว หลายครง้ั ตอนหนง่ึ ไดเ้ ลา่ ถึงพระบาทสมเดจ็ พระป่นิ เกล้าเจา้ อยหู่ ัวทรงส่งพระราชหตั ถเลขาไปถึงเขา เมอื่ วนั ท่ี ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๙ ว่า“...พระบาทสมเด็จพระปิน่ เกลา้ เจ้าอยู่หวั พระเจ้าแผน่ ดินพระองค์ท่สี อง สง่ พระราชสาสน์ อนั เปีย่ มไปดว้ ยพระกรณุ ายงิ่ มายังขา้ พเจ้า พรอ้ มทงั้ ของขวัญ ผลไมง้ ามๆ ทีส่ ุดของประเทศสยามถงึ ๘๗ จานใหญ่ๆ ผลไมม้ ปี รมิ าณมากเหลอื เกนิ และเหน็ จะมากพอสำ� หรบั คน ๕๐๐ คน จะกนิ อยา่ งอมิ่ แปล้ ของขวญั จากพระเจา้ แผน่ ดนิ ยังความปลมื้ เปรมใหแ้ ก่คณะของข้าพเจ้าอยา่ งย่ิง...”๓ ที่ส�ำคัญเขาได้ช่ืนชมพระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นอย่างมาก “...ไวยากรณ์ในพระราชสาสน์ก็ ถกู ต้องสมบูรณ์ และการเขยี นลายมือบรรจงก็งดงามมาก ท�ำให้ฝมี ือเขียน บรรจงของเราได้อายทีเดียว อักษรแต่ละตัวเขียนอย่างไม่มีที่ติ ประหนึ่งว่า ครูคัดลายมือเป็นผู้เขียนทีเดียว และย่ิงกว่านั้นทั้งข้อความและการเขียน พระเจา้ แผน่ ดนิ พระองคท์ ส่ี องเปน็ ผทู้ รงเองทง้ั หมด...” เมอื่ เขาไดเ้ ขา้ เฝา้ กราบ ถวายบังคมลาในตอนเย็นวันท่ี ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๓๙๙ ก็ได้บันทึก เรอื่ งเกย่ี วกบั ความรภู้ าษาองั กฤษของพระองคไ์ วว้ า่ “...ไปเฝา้ พระเจา้ แผน่ ดนิ องค์ที่สอง ทรงต้อนรับข้าพเจ้าอย่างพระเมตตาที่สุด พระองค์ตรัสภาษา อังกฤษได้วิเศษจริงๆ ทรงให้ข้าพเจ้าดูหนังสือจ�ำนวนมาก สิ่งพิมพ์ อาวุธ เครอื่ งเคมี ทงั้ หมดนล้ี ว้ นเปน็ ของแทข้ องยโุ รปหรอื อเมรกิ า นาฬกิ าแบบแปลก สิ่งของท่ีมีกลไกซบั ซอ้ นนี้ พระองคท์ รงดูแลรกั ษาใหเ้ ป็นระเบยี บและสะอาด นายเทาเซนด์ แฮริส (Townsend Harris) สะอา้ นดว้ ยพระองคเ์ อง”๔ ราชทูตสหรฐั อเมรกิ า ๓ บนั ทกึ รายวนั ของเทาเซนด์ แฮรีส. กรมศิลปากรจดั พิมพ์. พ.ศ. ๒๕๑๕ ๔ เรอ่ื งเดียวกัน.
80 เมือ่ ตะวันออกพบตะวันตก : พพิ ธิ สมบตั พิ ระราชา ณ วังหน้า โปรดวัฒนธรรมตะวันตก พระบาทสมเดจ็ พระป่ินเกล้าเจา้ อยูห่ ัว ทรงโปรดวฒั นธรรมตะวันตกเป็นอยา่ งมาก โปรดฯ ใหต้ กแต่งวังที่ ประทับดว้ ยเครือ่ งเรือนทท่ี รงสง่ั ซอื้ มาจากองั กฤษ โปรดการประทบั และเสวยพระกระยาหารตามแบบฝร่งั มีการใช้ มีดและช้อนส้อม อีกทั้งยังโปรดนำ�้ ชา กาแฟ นม ชอ็ กโกแลต ขนมปงั ฯลฯ ซ่ึงสงั คมไทยในครง้ั นน้ั ยงั ไม่มใี ครรู้จักกัน นอกจากนยี้ ังทรงสะสมหนงั สอื ตำ� รบั ต�ำราภาษาองั กฤษไว้เปน็ จำ� นวนมาก ทรงสะสมขา้ วของเครอ่ื งใช้สมยั ใหม่ และ แปลกซง่ึ เป็นทน่ี ิยมของสังคมตะวันตก เชน่ นาฬกิ าแบบแปลกๆ อาวธุ นานาชนิด เครือ่ งมือเครื่องใช้ ฯลฯ ที่ทรงสั่ง นำ� เขา้ มาจากยโุ รปและอเมรกิ า รวมถงึ โปรดเครอ่ื งแบบทหารแบบยโุ รป โดยเฉพาะเครอื่ งแบบทหารเรอื ทรงสง่ั ตดั จาก เมอื งนอก ทรงเปน็ คนไทยคนแรกทแี่ ตง่ เครอ่ื งแบบนายทหารเรอื ทนั สมยั แบบยโุ รป การทท่ี รงโปรดวฒั นธรรมตะวนั ตก นนั้ น่าจะมาจากการทท่ี รงคบหาสมาคมกับมิชชันนารีอเมริกนั จนสนทิ สนมคนุ้ เคยกนั เป็นอนั มาก การทที่ รงรอบรใู้ นเรอ่ื งราวของทางซกี โลกตะวนั ตก ทำ� ใหบ้ รรดานกั การทตู และบคุ คลสำ� คญั จากยโุ รปและ อเมริกา บงั เกิดความพศิ วงและประทบั ใจเป็นอย่างมาก เชน่ เซอรจ์ อหน์ เบาว์รงิ เอกอัครราชทูตอังกฤษที่ได้เข้ามา เจรจาท�ำสนธิสัญญาในตน้ สมัยรชั กาลท่ี ๔ เมอื่ พ.ศ. ๒๓๙๘ ไดเ้ ล่าวา่ นายดศิ (กปั ตนั ดิค) มหาดเลก็ คนส�ำคญั ของ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั และเปน็ นายเรอื ในพระบวรราชวงั และพระองคไ์ ดท้ รงสอนภาษาองั กฤษใหแ้ ก่ เขาด้วยน้นั ได้เล่าใหเ้ ซอรจ์ อหน์ เบาว์ริง ฟังว่า พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ทรงอ่านบทประพันธข์ องเซอร์ วอลเตอร์ สกอ๊ ต หลายเลม่ ทรงเลอ่ื มใสมากจงึ ทรงตง้ั ชอื่ เรอื พระทนี่ งั่ สำ� คญั ตามนามนกั ประพนั ธช์ าวองั กฤษผนู้ ไี้ วด้ ว้ ย ซง่ึ กค็ ือ เรอื Sir Walter Scott หรือในชือ่ ภาษาไทยวา่ เรือพุทธอำ� นาจ สร้างขน้ึ เม่ือ พ.ศ. ๒๓๗๙ และดัดแปลงใหม่ ในปี พ.ศ. ๒๓๘๒ เปน็ เรอื ชนิดบารก์ ขนาด ๒๐๐ ตัน มีปนื ใหญ่ประจำ� เรอื ๑๐ กระบอก เรือล�ำนี้เป็นของพระบาท สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อคร้ังด�ำรงพระยศเป็นสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ทรงใช้เป็นเรือแม่ทัพ เมื่อคราวทรงคุมกองทัพเรือออกไปท�ำศึกกับญวนใน พ.ศ. ๒๓๘๔ ในการเข้าเฝ้าฯ “พระเจ้าแผ่นดินวังหน้า” ของ เซอร์จอหน์ เบาว์รงิ ครั้งแรก เม่ือวันที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๘ น้ัน เขาเลา่ ถึงบรรยากาศการต้อนรบั ของทางฝ่าย วงั หนา้ ไวต้ อนหนงึ่ วา่ “...การเขา้ เฝา้ พระเจา้ แผน่ ดนิ องคท์ ส่ี อง จดั ใหม้ ขี น้ึ ในวนั นี้ พธิ กี ารตา่ งๆ สว่ นใหญ่ มคี วามโออ่ า่ และน่าตะลึงพอๆ กับพระราชพิธีของวันวาน แต่ดูจะพบกับอารยธรรมในระดับสูงกว่า และรู้เรื่องธรรมเนียมยุโรป ดีกว่า...” ๕ อย่างไรก็ดีความนิยมฝรั่งหรือการโปรดวัฒนธรรมตะวันตกของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่เปน็ ที่พอพระราชหฤทยั ของพระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกล้าเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๓ เนอื่ งดว้ ยทรงเป็นนักอนุรกั ษ์นยิ ม ทรงพอพระราชหฤทัยในจารีตประเพณีแบบแผนอย่างไทยแท้ และทรงต่อต้านวัฒนธรรมตะวันตก มีเรื่องเล่ากันว่า ครง้ั หนง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ โดยชลมารคเพอื่ ทอดผา้ พระกฐนิ เมอื่ เรอื พระทนี่ งั่ แล่นผ่านพระราชวังเดิม อันเป็นท่ปี ระทับของพระบาทสมเด็จพระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยู่หัวในขณะนน้ั ซง่ึ ทรงโปรดให้สรา้ ง เสาธงขนึ้ ตามแบบธรรมเนียมฝรัง่ พรอ้ มกบั ชกั ธงบรวิ ารเพอื่ เปน็ เครอ่ื งสักการบูชาดว้ ย๖ เมอื่ พระบาทสมเด็จพระนั่ง ๕ บนั ทึกรายวันของเซอรจ์ อห์น เบาว์รงิ . กรมศลิ ปากรจัดพิมพ.์ พ.ศ. ๒๕๓๒ ๖ คนไทยสมยั นั้นยงั ไมม่ ปี ระเพณีการต้ังเสาธงและยงั ไมม่ ีธงชาติใช้กนั การตั้งเสาธงมแี ต่ในเรือก�ำปั่นเท่านั้น บนบกยงั ไมม่ ีประเพณี
เมื่อตะวนั ออกพบตะวันตก : 81 พิพธิ สมบตั พิ ระราชา ณ วังหน้า เกล้าเจ้าอย่หู วั ทอดพระเนตรจึงมรี บั สัง่ กับข้าราชบรพิ ารท่ีอยู่ใกล้ชิดตดิ พระองค์ในขณะน้นั วา่ “นนั่ ท่านฟา้ นอ้ ยเอา ผา้ ขร้ี วิ้ ขน้ึ ไปตากทำ� ไม” ดว้ ยไมโ่ ปรดทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงเอาแบบอยา่ งธรรมเนยี มฝรงั่ ในการ ต้งั เสาชกั ธง ประเพณีการต้ังเสาชกั ธงชาตขิ นึ้ ตามวังและบ้านเรือนนนั้ เริ่มมีในสมยั รชั กาลท่ี ๔ เปน็ ต้นมา โดยเป็น ผลสบื เนื่องมาจากการตงั้ สถานกงสลุ ของนานาประเทศในสยาม และการตัง้ เสาชกั ธงชาติของตนขนึ้ เพ่ือประกาศให้ รโู้ ดยทั่วกันว่าเปน็ สถานกงสุลของชาตใิ ด พระราชกิจจานุกิจด้านการทหาร พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นนักการทหารท่ีส�ำคัญย่ิง ทรงรับพระราชภาระส�ำคัญทาง ดา้ นการทหารทง้ั ทหารบกและทหารเรอื มาตงั้ แตส่ มยั รชั กาลท่ี ๓ ขณะทยี่ งั ทรงดำ� รงพระยศเปน็ เจา้ ฟา้ กรมขนุ อศิ เรศ รงั สรรค์ แมเ้ มอื่ ไดร้ บั การสถาปนาใหเ้ ปน็ วงั หนา้ ทมี่ ยี ศศกั ดเ์ิ สมอพระเจา้ แผน่ ดนิ แลว้ กย็ งั คงทรงรบั พระราชภาระทาง ด้านการทหารต่อมาดว้ ย การทหารบก ในสมยั รชั กาลที่ ๓ พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดฯ ใหพ้ ระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงบงั คบั บัญชากรมทหารปืนใหญ่ กรมทหารแม่นปนื หนา้ กรมทหารแมน่ ปืนหลัง และกองทหารอาสาญวน อาสา แขก และอาสาจาม ซงึ่ เป็นกองทหารทม่ี คี วามสำ� คญั และมีก�ำลงั พลมาก ดจุ เปน็ หวั ใจของกองทพั บกไทยในเวลานนั้ พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดฯ ใหต้ งั้ กรมทหารแมน่ ปนื ๗เพมิ่ ขน้ึ มาอกี ๑ กรม เรยี กชอ่ื วา่ “กรมทหาร แมน่ ปืนหลัง” หรอื “กรมทหารฝร่ังแม่นปนื หลงั ” ทหารในสังกัดกรมนลี้ ว้ นเป็นคนในบ้านญวนสามเสน ซ่งึ เปน็ ญวน เข้ารตี ทีไ่ ดเ้ ข้ามาสวามภิ กั ด์อิ ยู่กบั ไทย พระบาทสมเดจ็ พระป่ินเกล้าเจา้ อย่หู วั หรือเจา้ ฟา้ น้อย ไดท้ รงเอาพระทัยใส่ในการฝกึ ทหารมาก นอกจาก ฝึกการยิงปืนใหญ่แล้ว ยังทรงฝึกแถวแบบทหารสมัยใหม่ด้วยพระองค์เองอีกด้วยหนังสือฝร่ังเล่มหนึ่งได้เขียนเล่าไว้ ว่า “...เจา้ ฟา้ ออกหดั ทหารเองทกุ เชา้ พอเลิกแล้วกท็ รงเดนิ นำ� หนา้ กองทหารปบั ๆ กลบั เขา้ โรงในวงั ...” ทหาร ดงั กลา่ วตามท่ีปรากฏนัน้ แตง่ ตัวนงุ่ กางเกงขาวขายาว ใสเ่ ส้ือด�ำ มีสายสะพายไขวส้ องบ่า (แบบทหารองั กฤษในสมัย น้ัน) ใส่หมวกคล้ายเฮลเมต สะพายปืนข้างหลังต้ังตรง ยืนอยู่ข้างปืนใหญ่ แสดงว่าเป็นทหารปืนใหญ่ของพระบาท สมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ซงึ่ มตี วั หนงั สอื กำ� กบั วา่ เปน็ “ทหารเจา้ ฟา้ ”๘ สาเหตทุ ม่ี าของการทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระ นงั่ เกล้าเจา้ อยูห่ ัว โปรดฯ ใหพ้ ระบาทสมเดจ็ พระปิน่ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั ระดมฝกึ ทหารปนื ใหญ่อยา่ งแขง็ ขันนัน้ เนื่องจาก กองทัพไทยได้ท�ำสงครามกับญวนยืดเยื้อเร้ือรังเป็นเวลาช้านานถึง ๑๕ ปี (พ.ศ. ๒๓๗๖-๒๓๙๑) พระบาทสมเด็จ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงเกรงญวนจะยกทพั เรอื บกุ เขา้ มาทางทะเล จงึ โปรดใหส้ รา้ งปอ้ มขน้ึ เพมิ่ เตมิ ตามหวั เมอื งทตี่ ง้ั อยตู่ ามปากนำ�้ ทส่ี ำ� คญั ไดแ้ ก่ สมทุ รปราการ นครเขอื่ นขนั ธ์ (พระประแดง) ฉะเชงิ เทรา สมทุ รสาคร สมทุ รสงครามฯลฯ ๗ กรมทหารแม่นปืน มีหน้าที่เก็บรักษาปืนใหญ่ ควบคุมดูแลปืนประจ�ำป้อม ตลอดจนฝึกซ้อมการยิงปืนใหญ่ เมื่อมีการ เสด็จพระราชด�ำเนินโดยชลมารค จะท�ำหน้าท่ีควบคุมปืนประจ�ำโขนเรือพระท่ีน่ัง นอกจากนี้ยังมีหน้าที่เฝ้าอารักขาพระบรมมหาราชวัง ขณะเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวเสดจ็ ออกหัวเมอื งอกี ดว้ ย ๘ กาญจนาคพนั ธ์.ุ ภมู ศิ าสตร์วัดโพธ์ิ. พ.ศ. ๒๕๐๙
82 เม่ือตะวนั ออกพบตะวันตก : พิพธิ สมบัติพระราชา ณ วังหนา้ ภาพการสรา้ งปอ้ มปราการในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนงั่ เกล้าเจา้ อยหู่ วั ๙ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวหรือกรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ทรงได้รับมอบหมายให้ไปสร้าง ป้อม พิฆาตศึก ท่ีปากน้�ำแม่กลอง เมืองสมุทรสงคราม เม่ือปี พ.ศ. ๒๓๗๔๑๐ ตลอดจนท�ำหน้าท่ีรักษาป้อมท่ีเมือง สมทุ รปราการ อันเปน็ ดา่ นสำ� คัญของกรงุ เทพฯ ด้วยเหตนุ ้ี จึงตอ้ งมีการเร่งระดมฝกึ หดั ทหารปนื ใหญ่ไวใ้ ชใ้ นราชการ ส�ำหรบั สง่ ไปประจ�ำตามป้อมตา่ งๆ ต�ำราปนื ใหญ่ เนื่องมาจากการท่ีต้องทรงรับพระราชภาระในการฝึกทหารปืนใหญ่ ท�ำให้พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า เจ้าอยู่หัวต้องทรงพระราชอุตสาหะแปลต�ำราปืนใหญ่จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย เม่ือ พ.ศ. ๒๓๘๔ เพ่ือน�ำ มาใช้ฝึกสอนทหารปนื ใหญ่ ต�ำราปืนใหญ่พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เท่าที่ค้นพบแล้วมีอยู่ ๒ เล่ม คือ ต�ำราปืนใหญ่ และ ต�ำราปืนใหญ่โบราณ มีภาพลายเส้นประกอบ มีต�ำนานก�ำเนิดท่ีมาของปืนใหญ่ฝร่ัง ก�ำเนิด ดินปนื ท�ำเนยี บนามปนื ใหญ่ ต�ำราท�ำดนิ ปืนและยงิ ปนื ใหญ่ การหดั ปืนใหญร่ บกลางแปลง การหัดปนื ปอ้ มและปืน เรอื รบฯลฯ ในต�ำราปืนใหญน่ นั้ มไิ ดม้ ีแต่เฉพาะทีท่ รงแปลหรอื คดั ลอกเอามาจากฝร่ังเท่าน้นั ยงั ทรงน�ำเอาคติความ เชอ่ื จากตำ� ราเกา่ ของไทยเรามาผสมผสานไวด้ ว้ ยหลายตอน เชน่ ต�ำราดนิ (ดนิ ปนื ) ส�ำหรบั พระพชิ ยั สงคราม จะใหศ้ ตั รู พา่ ยแพ้ ทา่ นใหป้ ระสมยาดนิ มอี ยหู่ ลายสตู ร เพอ่ื ใหบ้ งั เกดิ ผลตา่ งๆ กนั นอกจากนยี้ งั มพี ระคาถาสำ� หรบั เสกลกู เสกดนิ และบริกรรมภาวนาเมื่อเวลาจะจดุ ปนื ส�ำหรบั ห่อลกู ปนื และดนิ ปนื ต�ำรายิงปนื เผาเรอื นและเผาก�ำปัน่ ซ่งึ ใชก้ รรมวิธี ตา่ งๆ กนั ฯลฯ ตอนทว่ี า่ ดว้ ยการหดั ปนื ใหญร่ บกลางแปลงนนั้ มคี วามตอนตน้ เรม่ิ เรอ่ื งทสี่ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ พระอจั ฉรยิ ภาพ ในการเอาพระทยั ใสฝ่ กึ สอนจนทรงเจนจดั เชย่ี วชาญ ทรงมปี ระสบการณใ์ นการฝกึ สอนอยา่ งโชกโชน ดงั นี้ “...บทตน้ นนั้ ๙ http://heritage.mod.go.th/nation/military/military1/index06.htm ๑๐ http://ridceo.rid.go.th/smsongkh/pawatsamut.html
เมอ่ื ตะวันออกพบตะวันตก : 83 พิพธิ สมบัติพระราชา ณ วงั หนา้ ว่าพวกทหารปนื ใหญ่ทัง้ ปวงนี้ จ�ำต้องหัดให้ช�ำนชิ ำ� นาญ จนทุกท่าทุกอย่าง ในการซ่ึงจะใช้ จะยิงปนื ใหญน่ ้ัน เป็นตน้ วา่ ชกั เฝือประจุปนื และใส่ปัศตนั แยงฉะนวน ปดิ ฉะนวน เทดินหู และจดุ เลง็ ต่างๆ กบั การอนื่ ๆ มีอีกหลายอย่าง ซงึ่ พวกทหารปนื ใหญน่ จ้ี �ำต้องเรียนรู้ให้มาก จนเปน็ นายบอกไดท้ ุกตวั คนแลว้ จะต้องเปล่ียนกนั ยดั เปลี่ยนกนั ประจใุ ส่ ปศั ตัน ปดิ ฉะนวน จุดส่งดนิ เพราะคนทำ� งานในปืนใหญ่นเี้ หนือ่ ยไม่เทา่ กัน คนทช่ี ักเฝอื และประจุปนื กับคนว่ิงสง่ ดิน นนั้ เหน่ือยมากกวา่ คนอนื่ จงึ ต้องเปล่ียนกนั รอบๆ ไป...” พระราชนพิ นธ์ต�ำราปืนใหญน่ ้ี เป็นพยานหลกั ฐานได้เป็นอย่างดีวา่ พระบาทสมเด็จพระปนิ่ เกลา้ เจ้าอยูห่ วั ทรงเชี่ยวชาญช�ำนาญในเร่ืองการทหารปืนใหญ่สมัยใหม่ท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เมื่อทรงได้รับพระราชทาน พระราชพิธีบวรราชาภิเษกแล้ว กิจการทหารปืนใหญ่ก็ยังทรงด�ำเนินการพัฒนาให้ก้าวหน้าต่อไปอย่างไม่มีการ หยุดยั้ง ด้วยทรงตระหนักถึงอิทธิพลของอังกฤษและฝร่ังเศสที่ก�ำลังแผ่เข้ามาคุกคามโลกตะวันออก ดังที่จีน พม่า และญวนก�ำลังเผชิญอยู่ ช่วงต้นสมัยรัชกาลที่ ๔ มีนายทหารนอกราชการของกองทัพบกอังกฤษประจ�ำอินเดีย (รอ้ ยเอก อมิ เปย)์ เดนิ ทางเข้ามารับราชการเปน็ ครฝู กึ หดั ทหารบกให้ทหารฝา่ ยวังหลวงและต่อมาคือ ร้อยเอก โทมสั ยอรช์ นอกซ์ (Thomas George Knox) นายทหารนอกราชการของกองทพั บกองั กฤษประจำ� อนิ เดยี ไดเ้ ดนิ ทางเขา้ มา สมคั รขอเขา้ รบั ราชการอกี คนหนง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จงึ โปรดฯ ใหไ้ ปเปน็ ครฝู กึ ทหารอาสาญวน เข้ารตี ของทางฝา่ ยวังหน้า ร้อยเอก นอกซ์ ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีอยา่ งต้งั ใจ ไดร้ บั การโปรดเกลา้ ฯ ให้คมุ กองก�ำลงั พเิ ศษออก ไปปฏบิ ตั หิ นา้ ทใ่ี นราชการสงครามคราวศกึ ตเี มอื งเชยี งตงุ เมอื่ พ.ศ. ๒๓๙๖ ภายในพระบวรราชวงั ในรชั สมยั พระบาท สมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั นนั้ การทหารปนื ใหญอ่ อกจะคกึ คกั เปน็ พเิ ศษ ไมไ่ ดม้ เี พยี งญวนเขา้ รตี เทา่ นน้ั แตบ่ รรดา ข้าราชบริพารได้พากันสมัครเป็นทหารปืนใหญ่เป็นจ�ำนวนมาก ไม่เว้นแม้กระท่ังคนสวนและมหาดเล็กห้องสรง ซ่ึง การฝึกฝน และการแต่งกายของทหารปืนใหญ่น้ี ล้วนเป็นแบบฝร่ังทั้งส้ิน เกี่ยวกับเหล่าทหารปืนใหญ่ของพระบาท สมเดจ็ พระปน่ิ เกล้าเจา้ อยหู่ วั น้ี ราชทูตสหรฐั อเมรกิ า (เทาเซนด์ แฮรสิ ) ไดก้ ลา่ วช่ืนชมไว้ดังนี้ “...วันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๓๙๙ จดั ขบวนไปพระราชวงั ของพระเจ้าแผ่นดนิ องคท์ ีส่ อง มกี ารยิงสลตุ ๒๑ นดั บรรดาทหารของพระองค์ อยู่ในระเบียบวินัยดี บางคนแต่งกายในแบบยุโรป มีทหารองครักษ์เดินน�ำหน้าเรา และเป็นทหารท่ีฝึกมาแล้วอย่าง ดีที่สุดเท่าที่ข้าพเจ้าเคยเห็น ปืนใหญ่สนามท่ีใช้ในการยิงสลุต ก็ได้รับการดูแลรักษาอย่างงดงาม....”๑๑ ด้วยเหตุท่ี พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงอทุ ศิ พระองคใ์ หแ้ กก่ ารทหาร โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ทหารปนื ใหญ่ เมอ่ื ทรง ได้รบั พระราชทานบวรราชาภิเษกแล้ว ก็ยงิ่ ทรงตัง้ หน้าสงั่ สมอาวธุ ปนื ใหญ่ นอ้ ย กระสุนดนิ ดำ� และอาวุธยทุ โธปกรณ์ สำ� หรบั กจิ การทหารมากมาย ตอ้ งขยายและปรบั ปรงุ สรา้ งอาคารสถานทต่ี า่ งๆ เพมิ่ เตมิ ในพระบวรราชวงั อกี มากมาย อันไดแ้ ก่ โรงทหาร โรงปืนใหญ่ โรงชา้ ง โรงมา้ คลงั แสงสรรพาวธุ ตึกดนิ ฯลฯ อนั ปรากฏอยใู่ นแผนท่พี ระราชวังบวร สถานมงคลจนดูลานตาไปหมด พระปรีชาสามารถทางด้านยุทธศาสตร์ได้แสดงให้เป็นท่ีปรากฏชัดเมื่อตอนสร้างถนนเจริญกรุง อันเป็น ถนนแบบใหม่สายแรกของกรุงเทพฯ ในตอนต้นรัชสมัยรัชกาลที่ ๔ ซ่ึงมีค�ำเล่าขานกันมาว่า ในการวางผังตัดถนน เจริญกรุงนน้ั ในช้ันแรกท�ำเป็นเสน้ ตรงจากสามแยกพงุ่ เขา้ มาสู่ก�ำแพงพระนคร ตรงประตสู ามยอดเลยทีเดียว “...แต่ พระปิ่นเกล้าฯ ได้ทรงทักท้วงว่าผิดหลักยุทธศาสตร์ เพราะถนนตรงเช่นนั้น ข้าศึกสามารถเอาปืนใหญ่มาต้ังที่ถนน แลว้ ยิงเขา้ มาท�ำลายประตูเมืองไดโ้ ดยสะดวก...”๑๒ ดว้ ยเหตุนี้ จงึ ได้มีการแกไ้ ขแนวถนนเจริญกรงุ ให้เลย้ี วตรงย่าน เชงิ สะพานเหลก็ (สะพานด�ำรงสถติ ) ๑๑ บนั ทึกรายวนั ของ เทาเซนด์ แฮรีส. กรมศลิ ปากรจดั พิมพ.์ พ.ศ. ๒๕๑๕ ๑๒ เสท้อื น ศุภโสภณ. พระปิน่ เกลา้ เจ้ากรงุ สยาม. น.๖๗
84 เมอ่ื ตะวนั ออกพบตะวันตก : พพิ ธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้ การทหารเรือ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสนพระทัยในเร่ืองเคร่ืองจักรกลและการต่อเรือมาต้ังแต่ยังทรง พระเยาว์ โดยทรงศึกษาวิชาการด้านนี้กับมิชชันนารีอเมริกัน จึงท�ำให้ทรงมีบทบาททางการทหารเรือตั้งแต่สมัย รัชกาลท่ี ๓ เปน็ ต้นมา เรอื รบท่พี ระบาทสมเดจ็ พระปิ่นเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ทรงเอาเปน็ พระราชธรุ ะในการต่อและฝกึ หัด ไพร่พลประจ�ำเรือน้ัน เปน็ เรือขับเคลือ่ นดว้ ยเคร่อื งจักรกลท่ีเรยี กกนั วา่ เรือรบกลไฟ มปี นื ใหญ่เป็นอาวธุ ประจำ� เรือ เปน็ เรอื รบทนั สมัยแบบสากลรนุ่ แรกของกองทัพไทย ในสมยั รชั กาลที่ ๓ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงไดร้ บั มอบหมายใหต้ กแตง่ ดดั แปลงเรอื กำ� ปน่ั เพ่ือน�ำมาท�ำเป็นเรือรบให้ออกปฏิบัติการยุทธในท้องทะเลได้ ท่ีส�ำคัญคือ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงไดร้ บั การโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ ป็นแม่ทพั เรอื คมุ กองก�ำลงั ทหารเรือออกไปท�ำศึกญวน เม่อื ปี พ.ศ. ๒๓๘๔ เพ่อื ทำ� ให้ ญวนเกดิ ความระสำ่� ระสายและถว่ งเวลาใหก้ องทพั บกของไทยทำ� การถมคลอง ตดั เสน้ ทางสง่ เสบยี งตลอดจนเสน้ ทาง คมนาคม เพอื่ ปอ้ งกันไม่ให้กองทพั ญวนมาตั้งในเขมรได้ ซ่ึงในการรบคร้งั น้ี พระองคป์ ระทบั อยู่ใน เรือพุทธอ�ำนาจ๑๓ ภายหลงั จากทท่ี รงไดร้ บั พระราชทานบวรราชาภเิ ษกแลว้ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงเรง่ รดั ปรบั ปรงุ กจิ การทหารเรือของทางฝา่ ยวังหน้าอย่างจริงจงั ไดม้ กี ารปฏวิ ตั ริ ูปแบบเรือรบไทย เร่ิมต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๓๙๔ โดยเลกิ ใชเ้ รือใบเรือพายเป็นเรอื รบ เปล่ยี นมาเป็นเรอื รบกลไฟท้งั หมด “...ต้ังแตบ่ ดั น้นั เป็นต้นมา บรรดาเรือรบโบราณที่ใช้ แจวพายกนั อยใู่ นล�ำแม่น้�ำ กลายเปน็ เรือลา้ สมยั ไมเ่ หมาะสำ� หรับใชใ้ นการป้องกนั ประเทศ และการศึกสงครามอกี ตอ่ ไป จงึ ได้แปรสภาพกลายมาเปน็ เรอื ทีใ่ ชใ้ นขบวนพระราชพิธ…ี ” กิจการทหารเรือไทยในขณะน้ัน พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงรับหน้าที่เป็นผู้บังคับบัญชา ทหารเรอื วงั หนา้ หรอื ผบู้ ญั ชาการทหารเรอื วงั หนา้ สว่ นเจา้ พระยาศรสี รุ ยิ วงศ์ (ชว่ ง บนุ นาค) เปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชาทหาร เรอื บา้ นสมเดจ็ โดยทที่ ำ� การของทหารเรอื หรอื กองบญั ชาการทหารเรอื วงั หนา้ เปน็ ตำ� หนกั แพอยรู่ มิ แมน่ ำ�้ เจา้ พระยา (บรเิ วณทา่ พระจนั ทร์ ทต่ี งั้ ของมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตรป์ จั จบุ นั ) ใตต้ ำ� หนกั แพลงมาเปน็ ทตี่ ง้ั ของโรงทหารเรอื วงั หนา้ โดยมหี นว่ ยอยูใ่ นสงั กดั ๓ หน่วยดว้ ยกนั คอื กรมเรือกลไฟ กรมอาสาจาม และกองทะเล กจิ การทหารเรอื ทางฝา่ ยวงั หนา้ สมยั นน้ั ออกจะกา้ วหนา้ กวา่ เพอ่ื น ดว้ ยพระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงเปน็ ผนู้ ำ� ในดา้ นเรอื รบสมยั ใหม่ ทรงเป็นคนไทยคนแรกท่เี ป็นเจ้าของเรอื ก�ำปั่นที่ท�ำดว้ ยเหล็กทงั้ ล�ำ ซึ่งทรงซอ้ื มาจากชาวอเมริกันเม่ือปี พ.ศ. ๒๔๐๐ แลว้ ทรงนำ� มาดดั แปลงตกแตง่ เพมิ่ เตมิ ใหเ้ ปน็ เรอื รบและเปน็ เรอื พระทน่ี ง่ั สว่ นพระองค์ มนี ามวา่ เรอื มงคลราชปกั ษ๑ี ๔ ในพระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔ ที่ทรงมีไปถึงพระยา มนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม บุนนาค) และเจ้าหมื่นสรรเพธภักดี (เพ็ง เพ็ญกุล ต่อมาได้เลื่อนข้ึนเป็นเจ้าพระยา มหินทรศักด์ิธ�ำรง พระราชบุตรบุญธรรมของรัชกาลที่ ๔) ราชทูตไทยท่ีเดินทางไปกรุงลอนดอนเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๐๐ ได้กล่าวถึงเรือมงคลราชปักษีความว่า “...จดหมายถึงพระยามนตรีสุริยวงศ์ ราชทูต เจ้าหม่ืนสรรเพธ ภักดี อุปทูต ให้ทราบว่าบัดน้ีวังหน้าท่านซ้ือเรือสกุนเนอล�ำหน่ึง เป็นเรืออเมริกัน ท่านจัดแจงเป็นเรือรบ เรือ พระท่ีน่ัง พระราชทานชื่อว่า เรือพระท่ีน่ังมงคลราชปักษี จัดแจงสะอาดสะอ้านหมดจดหนักหนาน่ารักน่า ชม ท่านเสด็จลงไปทอดพระเนตรการท�ำเองทุกวัน ต้ังแต่เดือน ๙ มา ครั้นการเสร็จแล้ว ในเดือน ๑๒ ท่านรับ ๑๓ เรอื พทุ ธอำ� นาจ (Fairy) สรา้ งเมื่อ พ.ศ.๒๓๗๙ เปน็ เรอื ชนดิ บาร์ก (Bark) ขนาด ๒๐๐ ตนั มอี าวุธปนื ใหญ่ ๑๐ กระบอก ๑๔ เรอื มงคลราชปักษี (Falcon) ชนดิ สกูเนอร์ (Schooner) ขนาด ๑๐๐ ตนั (บ้างกว็ า่ ๓๖๘ ตนั )
เมือ่ ตะวันออกพบตะวนั ตก : 85 พพิ ธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วังหนา้ เงินไปแจกเบ้ียหวัดข้าราชการส้ินเงิน ๑๐๐๐ ช่ัง แล้วให้มารับเงินไปรวมหยุดไว้อีก ๑๐๐๐ ช่ัง ยังไม่แจก ก่อน ท่านมาลาข้าพเจ้าว่าจะไปประพาสลมทะเลสักเดือนเศษ ท่านเสด็จไปกับเรือพระที่น่ังมงคลราชปักษี ตั้งแต่ ๖ฯ๑ ค่�ำ เวลากลางคนื แลว้ แล่นไปข้างฝ่งั ตะวนั ออก ท่านกไ็ ด้ตรสั บอกขา้ พเจา้ แลว้ วา่ ท่านจะเสดจ็ ไปถึงเมอื งจนั ทบุร.ี ...” “...อน่ึง เรอื พระทน่ี ั่งสกุเนอมงคลราชปกั ษขี องวังหน้าน้นั เขาเล่าฦๅกนั มาก สรรเสริญว่าหมดจดงดงามดี นกั ใครสไู้ ม่ได้.....ฯลฯ” เรอื รบแบบทนั สมยั ใชเ้ ครอื่ งจกั รทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงอำ� นวยการตอ่ ขน้ึ ใชใ้ นราชการ ครั้งนั้น ทีส่ ำ� คัญมดี ังน๑้ี ๕ ๑. เรือราชฤทธิ์ (Sir Walter Scott) สร้างเมือ่ พ.ศ. ๒๓๗๙ เปน็ เรอื แบบเดียวกนั กับพทุ ธอำ� นาจ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๔ ไปราชการทัพรบกบั ญวน ๒. เรอื อดุ มเดช (Lion) สรา้ งเมอื่ พ.ศ. ๒๓๘๔ เปน็ เรอื ชนิดบาร์ก (Bark) ขนาด ๓๐๐ ตัน เรือลำ� นเี้ ป็นของ พระบาทสมเดจ็ พระป่ินเกล้าเจา้ อยหู่ ัว เม่อื พ.ศ. ๒๓๘๔ ได้ใชไ้ ปราชการทพั รบกบั ญวน พ.ศ. ๒๓๘๗ ไดน้ �ำสมณทตู ไปลังกา ๓. เรือเวทชงัด (Tiger) สร้างเม่ือ พ.ศ. ๒๓๘๖ เป็นเรือชนิดสกูนเนอร์ (Schooner) ขนาด ๒๐๐ ตัน เรือลำ� นเี้ ป็นของพระบาทสมเดจ็ พระป่ินเกล้าเจา้ อยู่หวั ๔. เรอื พุทธสงิ หาศน์ (Cruizer) สรา้ งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๘ เป็นเรอื ชนิดชิพ ขนาด ๔๐๐ ตนั เรือลำ� นี้เปน็ ของ พระบาทสมเด็จพระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยู่หวั ๕. เรอื อาสาวดรี ส (Sherry Wine) สรา้ งเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๐๑ เปน็ เรอื ยอชท์ ปนื ใหญ่ ๖ กระบอก ตวั เรอื ไมย้ าว ๑๒๐ ฟุต กว้าง ๑๘ ฟุต ระวางขับนำ�้ ๑๕๐ ตนั เปน็ เรอื จกั รทา้ ย ก�ำลงั เครอ่ื งจักร ๔๐ แรงมา้ ๖. เรือยงยศอโยชฌิยา สรา้ งในปี พ.ศ. ๒๔๐๖ เป็นเรือแบบสกูเนอร์ มปี นื ใหญ่ ๖ กระบอก มีพลประจำ� เรือ ๘๐ คน ยาว ๑๔๐ ฟุต กวา้ ง ๒๙ ฟตุ ระวางขับนำ้� ๓๐๐ ตัน เป็นเรอื จกั รท้าย ก�ำลังเครือ่ งจกั ร ๖๐ แรงม้า ๗. เรอื ภารประภา สร้างในปี พ.ศ. ๒๔๐๒ เปน็ เรอื ยอชท์ ตัวเรือไม้ ยาว ๙๐ ฟุต กวา้ ง ๑๒ ฟุต เป็นเรอื จกั รขา้ ง ก�ำลังเครื่องจักร ๒๐ แรงมา้ ไมม่ ปี ืนใหญ่ บรรดาเรอื รบของทางฝา่ ยวงั หนา้ ดงั กลา่ วขา้ งตน้ จะจอดเรยี งรายเทยี บฝง่ั อยทู่ างตอนใตพ้ ระตำ� หนกั นำ้� ของ พระบวรราชวัง (วังหนา้ ) เป็นประจ�ำ คอื เรอื ยงยศอโยชฌิยา เรืออาสาวดีรส และเรอื ภารประภา พระบาทสมเดจ็ พระปิน่ เกล้าเจา้ อยู่หวั ทรงกะเกณฑใ์ หพ้ ระราชโอรสของพระองคห์ ลายองค์ เขา้ เปน็ นาย ทหารเรอื เพ่ือชว่ ยเหลือดูแลกจิ การทหารเรือของวงั หน้า ทเี่ ป็นกำ� ลังส�ำคญั พระองค์หน่งึ คอื กรมหมนื่ บวรวไิ ชยชาญ (ตอ่ มาไดร้ บั การสถาปนาขน้ึ เปน็ กรมพระราชวงั บวรวไิ ชยชาญในสมยั รชั กาลท่ี ๕) ซงึ่ ไดร้ บั ภาระดแู ลกจิ การทหารเรอื ของวงั หนา้ เมอ่ื พระบาทสมเด็จพระป่ินเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวเสด็จสวรรคตแล้ว ทัง้ น้ี เมื่อมเี รือรบตา่ งประเทศเข้ามาคราใด พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวก็จะเสด็จไปเย่ียมเยียนเรือรบเหล่าน้ันเสมอ เพื่อทรงศึกษาและก�ำหนดจดจำ� ๑๕ แชน ปจั จสุ านนท์. ประวัติการทหารเรอื ไทย. ๒๕๐๙
86 เม่อื ตะวนั ออกพบตะวันตก : พิพธิ สมบตั ิพระราชา ณ วังหน้า ขนบธรรมเนียม ระเบียบการต่างๆ ตลอดจนการตกแต่งเรือรบ เพื่อจะได้ทรงน�ำมาเป็นแบบฉบับส�ำหรับประพฤติ ปฏบิ ตั กิ นั ในเรอื รบของพระองคส์ บื ไป นบั วา่ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงใฝพ่ ระราชหฤทยั ในการพฒั นา กจิ การทหารเรอื ครงั้ น้ัน ทุกด้านทกุ ทางอยา่ งแทจ้ ริง จากที่กล่าวมาพอเป็นสังเขปข้างต้น จะเห็นได้ว่า พระปรีชาสามารถและพระราชกรณียกิจทางด้านการ ทหารน้นั พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นกำ� ลังส�ำคัญยงิ่ ของบ้านเมอื งในการพฒั นากองทพั ปรบั ปรงุ การทหารทงั้ ทหารบกและทหารเรอื ในยคุ แรกเรมิ่ พฒั นาสงั คมไทยเราใหเ้ ขา้ สรู่ ะบบสากลแบบตะวนั ตก เพอ่ื ความอยู่ รอดและความเจรญิ กา้ วหนา้ ของประเทศ ทรงแสดงออกถึงความเปน็ นกั การทหารผู้ยง่ิ ใหญข่ องชาติใหเ้ ปน็ ท่ีปรากฏ ตลอดมา นอกจากพระราชกรณียกิจทางด้านการทหารโดยตรง ท้ังทหารบกและทหารเรือ ได้แก่ การส่ังซื้อสั่งสม อาวุธยุทโธปกรณ์ต่างๆ การเอาพระราชหฤทัยใส่ในการต่อเรือรบ และการฝึกหัดทหารด้วยพระองค์เอง การทรง พระราชอตุ สาหะแตง่ ตำ� ราปนื ใหญส่ มยั ใหมส่ ำ� เรจ็ ออกมาเปน็ เลม่ แรกของวงการทหารในเมอื งไทย พระราชจรยิ าวตั ร อันเป็นท่ีปรากฏชัดแก่อนุชนรุ่นหลังคือ ทรงโปรดเครื่องแบบทหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเคร่ืองแบบทหารเรือแห่ง ราชนาวีอังกฤษ พระบรมฉายาลักษณ์ของพระองค์ล้วนเป็นพระบรมฉายาลักษณ์ในฉลองพระองค์เคร่ืองแบบ นายทหารเรอื ทง้ั สน้ิ อนั เปน็ การประกาศใหส้ งั คมไดร้ บั รโู้ ดยปรยิ ายวา่ ทรงเปน็ นกั การทหารเตม็ พระองค์ มใิ ชน่ กั การเมอื ง ดงั ที่ เซอร์ จอห์น เบาวร์ ิง ได้บนั ทึกถึงเร่ืองราวการเข้าเฝา้ ฯ พระบาทสมเด็จพระป่ินเกล้าเจา้ อยหู่ วั เม่อื วนั ท่ี ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๘ ตอนหนง่ึ วา่ “...พระเจา้ แผน่ ดนิ พระองคท์ สี่ อง ทรงหลกี เลย่ี งทจ่ี ะพดู คยุ ในเรอ่ื งการเมอื ง...”๑๖ เร่อื งนี้แสดงใหเ้ ห็นถงึ มารยาททางการเมืองหรือ วฒั นธรรมทางการเมือง ดว้ ยพระองค์มีพระราชประสงคใ์ นการที่จะ หลกี ทางใหพ้ ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงใชพ้ ระปรชี าสามารถบรหิ ารประเทศชาตบิ า้ นเมอื งโดยเตม็ พระสติกำ� ลงั ไมต่ อ้ งทรงพะวักพะวงกับการแทรกแซงของผมู้ อี ทิ ธิพลใดๆ พระราชกจิ จานกุ ิจดา้ นวทิ ยาศาสตร์และการประดษิ ฐ์ พระบาทสมเด็จพระปน่ิ เกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงศกึ ษาวชิ าการทางวทิ ยาศาสตร์การช่าง การต่อเรือ การไฟฟ้า การทำ� แกส๊ วชิ าเคมโี ลหวทิ ยา ตลอดจนการถา่ ยภาพและการพมิ พ์ มหี ลกั ฐานปรากฏวา่ พระองคไ์ ดร้ บั สงั่ ใหห้ มอเฮาส์ (Dr. Samuel House คนไทยสมัยนั้นชอบเรียกกันว่า “หมอเหา” มิชชันนารีอเมริกันผู้มีบทบาทในการเผยแพร่ วชิ าดาราศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตรเ์ บ้อื งตน้ ใหแ้ กค่ นไทยในสมยั รชั กาลที่ ๓-๔) เขา้ เฝ้าฯ เพ่อื ถวายคำ� แนะน�ำในเรอ่ื ง วิทยาศาสตร์ และการทดลองต่างๆ อยู่เสมอ ในบันทึกของหมอเฮาส์๑๗ ได้เล่าถึงเร่ืองราวอันเกี่ยวกับเจ้าฟ้าน้อย ในดา้ นความสนพระทยั เกยี่ วกบั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเครอื่ งจกั รกลไกไวว้ า่ “...เพอื่ เปน็ การแสดงมารยาทตามลำ� ดบั พวก ศาสนทตู จงึ ไดถ้ กู นำ� ไปคำ� นบั เจา้ นายอกี พระองคห์ นงึ่ คอื เจา้ ฟา้ นอ้ ย เนอ่ื งจากเหตผุ ลบางประการ เจา้ นายพระองคน์ ไี้ ด้ ทรงระงบั การตดิ ตอ่ กบั ชาวตา่ งประเทศทเ่ี คยรจู้ กั กนั มาแตก่ อ่ นๆ แตก่ ท็ รงตอ้ นรบั ผมู้ าเยยี่ มดว้ ยความเตม็ พระทยั และ ทรงแสดงความยินดี พระองคท์ รงสนใจในวิทยาการของฝา่ ยตะวันตกเหมือนกัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงวทิ ยาศาสตร์ ในบริเวณวังของพระองค์มีโรงงานหลายแห่ง แห่งหน่ึงเป็นโรงตีเหล็ก แห่งหน่ึงเป็นโรงกลึงเหล็ก อีกแห่งหน่ึง เป็นโรงงานไม้ โรงงานเหล่านี้ใช้แรงของพวกทาสทำ� งาน ในห้องหน่งึ มีเครื่องจักรไอน้�ำยาวสองฟุตครึ่ง ท�ำโดย น�ำ้ มอื ของเจ้าพระองค์น้ที งั้ สิน้ ...” ๑๖ บันทกึ รายวนั ของเซอรจ์ อห์น เบาวร์ งิ . กรมศลิ ปากรจัดพมิ พ.์ พ.ศ. ๒๕๓๒ ๑๗ หมอเฮาสใ์ นรัชกาลที่ ๔. กองคริสเตยี นศึกษา สภาครสิ ตจักรในประเทศไทย. ๑๙๖๑.
เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวันตก : 87 พพิ ธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วังหน้า พระองค์ได้ทรงแปลหนังสือภาษาอังกฤษเก่ียวกับวิชาการทหารและเคร่ืองจักรเป็นภาษาไทยไว้หลายเล่ม และได้ทรงรว่ มกบั นายแชนด์เลอร์ (Rev. John Hasset Chandler) สร้างเรอื ขบั เคลอ่ื นด้วยเครือ่ งจกั รไอน�้ำ ท่ตี ่อมา เรยี กวา่ “เรอื กลไฟ” หรอื “เรอื ไฟ” เปน็ ครง้ั แรกในประเทศไทย โดยไดท้ รงทดลองแลน่ ในแมน่ ำ�้ เจา้ พระยา นอกจาก นพี้ ระองคย์ งั ทรงตอ่ เรอื พระทนี่ งั่ ชนดิ บารก์ บา้ ง สกนู เนอรบ์ า้ งอกี หลายลำ� ดว้ ยกนั นอกเหนอื จากเรอื รบทใี่ ชใ้ นราชการ ทหารเรอื ของวงั หนา้ และยงั ไดท้ รงหลอ่ ปนื ใหญด่ ว้ ยเหลก็ เพอื่ ใชใ้ นราชการแผน่ ดนิ ตง้ั แตส่ มยั พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ๑๘ ความจรงิ เรอื กลไฟลำ� แรกทก่ี ลา่ วถงึ นี้ เปน็ เรอื แบบมลี อ้ ใบพดั นำ้� ดา้ นขา้ ง ขนาดประมาณ ๒๐ กวา่ ฟตุ หรอื ๖ เมตร เปน็ เรอื ขนาดเลก็ ทท่ี รงทดลองตอ่ ขนึ้ เปน็ เรอื ตน้ แบบ ยงั ไมใ่ ชเ่ รอื ทม่ี ปี ระสงคจ์ ะนำ� มาใชง้ านอยา่ งจรงิ จงั เจา้ ฟ้าจุฑามณปี ระทบั ถือพวงมาลยั ในเรือกลไฟลำ� แรกทีต่ ่อในสยาม๑๙ นับได้ว่าทรงเป็นผู้ช�ำนาญในวิชาช่างหลายสาขาตั้งแต่ช่างแก้นาฬิกาจนถึงช่างจักรกล ส�ำหรับวิทยาการ ใหมๆ่ ทที่ รงศกึ ษาและสนพระทยั มากคอื การซอ่ มนาฬกิ า ตามหลักฐานทปี่ รากฏอยใู่ นขอ้ เขยี นเรอื่ ง “ชวี ติ ความเป็น อยใู่ นกรุงสยามในทัศนะของชาวตา่ งประเทศ ระหว่าง พ.ศ. ๒๓๘๓-๒๓๘๔ (Narrative of a Residence in Siam)” พมิ พเ์ มอ่ื ปี พ.ศ. ๒๓๙๕ โดยนายเฟรเดอรคิ อารเ์ ธอร์ นลี ๒๐ ชาวองั กฤษ ผเู้ คยเปน็ ราชองครกั ษข์ องพระองค์ ระบไุ วว้ า่ “...ท่านเจ้าฟ้าก็มีบางส่ิงบางอย่างของชาวอังกฤษท่ีพระองค์โปรดเป็นพิเศษ ซ่ึงช่วยท�ำให้ทรงสนุกกับของเล่นทาง วทิ ยาศาสตร์ ตรงขา้ มกับคลงั แสง ใกล้ๆ กบั ประตูวัง มเี รอื นสเ่ี หล่ยี มเลก็ ๆ หลงั หนึ่ง หนา้ ตา่ งเปน็ กระจกโดยรอบ ตรงประตทู างเขา้ มแี ผน่ ปา้ ยเขยี นไวว้ า่ “ทนี่ ร่ี บั ทำ� นาฬกิ าและซอ่ มนาฬกิ าทกุ ชนดิ ” ตวั หนงั สอื เขยี นเปน็ อกั ษรตวั โต สที อง จากประตูนี้มองเขา้ ไปก็จะแลเห็นโตะ๊ ซงึ่ มขี องวางอยบู่ นโตะ๊ เกลอื่ นกลาดไปหมด ซงึ่ กเ็ ป็นเครอ่ื งมือเคร่ืองใช้ ตลอดจนอุปกรณ์เล็กๆ น้อยๆ ในการซ่อมท�ำนาฬิกา ส�ำหรับใช้ในงานอาชีพ ช่างท�ำนาฬิกาของพระองค์ก็คือ เจา้ ฟ้าเอง.....” ๑๘ http://www.wangdermpalace.org/kingpinklao/thai_pinklao.html ๑๙ หนงั สอื “สยามสามสมัย” (Siam Then) ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๙๑ ๒๐ นายเฟรเดอริค อารเ์ ธอร์ นีล เดินทางเขา้ มาอยูก่ รงุ เทพฯ เม่อื พ.ศ. ๒๓๘๓ กลางสมัยรัชกาลที่ ๓ ไดเ้ ขา้ รับราชการในต�ำแหนง่ นายทหารเรือและนายทหารบกควบคู่กันไป ต่อมาได้ย้ายไปรับราชการประจ�ำกรมทหารม้า ต�ำแหน่งราชองครักษ์ของพระบาทสมเด็จ พระปนิ่ เกล้าเจ้าอยู่หัว ต้ังแต่เม่ือยงั ทรงดำ� รงพระราชอสิ ริยยศเป็นเจา้ ฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรงั สรรค์
88 เมื่อตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พพิ ธิ สมบัติพระราชา ณ วังหน้า “...การท�ำนาฬิกาและซ่อมนาฬิกานี้ ส่วนมากจะยุติเมื่อได้ยินเสียงแตรเป่าบอกเวลาให้ทราบว่า ถึงเวลา เสวยพระกระยาหารเชา้ ของพระเจ้าแผ่นดินแล้ว.....” นอกจากนี้ พระองคท์ า่ นไดท้ รงเปดิ โรงกลน่ั ลมพระประทปี ขน้ึ ใชเ้ ปน็ ครง้ั แรกในพระบรมมหาราชวงั อกี ดว้ ย ในสมัยก่อน การให้แสงสว่างยังคงใช้การจุดเทียน ตะเกียง โคม อัจกลับ โดยอาศัยแหล่งเช้ือเพลิงจากไขผ้ึงและ ไขมันจากพชื และสัตว์ ผา่ นการเผาไหม้โดยไสต้ ะเกยี งท่ีฝน้ั จากด้าย จากการทพ่ี ระบาทสมเด็จพระปนิ่ เกล้าเจา้ อยู่หวั ทรงเป็นผู้ช�ำนาญทางการช่างหลายสาขา จึงได้ทรงน�ำวิทยาการของชาวตะวันตกและทรงคิดค้นวิธีการให้แสงสว่าง โดยใช้การจุดด้วยระบบแก๊สข้ึน โดยมีการท่อเดินแก๊สไปท่ีเสาโคมไฟ ไฟเดินตามทางเดินในพระบรมมหาราชวัง แทนการจุดเทียนไข ดังน้ัน โรงแก๊สหรือโรงกล่ันลมพระประทีปจึงถูกก่อสร้างขึ้นในพระบรมมหาราชวัง (ปัจจุบัน เป็นบรเิ วณทตี่ ้งั ของหมพู่ ระท่นี ง่ั บรมพมิ าน)๒๑ โดยมีพระยากระสาปนก์ ิจโกศล (โหมด อมาตยกุล) เปน็ ผู้กำ� กบั ดูแล โรงกลั่นลมพระประทีป พร้อมด้วยพระยาอภิรักษ์ราชอุทยาน (แฉล้ม อมาตยกุล) เป็นผู้ช่วยบิดา การท�ำงานของ โรงกล่ันลมพระประทีป ท�ำหน้าที่หุงลมหรือกลั่นลมขึ้นมา ซ่ึงก็คือการผลิตแก๊สโดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ กลา่ วคือ การนำ� แคลเซียมคาร์ไบด์ เป็นของเหลวสเี ทา และทำ� ปฏกิ ิริยากบั นำ�้ จะได้แกส๊ อะเซทิลนี ซึ่งจดุ ไฟตดิ ได้ ๒๑ http://www.reurnthai.com/index.php?topic=4248.155;wap2
เมอื่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : 89 พิพธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วงั หนา้ พระราชนยิ มอยา่ งตะวนั ตก ศภุ วรรณ นงนชุ ๒๒ เป็นท่ีทราบกันดีว่า พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระจริยวัตรท่ีเรียบง่ายแต่ทันสมัย ทุกคร้ัง ทีม่ รี าชทูต คณะทูตหรือศาสนาจารยท์ ีเ่ ข้ามาเผยแผศ่ าสนาในสยาม ณ เวลานนั้ ได้เข้าเฝ้าฯ ณ พระราชวงั บวรสถาน มงคล (วังหน้า) ตา่ งกล่าวเป็นเสียงเดยี วกันว่า พระองค์ทรงมคี วามเขา้ ใจในวัฒนธรรมแบบตะวนั ตกเปน็ อยา่ งดี ท้งั นี้ เพราะทรงสนพระทยั ในวฒั นธรรม ประเพณี ศิลปะและเทคโนโลยีแบบใหมๆ่ เสมอ จากบันทึกของศาสนาจารย์กุตสลาฟฟ์หรือท่ีคนไทยรู้จักกันในช่ือ หมอกิศลับ มิชชันนารีชาวเยอรมันซึ่ง เขา้ มาเผยแผ่ศาสนาครสิ ต์ นกิ ายโปรเตสแตนท์ ในสมัยรัชกาลท่ี ๓ กลา่ วว่า “...ประเทศสยามเปน็ ศูนย์กลางของการ เผยแพรห่ นงั สือวิทยาศาสตร์และหนังสือเกยี่ วกับคริสต์ศาสนาที่ส�ำคญั ทสี่ ดุ ”๒๓ จึงไมน่ ่าแปลกทีพ่ ระบรมวงศานุวงศ์ ในสมยั นน้ั จะมโี อกาสไดอ้ า่ นและศกึ ษาศาสตรแ์ ละศลิ ปอ์ นั เปน็ ความรอู้ ยา่ งใหมจ่ ากซกี โลกตะวนั ตกผา่ นหนงั สอื และ การตดิ ต่อกับชาวตา่ งชาติ เจา้ ฟา้ จฑุ ามณใี นขณะนัน้ ทรงศึกษาภาษาอังกฤษจากครหู ลายคน๒๔ อาทิเช่น หมอหัศกัน หรือ นายเจสซี แคสเวล หมอปลัดเล หรือ หมอแดน บีช บรัดเลย์ และหมอเหา หรือหมอแซมมวล เรโนลด์ เฮาส์ เปน็ ตน้ การเข้าใจภาษาองั กฤษทำ� ให้สามารถเข้าถงึ โลกทต่ี า่ งออกไป รวมถึงนวัตกรรมใหม่ๆ อกี ดว้ ย ดว้ ยเหตุน้ี จึงทรงศึกษาเทคโนโลยี ระเบยี บประเพณีและวถิ ชี วี ติ อย่างชาวตะวันตก และทรงน�ำมาปรับใชใ้ หเ้ ขา้ กับวถิ ีชีวิตอยา่ ง ชาวตะวันออกได้อย่างลงตวั ในสมยั รชั กาลที่ ๓ นเ้ี อง ด้วยพระปรชี าสามารถด้านการทหารและเคร่ืองยนต์กลไกต่างๆ ทรงได้รับการ แต่งต้ังให้ทรงกรมเป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ทรงเป็นก�ำลังส�ำคัญในการบังคับ บัญชาการทหารเรอื และมีพระราชไมตรอี ันดีกบั คณะทตู ศาสนาจารยแ์ ละชาวต่างชาตทิ ่ีเข้ามาสสู่ ยามประเทศอยา่ ง มาก โดยเฉพาะชาวอเมริกัน ซ่ึงท�ำให้พระองค์ได้รับทราบและเรียนรู้วิทยาการใหม่ๆ จากคนเหล่าน้ี น�ำมาศึกษา ทดลอง ปรับปรุงและพัฒนาไปในแนวทางของพระองค์เอง เม่ือได้รับการสถาปนาเป็นพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า เจา้ อย่หู ัว กรมพระราชวงั บวรสถานมงคลในสมยั รัชกาลที่ ๔ แนวคดิ อย่างตะวันตกทท่ี รงนำ� มาปรับใช้นน้ั ปรากฏใน หลักฐานทางด้านตา่ งๆ มากมาย อาทเิ ช่น บนั ทกึ ของชาวต่างชาติทีเ่ ข้ามาในช่วงเวลาน้ัน วารสาร ขา่ วหนังสอื พิมพ์ ภาพถ่าย ภาพวาด รวมทัง้ พระต�ำหนักที่ประทบั ของพระองคเ์ อง เปน็ ต้น ตัวอย่างหลักฐานทช่ี ดั เจนและยังหลงเหลือ มาจนถึงปจั จุบนั อาทเิ ชน่ พระทีน่ ง่ั อศิ เรศราชานสุ รณ์ เดมิ ชือ่ ตำ� หนกั วงจนั ทร์ แตพ่ ระบาทสมเด็จพระปิน่ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั ทรงเรยี กวา่ ต�ำหนักอังกฤษ นามนี้มีท่ีมาไม่ได้เป็นค�ำเรียกขานลอยๆ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า พระองค์ทรงมีความสนพระทัยใน ประเทศสหรัฐอเมรกิ าเป็นอยา่ งมาก โดยเฉพาะประวัตแิ ละผลงานของประธานาธบิ ดี ยอร์ช วอชิงตัน (พ.ศ. ๒๒๗๕ - ๒๓๔๒) ประธานาธบิ ดคี นแรกของสหรฐั อเมรกิ า ถงึ กบั ทรงประทานพระนามพระโอรสของพระองคว์ า่ พระองคเ์ จา้ ยอรช์ วอชงิ ตนั หรอื พระองคเ์ จา้ ยอดยง่ิ ประยรู ยศ๒๕ นอกจากนอ้ี กี สงิ่ หนงึ่ ทท่ี รงนำ� มาปรบั ใชค้ อื พระตำ� หนกั ทที่ รงสรา้ ง ๒๒ ภณั ฑารักษ์ช�ำนาญการ พิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร ๒๓ กรมศลิ ปากร. (๒๕๕๕). รวมเร่อื งแปลหนังสือและเอกสารทางประวัตศิ าสตร์ ชดุ ท่ี ๑. ๒๔ ส.พลายนอ้ ย. (๒๕๓๖). เจา้ ฟา้ จุฑามณี พระบาทสมเดจ็ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยหู่ วั . หน้า ๕๗ - ๕๘. ๒๕ กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ วังหนา้ องค์สุดท้ายแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ชาวตา่ งชาตริ ู้จกั พระองคใ์ นพระนาม Prince George
90 เม่อื ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พิพธิ สมบตั ิพระราชา ณ วงั หนา้ ภาพเหมือนประธานาธบิ ดี ยอร์ช วอชงิ ตัน หากมองจากภายนอกจะเห็นว่า พระที่น่ังอิศเรศราชานุสรณ์น้ัน มีลักษณะ ขนาดเทา่ ตัวจรงิ คล้ายคลึงกับอาคารที่ได้รับอิทธิพลตะวันตกเข้ามาในช่วงนั้น หากแต่เมื่อ ศึกษาถึงรูปแบบและการตกแต่งภายใน จะพบว่าพระที่นั่งองค์น้ี พัฒนามา วาดโดยเรมบรันต์ พลี (Rembrandt จากสถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิคที่แพร่หลายอยู่ในสหราชอาณาจักร Peale, พ.ศ. 2321 - 2403) และสหรัฐอเมริกาช่วงพุทธศวรรษท่ี ๒๓ - ๒๔ โดยมีก�ำเนิดมาจากพ่ีน้อง ศลิ ปนิ ชาวอเมรกิ ัน ตระกูลอดัมส์ (โรเบิร์ตและเจมส์ อดัม) เรียกว่า Adam Style ในสหราช อาณาจักร ซึ่งต่อมาได้แพร่หลายมายังสหรัฐอเมริกาและเป็นที่ชื่นชอบของ ประธานาธิบดียอร์ช วอชิงตัน เป็นอยา่ งมาก เนือ่ งจากมีความเรยี บงา่ ยและ สงา่ งามเรยี กสถาปตั ยกรรมแบบนใ้ี นสหรฐั อเมรกิ าวา่ แบบสหพนั ธรฐั (Federal Styleพ.ศ.๒๓๒๓-๒๓๗๓)สง่ิ สำ� คญั ของสถาปตั ยกรรมแบบนค้ี อื มลี กั ษณะดา้ น หนา้ ทส่ี มมาตร มบี นั ไดทางขน้ึ ดา้ นหนา้ ทางเดยี วหรอื ทำ� เปน็ มขุ ขนึ้ ไดส้ องขา้ ง มปี ลอ่ งไฟทง้ั ดา้ นซา้ ยและขวา แตท่ รงปรบั เปลยี่ นเปน็ ชอ่ งทเ่ี จาะเขา้ ไปในผนงั แทนเตาผงิ มบี านประตูหน้าต่างทีส่ งู โปรง่ ตดิ กระจก ๖ ชอ่ งหรอื ๑๒ ช่อง สามารถเปิดรับลมได้สองท่อนและมีมู่ล่ีไม้ปิดอีกชั้น ภายในพระท่ีนั่งตกแต่ง ดว้ ยลายประดับอย่างโรมัน เชน่ ปูนปั้นรูปเหรียญ ลายพันธุ์ไมเ้ ล้อื ย ผา้ มว้ น ใบไมม้ ว้ น ทอ่ นพวงมาลยั ลายเปลอื กหอย ลายรบิ บน้ิ พนั เสา สตั วใ์ นเทพนยิ าย เสาประดับผนัง เฟื่องระย้าและม่านที่คล่ีชายออกมาอย่างสวยงาม เป็นต้น รวมทงั้ การใช้สีทนี่ ุ่มนวลอ่อนหวานในการตกแต่งอาคารด้วย ปูนปัน้ พระราชลัญจกร “จุฑามณ”ี ภายใตว้ งกลมท่อนพวงมาลัยฝรง่ั และผ้าม้วนท่พี ล้วิ ไหว บนหน้าจว่ั พระท่ีน่งั อิศเรศราชานสุ รณ์ พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร
เม่ือตะวันออกพบตะวันตก : 91 พิพธิ สมบัตพิ ระราชา ณ วงั หนา้ นอกจากน้ีตามบันทึกของหมอบรัดเลย์กล่าวว่า ได้เข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ พระตำ� หนักวงจนั ทร์ เมื่อวันท่ี ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๙ เขาบันทกึ ไว้วา่ “...ห้องที่ประทบั ตกแต่งเข้าทีดี เว้นแตท่ ชี่ กั พดั แขวนสงู เกนิ ไปจนตดิ เพดานสงู เทา่ นนั้ ถา้ ไมฉ่ ะนน้ั แลว้ การทใี่ ชเ้ ครอ่ื งตกแตง่ เกอื บจะทำ� ใหเ้ ชอ่ื วา่ เขา้ ไปอยใู่ นบา้ น ผู้ดฝี รงั่ ...”๒๖ การใชพ้ ดั ชกั (Punkha) ตามท่ีหมอบรดั เลยก์ ล่าวถึงในบนั ทึกนน้ั นยิ มกันทว่ั ไปในบ้านคหบดีตะวันตก ในดินแดนอาณานิคมเขตร้อนต่างๆ ในชว่ งเวลาน้นั แสดงว่านอกจากจะทรงสร้างพระต�ำหนักแบบตะวันตกแล้ว ยังทรงตกแต่งพระต�ำหนักตามแบบที่ กลา่ วถงึ อกี ดว้ ย อาทเิ ชน่ พระแทน่ บรรทมคู่ ก็สง่ั ท�ำจากต่างประเทศ๒๗ ตามแบบอังกฤษอย่างอดัมสไตล์ กลา่ วคอื มีความอ่อนหวานงดงามอย่างศิลปะนีโอคลาสสิค ทาสีเขียวอ่อนและตกแต่งด้วยรูปช้างเผือกสลักบนพนัก รวมถึง เครอื่ งราชบรรณาการจากประเทศตา่ งๆ อยา่ งกระจกคจู่ ากสหรฐั อเมรกิ ากจ็ ดั เขา้ คกู่ บั โตะ๊ ตดิ ผนงั ซงึ่ ออกแบบใหเ้ ขา้ กนั ไดอ้ ย่างสวยงามตามธรรมเนยี มปฏบิ ัตอิ ย่างชาวตะวนั ตก ตัวอย่างการใช้งานพดั ชกั ชว่ งพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ๒๖ ส. พลายน้อย. (๒๕๓๖). เจ้าฟา้ จฑุ ามณี พระบาทสมเด็จพระป่นิ เกลา้ เจ้าอยูห่ ัว. หนา้ ๕๙. ๒๗ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ (๒๕๕๓). ตำ� นานวงั หน้า. หนา้ ๑๓๑.
92 เม่ือตะวันออกพบตะวันตก : พิพิธสมบัติพระราชา ณ วงั หน้า พระแท่นบรรทมคู่ นอกจากน้ีส่ิงท่ีแสดงถึงพระราชนิยมอย่างตะวันตกที่ชัดเจนอย่างมากคือ พระบวรฉายาลักษณ์และพระ บวรสาทสิ ลกั ษณท์ แ่ี สดงใหเ้ หน็ วา่ พระองคท์ รงไวพ้ ระมสั สเุ ปน็ คนแรกในสยาม ดงั ปรากฏในพระราชหตั เลขา สมเดจ็ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพทูลสมเด็จฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์ เม่อื วันท่ี ๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๐๒๘ “...คร้ันเม่ือวานนี้ไปที่หอพระสมุดฯ ไปดูรูปเก่าต่างๆ ที่พระยาอมรินทร์ก�ำลังปิดลงสมุด เขาก�ำลังปิดพระรูปพระ ปิ่นเกล้าฯ พิเคราะห์ดูเกิดความรู้ชอบกลนักหนา พระรูปพระปิ่นเกล้าฯ พระรูปแรก คือที่ไม่ฉลองพระองค์นั้นไม่มี พระมสั สุ แตพ่ ระรปู ถา่ ยทหี ลงั ทที่ รงเครอ่ื งทหารเรอื ไวพ้ ระมสั สทุ กุ รปู จงึ นกึ ขนึ้ ไดว้ า่ จะเปน็ พระปน่ิ เกลา้ ฯ ดอกกระมงั ที่ตัง้ ตน้ ไวพ้ ระมัสสขุ ้นึ เมื่อในรชั กาลที่ ๔ ดว้ ยจะแตง่ พระองค์อย่างฝรั่ง” และการติดตอ่ กับชาวต่างชาตเิ นอื งๆ ทำ� ให้ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงออกแบบพระนามบตั รประจ�ำพระองคส์ �ำหรบั ประทานแกค่ ณะราชทตู ทตู ศาสนาจารย์และแขกทวั่ ไปทีส่ ำ� คัญด้วย ลกั ษณะของพระนามบตั รนัน้ มีตราพระราชลญั จกรอยา่ งตราอารม์ รปู วงรี มี พระจฑุ ามณหี รอื ปน่ิ วางบนพาน ขนาบขา้ งดว้ ยฉตั รทง้ั ซา้ ยขวา ซง่ึ รองรบั ดว้ ยปนื ใหญไ่ ขวก้ นั ตรงกลางเขยี นดว้ ยอกั ษร โรมัน ๒ บรรทดั บรรทดั แรกเปน็ ภาษาไทยทีถ่ อดออกมาเป็นอักษรโรมันวา่ P.S. Phra Pawarendr Ramesr, สว่ น บรรทัดท่สี องเขยี นภาษาอังกฤษวา่ Second King of Siam แปลว่า พระบาทสมเดจ็ พระปวเรนทร ราเมศร กษัตริย์ องค์ทส่ี องแหง่ สยาม ทงั้ นี้ ดว้ ยพระราชอธั ยาศยั อนั เปน็ มติ รไมตรกี บั ชาวตา่ งชาตแิ ละทรงมคี วามเขา้ ใจในวฒั นธรรมอนั แตกตา่ ง แมม้ าจากคนละซกี โลก ทำ� ใหพ้ ระองคเ์ ปน็ ผเู้ ชอื่ มโยงระหวา่ งโลกตะวนั ออกกบั โลกตะวนั ตกไดอ้ ยา่ งลงตวั นำ� พาสยาม ไปสู่การพฒั นาตอ่ มาจนกลายเป็นประเทศไทยในปัจจุบัน. ๒๘ ส. พลายน้อย. (๒๕๓๖). เจา้ ฟ้าจุฑามณี พระบาทสมเดจ็ พระปนิ่ เกลา้ เจา้ อยูห่ วั . หนา้ ๒๑๓ - ๒๑๔.
เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : 93 พพิ ิธสมบัติพระราชา ณ วังหนา้ สยามในสายตาชาวโลก รกั ชนก โคจรานนท์ ๒๙ “...การศึกสงครามข้างญวน ข้างพม่า เห็นจะไม่มีแล้ว จะมีอยู่ก็แต่ข้างพวกฝร่ัง ให้ระวังให้ดี อย่า ให้เสียทีแก่เขาได้ การงานส่ิงใดของเขาที่คิด ควรจะเรียนเอาไว้ก็ให้เอาอย่างเขา แต่อย่าให้นับถือเล่ือมใสไปที เดยี ว...”๓๐ เปน็ ความวติ กกงั วลของพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เรอ่ื งศกึ ฝรงั่ ทจี่ ะเขา้ มารบกวนไทย พระองค์ ตรัสแก่ท่านเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ จางวางมหาดเล็กเมื่อทรงประชวรใกล้จะเสด็จสวรรคต แสดงให้เห็นถึงการมอง การณไ์ กลของพระองค์ และในขณะนนั้ กม็ พี ระบรมวงศานวุ งศห์ ลายพระองค์ ปรู ากฐานความสมั พนั ธก์ บั ชาตติ ะวนั ตก อาทิ สมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) ซึ่งทรงผนวชอยู่ในสมณเพศ สมเด็จเจ้าฟ้า จุฑามณี (พระบาทสมเด็จพระปน่ิ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว) กรมหลวงวงษาธิราชสนทิ ส่วนขนุ นาง อาทิ เจ้าพระยาศรีสรุ ิยวงศ์ (สมเด็จเจา้ พระยาบรมมหาศรสี ุริยวงศ์ (ชว่ ง บุนนาค) ผ้สู �ำเรจ็ ราชการแผ่นดนิ ในรชั กาลท่ี ๕) พระสาทิสลักษณ์พระบาทสมเดจ็ พระปิ่นเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ๒๙ ภณั ฑารกั ษช์ ำ� นาญการพเิ ศษ หวั หน้ากลุ่มส่งเสริมและพัฒนาพพิ ิธภัณฑ์ สำ� นกั พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ ๓๐ เจ้าพระยาทพิ ากรวงศ,์ พระราชพงศาวดารรัชกาลที่ ๔, (พระนคร : โรงพิมพ์คุรุสภา, ๒๕๐๔), ๓๗๐.
94 เมือ่ ตะวนั ออกพบตะวันตก : พิพิธสมบตั พิ ระราชา ณ วังหน้า การประกาศสยามให้เป็นท่ีรู้จักแก่สายตาชาวโลก นับเป็นพระวิสัยทัศน์อันกว้างไกลท่ีพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพยายามในหลากหลายวิธี เพื่อประโยชน์แก่ ประเทศชาตแิ ละประชาชนชาวสยาม พระองคท์ งั้ สองทรงเจริญสมั พนั ธไมตรกี ับนานาอารยประเทศ อาทิ มีการตงั้ สถานกงสลุ ของประเทศตา่ งๆ ในกรงุ เทพฯ และโปรดใหม้ กี งสลุ เป็นผแู้ ทนประเทศไทยไปประจ�ำกรงุ ณ ตา่ งประเทศ เช่นกัน ติดตอ่ สัมพันธก์ บั หนังสือพิมพใ์ นตา่ งประเทศ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเร่ิมเรียนภาษาอังกฤษกับนายโรเบิร์ต ฮันเตอร์๓๑ เป็นคนแรก และเม่ือคณะมิชชันนารีได้เข้ามาเผยแผ่ศาสนาต้ังแต่พุทธศักราช ๒๓๗๑ มิชชันนารีหลายคนได้มีส่วนร่วมในการ ถวายความรู้ภาษาอังกฤษและวัฒนธรรมตะวันตกแด่พระองค์ อาทิ ศาสนาจารย์คาร์ล กุตสลาฟ (ชาวเยอรมัน) จาคอบ ทอมลนิ (ชาวองั กฤษ) เดวดิ เอลลี (ชาวอเมรกิ นั ) และศาสนาจารยอ์ เมรกิ นั อกี หลายคน เชน่ จอหน์ เทเลอร์ โจนส,์ หมอเฮาส,์ หมอบรัดเล และศาสนาจารย์เจสซี แคสเวล๓๒ พระองค์ทรงคบค้าสมาคมกับพวกมิชชันนารีอเมริกัน ตั้งแต่เม่ือครั้งยังด�ำรงพระยศสมเด็จพระเจ้า นอ้ งยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอศิ เรศรงั สรรค์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา้ เจ้าอยู่หวั และในบนั ทึกจดหมายเหตุ ของมชิ ชนั นารอี เมรกิ นั เองกไ็ ดม้ ขี อ้ ความแสดงถงึ ความสมั พนั ธท์ มี่ กี บั พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระองค์ ทา่ นใหค้ วามสนทิ สนมและเชอื่ ถอื พวกมชิ ชนั นารอี เมรกิ นั เปน็ อยา่ งมาก ดงั เชน่ ขอ้ ความทหี่ มอ ดี บี บรดั เล ชาวอเมรกิ นั เปน็ ผู้แตง่ ลงพมิ พ์ในหนังสือบางกอกกาเลนเดอรต์ ้งั แต่สมยั รชั กาลท่ี ๕ ระหวา่ งพุทธศักราช ๒๔๐๒ - ๒๔๑๖ และ หลวงบริบาลบุรภี ณั ฑ์ (นายป่วน อินทวุ งศ์) กรรมการหอพระสมุดวชิรญาณแปลเป็นภาษาไทย ความว่า “วนั ท่ี ๑๒ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๓๗๘ วนั นี้เขาไดร้ กั ษาคนไขห้ ลายคน แต่โดยมากเปน็ จนี ในเยน็ วนั นี้ เจ้าฟา้ นอ้ ย (พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจา้ อยู่หวั ) เสดจ็ มาเยย่ี มพวกมิชชนั นาร”ี “วนั ท่ี ๑๕ สงิ หาคม พทุ ธศกั ราช ๒๓๗๘ วนั นี้เขาไดส้ ญั ญาไวว้ า่ จะไปเฝา้ เจา้ ฟ้านอ้ ย และไดเ้ ฝา้ ตามสญั ญา นน้ั ” “วันท่ี ๒๘ ธันวาคม (พทุ ธศักราช ๒๓๗๘) วันนม้ี กี ารเลยี้ งอาหารเยน็ ท่บี ้านกงศุลโปรตุเกส พวกมชิ ชนั นารี ไดร้ บั เชญิ ทกุ คน และนอกจากพวกมชิ ชนั นารแี ลว้ ยงั มี มสิ เตอรฮ์ นั เตอร์ มสิ เตอรเ์ ฮส์ กปั ตนั ลชี มสิ เตอรม์ วั และโยชนิ ดซิ ลิ วา เปน็ แขกมาในการรบั ประทานอาหารวนั นอ้ี กี กอ่ นเวลาทพ่ี วกมชิ ชนั นารจี ะลกุ จากโตะ๊ มมี หาดเลก็ ผหู้ นง่ึ รบั ๆ สง่ั มาจากเจา้ ฟา้ นอ้ ย (พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ) กลา่ วขอโทษตอ่ พวกแขกในการทเี่ จา้ ฟา้ นอ้ ยมไิ ดเ้ สดจ็ มาเสวยร่วมโตะ๊ ด้วย และบอกหมอบรัดเลว่าหม่อมของเจา้ ฟ้าน้อยประสูติพระธดิ า พระองค์ขอเชิญหมอบรัดเลไปที่ พระราชวังใหจ้ งได้ เรือ่ งน้ีมหาดเลก็ ได้บอกอยา่ งลับๆ เสียอกี แต่ถึงเชน่ นน้ั ในชว่ั ประเดยี๋ วเดียวก็ร้กู ันท่ัวหมด เพราะ นางผปู้ ระสตู พิ ระธดิ านมี้ ใิ ชเ่ ปน็ คนสามญั เปน็ หมอ่ มของเจา้ ฟา้ นอ้ ย ซงึ่ นบั เปน็ ท่ี ๒ รองแตพ่ ระเจา้ แผน่ ดนิ ของประเทศ หมอบรดั เลกลบั ถงึ บา้ น กม็ คี นเอาเรอื มารบั ไปวงั ของเจา้ ฟา้ นอ้ ย พอไปถงึ หนา้ ทา่ กพ็ บพระองคท์ า่ นประทบั รออย่แู ลว้ ครน้ั ทอดพระเนตรเหน็ หมอบรัดเลก็รับสั่งทเี ดียววา่ หมอ่ มของพระองค์ประสตู ธิ ดิ าองคห์ นึง่ (คอื พระองค์ ๓๑ นายโรเบริ ต์ ฮนั เตอร์ เป็นพอ่ คา้ ชาวองั กฤษทเ่ี ขา้ มาตั้งหา้ งคา้ ขายในสยามเมอ่ื พุทธศกั ราช ๒๓๖๗ ๓๒ เอกสารการสมั มนาทางวชิ าการเนอื่ งในโอกาสเฉลมิ ฉลองศภุ วาระ ๒๐๐ ปี แหง่ พระราชสมภพพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่ หวั เรอ่ื ง พระอจั ฉริยคุณในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว, (โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๘), ๓๗๐.
เมื่อตะวันออกพบตะวนั ตก : 95 พพิ ธิ สมบตั พิ ระราชา ณ วงั หนา้ หญงิ ใหญ่ทก่ี รมพระราชวังบวรฯ ในเจา้ คณุ จอมมารดาเอม) กอ่ นหนา้ ท่ีหมอ บรัดเลกลับมาถงึ หน่อยหนึ่ง และรับส่ังต่อไปว่า ตามธรรมเนียมไทยเมอ่ื หญงิ คลอดบตุ รแล้วต้องอยู่ไฟ ฉะนน้ั หมอ่ มของพระองค์กก็ �ำลงั อย่ไู ฟและจะต้อง อยู่ให้ครบ ๓๐ วันด้วย เพราะพึ่งจะคลอดเป็นคร้ังแรก ถ้าครั้งที่ ๒ ที่ ๓ ท่ี ๔ ท่ี ๕ ก็อยลู่ ดลงมาเปน็ ลำ� ดบั คือ ๒๕ วนั ๑๘ วนั ๑๕ วัน และ ๑๑ วนั ” “วนั ที่ ๒๙ ธนั วาคม (พทุ ธศกั ราช ๒๓๗๘) วนั นเ้ี วลาเยน็ หมอบรดั เล กับภรรยาไปเฝ้าเจ้าฟ้าน้อยอีก พระองค์ทรงรับรองเป็นอย่างดี หม่อมยังคง อยู่ทกี่ ระดานไฟ ชนั้ แรกดเู หมอื นหมอ่ มอยขู่ ้างจะละอาย ในการท่นี างบรดั เล ผู้ซึ่งเธอไม่เคยรู้จักเข้าไปหาด้วย แต่เพราะเป็นผู้หญิงด้วยกัน ไม่ช้าก็ระงับ ความอายเสียได้ นางบรัดเลได้แนะน�ำให้เธอกินยาของหมอบรัดเล และ แนะนำ� ใหๆ้ นำ้� นมของเธอเองใหธ้ ดิ าเสวย อยา่ มอบใหแ้ กน่ างนมในชนั้ แรกน”้ี ดอกเตอร์ แดน บชี บรดั เล (Dan Beach Bradley) หรอื หมอบรัดเล เกดิ เมือ่ วนั ท่ี ๓ กรกฎาคม พทุ ธศักราช ๒๓๔๗ ที่มลรฐั “วันท่ี ๓๑ ธันวาคม (พุทธศักราช ๒๓๗๘) วันน้ีเวลา ๒ ล.ท. นิวยอรก์ ประเทศสหรัฐอเมริกา สำ� เร็จการ เจา้ ฟา้ นอ้ ยใหม้ หาดเลก็ รบี มาตามหมอบรดั เลไปดหู มอ่ มและธดิ าของพระองค์ ศึกษาวชิ าการแพทยจ์ าก University of พอหมอบรดั เลทราบขา่ วกร็ บี ไปพระราชวงั ทเี ดยี ว แตห่ มดบรดั เลไปถงึ ไมท่ นั New York เดนิ ทางมาถงึ กรุงเทพฯ พร้อม จะช่วยเหลือธิดาแต่อย่างใดๆ ได้เสียแล้ว เพราะส้ินชีพเสียก่อนหน้าที่หมอ ภรรยาและคณะมิชชันนารีโปรแตสแตนท์ บรัดเลมาถึงแล้ว เจ้าฟ้าน้อยทรงพระโทมนัสมากในการท่ีหม่อมเจ้าอันเป็น ชาวอเมรกิ นั เมอื่ วันเสารท์ ่ี ๑๘ กรกฎาคม หัวปีของพระองค์ได้ส้ินชีพไปนั้น บรรดาพระญาติและบริพารก็ร้องไห้อาลัย พุทธศักราช ๒๓๗๘ เพื่อเผยแผศ่ าสนา ถึงเธอเป็นอันมาก ดูเหมือนว่าเจ้าฟ้าน้อยทรงพระด�ำริจะเลิกใช้หมอไทย และเปน็ ผู้น�ำวชิ าการแพทย์สมยั ใหม่เขา้ มา ซึ่งได้ถวายพระโอสถรักษาพยาบาลหม่อมของพระองค์อยู่นั้น และจะมอบ เผยแพร่ในไทยเปน็ คนแรก โดยดัดแปลง ภาระให้หมอบรัดเลถวายพระโอสถแต่ผู้เดียว แต่ต้องเสียพระทัยด้วยไม่สม บ้านเช่าบรเิ วณวัดเกาะ (วัดสัมพันธวงศ)์ เปน็ โอสถศาลา นอกจากนี้ ยังไดต้ ั้ง ด้วยพระดำ� ริ เพราะพระราชมารดาและเหล่าพระภคนิ ีกบั ทง้ั หมอหลวงและ โรงพิมพ์และออกหนงั สอื พมิ พฉ์ บบั แรก ผเู้ ถา้ ผแู้ ก่ทงั้ หลายเปน็ จ�ำนวนมากไม่ชอบด้วยตามพระดำ� รนิ ้นั ” ของไทย ชอ่ื วา่ “หนังสือจดหมายเหตุ The Bangkok Recorder” “วันที่ ๘ มกราคม (พุทธศักราช ๒๓๗๙) วันนี้เวลาบ่าย เจ้าฟ้า ถงึ แกก่ รรมเมื่อวันศุกรท์ ่ี ๒๓ มิถนุ ายน นอ้ ยทรงสง่ เรอื มารบั หมอบรดั เลกบั ภรรยาใหไ้ ปเฝา้ สมเดจ็ พระราชนิ ี (สมเดจ็ พุทธศักราช ๒๔๑๖ อายุ ๖๙ ปี พระศรสี รุ เิ ยนทราบรมราชนิ )ี พระราชมารดาของพระองค์ หมอบรดั เลพรอ้ ม ดว้ ยภรรยาจงึ ไดร้ บี ไปเฝา้ ตามพระกระแสรบั สงั่ นน้ั สมเดจ็ พระศรสี รุ เิ ยนทรนี้ ประทับอยใู่ นวงั เดียวกบั เจ้าฟา้ น้อย แต่ตา่ งตำ� หนัก...” “วนั ท่ี ๒๓ เมษายน (พุทธศกั ราช ๒๓๗๙) เวลาเช้าหมอบรัดเลได้ รับสั่งจากเจ้าฟ้าน้อย ขอเชิญให้หมอบรัดเลไปเฝ้าเจ้าฟ้าใหญ่ ไปพร้อมกับ พระองค์และส่งเรือเก๋งประทานมาให้รับหมอบรัดเลไปก่อน ส่วนพระองค์ เสด็จโดยเรือพระทีน่ งั่ อกี ล�ำหนง่ึ ต่างหากตามไปขา้ งหลงั ...” “วนั ท่ี ๑๓ มถิ ุนายน (พุทธศักราช ๒๓๗๙) เย็นวนั นี้ ขณะทห่ี มอ บรัดเลน่ังอยู่ในห้องอ่านหนังสือ มีเสียงร้องทักเป็นภาษาอังกฤษว่า Hallo Doctor! How do you do? เปน็ อยา่ งไรหมอ สบายดีหรือ หมอบรัดเลไดย้ นิ เช่นนั้นจึงหันไปดูท่ีนอกชานว่าจะเป็นชาวอังกฤษที่ไหนมา เม่ือได้เห็นคน
96 เม่ือตะวันออกพบตะวนั ตก : พิพิธสมบตั ิพระราชา ณ วงั หน้า กรมพระราชวงั บวรวิไชยชาญ (พระองค์ บา้ นหมอบรัดเล หลงั ป้อมวชิ ัยประสิทธิ์ ปากคลองบางกอกใหญ่ เจ้ายอดย่ิงยศ) พระราชโอรสองคท์ ี่ ๓ ใน พระบาทสมเดจ็ พระปนิ่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รปู ร่างสันทัด ผวิ เนอื้ ด�ำแดง แตง่ ตัวเป็นทหารเรอื มีกระบกี่ ะไหลท่ องแขวน ประสตู ิแต่เจ้าคุณจอมมารดาเอม เม่ือ อยขู่ ้างๆ จึงเดินตรงเขา้ ไปหา ขณะทห่ี มอบรดั เลเดนิ ตรงเขา้ ไปหานี้เอง นาย วนั พฤหัสบดที ี่ ๖ กนั ยายน พทุ ธศกั ราช ทหารเรอื ผนู้ น้ั อดขนั ไมไ่ ด้ หวั เราะออกมาดงั ๆ อาการเชน่ นน้ั ทำ� ใหห้ มอบรดั เล ๒๓๘๑ ในรัชกาลที่ ๔ ทรงสถาปนาเป็น จ�ำได้ว่าไม่ใช่ใครที่ไหนมา คือเจ้าฟ้าน้อยนั่นเอง พระองค์ทรงเคร่ืองทหาร กรมหม่ืนบวรวิไชยชาญ บงั คบั บญั ชาการ เรือท่ีได้รับพระราชทานเมื่อเร็วๆ นี้ และการที่ทรงเครื่องมาเช่นน้ี ก็โดย พระประสงค์จะทรงสัพยอกหมอบรัดเลกับภรรยาเล่น เพื่อเป็นการสนุกซึ่ง ทหารเรอื วังหนา้ ในรชั กาลที่ ๕ พระองคท์ รงโปรดนัก”๓๓ ไดพ้ ระราชทานอุปราชาภเิ ษกเป็น กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสมาคมสนิทสนมกับ ทวิ งคตเมอื่ วนั ศุกรท์ ี่ ๒๘ สิงหาคม พวกมิชชันนารีมากถึงกับทรงเอานามประธานาธิบดีคนแรกของอเมริกามา พุทธศกั ราช ๒๔๒๘ พระชันษา ๔๘ ปี ต้ังพระนามพระโอรสคือ กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ว่า พระองค์เจ้า ยอช วอชิงตนั พระองค์ทรงศึกษาภาษาอังกฤษอย่างเช่ียวชาญ เม่ือครั้งต้อนรับ ทตู ฝรงั่ ทเ่ี ขา้ มาขอทำ� สนธสิ ญั ญาทางพระราชไมตรใี นรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกล้าเจ้าอยูห่ ัว กไ็ ดอ้ าศัยความรภู้ าษาอังกฤษและพระปรีชาสามารถ จากพระองค์ทา่ นเป็นอยา่ งมาก ดงั ข้อความทปี่ รากฏในจดหมายเหตกุ ระแส พระราชด�ำริในเรื่อง เซอร์เชมสบรุก ทูตอังกฤษเข้ามาขอแก้หนังสือสัญญา เม่ือพทุ ธศกั ราช ๒๓๙๓ ในเรื่องการลดค่าธรรมเนียม ว่า “...เหน็ วา่ ผใู้ ดมสี ตปิ ญั ญากค็ วรจะเอาเขา้ มาเปน็ ทป่ี รกึ ษา ดว้ ย การครั้งน้ีเป็นการฝร่ัง สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศ รงั สรรค์ ทราบอย่างธรรมเนียมฝรงั่ มาก ควรจะเอาเปน็ ทป่ี รึกษาใหญไ่ ด้ ก็ ๓๓ กรมศลิ ปากร. ประชมุ พงศาวดารภาคท่ี ๓๑, ๕๑, ๕๒. พมิ พเ์ ปน็ อนสุ รณใ์ นงานพระราชทานเพลงิ ศพ นางสดุ า พนั ธค์ุ งชน่ื , ๒๕๓๔. หน้า ๑๔, ๒๓ - ๒๕, ๓๑.
เม่อื ตะวนั ออกพบตะวันตก : 97 พพิ ธิ สมบตั พิ ระราชา ณ วังหนา้ แต่ว่าติดประจำ� ปืนอยทู่ เี่ มอื งสมทุ รปราการ...ให้พระยาศรีพิพัฒน์แตง่ คนดี มีสติปญั ญาเขา้ ใจความ เชญิ กระแส พระราชด�ำริลงไปปรึกษา เจา้ ฟา้ กรมขุนอศิ เรศรงั สรรค์ พระยาอทุ ยั ธรรมราชที่เมอื งสมทุ รปราการ และพระยา สุรเสนาท่เี มืองนครเข่อื นขนั ธด์ ้วย...”๓๔ และในจดหมายเหตุถวายร่างหนังสือตอบเซอรเ์ ชมสบรุกไดก้ ล่าวถึง “วนั อาทติ ย์ เดือน ๑๐ ขึน้ ๘ ค่ำ� จลุ ศักราช ๑๒๑๒ (พุทธศกั ราช ๒๓๙๓) ปีจอ โทศก เพลาบ่าย ๒ โมง เสด็จออกพระที่นั่งอมรนิ ทรวินิจฉัย พระยาศรีพพิ ัฒนร์ ตั นราชโกษาธบิ ดี จางวางพระคลงั สนิ คา้ เอารา่ งหนงั สือตอบ เซอรเ์ ชมสบรุกฉบบั ที่ ๓ ขึ้นกราบบังคมทลู พระกรุณา หลวงศรีโยวภาษเป็นผอู้ า่ นทูลเกลา้ ฯ ถวายส้นิ ข้อความ ทรง พระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ กแทรกลงบา้ ง วงกาเสยี บา้ งแล้ว ใหเ้ อารา่ งหนงั สือสง่ ให้จหมนื่ ไวยวรนาถๆ จะไดใ้ ห้ข้ึน กระดาษไปสง่ เซอรเ์ ชมสบรกุ ... ในทันใดน้ัน หมอยอนฝรั่งแปลค�ำไทยเป็นค�ำอังกฤษแล้ว ให้นายพานิชเขียนฉบับที่ ๑ ท่ี ๓ นายโยเสฟ เขียนฉบับที่ ๒ ท่ี ๔ เป็นอักษรอังกฤษข้ึนกระดาษตัวดีแลว้ ไดใ้ ห้โยเซฟฝรง่ั กับหมื่นพิพธิ อักษรนายเวนกรมท่าทา่ น โยเสฟฝรัง่ ดอู กั ษรอังกฤษ หมืน่ พพิ ธิ อกั ษรอ่านฉบับไทยไปจนจบ คร้นั จบแล้วได้ถามโยเสฟฝร่งั วา่ เนอ้ื ความถูกต้อง กับฉบับไทยแล้วหรือ โยเสฟฝรั่งว่าถูกต้องดีแล้วๆ ได้ให้สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศรังสรรค์, ทลู กระหม่อมพระ, เสมยี นย้มิ ทานสอบทั้งสฉี่ บบั อีก ก็ว่าถูกตอ้ งไม่ผดิ ดีแล้ว...”๓๕ นอกจากน้ี การต้อนรับทูตที่เข้ามาขอท�ำหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีในรัชกาลท่ี ๓ น้ัน พระบาท สมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงเป็นพระก�ำลังส�ำคัญพระองค์หนึ่ง ดังความในจดหมายเหตุเรื่องบัลเลสเตีย๓๖ ทตู อเมรกิ นั เข้ามาในรัชกาลที่ ๓ เม่ือปีจอ พุทธศักราช ๒๓๙๓ ว่า “ ณ วนั ข้ึน ๗ คำ่� เดอื น ๕ จลุ ศักราช ๑๒๑๒ (พทุ ธศักราช ๒๓๙๓) ปจี อ โทศก ก�ำปั่นไฟท�ำดว้ ยเหลก็ กะปติ นั ออเล็ตถอื หนงั สอื เจา้ เมืองสิงหโปรา กบั หนงั สือเซอรเ์ ชมสบรุก เขา้ มาสง่ ท่เี มืองสมทุ รปราการ แล้วก�ำปน่ั ไฟ กะปติ นั ออเลต็ กลับไป ณ วันขึน้ ๑๑ ค่�ำ เดอื น ๕ เพลาใกลร้ ุง่ รุง่ ขนึ้ ณ วนั ขนึ้ ๑๒ ค่�ำ เดอื น ๕ คอยนอกเข้ามาแจ้ง ว่า เห็นกำ� ปน่ั รบใหญ่ ๓ เสา เข้ามาทอดอยู่นอกสนั ดอนน้�ำลึกล�ำ ๑ แตส่ ังเกตดูเห็นวา่ จะเปน็ กำ� ปั่นรบชาตอิ เมริกนั เพลานน้ั สมเด็จพระบวรมหาอนชุ าธริ าช เจา้ ฟา้ กรมขุนอิศเรศรร์ งั สรรค์ พระนายไวยวรนาถ ยงั อยทู่ ่ี เมืองสมุทรปราการ จงึ มีรับสัง่ จัดให้ขุนปรีชาชาญสมุทรพูดภาษาองั กฤษได้ กบั คนชาวการ ๖ คน ขเ่ี รอื ศีรษะญวน ยาว ๔ วาออกไปทีก่ �ำปั่น ขนุ ปรีชาชาญสมทุ รกลบั มาแจง้ ว่าก�ำป่นั ช่อื วา่ แประโมต ยาว ๒๖ วา ปากกวา้ ง ๖ วาคบื กนิ นำ�้ ลกึ ๑๑ ศอก คนในล�ำกำ� ปั่นชาติอเมริกัน...”๓๗ ๓๔ กรมศลิ ปากร, ประชุมพงศาวดาร ภาคท่ี ๖๒ เรอื่ ง ทูตฝรั่งในสมัยกรงุ รตั นโกสินทร์, คณะขา้ ราชการกระทรวงการต่างประเทศ พิมพเ์ ป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลงิ ศพ นายเทียม ลดานนท์, (พระนคร : โรงพิมพพ์ ระจนั ทร์, ๒๕๐๖), ๑๓๖. ๓๕ เร่ืองเดยี วกัน, ๑๗๐ - ๑๗๑. ๓๖ Joseph Balestier เปน็ พอ่ คา้ อเมรกิ นั และเปน็ กงสลุ ของสหรฐั อเมรกิ า ทเ่ี มอื งสงิ คโปร์ ไดร้ บั แตง่ ตงั้ ใหเ้ ปน็ ทตู พเิ ศษของประธานาธบิ ดี อเมริกาในพุทธศักราช ๒๓๙๒ เข้ามาเพื่อเปล่ียนสนธิสัญญาให้ได้สิทธิในการค้าขายดีขึ้น และขอตั้งสถานกงสุลอเมริกันที่กรุงเทพฯ บลั เลสเตยี เขา้ มาถงึ ปากน้�ำเมื่อวันท่ี ๒๔ มนี าคม พทุ ธศกั ราช ๒๓๙๓ ๓๗ กรมศิลปากร, เรอ่ื งเดมิ , ๖๙.
98 เม่อื ตะวนั ออกพบตะวนั ตก : พพิ ธิ สมบตั พิ ระราชา ณ วังหน้า เมอ่ื ครงั้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ แผน่ ดนิ เสดจ็ ขนึ้ ครองราชย์ ๒ พระองคใ์ นรชั กาลที่ ๔ นี้ เปน็ ทปี่ ตี ยิ นิ ดกี นั ทวั่ ทง้ั ในหมปู่ ระชาชนคนไทย คนตา่ งดา้ วในดนิ แดนไทย ตลอดจนชาวตา่ งประเทศกพ็ อใจและสนใจเปน็ พเิ ศษในพระเจา้ แผน่ ดนิ ทง้ั สองพระองค์ เนอื่ งจากพระเจา้ แผน่ ดนิ ทงั้ สองพระองคไ์ มท่ รงรงั เกยี จทจี่ ะคบคา้ สมาคมกบั ชาวตา่ งประเทศ พระองคท์ งั้ สองไดร้ บั จดหมายแสดงความชนื่ ชมยนิ ดตี ามธรรมเนยี มฝรง่ั ในการเสดจ็ ขน้ึ ครองราชย์ ดงั เชน่ เมอ่ื แรกขนึ้ ครองราชยเ์ จา้ เมอื งสงิ คโปรม์ หี นงั สอื เขา้ มาถงึ เจา้ พระยาพระคลงั แสดงความยนิ ดเี นอื่ งในการพระบรมราชาภเิ ษกและ พระบวรราชาภิเษก ตามอย่างการทูตท่ีนยิ มกันในหมชู่ าวฝรัง่ ดงั ความซงึ่ แปลเปน็ ภาษาไทยวา่ “หนงั สือวเิ ลียม ยอห์น ปัตตะวตั เจา้ เมอื งเกาะหมากและเมืองสงิ หะโปรา และเมอื งมะละกา คำ� นับมายงั ทา่ นเจา้ พระยาพระคลังเสนาบดีผู้ใหญใ่ นกรุงไทย ด้วย ณ วัน ๘ ปกี นุ ตรีศก ข้าพเจ้าได้เขยี นหนังสือที่เกาะหมากด้วยความยนิ ดี ดว้ ยท่านเจ้าพระยาพระ คลังกบั ขา้ พเจา้ เป็นคนชอบอธั ยาศยั รกั ใคร่กันมาก ทา่ นไดเ้ ห็นแกท่ างไมตรีข้าพเจา้ ช่วยนำ� หนงั สอื ข้ึนกราบบังคมทลู แดส่ มเดจ็ พระปรเมนทรมหามงกุฎซง่ึ ได้ครองสิรริ าชสมบัติกรุงไทยใหท้ ราบ ดว้ ยข้าพเจ้าไดย้ ินข่าวว่าพระองค์ขึน้ นัง่ ใต้เศวตรฉัตร ขา้ พเจ้ามคี วามยนิ ดเี ปน็ อนั มาก ขอให้พระองคท์ ่าน จำ� เรญิ พระชนมายุยงิ่ ๆ ขึน้ ไป ด้วยข้าพเจา้ เหน็ ว่าพระองค์ทา่ นทรงพระสติปัญญาเรยี นรศู้ ลิ ปศาสตร์วิทยาการตา่ งๆ เป็นสำ� คัญม่นั คงวา่ พระองคท์ ่านได้ครองราชสมบัติเปน็ ใหญใ่ นเมืองไทยแล้ว ไพร่ฟา้ อาณาประชาราษฎร์และลูกคา้ พาณชิ ตา่ งประเทศกจ็ ะไดม้ คี วามสขุ มากขน้ึ กวา่ แตก่ อ่ น ขา้ พเจา้ เหน็ เหมอื นวา่ จะเกดิ ศกั ราชใหม่ เมอื งไทยจะรงุ่ เรอื ง กวา้ งขวางแกล่ กู คา้ พาณชิ จะไปมาคา้ ขายไดโ้ ดยสะดวก เมอื งไทยจะดขี น้ึ นบั เขา้ ดว้ ยเมอื งใหญใ่ นโลกนี้ ดว้ ยเหน็ วา่ พระ มหากษตั รยิ ใ์ หมม่ พี ระทยั กอบไปดว้ ยทรงพระอารอี ารอบแดน่ านาประเทศแลว้ แผน่ ดนิ กจ็ ะอดุ มไปดว้ ยสนิ คา้ ทง้ั ปวง และแผ่นดนิ เมอื งไทยนเี้ ป็นท่ชี อบซ้ือขายแกน่ านาประเทศหน่ึง อนง่ึ ข้าพเจา้ เขยี นหนังสอื ฝากเขา้ มานมี้ ใิ ชธ่ รุ ะอยา่ ง อนื่ เปน็ ทจี่ ะใหจ้ ำ� เรญิ พระชนมายแุ กส่ มเดจ็ พระปรเมนทรมหามงกฎุ ทเี่ พงิ่ ขน้ึ ครองราชสมบตั เิ มอื งไทย และมพี ระทยั รธู้ รรมเนียมเมืองนอกโดยมาก ถ้าแมน้ ทา่ นไม่รู้ความดังน้แี ลว้ จะขอเขยี นหนังสอื แสดงให้ทา่ นทราบ ดว้ ยประโยชนท์ ่ี จะเกดิ แกเ่ มอื งไทย ดว้ ยเปน็ ไมตรกี บั นานาประเทศ และจะไดว้ า่ ดว้ ยประโยชนท์ เ่ี กดิ แกเ่ มอื งทงั้ ปวง ซง่ึ เปดิ ทางคา้ ขาย ให้กว้างขวาง และเมืองหน่ึงเมืองใดท่ีเปิดทางค้าขายกว้างขวาง ดังน้ีแล้วคนต่างประเทศก็จะเข้ามาเมืองไทย คนท่ี เมอื งไทยกจ็ ะไดไ้ ปเมอื งตา่ งประเทศ เมอื งทเ่ี ปน็ ไมตรกี นั น้ี ถา้ รกู้ ารสงิ่ หนงึ่ สงิ่ ใดกจ็ ะเรยี นรมู้ ากขน้ึ ดว้ ยกนั และความรู้ นั้นก็จะเปน็ ประโยชน์ดว้ ยกนั ท้งั สองฝ่าย แล้วอาณาประชาราษฎรก์ ็จะได้ความรูม้ ีความเพยี รมาก การดงั น้ี และบ้าน เมืองจะดีโตใหญข่ ึ้น ข้าพเจา้ ปรารถนาจะให้สมเดจ็ พระปรเมนทรมหามงกุฎกับเจ้าฟา้ กรมขนุ อศิ เรศรงั สรรค์ ซึ่งเปน็ พระอนชุ าจ�ำเรญิ มากขน้ึ แลว้ ขา้ พเจา้ จะได้รีบเขยี นหนงั สอื ฝากออกไปถึงเจ้าเมืองอนิ เดียกมุ ปนีใหร้ ดู้ ว้ ยวา่ พระองค์ ได้ขึ้นครองราชย์สมบัติเมืองไทยแล้ว ข้าพเจ้ามีความยินดีนัก ปรารถนาจะให้ไพร่บ้านพลเมืองไทยมีความเจริญข้ึน ด้วยมีพระมหากษัตริย์สองพระองค์ทรงพระสติปัญญาประกอบด้วยศิลปศาสตร์ต่างๆ เป็นท่ีพึ่งสมควรนัก ข้าพเจ้า เห็นว่าพระมหากษัตริย์สองพระองค์ได้ขึ้นครองราชย์สมบัติตามประเพณีเมืองไทย พวกเสนาบดีเลือกสรรไว้ให้เป็น ใหญ่เหน็ สมควรนกั ข้าพเจา้ เขียนหนังสือฉบบั นีฝ้ ากมาถงึ ทา่ นเจ้าพระยาพระคลังด้วยได้นบั ถอื ท่านนกั และท่านยงั เปน็ ข้าใช้สอยของทา่ นโดยสจุ ริตอยู่ สิน้ ความในหนงั สอื แตเ่ ทา่ น้ี หนงั สอื มา ณ วัน ๘ฯ ๘ ค�ำ่ จลุ ศักราชไทย ๑๒๑๓ ศักราชอังกฤษ ๑๘๕๑ ปีกนุ ตรีศก”๓๘ ๓๘ ณฐั วฒุ ิ สทุ ธสิ งคราม, กษตั รยิ ว์ งั หนา้ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั , (กรงุ เทพฯ : สรา้ งสรรคบ์ คุ๊ ส,์ ๒๕๕๒), ๑๑๖ - ๑๑๘.
เมอื่ ตะวันออกพบตะวันตก : 99 พิพิธสมบัติพระราชา ณ วงั หน้า พวกมิชชันนารีได้ส่งข่าวการเสด็จข้ึนครองราชสมบัติของพระเจ้าแผ่นดินท้ังสองพระองค์ออกไปยัง ตา่ งประเทศ ดงั ปรากฏในหนังสอื ขา่ วเมอื งสิงคโปร์ พุทธศักราช ๒๓๙๔ ดังน้ี “ข่าวหนงั สอื พมิ พเ์ รอ่ื งพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัวขนึ้ เสวยราชสมบัติ ถึงเอดิเตอรห์ นังสือพมิ พส์ ิงคโปร์ปรเี ปรส กรุงเทพฯ. สยาม. วนั ท่ี ๒๙ มนี าคม คริสต์ศักราช ๑๘๕๑ (พทุ ธศักราช ๒๓๙๔) ขา้ พเจา้ เปน็ ผมู้ งี านประจำ� ตวั แปลกกวา่ ผมู้ ตี ำ� แหนง่ หนา้ ทรี่ าชการแผน่ ดนิ จงึ มเิ คยไดร้ บกวนหนงั สอื พมิ พ์ ด้วยความคาดคะเนของข้าพเจ้าในเร่ืองความเป็นไปในประเทศสยาม การท่ีจะทราบท่วงทีและทิศทางแห่งราชการ แผ่นดินให้หมดนั้น ถึงแม้จะอยู่ในกรุงก็ยังเป็นการยากอยู่เสมอๆ ยิ่งเรื่องท่ีปรึกษากันในระโหฐานแล้วย่ิงยากหนัก ขึน้ แต่ถึงกระนนั้ ในคราวนี้ ข้าพเจ้าจะกลา้ บอกขอ้ ความต่อไปน้ีมายงั ท่านเพอื่ ให้ผ้ทู ่ีใส่ใจในการนนั้ ๆ ทราบ วันท่ี ๒๔ มีนาคม ท.ญ. เจ้าฟ้ามงกฎุ โปรดใหข้ ้าพเจา้ ไปเฝา้ ขา้ พเจา้ ก็ทำ� ตาม ในระวางสนทนาได้ทรงแสดง พระวิตกว่า ทรงเห็นสมควรให้ชาวต่างประเทศทราบความเป็นไปในเวลาน้ีให้ถูกต้อง ด้วยพระเจ้าแผ่นดินผู้ทรง ปกครองประเทศมาตง้ั แต่ ครสิ ตศ์ กั ราช ๑๘๒๖ (พทุ ธศกั ราช ๒๓๖๙) นัน้ ก�ำลงั ทรงพระประชวรหนกั ไม่หวงั กนั วา่ จะทรงพระชนม์ไปไดอ้ ีกหลายวนั พระองค์ประสตู ิในเดอื นมนี าคม ครสิ ตศ์ ักราช ๒๗๘๘ (พุทธศักราช ๒๓๓๑) ดังนัน้ จึงมพี ระชนมพรรษาได้ ๖๓ ปี ครน้ั เมอื่ พระเจา้ แผน่ ดินทรงตระหนักแนว่ า่ จะไม่ดำ� รงพระชนม์อย่นู าน ก็ร้อน พระราชหฤทัยอยากจะใหย้ กพระราชโอรสพระองค์ ๑ ใน ๑๒ พระองคข์ ้นึ เปน็ รชั ทายาท แต่พวกข้าราชการผมู้ ศี ักด์ิ สูงในรัฐบาลไม่เห็นชอบในการเลือกเช่นน้ัน พระเจ้าแผ่นดินมิได้เคยทรงยกย่องพระสนมคนใดในจ�ำนวนมากให้ขึ้น อยูใ่ นตำ� แหน่งพระมเหสี พระราชโอรสของพระองคจ์ งึ ไมม่ ียศอนั ควรแก่ราชบัลลังก์ และนอกจากนั้นยงั มบี คุ คล ๒ ท่านผเู้ ป็นพระราชโอรสของพระเจา้ แผน่ ดินพระองค์ก่อน และพระมเหสใี นเวลานี้มพี ระชนมอ์ ยู่ และมฐี านะควรแก่ ตำ� แหนง่ ดว้ ย ทา่ นทงั้ สองนค้ี อื ท.ญ.เจา้ ฟา้ มงกฎุ กบั ทลู กระหมอ่ มกรมขนุ อศิ เรศร์ พวกขา้ ราชการจงึ ประชมุ พรอ้ มกนั เลอื กตัง้ เจ้าฟ้าพระองคท์ ่ีกล่าวกอ่ นนน้ั เปน็ รชั ทายาทสืบจากพระเจา้ แผน่ ดนิ ปจั จุบนั เจา้ ฟ้าพระองค์นน้ั ทรงยอมรบั เลือก เพราะเหตุวา่ ถ้าไม่ทรงรับกอ็ าจเกิดการวุ่นวายถึงเลอื ดตกในแผ่นดิน กับทง้ั เกรงวา่ พวกลาว กัมพชู าและเมือง ออกอนื่ ๆ จะพากนั อาศยั เหตนุ คี้ ดิ กอ่ การวนุ่ วายและจลาจลเพอื่ สำ� แดงอสิ รภาพ จะเปน็ เครอ่ื งเพมิ่ ความลำ� บากขนึ้ อกี เลา่ เจา้ ฟ้าตรัสแสดงว่ามุ่งพระทยั จะให้พระราชอนชุ า ท. หมอ่ มเจ้าฟา้ กรมขุนอศิ เรศรรว่ มราชภาระกับพระองค์ใน ตำ� แหนง่ พระเจา้ แผ่นดนิ รอง (Sub-King) เจ้าฟ้าพระองคต์ ้นประสูติ ใน ครสิ ตศ์ กั ราช ๑๘๐๔ (พทุ ธศกั ราช ๒๓๔๗) พระองค์หลังประสูติ คริสต์ศักราช ๑๘๐๘ (พุทธศักราช ๒๓๕๑) เมื่อสมเด็จพระชนกนาถเสด็จสวรรคตในคริสต์ ศักราช ๑๘๒๕ – ๑๘๒๖ (พทุ ธศักราช ๒๓๖๘ – ๒๓๖๙) นนั้ เจา้ ฟ้าทัง้ สองพระองคน์ ้ียังไม่ทรงพระจำ� เริญพอท่จี ะ ฝึกฝนพระนิสสยั ให้สกุ กลา้ และให้คนทง้ั หลายไว้วางใจในพระองคเ์ หมือนพระเชษฐาธริ าช เพราะเหตนุ ั้นเจ้าฟ้า ๒ พระองคจ์ งึ นงิ่ ทรงยอมใหพ้ ระเชษฐาธริ าชขนึ้ เถลงิ พระราชบลั ลงั ก์ ในบดั นเ้ี ปน็ ทเี่ ขา้ ใจกนั วา่ เมอ่ื พระเจา้ แผน่ ดนิ ทรง ทราบคำ� ปรกึ ษาในประชมุ ขา้ ราชการแลว้ ถงึ แมว้ า่ เคยมพี ระราชประสงคจ์ ะใหพ้ ระราชโอรสองคห์ นง่ึ เปน็ รชั ทายาท กท็ รงอำ� นวยตามคำ� ปรกึ ษานน้ั เพราะดังน้จี งึ ไม่เกรงว่าจะเกิดการจลาจลอยา่ งรา้ ยแรงขนึ้ ท.ญ. เจ้าฟ้ามงกฎุ ได้ตรัส อย่างชัดเจน (เป็นข้อซึ่งข้าพเจ้าพอใจมาก่อนแล้ว) ว่าทางการท่ีปฏิบัติต่อคณะทูตเม่ือปีก่อนน้ันทั้งหมดเป็นไปด้วย ความเห็นผิดชอบของคนๆ เดียว และถ้าคณะทูตจะกลับมาอีกก็คงจะได้รับความต้อนรับโดยเมตตา ไม่ต้องระแวง วา่ ความประสงค์อนั ส�ำคัญย่ิงของคณะทูตจะไม่ส�ำเรจ็ ดงั ปรารถนา วนั ที่ ๓ เมษายน เราทราบว่า พระเจา้ แผ่นดินได้เสดจ็ สวรรคตเสยี แลว้ เม่อื เชา้ น้ี เวลาประมาณ ๔ แหง่ นาฬกิ า (๑๐ ทมุ่ ) ครนั้ ตอนเชา้ ยงั ไมท่ นั สายกม็ กี ารแหเ่ สดจ็ รชั ทายาทคอื ท.ญ. เจา้ ฟา้ มงกฎุ เขา้ ไปประทบั ในพระราชวงั
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202