Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลีลาศ

คู่มือฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลีลาศ

Description: คู่มือฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลีลาศ

Search

Read the Text Version

ช่อื หนังสือ ค่มู ือฝกึ อบรมผู้ฝึกสอนกฬี าลลี าศ ตามหลกั สูตรมาตรฐานวชิ าชพี ผฝู้ กึ สอนกีฬาลลี าศ จัดทำ�โดย กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกฬี า ปที ่พี มิ พ์ 2559 จำ�นวน 2,500 เลม่ ISBN 978-616-297-459-5 ออกแบบ นายเกยี รติศกั ดิ์ บุตรศาสตร์ พิมพท์ ่ี ศนู ยส์ อื่ และสิ่งพิมพแ์ ก้วเจ้าจอม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา 1 ถนนอู่ทองนอก แขวงดสุ ิต เขตดุสิต กทม. 10300

คำ�นำ� กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาเป็นองค์กรหลักด้านการกีฬา ของประเทศ ซ่ึงมีพันธกิจ อ�ำนาจหน้าที่ในการพัฒนาบุคลากรด้านการกีฬา ได้เล็งเห็น ความส�ำคัญของการฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลีลาศให้เป็นไปตามมาตรฐานบุคลากร ดา้ นการกฬี าระดบั ชาติ จึงได้จดั ทำ� คมู่ ือฝึกอบรมผฝู้ ึกสอนกีฬาลลี าศตามหลกั สตู รมาตรฐาน วิชาชีพดังกล่าว ทั้งนี้ เพื่อใช้ในการฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลีลาศให้มีประสิทธิภาพและ เป็นมาตรฐานเดียวกนั กรมพลศึกษา ขอขอบคุณคณะผู้จัดท�ำ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ และผู้เก่ียวข้อง ทกุ ทา่ น ทที่ ำ� ใหค้ มู่ อื ฝกึ อบรมผฝู้ กึ สอนกฬี าลลี าศสำ� เรจ็ ลลุ ว่ งไปดว้ ยดี หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ คมู่ อื เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้ฝึกสอนกีฬาลีลาศให้มีประสิทธิภาพและมาตรฐาน เดียวกัน กรมพลศึกษา กันยายน 2559 ก



สารบัญ หน้า ค�ำน�ำ สารบญั ก หลักสตู รการฝึกอบรมครผู ู้ฝกึ สอนกฬี าลีลาศระดบั Student Teacher ข หลักสตู รการฝกึ อบรมครผู ฝู้ กึ สอนกฬี าลลี าศระดบั Licentiate/Silver 1 หลกั สูตรการฝกึ อบรมครูผ้ฝู ึกสอนกฬี าลลี าศระดบั Fellow/Goal 3 มาตรฐานวิชาชพี ผู้ฝกึ สอนกฬี าลีลาศ 5 บทที่ 1 ความรูท้ ่วั ไปเกยี่ วกบั กีฬาลีลาศ 7 ประวตั ิกฬี าลีลาศ 12 ประวัตกิ ีฬาลีลาศในประเทศไทย 12 ประเภทของกฬี าลลี าศ 13 บทท่ี 2 หลักการเป็นผู้ฝกึ สอนกฬี า 15 ความหมายของผฝู้ ึกสอนกีฬา 18 บทบาทของผฝู้ ึกสอนกีฬาทด่ี ี 18 จรรยาบรรณของผู้ฝึกสอนกีฬา 19 บทท่ี 3 หลักการฝึกสอนกฬี า 21 การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของนักกีฬาในแตล่ ะช่วง 22 เพศและการเจริญเตบิ โต 22 หลักการสอน 22 การสอนเทคนคิ ทักษะ 25 การสอนแทคติก 25 วิธกี ารสอนกีฬา 32 ทักษะในการสือ่ สาร 34 35 ข

สารบัญ บทท่ี 4 หลกั การฝึกกฬี า หนา้ กฎธรรมชาตขิ องร่างกาย การประเมนิ องค์ประกอบของร่างกาย 43 สมรรถภาพทางกาย 43 วธิ ีการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 43 การเสริมสมรรถภาพทางกาย 47 การฝึกซอ้ ม 48 การอบอนุ่ ร่างกาย 48 การยืดกลา้ มเน้ือ 50 การเสรมิ สรา้ งความแขง็ แรง พลงั ความอดทนของกล้ามเนื้อ 58 การเสรมิ สรา้ งความอดทนของระบบการไหลเวยี นเลือดและการหายใจ 59 ระบบพลังงานในการฝึก 61 บทท่ี 5 จติ วิทยาการกีฬา 65 บทที่ 6 โภชนาการส�ำหรับนักกีฬา 67 บทท่ี 7 การปฐมพยาบาล 71 บทท่ี 8 การบริหารจัดการในการเป็นผู้ฝึกสอนกีฬา 97 บทท่ี 9 ทกั ษะและวธิ กี ารฝึกกฬี าลลี าศ 112 บทท่ี 10 กตกิ ากีฬาลีลาศ 130 บรรณานุกรม 137 คณะกรรมการจัดท�ำคู่มอื ผ้ฝู กึ สอนกฬี าลีลาศ 173 190 193

ห ลกั สูตรการฝึกอบรม ครผู ูฝ้ ึกสอนกีฬาลลี าศระดบั Student Teacher ระยะเวลาด�ำ เนนิ การ : จำ�นวน 5 วัน เน้อื หาหลักสตู ร : ลำ�ดับ กิจกรรม บสรารธยติาย อภปิ ราย ฝกึ ปฏิบตั ิ สอื่ นวัตกรรม ทดสอบ จ�ำ นวน ที่ เน้ือหา เทคโนโลยี ประเมนิ ผล ช่ัวโมง 1 ปรัชญาการฝกึ สอนกีฬาลีลาศ บทบาทหน้าท่ ี 1.30 - - - - 1.30 ความรับผิดชอบของครผู ้ฝู กึ สอนกีฬาลลี าศ 2 หลักการฝกึ สอนกฬี าลลี าศและจติ วิทยา 1.30 - - - - 1.30 การเรยี นรู้ 3 โภชนาการการกฬี าและความปลอดภยั ในการ 1.30 - - - - 1.30 ฝกึ ซ้อมกีฬาลลี าศ 4 การอบอุน่ รา่ งกาย 1.30 - - - - 1.30 5 การฝกึ ปฏิบตั กิ ารยดื เหยยี ดกลา้ มเนอ้ื - - 1.30 - - 1.30 6 รา่ งกายกบั การออกก�ำลังกาย 1.00 - - - - 1.00 7 กายวภิ าคระบบกล้ามเนอ้ื และโครงสรา้ งกบั การ 1.30 - - - - 1.30 เคล่อื นไหวรา่ งกาย 8 กตกิ าการแข่งขันกีฬาลลี าศ 1.30 - - - - 1.30 9 การฝึกปฏิบตั จิ ังหวะ Waltz Basic Figures - - 4.30 - - 4.30 10 การฝกึ ปฏบิ ัติจงั หวะ Tango Basic Figures - - 2.30 - - 2.30 11 การฝกึ ปฏิบตั ิจังหวะ Tango Associate/Bronze - - 1.30 - - 1.30 12 การฝึกปฏิบัติจังหวะ Quick Step Basic Figures - - 1.30 - - 1.30 13 การฝกึ ปฏิบัตจิ งั หวะ Quick Step Associate/Bronze - - 1.30 - - 1.30 14 การฝกึ ปฏิบตั ิจงั หวะ Quick Step Additional Figures - - 1.30 - - 1.30 15 การฝึกปฏบิ ัติจงั หวะ Foxtrot Basic Figures - - 2.30 - - 2.30 16 การฝกึ ปฏบิ ตั ิจังหวะ Foxtrot Associate/Bronze - - 1.30 - - 1.30 17 การฝึกปฏิบตั ิจังหวะ Viennese Waltz Basic Figures - - 3.00 - - 3.00 18 การฝกึ ปฏิบตั ิจงั หวะ Viennese Waltz Associate/Bronze - - 1.30 - - 1.30 19 ทบทวนการฝึกปฏบิ ตั ิจังหวะตา่ งๆ - - 2.30 - - 2.30 20 สอบภาคทฤษฎี - - - - 1.30 1.30 21 สอบภาคปฏิบัต ิ - - - - 1.30 1.30 หมายเหตุ : หลักสตู รอาจมกี ารเปล่ยี นแปลงได้ตามความเหมาะสม คมู่ ือฝึกอบรมผ้ฝู กึ สอนกีฬาลลี าศ 1

2 ค่มู อื ฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกีฬาลลี าศ ตารางการฝกึ อบรมครผู ู้ฝกึ สอนกฬี าลลี าศ ระดับ Student Teacher วัน/เวลา 08.00-09.00 09.00-10.30 10.30-12.00 12.00- 13.00-14.30 14.30-16.00 16.00-17.30 13.00 พธิ เี ปิดและ ปรชั ญาการฝกึ สอน หลักการฝึกสอนกฬี า โภชนาการการกฬี า การอบอุน่ ร่างกาย การฝึกปฏบิ ตั ิ 1 บรรยายพิเศษ กฬี าลลี าศ บทบาท ลีลาศและจติ วทิ ยา และความปลอดภยั ใน การยืดเหยียด หน้าที่ ความรบั ผดิ ชอบ การเรยี นรู้ การฝึกซ้อมกฬี าลีลาศ ของครู ผฝู้ กึ สอนกีฬา กลา้ มเนอ้ื 2 ร่างกายกับการ กายวิภาคระบบกลา้ มเนอ้ื กติกาการแขง่ ขนั ัพก ัรบประทานอาหารกลาง ัวน การฝกึ ปฏบิ ัตจิ งั หวะ Waltz Basic Figures ออกก�ำลังกาย และโครงสรา้ งกับการ กีฬาลลี าศ เคลอ่ื นไหวรา่ งกาย 3 การฝึกปฏบิ ัติจงั หวะ Tango Basic Figures การฝึกปฏิบตั ิจังหวะ การฝึกปฏบิ ตั ิจังหวะ การฝึกปฏบิ ัติจงั หวะ การฝึกปฏบิ ัติจงั หวะ Tango Associate/ Quick Step Basic Quick Step Quick Step Bronze Figures Associate/Bronze Additional Figures 4 การฝึกปฏิบัติจงั หวะ Foxtrot Basic การฝึกปฏบิ ัติจงั หวะ การฝกึ ปฏบิ ตั ิจงั หวะ Viennese Waltz การฝึกปฏบิ ัตจิ ังหวะ Figures Foxtrot Associate/ Basic Figures Viennese Waltz Associate/Bronze Bronze 5 ทบทวนการฝกึ ปฏบิ ตั ิจังหวะตา่ งๆ สอบภาคทฤษฎี สอบภาคปฏบิ ัติ พธิ ปี ดิ หมายเหตุ อาจมีการเปลี่ยนแปลงตารางอบรมตามความเหมาะสม

ห ลกั สตู รการฝึกอบรม ครูผู้ฝึกสอนกีฬาลลี าศระดบั Licentiate/Silver ระยะเวลาดำ�เนนิ การ : จำ�นวน 5 วนั เน้อื หาหลกั สูตร : ลำ�ทด่ี ับ เนอื้ หา กจิ กรรม บรรยาย อภปิ ราย ฝึกปฏิบตั ิ ส่อื นวตั กรรม ปรทะดเสมอนิ บผล จช�ำ ่วั นโมวนง สาธิต เทคโนโลยี 1 บทบาทหน้าที่และความรบั ผิดชอบของ 1.30 - - - - 1.30 ผ้ฝู กึ สอนกีฬาลลี าศ 2 จิตวทิ ยาการเรียนร ู้ 1.30 - - - - 1.30 3 ชีวกลศาสตร์การเคลื่อนไหวร่างกายใน 1.30 - - - - 1.30 กีฬาลลี าศ 4 การเสริมสรา้ งสมรรถภาพทางกายและ 1.30 - - - - 1.30 การยืดเหยยี ดกลา้ มเนอื้ 5 ฝึกปฏิบตั ิการอบอุ่นร่างกาย - - 1.30 - - 1.30 6 หลกั การและทฤษฎีการฝกึ สอนกีฬา 2.30 - - - - 2.30 7 โภชนาการสำ� หรับนกั กฬี าลลี าศและหลีกเล่ยี ง 1.30 - - - - 1.30 การใชส้ ารต้องหา้ มในนกั กีฬา 8 การฝึกปฏิบตั จิ งั หวะ Waltz Standard Figures - - 3.00 - - 3.00 9 การฝกึ ปฏิบตั ิจังหวะ Waltz (Additional Figures) - - 1.30 - - 1.30 10 หลักการและทฤษฎีการฝึกซอ้ มกีฬาลลี าศ 2.30 - - - - 2.30 11 การใช้อปุ กรณแ์ ละเคร่อื งมือทางเทคโนโลย ี - - - 1.30 - 1.30 ส�ำหรบั ฝกึ สอนกีฬาลีลาศ 12 การฝกึ ปฏบิ ัตจิ ังหวะ Tango Standard Figures - - 4.30 - - 4.30 13 กฎ ระเบยี บ กตกิ าการแขง่ ขนั กีฬาลีลาศ 1.00 - - - - 1.00 14 การฝกึ ปฏบิ ัตจิ งั หวะ Quick Step - - 3.00 - - 3.00 Standard Figures 15 การฝกึ ปฏิบัตจิ งั หวะ Foxtrot Standard Figures - - 4.30 - - 4.30 16 การป้องกันการบาดเจ็บและการปฐมพยาบาล 1.00 - - - - 1.00 จากการฝกึ ซอ้ ม 17 การฝึกปฏบิ ตั ิจงั หวะ Viennese Waltz - - 3.00 - - 3.00 Standard Figures 18 สอบภาคทฤษฎ ี - - - - 2.00 2.00 19 สอบภาคปฏิบตั ิ - - - - 2.00 2.00 หมายเหตุ : หลักสตู รอาจมีการเปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม คู่มือฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลลี าศ 3

4 ค่มู อื ฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกีฬาลลี าศ ตารางการฝกึ อบรมครผู ู้ฝกึ สอนกีฬาลลี าศ ระดบั Licentiate/Silver วัน/เวลา 08.00-09.00 09.00-10.30 10.30-12.00 12.00- 13.00-14.30 14.30-16.00 16.00-17.30 13.00 1 พธิ เี ปดิ และ บทบาทหน้าท่ี จติ วทิ ยาการเรยี นรู้ ชวี กลศาสตร์ การเสรมิ สร้าง ฝึกปฏบิ ัติ บรรยายพเิ ศษ และความรบั ผิดชอบ การเคลือ่ นไหว สมรรถภาพทางกาย การอบอ่นุ ร่างกาย ของผูฝ้ ึกสอนกฬี าลลี าศ ร่างกายในกฬี าลลี าศ และการยืดเหยยี ด กล้ามเน้ือ โภชนาการส�ำหรับนักกฬี า ัพก ัรบประทานอาหารกลาง ัวน การฝกึ ปฏบิ ัติจงั หวะ Waltz Standard การฝกึ ปฏบิ ัตจิ ังหวะ 2 หลกั การและทฤษฎกี ารฝกึ สอนกฬี า ลลี าศและหลกี เลย่ี งการใช้ Figures Waltz (Additional สารต้องห้ามในนกั กีฬา Figures) 3 หลกั การและทฤษฎกี ารฝึกซอ้ มกฬี าลีลาศ การใช้อปุ กรณ์และ การฝกึ ปฏบิ ัติจังหวะ Tango Standard Figures เครื่องมือทางเทคโนโลยี สำ� หรับฝกึ สอนกีฬาลีลาศ 4 กฎ ระเบยี บ กตกิ า การฝึกปฏบิ ตั จิ ังหวะ Quick Step การฝึกปฏิบตั จิ ังหวะ Foxtrot Standard Figures การแข่งขนั กฬี าลลี าศ Standard Figures 5 การปอ้ งกันการบาดเจบ็ การฝกึ ปฏิบัติจงั หวะ Viennese Waltz สอบภาคทฤษฎี สอบภาคปฏิบัติ สอบภาคปฏิบัติ และการปฐมพยาบาล Standard Figures พิธีปดิ การอบรม จากการฝึกซ้อม หมายเหตุ อาจมกี ารเปลีย่ นแปลงตารางอบรมตามความเหมาะสม

ห ลกั สูตรการฝึกอบรม ครูผฝู้ กึ สอนกีฬาลีลาศระดบั Fellow/Goal ระยะเวลาดำ�เนนิ การ : จำ�นวน 5 วัน เนอ้ื หาหลักสตู ร : ลำ�ดับ กจิ กรรม บรรยาย อภิปราย ฝึกปฏิบตั ิ สเือ่ ทนควโตันกโลรรยมี ปรทะดเสมอินบผล จช�ำ ัว่ นโมวนง ที่ เนอื้ หา สาธิต 1 ระบบการจดั การแขง่ ขันของสหพนั ธ์ 1.30 - - - - 1.30 กฬี าลลี าศโลก (WDSF) 2 การจัดการแขง่ ขันกีฬาลลี าศในประเทศ 1.30 - - - - 1.30 3 การฝึกซอ้ มกีฬาและการวางแผนการฝึกซอ้ ม 1.30 - - - - 1.30 4 การเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกาย 1.30 - - - - 1.30 5 การฝึกปฏิบัตกิ ารยดื เหยยี ดกลา้ มเน้อื - - 2.00 - - 2.00 6 พฒั นาการของนักกฬี าและการเจรญิ เติบโต 1.00 - - - - 1.00 7 จิตวิทยาทางการกีฬา 1.30 - - - - 1.30 8 หลักการประเมนิ 1.30 - - - - 1.30 9 การฝึกปฏบิ ัตจิ งั หวะ Waltz - - 3.00 - - 3.00 10 การฝึกปฏบิ ัตจิ งั หวะ Viennese Waltz - - 2.00 - - 2.00 11 การฝกึ ปฏิบัตจิ งั หวะ Tango - - 2.30 - - 2.30 12 การฝกึ ปฏิบัตจิ งั หวะ Samba - - 1.30 - - 1.30 13 การฝกึ ปฏิบตั ิจังหวะ Quick Step - - 3.00 - - 3.00 14 การฝึกปฏิบัติจงั หวะ Cha Cha Cha - - 2.00 - - 2.00 15 การฝกึ ปฏิบัตจิ ังหวะ Foxtrot - - 2.30 - - 2.30 16 การฝึกปฏบิ ตั จิ ังหวะ Rumba - - 1.30 - - 1.30 17 การฝกึ ปฏบิ ัตจิ ังหวะ Paso Doble - - 3.00 - - 3.00 18 การฝกึ ปฏบิ ัตจิ งั หวะ Jive - - 2.00 - - 2.00 19 ความปลอดภยั และการป้องกันการบาดเจบ็ 1.00 - - - - 1.00 ในกฬี าลลี าศ 20 การบริหารจดั การในการฝกึ ซอ้ มและแข่งขนั 1.30 - - - - 1.30 กีฬาลีลาศ 21 สอบภาคทฤษฎปี ระเภท Standard 1.30 - - - - 1.30 ประเภท Latin America 22 สอบภาคปฏิบัติ ประเภท Standard - - - - 1.30 1.30 23 สอบภาคปฏิบัติ ประเภท Latin America - - - - 1.30 1.30 หมายเหตุ : หลักสตู รอาจมีการเปลยี่ นแปลงไดต้ ามความเหมาะสม คู่มอื ฝกึ อบรมผู้ฝึกสอนกฬี าลีลาศ 5

6 ค่มู อื ฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกีฬาลลี าศ ตารางการฝึกอบรมครผู ฝู้ ึกสอนกีฬาลีลาศ ระดบั Fellow/Goal วัน/เวลา 08.00-09.00 09.00-10.30 10.30-12.00 1123..0000- 13.00-14.30 14.30-16.00 16.00-17.30 ระบบการจัด การเสริมสรา้ ง การฝกึ ปฏิบตั ิ 1 พธิ ีเปดิ และ การแข่งขนั ของ การจัดการแขง่ ขัน การฝกึ ซอ้ มกีฬา สมรรถภาพทางกาย การยืดเหยียด บรรยายพิเศษ สหพันธก์ ีฬาลลี าศโลก กีฬาลีลาศ และการวางแผน กลา้ มเนื้อ ในประเทศ (WDSF) การฝึกซอ้ ม จติ วิทยา 2 พัฒนาการของ ทางการกีฬา หลกั การประเมิน ัพก ัรบประทานอาหารกลาง ัวน การฝกึ ปฏิบัติจงั หวะ Waltz การฝกึ ปฏิบัตจิ ังหวะ นักกีฬาและ Viennese Waltz การเจรญิ เตบิ โต 3 การฝึกปฏบิ ตั จิ ังหวะ Tango การฝึกปฏบิ ตั ิ การฝึกปฏิบัติจงั หวะ Quick Step การฝึกปฏิบัติจงั หวะ จงั หวะ Samba Cha Cha Cha 4 การฝึกปฏบิ ตั จิ งั หวะ Foxtrot การฝึกปฏบิ ัตจิ งั หวะ การฝกึ ปฏบิ ัติจงั หวะ Paso Doble การฝกึ ปฏบิ ตั ิ Rumba จังหวะ Jive การอภปิ ราย ความปลอดภัย การบริหารจัดการ สอบภาคทฤษฎี สอบภาคปฏบิ ัติ สอบภาคปฏิบัติ และพธิ ีปิด และการป้องกัน ในการฝึกซ้อม ประเภท Standard ประเภท ประเภท การอบรม 5 การบาดเจ็บใน และแข่งขนั ประเภท Latin Standard Latin America กีฬาลลี าศ กีฬาลลี าศ America หมายเหตุ อาจมีการเปลีย่ นแปลงตารางอบรมตามความเหมาะสม

ม าตรฐานวชิ าชีพ ผฝู้ ึกสอนกฬี าลลี าศ มาตรฐานวิชาชีพ เป็นเกณฑ์มาตรฐานท่ีผู้ประกอบวิชาชีพยึดถือเป็นแนวทางในการ ท�ำหน้าท่ีตามบทบัญญัติแห่งวิชาชีพ ซ่ึงก�ำหนดไว้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ มาตรฐานในการปฏิบัติ หน้าท่ี มาตรฐานด้านความรู้ และมาตรฐานในการปฏิบตั ติ นตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มาตรฐานวิชาชีพบุคลากรด้านการกีฬา เป็นกรอบหรือแนวทางการด�ำเนินงานหรือ การปฏิบัติหน้าท่ีของบุคคลท่ีเป็นสมาชิกในวิชาชีพเดียวกัน ได้แก่ ผู้ฝึกสอนกีฬา ผู้ตัดสินกีฬา เพอ่ื รบั รองความนา่ เชอ่ื ถอื และเปน็ การรบั ประกนั การปฏบิ ตั หิ นา้ ทอ่ี ยา่ งมคี ณุ ภาพและเปน็ มาตรฐาน เดยี วกัน ในการจดั ทำ� คมู่ อื ผฝู้ กึ สอนกฬี าลลี าศนี้ ไดย้ ดึ หลกั จากมาตรฐานวชิ าชพี ผฝู้ กึ สอนกฬี าลลี าศ ระดับชาติ ซึ่งกรมพลศึกษาได้จัดท�ำโดยความร่วมมือของผู้ฝึกสอนกีฬาลีลาศ ผู้ทรงคุณวุฒิ และ ผู้มีส่วนเก่ียวข้อง อันจะเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้ฝึกสอนกีฬาลีลาศให้มีความรู้ ความสามารถ เปน็ ทย่ี อมรับและเช่ือถอื ของสังคมทงั้ ระดบั ชาตแิ ละนานาชาติต่อไป มาตรฐานวิชาชีพผู้ฝึกสอนกีฬาลีลาศ ประกอบด้วยมาตรฐาน 3 ด้าน ได้แก่ ดา้ นความรู้ ดา้ นการปฏิบตั งิ าน และดา้ นการปฏิบตั ติ น รวมทั้งสน้ิ 15 มาตรฐาน ดังน ี้ 1) มาตรฐานดา้ นความรู้ แบง่ ออกเปน็ 3 มาตรฐานยอ่ ย คอื มาตรฐานท่ี 1 มคี วามรู้เกีย่ วกับกีฬา 1.1 ความรูเ้ ก่ียวกับทกั ษะและเทคนิคกีฬาลีลาศที่ถกู ต้อง 1.2 ความรู้เกี่ยวกับระบบ ระเบียบ กฎ กติกา สนาม และอุปกรณ์ วิธีการเล่น จำ� นวนผู้เล่น ระยะเวลาของการแขง่ ขนั รวมถึงแนวทางการตัดสินการประทว้ งและการร้องเรยี น มาตรฐานท่ี 2 มคี วามรู้เกีย่ วกับการเปน็ ผฝู้ ึกสอนกีฬาและบุคคลอ่นื ทเ่ี กี่ยวข้อง 2.1 ปรัชญาการกีฬา จรรยาบรรณของผู้ฝึกสอนกฬี าลลี าศ 2.2 บทบาทหนา้ ทแี่ ละความรับผดิ ชอบของผฝู้ กึ สอนกีฬาลลี าศ 2.3 ความรูเ้ กย่ี วกบั หลกั การสอนและการส่ือสาร 2.4 ความรเู้ กีย่ วกับการวางแผนและการเขยี นแผนการฝึกซอ้ มกีฬา 2.5 หลักการบริหารจัดการกีฬาท่ัวไป และการบริหารจัดการกีฬาในช่วง การฝกึ ซ้อมและแขง่ ขนั 2.6 การสอื่ สารและการประชาสมั พันธ์กับผบู้ รหิ าร นักกฬี า ผปู้ กครอง สอื่ มวลชน และองค์กรทใี่ ห้การสนบั สนนุ คมู่ ือฝกึ อบรมผูฝ้ ึกสอนกฬี าลีลาศ 7

มาตรฐานท่ี 3 มีความรู้เกี่ยวกับวทิ ยาศาสตร์การกีฬา 3.1 ความร้เู ก่ยี วกบั สรีรวิทยาการออกก�ำลังกาย 3.2 ความรู้เกี่ยวกับหลักการฝึกกีฬา การเตรียมร่างกาย และการประเมินผล ความกา้ วหน้าของนักกฬี า 3.3 ความรู้เก่ียวกับสมรรถภาพทางกาย การทดสอบสมรรถภาพทางกาย และ หลักการเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพทางกาย 3.4 พัฒนาการการเจริญเติบโต การพัฒนาศักยภาพของนักกีฬา และความรู้ เกีย่ วกับหลกั การฝกึ นักกฬี าในแตล่ ะชว่ งอายุ 3.5 ความรู้เก่ยี วกับหลักการเคล่ือนไหวในกฬี าลลี าศ 3.6 จิตวิทยาการกฬี า 3.7 โภชนาการการกีฬา การไม่ใชส้ ารเสพตดิ และสารต้องหา้ มในนกั กีฬา 3.8 ความปลอดภยั และการปอ้ งกันการบาดเจบ็ จากการกฬี า การปฐมพยาบาล 3.9 หลกั การฟนื้ ฟูสภาพทางกายตามคำ� แนะนำ� ของแพทย์ 2) มาตรฐานด้านการปฏบิ ัติงาน แบ่งออกเปน็ 9 มาตรฐานยอ่ ย คอื มาตรฐานที่ 4 ปรัชญา คุณธรรม และจรยิ ธรรม 4.1 ปลูกฝังนักกีฬา บุคลากรกีฬาและผู้เกี่ยวข้องให้มีคุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณ 4.2 พัฒนาแนวทางการฝึกสอนใหเ้ ปน็ ไปตามปรชั ญาของการฝึกสอน มาตรฐานที่ 5 ความปลอดภยั และการป้องกันการบาดเจบ็ 5.1 จัดหาอุปกรณ์ ส่ิงอ�ำนวยความสะดวก และจัดสภาพแวดล้อมให้มี ความปลอดภยั 5.2 ดูแลอุปกรณ์ที่จ�ำเป็นต้องใช้ในการฝึกซ้อมและแข่งขันให้มีความเหมาะสม และปลอดภัย 5.3 มวี ธิ กี ารตรวจสอบสภาวะรา่ งกายของนกั กฬี าอนั อาจเปน็ เหตใุ หเ้ กดิ การบาดเจบ็ จากการเล่นกีฬาหรือการแขง่ ขนั กฬี า 5.4 ทำ� การปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ ได้อย่างเหมาะสมและทนั ท่วงที 5.5 ประสานงานการดแู ลอาการบาดเจบ็ และสขุ ภาพของนกั กฬี า รวมทง้ั การฟน้ื ฟู สมรรถภาพทางกายตามค�ำแนะนำ� ของแพทย์ 5.6 จ�ำแนกผลกระทบทางจิตวิทยาจากอาการบาดเจ็บของนกั กฬี า 5.7 ไม่ใช้มาตรการและวิธีการลงโทษนักกีฬาอย่างรุนแรงทงั้ รา่ งกายและจิตใจ 8 คมู่ ือฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกีฬาลีลาศ

มาตรฐานท่ี 6 การฝกึ สอนกีฬาตามการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของนักกฬี า 6.1 นำ� ความรดู้ า้ นพฒั นาการของนกั กฬี าทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ การเรยี นรแู้ ละการพฒั นา ทักษะความสามารถของนักกฬี ามาใชใ้ นการฝกึ ซ้อมนักกฬี าในแตล่ ะชว่ งอายุ 6.2 ส่งเสริมพัฒนาการทางอารมณ์และสังคม โดยสนับสนุนให้มีประสบการณ ์ ในการร่วมกจิ กรรมกฬี าและกจิ กรรมทางสังคม 6.3 สง่ เสรมิ โอกาสใหน้ กั กฬี ามคี วามรบั ผดิ ชอบ มภี าวะผนู้ ำ� และผตู้ ามตามวฒุ ภิ าวะ ของตน มเี หตุผลและรเู้ ทา่ ทนั มาตรฐานที่ 7 การเสรมิ สรา้ งสภาพร่างกาย 7.1 นำ� ความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี ามาใชใ้ นการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกาย ของนักกีฬา 7.2 ออกแบบการฝึก การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย และการฟื้นฟูสภาพ รา่ งกายด้วยหลกั การและวิธกี ารท่ีถกู ตอ้ งเหมาะสม 7.3 ให้ค�ำแนะน�ำนักกีฬาเรื่อง การรับประทานอาหารท่ีเหมาะสม และกวดขัน การใชส้ ารตอ้ งหา้ มและวิธีการตอ้ งหา้ มทางการกีฬา 7.4 จัดท�ำแผนฟื้นฟูสมรรถภาพทางกายของนักกีฬาที่บาดเจ็บ ตามค�ำแนะน�ำ ของแพทย์ เพอื่ ชว่ ยเหลอื นักกฬี าให้สามารถกลับเข้าร่วมการแขง่ ขนั ได้เตม็ ทหี่ ลงั การบาดเจ็บ มาตรฐานท่ี 8 การฝกึ ซ้อมกฬี า 8.1 สามารถออกแบบและจัดท�ำแผนการฝึกซ้อมตามหลักการทฤษฎี โดยการ น�ำความรทู้ างวิทยาศาสตรก์ ารกีฬา มาใชใ้ นการพฒั นาโปรแกรมฝึกซอ้ ม เพอื่ เพิม่ ขดี ความสามารถ ของนกั กฬี า 8.2 จัดระบบและวิธีการฝึกในแต่ละฤดูกาลแข่งขันอย่างเหมาะสม เพ่ือให้เป็นไป ตามเป้าหมายในแต่ละช่วงเวลา 8.3 วางแผนการฝึกแต่ละวันใหไ้ ดผ้ ลสงู สุดภายในเวลาและทรัพยากรทีม่ ีอยู่ 8.4 ใช้เทคนิคการฝึกทางจิตวิทยาเพื่อกระตุ้นให้นักกีฬาได้พัฒนาความสามารถ ของตนเองและลดความเครียด มาตรฐานท่ี 9 การสอน การถา่ ยทอดความรู้ และการสอื่ สาร 9.1 สามารถประยกุ ตค์ วามรแู้ ละทฤษฎกี ารสอน จติ วทิ ยาการเรยี นรู้ เพอื่ ใหบ้ งั เกดิ ผลดตี อ่ นักกฬี า 9.2 ถา่ ยทอดการสอนต่อนักกฬี า โดยค�ำนงึ ถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล 9.3 ใช้วิธีการสอนท่ีเหมาะสม เพ่ือให้นักกีฬาได้พัฒนาความสามารถของตนเอง และยดึ ม่นั ในจรรยาบรรณ 9.4 สามารถสอื่ สารกบั นกั กฬี าและผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมทงั้ วาจาและการกระทำ� คมู่ ือฝึกอบรมผ้ฝู กึ สอนกีฬาลลี าศ 9

มาตรฐานท่ี 10 การก�ำหนดกลยทุ ธ์ในการเลน่ และการแขง่ ขนั 10.1 ตั้งเป้าหมายในการฝกึ ซ้อมทกั ษะและการแขง่ ขนั ตลอดฤดกู าล 10.2 คดั เลอื กนกั กฬี า พฒั นาและใชก้ ลยทุ ธแ์ ละกลวธิ ใี นการแขง่ ขนั กฬี าใหเ้ หมาะสม กบั วยั และระดับทกั ษะของนักกีฬา 10.3 สามารถใชว้ ิธีสงั เกตการณใ์ นการวางแผนการฝกึ ซ้อม การเตรยี มความพร้อม ส�ำหรบั การแขง่ ขนั และการวิเคราะห์เกมการแข่งขัน 10.4 เตรยี มความพรอ้ มสำ� หรบั การแขง่ ขนั โดยคำ� นงึ ถงึ สภาพอากาศ สภาพแวดลอ้ ม และความเหมาะสมทางกายภาพ มาตรฐานที่ 11 การบรหิ ารและการจดั การ 11.1 สามารถจัดระบบเพอื่ การเตรยี มทมี แขง่ ขนั กฬี าท่มี ีประสทิ ธภิ าพ 11.2 สามารถบริหารบคุ ลากรในทมี และควบคุมนักกฬี าได้ 11.3 มีสว่ นร่วมในกจิ กรรมประชาสัมพันธท์ ีมกีฬา 11.4 สามารถบริหารจดั การเรอื่ งการเงนิ และงบประมาณในส่วนท่ตี นรบั ผิดชอบ 11.5 สามารถบรหิ ารจดั การขอ้ มลู เอกสาร และบนั ทกึ ตา่ งๆ โดยใชเ้ ทคโนโลยที ที่ นั สมยั 11.6 มีความรับผิดชอบในทางกฎหมายและมีขั้นตอนการบริหารความเส่ียงท่ี เก่ียวข้องกบั การฝึกสอนกฬี า มาตรฐานท่ี 12 การประเมินผล 12.1 ใชเ้ ทคนคิ การประเมนิ ผลทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพในการประเมนิ ผลสมรรถภาพของทมี โดยใหส้ มั พนั ธก์ ับเป้าหมายทวี่ างไว้ 12.2 สามารถประเมินผลแรงจูงใจและสมรรถภาพของนักกีฬา โดยสัมพันธ์กับ เป้าหมายและจุดหมายในฤดูกาลแขง่ ขนั 12.3 ใช้กระบวนการท่ีมีประสิทธิภาพและเป็นกลางในการประเมินตนเองและ เจา้ หนา้ ที่ 12.4 นำ� ผลจากการประเมินมาวเิ คราะหแ์ ละวางแผนในการดำ� เนินงานครั้งตอ่ ไป 3) มาตรฐานด้านการปฏิบัตติ น แบ่งออกเปน็ 3 มาตรฐานย่อย คอื มาตรฐานท่ี 13 การปฏบิ ตั ิตอ่ ตนเอง 13.1 ดแู ลสุขภาพเปน็ ประจ�ำ 13.2 สรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกายอยา่ งสมำ่� เสมอ 13.3 มีความอดทน อดกลน้ั และควบคุมอารมณไ์ ด้ 13.4 มบี ุคลกิ ภาพทีด่ ี มีความเปน็ ผู้น�ำ และเชอ่ื ม่นั ในตนเอง 10 คู่มือฝึกอบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าลลี าศ

13.5 มีการพฒั นาตนเองและใฝ่หาความรู้อยูเ่ สมอ 13.6 สามารถใชเ้ ทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม มาตรฐานที่ 14 การปฏิบัติต่อผู้อ่นื 14.1 มมี นษุ ยสัมพนั ธท์ ีด่ กี บั นกั กฬี าและผู้อ่ืน 14.2 สามารถทำ� งานร่วมกบั ผู้อืน่ ได้ 14.3 มกี ารแสดงออกท้ังการพดู และการกระทำ� อย่างเหมาะสม 14.4 ไม่วิจารณ์ผ้ฝู ึกสอนด้วยกันในทีส่ าธารณะหรอื ในระหว่างการแขง่ ขนั มาตรฐานที่ 15 ปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอย่างตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ไดแ้ ก่ 15.1 มวี ินัยในการทำ� หน้าทผี่ ู้ฝึกสอน 15.2 มนี �ำ้ ใจนกั กฬี า ร้แู พ้ ร้ชู นะ รู้อภยั 15.3 มีความเสยี สละ 15.4 มคี วามยตุ ิธรรม 15.5 ปฏิบตั ิหน้าทอี่ ย่างเต็มความสามารถ 15.6 ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความซอ่ื สัตย์สจุ ริต 15.7 มีความรับผิดชอบต่อหนา้ ท่ี ต่อนักกฬี า และตอ่ ตนเอง 15.8 กลา้ ยอมรบั ในความบกพร่องผิดพลาด ค่มู อื ฝกึ อบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลีลาศ 11

บ ทที่ 1 ความรูท้ ัว่ ไปเก่ยี วกับกีฬาลีลาศ ประวตั กิ ีฬาลีลาศ (กรมพลศึกษา, 2552) ในสมัยดึกด�ำบรรพ์ ชาวโรมันมีการเต้นร�ำเพื่อแสดงความกล้าหาญ การเต้นร�ำแบบ บอลรมู เริม่ ตง้ั แตส่ มัยพระนางเจา้ อลิซาเบธ็ ท่ี 1 ซง่ึ สมัยนนั้ คล่งั ไคล้การเตน้ รำ� ท่เี รียกว่า “โวลต้า” (Volta) ซึ่งมีการจับคู่แบบวอลซ์ ในปัจจุบันการเต้นแบบโวลต้านั้นฝ่ายชายจะช่วยให้ฝ่ายหญิง กระโดดขึ้นในอากาศดว้ ย สมยั ศตวรรษที่ 17 การเต้นร�ำมีแบบแผนมากขนึ้ จอหน์ วีเวอร์ และ จอหน์ เพลฟอรด์ (John Weaver & John Playford) เป็นนักเขียนชาวอังกฤษท่ีมีชื่อเสียง เพลฟอร์ด ไดเ้ ขียนเก่ยี วกบั การเต้นร�ำแบบเก่าของอังกฤษ ซงึ่ รวบรวมไดถ้ งึ 900 แบบอยา่ ง การเตน้ ร�ำไดแ้ พร่เขา้ มาในประเทศฝร่ังเศส และไดเ้ ปลย่ี นมาเรียกเปน็ ส�ำเนียงฝรัง่ เศสว่า คองเทร ดองเซ่ (Conterdanse) พระเจา้ หลุยสท์ ่ี 14 ทรงโปรดปรานมากและต่อมาได้แพรห่ ลาย ไปยังประเทศอิตาลีและสเปน การเตน้ รำ� แบบบอลรมู ในจงั หวะวอลซ์ (Waltz) ได้เรม่ิ ขน้ึ ประมาณ ค.ศ.1800 เปน็ จังหวะท่นี ยิ มกันมากในสมยั นนั้ ในสมัยพระนางเจ้าวิคตอเรีย (The Victorian Era: 1830 – 80) การไปงานราตรสี โมสร หนมุ่ สาวจะไปเป็นคู่ๆ ต้องตา่ งคนตา่ งไป และฝา่ ยชายจะขอลีลาศกับหญงิ คนเดมิ มากกว่า 4 คร้งั ไม่ได้ หญิงโสดก็จะตอ้ งมีพี่เลย้ี งไปด้วย ฝ่ายหญิงจะมีบัตรเลก็ ๆ สีขาว จดบันทกึ ไว้วา่ เพลงใดมชี าย ขอจองลีลาศไว้บา้ ง ในศตวรรษท่ี 20 นิโกรในอเมรกิ า มบี ทบาทมากทางดา้ นดนตรี และลีลาต่างๆ ในนวิ ออรล์ ีน มีการเล่นดนตรีแบบพื้นเมืองของอาฟริกา ตอนแรกเรียกว่าจังหวะ Syncopation มีท่วงท�ำนอง เรา้ ใจ และเป็นจุดเริม่ ตน้ ของยคุ แจ๊ส (Jazz Age) สมยั เรม่ิ สงครามโลกครงั้ ที่ 1 ใหมๆ่ ดนตรีจงั หวะ น้ีก็เข้ามาแพร่หลายในอังกฤษ พร้อมๆ กันนั้นก็มีจังหวะพ้ืนเมืองอีกจังหวะหนึ่งมาจากอเมริกาใต้ คือ จังหวะแทงโก (Tango) ซ่ึงมีจุดก�ำเนิดมาจากเพลงพ้ืนเมืองของพวกคาวบอยในอาร์เจนตินา ยคุ น้นั เรยี กวา่ แร็กโทม์ (Rag – Time) ซึง่ การเต้นไม่มีกฏเกณฑอ์ ะไร ต่อมาประมาณปี ค.ศ.1929 มีครูลีลาศในอังกฤษรวมกันเป็นคณะกรรมการปรับปรุง การลลี าศแบบบอลรมู ขนึ้ มาเปน็ มาตรฐาน 4 จงั หวะ (ถา้ รวมควกิ วอลซด์ ว้ ยจะเปน็ 5 จงั หวะ) ถอื วา่ เป็นแบบฉบับของชาวองั กฤษ คือ วอลซ์ (Waltz) ควกิ สเต็ป (Quickstep) แทงโก (Tango) และ ฟอกซ์ทรอต (Fox-trot) 12 คูม่ ือฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกฬี าลีลาศ

เนอื่ งจากอิทธพิ ลของยุคแจ๊ส (Jazz Age) ก็ไดเ้ กิดกฬี าลีลาศแบบลาตินอเมรกิ า ซง่ึ จดั ไว้ เปน็ มาตรฐาน 4 จังหวะ (ถา้ รวมพาโซโดเบล้ิ กจ็ ะเปน็ 5 จังหวะ) คือ รมั บา้ (Rumba) ชา ชา ชา่ (Cha – Cha – Cha) แซมบา้ (Samba) และไจวฟ์ (Jive) โดยคัดเลือกจากกีฬาลีลาศประจำ� ชาตติ ่างๆ เชน่ แซมบ้าจากบราซิล รมั บา้ จากควิ บา พาโซโดเบลิ้ จากสเปน และไจว์ฟจากอเมรกิ า ประวตั กิ ีฬาลลี าศในประเทศไทย กีฬาลีลาศของประเทศไทย ไม่มีหลักฐานยืนยันได้แน่ชัดว่ากีฬาลีลาศในประเทศไทย เกิดขึ้นในสมัยใด สันนิษฐานว่า ชาวต่างชาติได้น�ำมาเผยแพร่ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จุลศักราช 1226 จากบันทึกของแหม่มแอนนาท�ำให้มีหลักฐานเช่ือได้ว่า คนไทยลีลาศเป็น มาตั้งแต่สมัยพระองค์ และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงรับ การยกยอ่ งใหเ้ ปน็ นกั ลลี าศคนแรกของไทย ตามบนั ทกึ กลา่ ววา่ แหมม่ แอนนาพยายามสอนพระองคท์ า่ น ให้รู้จักวิธีการเต้นร�ำแบบสุภาพซ่ึงเป็นที่นิยมของชาวตะวันตก โดยบอกว่าจังหวะวอลซ์น้ันหรูมาก นิยมเต้นกันในวังของประเทศในแถบยุโรป พร้อมกับแสดงท่าทางการเต้น พระองค์ท่านกลับสอนว่า ใกลเ้ กนิ ไป แขนตอ้ งวางใหถ้ กู แลว้ พระองคท์ า่ นกเ็ ตน้ ทำ� ใหแ้ หมม่ แอนนาประหลาดใจ จงึ ไมส่ ามารถ รูไ้ ด้วา่ ใครเป็นผสู้ อนพระองค์ สนั นษิ ฐานกันว่า พระองค์ทา่ นคงจะศกึ ษาจากต�ำราดว้ ยพระองคเ์ อง ในสมัยรัชกาลที่ 5 ส่วนใหญ่มีแต่เจ้านายและขุนนางชั้นผู้ใหญ่ที่เต้นร�ำกันพอเป็น โดยเฉพาะเจ้านายท่ีว่าการต่างประเทศได้มีการเชิญฑูตานุฑูต และแขกชาวต่างประเทศมาชุมนุม เต้นร�ำกันท่ีบ้าน เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติในการเฉลิมพระชนมพรรษาหรือเน่ืองใน วันบรมราชาภิเษก เป็นต้น จนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานวังสราญรมย์ ให้เป็นศาลาว่าการกระทรวงการต่างประเทศ งานเต้นร�ำ ทเ่ี คยจัดกันมาทกุ ปีก็ไดย้ ้ายมาจดั กันทวี่ ังสราญรมย์ ในสมยั รชั กาลท่ี 6 ทกุ ปที มี่ งี านเฉลมิ พระชนมพรรษานยิ มจดั ใหม้ กี ารเตน้ รำ� ขน้ึ ในพระบรม มหาราชวัง โดยมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นประธาน ซ่ึงมีเจ้านายและบรรดาฑูตานุฑูต ทั้งหลายเข้าเฝ้า สว่ นแขกทจี่ ะเขา้ ร่วมงานได้ตอ้ งได้รบั บตั รเชญิ เทา่ นั้น จึงสามารถเข้าร่วมงานได้ ในสมัยรัชกาลท่ี 7 กีฬาลีลาศได้รับความนิยมมากข้ึน จงึ มีสถานทล่ี ลี าศเกดิ ข้นึ หลายแห่ง เชน่ ห้อยเทยี นเหลา เกา้ ชน้ั คาเธย่ ์ และโลลิตา้ เปน็ ต้น ในปี พ.ศ.2475 นายหยิบ ณ นคร ไดร้ ว่ มกับหมอ่ มเจา้ วรรณไวทยากร วรวรรณ จัดต้ัง สมาคมเกยี่ วกบั การเตน้ รำ� ขน้ึ แตไ่ มไ่ ดจ้ ดทะเบยี นใหเ้ ปน็ ทถี่ กู ตอ้ งแตป่ ระการใด โดยใชช้ อื่ วา่ สมาคม สมัครเล่นเต้นร�ำ มีหม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ เป็นนายกสมาคม นายหยิบ ณ นคร เป็นเลขาธกิ ารสมาคม สำ� หรับกรรมการสมาคมสว่ นใหญ่กเ็ ป็นขนุ นางชน้ั ผู้ใหญ่ ไดแ้ ก่ หลวงเฉลมิ สุนทรกาญจน์ พระยาปกิตกลสาร พระยาวิชิต หลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ หลวงชาติตระการโกศล คมู่ อื ฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกีฬาลลี าศ 13

และนายแพทยเ์ ตมิ บนุ นาค สมาชกิ ของสมาคมสว่ นมากเปน็ ขา้ ราชการชนั้ ผใู้ หญท่ ม่ี กั พาลกู ของตน มาเตน้ รำ� ดว้ ย ทำ� ใหม้ สี มาชกิ เพมิ่ ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ มกี ารจดั งานเตน้ รำ� ขน้ึ บอ่ ยๆ ทส่ี มาคมคณะราษฎร์ และวังสราญรมย์ ส�ำหรับวังสราญรมย์นี้เป็นสถานท่ีท่ีจัดให้มีการแข่งขันเต้นร�ำขึ้นเป็นคร้ังแรก ซึ่งผ้ชู นะเลิศเป็นแชมเปียนคู่แรก คือ พลเรอื ตรเี ฉียบ แสงชโู ต และประนอม สุขมุ ในช่วงปี พ.ศ.2475-2476 มีนักศึกษากลุ่มหนึ่งเรียกสมาคมสมัครเล่นเต้นร�ำว่า สมาคม ร�ำเต้น (ค�ำผวนของค�ำวา่ เต้นรำ� ) ซึ่งฟงั แล้วไมไ่ พเราะหู ดังน้ัน หมอ่ มเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ จึงบัญญัติศัพท์ค�ำว่า ลีลาศ ข้ึนแทนค�ำว่า เต้นร�ำ ต่อมาสมาคมสมัครเล่นเต้นร�ำก็สลายตัวไป แต่ยังคงมกี ารชุมนมุ กนั ของครลู ลี าศอย่เู สมอ โดยมีนายหยบิ ณ นคร เป็นผูป้ ระสานงาน กีฬาลีลาศได้ซบเซาลงในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จนกระท่ังสงครามสงบลงในเดือน กันยายน พ.ศ. 2488 วงการกีฬาลีลาศของไทยเรมิ่ ฟืน้ ตัวข้นึ ใหม่ มีโรงเรยี นสอนลลี าศเกิดข้นึ หลาย แห่งโดยเฉพาะสาขาบอลรูมสมัยใหม่ (Modern Ballroom Branch) ซ่ึงอาจารย์ยอด บุรี ได้ไป ศึกษามาจากประเทศอังกฤษและเป็นผู้น�ำมาเผยแพร่ ช่วยท�ำให้กีฬาลีลาศซ่ึงศาสตราจารย์ศุภชัย วานชิ วัฒนา เปน็ ผู้น�ำอยู่กอ่ นแลว้ เจรญิ ขึน้ เปน็ ลำ� ดับ ในปี พ.ศ.2491 มีบุคคลช้ันน�ำในกีฬาลีลาศซึ่งเคยเป็นผู้ชนะเลิศการแข่งขันลีลาศ สมัยสงครามโลกคร้ังท่ี 2 อาทิ อุไร โทณวณิก กวี กรโกวิท จ�ำลอง มาณยมณฑล ปัตตานะ เหมะสุจิ และนายแพทย์ประสบ วรมิศร์ ได้ร่วมกันก่อต้ังสมาคมลีลาศแห่งประเทศไทยข้ึน โดยสภาวัฒนธรรมแหง่ ชาติ อนญุ าตให้จดั ต้งั ได้เมอ่ื วันท่ี 16 ตุลาคม พ.ศ.2491 มีหลวงประกอบนิตสิ าร เป็นนายกสมาคมคนแรก ปัจจุบันสมาคมลีลาศแห่งประเทศไทยเป็นสมาชิกของสภากีฬาลีลาศ นานาชาติด้วยประเทศหนึง่ หลงั จากนน้ั กฬี าลลี าศในประเทศไทยกเ็ ปน็ ทนี่ ยิ มอยา่ งแพรห่ ลาย มสี ถานลลี าศเปดิ เพมิ่ มากขน้ึ มีการจัดแข่งขันลีลาศมากข้ึน ประชาชนสนใจเรียนลีลาศกันมากขึ้น มีการจัดต้ังสมาคม ครลู ลี าศขึ้นส�ำหรับเปิดสอนลีลาศ และยังไดจ้ ดั ส่งนักลลี าศไปแขง่ ขันในต่างประเทศและจดั แข่งขนั ลีลาศนานาชาติข้ึนในประเทศไทย ในสมัยรัฐบาลจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ก�ำหนดให้โรงเรียนสอนลีลาศต่างๆ อยู่ในสังกัดของกระทรวงศึกษาธิการ และมีการก�ำหนด หลักสูตรลีลาศขึ้นอย่างเป็นแบบแผน ท�ำให้กีฬาลีลาศมีมาตรฐานยิ่งขึ้น ส่งผลให้กีฬาลีลาศ ในประเทศไทยเป็นท่ียอมรับและนิยมในวงการทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค นักเรียน นิสิต นกั ศกึ ษา และประชาชนใหค้ วามสนใจ ทำ� ใหม้ โี รงเรยี นหรอื สถาบนั เปดิ สอนลลี าศขน้ึ เกอื บทกุ จงั หวดั ส�ำหรับในสถานศึกษาก็ได้มีการจัดวิชาลีลาศเข้าไว้ในหลักสูตรต้ังแต่ระดับมัธยมศึกษาจนถึง ระดับอุดมศึกษา ปัจจุบันลีลาศได้รับการรับรองให้เป็นกีฬาจากคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee = IOC) อย่างเป็นทางการ มีการประชุมคร้ังที่ 106 วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2540 ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ส�ำหรับในประเทศไทย 14 คู่มอื ฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกฬี าลีลาศ

คณะกรรมการการกฬี าแหง่ ประเทศไทย ในสมยั ทม่ี ี นายจรุ นิ ทร์ ลกั ษณวศิ ษิ ฏ์ รฐั มนตรปี ระจำ� สำ� นกั นายกรัฐมนตรี เป็นประธานคณะกรรมการ ได้มีมติรับรองลีลาศเป็นกีฬาอย่างเป็นทางการ เม่ือวันท่ี 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2541 จัดเป็นกีฬาล�ำดับที่ 45 ของการกีฬาแห่งประเทศไทย และยงั ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารแขง่ ขนั กฬี าลลี าศ (สาธติ ) ขนึ้ เปน็ ครงั้ แรก ในการแขง่ ขนั กฬี าเอเชยี นเกมส์ ครง้ั ที่ 13 ซ่ึงประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ณ กรงุ เทพมหานคร ระหวา่ งวนั ที่ 6 – 20 ธันวาคม พ.ศ.2541 ประเภทของกฬี าลลี าศ ประเภทของกีฬาลลี าศ ตามมาตรฐานสากล แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ดังน้ี 1. ประเภทสแตนดาร์ดหรอื บอลรมู (Standard or Ballroom Dancing) การลลี าศในประเภทนจี้ ะมลี กั ษณะการเตน้ และทว่ งทำ� นองดนตรที เ่ี ตม็ ไปดว้ ยความสภุ าพ น่มุ นวล อ่อนหวาน สง่างาม และเฉยี บขาด ลำ� ตัวของผลู้ ลี าศจะตงั้ ตรงผึ่งผาย ขณะกา้ วนยิ มลากเทา้ ไปกับพื้น ชายจะแต่งกายด้วยชุดทักซิโด ส่วนหญิงสวมชุดยาวประดับด้วยขนนกท่ีหรูหรา ขณะ เคลอื่ นทไ่ี ปคู่กันล�ำตวั ต้องชิดกันตลอดเวลา การเตน้ มีการเขย่งสน้ เทา้ การลดสน้ เท้า และการเอยี งตัว การใช้เท้าต้องเฉียดพื้นผิวฟลอร์ตลอดเวลา ใช้ท้ังส้นเท้าและปลายเท้า ยกเว้นจังหวะแทงโก้ ทีจ่ ะอย่นู อกเหนือกฎเกณฑน์ ี้ การลีลาศประเภทสแตนดาร์ดมี 5 จังหวะ ดังนี้ 1. จงั หวะแทงโก้ (Tango) แตเ่ ดมิ คอื จงั หวะมลิ องกา้ (Milonga) ทใี่ ชเ้ ตน้ กนั ในโรงละครเลก็ ๆ แตเ่ มอ่ื ชนชน้ั สงู จากประเทศบราซลิ ไปพบเขา้ จงึ เรม่ิ มกี ารนำ� มาเตน้ รำ� กนั มากขน้ึ และชอ่ื ของจงั หวะ มลิ องก้า (Milinga) กถ็ กู เปล่ยี นเปน็ จงั หวะแทงโก้ (Tango) ในทส่ี ดุ 2. จังหวะวอลซ์ (Waltz) ก�ำเนิดข้ึนในช่วงปี ค.ศ.1910 (พ.ศ. 2453) – ค.ศ.1914 (พ.ศ. 2457) ทบ่ี อสตนั คลบั ในโรงแรมซาวอย ประเทศองั กฤษ มชี อื่ เรยี กวา่ บอสตนั วอลซ์ (Boston Waltz) ก่อนที่จะเสื่อมสลายลงไป และกลับมามีชีวิตชีวาอีกคร้ังในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยถกู ดัดแปลงท่าเตน้ ใหเ้ ข้ากบั ยุคสมยั 3. จังหวะควกิ ซว์ อลซ์ (Waltz) หรือ เวยี นนสี วอลซ์ (Viennese Waltz) ถอื ก�ำเนิดขน้ึ ในตอนใตข้ องประเทศเยอรมนี ในช่วงยคุ 60’s ซึ่งเปน็ จงั หวะท่ีต้องใช้พลงั สูง เนื่องจากเป็นจงั หวะ ท่ีมีความเรว็ ถึง 60 บารต์ ่อนาที โดยเนน้ ทก่ี ารรกั ษาจงั หวะใหต้ ่อเน่ือง เนน้ การเต้นแบบอิสระ 4. จงั หวะฟอกซท์ รอต (Foxtrot) เรมิ่ ตน้ ขน้ึ ตง้ั แตก่ อ่ นสงครามโลกครง้ั ที่ 1 ในทวปี ยโุ รป โดยนกั เต้นประกอบจงั หวะคนหนง่ึ ชื่อ แฮรี่ ฟอกซ์ (Harry Fox) และถกู น�ำมาดัดแปลง ขดั เกลา โดย แฟรงค์ ฟอร์ด (Frank Ford) ประมาณปี ค.ศ.1922 (พ.ศ.2465) ถงึ ค.ศ.1929 (พ.ศ.2472) จนเร่ิมแพรห่ ลาย 5. จังหวะควิกซ์สเตป (Quick Step) เป็นจังหวะที่ถูกแตกแขนงมาจากจังหวะ ฟอกซท์ รอต เนอ่ื งจากจงั หวะฟอกซ์ทรอตมคี วามเรว็ คอ่ นขา้ งสงู ถงึ 50 บาร์ต่อนาที ท�ำให้นักดนตรี คูม่ ือฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกฬี าลลี าศ 15

เล่นได้ยาก จึงถูกปรับลดจังหวะลงมาและน�ำมาผสมผสานกันจนเกิดเป็นจังหวะควิกสเตปขึ้น และเรม่ิ แพรห่ ลายประมาณปี ค.ศ.1928 (พ.ศ.2471) เปน็ ตน้ มา 2. ประเภทลาตินอเมรกิ นั (Latin American) การลีลาศประเภทน้ีจะมีลักษณะการเต้นที่คล่องแคล่ว ปราดเปรียวกว่าประเภท บอลรูม ส่วนใหญ่จะใช้สะโพก เอว ขา และข้อเท้าเป็นส่วนใหญ่ ท่วงท�ำนองดนตรี และจังหวะ จะเร้าใจและสนกุ สนานรา่ เรงิ การลีลาศประเภทลาตินอเมริกัน จะมี 5 จังหวะ ดังน้ี 1. จงั หวะแซมบา้ (Samba) มตี ้นแบบมาจากแถบแอฟริกา แต่ถกู พัฒนาจนเป็นทีน่ ยิ ม ในประเทศบราซิล ซึ่งจังหวะแซมบ้าได้ถูกยอมรับให้เป็นจังหวะท่ีสามารถเข้าแข่งขันในมหกรรม การแสดงระดับโลกทน่ี ิวยอรค์ ได้ เมอ่ื ปี ค.ศ.1939 (พ.ศ.2482) และอีกสบิ ปตี อ่ มาจงั หวะแซมบา้ ก็ถูกยอมรบั กันอยา่ งแพรห่ ลายในปี ค.ศ.1948 (พ.ศ.2491) – ค.ศ.1949 (พ.ศ.2492) 2. จังหวะรุมบ้า (Rumba) ถูกน�ำเข้าไปยังประเทศอเมริกาโดยทาสชาวแอฟริกัน และถกู พฒั นาตอ่ จนกระทง่ั มตี ำ� ราการเตน้ รำ� เกดิ ขน้ึ ซงึ่ ตำ� ราเลม่ นนั้ เปน็ ทแ่ี พรห่ ลาย ทำ� ใหจ้ งั หวะรมุ บา้ ไดร้ ับการยอมรบั ในที่สุด 3. จังหวะ ชะ ชะ ช่า (Cha Cha Cha) ถูกพัฒนามาจากจังหวะแมมโบ้ (Mambo) ซงึ่ ตงั้ ขน้ึ จากการเลยี นเสยี งรองเทา้ กระทบพน้ื ขณะเตน้ รำ� โดยถกู พบเหน็ ครง้ั แรกทปี่ ระเทศอเมรกิ า และแพรห่ ลายไปยงั แถบยโุ รป จากนน้ั กไ็ ดร้ บั ความนยิ มอยา่ งจรงิ จงั ในชว่ งปี ค.ศ.1956 (พ.ศ.2499) ก่อนที่จะถูกตัดทอนช่ือลงเป็น ชาช่า (Cha Cha) แต่คนส่วนใหญ่ก็ยังคงเคยชินกับ ชะ ชะ ช่า (Cha Cha Cha) มากกวา่ 4. จงั หวะไจวฟ์ (Jive) กำ� เนดิ ขนึ้ ในนวิ ยอรก์ สหรฐั อเมรกิ า ราวปี ค.ศ.1940 (พ.ศ.2483) เป็นจงั หวะเตน้ รำ� ในแบบที่เนน้ จังหวะจะโคน และการสวิง โดยถูกดัดแปลงมาจากดนตรใี นหลายจังหวะ ท้ังร็อกแอนด์โรล แอฟริกัน และอเมริกันสวิง เป็นต้น ซ่ึงในการเต้นนั้นจะเน้นการดีด สะบัด และเตะปลายเท้า ซึง่ ต้องใชค้ วามสนกุ สนานในการเต้นและใชพ้ ลังสงู 5. จังหวะปาโซโดเบล (Pasodoble) เป็นดนตรีที่มีจังหวะ 2/4 คล้ายเพลงมาร์ช ของสเปน ใช้ในช่วงพิธีกรรมท่ีนักสู้วัวกระทิงก�ำลังเดินลงสู่สนาม และขณะก�ำลังจะฆ่ากระทิง ก่อนจะพัฒนา มาเป็นจังหวะเต้นร�ำ โดยฝ่ายชายจะเปรียบเสมือนนักสู้วัวกระทิงที่จะบังคับร่าง ของคู่เตน้ ซงึ่ เป็นเสมอื นผ้าสแี ดง ใหแ้ กว่งไปมาในลักษณะเดยี วกับก�ำลังสะบดั ผา้ เพ่ือย่วั ววั กระทิง และจะเตน้ โดยการยำ�้ สน้ เทา้ น�ำเป็นจงั หวะอย่างเร็ว ไม่คอ่ ยใชส้ ะโพกเคลอื่ นไหวเท่าไหรน่ กั นอกจากนั้น สหพันธก์ ฬี าลีลาศนานาชาติ International Dance sport Federation (IDSF) ได้จัดทำ� หลกั สูตรข้ึน ซงึ่ ทั่วโลกยดึ ถือเปน็ มาตรฐานเดยี วกันมี 2 หลักสตู ร ไดแ้ ก่ หลกั สตู ร I.S.T.D. (Imperial Society of Teacher Dance) และหลักสูตรของ I.D.T.A. (International 16 ค่มู ือฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกีฬาลลี าศ

Dance Teachers Association) แต่ละจังหวะได้จัดแบ่งหลักสูตรเป็น 3 ขั้น และใช้แข่งขัน กนั ท่วั โลก คอื 1. ขน้ั ตน้ Associate หรอื Bronze 2. ขน้ั กลาง Licentiate หรอื Salver 3. ขนั้ สงู Fellow หรือ Gold ยังมีลีลาศอีกประเภทหน่ึง ซ่ึงจัดอยู่ในประเภทเบ็ดเตล็ด (Pop or Social Dance) โดยรวบรวมจงั หวะทเี่ กดิ ขน้ึ ใหมๆ่ และยงั ไมเ่ ปน็ ทยี่ อมรบั ในระดบั สากล หรอื เปน็ จงั หวะทน่ี ยิ มลลี าศ กันภายในบางประเทศแต่ยงั ไมเ่ ป็นที่แพร่หลายประกอบดว้ ยจังหวะต่างๆ ดังน้ี 1. จังหวะบกี นิ (Beguine) 2. จังหวะอเมรกิ ัน รุมบ้า (American Rumba) 3. จงั หวะดสิ โก้ (Disco) 4. จังหวะตะลงุ เทมโป้ (Taloong Tempo) 5. จังหวะกวั ราช่า (Guarracha) 6. จงั หวะแมมโบ้ (Mambo) 7. จงั หวะคาลิปโซ่ (Calypso) 8. จังหวะรอ็ ค แอนด์ โรล (Rock and Roll) 9. จังหวะออฟ บที (Off – beat) 10. จงั หวะทวสิ ต์ (Twist) 11. จังหวะบัม๊ พ์ (Bump) 12. จังหวะฮัสเซลิ (Hustle) สรุป ความหมายของกีฬาลีลาศ หมายถึง ท่าทางอันงาม การเย้ืองกราย เดินอย่างนวยนาด และให้ประโยชน์ เป็นการออกก�ำลังกายท่ีร่วมได้ทุกกลุ่ม มีการเสริมบุคลิกภาพให้สง่างาม และเพอื่ ความเปน็ เลศิ ในการแขง่ ขนั ซงึ่ ตามมาตรฐานสากลแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ประเภท สแตนดาร์ด ประเภทลาตินอเมริกนั และประเภทรวม 10 จงั หวะ คู่มอื ฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลีลาศ 17

บ ทที่ 2 หลักการเปน็ ผูฝ้ กึ สอนกีฬา ความหมายของผู้ฝกึ สอนกีฬา ผู้ฝึกสอนกีฬา (Coach) หมายถึง บุคคลที่มีความรู้ ความเข้าใจ และความรอบรู้สูง ในเรอื่ งของกีฬาประเภทนัน้ ๆ มีความชำ� นาญและกว้างขวางพอต่อการกฬี าที่ทำ� มีอำ� นาจบทบาท ในการควบคมุ ดแู ล ประสานงาน และกำ� หนดเกณฑต์ า่ งๆ ตอ่ นกั กฬี าและทมี เปน็ ผวู้ างแผนกำ� หนด แนวทางแกป้ ญั หาเก่ยี วกบั วิธีการฝกึ ซ้อมและแข่งขนั เพอ่ื ให้บรรลุเป้าหมายทีไ่ ดว้ างไว้ การเป็นผู้ฝึกสอนท่ีดี Drake chamber (1998) ได้เขียนไว้ในคู่มือการบริหารกีฬาของ กองทนุ สงเคราะหโ์ อลมิ ปกิ (Olympic solidarity) ของคณะกรรมการโอลมิ ปกิ นานาชาติ (International Olympic Committee: IOC) ไดส้ รปุ การเป็นผู้ฝึกสอนที่ดี (Academy of a Good coach) ไว้ดงั น้ี 1. มีความรู้เกี่ยวกับการเจริญเติบโต และพัฒนาการของนักกีฬา (Knowledge of growth and development) 2. อุทิศตนและกระตือรอื ร้นในการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ (Dedicated and Enthusiastic) 3. มีวุฒภิ าวะ (Mature) 4. มีคณุ ธรรมจริยธรรม (Ethical) 5. มคี วามยุตธิ รรม (Fairness) 6. รหู้ ลกั วิธกี ารฝึกซอ้ มนกั กีฬา (Knowledge of training method) 7. มคี วามสามารถในการฝึกนักกีฬาอย่างไดผ้ ล (Effectively run practice) 8. มคี วามสามารถในการประเมินนกั กฬี า (Evaluation of personnel) 9. มยี ทุ ธศาสตร์ (Strategy) 10. รู้จกั การใชค้ น (Effectively use of personnel) 11. มคี วามห่วงใยนักกฬี า (Centre for the athlete) 12. มีความสามารถในการสอน (Ability to teach) 13. มีความสามารถในการใชส้ อื่ (Media) 14. มีความสามารถในการสอื่ สาร (Communication) 15. เป็นผู้สรา้ งแรงจงู ใจใหน้ ักกฬี า (Motivator) 16. มีวินยั (Discipline) 17. มที ักษะการจดั องค์กร (Organization skills) 18. มีความรเู้ กยี่ วกับการท�ำงานของรา่ งกาย (Knowledge of how the body works) 19. มีอารมณข์ ัน (Humour) (International Olympics committee 1998) 18 ค่มู อื ฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าลีลาศ

สถาบันผู้ฝกึ สอนกฬี า สหราชอาณาจกั ร (The British Institute of Sport coach: BISC) (1989) และสภาจรรยาบรรณผู้ฝกึ สอนกฬี าแหง่ ยโุ รป (The council of Europe of code of sport ethics) (1992) ได้ก�ำหนดมาตรฐานคณุ สมบัติวิชาชีพผฝู้ ึกสอนกีฬาระดับภาค พรอ้ มได้มี การปรับปรุงแก้ไขในปี ค.ศ.1998 โดยก�ำหนดให้มาตรฐานวิชาชีพผู้ฝึกสอนกีฬาประกอบด้วย จริยธรรมมาตรฐาน 10 ดา้ น คอื 1. ดา้ นมนษุ ยศ์ าสตร์ (Humanity) การยอมรบั ในคณุ คา่ และสทิ ธสิ ว่ นบคุ คลของมนษุ ยชน 2. ด้านความสัมพันธ์ (Relationship) จะต้องมีความสัมพันธ์ของบุคคลเกี่ยวกับ ความเปน็ อยทู่ ่ดี ี ความปลอดภยั การปกป้องสิทธิ์ในปัจจุบนั และอนาคตของนกั กีฬา 3. ด้านการยดึ มนั่ สญั ญา (Commitment) ตอ้ งปฏิบัตติ ามหน้าทแี่ ละคา่ ตอบแทน 4. ด้านความร่วมมือ (Co-operation) มีการสื่อสารและความร่วมมือกับนักกีฬา หรือองคก์ รวชิ าชีพ 5. ด้านความซ่ือสัตย์ (Integrity) มคี วามซื่อสัตยป์ ฏบิ ตั ิตามกตกิ า และไม่สนับสนุนให้ นกั กีฬาท�ำผดิ กฎระเบยี บกติกาต่างๆ 6. ดา้ นการโฆษณาสนิ ค้า (Advertising) การโฆษณาที่เก่ียวกับกีฬาจะต้องเป็นไปตาม ข้อตกลง และกฎกตกิ า ขององคก์ รเพื่อสัญญาตา่ งๆ ที่ไดก้ �ำหนดไว้ 7. ดา้ นการรกั ษาความลบั ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล (Confidentiality) จะตอ้ งเปน็ ผรู้ กั ษาความลบั หรือขอ้ มลู ส่วนบุคคลของนกั กฬี า 8. ด้านการไม่ละเมิดสิทธิ์ (Abuse of privilege) จะต้องไม่มีการสัญญาและไม่ม ี การละเมดิ สิทธข์ิ องผ้อู นื่ 9. ด้านความปลอดภัย (Safety) จะต้องดูแลความปลอดภัยของนักกีฬา ตลอดระยะ เวลาทป่ี ฏิบัตหิ นา้ ท่ี 10. ด้านสมรรถนะ (Competency) จะต้องมีสมรรถนะในการฝึกสอนนักกีฬา อย่างถกู ตอ้ งตามหลกั และจริยธรรมของนกั กฬี าน้นั บทบาทของผ้ฝู กึ สอนกฬี าทดี่ ี กรมพลศึกษา (2552) ไดเ้ สนอลกั ษณะและบทบาทของผ้ฝู กึ สอน ไวด้ ังนี้ 1. ผฝู้ กึ สอนตอ้ งตระหนกั ดวี า่ การแพห้ รอื ชนะนนั้ ขน้ึ อยกู่ บั องคป์ ระกอบหลายประการ ท้ังสภาพรา่ งกายและจิตใจของนักกฬี า รวมทงั้ สภาพแวดล้อมภายนอก 2. มีความมานะพยายาม มรี ะเบยี บวนิ ัย และเสยี สละทำ� งานเพื่อหมคู่ ณะ 3. มีความรู้ ความสามารถ และมีความคิดอย่างมีเหตุผลในการถ่ายทอดความรู้และ ฝกึ สอนไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เปน็ ทย่ี อมรับของนกั กีฬา คมู่ ือฝึกอบรมผฝู้ ึกสอนกฬี าลีลาศ 19

4. เคารพและยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของนกั กฬี า ทงั้ เลอื กสรรอยา่ งมเี หตผุ ล มหี ลกั การ และยดึ มั่นในระเบียบขอ้ ตกลงท่ีร่วมกนั 5. ควรฝึกสอนให้พอเหมาะกับสภาพร่างกายและจิตใจของนักกีฬา อย่าพยายามสอน และให้บทเรยี นหรือแบบฝกึ หัดมากเกินไป 6. พยายามใหก้ ำ� ลงั ใจ กระตนุ้ หรอื จงู ใจใหน้ กั กฬี าเกดิ ความรกั ในชอื่ เสยี งของหมคู่ ณะ เพื่อนนักกฬี า เพื่อใหเ้ กดิ ความรับผดิ ชอบในการฝึก และมจี ิตวญิ ญาณท่ีจะนำ� ชัยชนะมาสู่หมคู่ ณะ 7. ผฝู้ ึกสอนจะตอ้ งฝกึ ให้นกั กฬี าเกดิ การเรียนรจู้ นถึงขน้ั ช�ำนาญ 8. การฝึกจะต้องใช้วิธีการฝึกหลายวิธี ขึ้นอยู่กับความสนใจของแต่ละบุคคลเพ่ือไม่ให้ เกิดความเบอ่ื หน่าย 9. การฝึก ควรเริ่มจากการสอนทฤษฎีแล้วจึงภาคสนาม โดยการอธิบาย สาธิต ลองปฏบิ ตั ิ ใหน้ กั กฬี าเกดิ ความเขา้ ใจ 10. จัดท�ำสถิติการฝึก การเข้าร่วมการฝึก ความส�ำเร็จของนักกีฬาแต่ละคน เพ่ือเป็นระเบียบสะสม ช่วยเป็นแรงกระตุ้นให้นักกีฬาต่ืนตัวอยู่เสมอในการที่จะพยายามท�ำดี ปรบั ปรุงความสามารถของตนเองให้ดขี ึ้น 11. ผู้ฝึกสอนจะต้องพยายามหาวิธีการเพ่ือช่วยให้นักกีฬามีความสามารถสูงสุด เท่าที่จะท�ำได้ 12. ควรสร้างเสริมสมรรถภาพและทดสอบความสามารถของนักกีฬาอยู่เสมอ เพ่ือชี้ให้เห็นว่าความสามารถของนักกีฬาแต่ละคนเป็นอย่างไร จะได้พัฒนาความสามารถ ใหค้ งอยูใ่ นเกณฑด์ ีเสมอไป 13. ผฝู้ กึ สอนจะตอ้ งเขา้ ใจ การฝกึ นน้ั จะตอ้ งฝกึ ตลอดสมำ�่ เสมอ แตช่ ว่ งระยะเวลาการฝกึ อาจแตกตา่ งกนั ออกไป 14. ควรฝกึ ซอ้ มใหม้ ากกวา่ สภาพความเปน็ จรงิ ในการแขง่ ขนั เมอ่ื ถงึ เวลาการแขง่ ขนั จรงิ ไม่ควรพดู อะไรมากเกินไป นอกจากใหค้ ำ� แนะน�ำ 15. เม่ือนักกีฬาได้พัฒนาสมรรถภาพและความสามารถอย่างดีที่สุดแล้ว ผู้ฝึกสอนควร พยายามใหก้ �ำลังใจเพื่อส่งเสรมิ พลังใจให้เข้มแขง็ พรอ้ มทจี่ ะเข้าแข่งขนั 16. ในขณะทำ� การแขง่ ขนั อยา่ สอนหรอื ตะโกนบอกนกั กฬี ามากเกนิ ไป จะทำ� ใหน้ กั กฬี า เกิดความกงั วลและสภาพจิตใจเสียไป 17. เมื่อนักกีฬาแพ้ ผู้ฝึกสอนต้องพยายามอธิบายสาเหตุของการแพ้ให้นักกีฬาทราบ เพ่ือหาทางแก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่องและปรับปรุงแก้ไขเพ่ิมเติม เพื่อให้นักกีฬาเกิดความเช่ือม่ัน ในตนเองมากข้นึ 18. ไมใ่ ชว้ าจาหยาบคายหรอื ดหู มน่ิ ความสามารถของนกั กฬี า พยายามใหก้ ำ� ลงั ใจเมอื่ แพ้ และพยายามชมเชยเมื่อได้รับชัยชนะ 20 คมู่ ือฝึกอบรมผฝู้ ึกสอนกีฬาลีลาศ

19. ผู้ฝึกสอนจะต้องมีลักษณะผู้น�ำ มีความคิดริเร่ิม วางโครงการ แนะน�ำนักกีฬาให้มี ระเบียบวนิ ัย ตดั สินใจถูกต้อง ออกค�ำสั่งชดั เจน มคี วามเข้าใจนักกีฬาทุกดา้ น 20. ผู้ฝึกสอนจะต้องซื่อสัตย์ จริงใจ และมีความยุติธรรมแก่นักกีฬาทุกๆ ด้าน ถือว่านกั กีฬาทกุ คนมีความสำ� คัญเท่าๆ กนั จรรยาบรรณของผ้ฝู ึกสอนกฬี า กรมพลศึกษา (2552) ไดเ้ สนอจรรยาบรรณของผู้ฝกึ สอน (Coaches Code of Ethics) ไว้ดงั น้ี 1. ผู้ฝึกสอนพึงระลึกอยู่เสมอว่าตนมีอิทธิพลมากในการปลูกฝังให้นักกีฬาเป็นคนดี มีน�้ำใจมากกว่าการหวงั ผลชนะอยา่ งเดยี ว 2. ผู้ฝกึ สอนพงึ ปฏิบตั ติ นเป็นตวั อยา่ งทด่ี ีแก่ทกุ คนที่เก่ยี วขอ้ ง 3. ผู้ฝึกสอนท�ำหนา้ ทอี่ ยา่ งเข้มงวดในการป้องกันการใชส้ ารกระตุ้นในนักกฬี า 4. ผฝู้ กึ สอนตอ้ งไม่ด่ืมเหล้าและสูบบหุ รี่ขณะทำ� หน้าที่ 5. ผู้ฝึกสอนจะทำ� หนา้ ท่ีไปจนสิน้ สดุ ฤดูกาลแข่งขัน (จะไมล่ ะทิง้ หน้าท่ี) 6. ผู้ฝึกสอนต้องรู้โปรแกรมการแข่งขันและวางแผนเป็นอย่างดี โดยไม่แสวงหา ผลประโยชน์จากชอ่ งว่างของกตกิ า 7. ผฝู้ กึ สอนตอ้ งสง่ เสรมิ ความมนี ำ�้ ใจนกั กฬี า โดยใหค้ นดแู ละผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี (Stakeholder) แสดงความมนี ำ้� ใจนกั กีฬา 8. ผู้ฝึกสอนต้องเคารพกฎกติกา โดยไม่ส่งเสริมให้ผู้เล่นและผู้ดูต่อต้านผู้ตัดสินและ ผู้จดั การแข่งขัน 9. ผฝู้ กึ สอนตอ้ งจดั ใหม้ กี ารประชมุ และแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ เพอ่ื ใหม้ คี วามเขา้ ใจตรงกนั ในกฎกตกิ าการแขง่ ขนั 10. ผฝู้ กึ สอนตอ้ งไมบ่ บี บงั คบั ใหอ้ าจารยพ์ จิ ารณาผลการเรยี นของนกั กฬี าเปน็ กรณพี เิ ศษ 11. ผู้ฝึกสอนจะไม่สอดแนมทมี คู่ต่อสู้เพ่อื ล้วงความลบั ของคตู่ อ่ สู้ คมู่ ือฝึกอบรมผูฝ้ ึกสอนกฬี าลลี าศ 21

บ ทที่ 3 หลกั การฝึกสอนกีฬา การเจริญเติบโตและพัฒนาการของนกั กีฬาในแตล่ ะช่วง เพศและการเจรญิ เตบิ โต (Gender and Growth Development) ผฝู้ กึ สอนกฬี า จำ� เปน็ ตอ้ งมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในความแตกตา่ งของนกั กฬี าทอ่ี ยใู่ นความดแู ล ซ่ึงเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยากและซับซ้อน ผู้ฝึกสอนบางคนมักเข้าใจว่า การให้ความเอาใจใส่ แก่นักกฬี าทุกคนอย่างเท่าเทยี มกนั กถ็ ือว่ามีความยตุ ิธรรมและเป็นการเพียงพอแลว้ ซ่ึงแทจ้ รงิ แล้ว เปน็ วธิ กี ารทไี่ มถ่ กู ตอ้ งทผี่ ฝู้ กึ สอนจะปฏบิ ตั กิ บั นกั กฬี าทกุ คนในรปู แบบเดยี วกนั เพราะนกั กฬี าแตล่ ะคน ต่างมคี วามแตกตา่ งกนั โดยเฉพาะในพืน้ ฐานตา่ งๆ ดังน้ี 1. ความพร้อมทางด้านร่างกาย (Maturation) 2. วฒั นธรรม (Culture) 3. เพศ สมรรถภาพทางกาย และจติ ใจ (Gender Physical and Mental) ในอดีตนักกีฬาท่ีมีความต้องการเฉพาะตัว หรือไม่สนใจที่จะท�ำการฝึกซ้อม หรือร่วมท�ำ กิจกรรมอย่างจริงจัง มักถูกคัดออกจากทีม ปัจจุบันแนวทางดังกล่าวได้มีการเปล่ียนแปลงไปแล้ว ผ้ฝู ึกสอนจำ� เปน็ ตอ้ งเตรียมนักกฬี าและฝึกสอนนักกีฬาทีม่ ีความแตกต่างกันอย่างมาก เช่น นกั กีฬา ทม่ี ีความตอ้ งการพเิ ศษ มีความแตกต่างทางดา้ นจิตใจ สงั คม หรือวัฒนธรรม เปน็ ต้น ซ่งึ ผูฝ้ กึ สอน ท่ดี ตี อ้ งรแู้ ละเขา้ ใจความแตกต่างดงั กล่าวขา้ งต้น และสามารถถา่ ยทอดความรใู้ ห้กบั นักกีฬากล่มุ นี้ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ดงั นี้ ความเขา้ ใจในนกั กฬี าวยั รนุ่ การฝกึ สำ� หรบั นกั กฬี าวยั รนุ่ เปน็ งานทที่ า้ ทาย เพราะนกั กฬี า วัยน้ีเป็นช่วงท่ีมีการเปล่ียนแปลงและมีพัฒนาการทางด้านร่างกายอย่างมาก โดยเฉพาะนักกีฬา ที่มีอายุระหว่าง 11 - 21 ปี ซ่ึงเป็นช่วงท่ีเปลี่ยนผ่านจากวัยเด็กสู่วัยผู้ใหญ่ ซ่ึงอาจแบ่งได้เป็น 3 ช่วงอายุ ดงั นี้ 1. ช่วงวยั ร่นุ ตอนตน้ (อายุ 11 – 14 ป)ี โดยเฉลี่ยของชว่ งน้ี เดก็ ผหู้ ญงิ จะมอี ายุ 9.5 ปี เดก็ ชายอายุเฉลย่ี 11.5 ปี เดก็ วัยนี้จะมี การเปลีย่ นแปลงทางความสูงอย่างรวดเร็ว โดยจะมีการเพมิ่ ความสูงที่อายุเฉล่ีย 11.5 ปี ในเดก็ ผู้หญงิ และ 13.5 ปี ในเดก็ ผชู้ าย เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงทางความสูงอย่างรวดเร็ว ท�ำให้เด็กวัยนี้เคล่ือนไหวร่างกาย ไม่คล่องแคล่ว ไม่กระฉับกระเฉง การทรงตัวไม่ดี และการท�ำงานของร่างกายไม่ค่อยสัมพันธ์กัน จนกวา่ จะมกี ารปรบั ตัวในการทำ� งานในส่วนต่างๆ ของร่างกาย 22 คู่มอื ฝกึ อบรมผู้ฝึกสอนกฬี าลีลาศ

ความแข็งแรงของกลา้ มเน้ือและร่างกายในวัยนี้ มกี ารเพ่ิมข้ึนทั้งเดก็ ผหู้ ญิงและเด็กผ้ชู าย และหากมีโปรแกรมการฝึกซ้อมท่ีดีก็จะสามารถเพิ่มความแข็งแรงขึ้นได้อีก เด็กผู้ชายจะเพ่ิมได้ มากกว่าเด็กผู้หญงิ เล็กน้อยในระยะกอ่ นวยั รุ่น และจะเพ่ิมข้ึนอยา่ งเห็นได้ชัดในชว่ งวยั รนุ่ ในกิจกรรม เช่น การกระโดด การขว้าง และการว่ิง ทั้งเด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงจะมี พัฒนาการอย่างตอ่ เน่ืองในชว่ งวยั รนุ่ แต่เดก็ ผหู้ ญิงจะมพี ฒั นาการนอ้ ยลงในช่วงอายุ 12 – 13 ปี ส่วนเด็กผู้ชายจะมีการพัฒนาต่อเน่ืองจนถึงช่วงวัยรุ่นตอนปลาย เน่ืองจากเป็นช่วงท่ีมีการเจริญ เติบโตอย่างรวดเร็ว เด็กวัยน้ีจ�ำเป็นที่จะต้องได้รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์และมีการพักผ่อน มากกว่าปกติ เด็กจะสูงและแข็งแรงมาก โดยเฉพาะผู้ท่ีมีพรสวรรค์ทางกีฬา จะเห็นได้ชัดเจน เมือ่ เทียบกบั เพอื่ นในกลุม่ ในชว่ งอายนุ ้ี ทงั้ เดก็ ผชู้ ายและเดก็ ผหู้ ญงิ จะยา่ งเขา้ สวู่ ยั รนุ่ จงึ ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ การเปลย่ี นแปลง ทางเพศ เชน่ เดก็ ผหู้ ญิงจะมกี ารขยายขนาดของเต้านมและเริ่มมีประจำ� เดอื น เสียงของเดก็ ผูช้ าย จะเรม่ิ ทุ้มต่�ำและมีความตนื่ ตวั ทางเพศบอ่ ยขึน้ ช่วงกอ่ นวยั รุน่ จะมคี วามสนใจทางเพศ เร่ิมตอ้ งการ ความเป็นสว่ นตัว และสนใจการแต่งกายมากข้นึ การเปลยี่ นแปลงทางร่างกายเร่มิ ปรากฏชัดเจน เมอื่ เปรียบเทยี บกับกลมุ่ เพอื่ น เรม่ิ มกี าร จับกลุ่มโดยเฉพาะในกลุ่มเพศเดียวกัน และความต้องการความเป็นอิสระ ซ่ึงสังเกตได้จากการ มคี วามคดิ เหน็ ทขี่ ดั แยง้ กบั ผใู้ หญ่ เดก็ ชว่ งวยั นชี้ อบการคน้ หาตวั เองวา่ ตวั เองเปน็ ใครและอยสู่ ว่ นใด ของสังคม ไมม่ ั่นใจในการเปล่ียนแปลงของรา่ งกายและอารมณ์ หงุดหงิดงา่ ย มีความคิดทม่ี ีเหตุผล มากข้ึน แตส่ ว่ นใหญ่จะเป็นแนวคิดทเี่ ปน็ นามธรรม จากความแตกตา่ งของความพรอ้ มทางรา่ งกาย เดก็ ชว่ งวยั นจ้ี ะมพี ฒั นาการตามความเชอ่ื ของตนเองและมักจะได้รับอิทธิพลจากกลุ่มเพือ่ น หรือผู้ใหญท่ ี่เขาให้ความเชื่อถอื 2. ชว่ งวัยรุน่ ตอนกลาง (อายุ 15 – 17 ปี) การเจริญเติบโตทางร่างกายจะสมบูรณ์ ส�ำหรับเด็กผู้หญิงอยู่ที่อายุเฉลี่ย 14.5 ปี และ เด็กผชู้ ายอายุเฉลย่ี 16.5 ปี โดยเด็กผชู้ ายจะมมี ดั กล้ามเนอื้ เพมิ่ ขน้ึ และเด็กผู้หญงิ จะมีไขมนั เพิม่ ขึ้น เด็กวัยน้ีเร่ิมให้ความสนใจกับการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายน้อยลง แต่ให้ความสนใจต่อบุคลิกภาพ มากขึ้น มักให้ความส�ำคัญกับความเป็นหญิงหรือชาย โดยเฉพาะการแสดงออกทางวัฒนธรรม ของตน ชอบความอิสระ ต้องการการยอมรับจากสังคมรอบข้าง และต้องการเป็นเอกเทศในเร่ือง การตัดสินใจ แตม่ กั จะตัดสนิ ใจผิดพลาด ผใู้ หญท่ ่ใี กล้ชดิ ควรใหค้ �ำแนะน�ำทถ่ี กู ต้อง กลุม่ เพ่อื นจะมี อิทธิพลต่อความคิดและการตัดสินใจของเด็กช่วงวัยน้ี เช่น การแต่งกาย ภาพลักษณ์ภายนอก การเขา้ รว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ การได้รับความอิสระ ความไว้วางใจจากกลุ่มเพื่อนหรือผู้ใหญ่ จะเป็นการเสริมสร้าง ความภาคภูมใิ จและความม่นั ใจให้แก่เด็กวยั นี้ คมู่ ือฝกึ อบรมผู้ฝกึ สอนกฬี าลลี าศ 23

3. ช่วงวัยรุ่นตอนปลาย (อายุ 18 - 21 ปี) เด็กวัยน้ีจะรู้จักตัวเองดีขึ้น รู้ว่าจะท�ำอะไรได้ดีหรือไม่ดีอย่างไร และเริ่มมองถึงอนาคต ของตน เนอื่ งจากมคี วามสามารถทจ่ี ะพงึ่ พาตวั เองและพรอ้ มทจี่ ะยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ จากผใู้ หญ่ มากขึ้น มีการวางเป้าหมายในชีวิต แต่กลุ่มเพื่อนก็ยังคงมีอิทธิพลในการตัดสินใจและการให้ความ เอาใจใส่ ความใกล้ชิดจากคนในครอบครัวก็ยังมีความส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างยิ่ง บุคลิกของเด็ก ในช่วงวัยน้ี เป็นช่วงส�ำคัญที่ผู้ฝึกสอนจ�ำเป็นต้องรู้และเข้าใจในการเปล่ียนแปลงทางบุคลิกภาพ ของเด็กวัยนี้ ความแตกต่างของช่วงวัยต่างๆ เป็นปัญหาส�ำหรับการจัดกลุ่ม เพราะบางคร้ังอายุไม่ได้ เป็นตัวก�ำหนดสภาพร่างกาย อารมณ์ หรือความพร้อมทางสังคม ดังน้ัน การจัดกลุ่มตามอายุ เพอ่ื การแขง่ ขนั กฬี าจงึ ไมเ่ หมาะสม เพราะอาจจะมปี ญั หาเรอื่ งความปลอดภยั และความไมเ่ ปน็ ธรรม ความเข้าใจในความแตกต่างของการเจรญิ เติบโต มนุษย์มีความแตกต่างทางโครงสร้างของร่างกายมากในช่วงอายุระหว่าง 10 – 16 ปี เดก็ ชายที่มีอายุ 13 ปเี ทา่ กันแต่อาจมีลักษณะทางกายวภิ าคทแ่ี ตกตา่ งกนั ซ่ึงจะศึกษาไดจ้ ากการ เอ๊กซเรย์ กระดกู ขอ้ มอื (ขา้ งท่ีไม่ถนัด) ซึ่งจะเป็นตวั ชี้วัดการเจรญิ เติบโตทางกายวภิ าคของกระดกู แมอ้ ายุจะเทา่ กนั แต่สรีระร่างกายอาจจะไม่เทา่ กัน การจัดการแข่งขัน โดยทั่วไปจะแบ่งตามเพศและอายุ แต่ส�ำหรับกีฬาต่อสู้จะใช้น�้ำหนัก เป็นเกณฑ์ในการแบง่ เพราะทำ� ไดง้ า่ ยและเหมาะสมกบั สรรี ะของนกั กีฬา แตผ่ ู้ฝึกสอนควรคำ� นงึ ถึง สภาพความพรอ้ มทางดา้ นรา่ งกาย ความแตกตา่ งทางดา้ นอารมณแ์ ละสงั คมดว้ ย เพราะความแตกตา่ ง ทางความพร้อมดังกล่าว มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้และฝึกซ้อมของนักกีฬา ซึ่งบางคนอาจจะเรียนรู้ ได้ช้ากวา่ นักกีฬาคนอ่นื ๆ ผู้ฝกึ สอนจะต้องเขา้ ใจและให้โอกาสแก่นักกีฬากลุม่ นี้ ความแตกต่างทางวัฒนธรรม สถานะครอบครัว การอบรมเล้ียงดู มีผลต่อการคิด การแสดงออก บุคลิกภาพและการเข้าสังคมของนักกีฬา ในการฝึกสอนกีฬาจะต้องขัดเกลาจิตใจ ส่งเสริมความมีน้�ำใจนักกีฬา และการท�ำงานเป็นทีมแก่นักกีฬา ผู้ฝึกสอนจะต้องรู้และเข้าใจ ในเร่ืองความแตกต่างดังกล่าวข้างต้น เพื่อหาวิธีการท่ีเหมาะสมในการปรับนักกีฬาให้แต่ละคน อยู่รว่ มกนั ได้ ความแตกต่างทางเพศ เด็กผู้หญิงจะมีรูปร่างเล็กและมีไขมันมากกว่าเด็กผู้ชาย ในสมัยก่อนเด็กผู้หญิงมีโอกาส ในการเลน่ กฬี าหรอื เขา้ รว่ มการแขง่ ขนั กฬี านอ้ ยกวา่ เดก็ ผชู้ าย ปจั จบุ นั ความแตกตา่ งดงั กลา่ วลดลง และเกิดการเรียกร้องในสิทธิสตรีเพ่ือความเท่าเทียมกันทางเพศ ผู้ฝึกสอนจึงต้องส่งเสริมและ 24 คมู่ อื ฝึกอบรมผฝู้ กึ สอนกฬี าลีลาศ

ใหก้ ำ� ลงั ใจแกน่ กั กฬี าเพศหญงิ ใหเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมกฬี าใหม้ ากขน้ึ ควรคำ� นงึ อยเู่ สมอวา่ การฝกึ นกั กฬี าหญงิ และชายมคี วามแตกตา่ งกันทั้งสรีระร่างกายและจิตใจ หลกั การสอนกฬี า บทบาททีส่ ำ� คัญที่สดุ ของผู้ฝกึ สอน คอื การสอนเทคนคิ ทกั ษะ และแทคติกในการแขง่ ขนั เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพของนกั กฬี าอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง การฝกึ ซอ้ มของนกั กฬี าในปจั จบุ นั มงุ่ เนน้ การฝกึ ซอ้ ม ในสภาพการณท์ ่ีเหมอื นการแขง่ ขนั มากกวา่ การฝกึ ซ้อมเทคนิคทักษะ ซ่ึงจะทำ� ให้นักกีฬาได้เรียนรู้ จากสถานการณจ์ รงิ นนั่ คอื แทคตกิ ในการแขง่ ขนั เมอื่ นกั กฬี าประสบปญั หาจากการมเี ทคนคิ ทกั ษะ ไม่ดีพอท่ีจะน�ำไปใช้ในการฝึกซ้อมแทคติก จะท�ำให้นักกีฬาตระหนักว่าต้องการการเรียนรู้เทคนิค ทกั ษะตา่ งๆ เพมิ่ เตมิ การเรยี นรเู้ ทคนคิ ทกั ษะจะมคี วามหมายกบั นกั กฬี ามากขน้ึ เนอื่ งจากเปน็ ความ ตอ้ งการของนกั กีฬาท่ีจะเรียนร้เู พ่ือน�ำไปใชใ้ นการฝกึ ซอ้ มเพอ่ี การแข่งขัน การสอนเทคนิคทกั ษะ การฝกึ สอน คอื การสอน และการสอนคอื การทำ� ใหน้ ักกีฬาเกิดการเรยี นรู้ การเรยี นรู้ คือ การพฒั นาความสามารถอยา่ งถาวรอันเนอื่ งมาจากการฝกึ หดั นักกีฬาที่มีความสามารถสูงและประสบความส�ำเร็จในการแข่งขันกีฬา จะต้องใช้เวลา ในการฝกึ หดั เปน็ เวลานาน โดยการแสดงทกั ษะไดเ้ ปลย่ี นแปลงและพฒั นาขนึ้ เรอ่ื ยๆ ซง่ึ ในตอนแรก ทเี่ ป็นผหู้ ัดใหม่จะมคี วามตัง้ ใจอยู่ทที่ กั ษะพ้ืนฐาน จะคอยคดิ อย่เู สมอว่าจะแสดงทกั ษะที่ถกู ตอ้ งได้ อยา่ งไร เมอ่ื การฝกึ หดั ผา่ นไป ความตง้ั ใจกเ็ ปลยี่ นไปยงั สว่ นอน่ื ของทกั ษะ อาจจะเปน็ ทกั ษะทส่ี งู ขน้ึ หรอื กศุ โลบายในการเล่น อาจจะกล่าวได้ว่า ภายหลังการฝึกหัด นักกีฬามีทักษะท่ีเปลี่ยนแปลงและพัฒนาจาก ผู้หัดใหม่ จนกลายเป็นผู้มีความช�ำนาญและมีความสามารถสูง การเปล่ียนแปลงและพัฒนานี้ ได้ด�ำเนินไปเป็นล�ำดับ ตามข้ันตอนของกระบวนการเรียนรู้ทักษะ ซึ่งประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ด้วยกัน คอื 1. ขนั้ หาความรู้ (Cognitive State) เม่ือผู้เรียนเริ่มเรียนทักษะใหม่ จะพบกับค�ำถามตัวเองเกี่ยวกับความรู้ในทักษะพื้นฐาน ของกีฬานั้นๆ เช่น ทักษะพ้ืนฐานที่ส�ำคัญมีอะไรบ้าง จะแสดงทักษะเหล่าน้ันอย่างไร ท�ำอย่างไร จงึ จะเลน่ ไดด้ ี กฎและกตกิ าการเลน่ มอี ะไรบา้ ง การนบั แตม้ มวี ธิ กี ารอยา่ งไร และอนื่ ๆ คำ� ถามเหลา่ นี้ ผเู้ รียนจะตอ้ งคิดค้นหาคำ� ตอบ ซึ่งอาจจะไดจ้ ากครูผสู้ อน จากหนงั สือวารสาร จากภาพยนตร์ หรอื จากเคร่ืองมือโสตทัศนปู กรณอ์ ื่นๆ นอกจากนอ้ี าจจะไดร้ ับค�ำตอบจากการฝึกหัดของตนเอง ดงั นน้ั ขน้ั แรกน้ีจงึ เรียกวา่ ขนั้ หาความรู้ คู่มือฝกึ อบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลลี าศ 25

ในข้ันหาความรู้ ผู้เรียนจะมีการแสดงทักษะท่ีผิดพลาดอยู่เสมอๆ ความสามารถในการ แสดงออกจะแปรผัน ผิดบ้าง ถูกบ้าง ผู้เรียนไม่ตระหนักถึงความผิดพลาดที่เกิดข้ึนและไม่รู้ว่า จะทำ� ใหด้ ขี น้ึ ในครง้ั ตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งไร มกี ารลองผดิ ลองถกู ตลอดเวลา กอ่ นการแสดงทกั ษะแตล่ ะครงั้ จะต้องคดิ ว่าจะท�ำอยา่ งไร ทำ� ใหก้ ารเคลอ่ื นไหวช้าไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ 2. ข้นั การเช่อื มโยง (Associative Stage) เปน็ การเชอ่ื มโยงระหวา่ งความรแู้ ละการฝกึ หดั ในขนั้ นผ้ี เู้ รยี นไดฝ้ กึ หดั ทกั ษะพน้ื ฐานมากขน้ึ และมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ความผิดพลาดซึ่งแต่ก่อนน้ันได้เกิดข้ึนอยู่เสมอๆ ได้ลดลงไป ผู้เรียนรู้ตัวว่าการแสดงทักษะของตนเองนั้นถูกหรือผิด สามารถที่จะแก้ไขและปรับปรุงให้ถูกต้อง และดขี น้ึ ได ้ เม่ือได้รับค�ำแนะน�ำทเี่ หมาะสม หรือจากการลองผิดลองถกู ของตนเอง ความสามารถ ที่แสดงออกมคี วามแปรผันน้อยลง มีความถกู ต้องและคงเสน้ คงวามากข้ึน 3. ขั้นอัตโนมตั ิ (Autonomous Stage) ภายหลังจากการฝึกหัดและมีประสบการณ์มากข้ึน ผู้เรียนจะมีการเปล่ียนแปลงไปสู่ ขั้นสุดท้ายของการเรียนรู้ คือ ข้ันอัตโนมัติ ในขั้นน้ีการแสดงทักษะจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว และ อัตโนมัติ ผู้เรียนไม่ต้องนึกถึงท่าทางการเคลื่อนไหว แต่จะมีความต้ังใจต่อส่วนของทักษะท่ีส�ำคัญ และยากขึ้น นอกจากนี้ผู้เรียนจะมีความตั้งใจต่อกุศโลบายในการเล่น เพ่ือที่ตนเองจะได้แสดง ความสามารถสูงสุด จะเห็นว่าก่อนท่ีผู้เรียนจะมีทักษะดีในกีฬาแต่ละประเภทน้ัน จะต้องผ่านขั้นตอนต่างๆ ของกระบวนการเรียนรู้ทักษะมาตามล�ำดับ การเรียนรู้จะด�ำเนินไปด้วยความรวดเร็วและมี ประสิทธภิ าพหรอื ไมน่ ้ัน ผฝู้ กึ สอนเปน็ ผมู้ อี ทิ ธิพลและบทบาทสำ� คญั ในการน้ี ในขั้นหาความรู้ ผู้ฝึกสอนจะต้องแก้ไขความผิดพลาดท้ังหลายที่เกิดขึ้นโดยอธิบายและ สาธติ การแสดงทกั ษะทถ่ี กู ตอ้ งใหผ้ เู้ รยี นไดร้ แู้ ละเขา้ ใจ ในกรณที ที่ กั ษะยากและซบั ซอ้ น อาจจะแบง่ แยก ทกั ษะนั้นออกเป็นสว่ นยอ่ ยๆ ใหผ้ เู้ รยี นฝกึ หดั ให้เวลาผู้เรยี นไดฝ้ กึ หัดมากขึ้น เมื่อผู้เรียนทำ� ผิดและ หมดก�ำลังใจในการฝึกหัด ก็ให้แรงจูงใจกระตุ้นให้ผู้เรียนพยายามมากข้ึนเมื่อเห็นว่าผู้เรียนท�ำได้ ถกู ตอ้ งกก็ ลา่ วคำ� ชมเชย จะเปน็ แรงหนนุ ใหผ้ เู้ รยี นแสดงทกั ษะนน้ั ไดถ้ กู ตอ้ งบอ่ ยครง้ั จนคงเสน้ คงวา ในทส่ี ดุ ถา้ มเี วลาผฝู้ กึ สอนควรใหค้ วามสนใจผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คลจะชว่ ยแกไ้ ขความผดิ พลาดไดต้ รงจดุ ส�ำหรับข้ันการเชื่อมโยงน้ันผู้ฝึกสอนควรให้เวลาผู้เรียนได้ฝึกหัดมากข้ึน ช่วยแก้ไขในส่วนละเอียด ของทักษะ ให้ข้อมูลที่เป็นผลย้อนกลับภายหลัง การแสดงทักษะอาจใช้เครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ เช่น วีดีโอเทปช่วยประกอบในการแก้ไขความผิดพลาด ส่วนในข้ันอัตโนมัติผู้ฝึกสอนควรให้ผู้เรียน ไดฝ้ กึ หดั ทกั ษะสว่ นทยี่ ากและซบั ซอ้ น สอนกศุ โลบายตา่ งๆ ทสี่ ำ� คญั ในการเลน่ และจดั ใหม้ กี ารแขง่ ขนั เพ่ือให้ผู้เรียนได้น�ำเอาทักษะที่ได้เรียนมาไปใช้ในสถานการณ์จริง อันจะเป็นการเพิ่มประสบการณ์ ในการแข่งขันให้ผ้เู รียน 26 คู่มอื ฝกึ อบรมผ้ฝู ึกสอนกีฬาลลี าศ

การสอนเทคนิคทักษะ 3 ขัน้ ตอน 1. ข้ันอธิบายและสาธิต การอธิบายและสาธิตจะช่วยให้นักกีฬาได้เรียนรู้จากการ เหน็ ตน้ แบบท่ีมคี วามสามารถสูงในเทคนคิ ทักษะนน้ั ขน้ั ตอนน้ีประกอบด้วย - การอธิบายและการสาธิต - เช่ือมโยงเทคนคิ ทักษะกบั เทคนิคท่ีไดเ้ รียนรมู้ าแล้ว - ตรวจสอบความเข้าใจ 2. ข้ันฝึกหัด ข้ันตอนน้ีจะให้นักกีฬาได้ฝึกหัดเทคนิคทักษะในทันทีหลังจากการอธิบาย และสาธิต การฝึกหัดน้ีสามารถกระท�ำได้ด้วยการฝึกหัดแบบส่วนรวมหรือแบบส่วนย่อย โดยมี หลักการดงั น้ี ชว่ งของการฝกึ หัด ผฝู้ กึ สอนกำ� หนดตารางฝกึ ซอ้ ม 2 ชว่ั โมงตอ่ วนั จะวางแผนการฝกึ ซอ้ มอยา่ งไร จะฝกึ ซอ้ ม โดยไม่หยุดพกั 2 ช่วั โมง หรือจะฝึก 2 ชว่ งๆ ละ 1 ชว่ั โมง พัก 10 นาที หรือจะฝึก 4 ชว่ งๆ ละ 30 นาท ี จากตัวอย่างทกี่ ลา่ วมาน้ผี ูฝ้ ึกสอนจะต้องมีหลกั การและเหตุผลที่จะเลือกวธิ ีฝกึ หัด ช่วงของการฝกึ หดั อาจแบง่ ออกได้ 2 ลกั ษณะ คือ 1) การฝึกหดั ช่วงยาว (Massed Practice) 2) การฝึกหัดช่วงสน้ั (Distributed Practice) การฝกึ หัดชว่ งยาว 1 ช่วั โมง การฝึกหัดช่วงส้ัน 20 นาท ี พกั 20 นาที พัก 20 นาที การฝึกหัดช่วงยาว คือ การฝึกหัดท่ีกระท�ำต่อเนื่องโดยไม่มีการหยุดพัก ผู้เรียนฝึกหัด 1 คร้ัง เปน็ เวลา 1 ชั่วโมง ส่วนการฝึกหัดชว่ งส้ัน คือ การฝึกหดั ท่ีแบง่ ออกเปน็ ชว่ งๆ และมกี ารหยุดพัก ระหว่างช่วงเวลาฝกึ หดั 1 ชวั่ โมง จะแบ่งออกเปน็ 3 ชว่ งๆ ละ 20 นาที พกั 5 นาที เปน็ ตน้ ไดม้ กี ารเปรยี บเทยี บประสทิ ธภิ าพระหวา่ งการฝกึ ทง้ั 2 วธิ ี พบวา่ การแสดงความสามารถ จากการฝึกหัดด้วยวิธีการฝึกหัดช่วงสั้นสูงกว่าการแสดงความสามารถจากการฝึกช่วงยาว อยา่ งไรกต็ าม หลงั จากหยดุ ไปแลว้ ทำ� การทดสอบเปรยี บเทยี บกนั อกี พบวา่ ทงั้ สองวธิ ไี มแ่ ตกตา่ งกนั การทดสอบครั้งหลังเป็นการวัดการคงอยู่ของการเรียนรู้ จึงสรุปได้ว่าความสามารถที่แสดงออก ในการฝึกหัดด้วยการฝึกหัดช่วงส้ันจะให้ผลดีกว่า แต่การเรียนรู้ซึ่งวัดจากการคงอยู่ของการเรียนรู้ ไม่แตกตา่ งกนั สาเหตทุ กี่ ารแสดงความสามารถจากการฝกึ หดั ชว่ งยาวตำ่� กวา่ ความสามารถจากการฝกึ หดั ช่วงสั้นอยู่ 3 ประการ คอื ประการแรก ผู้เรียนใช้เวลาในการฝึกหัดนานจะรู้สึกเหน่ือย ท�ำให้แสดงความสามารถ ไมไ่ ดเ้ ตม็ ท่ี ค่มู อื ฝึกอบรมผ้ฝู กึ สอนกฬี าลลี าศ 27

ประการทสี่ อง ผู้เรียนขาดแรงจงู ใจ ไม่ต้ังใจฝึกหัดเตม็ ความสามารถ ประการที่สาม ผู้เรียนไม่มีโอกาสท่ีจะส�ำรวจความผิดพลาดของตนเอง และไม่มีโอกาส แก้ไขความผิดพลาด ตรงกันข้าม ผู้เรียนท่ีฝึกช่วงส้ัน ได้มีโอกาสพักระหว่างการฝึกหัด มีแรงจูงใจที่จะฝึกหัด และสามารถนำ� ผลยอ้ นกลบั มาแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดของตนเอง จงึ มกี ารแสดงความสามารถสงู กวา่ กลมุ่ ท่ีฝึกด้วยการฝึกหัดช่วงยาว อย่างไรก็ตาม หลังจากหยุดไปแล้ว ท�ำการทดสอบการเรียนรู้พบว่า ทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน ท้ังนี้เพราะในระหว่างหยุดพักนั้น กลุ่มฝึกด้วยการฝึกหัดช่วงยาว ไดม้ โี อกาสแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดไดพ้ กั ผอ่ นและมแี รงจงู ใจในการกฬี า จงึ เกดิ การเรยี นรทู้ ไ่ี มแ่ ตกตา่ งกนั ในการพจิ ารณาวางแผนการฝกึ หดั พบวา่ จะเลอื กวธิ ฝี กึ หดั ชว่ งสน้ั หรอื วธิ ฝี กึ หดั ชว่ งยาวนน้ั จะตอ้ งคำ� นึงถงึ องคป์ ระกอบ 4 ประการดว้ ยกนั คือ 1) ความยากง่ายของทักษะ ถ้าทักษะยากซับซ้อน ควรฝึกหัดด้วยการฝึกหัดช่วงสั้น ถ้าทกั ษะง่ายควรฝกึ หดั ด้วยการฝึกหดั ชว่ งยาว 2) ระดับของทักษะผู้เรียน ถ้าผู้เรียนมีทักษะสูง ควรฝึกหัดด้วยการฝึกหัดช่วงยาว ถา้ มที ักษะตำ่� ควรฝึกหดั ด้วยการฝกึ หดั ชว่ งสนั้ 3) แรงจงู ใจ ถา้ ผเู้ รยี นมแี รงจงู ใจสงู ควรฝกึ หดั ดว้ ยการฝกึ หดั ชว่ งยาว และถา้ มแี รงจงู ใจตำ่� ก็ฝึกหดั ดว้ ยการฝึกหดั ชว่ งส้ัน 4) ความต้องการพลังงาน ถ้าผู้เรียนแข็งแรง อดทน ควรใช้วิธีการฝึกหัดช่วงยาว และถา้ ออ่ นแอ ควรใชว้ ิธฝี ึกหัดช่วงสน้ั การฝึกหัดแบบสว่ นรวม หรือแบบส่วนย่อย (Whole and Parts Practice) ในการสอนทกั ษะการเคลอ่ื นไหว ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนฝึกองค์ประกอบของทักษะทัง้ หมด ในเวลาเดียวกัน หรือฝึกองค์ประกอบของทักษะท่ีจะสอน การฝึกองค์ประกอบของทักษะท้ังหมด เรียกว่า การฝึกแบบส่วนรวม (Whole Practice) และการฝึกองค์ประกอบของทักษะท่ีจะสอน เรยี กว่า การฝึกแบบสว่ นยอ่ ย (Parts Practice) การฝึกแบบส่วนรวมอาจช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้สึกถึงความต่อเนื่อง และจังหวะของ องคป์ ระกอบทง้ั หมดของการเคลอ่ื นไหวไดด้ ี สว่ นการฝกึ แบบสว่ นยอ่ ยนนั้ ชว่ ยลดความซบั ซอ้ นของ ทกั ษะ และสามารถเนน้ การแยกทกั ษะแตล่ ะสว่ นใหถ้ กู ตอ้ ง กอ่ นทจ่ี ะรวมสว่ นยอ่ ยทงั้ หมดเขา้ ดว้ ยกนั จะเหน็ วา่ การฝกึ หดั ทงั้ สองวธิ ชี ว่ ยในการเรยี นรทู้ กั ษะของผเู้ รยี น อยา่ งไรกต็ ามเมอื่ พจิ ารณา ประสทิ ธภิ าพในการเรยี นรทู้ เ่ี กดิ ขน้ึ ในกรอบเวลาทเี่ ทา่ กนั แลว้ การฝกึ หดั ทง้ั สองวธิ ี ใหผ้ ลแตกตา่ งกนั ดังน้ันผู้สอนจึงเผชิญกับปัญหาในการตัดสินใจที่จะเลือกการฝึกแบบส่วนรวมหรือการฝึกแบบ ส่วนยอ่ ย 28 คู่มือฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลีลาศ

การเลือกวิธีการฝึกระหว่างการฝึกแบบส่วนรวม หรือการฝึกแบบส่วนย่อยสามารถ พจิ ารณาได้จากลกั ษณะ 2 ประการของทักษะท่ีตอ้ งการฝึกนัน้ ไดแ้ ก่ 1) ความซับซอ้ นของงานหรือ ทักษะ (Task Complexity) และ 2) การจดั ระเบยี บของงานหรือทักษะ (Task Organization) ความซับซ้อนของงานหรอื ทักษะ หมายถึง จำ� นวนสว่ นประกอบของทกั ษะ และความ ตง้ั ใจในการแสดงทกั ษะ เมอื่ สว่ นประกอบเพม่ิ ขน้ึ ความตง้ั ใจในการแสดงทกั ษะเพมิ่ ขนึ้ ความซบั ซอ้ น ของงานก็เพิ่มข้ึนด้วย ตัวอย่างเช่น การเล่นยิมนาสติก การเต้นร�ำท่าท่ียาก การว่ิงไลน์รักบ้ี เป็นทักษะท่ีมีความซับซ้อนค่อนข้างสูง ส่วนการยกน้�ำหนักท่าเพลส เป็นทักษะท่ีมีความซับซ้อน คอ่ นข้างต�ำ่ การจัดระเบยี บของงานหรือทกั ษะ หมายถงึ ความสัมพันธ์ตอ่ เน่อื งของส่วนประกอบทกั ษะ ทมี่ คี วามสมั พนั ธก์ นั อยา่ งใกลช้ ดิ จะมกี ารจดั ระเบยี บของงานสงู เชน่ การกระโดดยงิ ประตบู าสเกตบอล ทักษะที่มีส่วนประกอบเป็นอิสระไม่สัมพันธ์กัน จะมีการจัดระเบียบทักษะต่�ำ เช่น การเต้นร�ำ ทา่ งา่ ยๆ บางท่า การฝกึ หดั จะเปน็ แบบสว่ นรวม หรอื สว่ นยอ่ ย จะตอ้ งพจิ ารณาลกั ษณะของงานหรอื ทกั ษะ ที่สำ� คัญ คอื ความซบั ซอ้ นและการจัดระเบียบ ถา้ ทักษะมคี วามซับซอ้ นต่ำ� และการจดั ระเบยี บสูง ทกั ษะน้ีควรใช้การฝึกแบบสว่ นรวม แต่ถ้าทกั ษะมีความซบั ซอ้ นสงู และการจัดระเบียบต�่ำ ควรใช้ การฝกึ หดั แบบสว่ นยอ่ ยจะใหผ้ ลดที สี่ ดุ ในการฝกึ หดั แบบสว่ นยอ่ ยนนั้ ถา้ สว่ นใดเปน็ อสิ ระ ควรแยก ฝกึ สว่ นยอ่ ยนั้นๆ แต่ส่วนใดมีความสัมพันธ์กัน ควรฝกึ สว่ นเหล่านน้ั เปน็ หนว่ ยเดยี วกัน 3. ขน้ั ตรวจสอบความถกู ต้อง ท่านอาจจะได้ยนิ คำ� กล่าวที่ว่า “การฝึกหัดท�ำให้สมบูรณ์” ซึ่งมักจะพดู ถึงเสมอๆ ในการ ฝึกซ้อมหรือเรียนรู้ทักษะกีฬา ค�ำกล่าวน้ีอาจหมายความว่า ถ้าฝึกหัดมากเท่าไหร่ ความสามารถ ก็จะพัฒนามากข้ึนเท่านั้น จะเป็นจริงมากน้อยเพียงใดลองพิจารณาดูให้ดี ในการฝึกหัดย่อมจะมี ความผิดพลาดไปจากการแสดงทักษะท่ีถูกต้องเกิดข้ึน ถ้าผู้เรียนรู้จักแก้ไขความผิดพลาดก็จะลด น้อยลงไป จนกระท่ังการแสดงทักษะนั้นถูกต้อง ถ้าเป็นเช่นน้ีการฝึกหัดมากครั้งจะท�ำให้ความ สามารถพัฒนาข้ึนเป็นล�ำดับ ตรงกันข้ามถ้าผู้เรียนฝึกหัดอย่างผิดๆ ไม่รู้ข้อบกพร่องของตนเอง หรอื ถงึ แมจ้ ะรแู้ ตไ่ มอ่ าจแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ งได้ การฝกึ หดั มากครงั้ ทำ� นองนกี้ ไ็ มไ่ ดช้ ว่ ยใหม้ คี วามสามารถ มากขึ้น การรู้ความผิดพลาดในการแสดงทักษะครั้งหนึ่ง แล้วน�ำมาปรับปรุงแก้ไขการกระท�ำ ครง้ั ตอ่ ไปใหด้ ขี นึ้ เปน็ สง่ิ สำ� คญั ในการเรยี นรทู้ กั ษะ ดงั นนั้ คำ� กลา่ วทถี่ กู ตอ้ งควรเปน็ “การฝกึ หดั ดว้ ย ผลย้อนกลับจะทำ� ใหส้ มบรู ณ์” คมู่ ือฝกึ อบรมผ้ฝู กึ สอนกีฬาลีลาศ 29

ผลย้อนกลับ (Feedback) ผลย้อนกลับ หมายถึง ข้อมูลหรือข่าวสารท่ีบุคคลได้รับในระหว่างแสดงทักษะ หรือ ภายหลังการแสดงทักษะ รปู ภาพท่ี 1 แสดงถึงกระบวนการข่าวสารอย่างงา่ ยๆ ส่งิ เร้าหรือขา่ วสาร ที่ผู้เรียนได้รับในความรู้สึกต่างๆ ได้แก่ เสียง สัมผัส ความรู้สึกภายในจากข้อต่อ ปลายเอ็นของ กล้ามเนือ้ กล้ามเนอ้ื กระสวย เป็นตน้ จะถูกสง่ ไปยังกลไกกระบวนการข่าวสารส่วนกลาง เป็นผลให้ เกิดการตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือข่าวสารนั้นขึ้น การตอบสนองนี้ได้ย้อนกลับมาเป็นข้อมูลเพื่อช่วย ให้ผเู้ รยี นเปรยี บเทยี บกับการตอบสนองท่ถี กู ตอ้ ง ซ่ึงไดก้ �ำหนดไว้กอ่ น การยงิ ลูกโทษบาสเกตบอล ห่างจากตาข่าย 2 ฟุต การได้คะแนนในการแสดงทักษะ 8 จาก 10 คะแนน การปรบมือ แสดงความยนิ ดี การกล่าวชม การบอกข้อผิดพลาดจากครู เหล่านีเ้ ปน็ ตัวอยา่ งของผลยอ้ นกลับ ส่งิ เรา้ กระบวนการส่วนกลาง การตอบสนอง (Stimulus) (Central Processing) (Respones) ผลยอ้ นกลับ (Feedback) รปู ภาพ กระบวนการขา่ วสาร ชนดิ ของผลยอ้ นกลับ ผลยอ้ นกลบั ภายใน (Intrinsic Feedback) ผลย้อนกลับภายใน หมายถึง ผลย้อนกลบั ทเ่ี กดิ จากตัวผ้เู รียนเอง แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ชนดิ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ผลยอ้ นกลบั ภายในขณะแสดงทกั ษะ (Concurrent Intrinsic Feedback) เปน็ ขอ้ มลู หรือข่าวสารท่ีเกิดขึ้นกับผู้เรียนขณะแสดงทักษะข่าวสารน้ีย้อนกลับไปเป็นข่าวสารใหม่ให้ผู้เรียน ใช้เปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานที่วางไว้ เพ่ือแก้ไขการแสดงทักษะให้ถูกต้อง ข่าวสารนี้ ได้รบั จากประสาทรบั ความรู้สกึ ตา่ งๆ ทส่ี ำ� คญั ไดแ้ ก่ การมองเห็น การไดย้ ิน และความรู้สึกภายใน เก่ียวกับการเคลอ่ื นไหว ตัวอย่าง ขณะเลี้ยงฟุตบอลเข้าไปยิงประตู ผู้เล่นจะต้องเล้ียงหลบคู่ต่อสู้ การมองเห็น คตู่ อ่ สเู้ ขา้ มาสกดั กนั้ จะเปน็ ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั ไปใหผ้ เู้ ลน่ เปลย่ี นทศิ ทางในการเลยี้ งลกู ปรบั การเลยี้ งลกู เพอ่ื หาโอกาสยงิ ประตู ในขณะเดยี วกนั ผเู้ ลน่ อาจจะไดย้ นิ เสยี งเรยี กจากเพอ่ื นรว่ มทมี เพอื่ ชว่ ยในการ 30 คู่มือฝึกอบรมผฝู้ ึกสอนกีฬาลลี าศ

ตดั สนิ ใจทจ่ี ะสง่ ลกู หรอื เลย้ี งลกู ตอ่ ไป นอกจากนี้ ผเู้ ลน่ ยงั ไดร้ บั ผลยอ้ นกลบั เกยี่ วกบั การเคลอื่ นไหว จากประสาทรับความรู้สึกภายในท่ีอยู่ตามข้อต่อปลายเอ็นของกล้ามเน้ือ กล้ามเน้ือกระสวย และหชู ั้นในเพอ่ื ให้กล้ามเน้อื ทำ� งานสัมพันธก์ นั ดยี ิ่งขึ้น 2. ผลย้อนกลับภายในหลังการแสดงทักษะ (Terminal Intrinsic Feedback) เป็นข่าวสารทีเ่ กิดขน้ึ กับผ้เู รียนภายหลงั การแสดงทักษะไดส้ น้ิ สดุ ลงแลว้ ตัวอยา่ งเช่น ภายหลงั การ ยงิ ประตฟู ตุ บอล ผเู้ ลน่ จะรวู้ า่ ลกู บอลเขา้ หรอื ไมเ่ ขา้ ประตู หา่ งจากประตใู นทศิ ทางใด และมากนอ้ ย เพยี งใด และในการเสริ ฟ์ ลกู เทนนิสเมื่อเสิร์ฟไปแล้วผ้เู ลน่ จะรูว้ ่าลูกลงคอรท์ เสริ ฟ์ หรอื ออกคอร์ทเสิรฟ์ การแสดงทักษะท่ีถูกต้องหรือผิดพลาดนี้จะเป็นข้อมูลที่ผู้เล่นได้รับ และสามารถน�ำมาปรับปรุง การแสดงทักษะครั้งต่อไปได้ ผลย้อนกลับเสรมิ (Augmented Feedback) ผลยอ้ นกลบั เสรมิ หมายถงึ ผลยอ้ นกลบั ทไี่ ดร้ บั จากแหลง่ ภายนอก อาจเปน็ ครผู สู้ อนหรอื เครือ่ งมอื โสตทศั นปู กรณ์ เชน่ วิดโี อเทป ภาพยนตร์ รปู ภาพ และอน่ื ๆ ผลยอ้ นกลับชนิดนี้ มคี วาม สำ� คญั ตอ่ การเรียนการสอนมาก ทั้งนเี้ พราะผลย้อนกลบั ทีเ่ กิดข้ึนในตัวผเู้ รยี นเองนั้น ยังไมเ่ พียงพอ จะปรับปรุงแก้ไขข้อผิดพลาด ยังต้องการผลย้อนกลับเสริมจากครูหรืออุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ เพ่มิ เตมิ ผลย้อนกลับเสริมชนดิ นย้ี งั แบ่งออกได้เปน็ 2 ชนดิ คือ 1. ผลย้อนกลับเสริมขณะแสดงทักษะ (Concurrent Augmented Feedback) เปน็ ผลยอ้ นกลบั ทีไ่ ด้รบั จากแหล่งภายนอก ในขณะทผี่ ู้เรยี นกำ� ลงั แสดงทักษะ ตวั อยา่ งเช่น ครูบอก ให้นักเรียนเลี้ยงลูกต�่ำลง สูงข้ึน วิ่งเร็วขึ้น วิ่งช้าลง ในขณะเลี้ยงลูกบาสเกตบอล และผู้ฝึกสอน บอกใหน้ กั เทนนิสถอยหลงั กา้ วไปขา้ งหน้าในการฝกึ หัดตบลกู เทนนสิ เปน็ ต้น 2. ผลย้อนกลับเสริมหลังการแสดงทักษะ (Terminal Augmented Feedback) เป็นผลย้อนกลับที่ได้จากแหล่งภายนอกหลังการแสดงทักษะได้ส้ินสุดลงแล้ว ผลย้อนกลับชนิดน้ี แบง่ ออกเปน็ 2 ชนิด คือ 2.1 การรู้ผล (Knowledge of Result) เป็นผลย้อนกลับเสริมที่ได้รับจาก แหลง่ ภายนอก ภายหลงั การแสดงทกั ษะไดส้ น้ิ สดุ ลง ขา่ วสารนจ้ี ะบอกถงึ ผลการกระทำ� ขนาดความ ผดิ พลาดทเ่ี กิดขนึ้ เพอื่ เปรียบเทียบกับเกณฑม์ าตรฐาน หรอื จดุ มงุ่ หมายท่ีกำ� หนดไว้ เชน่ ครูบอกให้ ผ้เู รยี นทราบว่าในการแสดงทักษะหนง่ึ ผูเ้ รยี นได้คะแนน 8 คะแนน จาก 10 คะแนน หรอื ผเู้ รยี น เสิร์ฟลูกเทนนิสไดเ้ กอื บถกู ตอ้ งแลว้ เป็นต้น 2.2 การรู้ทาง (Knowledge of Performance) เป็นผลย้อนกลับเสริม จากแหล่งภายนอกทใ่ี หข้ ่าวสารเกยี่ วกบั รูปแบบการเคลอ่ื นไหว เช่น จงั หวะ ระยะห่าง ล�ำดบั และ ขนาดของแรง เปน็ ต้น คู่มอื ฝกึ อบรมผ้ฝู ึกสอนกฬี าลีลาศ 31

ตวั อยา่ ง ในการเรียนยืดหยุน่ ครูบอกผเู้ รียนว่าการแสดงทา่ ม้วนหนา้ ผเู้ รียนได้ 8 คะแนน จาก 10 คะแนน หรอื เกอื บถูกตอ้ งแลว้ จะเป็นการบอกการรูผ้ ล แตถ่ า้ ครอู ธบิ ายให้ผู้เรียนทราบว่า ควรเก็บคางใหม้ ากข้ึน และถีบเท้าให้แรงข้ึนอีกเล็กน้อย จะเป็นการบอกการรู้ทา่ ทาง บทบาทของผลย้อนกลบั เป็นที่ยอมรับว่าผลย้อนกลับท�ำหน้าที่ช่วยในการเรียนรู้ทักษะให้มีประสิทธิภาพ ความสำ� คัญของผลย้อนกลบั น้ันอาจกลา่ วได้ 3 บทบาท คอื 1. ผลย้อนกลับท�ำหน้าที่แก้ไขข้อผิดพลาด (Correction) ผลย้อนกลับจะเป็นข้อมูล ท่ีบอกให้ผู้เรียนรู้ว่าการแสดงทักษะของตนอยู่ห่างจากเกณฑ์มาตรฐานหรือเป็นการแสดงทักษะ ทถ่ี กู ตอ้ งมากนอ้ ยเพยี งใด ผเู้ รยี นจะไดน้ ำ� ขอ้ มลู เหลา่ นนั้ มาแกไ้ ขการกระทำ� ของตนเองในครงั้ ตอ่ ไป ความผดิ พลาดทเี่ กดิ ขนึ้ ครงั้ กอ่ นๆ กจ็ ะถกู ขจดั ออกไปจนกระทงั่ การแสดงทกั ษะนนั้ ถกู ตอ้ งถงึ เกณฑ์ หรือมาตรฐานทวี่ างไว้ 2. ผลยอ้ นกลบั ทำ� หนา้ ทเ่ี สรมิ แรง (Reinforcement) ในทนี่ หี้ มายถงึ การทผี่ ลยอ้ นกลบั กระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นรกั ษาการแสดงทกั ษะทถี่ กู ตอ้ งคงเสน้ คงวาอยเู่ สมอ การทคี่ รบู อกผเู้ รยี นวา่ ถกู ตอ้ งแลว้ ดีแล้ว หรือการได้คะแนนเต็มจะช่วยให้ผู้เรียนต้ังใจที่จะแสดงทักษะให้ถูกต้องสม�่ำเสมอ เป็นผลให้ การเรียนรู้ทักษะน้ันมีการเปล่ียนแปลงค่อนข้างถาวร การแสดงทักษะก็จะมีประสิทธิภาพมากข้ึน พร้อมทจี่ ะเรียนรูใ้ นระดบั สงู ต่อไป 3. ผลย้อนกลับท�ำหน้าท่ีเป็นแรงจูงใจ (Motivation) จะกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความ พยายามมากขนึ้ ขยันฝกึ ซ้อมมากขนึ้ จนกระทัง่ มที กั ษะเปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีก�ำหนดไว้ การที่ครูแจ้ง ใหผ้ ู้เรยี นทราบวา่ ไดค้ ะแนน 8 จาก 10 คะแนน จะเป็นข้อมูลบอกว่าตนเองอยูห่ ่างจากจดุ หมาย ปลายทางเพียง 2 คะแนนเท่าน้ัน ข้อมูลนี้จะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนพยายามฝึกหัดมากย่ิงข้ึน เพือ่ ทจ่ี ะได้บรรลุจุดมุง่ หมายปลายทางทวี่ างไว้ ดังน้ัน จะเห็นว่าผลย้อนกลับช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน โดยท�ำ หน้าท่ีแก้ไขข้อผิดพลาด กระตุ้นให้ผู้เรียนรักษาความสามารถให้สูงอยู่เสมอ และกระตุ้นให้ผู้เรียน พยายามบรรลุจุดหมายปลายทางทวี่ างไว้ การสอนแทคตกิ การคาดการณล์ ว่ งหนา้ นกั กฬี าทมี่ ที กั ษะสามารถคาดการณล์ ว่ งหนา้ ไดถ้ กู ตอ้ ง ทำ� ใหเ้ กดิ การเคลอ่ื นไหวได้เร็วและมีประสิทธิภาพ การคาดการณ์ลว่ งหน้าอาจกระทำ� ไดใ้ น 2 ลกั ษณะ ลักษณะท่ี 1 การคาดการณ์ล่วงหนา้ จากการรบั รู้ (Perceptual Anticipation) หมายถึง การคาดการณ์ลว่ งหน้าจากขอ้ มูลท่ไี ดศ้ ึกษาสังเกตมาก่อน ลกั ษณะที่ 2 การคาดการณ์ล่วงหน้าจากขอ้ มูลปัจจบุ ัน (Receptive Anticipation) 32 คูม่ อื ฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกฬี าลลี าศ

กศุ โลบายในการเรยี นรู้ (Learning Strategy) การสอนท่ีดแี ละมปี ระสิทธภิ าพจะต้องค�ำนงึ ถงึ วัตถุประสงค์ 3 ประการด้วยกนั คอื ประการแรก การสอนจะต้องท�ำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้เร็ว ประหยัดทั้งเวลา และค่าใชจ้ า่ ย ประการทสี่ อง การสอนจะต้องส่งเสริมการเรียนรู้ของทักษะที่ได้เรียนมาแล้ว ใหค้ งอยูน่ าน สามารถแสดงทกั ษะออกมาได้ดี ถึงแม้จะหยุดฝกึ หัด ประการทีส่ าม การสอนจะต้องเตรียมผู้เรียนให้พร้อมเพื่อท่ีจะเผชิญสถานการณ์ใหม่ สามารถน�ำเอาการเรียนรูท้ ีเ่ กดิ ขึน้ ไปใชใ้ นอนาคต การสอนแต่เพียงเน้ือหาการเคล่ือนไหวเพียงอย่างเดียวจะไม่เกิดผลดี อีกท้ังจะต้องเสีย เวลาและคา่ ใชจ้ า่ ยมาก ฉะนนั้ การสอนกศุ โลบายควบคกู่ บั การสอนเนอื้ หาการเคลอ่ื นไหว จะชว่ ยเนน้ สิ่งส�ำคัญในการเรียน ช่วยจัดระเบียบการจ�ำเนื้อหา ช่วยควบคุมและตรวจสอบการแสดง ความสามารถ และเตรยี มผูเ้ รียนเผชิญสถานการณใ์ หม่ นักจิตวิทยาได้ให้ค�ำจ�ำกัดความ กุศโลบาย (Strategy) หมายถึง การจัดกระบวนการ ทางความคดิ ทเี่ หมาะสมเพอ่ื ใหก้ ารกระทำ� บรรลเุ ปา้ หมายทต่ี ง้ั ไว้ โดยทวั่ ไปกศุ โลบาย แบง่ ออกเปน็ 2 ชนิด คือ 1. กุศโลบายเฉพาะ (Specific Strategy) กุศโลบายชนดิ นี้จะวางแผนเฉพาะเจาะจง เพือ่ ใช้ในแตล่ ะสถานการณ์ 2. กุศโลบายทั่วไป (General Strategy) จะสามารถน�ำไปใช้ได้ในสถานการณ์ต่างๆ ท่มี ีลักษณะคล้ายคลงึ กนั กุศโลบายทั่วไปท่ีได้รับการยอมรับว่าช่วยท�ำให้การเรียนรู้ด�ำเนินไปด้วยความรวดเร็ว ผเู้ รยี นจดจำ� ทกั ษะไดน้ าน และนำ� ไปใชไ้ ดใ้ นสถานการณต์ า่ งๆ ไดแ้ ก่ การพดู เปน็ จงั หวะ การกำ� หนด ตัวแทนการเคลอื่ นไหว การจับกลมุ่ การถา่ ยทอดขอ้ ความและจินตภาพ การพดู เปน็ จังหวะ (Rhythmic Verbalization) ในการใช้กุศโลบายนี้ในการสอนทักษะ ให้ผู้เรียนนับเสียงดังควบคู่กับการเคล่ือนไหว แต่ละสว่ น วิธีการพดู เปน็ จังหวะนี้ชว่ ยทำ� ให้ผูเ้ รยี น 1. มคี วามตั้งใจต่อส่วนของทกั ษะท่มี ีความสำ� คญั 2. ควบคมุ จังหวะของการแสดงทักษะ 3. ชว่ ยพฒั นาความสมั พนั ธแ์ ละต่อเนื่องกันของทกั ษะสว่ นต่างๆ คมู่ ือฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกีฬาลีลาศ 33

จนิ ตภาพ (Imagery) จินตภาพ คือ การสร้างภาพการเคลื่อนไหวในใจก่อนการแสดงทักษะจริง ถ้าภาพในใจ ทส่ี ร้างขน้ึ ชัดเจน และมีชีวิตชวี ามาก ก็จะชว่ ยให้การแสดงทักษะจริงได้ผลดมี ากขน้ึ วธิ ีการฝกึ หดั จินตภาพแบ่งออกเป็น 2 วธิ ี ได้แก่ 1. การฝกึ จินตภาพภายใน คือ การสร้างภาพการเคล่ือนไหวของตนเองในใจก่อนการ แสดงทักษะจริง และให้เกิดความรู้สึกเกี่ยวกับการเคล่ือนไหวในขณะเดียวกันด้วย วิธีนี้เหมาะสม กับนักกีฬาที่มีทักษะสูง รู้การแสดงทักษะท่ีถูกต้อง และให้ผลดีกว่าการจินตภาพภายนอก เพราะเป็นการท�ำให้ความรู้สกึ เคลอื่ นไหวเกิดขึน้ ควบคู่กับการจนิ ตภาพ 2. การฝึกจินตภาพภายนอก คือ การสร้างภาพการแสดงทักษะของตนเองหรือ บุคคลอ่ืนในใจก่อนการแสดงทักษะจริง อาจเป็นภาพการเคล่ือนไหวของครูผู้สาธิต หรือนักกีฬา ทีม่ ีความสามารถสงู ภาพทีส่ รา้ งข้ึนอยู่ภายนอก เหมอื นกับภาพปรากฏบนจอโทรทัศน์ วธิ กี ารฝึกนี้ เหมาะส�ำหรับผหู้ ัดใหม่ทย่ี ังไม่ร้วู ิธกี ารแสดงทักษะที่ถกู ตอ้ ง สมาธิ : การรวมความตงั้ ใจ (Concentration: Attention Focusing) ปัญหาท่ีส�ำคัญที่สุดในการเล่นกีฬาไม่ว่าจะเป็นการแข่งขันหรือการฝึกซ้อม คือการขาด สมาธิ จิตใจทส่ี ับสนลังเลไมม่ ีสมาธิจะกอ่ ให้เกดิ ความผิดพลาดในระหวา่ งการแสดงความสามารถ สมาธิ หมายถงึ การรวมความต้งั ใจตอ่ ส่ิงหนึ่งทส่ี ำ� คญั โดยไม่สนใจต่อสง่ิ อน่ื และการรกั ษา ความตั้งใจต่อส่ิงน้ันเป็นเวลานาน เป็นที่ยอมรับว่าการรวมความตั้งใจท่ีเหมาะสม จะน�ำไปสู่ การแสดงความสามารถทสี่ ูง การรวมความต้ังใจต่อสิ่งส�ำคัญ หมายถึง การรวมความตั้งใจต่อส่ิงช้ีแนะท่ีส�ำคัญ สงิ่ ชี้แนะทไ่ี ม่เก่ียวข้องต้องก�ำจดั และไม่สนใจ การรักษาความตัง้ ใจใหน้ าน การรกั ษาความตงั้ ใจใหน้ านในระหวา่ งการแขง่ ขนั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของสมาธิ นกั กฬี าหลายคน มีช่วงเวลาท่ีส�ำคัญเล่นได้ดีมากในช่วงหนึ่ง แต่มีนักกีฬาไม่มากนักท่ีจะรักษาการเล่นให้สูงตลอด การแข่งขัน การรักษาความต้ังใจให้นานไม่ใช่สิ่งท่ีท�ำได้ง่ายๆ ดังน้ัน การขาดสมาธิเพียงช่ัวครู่หน่ึง มคี ่าถึงกบั สูญเสยี ตำ� แหน่งแชมป์ วธิ กี ารฝึกสอนกีฬา (Coaching Methods) วิธีการฝึกสอน จะมคี วามแตกต่างไปตามบรบิ ททางกฬี า ผฝู้ ึกสอนท่ถี กู ว่าจ้างจากสโมสร เพื่อท�ำให้สโมสรประสบความส�ำเร็จ ในการแข่งขันอาจจะต้องพิจารณาวิธีการฝึกสอนจากความ ตอ้ งการของเจา้ ของทมี ในขณะทผี่ ฝู้ กึ สอนทถี่ กู นกั กฬี าเชญิ ใหเ้ ปน็ ผฝู้ กึ สอนอาจจำ� เปน็ ตอ้ งมวี ธิ กี าร 34 ค่มู อื ฝึกอบรมผ้ฝู กึ สอนกีฬาลีลาศ

ฝึกสอนที่ตอบสนองต่อความต้องการของนักกีฬามาใช้ ซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญมากที่ผู้ฝึกสอนจะต้อง สามารถรู้ได้ว่าวิธีการฝึกสอนของพวกเขาต้องได้รับการแก้ไข เพ่ือให้เกิดการตอบสนองที่มี ประสทิ ธิภาพ ในเรอ่ื งของรปู แบบหรอื สไตลใ์ นการฝกึ สอน ผฝู้ กึ สอนจะตอ้ งสามารถใชร้ ปู แบบการฝกึ สอน ทห่ี ลากหลายเพอ่ื ทำ� ใหน้ กั กฬี าไดเ้ รยี นรู้ นกั กฬี าหลายคนตอ้ งการคำ� แนะนำ� ในเชงิ ลกึ และการอธบิ าย ผู้ฝกึ สอนต้องมีวิธีการสอนที่หลากหลายและมีความสามารถ ดงั น้ี 1. ให้คำ� แนะนำ� อยา่ งตรงไปตรงมา 2. ซกั ถามเก่ียวกบั การอำ� นวยความสะดวก 3. ลดความเจ้ากเี้ จา้ การและความเป็นระเบียบวินยั ทพ่ี วกเขาท�ำ 4. เพ่มิ ความรบั ผิดชอบในการแสดงความสามารถของนักกีฬา 5. พฒั นาความสามคั คีระหว่างนกั กีฬาแตล่ ะคน 6. เป็นตัวอย่างทด่ี ี 7. ก�ำหนดความรบั ผดิ ชอบและความเกย่ี วข้องกบั ผลของการแขง่ ขัน 8. พัฒนาการตัดสินใจและการแก้ปัญหาของนกั กีฬา ทักษะในการสอื่ สาร (Communication Skills) การติดต่อกับความต้องการท่ีหลากหลายของนักกีฬาและทีมเป็นส่วนส�ำคัญของงาน ในด้านการฝึกสอน จึงจ�ำเป็นต้องมีวิธีการสื่อสารที่หลากหลายเพื่อการส่งต่อข้อมูลอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ โดยทักษะในการสอื่ สารมกั ประกอบไปดว้ ย 1. การนำ� เสนอขอ้ มลู ในรปู แบบของการเขยี น การพดู สญั ลกั ษณ์ และรปู แบบของภาพ และเสียง 2. ทักษะในการฟงั 3. การยตุ ิความขัดแย้ง 4. ความสามารถในการต่อรองและใหผ้ ลย้อนกลับทีแ่ ม่นยำ� บริบทของกีฬา (Sport Context) รูปแบบหรอื สไตลใ์ นการฝึกสอน (Coaching Styles) มี 3 เงอ่ื นไขทีเ่ ปน็ สัญญาณตอ่ การ ฝึกสอนทมี่ ีประสิทธิภาพ นักกีฬาจะต้อง 1. ใชเ้ วลาในการเรียนรทู้ ่ีเหมาะสม 2. ใชโ้ อกาสในการเรียนรทู้ ีเ่ หมาะสม 3. ไดร้ ับการฝกึ ท่ีดีท่ีสดุ ท่ีจะช่วยให้พวกเขาเกดิ การเรยี นรู้ คู่มอื ฝึกอบรมผฝู้ ึกสอนกีฬาลลี าศ 35

ซงึ่ มบี างเทคนคิ ในการฝกึ เทา่ นน้ั ทรี่ บั ประกนั วา่ จะสง่ ผลตอ่ เงอื่ นไขทง้ั สามขอ้ ยกตวั อยา่ ง เชน่ การฝกึ ในสนามฝึกตี (Driving Range) ของนกั กฬี ากอลฟ์ การฝึกกับตาขา่ ยในกฬี าครกิ เกต็ การให้ค�ำแนะน�ำอยา่ งตรงไปตรงมา (Direct instruction) การให้ค�ำแนะน�ำอย่างตรงไปตรงมาเป็นวิธีการหน่ึงที่ช่วยให้นักกีฬาได้ใช้เวลาส่วนใหญ่ ของพวกเขาอยกู่ ับการฝึกซอ้ ม โดยวิธีการทม่ี ีคณุ ภาพ คอื 1. ต้ังความคาดหวังท่ีสูงแต่เปน็ ไปได้ 2. เปน็ ผฝู้ กึ สอนทก่ี ระตอื รอื รน้ ในการใหผ้ ลยอ้ นกลบั ทถี่ กู ตอ้ งและคำ� แนะนำ� ทม่ี คี ณุ ภาพ 3. ใหค้ ำ� แนะนำ� เก่ียวกบั ความสามารถของนกั กีฬาอย่างใกลช้ ดิ 4. ทำ� ใหน้ ักกีฬามคี วามรับผิดชอบ 5. การกำ� หนดงานท่สี ่งผลกับความส�ำเรจ็ ในระดบั สูง 6. มีการนำ� เสนอ ความกระตอื รือรน้ และความอบอนุ่ ท่ีชัดเจน การซักถามเกยี่ วกับการอำ� นวยความสะดวก (Facilitative questioning) การซักถามเก่ียวกับการอ�ำนวยความสะดวก เป็นรูปแบบของการฝึกท่ีมีจุดมุ่งหมาย เพ่ือเพ่ิมการตัดสินใจและการแก้ปัญหาทักษะของนักกีฬา ส่วนใหญ่แล้วในการเล่นกีฬาผู้ฝึกสอน ไมส่ ามารถทจี่ ะออกคำ� สงั่ ไดใ้ นระหวา่ งเกมหรอื ในบางกฬี ากท็ ำ� ไดจ้ ากขา้ งสนามเทา่ นน้ั ซงึ่ เปน็ ระยะ ท่ีห่างเกินกว่าจะท�ำการสาธิตได้ นักกีฬาท่ีได้รับการฝึกการแก้ปัญหาและการตัดสินใจด้วยตัวเอง สามารถเปล่ียนแปลงเกมของพวกเขาระหว่างการแข่งขันและยังสามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหวา่ งสาเหตุและผลกระทบเกย่ี วกับเทคนิคและแผนการเลน่ ของพวกเขาได้ การเพมิ่ ความรับผิดชอบของนกั กฬี า (Increasing athlete responsibility) นักกีฬาที่มีการพัฒนาในเร่ืองของความรับผิดชอบเกี่ยวกับความสามารถของตนเอง และทมี พรอ้ มๆ กบั ความสามารถในการจดั การตนเองจะทำ� ใหผ้ ฝู้ กึ สอนทำ� งานไดง้ า่ ยยง่ิ ขน้ึ ผฝู้ กึ สอน ในทีมเยาวชนมักรู้สึกถึงความกดดันในบางคร้ัง เน่ืองจากความเชื่อท่ีว่าผู้ฝึกสอนต้องเป็นผู้จัดการ ทุกอย่างในทีม ขณะที่การจัดการและการควบคุมทีมท่ีมีคุณภาพเป็นตัวช้ีวัดถึงการเป็นผู้ฝึกสอนที่ดี นักกีฬาที่มีการจัดการและควบคุมตนเองได้ดีก็มีโอกาสท่ีจะเป็นผู้ฝึกสอนที่ดีในอนาคตได้ ส่งิ ที่เกย่ี วข้องกับการพฒั นาเรอื่ งของความรบั ผิดชอบของนักกฬี า ผู้ฝกึ สอนจะต้อง 1. ชนื่ ชมนกั กฬี าทสี่ นบั สนนุ คนอน่ื ๆ ในทมี เพอื่ เปน็ การเรมิ่ ตน้ การสรา้ งความรบั ผดิ ชอบ 2. หลีกเลยี่ งการตดั สนิ นักกีฬา โดยใหถ้ ือว่าพวกเขาไดใ้ ชค้ วามพยายามเตม็ ที่แล้ว 36 ค่มู อื ฝึกอบรมผฝู้ ึกสอนกีฬาลลี าศ

3. ทำ� ตัวเปน็ แบบอยา่ งท่ีดี 4. แสดงความคาดหวังท่ีชดั เจนจากนักกีฬาต้งั แต่เรมิ่ ตน้ ฝกึ ซ้อม 5. ต�ำหนิพฤตกิ รรม แตไ่ ม่ต�ำหนนิ ักกฬี าเปน็ รายคน 6. สละเวลาในการอธิบายเหตุผลของกิจวัตรประจ�ำวันท่ีหลากหลายที่จะส่งผลต่อ การจดั การและความสามารถ 7. ต้องแน่ใจว่านักกีฬาจะรู้ว่าความผิดพลาดของพวกเขาไม่ส่งผลต่อความเช่ือมั่นของ ผ้ฝู กึ สอนท่ีมตี อ่ นักกีฬา 8. ยอมรับการช่วยเหลือจากนักกีฬาในการช่วยพัฒนานักกีฬาคนอื่นๆ เน่ืองจากการ จดั การตนเองเปน็ ความสามารถทจ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งเรยี นรู้ ผฝู้ กึ สอนจงึ ตอ้ งแนใ่ จวา่ นกั กฬี าสามารถเรยี นรู้ และพัฒนาในส่วนน้ไี ด้ การพฒั นาความสามคั ครี ะหวา่ งนกั กฬี าแตล่ ะคน (Developing a rapport with athletes) ผู้ฝึกสอนทโี่ ดดเด่นมกั จะมคี วามสมั พันธ์ท่แี ข็งแรงในทางบวกกบั นักกีฬา ในทีมที่ประสบ ความส�ำเร็จและนักกีฬามักจะมีความสามัคคีโดยอัตโนมัติกับผู้ฝึกสอน ซึ่งกุญแจส�ำคัญที่พัฒนา ความสามัคคีระหว่างกันคือความเช่ือใจ เม่ือทีมชนะ นักกีฬาจะเกิดความเชื่อในตัวผู้ฝึกสอนว่าท�ำ ในสิ่งท่ีถูกต้อง อย่างไรก็ตาม สัญญาณของความสามัคคีท่ีแข็งแรงอาจเป็นเพียงแค่ผิวเผินเท่านั้น การประสบความสำ� เรจ็ ในบางครง้ั กเ็ ปน็ สง่ิ ทชี่ ว่ ยแกป้ ญั หาหรอื ความแตกตา่ งทม่ี อี ยรู่ ะหวา่ งนกั กฬี า กบั ผู้ฝกึ สอนได้ นอกเหนือจากอัตราการแพ้ชนะแลว้ ยงั มีตวั ชีว้ ดั อ่นื ๆ ที่ท�ำให้ความสามคั คีคงอยู่ระหว่าง นกั กีฬาและผฝู้ กึ สอน ไดแ้ ก่ 1. นักกีฬาตอบสนองต่อความต้องการของผู้ฝึกสอนได้อย่างรวดเร็วและเหมาะสม ท�ำใหผ้ ้ฝู ึกสอนเกดิ การยอมรบั 2. ผู้ฝึกสอนเข้าใจนักกีฬาเป็นอย่างดีและสามารถก�ำหนดงานและเป้าหมายที่นักกีฬา สามารถทำ� ได้อย่างตอ่ เนอื่ ง 3. ผู้ฝกึ สอนน�ำกฎระเบียบมาใชอ้ ยา่ งเป็นธรรม และปฏบิ ตั ติ อ่ นกั กฬี าดว้ ยความเคารพ โดยเรยี นรู้เกยี่ วกบั ตัวนักกฬี า 4. ผฝู้ ึกสอนกระตือรอื รน้ ท่จี ะรับฟังนักกฬี า และให้สทิ ธพิ เิ ศษถา้ มคี วามจ�ำเป็น 5. นกั กฬี าจะไม่ถูกห้ามในการเสนอความคิดเหน็ หรอื ขอ้ เสนอแนะ คูม่ ือฝึกอบรมผูฝ้ กึ สอนกีฬาลีลาศ 37

การใหต้ ัวอย่าง (Modeling) วิธกี ารหน่งึ ท่ีเปน็ เครื่องมือในการฝกึ สอนท่ีดี คือ การใหต้ ัวอย่างกับนกั กีฬา ซ่ึงผฝู้ ึกสอน อาจจะสร้างตัวอย่างจากตนเอง และน�ำตัวอย่างที่ดีมาให้นักกีฬาได้เห็นเพ่ือน�ำไปพัฒนาความสามารถ ตามตัวอย่างได้ โดยในบางคร้ังตัวอย่างก็อาจเป็นต้ังแต่นักกีฬาที่ประสบความส�ำเร็จที่มีชีวิตอยู่ ไปจนถึงตัวอย่างการเล่นในอุดมคติของผู้ฝึกสอนและนักกีฬาก็ได้ โดยส่วนประกอบท่ีส�ำคัญ ของการใหต้ วั อยา่ งของรูปแบบการฝกึ สอน เชน่ 1. ให้ตวั อย่างท่นี กั กฬี ามองเห็นความสำ� เรจ็ 2. อา้ งองิ ตวั อยา่ งทร่ี จู้ กั การจดั การตนเอง มพี ฤตกิ รรมทดี่ ี มที ศั นคตแิ ละความมนี ำ้� ใจนกั กฬี า เช่นเดยี วกับทกั ษะและการเล่น 3. ใช้ผู้เล่นคนอื่นในทีมท่ีแสดงความสามารถได้อย่างถูกต้องเป็นตัวอย่าง แต่ควร ระมัดระวังเร่ืองการเปรยี บเทยี บกบั ตวั ของนกั กีฬา 4. ใหร้ างวลั นกั กีฬาทีแ่ สดงถงึ พฤตกิ รรมทต่ี อ้ งการ 5. เลอื กตวั อยา่ งทีน่ กั กฬี าสามารถท�ำตามได้ การสอื่ สาร (Communication) ผู้ฝึกสอนของนักกีฬาพิการเท่านั้นที่รับรู้ถึงข้อดีของการใช้การสื่อสารที่หลากหลาย ในการสื่อสารถึงเกณฑ์ของการปฏิบัติงาน และการให้ข้อเสนอแนะหรือผลย้อนกลับกับนักกีฬา นักกีฬาท่ีพิการทางการได้ยินต้องพ่ึงพาข้อมูลจากการมองเห็นเป็นอย่างมาก ในขณะที่นักกีฬาท่ีพิการ ทางการมองเหน็ กจ็ ำ� เปน็ ตอ้ งใหผ้ ฝู้ กึ สอนใชก้ ารสอ่ื สารดว้ ยเสยี งและการสมั ผสั คนสว่ นใหญม่ กั สนใจ ในการสื่อสารประเภทเดียวหรือการรวมกันของการสื่อสาร แต่ผู้ฝึกสอนที่มีประสิทธิภาพจะให้ นกั กีฬาไดส้ มั ผสั ถึงการสอื่ สารในทุกทางและเลือกใช้วธิ กี ารทด่ี ที ส่ี ดุ การสอื่ สารดว้ ยลายลกั ษณ์อกั ษร (Written Communication) กีฬาส่วนใหญ่มีการสร้างวัสดุในการเรียนการสอนที่เป็นลายลักษณ์อักษรท่ีดีเยี่ยมให้กับ ผเู้ รยี น ในกจิ กรรมกีฬาบางประเภท เช่น ยิมนาสตกิ กระโดดน�้ำ กฬี าต่อสู้ป้องกนั ตัว ระบำ� ใตน้ �้ำ ลลี าศ มกี ารใช้เทคนิคท่ซี ับซ้อนสงู และมีการตงั้ มาตรฐานเอาไว้เป็นลายลกั ษณ์อักษร ผู้ฝึกสอนสามารถใช้วัสดุเหล่าน้ีได้ในหลายวิธี โดยอาจน�ำไปใช้เป็นคู่มือในการช่วย ใหน้ กั กฬี าเขา้ ใจถงึ เทคนคิ หรอื ใชใ้ นการเขยี นโปรแกรมการฝกึ ทกั ษะทนี่ กั กฬี าสามารถทำ� ตามไดใ้ น เวลาทไี่ มม่ ผี ฝู้ กึ สอน เมอ่ื เลอื กหรอื เตรยี มทจ่ี ะเขยี นคมู่ อื สำ� หรบั นกั กฬี า ผฝู้ กึ สอนตอ้ งแนใ่ จวา่ ขอ้ มลู ทมี่ ีนนั้ สามารถเข้าใจได้งา่ ย ซง่ึ สามารถท�ำได้ดังนี้ 1. ใชแ้ ผนภมู ิชว่ ยในการสรา้ งภาพ 38 คู่มือฝกึ อบรมผู้ฝึกสอนกีฬาลลี าศ

2. แบ่งเน้ือหาออกเปน็ บทโดยไม่ควรเกนิ หน่งึ หรือสองหนา้ 3. ใช้ภาษาทท่ี ุกคนเขา้ ใจไดง้ ่าย 4. อธบิ ายถงึ คำ� ศพั ท์ใหมๆ่ 5. เน้นในสว่ นทสี่ ำ� คัญ 6. น�ำไปส่สู ว่ นทสี่ รปุ 7. ค้นคว้าเอกสาร วรรณกรรมท่ีเก่ียวขอ้ งอยูเ่ สมอก่อนท�ำคมู่ อื การสอ่ื สารดว้ ยวาจา (Oral Communication) เสียงของมนุษย์ถูกใช้ในหลากหลายวัตถุประสงค์ การสอน การให้ค�ำแนะน�ำการชมเชย การถาม การกระตุ้น ฯลฯ เช่นเดียวกับการปรับใช้เทคนิคในการส่ือสารแบบลายลักษณ์อักษร การสอ่ื สารดว้ ยวาจาควร 1. ใชเ้ สยี งทเ่ี หมาะสม 2. น�้ำเสยี งสามารถเปล่ียนวตั ถปุ ระสงค์ของขอ้ ความทีพ่ ูดได้ 3. ถามเพอื่ ย้�ำวา่ นักกฬี าเขา้ ใจ หรือมสี ว่ นร่วมในการแก้ปญั หาของนักกีฬา 4. ใช้ถ้อยค�ำหรือศพั ทท์ ่ีแมน่ ย�ำ เทคนคิ เหลา่ นที้ ำ� ใหก้ ารสอ่ื สารนา่ สนใจยงิ่ ขนึ้ เนน้ องคป์ ระกอบทสี่ ำ� คญั และลดความนา่ เบอื่ ซ่ึงเป็นส่ิงส�ำคัญมากส�ำหรับผู้ฝึกสอนในการตรวจสอบว่าค�ำพูดที่สอนนักกีฬาไปน้ันมีความเหมาะสม หรือไม่ การสือ่ สารดว้ ยสัญลกั ษณ์ (Symbolic Communication) ผู้ฝึกสอนจะต้องค้นหาสิ่งท่ีจ�ำเป็นในการแสดงให้นักกีฬาเห็นถึงภาพและการเคล่ือนไหว ทถ่ี กู ตอ้ ง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ถา้ เปน็ เทคนคิ ใหมห่ รอื ขอ้ บกพรอ่ งทสี่ ำ� คญั ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั การแกไ้ ข ตวั อยา่ งของสญั ลกั ษณพ์ บไดใ้ นทกุ กฬี า การพฒั นาการเกบ็ รวบรวมภาพทจ่ี ะชว่ ยใหน้ กั กฬี ามองเหน็ และรูส้ ึกถึงการเคลื่อนไหวมักเป็นสงิ่ ส�ำคัญในการชว่ ยลดระยะเวลาในการเรียนรู้การเคลื่อนไหว การส่อื สารด้วยส่ือ (Audiovisual Communication) วดิ โี อเทปชว่ ยใหผ้ ฝู้ กึ สอนและนกั กฬี าโฟกสั ไปทล่ี กั ษณะสำ� คญั ของความสามารถ เนอื่ งจาก ช่วงเวลาท่ีส�ำคัญสามารถตรวจสอบได้จากการเพิ่มลดความเร็วของภาพและเสียงหรือการตัดเสียง ออกกไ็ ด้ ผฝู้ กึ สอนใชว้ ดิ โี อในการวเิ คราะหท์ กั ษะและการเลน่ ของนกั กฬี า เชน่ เดยี วกบั การวเิ คราะห์ ทกั ษะและการเลน่ ของคู่แข่ง ค่มู อื ฝึกอบรมผฝู้ กึ สอนกีฬาลลี าศ 39

วิดีโอเป็นอุปกรณ์ในการสื่อสารท่ียอดเย่ียม เนื่องจากการรับรู้สามารถยืนยันและ เปรยี บเทยี บได้ ผู้ฝึกสอนอาจพบวา่ เป็นการยากทีจ่ ะทำ� ใหน้ ักกฬี าเชือ่ วา่ มคี วามผดิ พลาดในเทคนิค การเล่น แต่ด้วยการดูวิดีโอเกี่ยวกับความสามารถของนักกีฬาร่วมกัน นักกีฬาและผู้ฝึกสอน กจ็ ะสามารถพดู คยุ กนั ถงึ ลกั ษณะของเทคนคิ และมองเหน็ ถงึ ปญั หาของตวั นกั กฬี า นกั กฬี าทม่ี คี วามรู้ สามารถวิเคราะห์ตนเองจากการดูวิดีโอเทปเพ่ือเพ่ิมความสามารถในการตัดสินใจและทักษะ การแกป้ ัญหา รวมถงึ การเพ่มิ กระบวนการเรียนรใู้ ห้ตนเองได้อีกดว้ ย ทักษะในการฟงั (Listening Skills) ผฝู้ กึ สอนควรคำ� นงึ ถงึ การทำ� ใหน้ กั กฬี ารสู้ กึ สบายใจในการพดู คยุ กบั ผฝู้ กึ สอน นกั กฬี าจะฟงั อย่างตั้งใจหากผู้ฝึกสอนต้องการท่ีจะช่วยให้นักกีฬามีการพัฒนาและแสดงความสามารถได้ดีขึ้น ผู้ฝึกสอนทต่ี อ้ งการจะเป็นผฟู้ ังทด่ี จี ะตอ้ งจ�ำไว้เสมอวา่ 1. การฟงั ไมใ่ ชแ่ คเ่ พยี งการไดย้ นิ เปน็ สงิ่ สำ� คญั ของภาษาทางกาย ขอ้ มลู ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ และกระบวนการกลุ่มจะชว่ ยใหผ้ ู้ฝึกสอนสามารถเข้าใจและตคี วามสง่ิ ทนี่ กั กฬี าต้องการส่ือสารได้ 2. การแบ่งเวลาในการรับฟังนักกีฬาเป็นส่ิงส�ำคัญ แต่ผู้ฝึกสอนจะต้องระงับแนวโน้ม ทีน่ กั กีฬาจะใช้ผู้ฝกึ สอนเปน็ ท่ีระบายอารมณ์ หรอื การเลน่ การเมอื งภายในทมี 3. ผู้ฝึกสอนต้องใช้การผ่อนคลายและสภาพแวดล้อมท่ีเงียบในการพูดคุยเม่ือมีโอกาส และเคารพในความเป็นส่วนตัวของนักกีฬา ในช่วงพักผู้ฝึกสอนอาจลุกออกจากกลุ่มของทีม เพอื่ ไปพดู คุยสว่ นตวั กบั นกั กฬี าได้ 4. ผู้ฝึกสอนต้องรับรู้ถึงการแสดงความเช่ือมั่นของนักกีฬา โดยอาจใช้สายตา การเคลื่อนไหวศีรษะ การแสดงออกทางหน้าตาและค�ำสั่งสนับสนุนเพ่ือระบุว่านักกีฬาได้ยิน หรอื เข้าใจส่ิงทตี่ อ้ งการสอ่ื สาร 5. ผฝู้ กึ สอนตอ้ งหลกี เลยี่ งการตดั สนิ นกั กฬี า ถา้ ผฝู้ กึ สอนไมไ่ ดร้ บั การยอมรบั จากนกั กฬี า ก็จะเกิดการไม่พอใจ ผู้ฝึกสอนควรรอจนกว่านักกีฬาจะพูดจบแล้วจึงค่อยอธิบายความเห็น ท่แี ตกตา่ งกนั และควรสนับสนนุ ความคดิ เหน็ ดว้ ยเหตุผล การยุติความขัดแยง้ (Conflict Resolution) กีฬากระตุ้นอารมณ์ของผู้เข้าร่วม เมื่อมีอารมณ์ร่วมสูงลักษณะนิสัยส่วนตัวของนักกีฬา ก็อาจจะออกมาและความสมั พันธ์ระหว่างนกั กีฬากจ็ ะเกดิ ความย่งุ ยากในการจัดการ ผูฝ้ ึกสอนทีม่ ี ประสิทธิภาพควรคิดและหาวธิ ีแกไ้ ขไว้ลว่ งหน้ากอ่ นเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวข้นึ ก่อนเริ่มฤดูกาลแข่งขนั ความสามารถในการคาดเดาความเป็นไปได้ที่จะเกิดความขัดแย้งและวางแผนในการ หลีกเลี่ยงปัญหา จะเกิดขึ้นได้จากประสบการณ์ของผู้ฝึกสอน ความขัดแย้งบางครั้งก็ไม่สามารถ 40 คูม่ อื ฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกีฬาลีลาศ

แกไ้ ขไดใ้ นกรณนี ผ้ี เู้ กยี่ วขอ้ งทงั้ หมดควรกา้ วผา่ นการจมอยกู่ บั อดตี ซงึ่ กลยทุ ธใ์ นการยตุ คิ วามขดั แยง้ มหี ลายวธิ ี ดังน้ี 1. ผฝู้ กึ สอนของนกั กฬี าเยาวชนมคี วามรบั ผดิ ชอบในการสรา้ งการสนบั สนนุ พฤตกิ รรม ในนกั กฬี าทกุ คน เปน็ สง่ิ ทด่ี หี ากนกั กฬี าใชค้ ำ� พดู ทใี่ หก้ ำ� ลงั ใจในขณะทน่ี กั กฬี าคนอนื่ ในทมี ทำ� ผดิ พลาด ค�ำพูดเหล่านี้จะช่วยให้นักกีฬาที่ท�ำผิดพลาดมีความรู้สึกในทางบวกและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของทีม ในส่วนของความผิดพลาดก็จะเป็นโอกาสในการลดโอกาสในการสร้างความตึงเครียดท่ีอาจพัฒนา ขนึ้ ภายในทีม 2. ยอมรบั ความผดิ พลาดบางอยา่ งและพยายามพจิ ารณาความขดั แยง้ จากมมุ มองอน่ื ๆ 3. ใชก้ ารถามคำ� ถามมากกวา่ การโตแ้ ย้งในเรอื่ งเดมิ 4. ประนีประนอมให้ทุกฝา่ ยยอมรับได้ 5. หลีกเลย่ี งค�ำพดู ทเ่ี ปน็ การทำ� รา้ ยนกั กีฬา การให้ผลยอ้ นกลบั (Feedback) การใหผ้ ลยอ้ นกลบั หรอื คำ� แนะนำ� ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพชว่ ยใหน้ กั กฬี าเรยี นรู้ โดยอาจเปน็ การ แนะน�ำจากผู้ฝึกสอน ความรู้สึกจากอุปกรณ์หรือร่างกาย หรือจากการประเมินผล โดยผู้ฝึกสอน สามารถเกบ็ ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ประโยชนจ์ ากการแสดงความสามารถของนกั กฬี าจากหลายๆ ตวั เลอื ก เชน่ 1. เคร่อื งวัดอตั ราการเตน้ ของหวั ใจ 2. เซนเซอรซ์ งึ่ สามารถใสเ่ ขา้ ไปในอปุ กรณ์ เชน่ จกั รยาน เพอื่ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในขณะ ปน่ั จกั รยานของนักกฬี า 3. วดิ โี อเทปการแสดงทกั ษะความสามารถของนกั กฬี าสามารนำ� มาเปรยี บเทยี บกบั วดิ โี อ ตวั อยา่ งของเทคนิคในอุดมคติ วธิ กี ารนำ� ขอ้ มลู ไปใช้ 1. ใชเ้ ทคนิคในการถามเพอ่ื ช่วยนักกีฬาสรา้ งผลยอ้ นกลับใหก้ ับตัวเอง 2. งดการแนะน�ำในเร่ืองเดิมและควรคิดว่านักกีฬามีสติปัญญาและท�ำงานด้วย ความรบั ผดิ ชอบภายใต้การสังเกตของผู้ฝกึ สอน 3. ให้ข้อมูลเพียงหน่ึงหรือสองช้ินในทุกโอกาสเพื่อให้นักกีฬาได้ซึมซับอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 4. ชว่ ยนกั กีฬาให้เข้าใจเทคนคิ ท่ีถูกตอ้ งจากการให้ผลยอ้ นกลับในระยะเวลาอนั ส้ัน 5. ใหผ้ ลย้อนกลบั เพม่ิ ในส่วนท่ีถูกต้องมากกว่าสว่ นทไี่ ม่ถกู ต้อง 6. หลกี เลย่ี งการใหผ้ ลยอ้ นกลบั ทตี่ รงไปตรงมาและเปน็ ไปในทางลบตอ่ หนา้ เพอ่ื นรว่ มทมี ถา้ หากจ�ำเป็นก็ควรกลา่ วถงึ ท้ังทมี ไม่ควรกลา่ วถงึ ปัญหาเฉพาะบคุ คล คมู่ อื ฝกึ อบรมผฝู้ ึกสอนกีฬาลีลาศ 41

การสะท้อนตนเอง (Self-Reflection) นักกีฬาเยาวชนอาจประสบความส�ำเร็จสูงในการแข่งขันแต่อาจจะไม่ได้ระมัดระวัง ในเรื่องการแสดงเทคนิคท่ีผิดพลาด ซ่ึงจะส่งผลต่อไปในการแข่งขันในระดับท่ีสูงข้ึนของนักกีฬา หากนักกีฬาเหล่านี้มีความสามารถพิเศษหรือพรสวรรค์ พวกเขาก็อาจจะประสบความส�ำเร็จ โดยที่ผฝู้ ึกสอนไม่ไดต้ รวจสอบความผิดพลาดของนักกฬี าเลย การสะท้อนตนเองเป็นกระบวนการที่นักกีฬาสามารถเปรียบเทียบการเล่นในปัจจุบันกับ การเล่นของนักกีฬาในอุดมคติที่ควรปฏิบัติได้ ด้วยการใช้ขั้นตอนท่ีเป็นระบบในการเปรียบเทียบ ระหว่างความจริงกบั อุดมคติ การใหค้ �ำปรกึ ษา (Mentoring) ผู้ให้ค�ำปรึกษาในการสะท้อนตนเองจะต้องเป็นคนที่ผู้ฝึกสอนให้ความเคารพ และเลือก ในการชว่ ยเหลอื ในกระบวนการสะทอ้ นตนเอง ผใู้ หค้ ำ� ปรกึ ษาจะแสดงบทบาทเปน็ ผฟู้ งั ของการตคี วาม ของผฝู้ กึ สอนในการฝกึ การฟงั การวเิ คราะหข์ องผฝู้ กึ สอนในการแสดงความสามารถในการฝกึ สอน และยืนยันความถูกต้องของค�ำแนะน�ำของผู้ฝึกสอน ผู้ให้ค�ำปรึกษาจะถามค�ำถามเก่ียวกับวิธีการ ท่ใี ชแ้ ละแนะน�ำผ้ฝู กึ สอนให้เข้าใจในงาน การวเิ คราะหว์ ิดีโอ (Video Analysis) การวิเคราะห์วิดีโอช่วยในกระบวนการสะท้อนตนเอง เน่ืองจากวิดีโอเทปน�ำภาพถาวร ทสี่ ามารถชว่ ยในการวเิ คราะหเ์ ชงิ ลกึ และการประเมนิ และยงั สามารถชว่ ยระบกุ ารพฒั นาทต่ี อ้ งการ และใชใ้ นการวางแผนในการพัฒนาได้ 42 คู่มอื ฝึกอบรมผฝู้ กึ สอนกีฬาลลี าศ