Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธวจน "กรรม"

Description: พุทธวจน "กรรม"

Search

Read the Text Version

พุทธวจน แก้ กรรม

อานนท ! ถากรรมมกี ามธาตเุ ปนวิบาก จักไมไ ดมแี ลว ไซร กามภพ จะพงึ ปรากฏไดแลหรือ ? หามไิ ด พระเจาขา ! อานนท ! ดว ยเหตนุ ีแ้ หละ กรรมจึงเปนเนอื้ นา วญิ ญาณเปนเมล็ดพชื ตัณหาเปน ยางของพืช วญิ ญาณของสัตวท ้งั หลาย มอี วชิ ชาเปน เครื่องกั้น มตี ัณหาเปนเครือ่ งผกู ตั้งอยแู ลว ดวยธาตุชั้นทราม การบงั เกิดข้นึ ในภพใหมต อ ไป ยอมมีได ดว ยอาการอยา งน.ี้ อานนท ! ถา กรรมมีรูปธาตเุ ปน วิบาก จกั ไมไดม ีแลว ไซร รูปภพ จะพึงปรากฏไดแลหรือ ? หามไิ ด พระเจา ขา ! อานนท ! ดว ยเหตนุ แ้ี หละ กรรมจงึ เปน เนือ้ นา วญิ ญาณเปนเมลด็ พืช ตณั หาเปน ยางของพชื วิญญาณของสตั วทั้งหลาย มีอวิชชาเปนเครอ่ื งก้ัน มีตัณหาเปน เคร่อื งผูก ตง้ั อยูแลวดว ยธาตชุ ั้นกลาง การบงั เกดิ ข้นึ ในภพใหมต อ ไป ยอ มมีได ดวยอาการอยางน้.ี อานนท ! ถา กรรมมีอรปู ธาตเุ ปนวิบาก จักไมไ ดมแี ลวไซร อรูปภพ จะพงึ ปรากฏไดแ ลหรอื ? หามิได พระเจา ขา ! อานนท ! ดวยเหตุนแี้ หละ กรรมจงึ เปนเน้ือนา วิญญาณเปนเมลด็ พชื ตณั หาเปน ยางของพชื วิญญาณของสตั วท้ังหลาย มีอวิชชาเปนเครอ่ื งกั้น มตี ณั หาเปนเคร่ืองผกู ตงั้ อยูแลว ดว ยธาตุชั้นประณีต การบงั เกดิ ขึน้ ในภพใหมต อ ไป ยอมมีได ดวยอาการอยา งนี.้ อานนท ! ภพ ยอมมไี ด ดวยอาการอยางน้แี ล. -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๙๗/๑๔๓-๔.

พุทธวจน แก้กรรม ? โดย ตถาคต ?วันนีช้ าวพทุ ธ แกก้ รรมตามใคร? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เรากลา่ วซงึ่ เจตนา วา่ เปน็ กรรม. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! เหตเุ กดิ ของกรรมทงั้ หลาย ยอ่ มมี เพราะความเกดิ ของผสั สะ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ความดบั แหง่ กรรม ยอ่ มมี เพราะความดบั แหง่ ผสั สะ. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! มรรคมอี งค์ ๘ นนี้ นั่ เอง เปน็ กมั มนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา. -บาลี ฉกกฺ . อ.ํ ๒๒/๔๖๔/๓๓๔.



พทุ ธวจน -หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ ๕ฉบับ แกก้ รรม พุทธวจนสถาบัน รว่ มกนั มงุ่ มน่ั ศกึ ษา ปฏบิ ตั ิ เผยแผค่ �ำ ของตถาคต

พุทธวจน ฉบับ ๕ แกก้ รรม ? ข้อมูลธรรมะนี้ จัดทำ�เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาสู่สาธารณชน เป็นธรรมทาน ลิขสทิ ธ์ใิ นตน้ ฉบับน้ไี ดร้ บั การสงวนไว้ ในการจะจัดท�ำ หรือเผยแผ่ โปรดใช้ความละเอียดรอบคอบ เพ่ือรกั ษาความถูกตอ้ งของข้อมลู ให้ขออนญุ าตเป็นลายลักษณ์อักษร และปรึกษาด้านขอ้ มลู ในการจดั ท�ำ เพือ่ ความสะดวกและประหยัด ติดต่อไดท้ ี่ มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ ์ โทรศพั ท ์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔ มูลนธิ พิ ทุ ธวจน โทรศัพท์ ๐๘ ๑๔๕๗ ๒๓๕๒ คณุ ศรชา โทรศัพท์ ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ คุณอารวี รรณ โทรศัพท ์ ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘ ปีท่ีพมิ พ์ ๒๕๖๓ ศิลปกรรม ปรญิ ญา ปฐวินทรานนท,์ วิชชุ เสรมิ สวสั ดศิ์ รี, ณรงค์เดช เจริญปาละ จดั ท�ำ โดย มลู นิธิพุทธโฆษณ์ (เว็บไซต์ www.buddhakos.org)

มลู นธิ ิพทุ ธโฆษณ์ เลขที่ ๒๙/๓ หมทู่ ่ี ๗ ตำ�บลบึงทองหลาง อ�ำ เภอล�ำ ลูกกา จงั หวัดปทมุ ธานี ๑๒๑๕๐ โทรศัพท์ /โทรสาร ๐ ๒๕๔๙ ๒๑๗๕ เว็บไซต์ : www.buddhakos.org

อักษรย่อ เพอื่ ความสะดวกแกผ่ ทู้ ่ียงั ไมเ่ ขา้ ใจเร่อื งอกั ษรยอ่ ทใี่ ช้หมายแทนชื่อคมั ภรี ์ ซงึ่ มีอย่โู ดยมาก มหาวิ. ว.ิ มหาวภิ ังค์ วนิ ัยปิฎก. ภิกฺขุน.ี ว.ิ ภกิ ขุนีวภิ งั ค์ วนิ ยั ปฎิ ก. มหา. วิ. มหาวรรค วินัยปฎิ ก. จุลลฺ . ว.ิ จลุ วรรค วนิ ัยปิฎก. ปริวาร. วิ. ปริวารวรรค วนิ ัยปฎิ ก. สี. ที. สีลขันธวรรค ทฆี นกิ าย. มหา. ท.ี มหาวรรค ทฆี นกิ าย. ปา. ที. ปาฏิกวรรค ทีฆนกิ าย. ม.ู ม. มูลปัณณาสก์ มชั ฌิมนิกาย. ม. ม. มัชฌมิ ปัณณาสก์ มชั ฌมิ นกิ าย. อปุ ร.ิ ม. อุปรปิ ัณณาสก์ มชั ฌิมนิกาย. สคาถ. ส.ํ สคาถวรรค สงั ยตุ ตนกิ าย. นทิ าน. ส.ํ นทิ านวรรค สงั ยตุ ตนกิ าย. ขนธฺ . ส.ํ ขันธวารวรรค สงั ยุตตนิกาย. สฬา. ส.ํ สฬายตนวรรค สังยุตตนิกาย. มหาวาร. ส.ํ มหาวารวรรค สังยุตตนกิ าย. เอก. อ.ํ เอกนิบาต อังคุตตรนกิ าย. ทุก. อํ. ทกุ นบิ าต องั คตุ ตรนิกาย. ติก. อ.ํ ตกิ นิบาต อังคตุ ตรนิกาย. จตกุ กฺ . อํ. จตกุ กนบิ าต องั คตุ ตรนิกาย.

ปญจฺ ก. อํ. ปญั จกนิบาต อังคตุ ตรนิกาย. ฉกกฺ . อ.ํ ฉกั กนิบาต อังคตุ ตรนิกาย. สตฺตก. อํ. สตั ตกนิบาต องั คตุ ตรนกิ าย อฏฺก. อํ. อฏั ฐกนิบาต องั คตุ ตรนกิ าย. นวก. อํ. นวกนิบาต องั คตุ ตรนิกาย. ทสก. อํ. ทสกนบิ าต องั คตุ ตรนกิ าย. เอกาทสก. อ.ํ เอกาทสกนบิ าต อังคุตตรนกิ าย. ขุ. ขุ. ขุททกปาฐะ ขทุ ทกนิกาย. ธ. ขุ. ธรรมบท ขทุ ทกนกิ าย. อุ. ขุ. อทุ าน ขุททกนิกาย. อติ วิ ุ. ข.ุ อิตวิ ตุ ตกะ ขทุ ทกนิกาย. สุตตฺ . ข.ุ สุตตนิบาต ขทุ ทกนกิ าย. วมิ าน. ขุ. วิมานวตั ถุ ขทุ ทกนิกาย. เปต. ขุ. เปตวัตถุ ขุททกนกิ าย. เถร. ข.ุ เถรคาถา ขทุ ทกนิกาย. เถรี. ข.ุ เถรีคาถา ขทุ ทกนิกาย. ชา. ข.ุ ชาดก ขุททกนกิ าย. มหานิ. ขุ. มหานทิ เทส ขุททกนิกาย. จูฬนิ. ขุ. จฬู นทิ เทส ขุททกนิกาย. ปฏสิ ม.ฺ ข.ุ ปฏิสมั ภทิ ามรรค ขทุ ทกนิกาย. อปท. ขุ. อปทาน ขทุ ทกนกิ าย. พทุ ธฺ ว. ขุ. พุทธวงส์ ขทุ ทกนิกาย. จริยา. ขุ. จรยิ าปฎิ ก ขุททกนกิ าย ตัวอยา่ ง : ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ให้อ่านว่า ไตรปิฎกฉบับสยามรฐั เล่ม ๑๔ หน้า ๑๗๑ ข้อท่ี ๒๔๕



ค�ำอนโุ มทนา ขออนุโมทนา ในกุศลเจตนาคร้ังน้ีเป็นอย่างย่ิง ทไ่ี ดส้ รา้ งเหตปุ จั จยั อนั เปน็ ไปเพอ่ื ความเจรญิ และความมอี ายุ ยืนยาวแห่งพุทธวจน ด้วยการสืบสายถ่ายทอดค�ำสอนที่ ออกจากพระโอษฐข์ องพระองค์เอง ในสว่ นของเรอื่ งกรรม กับความเข้าใจท่ีถูกต้อง สมดังพุทธประสงค์ ท่ีต้องการ ให้มีผู้น�ำค�ำสอนของพระองค์ไปศึกษาประพฤติปฏิบัติ เพง่ พสิ จู น์ข้ออรรถขอ้ ธรรม เพ่อื ให้เห็นแจง้ เปน็ ปัจจัตตงั และขยนั ในการถา่ ยทอดบอกสอนกนั รนุ่ ตอ่ รนุ่ สบื ๆ กนั ไป ด้วยเหตทุ ไ่ี ด้กระท�ำ มาแลว้ น้ี ขอจงเปน็ พลวปจั จัย ให้ผู้มีส่วนร่วมในการทำ�หนังสือและผู้ที่ได้อ่าน ได้ศึกษา พึงได้ดวงตาเห็นธรรม  สำ�เร็จผลยังพระนิพพาน  สมดัง ความปรารถนาที่ได้สร้างมาอย่างดีแล้วดว้ ยเทอญ. ขออนโุ มทนา ภกิ ขุคกึ ฤทธิ์ โสตถฺ ผิ โล



คำ�น�ำ ในคร้งั พุทธกาล มภี กิ ษอุ ธบิ ายเกย่ี วกบั วญิ ญาณว่า วิญญาณ คอื สภาพทีร่ บั รอู้ ารมณต์ ่างๆ ได้ สื่อสารพดู คยุ ได้ เปน็ ผรู้ บั ผลของกรรมดกี รรมชว่ั เปน็ ผทู้ แ่ี ลน่ ไป ทอ่ งเทย่ี วไป พระพุทธเจ้าทรงเรียกภิกษุรูปนั้นมาสอบทันที เม่ือได้ความตรงกันกับท่ีถูกโจทก์แล้ว ทรงต�ำหนิโดยการ เรยี กภกิ ษรุ ปู นวี้ า่ “โมฆะบรุ ุษ” ซ่ึงแปลตามความหมายว่า บุคคลอันเปล่า ไร้ประโยชน์ เป็นโมฆะ มีไว้ก็เท่ากับไม่มี จากนั้น ทรงพยากรณ์ว่า การพูดผิดไปจากค�ำของตถาคต เชน่ น้ี จะท�ำใหป้ ระสพบาปมใิ ช่บญุ เป็นอันมาก คงไม่ใชเ่ รือ่ งยากเกนิ ไปนกั ที่จะท�ำ ความเข้าใจวา่ วิญญาณ โดยนยั ของขนั ธ์ห้านั้น ไม่ใชต่ วั สตั ว์ ไม่ใชบ่ คุ คล เป็นแต่เพียงสิ่งที่มีกริยารู้ได้ และเป็นปฏิจจสมุปปันธรรม คืออาศยั เหตุปัจจยั ในการเกิดขนึ้ มีอยู่ สว่ นสัตว์ บุคคลผู้ ทำ�กรรม รับกรรมน้ัน คือขันธห์ ้าอันประกอบดว้ ยอปุ าทาน ปรงุ แตง่ เสร็จไปแลว้ ว่าเป็นน้ีๆ เปน็ นัน้ ๆ คำ�ถามก็คือ บุคคลประเภทไหนที่สนใจกรรม วบิ ากกรรมในขนั ธ์ห้า (อันไม่ใชข่ องเรา ไมใ่ ชเ่ ปน็ เรา ไมใ่ ชต่ ัวตน ของเรา) น้ี

ค�ำตอบก็คือ บุคคลท่ียังมีความเห็นในวิญญาณ วา่ คือผู้รับรู้ ผู้กระท�ำ ผู้รับผลของกรรม คือผู้ท่องเท่ียว เวียนว่ายไป โดยนัยลักษณะเดียวกับภิกษุรูปน้ัน ในครั้ง พุทธกาล คำ�ถามอาจมขี ้นึ อีกว่า จะมบี ้างไหมบางคน ทไี่ ม่สนใจ ไม่แยแส ไม่อยากรู้ ในเรื่องของกรรม และวิบากของกรรม ในแง่มุมตา่ งๆ ภายใตค้ วามเหน็ วา่ ใชต่ ัวตนในอุปาทานขนั ธ์ ไมส่ นใจ การทม่ี ีทเ่ี ป็นแลว้ นี้ ว่าเกิดจากกรรมน้ีๆ ในภพโนน้ ๆ ไม่แยแส แก้กรรมในภพโน้นๆ ท่สี ง่ ผลอย่นู ี้ ด้วยกรรมน้ันๆ ไม่อยากรู้ ว่าท�ำ กรรมแบบนัน้ ๆ แลว้ จะได้รบั ผลแบบไหนๆ ค�ำ ตอบพงึ มีว่า ผู้ถึงพร้อมด้วยทฏิ ฐิ (ทฏิ ฐิสมั ปันนะ) มอี ยคู่ อื เขา้ สแู่ ลว้ ในสมั มตั ตนยิ าม เขา้ สแู่ ลว้ ในระบบทถ่ี กู ตอ้ ง เป็นผถู้ ึงแลว้ ซง่ึ กระแส (โสตะ) คอื ทางอนั เป็นอริยะ ฐานะทเี่ ปน็ ไปไมไ่ ด้ ของผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยทฏิ ฐิ นนั่ คอื ยึดม่ันความตามเห็นขันธ์ในส่วนอดีต (ปุพพันตานุทิฏฐิ) และยึดมั่นความตามเห็นขันธ์ส่วนอนาคต (อปรันตานุทิฏฐิ) พระพุทธเจ้าทรงยืนยันว่า ผู้ที่ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิแล้วน้ี จะมี ความรู้เข้าใจอันพิเศษเฉพาะ ซึ่งหาไม่ได้ในปุถุชนท่ัวไป ทุกข์ จะค่อยๆ ดับไป ในทุกๆ ก้าวบนหนทาง และเป็นผู้ที่ จะไม่ตกต่ำ� เปน็ ธรรมดา มีสมั โพธเิ ปน็ เบอื้ งหนา้ ทส่ี ุด

สังคมพุทธในวันนี้ แม้จะยังมีความเจริญในระบบ ธรรมวินัยอยู่ก็ตาม แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่ายังมีบุคคลในข่าย “โมฆะบุรษุ ” ดงั คร้ังพุทธกาลนน้ั โมฆะบุรุษนี้ คือผู้ที่ขับเคล่ือนการกระท�ำต่างๆ ทีอ่ อกนอกแนวทางของอริยมรรคมีองค์ ๘ ไปเรือ่ ยๆ และ น�ำพาโลกไป ดว้ ยระบบคิดทีป่ รารภขันธห์ ้าโดยความเป็นตน ท้งั หมดนที้ �ำขึ้นภายใตก้ ารอ้างถงึ ค�ำสอนของพระพทุ ธเจา้ เราอาจเคยได้ยนิ การอ้างถึงพระธรรมค�ำ สอนใน สว่ นของศลี ธรรม ซงึ่ เป็นเรอ่ื งของขอ้ ปฏิบัตทิ ี่ไม่เบยี ดเบยี น อนั น�ำ มาซึง่ วิบากอันดีตอ่ ตนเองและหมู่สตั ว์ทั้งหลายโดยรวม อีกทง้ั ยังเป็นเหตใุ ห้ไดบ้ ังเกิดในภพท่เี ตม็ ไปด้วยสขุ เวทนา ธรรมะ ในแงม่ ุมระดับศลี ธรรมนี้ ไดถ้ กู เข้าใจไปวา่ เปน็ เพยี ง เครือ่ งมอื ให้ไดม้ าซึ่งความสุขมปี ระมาณตา่ งๆ อนั เป็นผลจาก การกระท�ำ ท่ดี นี น้ั   และเพอื่ ให้มภี พตอ่ ๆ ไปทด่ี ีเท่าน้นั ความเข้าใจที่คลาดเคล่ือน ต่อระบบศีลธรรมน้ี เกิดจากการไม่รู้แจ้งแทงตลอดด้วยดีด้วยทิฏฐิ ในพุทธวจน เร่ืองทาน ศีล สวรรค์ เป็นเพียงส่วนหนึ่ง ในอนุปุพพิกถา ๕ ซ่งึ พระพุทธองคท์ รงใช้แสดงต่อฆราวาส ผทู้ ี่ยงั มจี ิตจมอยู่ใน ความสุขแบบโลกๆ ยังไม่พร้อมท่ีจะเข้าถึงอริยสัจได้ทันที ทานกถา คือ การให้ การสละ สีลกถา คือ ระบบศีลธรรม

สคั คกถา คอื สขุ แบบสวรรค์ กามาทนี วกถา คอื โทษแหง่ กาม และ เนกขมั มานิสังสกถา คอื อานสิ งสแ์ ห่งการออกจากกาม เมือ่ ผูฟ้ งั มจี ิตอ่อนโยน ปลอดนิวรณ์ น่มุ เบาควรแก่การแล้ว จึงทรงแสดงอรยิ สจั สี่ อนั เป็นจุดประสงค์หลักเพยี งอันเดียว ของการเทศนาแต่ละครัง้ สงิ่ ที่เกิดขึ้นทุกวันนี้ คือ การตัดทอนคำ�สอน โดยแยกเน้นเวียนวนอยู่ เฉพาะเรื่องของทาน ศีล สวรรค์ ยิ่งไปกว่านั้น หากบวกเข้าไปด้วยกับบุคคลที่ยังไม่พ้นการ ดำ�รงชีพด้วยมจิ ฉาอาชวี ะแบบของสมณะ คอื เลยี้ งชพี ดว้ ย การทำ�นาย การดูหมอ ดูฤกษ์ และอืน่ ๆ ท้งั หลายทั้งปวง ท่ี รวมเรียกว่าติรัจฉานวิชา ทั้งหมดนี้จึงเป็นเสมือนขบวนการ ที่ผันแปรธรรมวินัย ให้กลายเป็นลัทธิใหม่อะไรสักอย่างท่ี ไมใ่ ช่พทุ ธ แตอ่ า้ งความเป็นพุทธ แล้วน�ำ พาผคู้ นท่หี ลงทาง อย่แู ลว้ ให้ยิง่ ผูกติด พันเกี่ยวอยแู่ ตใ่ นภพ หนังสอื พทุ ธวจน ฉบบั แก้กรรม โดยพระตถาคต นี้ คือการรวมหลักธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้เกี่ยวกับกรรม โดยผศู้ กึ ษาจะสงั เกตเหน็ ไดท้ นั ทีคอื ความรใู้ นเรื่องกรรม วา่ กรรม เป็นส่งิ ท่ีบุคคลพงึ ทราบท้ังหมด ๖ แงม่ มุ ด้วยกนั เทา่ นัน้ เป็นการรู้ท่ีจะนำ�ไปสู่การหลุดพ้นจากระบบแห่งกรรมที่ หมสู่ ัตว์ตดิ ขอ้ งอย่มู านานนับน้ี

อรยิ มรรคมอี งค์ ๘ คอื หนทางใหถ้ งึ ความดบั แหง่ กรรม โดยตวั ของอรยิ มรรคเอง มแี ลว้ ซง่ึ การสรา้ งวบิ ากอนั เปน็ เลศิ มพี รอ้ มแลว้ ซง่ึ อานสิ งสค์ อื การน�ำ ไปสกู่ ารสลดั คนื อปุ าทานขนั ธ์ นน่ั คอื การกระท�ำ กรรม เพอ่ื ใหร้ ะบบกรรมทง้ั หมดทง้ั ปวงนน้ั กลายเปน็ โมฆะโดยสน้ิ เชงิ คณะผู้จดั พิมพห์ นงั สือเล่มนี้ ขอนอบนอ้ มสกั การะ ต่อ ตถาคต ผ้อู รหันตสัมมาสมั พทุ ธะ และ ภิกษุสาวกในธรรมวินัยน้ี ตง้ั แตค่ รั้งพทุ ธกาล จนถึงยคุ ปัจจุบัน ทีม่ ีสว่ นเกีย่ วขอ้ งในการสบื ทอดพทุ ธวจน คอื ธรรม และวนิ ัย ทีท่ รงประกาศไว้ บรสิ ทุ ธบ์ิ รบิ ูรณด์ ีแล้ว คณะงานธมั มะ วัดนาปา่ พง

สารบญั สง่ิ ทต่ี อ้ งรเู้ กย่ี วกบั “กรรม” 1 1. รายละเอยี ดทบี่ ุคคลควรทราบเกย่ี วกับเรอื่ งกรรม 2 2. ว่าดว้ ยเหตุเกิดของกรรม ๓ อย่าง 6 3. วา่ ดว้ ยเหตุเกดิ ของกรรม ๓ อยา่ ง (อีกนัย) 9 4. ส่งิ ท่ไี ม่ควรคดิ  13 ประเภทของกรรม 15 5. แบ่งตามการกระท�ำ และผลที่ได้รบั  16 6. อะไรคอื กรรมเก่าและกรรมใหม่ 21 7. กายน้ี เป็น “กรรมเก่า” 24 8. การทำ�กรรมทางใดมโี ทษมากที่สดุ  26 หลกั การพจิ ารณาวา่ กรรมชนดิ นน้ั ควรท�ำ หรอื ไม่ 31 9. เมอื่ จะกระท�ำ  32 10. เม่อื กระท�ำ อยู่ 33 11. เม่อื กระท�ำ แล้ว 34 ขอ้ ควรทราบ 37 เพอ่ื ปอ้ งกนั ความเขา้ ใจผดิ เกย่ี วกบั เรอ่ื งกรรม 38 12. การพยากรณ์บคุ คลอื่น ทำ�ไดห้ รอื ไม่ 39 13. ทุกขเ์ กิดเพราะมเี หตุปจั จัย 41 14. ทาง ๒ สายทไี่ ม่ควรเดนิ  43 15. บาปกรรมเก่า ไมอ่ าจสิ้นไดด้ ้วยการทรมานตนเอง 47 16. สขุ -ทุกข์ ที่ไดร้ ับไมใ่ ชผ่ ลของกรรมเก่าอยา่ งเดียว

ลทั ธคิ วามเชอ่ื ผดิ ๆ เกย่ี วกบั กรรม ๓ แบบ59 17. ลัทธทิ ่เี ชอ่ื ว่าสขุ และทุกข์ เกิดจากกรรมเก่าอยา่ งเดียว 60 18. ลทั ธทิ เ่ี ชื่อวา่ สุขและทุกข์ เกิดจากเทพเจ้าบนั ดาลให้ 63 19. ลัทธิทเ่ี ช่อื ว่าสุขและทกุ ขเ์ กดิ ขึน้ เองลอยๆ 65 ไม่มอี ะไรเป็นเหตุ เปน็ ปัจจยั  20. เชือ่ วา่ “กรรม” ไม่มี อันตรายอย่างยิ่ง 67 ผลของกรรม แบง่ โดยระยะเวลาใหผ้ ลของกรรม 69 21. ระยะเวลาการให้ผลของกรรม 70 ผลของกรรม แบง่ โดยผลทไ่ี ดร้ บั  71 22. ผฉู้ ลาดในเร่อื งวบิ ากแหง่ กรรม 72 23. เหตุให้ไดค้ วามเปน็ ผู้มรี ูปงาม มีทรัพยม์ ากและสงู ศักดิ์ 74 24. ผลของใหท้ านแบบต่างๆ 75 25. กรรมท่ีท�ำ ใหไ้ ด้รบั ผลเปน็ ความไม่ตกต่ำ� 77 26. เหตุท่ที �ำ ใหม้ นษุ ยเ์ กดิ มาแตกตา่ งกนั  79 27. บรุ พกรรมของการไดล้ ักษณะ “มหาบุรษุ ” 93 28. ท�ำ ไมคนท่ที ำ�บาปกรรมอย่างเดียวกนั 105 แตร่ ับวบิ ากกรรมตา่ งกนั  111 29. อานสิ งสข์ องการรักษาศลี  115 30. สคุ ตขิ องผ้มู ีศีล 117 31. วบิ ากของผทู้ ศุ ลี  120 32. ทุคตขิ องผู้ทศุ ลี  122 33. ท�ำ ช่วั ไดช้ ่วั  124 34. บุคคล ๔ จ�ำ พวก

กรรมทท่ี �ำ ใหส้ น้ิ กรรม 129 35. ขอ้ ปฏบิ ัติใหถ้ ึงความสิ้นกรรม 130 รายละเอยี ดของสมั มากมั มนั ตะ 135 สมั มากมั มนั ตะโดยปรยิ ายสองอยา่ ง 137 อาชพี ทไ่ี มค่ วรกระท�ำ  139 140 36. “สนิ้ ตัณหา ก็ ส้ินกรรม” 142 37. การกระทำ�กรรมทเ่ี ป็นไปเพือ่ การสิ้นกรรม 145 38. จะเกิดในตระกูลใดกส็ ้ินกรรมได้ เรอ่ื งเกย่ี วกบั “กรรม” ในเชงิ ปฏจิ จสมปุ บาท 151 (การทท่ี กุ ขเ์ กดิ ขน้ึ เพราะอาศยั ปจั จยั ตอ่ เนอ่ื งกนั มา) 39. เหตุเกดิ ของทกุ ข์ 152 40. ความหมายทีแ่ ทจ้ รงิ ของคำ�วา่ “สัตว”์  154 41. ความไมม่ ีสัตว์ บุคคล ตวั ตน เรา เขา 155 42. เหตเุ กดิ ของภพ 159 43. เครอ่ื งนำ�ไปสภู่ พ 161 44. ปฏจิ จสมปุ บาท ในฐานะเปน็ กฎสูงสุดของธรรมชาติ 162

หมายเหตผุ ูร้ วบรวม เน้อื หาของหนังสอื เลม่ น้ี บางส่วนไดป้ รับสำ�นวนต่าง จากฉบับหลวง โดยเทียบเคียงจากทุกสำ�นัก (ฉบับสยามรัฐ, ฉบับหลวง, ฉบับมหามงกุฏฯ, ฉบับมหาจุฬาฯ, ฉบับเฉลมิ พระเกยี รติ, ฉบบั สมาคมบาลปี กรณ์แห่งประเทศองั กฤษ) เพือ่ ใหส้ อดรับกบั บาลี และความเชอ่ื มโยงของพทุ ธวจนใหม้ ากที่สุด



สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ “กรรม”

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : แกก้ รรม ? รายละเอียดที่บคุ คลควรทราบ 01 เกี่ยวกบั เรือ่ งกรรม -บาลี ฉกฺก. อํ. ๒๒/๔๕๘,๔๖๓-๔๖๔/๓๓๔. ภกิ ษุทัง้ หลาย !   กรรม เปน็ สง่ิ ที่บุคคลควรทราบ นทิ านสมั ภวะแหง่ กรรม เปน็ ส่ิงที่บุคคลควรทราบ เวมัตตตาแหง่ กรรม เปน็ สงิ่ ทบ่ี คุ คลควรทราบ วบิ ากแห่งกรรม เปน็ สงิ่ ทบี่ ุคคลควรทราบ กัมมนโิ รธ เป็นสง่ิ ที่บคุ คลควรทราบ กัมมนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา เปน็ สง่ิ ทบ่ี คุ คลควรทราบ .... คำ�ทเ่ี รากลา่ วแลว้ ดงั น้นี น้ั เราอาศยั อะไรกล่าวเล่า ? ภิกษุท้ังหลาย !   เรากลา่ วซง่ึ เจตนาวา่ เปน็ กรรม เพราะวา่ บคุ คลเจตนาแลว้ ยอ่ มกระท�ำ ซง่ึ กรรมดว้ ยกาย ดว้ ยวาจา ดว้ ยใจ. 2

เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : แกก้ รรม ? ภิกษทุ ั้งหลาย !   นทิ านสมั ภวะ (เหตเุ ปน็ แดนเกิด พรอ้ ม) แห่งกรรมทั้งหลาย เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ภิกษุทั้งหลาย !   นทิ านสมั ภวะแหง่ กรรมทง้ั หลาย คือ ผสั สะ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เวมตั ตตา (ความมปี ระมาณตา่ งๆ) แหง่ กรรมทัง้ หลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุท้ังหลาย !   กรรมที่ทำ�สัตว์ให้เสวยเวทนา ในนรก มอี ยู่ กรรมทีท่ ำ�สัตวใ์ หเ้ สวยเวทนาในกำ�เนดิ เดรจั ฉาน มอี ยู่ กรรมทท่ี �ำ สตั วใ์ หเ้ สวยเวทนาในเปรตวสิ ยั มีอยู่ กรรมทีท่ �ำ สัตวใ์ หเ้ สวยเวทนาในมนุษย์โลก มอี ยู่ กรรมทท่ี �ำ สตั วใ์ หเ้ สวยเวทนาในเทวโลก มอี ย.ู่ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   นเี้ รากลา่ วว่า เวมัตตตาแหง่ กรรมท้งั หลาย. ภิกษุทั้งหลาย !   วิบาก (ผลแห่งการกระท�ำ ) แหง่ กรรมท้งั หลาย เป็นอยา่ งไรเลา่  ? ภิกษุทั้งหลาย !   เรากลา่ ววบิ ากแหง่ กรรมทง้ั หลาย วา่ มีอยู่ ๓ อยา่ ง คอื วิบากในทิฏฐธรรม (คอื ทันควนั ) หรือวา่ วบิ ากในอปุ ปชั ชะ (คือในเวลาตอ่ มา) หรอื วา่ วบิ าก ในอปรปริยายะ (คือในเวลาตอ่ มาอีก). ภกิ ษุทัง้ หลาย ! น้ีเรากล่าวว่า วิบากแหง่ กรรมทัง้ หลาย. 3

พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย !   กัมมนิโรธ  (ความดับไม่เหลือ แห่งกรรม) เป็นอย่างไรเลา่  ? ภิกษุทั้งหลาย !   ความดับแห่งกรรมทั้งหลาย ย่อมมเี พราะความดับแห่งผัสสะ. ภิกษุทั้งหลาย !   กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา (ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ กรรม) เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ภกิ ษุทั้งหลาย !   อริยอัฏฐังคกิ มรรค (อริยมรรค มีองค์แปด)  น้ีน่ันเอง  คือ  กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา ได้แก่สง่ิ เหล่านีค้ อื สัมมาทฏิ ฐ ิ (ความเหน็ ชอบ)  สมั มาสงั กปั ปะ  (ความด�ำ รชิ อบ) สมั มาวาจา  (การพดู จาชอบ)  สัมมากมั มันตะ  (การทำ�การงานชอบ)  สมั มาอาชวี ะ  (การเล้ยี งชวี ติ ชอบ) สมั มาวายามะ  (ความพากเพยี รชอบ)  สมั มาสต ิ (ความระลกึ ชอบ)  สมั มาสมาธ ิ (ความตง้ั ใจมน่ั ชอบ). 4

เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : แก้กรรม ? ภกิ ษุทัง้ หลาย !   เม่ือใดอริยสาวก ย่อมร้ชู ัดซ่ึง กรรม อย่างนี้ รู้ชดั ซึ่ง นทิ านสัมภวะแห่งกรรม อย่างน้ี รู้ชดั ซ่ึง เวมัตตตาแหง่ กรรม อย่างน้ี รู้ชัดซ่งึ วบิ ากแหง่ กรรม อย่างนี้ รู้ชัดซง่ึ กมั มนิโรธ อย่างนี้ รู้ชัดซง่ึ กัมมนิโรธคามนิ ีปฏิปทา อยา่ งนี้ อริยสาวกนั้น ย่อมรู้ชัดซึ่งพรหมจรรย์นี้ว่า เปน็ เครอื่ งเจาะแทงกิเลส เป็นท่ีดับไม่เหลือแห่งกรรม. ภกิ ษุทั้งหลาย !   ขอ้ ท่เี รากลา่ วแล้ววา่ “กรรม  เป็นส่งิ ที่บุคคลควรทราบ  นทิ านสมั ภวะแหง่ กรรม  เปน็ สง่ิ ทบ่ี คุ คลควรทราบ  เวมตั ตตาแห่งกรรม  เป็นสิ่งทีบ่ ุคคลควรทราบ  วบิ ากแหง่ กรรม  เปน็ สิง่ ที่บคุ คลควรทราบ  กมั มนิโรธ  เปน็ ส่ิงทบ่ี คุ คลควรทราบ กมั มนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา  เปน็ สง่ิ ทบ่ี คุ คลควรทราบ” ดังน้ีนั้น  เราอาศยั ความขอ้ นก้ี ลา่ วแล้ว. 5

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : แกก้ รรม ? วา่ ดว้ ยเหตุเกดิ ของกรรม ๓ อยา่ ง 02 -บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๑๗๑/๔๗๓. ภกิ ษทุ ้งั หลาย !   เหตทุ ง้ั หลาย ๓ ประการเหลา่ น้ี มีอย ู่ เพือ่ ความเกดิ ข้ึนแห่งกรรมท้งั หลาย. ๓ ประการเหลา่ ไหนเล่า ? ๓ ประการ คอื โลภะ (ความโลภ) เป็นเหตุเพื่อความเกิดขึ้น แห่งกรรมทัง้ หลาย โทสะ (ความคดิ ประทษุ รา้ ย) เปน็ เหตเุ พอ่ื ความเกดิ ขน้ึ แห่งกรรมท้งั หลาย โมหะ (ความหลง) เป็นเหตุเพื่อความเกิดขึ้น แห่งกรรมทั้งหลาย. ภิกษุท้ังหลาย !   เปรยี บเหมอื นเมลด็ พชื ทง้ั หลาย ที่ไม่แตกหัก  ท่ีไม่เน่า  ที่ไม่ถูกทำ�ลายด้วยลมและแดด เลือกเอาแต่เม็ดดี  เก็บงำ�ไว้ดี  อันบุคคลหว่านไปแล้ว ในพ้ืนที่ซ่ึงมีปริกรรมอันกระทำ�ดีแล้วในเนื้อนาดี.  อน่ึง สายฝนกต็ กตอ้ งตามฤดกู าล. 6

เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : แกก้ รรม ? ภิกษุท้ังหลาย !   เมล็ดพืชทั้งหลายเหล่าน้ัน จะพงึ ถงึ ซง่ึ ความเจรญิ งอกงาม ไพบลู ยโ์ ดยแนน่ อน ฉนั ใด ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   ข้อน้กี ฉ็ ันนั้น คือ กรรมอนั บคุ คลกระท�ำแลว้ ดว้ ยโลภะ เกดิ จากโลภะ มีโลภะเป็นเหตุ  มีโลภะเป็นสมุทัย  อันใด  กรรมอันน้ัน ย่อมให้ผลในขันธ์ทั้งหลาย  อันเป็นท่ีบังเกิดแก่อัตตภาพ ของบุคคลนนั้ .  กรรมน้นั ใหผ้ ลในอตั ตภาพใด  เขาย่อม เสวยวิบากแห่งกรรมนั้นในอัตตภาพนั้นเอง  ไม่ว่าจะ เป็นไปอย่างในทิฏฐธรรม  (คือทันควัน)  หรือว่า  เป็นไป อยา่ งในอปุ ปชั ชะ (คอื ในเวลาตอ่ มา)  หรอื วา่   เปน็ ไปอยา่ ง ในอปรปรยิ ายะ  (คอื ในเวลาตอ่ มาอกี )  กต็ าม. กรรมอนั บคุ คลกระท�ำแลว้ ดว้ ยโทสะ  เกดิ จากโทสะ มีโทสะเป็นเหตุ  มีโทสะเป็นสมุทัย  อันใด  กรรมอันน้ัน ย่อมให้ผลในขันธ์ทั้งหลาย  อันเป็นท่ีบังเกิดแก่อัตตภาพ ของบคุ คลน้นั .  กรรมนนั้ ให้ผลในอตั ตภาพใด  เขาย่อม เสวยวิบากแห่งกรรมน้ันในอัตตภาพน้ันเอง  ไม่ว่าจะ เปน็ ไปอยา่ งในทฏิ ฐธรรม  หรอื วา่   เปน็ ไปอยา่ งในอปุ ปชั ชะ หรอื วา่   เป็นไปอย่างในอปรปริยายะ  กต็ าม. 7

พุทธวจน - หมวดธรรม กรรมอนั บคุ คลกระท�ำแลว้ ดว้ ยโมหะ  เกดิ จากโมหะ มีโมหะเป็นเหตุ  มีโมหะเป็นสมุทัย  อันใด  กรรมอันน้ัน ย่อมให้ผลในขันธ์ท้ังหลาย  อันเป็นที่บังเกิดแก่อัตตภาพ ของบุคคลนนั้ .  กรรมน้นั ให้ผลในอัตตภาพใด  เขาย่อม เสวยวิบากแห่งกรรมน้ันในอัตตภาพน้ันเอง  ไม่ว่าจะ เปน็ ไปอยา่ งในทฏิ ฐธรรม  หรอื วา่   เปน็ ไปอยา่ งในอปุ ปชั ชะ  หรอื วา่   เป็นไปอยา่ งในอปรปรยิ ายะ  ก็ตาม. ภิกษุท้ังหลาย !   เหตุทัง้ หลาย ๓ ประการ เหลา่ น้ีแล เป็นไปเพือ่ ความเกดิ ข้นึ แหง่ กรรมท้ังหลาย. 8

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปิด : แกก้ รรม ? ว่าดว้ ยเหตุเกดิ ของกรรม ๓ อย่าง 03 (อกี นยั ) -บาลี ติก. อ.ํ ๒๐/๓๓๙/๕๕๒. ภิกษุทง้ั หลาย !   เหตุ ๓ ประการนี้ เปน็ ไป เพือ่ ความเกิดขน้ึ พร้อมมูลแห่งกรรม. เหตุ ๓ ประการ คอื อะไรบ้างเล่า ? คอื (๑)  ความพอใจ เกดิ เพราะปรารภธรรมทง้ั หลาย อนั เปน็ ฐานแหง่ ฉนั ทราคะ (ความรกั ใคร่ พอใจ) ทเ่ี ปน็ อดตี (๒)  ความพอใจ เกดิ เพราะปรารภธรรมทง้ั หลาย อนั เปน็ ฐานแหง่ ฉันทราคะทเ่ี ป็นอนาคต (๓)  ความพอใจ เกดิ เพราะปรารภธรรมทง้ั หลาย อนั เป็นฐานแห่งฉันทราคะทเ่ี ป็นปจั จบุ ัน. ความพอใจเกิดเพราะปรารภธรรมท้ังหลาย อันเป็นฐานแหง่ ฉนั ทราคะทเ่ี ปน็ อดตี   เป็นอย่างไรเลา่  ? คือบุคคลตรึกตรองไปถึงธรรมอันเป็นฐานแห่ง ฉนั ทราคะทล่ี ว่ งไปแลว้ เมอ่ื ตรกึ ตรองตามไป ความพอใจ กเ็ กิดขน้ึ ผเู้ กิดความพอใจแลว้ กช็ ื่อวา่ ถกู ธรรมเหลา่ นนั้ ผกู ไวแ้ ลว้ เรากลา่ วความตดิ ใจนน้ั วา่ เปน็ สงั โยชน์ (เครอ่ื งผกู ) 9

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ความพอใจเกดิ เพราะปรารภธรรมทง้ั หลาย อนั เปน็ ฐาน แหง่ ฉันทราคะทเ่ี ป็นอดตี เป็นอยา่ งน้แี ล. ความพอใจเกิดเพราะปรารภธรรมท้ังหลาย อนั เปน็ ฐานแหง่ ฉนั ทราคะทเ่ี ปน็ อนาคต เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? คอื บคุ คลตรกึ ตรองไปถงึ ธรรม อนั เป็นฐานแห่ง ฉนั ทราคะทย่ี งั ไมม่ าถงึ เมอ่ื ตรกึ ตรองตามไป ความพอใจ ก็เกิดขึ้น ผู้เกิดความพอใจแล้ว ก็ชื่อว่าถูกธรรมเหล่า นั้นผูกไว้แล้ว เรากล่าวความติดใจนั้น ว่าเป็นสังโยชน์ ความพอใจเกดิ เพราะปรารภธรรมทง้ั หลาย อนั เปน็ ฐาน แหง่ ฉนั ทราคะทีเ่ ปน็ อนาคต เป็นอยา่ งนีแ้ ล. ความพอใจเกิดเพราะปรารภธรรมท้ังหลาย อนั เปน็ ฐานแหง่ ฉนั ทราคะทเ่ี ปน็ ปจั จบุ นั เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? คือบุคคลตรึกตรองถึงธรรม อันเป็นฐานแห่ง ฉนั ทราคะที่เกิดข้นึ จ�ำ เพาะหน้า เม่อื ตรกึ ตรองตามไป ความพอใจก็เกิดขึ้น ผู้เกิดความพอใจแล้ว ก็ชื่อว่าถูก ธรรมเหล่านั้นผูกไว้แล้ว เรากล่าวความติดใจนั้น ว่าเป็น สังโยชน์ ความพอใจเกิดเพราะปรารภธรรมทั้งหลาย อนั เปน็ ฐานแหง่ ฉนั ทราคะทเ่ี ปน็ ปจั จบุ นั เปน็ อยา่ งน้แี ล. 10

เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : แก้กรรม ? ภิกษทุ ้งั หลาย !   เหตุ ๓ ประการเหลา่ นแ้ี ล เปน็ ไปเพ่ือความเกดิ ข้ึนพรอ้ มมลู แห่งกรรม. ภกิ ษุท้ังหลาย !   (อกี อยา่ งหนง่ึ ) เหตุ ๓ ประการน้ี เปน็ ไปเพื่อความเกดิ ข้ึนพรอ้ มมลู แห่งกรรม. เหตุ ๓ ประการ คืออะไรบ้างเลา่  ? คอื (๑)  ความพอใจ ไม่เกดิ เพราะปรารภธรรม ทัง้ หลาย อนั เป็นฐานแหง่ ฉันทราคะท่เี ป็นอดีต (๒)  ความพอใจ ไม่เกิด เพราะปรารภธรรม ทง้ั หลายอนั เป็นฐานแห่งฉนั ทราคะทเี่ ป็นอนาคต (๓)  ความพอใจ ไม่เกิด เพราะปรารภธรรม ทัง้ หลายอนั เป็นฐานแหง่ ฉันทราคะที่เปน็ ปัจจุบนั . ความพอใจไม่เกิดเพราะปรารภธรรมทั้งหลาย อันเป็นฐานแห่งฉันทราคะท่ีเปน็ อดีต  เปน็ อยา่ งไร ? คือบุคคลรู้ชัดซึ่งวิบากอันยืดยาวของธรรม อันเป็นฐานแห่งฉันทราคะที่ล่วงไปแล้ว ครั้นรู้ชัดซึ่ง วบิ ากอันยดื ยาวแลว้ กลบั ใจเสียจากเร่ืองนัน้ คร้นั กลบั ใจ ได้แลว้ คลายใจออก ก็เห็นแจ้งแทงตลอดด้วยปญั ญา ความพอใจไมเ่ กดิ เพราะปรารภธรรมทง้ั หลาย อนั เปน็ ฐาน แห่งฉนั ทราคะทเ่ี ป็นอดตี เป็นอย่างน้ีแล. 11

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ความพอใจไม่เกิดเพราะปรารภธรรมท้ังหลาย อนั เปน็ ฐานแหง่ ฉนั ทราคะทเ่ี ปน็ อนาคต  เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? คือบุคคลรู้ชัดซึ่งวิบากอันยืดยาวของธรรม อันเป็นฐานแห่งฉันทราคะท่ียังไม่มาถึง  คร้ันรู้ชัดซึ่ง วบิ ากอนั ยดื ยาวแลว้   กลบั ใจเสยี จากเรอ่ื งนน้ั   ครน้ั กลบั ใจ ได้แล้ว  คลายใจออก  ก็เห็นแจ้งแทงตลอดด้วยปัญญา ความพอใจไมเ่ กดิ เพราะปรารภธรรมทง้ั หลาย  อนั เปน็ ฐานแห่งฉนั ทราคะทเี่ ป็นอนาคต  เป็นอยา่ งนีแ้ ล. ความพอใจไม่เกิดเพราะปรารภธรรมท้ังหลาย อนั เปน็ ฐานแหง่ ฉนั ทราคะทเ่ี ปน็ ปจั จบุ นั   เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? คือบุคคลรู้ชัดซ่ึงวิบากอันยืดยาวของธรรม อนั เปน็ ฐานแหง่ ฉนั ทราคะทเ่ี กดิ ขน้ึ จ�ำ เพาะหนา้ ครน้ั รชู้ ดั ซ่ึงวิบากอันยืดยาวแล้ว  กลับใจเสียจากเร่ืองน้ัน  ครั้น กลับใจไดแ้ ล้ว คลายใจออก กเ็ ห็นแจง้ แทงตลอดด้วย ปัญญา ความพอใจไมเ่ กิดเพราะปรารภธรรมท้งั หลาย อนั เปน็ ฐานแหง่ ฉนั ทราคะทเ่ี ปน็ ปจั จบุ นั เปน็ อยา่ งนแ้ี ล. ภิกษุทงั้ หลาย !   เหตุ ๓ ประการเหล่านี้แล เป็นไปเพ่ือความเกิดข้นึ พรอ้ มมูลแห่งกรรม. 12

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปิด : แกก้ รรม ? สิง่ ที่ไม่ควรคดิ 04 -บาลี จตุกฺก. อ.ํ ๒๑/๑๐๔/๗๗. ภิกษทุ ัง้ หลาย !   อจินไตย ๔ อย่างนี้ไม่ควรคิด ผทู้ ค่ี ดิ กจ็ ะพงึ มสี ว่ นแหง่ ความเปน็ บา้ ไดร้ บั ความล�ำ บากเปลา่ . อจินไตย ๔ คืออะไรบ้างเลา่  ? คือ ๑. พุทธวสิ ยั แหง่ พระพทุ ธเจา้ ทงั้ หลาย เปน็ อจนิ ไตยไมค่ วรคดิ ผทู้ ค่ี ดิ กจ็ ะพงึ มสี ว่ นแหง่ ความเป็นบ้า ได้รับความลำ�บากเปล่า. ๒. ฌานวสิ ยั แหง่ ผไู้ ดฌ้ าน เปน็ อจนิ ไตยไมค่ วรคดิ ผทู้ ค่ี ดิ กจ็ ะพงึ มสี ว่ นแหง่ ความเปน็ บ้า ได้รับความลำ�บากเปลา่ . ๓. วิบากแหง่ กรรม เปน็ อจนิ ไตยไมค่ วรคดิ ผทู้ ค่ี ดิ กจ็ ะพงึ มสี ว่ นแหง่ ความเป็นบ้า ได้รบั ความลำ�บากเปล่า. ๔. โลกจินดา (ความคดิ ในเรอื่ งของโลก) เปน็ อจนิ ไตยไมค่ วรคดิ ผทู้ ค่ี ดิ กจ็ ะพงึ มสี ว่ นแหง่ ความเปน็ บา้ ไดร้ บั ความลำ�บากเปล่า. 13

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษุท้ังหลาย ! นแ้ี ล อจนิ ไตย ๔ ไมค่ วรคิด ผทู้ ีค่ ิด กจ็ ะพงึ มีสว่ น แห่งความเปน็ บ้า ไดร้ ับความล�ำ บากเปลา่ . 14

ประเภทของกรรม

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : แกก้ รรม ? แบ่งตามการกระท�ำและผลทีไ่ ดร้ ับ 05 -บาลี จตกุ ฺก. อ.ํ ๒๑/๓๒๐-๓๒๑/๒๓๗. ภิกษทุ ัง้ หลาย !   กรรม ๔ อย่างเหลา่ นี้ เรากระทำ�ให้แจ้งด้วยปัญญาอันย่ิงเองแล้ว ประกาศให้รทู้ ่ัวกนั . กรรม ๔ อย่าง อย่างไรเล่า ? ภิกษุทง้ั หลาย !   กรรมด�ำ มวี บิ ากดำ� ก็มอี ย.ู่ ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   กรรมขาว มีวิบากขาว กม็ อี ย.ู่ ภิกษุท้ังหลาย !   กรรมทั้งดำ�ทั้งขาว  มีวิบาก ทัง้ ดำ�ทง้ั ขาว กม็ ีอย.ู่ ภิกษุทั้งหลาย !   กรรมไม่ดำ�ไม่ขาว  มีวิบาก ไมด่ ำ�ไมข่ าว  เปน็ ไปเพอื่ ความสิ้นกรรม  กม็ ีอย.ู่ ภิกษุท้ังหลาย !   กรรมดำ�  มีวิบากดำ�  เป็น อย่างไรเล่า ? ภิกษทุ ั้งหลาย !   บคุ คลบางคนในกรณนี ี้ ยอ่ มท�ำ ความปรงุ แตง่ ทางกาย อนั เปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี น ย่อมท�ำความปรุงแต่งทางวาจา  อันเป็นไปกับด้วยความ เบียดเบยี น ย่อมท�ำความปรงุ แต่งทางใจ อันเป็นไปกบั 16

เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : แกก้ รรม ? ด้วยความเบยี ดเบียน. คร้นั เขาท�ำความปรงุ แตง่ (ท้งั สาม) ดงั นแ้ี ลว้ ยอ่ มเขา้ ถงึ โลก อนั เปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี น ผสั สะทงั้ หลายอนั เปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี น ยอ่ มถกู ตอ้ ง เขาซ่ึงเป็นผู้เข้าถึงโลกอันเป็นไปด้วยความเบียดเบียน เขาอนั ผสั สะทเ่ี ปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี นถกู ตอ้ งแลว้ ยอ่ มเสวยเวทนาทเี่ ปน็ ไปดว้ ยความเบยี ดเบยี น อนั เปน็ ทกุ ข์ โดยสว่ นเดยี ว ดังเชน่ พวกสัตวน์ รก. ภิกษุทั้งหลาย !   นี้เรียกว่า กรรมดำ� มีวิบากดำ�. ภิกษุท้ังหลาย !   กรรมขาว  มีวิบากขาว  เป็น อย่างไรเลา่  ? ภิกษทุ ้งั หลาย !   บคุ คลบางคนในกรณนี ี้ ยอ่ มท�ำ ความปรงุ แตง่ ทางกาย อนั ไมเ่ ปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี น ย่อมท�ำความปรุงแต่งทางวาจา อันไม่เป็นไปกับด้วย ความเบยี ดเบยี น ยอ่ มท�ำความปรงุ แตง่ ทางใจ อนั ไมเ่ ปน็ ไป กบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี น. ครน้ั เขาท�ำความปรงุ แตง่ (ทง้ั สาม) ดงั นแ้ี ลว้ ยอ่ มเขา้ ถงึ โลก อนั ไมเ่ ปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี น ผสั สะท้งั หลายที่ไม่เป็นไปกับด้วยความเบียดเบยี น ยอ่ ม ถกู ตอ้ งเขาผเู้ ขา้ ถงึ โลกอนั ไมเ่ ปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี น 17

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เขาอนั ผสั สะทไ่ี มเ่ ปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี นถกู ตอ้ งแลว้ ย่อมเสวยเวทนาท่ีไม่เป็นไปกับด้วยความเบียดเบียน อันเป็นสขุ โดยสว่ นเดียว ดงั เช่นพวกเทพสุภกณิ หา. ภิกษทุ ั้งหลาย !   นี้เรียกว่า กรรมขาว มีวิบากขาว. ภิกษุทั้งหลาย !   กรรมทั้งดำ�ทั้งขาว  มีวิบาก ทง้ั ด�ำ ทั้งขาว  เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ภกิ ษุทงั้ หลาย !   บคุ คลบางคนในกรณนี ี้ ยอ่ มท�ำ ความปรุงแต่งทางกาย  อันเป็นไปกับด้วยความ เบียดเบียนบ้าง  ไม่เป็นไปด้วยความเบียดเบียนบ้าง ยอ่ มท�ำความปรุงแตง่ ทางวาจา อนั เปน็ ไปกับด้วยความ เบียดเบียนบ้าง ไม่เป็นไปกับด้วยความเบียดเบียนบ้าง ย่อมท�ำความปรุงแต่งทางใจ อันเป็นไปกับด้วยความ เบยี ดเบยี นบ้าง ไมเ่ ป็นไปกบั ดว้ ยความเบียดเบยี นบ้าง. ครนั้ เขาท�ำความปรงุ แตง่ (ทงั้ สาม) ดงั นแ้ี ลว้ ยอ่ มเขา้ ถงึ โลก อันเป็นไปกับด้วยความเบียดเบียนบ้าง  ไม่เป็นไปด้วย ความเบียดเบียนบ้าง ผัสสะท้ังหลายที่เป็นไปกับด้วย ความเบยี ดเบยี นบา้ ง  ไมเ่ ปน็ ไปดว้ ยความเบยี ดเบียนบ้าง 18

เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : แก้กรรม ? ย่อมถูกต้องเขาผู้เข้าถึงโลกอันเป็นไปกับด้วยความ เบยี ดเบียนบ้าง ไม่เป็นไปกับดว้ ยความเบียดเบียนบา้ ง เขาอนั ผสั สะทเ่ี ปน็ ไปกบั ดว้ ยความเบยี ดเบยี นบา้ ง ไมเ่ ปน็ ไปดว้ ยความเบยี ดเบยี นบา้ งถกู ตอ้ งแลว้ ยอ่ มเสวยเวทนา ทเ่ี ปน็ ไปกับดว้ ยความเบยี ดเบียนบ้าง ไมเ่ ปน็ ไปดว้ ย ความเบียดเบยี นบา้ ง อนั เป็นเวทนาทีเ่ ป็นสขุ และทุกข์ เจอื กนั ดงั เชน่ พวกมนษุ ย์ พวกเทพบางพวก พวกวนิ บิ าต บางพวก. ภกิ ษุท้งั หลาย !   นเ้ี รยี กวา่ กรรมทง้ั ด�ำ ทง้ั ขาว มวี บิ ากทง้ั ด�ำ ทง้ั ขาว. ภิกษุทัง้ หลาย !   กรรมไมด่ �ำ ไมข่ าว มวี บิ ากไมด่ �ำ ไม่ขาว เป็นไปเพ่อื ความสนิ้ กรรมนนั้ เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? คอื   สมั มาทฏิ ฐ ิ (ความเหน็ ชอบ)  สมั มาสงั กปั ปะ  (ความดำ�ริชอบ) สัมมาวาจา  (การพูดจาชอบ)  สัมมากัมมันตะ  (การทำ�การงานชอบ)  สัมมาอาชีวะ  (การเล้ยี งชวี ติ ชอบ) สัมมาวายามะ  (ความพากเพียรชอบ)  สัมมาสติ (ความระลกึ ชอบ)  สัมมาสมาธ ิ (ความตั้งใจมนั่ ชอบ). 19

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   นเ้ี รยี กวา่ กรรมไมด่ �ำ ไมข่ าว มวี บิ ากไมด่ �ำ ไมข่ าว เป็นไปเพอ่ื ความส้นิ กรรม. ภกิ ษุท้งั หลาย !   เหล่านีแ้ ล กรรม ๔ อยา่ ง ทเ่ี ราท�ำ ใหแ้ จง้ ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เองแลว้ ประกาศใหร้ ทู้ ว่ั กนั . (ในสตู รนี้ ทรงแสดงกรรมไมด่ �ำไมข่ าว เปน็ ทส่ี น้ิ กรรมไว้ ดว้ ยอรยิ มรรคมอี งคแ์ ปด ในสตู รอน่ื ทรงแสดงไวด้ ว้ ย โพชฌงคเ์ จด็ กม็ ี ๒๑/๓๒๒/๒๓๘. แสดงไวด้ ว้ ยเจตนาเปน็ เครอื่ งละกรรมด�ำ กรรมขาว และกรรมทงั้ ด�ำทงั้ ขาว กม็ ี ๒๑/๓๑๘/๒๓๔.). 20

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : แก้กรรม ? อะไรคอื กรรมเก่าและกรรมใหม่ 06 -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๖๖/๒๒๗-๒๓๑. ภิกษุท้ังหลาย !   เราจักแสดงซ่ึงกรรมท้ังหลาย ทง้ั ใหมแ่ ละเกา่   (นวปรุ าณกมั ม)  กมั มนโิ รธ  และกมั มนโิ รธ- คามนิ ปี ฏปิ ทา. .... ภิกษุทัง้ หลาย !   กรรมเก่า (ปุราณกมั ม) เป็นอยา่ งไรเลา่  ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   จกั ษุ (ตา) .... โสตะ (ห)ู .... ฆานะ (จมกู ) .... ชวิ หา (ลน้ิ ) .... กายะ (กาย) .... มนะ (ใจ) อนั เธอทงั้ หลาย พึงเหน็ ว่าเปน็ ปุราณกัมม (กรรมเก่า) อภสิ งั ขตะ (อนั ปจั จยั ปรงุ แตง่ ขน้ึ ) อภสิ ญั เจตยติ ะ (อนั ปจั จยั ทำ�ให้เกดิ ความรสู้ ึกขน้ึ ) เวทนยี ะ (มีความรสู้ กึ ต่ออารมณไ์ ด้). ภกิ ษุทงั้ หลาย !   น้เี รียกว่า กรรมเก่า. ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   กรรมใหม่ (นวกมั ม) เปน็ อยา่ งไรเล่า ? ภิกษุท้ังหลาย !   ข้อท่ีบุคคลกระทำ�กรรม  ด้วยกาย  ด้วยวาจา  ด้วยใจ  ในกาลบัดน้ี  อันใด  อนั นี้เรยี กวา่   กรรมใหม่. 21

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   กัมมนิโรธ (ความดบั แหง่ กรรม) เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ภิกษุท้ังหลาย !   ข้อที่บุคคลถูกต้องวิมุตติ เพราะความดบั แหง่ กายกรรม วจกี รรม มโนกรรม อนั ใด อันน้เี รยี กว่า กัมมนโิ รธ. ภิกษุท้ังหลาย !   กัมมนิโรธคามินีปฏิปทา (ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดับแหง่ กรรม)  เป็นอย่างไรเล่า ? กมั มนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทานน้ั คอื อรยิ อฏั ฐงั คกิ มรรค (อริยมรรคมีองคแ์ ปด) นี้นัน่ เอง ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ  (ความเห็นชอบ)  สัมมาสังกัปปะ  (ความด�ำ ริชอบ) สัมมาวาจา  (การพูดจาชอบ)  สัมมากัมมันตะ  (การทำ�การงานชอบ)  สมั มาอาชวี ะ  (การเลย้ี งชวี ติ ชอบ) สัมมาวายามะ  (ความพากเพียรชอบ)  สัมมาสติ (ความระลกึ ชอบ)  สัมมาสมาธ ิ (ความต้ังใจมน่ั ชอบ). ภิกษุท้ังหลาย !   น้ีเรียกว่า  กัมมนิโรธคามินี- ปฏิปทา. 22

เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : แก้กรรม ? ภิกษุทง้ั หลาย !   ด้วยประการดังนี้แล(เปน็ อันวา่ ) กรรมเก่า เราได้แสดงแล้วแก่เธอทั้งหลาย กรรมใหม่ เรากแ็ สดงแล้ว กัมมนโิ รธ เรากไ็ ดแ้ สดงแล้ว กมั มนิโรธ- คามินีปฏิปทา เรากไ็ ด้แสดงแลว้ . ภิกษุทง้ั หลาย !   กจิ ใด ทศ่ี าสดาผเู้ อน็ ดู แสวงหา ประโยชนเ์ กอื้ กลู อาศยั ความเอ็นดแู ล้ว จะพึงท�ำ แก่ สาวกทั้งหลาย กจิ นนั้ เราได้ทำ�แล้วแก่พวกเธอ. ภิกษุท้ังหลาย !   นั่นโคนไม้  นั่นเรือนว่าง. พวกเธอจงเพยี รเผากเิ ลส อยา่ ไดป้ ระมาท อยา่ เปน็ ผู้ที่ ต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. นี่แล เป็นวาจาเครื่อง พร่ำ�สอนของเรา แก่เธอทั้งหลาย. 23

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : แก้กรรม ? กายนี้ เปน็ “กรรมเก่า” 07 -บาลี นทิ าน. สํ. ๑๖/๗๗/๑๔๓. ภกิ ษทุ ้ังหลาย !   กายนี้ ไมใ่ ช่ของเธอทงั้ หลาย และทง้ั ไมใ่ ชข่ องบุคคลเหลา่ อืน่ . ภิกษุท้ังหลาย !   กรรมเก่า  (กาย)  น้ี  อันเธอ ทง้ั หลายพงึ เหน็ วา่ เปน็ สงิ่ ทป่ี จั จยั ปรงุ แตง่ ขน้ึ   (อภสิ งขฺ ต) เป็นส่ิงที่ปัจจัยทำ�ให้เกิดความรู้สึกข้ึน  (อภิสญฺเจตยิต) เปน็ ส่ิงทีม่ คี วามรสู้ กึ ต่ออารมณ์ได ้ (เวทนยี ). ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ในกรณขี องกายนัน้ อริยสาวก ผู้ได้สดับแล้ว  ย่อมทำ�ไว้ในใจโดยแยบคายเป็นอย่างดี  ซง่ึ ปฏจิ จสมปุ บาท นน่ั เทยี ว ดงั นว้ี า่ “ดว้ ยอาการอยา่ งน้ี เพราะส่ิงนมี้ ี สิ่งน้จี ึงมี เพราะความเกดิ ขน้ึ แห่งส่ิงน้ี สิ่งน้ีจึงเกิดขน้ึ เพราะสง่ิ น้ีไมม่ ี สิง่ นจี้ ึงไม่มี เพราะความดับไปแห่งส่งิ น้ี ส่งิ นีจ้ งึ ดับไป ขอ้ น้ไี ดแ้ กส่ งิ่ เหลา่ นี้คือ เพราะมอี วิชชาเปน็ ปัจจัย จงึ มีสงั ขารทั้งหลาย เพราะมสี ังขารเป็นปจั จัย จงึ มีวญิ ญาณ 24

เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : แกก้ รรม ? เพราะมีวญิ ญาณเปน็ ปจั จยั จงึ มนี ามรูป เพราะมนี ามรูปเปน็ ปัจจยั จึงมีสฬายตนะ เพราะมสี ฬายตนะเปน็ ปัจจยั จึงมีผัสสะ เพราะมีผัสสะเปน็ ปัจจยั จึงมเี วทนา เพราะมเี วทนาเป็นปัจจัย จงึ มีตณั หา เพราะมีตัณหาเป็นปจั จัย จึงมีอปุ าทาน เพราะมีอุปาทานเป็นปจั จยั จึงมีภพ เพราะมีภพเป็นปจั จยั จึงมชี าติ เพราะมชี าตเิ ปน็ ปจั จยั ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะ ทกุ ขะโทมนัสอุปายาสท้ังหลาย จึงเกิดข้นึ ครบถว้ น ความเกดิ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมี ดว้ ยอาการอยา่ งน.้ี เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือแห่ง อวชิ ชานนั้ นน่ั เทียว จึงมคี วามดับแห่งสังขาร เพราะมี ความดบั แหง่ สงั ขาร จงึ มคี วามดบั แหง่ วญิ ญาณ ... ฯลฯ ... ฯลฯ ... ฯลฯ ... เพราะมคี วามดบั แหง่ ชาติ นน่ั แล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดับสิ้น ความดบั ลงแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมี ดว้ ยอาการอยา่ งน”้ี ดงั น้ี แล. 25

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : แกก้ รรม ? การทำ�กรรมทางใดมโี ทษมากท่สี ดุ 08 -บาลี ม. ม. ๑๓/๕๔/๖๒. ทฆี ตปัสสีนิครนถ์ ได้กราบทลู ถามพระผู้มพี ระภาคว่า ท่านพระโคดม !   พระองค์เล่าย่อมบัญญัติทัณฑะ ในการท�ำบาปกรรม ในการเปน็ ไปแห่งบาปกรรมไวเ้ ท่าไร ? ทฆี ตปัสส ี !   ตถาคตจะบญั ญตั ิวา่ กรรมๆ ดังน้ี เป็นอาจณิ . ทา่ นพระโคดม !   กพ็ ระองคย์ ่อมบญั ญัตกิ รรม ในการ ทำ�บาปกรรม ในการเป็นไปแห่งบาปกรรมไวเ้ ทา่ ไร ? ทีฆตปัสสี !   เราย่อมบัญญัติกรรม  ในการทำ� บาปกรรม ในการเป็นไปแห่งบาปกรรมไว้ ๓ ประการ คือ กายกรรม ๑ วจกี รรม ๑ มโนกรรม ๑. ทา่ นพระโคดม !   กก็ ายกรรมอยา่ งหนง่ึ วจกี รรมอยา่ งหนง่ึ มโนกรรมอย่างหนึ่ง มิใช่หรอื  ? ทีฆตปัสสี !   กายกรรมอย่างหนึ่ง  วจีกรรม อย่างหนึ่ง มโนกรรมอย่างหนึ่ง. 26

เปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ : แกก้ รรม ? ทา่ นพระโคดม !   กบ็ รรดากรรมท้ัง ๓ ประการ ทีจ่ �ำ แนก ออกแลว้ เปน็ สว่ นละอยา่ งตา่ งกนั เหลา่ นี้ กรรมไหน คือ กายกรรม วจีกรรม หรือมโนกรรม ที่พระองค์บัญญัติว่ามีโทษมากกว่า ในการทำ�บาปกรรม ในการเป็นไปแหง่ บาปกรรม ? ทีฆตปัสสี !   บรรดากรรมท้ัง  ๓  ประการ ทจ่ี ำ�แนกออกแล้วเป็นส่วนละอย่างตา่ งกันเหล่านี้ เราบญั ญตั มิ โนกรรมวา่ มโี ทษมากกวา่ ในการท�ำ บาปกรรม ในการเป็นไปแห่งบาปกรรม เราจะบญั ญัติกายกรรม วจีกรรม ว่ามโี ทษมาก เหมือนมโนกรรม หามิได.้ ท่านพระโคดม !   พระองคต์ รสั ว่ามโนกรรมหรอื  ? ทฆี ตปสั ส ี !   เรากล่าวว่ามโนกรรม. ท่านพระโคดม !   พระองค์ตรสั ว่ามโนกรรมหรอื  ? ทฆี ตปสั ส ี !   เรากลา่ ววา่ มโนกรรม. ทา่ นพระโคดม !   พระองคต์ รสั วา่ มโนกรรมหรือ ? ทีฆตปัสส ี !   เรากล่าววา่ มโนกรรม. 27

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ทีฆตปัสสีนิครนถ์ให้พระผู้มีพระภาคทรงยืนยัน ในเรื่องท่ตี รัสนี้ถึง ๓ ครงั้ ด้วยประการฉะน้ี แลว้ ลกุ จาก อาสนะเข้าไปหานิครนถ์นาฏบุตรถึงทอ่ี ย.ู่ (จากนน้ั ไดม้ ี อบุ าลคี หบดี เขา้ มาเพอ่ื สนทนาในเรอ่ื งน้ี ตอ่ จากฑฆี ตปสั สนี คิ รณถ์ โดยยงั มคี วามเหน็ วา่ กรรมทางกายมโี ทษ มากกวา่ กรรมทางใจ และพระผมู้ พี ระภาคไดย้ กอปุ มา เพอ่ื ใหเ้ หน็ เปรยี บเทยี บไดช้ ดั เจนยง่ิ ขน้ึ ดงั น)้ี คหบดี !   ท่านจะสำ�คัญความข้อน้ีเป็นอย่างไร ในบา้ นนาลนั ทาน้ี พงึ มบี รุ ษุ คนหนงึ่ เงอื้ ดาบมา เขาพึง กลา่ วอยา่ งนว้ี า่ เราจกั ท�ำ สตั วเ์ ทา่ ทม่ี อี ยใู่ นบา้ นนาลนั ทาน้ี ให้เปน็ ลานเน้อื อนั เดยี วกนั ใหเ้ ปน็ กองเน้ืออันเดยี วกนั โดยขณะหนงึ่ โดยครูห่ น่งึ . คหบด ี !   ท่านจะส�ำ คญั ความ ขอ้ นั้นเปน็ อยา่ งไร บรุ ษุ นั้นจะสามารถทำ�สตั วเ์ ทา่ ท่มี อี ยู่ ในบา้ นนาลนั ทานี้ ให้เปน็ ลานเนอ้ื อันเดยี วกนั ให้เปน็ ก องเน้อื อนั เดยี วกัน โดยขณะหนึ่ง โดยครู่หน่งึ ไดห้ รอื  ? ข้าแตพ่ ระองค์ผเู้ จรญิ  !   บุรุษ ๑๐ คนก็ดี ๒๐ คนกด็ ี ๓๐ คนกด็ ี ๔๐ คนกด็ ี ๕๐ คนกด็ ี ไมส่ ามารถจะทำ�สัตว์เทา่ ทีม่ ี อยูใ่ นบ้านนาลันทาน้ี ใหเ้ ป็นลานเนื้ออนั เดยี วกนั ใหเ้ ป็นกองเนือ้ อนั เดยี วกนั โดยขณะหนง่ึ โดยครหู่ นง่ึ ได้ พระเจา้ ขา้ บรุ ษุ ผตู้ �ำ่ ทราม คนเดยี วจะเกง่ กาจอะไรกันเลา่ . 28