เปดิ ธรรมท่ถี ูกปิด : ภพภูมิ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ก็ถ้าคนท้ังสองนั้นบรรลุเป็น พระอรหนั ต์ แตค่ นทง้ั สองนน้ั ทง้ั ทไ่ี ดบ้ รรลเุ ปน็ พระอรหนั ตเ์ หมอื นกนั พงึ มคี วามพเิ ศษแตกตา่ งกนั หรอื ? สุมนา ! ข้อนี้ เราไม่กล่าวว่า มีความพิเศษ แตกตา่ งกันใดๆ ในวิมตุ ติ กบั วิมุตติ. ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! นา่ อศั จรรย ์ ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! ไม่เคยมี ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้อนี้กำ�หนดได้ว่า บุคคลควร ใหท้ าน ควรท�ำ บญุ เพราะบญุ เปน็ อปุ การะแมแ้ กเ่ ทวดา แมแ้ กม่ นษุ ย์ แมแ้ กบ่ รรพชิต. อย่างนนั้ สุมนา ! อย่างนัน้ สมุ นา ! บุคคลควรให้ทาน ควรทำ�บุญ เพราะบุญเป็น อปุ การะแมแ้ กเ่ ทวดา แมแ้ กม่ นษุ ย์ แม้แกบ่ รรพชิต. (คาถาผนวกท้ายพระสูตร) ดวงจันทร์ปราศจากมลทิน เดินไปในอากาศย่อม สว่างกว่าหมู่ดาวท้ังปวงในโลกด้วยรัศมี ฉันใด บุคคล ผู้สมบูรณ์ด้วยศีล มีศรัทธา ก็ฉันน้ัน ย่อมไพโรจน์กว่า ผตู้ ระหนท่ี ง้ั ปวงในโลกดว้ ยจาคะ (การบรจิ าค) เมฆท่ลี อยไปตาม อากาศ มีสายฟ้าปลาบแปลบ มชี อ่ ตง้ั รอ้ ย ตกรดแผน่ ดนิ เตม็ ทด่ี อนและทล่ี มุ่ ฉนั ใด สาวก ของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ผสู้ มบรู ณด์ ว้ ยทสั สนะ เปน็ บณั ฑติ กฉ็ นั นน้ั ยอ่ มขม่ ผตู้ ระหนไ่ี ดด้ ว้ ยฐานะ ๕ ประการ คอื อายุ วรรณะ สขุ ยศ และเปย่ี มดว้ ยโภคะ ละโลกนไ้ี ปแลว้ ยอ่ ม บนั เทงิ ใจในสวรรค์ ดงั น.้ี 275
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : ภพภูมิ อปุ มาความสุขบนสวรรค์ 74 -บาลี อปุ ริ. ม. ๑๔/๓๒๔-๓๓๓/๔๘๘-๕๐๓. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บณั ฑติ นน้ั นน่ั แล ประพฤตสิ จุ รติ ทางกาย ทางวาจา ทางใจแลว้ เมือ่ ตายไป ย่อมเข้าถงึ สคุ ติ โลกสวรรค.์ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! บคุ คลเมอ่ื จะกลา่ วใหถ้ กู ตอ้ ง พงึ กลา่ วถงึ สวรรคน์ ้ันนน่ั แหละวา่ เปน็ สถานท่ีที่นา่ ปรารถนา น่ารกั ใคร่ น่าพอใจโดยส่วนเดยี ว. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! เพยี งเทา่ นแี้ มจ้ ะเปรยี บอปุ มาถงึ ความสุขในสวรรค์ กไ็ ม่ใชง่ ่ายนัก. ขา้ แตพ่ ระองค์ผเู้ จรญิ ! อาจเปรียบอปุ มาไดห้ รอื ไม ่ ? ภิกษทุ ้งั หลาย ! อาจเปรยี บได้ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เปรยี บเหมอื นพระเจา้ จกั รพรรดิ ทรงประกอบดว้ ยแกว้ ๗ ประการและความสมั ฤทธผิ ล ๔ อยา่ ง จงึ เสวยสขุ โสมนสั อนั มสี ง่ิ เหลา่ นน้ั เปน็ เหตไุ ด.้ พระเจา้ จกั รพรรดทิ รงประกอบดว้ ยแกว้ ๗ ประการ อย่างไรเลา่ ? 276
เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : ภพภูมิ (๑) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! พระราชามหากษตั รยิ ใ์ นโลกน้ี ผทู้ รงไดม้ รุ ธาภเิ ษกแลว้ ทรงสรงสนานพระเศยี ร ทรงรกั ษา อุโบสถในดิถีท่ี ๑๕ ซึ่งวันนั้นเป็นวันอุโบสถ เมื่อประทับ อยู่ในมหาปราสาทชั้นบน ย่อมปรากฏจักรแก้วทิพย์มีกำ� ตงั้ พนั พรอ้ มดว้ ยกงและดมุ บรบิ รู ณด์ ว้ ยอาการทกุ อยา่ ง คร้นั ทอดพระเนตรแล้วไดม้ ีพระราชด�ำ ริดงั น้ีว่า “ก็เราได้สดับมาดังน้ีแล พระราชาพระองค์ใด ผทู้ รงไดม้ รุ ธาภเิ ษกแลว้ ทรงสรงสนานพระเศยี ร ทรงรกั ษา อุโบสถในดิถีท่ี ๑๕ ซึ่งวันนั้นเป็นวันอุโบสถ เมื่อประทับ อยู่ในมหาปราสาทช้ันบน ย่อมปรากฏจักรแก้วทิพย์ มกี �ำ ตง้ั พนั พรอ้ มดว้ ยกงและดมุ บรบิ รู ณด์ ว้ ยอาการทกุ อยา่ ง พระราชานั้นย่อมเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ เราเป็นพระเจ้า จักรพรรดิหรือหนอ” ภิกษุทั้งหลาย ! ต่อนั้น พระองค์เสด็จลุกจาก ราชอาสน์ ทรงจบั พระเตา้ น�ำ้ ดว้ ยพระหตั ถซ์ า้ ย ทรงหลงั่ รด จักรแก้วด้วยพระหัตถ์ขวา รับสั่งว่า “จงพัดผันไปเถิด จกั รแกว้ ผู้เจริญ จกั รแก้วผู้เจรญิ จงพิชติ ให้ย่ิงเถิด” ล�ำ ดบั นน้ั จกั รแกว้ นน้ั กพ็ ดั ผนั ไปทางทศิ ตะวนั ออก พระเจ้าจักรพรรดิพร้อมด้วยจตุรงคเสนาก็เสด็จตามไป 277
พุทธวจน - หมวดธรรม จกั รแก้วประดิษฐานอยู่ ณ ประเทศใด พระเจา้ จักรพรรดิ กเ็ สดจ็ เขา้ ประทบั ณ ประเทศนน้ั พรอ้ มดว้ ยจตรุ งคนิ เี สนา บรรดาพระราชาที่เป็นปฏิปักษ์ในทิศตะวันออก เขา้ มาเฝา้ พระเจา้ จกั รพรรดแิ ลว้ ทลู อยา่ งนว้ี า่ “เชญิ เสดจ็ เถดิ มหาราช ! พระองคเ์ สดจ็ มาดแี ลว้ มหาราช ! ขา้ แตม่ หาราช ! แผ่นดินนเ้ี ปน็ ของพระองค์ ขอพระองค์จงส่งั การเถิด” พระเจ้าจักรพรรดิรับสั่งอย่างนี้ว่า “ท่านทุกคนไม่ควรฆ่าสัตว์ ไม่ควรลักทรัพย์ที่ เจา้ ของมิได้ให้ ไมค่ วรประพฤติผิดในกาม ไม่ควรพดู เทจ็ ไมค่ วรดม่ื น�ำ้ เมา และทา่ นทง้ั หลายจงครอบครองบา้ นเมอื ง กนั ตามสภาพที่เป็นจรงิ เถดิ ” บรรดาพระราชาท่ีเป็นปฏิปักษ์ในทิศตะวันออก เหล่านนั้ แล ได้กลายเปน็ ผูส้ นบั สนุนพระเจา้ จักรพรรดิ ต่อนั้น จักรแก้วนั้นได้พัดผันไปจดสมุทรด้านทิศ ตะวันออก แล้วกลับข้ึนพัดผันไปทิศใต้ … พัดผันไป จดสมุทรดา้ นทิศใต้ แลว้ กลับขนึ้ พัดผนั ไปทศิ ตะวนั ตก … พดั ผนั ไปจดสมทุ รดา้ นทศิ ตะวนั ตก แลว้ กลบั ขนึ้ พดั ผนั ไป ทศิ เหนือ … 278
เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : ภพภมู ิ ภิกษุทั้งหลาย ! คร้ังน้ันแล จักรแก้วนั้นพิชิตย่ิง ตลอดแผน่ ดนิ มสี มทุ รเปน็ ขอบเขต แลว้ กลบั มาสรู่ าชธานเี ดมิ ประดษิ ฐานอยเู่ ปน็ เสมอื นลม่ิ สลกั พระทวาร ภายในพระราชวงั ของพระเจา้ จกั รพรรดิ ท�ำ ใหง้ ดงามอยา่ งมน่ั คงอยู่ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ยอ่ มปรากฏจกั รแกว้ เหน็ ปานน้ี แกพ่ ระเจา้ จกั รพรรดิ. (๒) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ประการอน่ื ยงั มอี กี พระเจา้ จกั รพรรดยิ อ่ มปรากฏชา้ งแกว้ อนั เปน็ ชา้ งหลวงชอ่ื อโุ บสถ เผือกทวั่ สรรพางค์กาย มที ่ีตง้ั อวยั วะทั้งเจ็ดถกู ต้องดี มี ฤทธเ์ิ หาะได้ ครน้ั พระเจา้ จกั รพรรดทิ อดพระเนตรเหน็ แลว้ ยอ่ มมพี ระราชหฤทยั โปรดปรานวา่ “จะเปน็ ยานชา้ งทเ่ี จรญิ หนอ พอ่ มหาจ�ำ เรญิ ถา้ ส�ำ เรจ็ การฝกึ หดั ” ตอ่ นน้ั ชา้ งแกว้ นน้ั จงึ ส�ำ เรจ็ การฝกึ หดั เหมอื นชา้ งอาชาไนยตวั เจรญิ ทถ่ี กู ฝกึ ปรอื ดี แลว้ เปน็ เวลานาน. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เรอ่ื งเคยมมี าแลว้ พระเจา้ จกั รพรรดิ เม่ือจะทรงทดลองช้างแก้วนั้น จึงเสด็จข้ึนทรงในเวลาเช้า เสด็จเวียนรอบปฐพีมีสมุทรเป็นขอบเขต เสด็จกลับมา ราชธานเี ดมิ ทรงเสวยพระกระยาหารเช้าไดท้ นั เวลา. 279
พุทธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ยอ่ มปรากฏชา้ งแกว้ เหน็ ปานน้ี แก่พระเจ้าจักรพรรดิ. (๓) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ประการอน่ื ยงั มอี กี พระเจา้ จักรพรรดิย่อมปรากฏม้าแก้วอันเป็นอัสวราชช่อื วลาหก ขาวปลอด ศีรษะดำ�เหมือนกา เส้นผมสลวยเหมือน หญ้าปล้อง มีฤทธิ์เหาะได้ ครั้นพระเจ้าจักรพรรดิทอด พระเนตรเห็นแล้ว ย่อมมีพระราชหฤทัยโปรดปรานว่า “จะเป็นยานม้าที่เจริญหนอ พ่อมหาจำ�เริญ ถ้าสำ�เร็จการ ฝึกหัด” ต่อนั้น ม้าแก้วน้ันจึงสำ�เร็จการฝึกหัดเหมือน ม้าอาชาไนยตัวเจริญ ทถ่ี ูกฝึกปรอื ดแี ล้วเปน็ เวลานาน. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เรอ่ื งเคยมมี าแลว้ พระเจา้ จกั รพรรดิ เม่ือจะทรงทดลองม้าแก้วนั้น จึงเสด็จขึ้นทรงในเวลาเช้า เสด็จเวียนรอบปฐพีมีสมุทรเป็นขอบเขต เสด็จกลับมา ราชธานเี ดมิ ทรงเสวยพระกระยาหารเชา้ ได้ทนั เวลา. ภิกษุท้ังหลาย ! ย่อมปรากฏม้าแก้วเห็นปานน้ี แก่พระเจา้ จักรพรรดิ. (๔) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ประการอน่ื ยงั มอี กี พระเจา้ จกั รพรรดิย่อมปรากฏมณีแก้วอันเป็นแก้วไพฑูรย์ งาม โชตชิ ว่ ง แปดเหลย่ี ม อนั เจยี ระไนไวอ้ ยา่ งดี มแี สงสวา่ ง แผ่ไปโยชน์หนึ่งโดยรอบ. 280
เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : ภพภูมิ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เรอ่ื งเคยมมี าแลว้ พระเจา้ จกั รพรรดิ เมอ่ื จะทรงทดลองมณแี กว้ นน้ั จงึ สง่ั ใหจ้ ตรุ งคนิ เี สนายกมณขี น้ึ เปน็ ยอดธง แลว้ ใหเ้ คลอ่ื นพลไปในความมืดทึบของราตรี ชาวบา้ นทอ่ี ยรู่ อบๆ พากนั ประกอบการงานดว้ ยแสงสวา่ งนน้ั สำ�คัญวา่ เปน็ กลางวนั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ยอ่ มปรากฏมณแี กว้ เหน็ ปานน้ี แก่พระเจา้ จกั รพรรดิ. (๕) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ประการอน่ื ยงั มอี กี พระเจา้ จักรพรรดิย่อมปรากฏนางแก้วรูปงาม น่าดู น่าเล่ือมใส ประกอบด้วยความงามแห่งผิวพรรณอย่างย่ิง ไม่สูงนัก ไม่ต่�ำ นัก ไม่ผอมนัก ไมอ่ ้วนนกั ไม่ดำ�นกั ไม่ขาวนัก ล่วง ผิวพรรณของมนุษย์ แต่ยังไม่ถึงผิวพรรณทิพย์ มีสัมผัส ทางกายปานประหนง่ึ สมั ผสั ปยุ นนุ่ หรอื ปยุ ฝา้ ย นางแกว้ นน้ั มีตัวอุ่นในคราวหนาว มีตัวเย็นในคราวร้อน มีกลิ่นดัง กลน่ิ จนั ทน์ฟงุ้ ไปแตก่ าย มีกลิ่นดงั กลิ่นอุบลฟงุ้ ไปแตป่ าก นางแก้วน้ันมีปกติต่ืนก่อนนอนทีหลัง คอยฟังบรรหารใช้ (ตรสั สงั่ ) ประพฤตถิ กู พระทยั ทลู ปราศรยั เปน็ ทโ่ี ปรดปราน ตอ่ พระเจา้ จกั รพรรดิ และไมป่ ระพฤตลิ ว่ งพระเจา้ จกั รพรรดิ แมท้ างใจ ไฉนเล่า จะมกี ารประพฤติล่วงทางกายได.้ 281
พุทธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ยอ่ มปรากฏนางแกว้ เหน็ ปานน้ี แก่พระเจ้าจกั รพรรด.ิ (๖) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ประการอน่ื ยงั มอี กี พระเจา้ จักรพรรดิย่อมปรากฏ คหบดีแก้ว ผู้มีจักษุอันเป็นทิพย์ เกิดแต่วิบากของกรรมปรากฏ ซึ่งเป็นเหตุให้มองเห็น ทรพั ยท์ ง้ั ท่มี ีเจ้าของ ท้งั ท่ีไมม่ เี จา้ ของได้ เขาเขา้ เฝา้ พระเจา้ จกั รพรรดแิ ลว้ กราบทลู อยา่ งนว้ี า่ “ขอเดชะ ! พระองค์จงทรงเป็นผู้ขวนขวายน้อยเถิด ขา้ พระองค์จักท�ำ หน้าที่การคลงั ใหพ้ ระองค”์ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เรอ่ื งเคยมมี าแลว้ พระเจา้ จกั รพรรดิ เมื่อจะทรงทดลองคหบดีแก้วน้ัน จึงเสด็จลงเรือพระที่นั่ง ใหล้ อยลอ่ งกระแสน�ำ้ กลางแมน่ �ำ้ คงคา แลว้ รบั สง่ั กะคหบดแี กว้ ดงั น้วี า่ “คหบด ี ! ฉนั ตอ้ งการเงนิ และทอง” คหบดแี กว้ กราบทลู วา่ “ขา้ แตม่ หาราช ! ถา้ เชน่ นน้ั โปรดเทียบเรอื เข้าฝ่ังขา้ งหน่ึงเถิด” พระเจ้าจักรพรรดิตรัสว่า “คหบดี ! ฉันต้องการ เงนิ และทองตรงนแี้ หละ” 282
เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : ภพภมู ิ ทันใดนั้น คหบดีแก้วจึงเอามือทั้ง ๒ หย่อนลง ในนำ้� ยกหม้อเต็มด้วยเงินและทองข้ึนมา แล้วกราบทูล พระเจ้าจักรพรรดิดังนี้ว่า “ข้าแต่มหาราช ! พอหรือยัง เพยี งเทา่ น้ี ใชไ้ ดห้ รอื ยงั เพยี งเทา่ น้ี บชู าไดห้ รอื ยงั เพยี งเทา่ น”้ี พระเจ้าจักรพรรดิจึงรับสั่งอย่างนี้ว่า “คหบดี ! พอละ ใช้ไดแ้ ลว้ บชู าไดแ้ ล้วเพียงเทา่ น”้ี ภิกษุท้ังหลาย ! ย่อมปรากฏคหบดีแก้ว เห็นปานนี้แกพ่ ระเจา้ จักรพรรดิ. (๗) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ประการอน่ื ยงั มอี กี พระเจา้ จักรพรรดิย่อมปรากฏ ปริณายกแก้ว ปริณายกนั้นเป็น บัณฑิต ฉลาด มีปัญญา สามารถถวายข้อแนะนำ�ให้ พระองค์ทรงบำ�รุงผู้ท่ีควรบำ�รุง ทรงถอดถอนผู้ท่ีควร ถอดถอน ทรงแตง่ ต้งั ผ้ทู ่ีควรแตง่ ตั้ง เขาเขา้ ไปเฝา้ พระเจา้ จกั รพรรดแิ ลว้ กราบทลู อยา่ งนว้ี า่ “ขอเดชะ ! ขอพระองค์จงเป็นผู้ขวนขวายน้อยเถิด ขา้ พระองคจ์ กั สง่ั การถวาย” ภิกษุทั้งหลาย ! ย่อมปรากฏปริณายกแก้ว เหน็ ปานนแ้ี กพ่ ระเจา้ จักรพรรดิ. ภิกษุท้ังหลาย ! พระเจ้าจักรพรรดิย่อมทรง ประกอบดว้ ยแกว้ ๗ ประการน้ี. 283
พุทธวจน - หมวดธรรม พระเจา้ จกั รพรรดทิ รงประกอบดว้ ยความสมั ฤทธผิ ล ๔ อยา่ ง เป็นอย่างไรเลา่ ? (๑) ภิกษุท้งั หลาย ! พระเจ้าจักรพรรดิในโลกน้ี ยอ่ มทรงพระสริ โิ ฉมงดงาม นา่ ดนู า่ เลอื่ มใส ประกอบดว้ ย พระฉวีวรรณอนั งดงามอย่างยงิ่ เกนิ มนุษย์อืน่ ๆ ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! พระเจา้ จกั รพรรดิทรงประกอบ ดว้ ยความสัมฤทธผิ ลข้อท่ี ๑ ดงั น้ี. (๒) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ประการอน่ื ยงั มอี กี พระเจา้ จักรพรรดิย่อมทรงพระชนมายุยืน ทรงดำ�รงอยู่นานเกิน มนุษย์อ่นื ๆ ภกิ ษุทั้งหลาย ! พระเจ้าจักรพรรดิทรงประกอบ ด้วยความสมั ฤทธิผลขอ้ ท่ี ๒ ดังน.ี้ (๓) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ประการอน่ื ยงั มอี กี พระเจา้ จักรพรรดิย่อมเป็นผู้มีอาพาธน้อย ไม่ทรงลำ�บาก ทรง ประกอบด้วยพระเตโชธาตุย่อยพระกระยาหารสมำ่�เสมอ ไม่เยน็ นกั ไม่รอ้ นนัก เกินมนษุ ย์อน่ื ๆ ภกิ ษทุ ้ังหลาย ! พระเจ้าจกั รพรรดิทรงประกอบ ดว้ ยความสัมฤทธผิ ลข้อที่ ๓ ดังน้.ี 284
เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : ภพภูมิ (๔) ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! ประการอนื่ ยงั มอี กี พระเจา้ จักรพรรดิย่อมทรงเปน็ ทร่ี ักใครพ่ อใจ ของพราหมณ์และ คหบดี เหมือนบิดาเป็นท่ีรักใคร่พอใจของบุตรฉะน้ัน พราหมณ์และคหบดีก็เป็นที่ทรงโปรดปรานพอพระราช- หฤทัยของพระเจ้าจักรพรรดิเหมือนบุตรเป็นท่ีรักใคร่ พอใจของบิดาฉะน้นั . ภิกษุทั้งหลาย ! เรื่องเคยมีมาแล้ว พระเจ้า จักรพรรดิพร้อมด้วยจตุรงคินีเสนาออกประพาสพระราช อุทยาน ทันทีน้ัน พราหมณ์และคหบดีเข้าไปเฝ้าพระองค์ แลว้ กราบทลู อย่างนีว้ ่า “ขอเดชะ ! ขอพระองค์อย่ารีบด่วน โปรดเสด็จ โดยอาการทพ่ี วกข้าพระองค์ได้ชมพระบารมีนานๆ เถดิ ” แมพ้ ระเจ้าจักรพรรดกิ ท็ รงส่ังสารถีวา่ “สารถี ทา่ นอย่ารีบด่วน จงขับไปโดยอาการที่ฉัน ได้ชมบรรดาพราหมณแ์ ละคหบดนี านๆ เถิด” ภิกษทุ ั้งหลาย ! พระเจ้าจกั รพรรดิทรงประกอบ ดว้ ยความสมั ฤทธิผลข้อที่ ๔ ดังน้ี. 285
พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย ! พวกเธอจะสำ�คัญความข้อน้ัน เป็นอย่างไรเล่า พระเจ้าจักรพรรดิทรงประกอบด้วยแก้ว ๗ ประการ และความสัมฤทธิผล ๔ อย่างดังนี้ พึงเสวย สุขโสมนัสอนั มสี ง่ิ ประกอบนั้นเปน็ เหตบุ ้างไหมหนอ ? ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! พระเจา้ จกั รพรรดทิ รงประกอบ ดว้ ยแกว้ แมป้ ระการหนง่ึ ๆ กท็ รงเสวยสขุ โสมนสั อนั มแี กว้ ประการนน้ั เปน็ เหตไุ ด้ จะปว่ ยกลา่ วไปไยถงึ แกว้ ทง้ั ๗ ประการ และความสมั ฤทธผิ ล ทง้ั ๔ อยา่ ง. ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคทรงหยิบแผ่นหินย่อมๆ ขนาดเทา่ ฝ่ามือ แล้วตรัสถามภกิ ษุทงั้ หลายว่า ภิกษุทั้งหลาย ! พวกเธอจะสำ�คัญความข้อน้ัน เปน็ อยา่ งไรเลา่ แผน่ หนิ ยอ่ มๆ ขนาดเทา่ ฝา่ มอื ทเ่ี ราถอื นี้ กับภูเขาหลวงหิมพานต์อยา่ งไหนหนอแลมากกวา่ กนั ? ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! แผ่นหินย่อมๆ ขนาดเท่า ฝ่ามือท่ีทรงถือน้ีมีประมาณน้อยนัก เปรียบเทียบภูเขาหลวง หมิ พานตแ์ ลว้ ยอ่ มไมถ่ งึ แมค้ วามนบั ยอ่ มไมถ่ งึ แมส้ ว่ นแหง่ เสย้ี ว ย่อมไมถ่ ึงแมก้ ารเทียบกันได.้ 286
เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : ภพภูมิ ภิกษุทั้งหลาย ! ฉันนั้นเหมือนกันแล พระเจ้า จักรพรรดินี้ ทรงประกอบด้วยแก้ว ๗ ประการและ ความสัมฤทธิผล ๔ อย่าง ย่อมทรงเสวยสุขโสมนัสอันมี ส่ิงเหล่าน้ันเป็นเหตุได้ สุขโสมนัสนั้นเปรียบเทียบ สขุ อนั เปน็ ทพิ ยแ์ ลว้ ยอ่ มไมถ่ งึ แมก้ ารนบั ยอ่ มไมเ่ ขา้ ถงึ แม้ส่วนแหง่ เสยี้ ว ย่อมไม่ถงึ แม้การเทียบกนั ได.้ ภิกษุท้ังหลาย ! บัณฑิตนั้นน่ันแล ถ้ามาสู่ความ เป็นมนุษย์ในบางคร้ังบางคราว ไม่ว่ากาลไหนๆ โดยล่วง ระยะกาลนาน ก็ย่อมเกิดในสกุลสูง คือ สกุลกษัตริย์ มหาศาล หรือสกุลพราหมณ์มหาศาล หรือสกุลคหบดี มหาศาล เห็นปานน้ัน อันเป็นสกุลมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก มีทองและเงิน อุปกรณ์เคร่ืองปลื้มใจ และ ทรัพย์ธัญญาหารอย่างเพียงพอ และเขาจะเป็นผู้มีรูปงาม น่าดู น่าเลื่อมใส ประกอบด้วยความงามแห่งผิวพรรณ อย่างย่ิง มีปกติได้ข้าว นำ้� ผ้า ยาน ดอกไม้ ของหอม เคร่ืองลูบไล้ ที่นอน ท่ีอยู่อาศัย และเคร่ืองตามประทีป เขาจะประพฤตกิ ายสจุ รติ วจสี จุ รติ มโนสจุ รติ ครนั้ แลว้ เมอื่ ตายไป จะเข้าถึงสคุ ติโลกสวรรค์. 287
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! เหมือนนักเลงการพนัน เพราะ ฉวยเอาชัยชนะได้ประการแรกเท่านน้ั จงึ บรรลุโภคสมบัติ มากมาย การฉวยเอาชัยชนะของนักเลงการพนันที่บรรลุ โภคสมบัติมากมายไดน้ นั้ แลเพียงเล็กน้อย ทแ่ี ทแ้ ล การฉวยเอาชยั ชนะใหญห่ ลวงกวา่ นนั้ คอื การฉวยเอาชัยชนะที่บัณฑิตนั้น ประพฤติกายสุจริต วจีสจุ รติ มโนสุจริต แล้วตายไป เข้าถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ นน่ั เอง. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นภี้ ูมขิ องบัณฑิตครบถว้ นบริบูรณ.์ 288
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปิด : ภพภมู ิ อานสิ งส์การรกั ษาอโุ บสถ 75 -บาลี เอก. อํ. ๒๐/๒๖๓/๕๑๐. วสิ าขา ! อโุ บสถ1 มี ๓ อย่าง. ๓ อยา่ ง เปน็ ไฉน ? คือ (๑) โคปาลกอโุ บสถ (๒) นิคณั ฐอุโบสถ (๓) อรยิ อโุ บสถ วสิ าขา ! กโ็ คปาลกอโุ บสถ เปน็ อยา่ งไร ? วิสาขา ! เปรียบเหมือนคนเลี้ยงโค เวลาเย็น มอบฝูงโคให้แก่เจ้าของแล้ว พิจารณาดังน้ีว่า “วันนี้โค เทย่ี วไปในประเทศโนน้ ๆ ดม่ื น�ำ้ ในประเทศโนน้ ๆ พรงุ่ นโ้ี ค จกั เทย่ี วไปในประเทศโนน้ ๆ จกั ดม่ื น�ำ้ ในประเทศโนน้ ๆ” แม้ฉันใด. วิสาขา ! ฉันนั้นเหมือนกัน คนรักษาอุโบสถ บางคนในโลกนี้ พจิ ารณาดังนว้ี ่า “วนั น้ีเราเคยี้ วของเคี้ยว ชนดิ นๆ้ี กนิ ของชนดิ นๆ้ี พรงุ่ นเ้ี ราจะเคย้ี วของเคย้ี วชนดิ นๆ้ี จักกินของกินชนิดน้ีๆ เขามีใจประกอบด้วยความโลภ อยากได้ของเขา ท�ำ วันใหล้ ว่ งไปด้วยความโลภนัน้ ”. 1. อโุ บสถ = รปู แบบหนง่ึ ของการประพฤติพรหมจรรย.์ 289
พุทธวจน - หมวดธรรม วสิ าขา ! โคปาลกอโุ บสถเปน็ เช่นน้ีแล. วิสาขา ! โคปาลกอุโบสถ ท่ีบุคคลเข้าจำ�แล้ว อยา่ งนแ้ี ล ไมม่ ผี ลมาก ไมม่ อี านสิ งสม์ าก ไมร่ งุ่ เรอื งมาก ไม่แผไ่ พศาลมาก. วิสาขา ! กน็ ิคัณฐอโุ บสถ เปน็ อย่างไร ? วิสาขา ! มีสมณนิกายหนึ่ง มีนามว่านิครนถ์ นิครนถ์เหล่าน้ันชักชวนสาวกอย่างน้ีว่า “มาเถอะพ่อคุณ ท่านจงวางท่อนไม้ในหมู่สัตว์ท่ีอยู่ทางทิศบูรพา ในที่เลย ร้อยโยชน์ไป จงวางท่อนไม้ในหมู่สัตว์ที่อยู่ทางทิศปัจจิม ในทเี่ ลยรอ้ ยโยชนไ์ ป จงวางทอ่ นไมใ้ นหมสู่ ตั วท์ อ่ี ยทู่ างทศิ อดุ รในทเ่ี ลยรอ้ ยโยชนไ์ ป จงวางทอ่ นไมใ้ นหมสู่ ตั วท์ อ่ี ยทู่ าง ทศิ ทักษิณในทเ่ี ลยรอ้ ยโยชน์ไป” นคิ รนถเ์ หลา่ น้นั ชกั ชวน เพ่ือเอ็นดูกรุณาสัตว์บางเหล่า ไม่ชักชวนเพ่ือเอ็นดูกรุณา สัตว์บางเหล่า ด้วยประการฉะนี้ นิครนถ์เหล่าน้ันชักชวน สาวกในอโุ บสถเชน่ นัน้ อยา่ งนีว้ า่ “มาเถอะพอ่ คุณ ทา่ นจง ทง้ิ ผา้ เสยี ทกุ ชน้ิ ” แลว้ พดู อยา่ งนว้ี า่ “เราไมเ่ ปน็ ทก่ี งั วลของ ใครๆ ในที่ไหนๆ และตัวเราก็ไม่มีความกังวลในบุคคล และสิ่งของใดๆ ในท่ีไหนๆ” ดังนี้ แต่ว่ามารดาและบิดา 290
เปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ : ภพภมู ิ ของเขารอู้ ยวู่ ่า ผนู้ เี้ ปน็ บตุ รของเรา แม้เขาก็ร้วู า่ ทา่ นเหลา่ นี้เป็นมารดาบิดาของเรา อน่ึง บุตรและภรรยาของเขาก็รู้ อยวู่ า่ ผนู้ เ้ี ปน็ บดิ าและสามขี องเรา แมเ้ ขากร็ อู้ ยวู่ า่ ผนู้ เี้ ปน็ บุตรภรรยาของเรา พวกทาสและคนงานของเขารู้อยู่ว่า ทา่ นผนู้ เี้ ปน็ นายของเรา ถงึ ตวั เขากร็ วู้ า่ คนเหลา่ นเ้ี ปน็ ทาส และคนงานของเรา เขาชกั ชวนในการพดู เทจ็ ในสมยั ทค่ี วร ชักชวนในคำ�สตั ย์ ดว้ ยประการฉะน้ี เรากล่าวถงึ กรรมของ ผู้น้ันเพราะมุสาวาท พอล่วงราตรีนั้นไป เขาย่อมบริโภค โภคะเหลา่ นน้ั ทเ่ี จา้ ของไมไ่ ดใ้ ห้ เรากลา่ วถงึ กรรมของผนู้ น้ั เพราะอทนิ นาทาน. วิสาขา ! นคิ ณั ฐอุโบสถเปน็ เช่นน้ีแล. วิสาขา ! นิคัณฐอุโบสถ ที่บุคคลเข้าจำ�แล้ว อย่างน้ี ไม่มีผลมาก ไม่มีอานิสงส์มาก ไม่รุ่งเรืองมาก ไมแ่ ผไ่ พศาลมาก. วิสาขา ! กอ็ ริยอโุ บสถ เปน็ อย่างไร ? วสิ าขา ! จติ ทเ่ี ศรา้ หมองยอ่ มท�ำ ใหผ้ อ่ งแผว้ ไดด้ ว้ ย ความเพียร ก็จิตท่ีเศร้าหมองย่อมทำ�ให้ผ่องแผ้วได้ด้วย ความเพยี รอยา่ งไร ? 291
พุทธวจน - หมวดธรรม วสิ าขา ! อรยิ สาวกในธรรมวินยั น้ี ยอ่ มระลกึ ถงึ ตถาคตวา่ แมเ้ พราะเหตนุ ๆี้ พระผมู้ พี ระภาคพระองคน์ น้ั เปน็ พระอรหนั ต์ ตรสั รเู้ องโดยชอบ ถงึ พรอ้ มดว้ ยวชิ ชาและ จรณะเสด็จไปดแี ล้ว ทรงรู้แจ้งโลก เป็นผ้สู ามารถฝกึ คนที่ ควรฝกึ อยา่ งไมม่ ใี ครยง่ิ กวา่ เปน็ ครขู องเทวดาและมนษุ ย์ ทง้ั หลาย ทรงเบกิ บานแลว้ เปน็ ผจู้ �ำ แนกธรรม เมอ่ื เธอหมน่ั ระลกึ ถงึ ตถาคตอยู่ จติ ยอ่ มผอ่ งใส เกดิ ความปราโมทย์ ละเคร่ืองเศรา้ หมองแห่งจิตเสียได้. วิสาขา ! เปรียบเหมือนศีรษะที่เปื้อนจะทำ�ให้ สะอาดได้ด้วยความเพียร ก็ศีรษะที่เปื้อนจะทำ�ให้สะอาด ไดด้ ว้ ยความเพยี รอยา่ งไร ? จะท�ำ ใหส้ ะอาดไดเ้ พราะอาศยั ขต้ี ะกรนั ดนิ เหนยี ว น�ำ้ และความพยายามอนั เกดิ แตเ่ หตนุ น้ั ของบุคคล. วิสาขา ! ศีรษะท่ีเป้ือนย่อมทำ�ให้สะอาดได้ด้วย ความเพียรอย่างนี้แล ฉันใด จิตท่ีเศร้าหมองจะทำ�ให้ ผอ่ งแผว้ ได้ดว้ ยความเพยี รฉันน้นั เหมอื นกัน. วสิ าขา ! อรยิ สาวกนเ้ี รยี กวา่ เขา้ จ�ำ พรหมอโุ บสถ อยู่ร่วมกับพรหม และมีจิตผ่องใสเพราะปรารภพรหม เกดิ ความปราโมทย์ ละเครอ่ื งเศรา้ หมองแหง่ จติ เสยี ได.้ วิสาขา ! จิตที่เศร้าหมองย่อมทำ�ให้ผ่องแผ้วได้ ดว้ ยความเพยี รอยา่ งนีแ้ ล. 292
เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : ภพภูมิ วิสาขา ! จิตที่เศร้าหมองย่อมทำ�ให้ผ่องแผ้วได้ ด้วยความเพียร ก็จิตท่ีเศร้าหมองย่อมทำ�ให้ผ่องแผ้วได้ ดว้ ยความเพียรอยา่ งไร ? วสิ าขา ! อรยิ สาวกในธรรมวินัยนี้ ยอ่ มระลกึ ถึง ธรรมวา่ พระธรรมอนั พระผมู้ พี ระภาคตรสั ดแี ลว้ อนั บคุ คล ผบู้ รรลจุ ะพงึ เหน็ เอง ไมป่ ระกอบดว้ ยกาล ควรเรยี กใหม้ าดู ควรน้อมเข้ามา อันวิญญูชนพึงรู้เฉพาะตน เมื่อเธอหม่ัน ระลึกถึงธรรมอยู่ จิตย่อมผ่องใส เกิดความปราโมทย์ ละเคร่อื งเศรา้ หมองแหง่ จติ เสียได้. วิสาขา ! เปรียบเหมือนกายท่ีเปื้อนจะทำ�ให้ สะอาดได้ด้วยความเพียร ก็กายที่เป้ือนย่อมทำ�ให้สะอาด ได้ด้วยความเพยี รอยา่ งไร ? จะท�ำ ใหส้ ะอาดไดเ้ พราะอาศยั เชอื กจรุ ณส�ำ หรบั อาบน�ำ้ และความพยายามอนั เกดิ แตเ่ หตนุ น้ั ของบคุ คล. วิสาขา ! กายที่เปื้อนย่อมทำ�ให้สะอาดได้ด้วย ความเพียรอย่างนี้แล ฉันใด จิตท่ีเศร้าหมองย่อมทำ�ให้ ผ่องแผ้วได้ดว้ ยความเพยี ร ฉนั น้ันเหมอื นกัน. วสิ าขา ! อรยิ สาวกนเ้ี รยี กวา่ เขา้ จ�ำ ธรรมอโุ บสถอยู่ อยู่ร่วมกับธรรม และมีจิตผ่องใสเพราะปรารภธรรม เกดิ ความปราโมทย์ ละเครอ่ื งเศรา้ หมองแหง่ จติ เสยี ได.้ 293
พุทธวจน - หมวดธรรม วิสาขา ! จิตที่เศร้าหมองย่อมทำ�ให้ผ่องแผ้วได้ ดว้ ยความเพียรอยา่ งนีแ้ ล. วิสาขา ! จิตท่ีเศร้าหมองจะทำ�ให้ผ่องแผ้วได้ ดว้ ยความเพยี ร กจ็ ติ ทเี่ ศรา้ หมองจะท�ำ ใหผ้ อ่ งแผว้ ไดด้ ว้ ย ความเพยี รอย่างไร ? วสิ าขา ! อรยิ สาวกในธรรมวินัยน้ี ยอ่ มระลกึ ถึง พระสงฆ์ว่า พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้ ปฏบิ ตั ดิ แี ลว้ เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ติ รงแลว้ เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั เิ ปน็ ธรรม เป็นผู้ปฏิบัติสมควร นี้คือคู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวได้ ๘ บรุ ษุ นพี้ ระสงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาค เปน็ ผคู้ วรแก่ ของสักการะ เป็นผู้ควรแก่ของต้อนรับ เป็นผู้ควรของ ทำ�บุญ เปน็ ผ้คู วรท�ำ อญั ชลี เปน็ นาบุญของโลกไมม่ ีนาบุญ อ่ืนย่ิงกว่า เมื่อเธอหม่ันระลึกถึงพระสงฆ์อยู่ จิตย่อม ผ่องใส เกิดความปราโมทย์ ละเคร่ืองเศร้าหมองแห่ง จิตเสียได้. วิสาขา ! เปรียบเหมือนผ้าที่เปื้อนจะทำ�ให้ สะอาดได้ด้วยความเพียร ก็ผ้าท่ีเป้ือนจะทำ�ให้สะอาดได้ ด้วยความเพียรอย่างไร ? จะทำ�ให้สะอาดได้เพราะอาศัย เกลอื น�้ำ ดา่ ง โคมยั น�ำ้ และความพยายามอนั เกดิ แตเ่ หตนุ น้ั ของบคุ คล. 294
เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : ภพภูมิ วิสาขา ! ผ้าท่ีเปื้อนย่อมทำ�ให้สะอาดได้ด้วย ความเพยี รอยา่ งนแ้ี ล ฉนั ใด จติ ทเ่ี ศรา้ หมองจะท�ำ ใหผ้ อ่ งแผว้ ได้ดว้ ยความเพียร ฉนั น้นั เหมือนกัน. วิสาขา ! อริยสาวกน้ีเรียกว่า เข้าจำ�สังฆอุโบสถ อยรู่ ว่ มกับสงฆ์ และมจี ติ ผอ่ งใสเพราะปรารภสงฆ์ เกดิ ความปราโมทย์ ละเครอ่ื งเศรา้ หมองแห่งจิตเสยี ได.้ วิสาขา ! จิตที่เศร้าหมองย่อมทำ�ให้ผ่องแผ้วได้ ด้วยความเพยี รอยา่ งน้ีแล. วิสาขา ! จิตที่เศร้าหมองจะทำ�ให้ผ่องแผ้วได้ ดว้ ยความเพยี ร กจ็ ติ ทเ่ี ศรา้ หมองจะท�ำ ใหผ้ อ่ งแผว้ ไดด้ ว้ ย ความเพยี รอยา่ งไร ? วสิ าขา ! อริยสาวกในธรรมวนิ ยั นี้ ย่อมระลกึ ถงึ ศลี ของตนอนั ไม่ขาด ไม่ทะลุ ไมด่ า่ ง ไม่พร้อย เป็นไทแก่ ตณั หา ทา่ นผรู้ สู้ รรเสรญิ ไมถ่ กู ตณั หาและทฐิ ลิ บู คล�ำ เปน็ ไป เพื่อสมาธิ เม่ือเธอหม่ันระลึกถึงศีลอยู่ จิตย่อมผ่องใส เกดิ ความปราโมทย์ ละเครอ่ื งเศรา้ หมองแหง่ จติ เสยี ได.้ วิสาขา ! เปรียบเหมือนกระจกเงาท่ีมัวจะทำ�ให้ ใสได้ด้วยความเพียร ก็กระจกเงาท่ีมัวจะทำ�ให้ใสได้ด้วย ความเพยี รอยา่ งไร ? จะท�ำ ใหใ้ สไดเ้ พราะอาศยั น�ำ้ มนั เถา้ แปรง และความพยายามอันเกดิ แต่เหตุน้ันของบุคคล. 295
พุทธวจน - หมวดธรรม วิสาขา ! กระจกเงาท่มี ัวจะทำ�ให้ใสได้ด้วยความ เพียรอย่างน้ีแล ฉันใด จิตที่เศร้าหมองจะทำ�ให้ผ่องแผ้ว ไดก้ ็ด้วยความเพยี ร ฉันนนั้ เหมอื นกัน. วสิ าขา ! อรยิ สาวกนเ้ี รยี กวา่ เขา้ จ�ำ ศลี อโุ บสถ อยู่ รว่ มกับศีล และมีจติ ผ่องใสเพราะปรารภศีล เกดิ ความ ปราโมทย์ ละเคร่ืองเศร้าหมองแห่งจิตเสียได.้ วิสาขา ! จิตท่ีเศร้าหมองย่อมทำ�ให้ผ่องแผ้วได้ ดว้ ยความเพียรอย่างนี้แล. วิสาขา ! จิตท่ีเศร้าหมองจะทำ�ให้ผ่องแผ้วได้ ดว้ ยความเพยี ร กจ็ ติ ทเ่ี ศรา้ หมองจะท�ำ ใหผ้ อ่ งแผว้ ไดด้ ว้ ย ความเพียรอยา่ งไร ? วิสาขา ! อรยิ สาวกในธรรมวินยั น้ี ย่อมระลกึ ถงึ เทวดาว่า เทวดาเหล่าจาตุมหาราชิกามีอยู่ เทวดาเหล่า ดาวดงึ สม์ อี ยู่ เทวดาเหลา่ ยามามอี ยู่ เทวดาเหลา่ ดสุ ติ มอี ยู่ เทวดาเหล่านิมมานรดีมีอยู่ เทวดาเหล่าปรินิมมิตวสวัตตี มอี ยู่ เหลา่ เทวดาผนู้ บั เนอ่ื งในหมพู่ รหมมอี ยู่ เทวดาเหลา่ ท่ี สูงกว่าน้ันขึ้นไปมีอยู่ เทวดาเหล่าน้ันประกอบด้วยศรัทธา เชน่ ใด จตุ จิ ากภพนไ้ี ปเกดิ ในภพนน้ั ศรทั ธาเชน่ นน้ั แมข้ องเรา ก็มี เทวดาเหล่าน้ันประกอบด้วยศีลเช่นใด จุติจากภพน้ี 296
เปดิ ธรรมทถี่ กู ปิด : ภพภูมิ ไปเกิดในภพน้ัน ศีลเชน่ น้ันแมข้ องเรากม็ ี เทวดาเหล่านั้น ประกอบด้วยสุตตะเช่นใด จุติจากภพน้ีไปเกดิ ในภพนน้ั สุตตะเช่นน้นั แม้ของเราก็มี เทวดาเหล่าน้นั ประกอบด้วย จาคะเชน่ ใด จตุ จิ ากภพนไ้ี ปเกดิ ในภพนนั้ จาคะเชน่ นนั้ แม้ ของเรากม็ ี เทวดาเหลา่ นั้นประกอบดว้ ยปัญญาเชน่ ใด จตุ ิ จากภพน้ีไปเกิดในภพน้ัน ปัญญาเช่นน้ันแม้ของเราก็มี เม่ือเธอหมั่นระลึกถึงศรัทธา ศีล สุตตะ จาคะ และ ปญั ญาของตนกบั ของเทวดาเหลา่ นน้ั อยู่ จติ ยอ่ มผอ่ งใส เกดิ ความปราโมทย์ ละเครอ่ื งเศรา้ หมองแหง่ จติ เสยี ได.้ วสิ าขา ! เปรยี บเหมอื นทองทห่ี มองจะท�ำ ใหส้ กุ ได้ กด็ ว้ ยความเพยี ร กท็ องทห่ี มองจะท�ำ ใหส้ กุ ไดด้ ว้ ยความเพยี ร อยา่ งไร ? จะทำ�ให้สกุ ไดเ้ พราะอาศยั เบ้าหลอมทอง เกลือ ยางไม้ คมี และความพยายามอนั เกดิ แตเ่ หตนุ น้ั ของบคุ คล. วสิ าขา ! ทองทห่ี มองจะท�ำ ใหส้ กุ ไดด้ ว้ ยความเพยี ร อยา่ งนแ้ี ล ฉันใด จติ ท่เี ศรา้ หมองจะทำ�ใหผ้ ่องแผว้ ไดด้ ้วย ความเพยี ร ฉันนั้นเหมอื นกัน. วิสาขา ! อริยสาวกเช่นน้ีเรียกว่า เข้าจำ�เทวดา อโุ บสถ อยรู่ ว่ มกบั เทวดา มจี ติ ผอ่ งใสเพราะปรารภเทวดา เกดิ ความปราโมทย์ ละเครอ่ื งเศรา้ หมองแหง่ จติ เสยี ได.้ 297
พุทธวจน - หมวดธรรม วิสาขา ! จิตที่เศร้าหมองจะทำ�ให้ผ่องแผ้วได้ ดว้ ยความเพียรอยา่ งน้แี ล. วสิ าขา ! อรยิ สาวกนน้ั ยอ่ มพจิ ารณาเหน็ ดงั นว้ี า่ (๑) พระอรหนั ตท์ ง้ั หลาย ละการฆา่ สตั ว์ เวน้ ขาด จากการฆา่ สตั ว์ วางทอ่ นไม้ วางศสั ตราแลว้ มคี วามละอาย มีความเอ็นดู มีความกรุณา หวังประโยชน์แก่สัตว์ท้ังปวง อยจู่ นตลอดชวี ติ แมเ้ รากไ็ ดล้ ะการฆา่ สตั ว์ เวน้ ขาดจาก การฆ่าสัตว์ วางท่อนไม้ วางศัสตราแล้ว มีความละอาย มคี วามเอน็ ดู มคี วามกรณุ า หวงั ประโยชนแ์ กส่ ตั วท์ ง้ั ปวงอยู่ ตลอดคืนหน่ึงกบั วันหน่งึ ในวันนี้ แมด้ ้วยองค์อนั นี้ เราก็ ชอ่ื วา่ ไดท้ �ำ ตามพระอรหนั ตท์ ง้ั หลาย ทง้ั อโุ บสถกจ็ กั เปน็ อนั เราเขา้ จำ�แลว้ (๒) พระอรหนั ตท์ ง้ั หลาย ละการลกั ทรพั ย์ เวน้ ขาด จากการลกั ทรพั ย์ รบั แตข่ องทเ่ี ขาให้ ตอ้ งการแตข่ องทเ่ี ขาให้ ไมป่ ระพฤตติ นเปน็ คนขโมย เปน็ ผสู้ ะอาดอยจู่ นตลอดชวี ติ แม้เราก็ละการลกั ทรัพย์ เวน้ ขาดจากการลกั ทรัพย์ รับ แต่ของท่ีเขาให้ ต้องการแต่ของที่เขาให้ ไม่ประพฤติตน เปน็ คนขโมย เปน็ ผสู้ ะอาดอยู่ ตลอดคนื หนงึ่ กบั วนั หนง่ึ ใน วันนี้ แมด้ ้วยองค์อนั น้ี เราก็ชอื่ ว่าได้ท�ำ ตามพระอรหนั ต์ ท้งั หลาย ท้ังอโุ บสถกจ็ กั เป็นอนั เราเข้าจำ�แลว้ 298
เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : ภพภมู ิ (๓) พระอรหันต์ทั้งหลาย ละกรรมเป็นข้าศึก แก่พรหมจรรย์ ประพฤติพรหมจรรย์ ประพฤติห่างไกล เว้นขาดจากเมถุนอันเป็นกิจของชาวบ้านจนตลอดชีวิต แม้เราก็ได้ละกรรมเป็นข้าศึกแก่พรหมจรรย์ ประพฤติ พรหมจรรย์ ประพฤติห่างไกล เว้นขาดจากเมถุนอัน เป็นกิจของชาวบ้าน ตลอดคืนหน่ึงกับวันหน่ึงในวันน้ี แมด้ ว้ ยองคอ์ นั น้ี เรากช็ อ่ื วา่ ไดท้ �ำ ตามพระอรหนั ตท์ ง้ั หลาย ทงั้ อุโบสถกจ็ ักเป็นอนั เราเข้าจ�ำ แล้ว (๔) พระอรหนั ตท์ ง้ั หลาย ละการพดู เทจ็ เวน้ ขาด จากการพดู เทจ็ พดู แตค่ �ำ จรงิ ด�ำ รงค�ำ สตั ย์ พดู เปน็ หลกั ฐาน ควรเชื่อได้ไม่พูดลวงโลกจนตลอดชีวิต แม้เราก็ได้ละ การพูดเท็จ เว้นขาดจากการพูดเท็จ พูดแต่คำ�จริง ด�ำ รงค�ำ สตั ย์ พูดเปน็ หลกั ฐาน ควรเชือ่ ได้ ไมพ่ ูดลวงโลก ตลอดคืนหนึ่งกับวันหน่ึงในวันน้ี แม้ด้วยองค์อันน้ี เราก็ช่ือว่าได้ทำ�ตามพระอรหันต์ท้ังหลาย ท้ังอุโบสถ ก็จกั เป็นอันเราเขา้ จำ�แลว้ (๕) พระอรหันต์ทั้งหลาย ละการดื่มนำ้�เมา คือ สรุ าและเมรยั อนั เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ความประมาท เวน้ ขาดจากการ ดม่ื น�ำ้ เมาคอื สรุ าและเมรยั อนั เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ความประมาท 299
พุทธวจน - หมวดธรรม แมจ้ นตลอดชวี ติ แมเ้ รากล็ ะการดม่ื น�้ำ เมา คอื สรุ าและ เมรยั อนั เปน็ ทตี่ ง้ั แหง่ ความประมาท เวน้ ขาดจากการดมื่ นำ้�เมาคือสุราและเมรัยอันเป็นท่ีต้ังแห่งความประมาท ตลอดคนื หนงึ่ กบั วนั หนึ่งในวนั น้ี แมด้ ว้ ยองคอ์ นั นี้ เราก็ ชอ่ื วา่ ไดท้ �ำ ตามพระอรหนั ตท์ ง้ั หลาย ทง้ั อโุ บสถกจ็ กั เปน็ อันเราเข้าจ�ำ แล้ว (๖) พระอรหนั ตท์ ง้ั หลายเปน็ ผฉู้ นั อาหารวนั หนง่ึ เพยี งหนเดยี ว เวน้ จากการฉนั ในราตรแี ละวกิ าลจนตลอด ชีวติ แมเ้ ราก็เปน็ ผ้บู ริโภคอาหารวนั หน่ึงเพยี งหนเดยี ว เวน้ จากการบรโิ ภคในราตรแี ละวกิ าล ตลอดคนื หนง่ึ กบั วันหน่ึงในวันน้ี แม้ด้วยองค์อันนี้ เราก็ช่ือว่าได้ทำ�ตาม พระอรหนั ตท์ ง้ั หลาย ทง้ั อโุ บสถจกั เปน็ อนั เราเขา้ จ�ำ แลว้ (๗) พระอรหันต์ท้ังหลาย เว้นขาดจากฟ้อนรำ� ขับร้อง การประโคมดนตรี และการดูการเล่นอันเป็น ข้าศึกแก่กุศล เว้นขาดจากการทัดทรงประดับและ ตกแตง่ กายดว้ ยดอกไมข้ องหอม และเคร่ืองประเทืองผิว อนั เปน็ ฐานะแหง่ การแตง่ ตวั จนตลอดชวี ติ แมเ้ รากเ็ วน้ ขาด จากการฟอ้ นร�ำ ขบั รอ้ ง การประโคมดนตรี และดกู ารเลน่ อันเป็นข้าศึกแก่กุศล เว้นขาดจากการทัดทรงประดับ 300
เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : ภพภูมิ ตกแตง่ รา่ งกายดว้ ยดอกไมข้ องหอม และเครอ่ื งประเทอื งผวิ อนั เปน็ ฐานะแหง่ การแตง่ ตวั ตลอดคนื หนง่ึ กบั วนั หนง่ึ ใน วนั น้ี แม้ดว้ ยองค์อนั นี้ เราก็ชือ่ วา่ ได้ท�ำ ตามพระอรหันต์ ท้ังหลาย ทงั้ อุโบสถก็จกั เป็นอันเราเข้าจำ�แลว้ (๘) พระอรหนั ตท์ งั้ หลาย ละการนง่ั และนอนบน ท่ีนั่งที่นอนอันสูงใหญ่ เว้นขาดจากการน่ังและนอนบน ที่นั่งที่นอนอันสูงใหญ่ สำ�เร็จการนอนบนที่นอนอันต่ำ� จนตลอดชีวิต แม้เราก็ได้ละการน่ังและนอนบนที่นั่ง ที่นอนอันสูงใหญ่ เว้นขาดจากการน่ังและนอนบนที่นั่ง ทนี่ อนอนั สงู ใหญ่ ส�ำ เรจ็ การนอนบนทนี่ อนอนั ต�ำ่ ตลอด คืนหน่ึงกับวันหน่ึงในวันนี้ แม้ด้วยองค์อันนี้ เราก็ชื่อว่า ได้ทำ�ตามพระอรหันต์ท้ังหลาย ทั้งอุโบสถก็จักเป็นอัน เราเขา้ จ�ำ แลว้ วิสาขา ! อริยอุโบสถเป็นเช่นนี้แล อริยอุโบสถ อนั บคุ คลเขา้ จ�ำ แลว้ อยา่ งนแ้ี ล ยอ่ มมผี ลมาก มอี านสิ งสม์ าก มคี วามรงุ่ เรอื งมาก มคี วามแผไ่ พศาลมาก อรยิ อโุ บสถมผี ลมากเพยี งไร ? มอี านสิ งสม์ ากเพยี งไร ? มคี วามรงุ่ เรอื งมากเพยี งไร ? มคี วามแผไ่ พศาลมากเพยี งไร ? วิสาขา ! เปรียบเหมือนผู้ใดพึงครองราชย์เป็น 301
พุทธวจน - หมวดธรรม อิศราธิบดีแห่งชนบทใหญ่ ๑๖ แคว้นเหล่าน้ี อันสมบูรณ์ ดว้ ยรัตนะ ๗ ประการ คือ องั คะ มคธะ กาสี โกสละ วชั ชี มลั ละ เจตี วงั สะ กรุ ุ ปญั จาละ มจั ฉะ สรุ เสนะ อสั สกะ อวนั ตี คนั ธาระ กมั โพชะ การครองราชยข์ องผนู้ น้ั ยงั ไมถ่ งึ เสย้ี วท่ี ๑๖ แหง่ อโุ บสถทป่ี ระกอบดว้ ยองค ์ ๘ ขอ้ นน้ั เพราะเหตไุ ร ? เพราะราชสมบตั ทิ เ่ี ปน็ ของมนษุ ย์ เมอ่ื น�ำ เขา้ ไปเปรยี บเทยี บ กับสขุ ท่ีเป็นทพิ ย์ เปน็ ของเลก็ นอ้ ย. วสิ าขา ! ๕๐ ปี อนั เปน็ ของมนษุ ย์ เปน็ คนื หนง่ึ กับวันหน่ึงของเทวดาช้ันจาตุมหาราชิกา โดยราตรีน้ัน ๓๐ ราตรเี ปน็ หนง่ึ เดอื น โดยเดอื นนน้ั ๑๒ เดอื นเปน็ หนง่ึ ปี โดยปีนั้น ๕๐๐ ปีอันเป็นทิพย์ เป็นประมาณอายุของ เทวดาชน้ั จาตมุ หาราชกิ า. (ประมาณ ๙,๐๐๐,๐๐๐ ปมี นษุ ย)์ วิสาขา ! ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ คือ สตรีหรือ บรุ ษุ บางคนในโลกน้ี เขา้ จ�ำ อโุ บสถอนั ประกอบดว้ ยองค์ ๘ แลว้ ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำ�ลายแห่งกาย พึงเข้าถึง ความเป็นสหายของเทวดาชั้นจาตมุ หาราชกิ า. วิสาขา ! เราหมายเอาความข้อนี้แล จึงกล่าวว่า ราชสมบัติท่ีเป็นของมนุษย์ เมื่อจะนำ�เข้าไปเปรียบเทียบ กบั สุขอนั เป็นทิพย์ เปน็ ของเลก็ นอ้ ย. 302
เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : ภพภมู ิ วสิ าขา ! ๑๐๐ ปี อนั เปน็ ของมนษุ ย์ เปน็ คนื หนง่ึ กับวันหนึ่งของเทวดาชั้นดาวดึงส์ โดยราตรีน้ัน ๓๐ ราตรีเป็นหน่ึงเดือน โดยเดือนน้ัน ๑๒ เดือนเป็นหน่ึงปี โดยปีนั้น ๑,๐๐๐ ปี อันเป็นทิพย์ เป็นประมาณอายุ ของเทวดาชน้ั ดาวดงึ ส์ … . (ประมาณ ๓๖,๐๐๐,๐๐๐ ปมี นษุ ย)์ วสิ าขา ! ๒๐๐ ปี อนั เปน็ ของมนษุ ย์ เปน็ คนื หนง่ึ กับวันหนึ่งของเทวดาชั้นยามา โดยราตรีนั้น ๓๐ ราตรี เป็นหน่ึงเดือน โดยเดือนนั้น ๑๒ เดือนเป็นหน่ึงปี โดยปีน้ัน ๒,๐๐๐ ปี อันเป็นทิพย์ เป็นประมาณอายุ ของเทวดาชน้ั ยามา … .(ประมาณ ๑๔๔,๐๐๐,๐๐๐ ปมี นษุ ย)์ วสิ าขา ! ๔๐๐ ปี อนั เปน็ ของมนษุ ย์ เปน็ คนื หนง่ึ กับวันหน่ึงของเทวดาช้ันดุสิต โดยราตรีน้ัน ๓๐ ราตรี เป็นหน่ึงเดือน โดยเดือนน้ัน ๑๒ เดือนเป็นหน่ึงปี โดยปีน้ัน ๔,๐๐๐ ปี อันเป็นทิพย์ เป็นประมาณอายุ ของเทวดาชน้ั ดสุ ติ … . (ประมาณ ๕๗๖,๐๐๐,๐๐๐ ปมี นษุ ย)์ วสิ าขา ! ๘๐๐ ปี อนั เปน็ ของมนษุ ย์ เปน็ คนื หนง่ึ กับวันหน่งึ ของเทวดาช้นั นิมมานรดี โดยราตรีน้นั ๓๐ ราตรีเป็นหนึ่งเดือน โดยเดือนน้ัน ๑๒ เดือนเป็นหนึ่งปี โดยปนี น้ั ๘,๐๐๐ ปี อนั เปน็ ทพิ ย์ เปน็ ประมาณของอายุ ของเทวดาชน้ั นมิ มานรดี … . (ประมาณ ๒,๓๐๔,๐๐๐,๐๐๐ ปมี นษุ ย)์ 303
พุทธวจน - หมวดธรรม วิสาขา ! ๑ ๖๐๐ ปี อันเป็นของมนุษย์ เป็น คืนหนึ่งกับวันหน่ึงของเทวดาช้ันปรนิมมิตวสวัสดี โดยราตรีน้ัน ๓๐ ราตรีเป็นหนึ่งเดือน โดยเดือนน้ัน ๑๒ เดอื นเปน็ หนง่ึ ป ี โดยปนี น้ั ๑๖,๐๐๐ ปี อนั เปน็ ทพิ ย์ เป็นประมาณอายุของเทวดาช้ันปรนมิ มติ วสวสั ดี. (ประมาณ ๙,๒๑๖,๐๐๐,๐๐๐ ปีมนษุ ย)์ วสิ าขา ! กข็ อ้ นเ้ี ปน็ ฐานะทจ่ี ะมไี ด้ คอื สตรหี รอื บรุ ษุ บางคนในโลกนี้ เขา้ จ�ำ อโุ บสถอนั ประกอบดว้ ยองค์ ๘ แลว้ ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำ�ลายแห่งกาย พึงเข้าถึง ความเปน็ สหายของเทวดาชนั้ ปรนิมมิตวสวสั ด.ี วิสาขา ! เราหมายความเอาข้อน้ีแล จึงกล่าวว่า ราชสมบตั อิ นั เปน็ ของมนษุ ย์ เมอื่ น�ำ เขา้ ไปเปรยี บเทยี บ กบั สุขอนั เป็นทพิ ย์ จึงเป็นของเล็กนอ้ ย. 304
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปิด : ภพภูมิ เทวดาซง่ึ นบั เนื่องในหมู่คนธรรพ์ 76 -บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๓๐๙/๕๓๖. ภิกษุท้ังหลาย ! เราจักแสดงพวกเทวดาซึ่งนับ เนอ่ื งในหมคู่ นธรรพ์ (คนธฺ พพฺ กายกิ า เทวา) แกเ่ ธอทง้ั หลาย เธอทง้ั หลายจงฟงั จงใสใ่ จให้ดี เราจักกลา่ ว. ภิกษุท้ังหลาย ! พวกเทวดาซึ่งนับเน่ืองในหมู่ คนธรรพ์ เป็นอย่างไรเลา่ ? พวกเทวดาซง่ึ อาศยั อยทู่ ต่ี น้ ไมม้ กี ลน่ิ ทร่ี ากกม็ ี (มลู คนธฺ อธวิ ตถฺ ) อาศัยอยทู่ ตี่ ้นไมม้ กี ลน่ิ ทแ่ี ก่นกม็ ี (สารคนธฺ อธิวตถฺ ) อาศัยอยู่ทตี่ ้นไมม้ ีกลนิ่ ทีก่ ระพี้กม็ ี (เผคคฺ คุ นฺธ อธวิ ตฺถ) อาศยั อยูท่ ่ีตน้ ไมม้ ีกลิ่นท่เี ปลอื กกม็ ี (ตจคนธฺ อธวิ ตถฺ ) อาศัยอยทู่ ่ตี น้ ไมม้ กี ลนิ่ ท่กี ะเทาะก็มี (ปปฏกิ คนฺธ อธวิ ตถฺ ) อาศยั อยทู่ ่ีตน้ ไม้มกี ลน่ิ ท่ีใบก็มี (ปตตฺ คนธฺ อธวิ ตฺถ) อาศยั อยู่ทต่ี ้นไม้มกี ลิ่นทดี่ อกกม็ ี (ปุปผฺ คนฺธ อธวิ ตฺถ) อาศยั อยู่ทต่ี น้ ไมม้ ีกลนิ่ ทผ่ี ลก็มี (ผลคนฺธ อธวิ ตถฺ ) อาศยั อยู่ที่ตน้ ไม้มกี ลน่ิ ทร่ี สก็มี (รสคนฺธ อธิวตฺถ) อาศัยอยู่ทีต่ น้ ไม้มกี ลิ่นที่กลน่ิ กม็ ี (คนธฺ คนฺธ อธวิ ตฺถ) ภิกษุทั้งหลาย ! พวกนี้เราเรียกว่า พวกเทวดา ซึ่งนบั เนอื่ งในหมคู่ นธรรพ์ 305
พุทธวจน - หมวดธรรม 306
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : ภพภมู ิ เเทหวตดใุ หาซ้เขึง่ า้นถับึงเคนวือ่ างมใเนปห็นมสู่คหนาธยรขรอพง์ 77 (นยั ที่ ๑) -บาลี ขนฺธ. ส.ํ ๑๗/๓๐๙/๕๓๗. ภิกษุ ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ประพฤติสุจริต ด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ เขาได้ฟังมาว่า พวกเทวดา ซ่ึงนับเน่ืองในหมู่คนธรรพ์ มีอายุยืน มีวรรณะ มากด้วย ความสุข เขาจึงมีความปรารถนาอย่างนว้ี า่ “โอหนอ ! เม่ือตายไป ขอเราพึงเข้าถึงความ เป็นสหายของพวกเทวดาซึ่งนับเน่ืองในหมู่คนธรรพ์” ครนั้ ตายไป เขายอ่ มเขา้ ถงึ ความเปน็ สหายของพวกเทวดา ซง่ึ นับเนื่องในหม่คู นธรรพ.์ ภิกษ ุ ! ขอ้ นี้แล เปน็ เหตุ เปน็ ปจั จัย ให้บคุ คล บางคนในโลกน้ี เมอ่ื ตายไป ยอ่ มเขา้ ถงึ ความเปน็ สหายของ พวกเทวดาซ่ึงนบั เนือ่ งในหม่คู นธรรพ์. (ในสูตรถัดไป ได้ตรัสถึงการสร้างเหตุอย่างเดียวกัน แต่ว่าลงรายละเอียดไปในแต่ละประเภทของเทวดาเหล่านี้) 307
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : ภพภมู ิ เหตุให้เขา้ ถงึ ความเป็นสหายของ เทวดาซึ่งนบั เนือ่ งในหมูค่ นธรรพ์ 78 (นัยท่ี ๒) -บาลี ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๑๒-๓๑๓/๕๔๐-๕๔๑. ภิกษุ ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ประพฤติสุจริต ดว้ ยกาย ดว้ ยวาจา ดว้ ยใจ เขาไดฟ้ งั มาวา่ พวกเทวดาซงึ่ อาศัยอยทู่ ีต่ ้นไม้มีกล่นิ ที่ราก มีอายยุ ืน มวี รรณะ มากดว้ ย ความสุข เขาจงึ มคี วามปรารถนาอยา่ งน้วี ่า “โอหนอ ! เม่ือตายไป ขอเราพึงเข้าถึงความ เปน็ สหายของเทวดาซ่ึงอาศยั อยทู่ ต่ี น้ ไมม้ ีกล่นิ ทรี่ าก” เขาจึงให้ข้าว น้ำ� ผ้า ยาน ดอกไม้ ของหอม เครอื่ งลบู ไล้ ทนี่ อน ทอ่ี ยอู่ าศยั เครอ่ื งตามประทปี ครน้ั ตายไป เขาย่อมเข้าถึงความเป็นสหายของพวกเทวดาซึ่ง อาศยั อยทู่ ต่ี ้นไม้มกี ล่ินทร่ี าก. ภิกษุ ! ข้อน้ีแล เป็นเหตุ เป็นปัจจัยให้บุคคล บางคนในโลกน้ี เมอื่ ตายไป ยอ่ มเขา้ ถงึ ความเปน็ สหาย ของพวกเทวดาซ่ึงอาศัยอยทู่ ี่ต้นไมม้ กี ล่นิ ทรี่ าก. 308
เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : ภพภมู ิ (ตรสั อยา่ งดยี วกนั กบั กรณขี องเทวดาซง่ึ อาศยั อยทู่ ต่ี น้ ไม้ มีกล่ินท่ีแก่น มีกลิ่นที่กระพี้ มีกลิ่นท่ีเปลือก มีกลิ่นท่ีกะเทาะ มีกลน่ิ ที่ใบ มีกลน่ิ ทีด่ อก มกี ลน่ิ ที่ผล มีกลิ่นทรี่ ส มีกลน่ิ ทีก่ ลิน่ ) 309
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : ภพภูมิ เทวดาซงึ่ นับเน่ืองในหม่คู นธรรพ์ 79 -บาลี ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๑๔/๕๔๒. ภิกษุท้ังหลาย ! เราจักแสดงพวกเทวดาซ่ึง นบั เนอื่ งในหมวู่ ลาหก1 (วลาหกกายกิ า เทวา) แกเ่ ธอทง้ั หลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใสใ่ จให้ดี เราจกั กลา่ ว. ภิกษุท้ังหลาย ! พวกเทวดาซ่ึงนับเน่ืองในหมู่ วลาหก เปน็ อย่างไรเล่า ? พวกเทวดาที่เปน็ สตี วลาหกก็มี (เกย่ี วเนอ่ื งกบั ความหนาว) พวกเทวดาทเ่ี ปน็ อณุ หวลาหกกม็ ี (เกย่ี วเนอ่ื งกบั ความรอ้ น) พวกเทวดาทเ่ี ป็นอัพภวลาหกก็มี (เกย่ี วเนอ่ื งกบั หมอก) พวกเทวดาทเ่ี ปน็ วาตวลาหกกม็ ี (เกย่ี วเนอ่ื งกบั ลม) พวกเทวดาทเ่ี ป็นวสั สวลาหกก็มี (เกย่ี วเนอ่ื งกบั ฝน) ภิกษุท้ังหลาย ! พวกนี้เราเรียกว่า พวกเทวดา ซ่ึงนับเนือ่ งในหมูว่ ลาหก. 1. วลาหก = เมฆ. 310
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : ภพภมู ิ เหตใุ หเ้ ข้าถึงความเปน็ สหายของ 80 เทวดาซ่ึงนับเน่อื งในหมวู่ ลาหก -บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๓๑๔/๕๔๓. ภิกษุ ! บุคคลบางคนในโลกน้ี ประพฤติสุจริต ดว้ ยกาย ดว้ ยวาจา ดว้ ยใจ เขาไดฟ้ งั มาวา่ พวกเทวดาซง่ึ นบั เนอ่ื งในหมวู่ ลาหก มอี ายยุ นื มวี รรณะ มากดว้ ยความสขุ เขาจึงมีความปรารถนาอย่างนีว้ ่า “โอหนอ ! เมื่อตายไป ขอเราพึงเข้าถึงความ เป็นสหายของพวกเทวดาซง่ึ นับเนอ่ื งในหม่วู ลาหก” เขาจึงให้ข้าว นำ้� ผ้า ยาน ดอกไม้ ของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่อยู่อาศัย เคร่ืองตามประทีป ครน้ั ตายไป เขายอ่ มเขา้ ถงึ ความเปน็ สหายของพวกเทวดา ซง่ึ นับเนื่องในหม่วู ลาหก. ภิกษุ ! ข้อนแ้ี ล เป็นเหตุ เป็นปจั จยั ใหบ้ คุ คล บางคนในโลกน้ี เมอ่ื ตายไป ยอ่ มเขา้ ถงึ ความเปน็ สหาย ของพวกเทวดาซง่ึ นบั เนือ่ งในหมู่วลาหก. 311
พทุ ธวจน - หมวดธรรม (ในสูตรถัดไป ได้ตรัสถึงการสร้างเหตุอย่างเดียวกัน แต่ว่าลงรายละเอียดไปในแต่ละประเภทของเทวดาเหลา่ น้ี และเป็นทีน่ ่าสังเกตวา่ ในการเข้าถึงความเป็นสหายของ เทวดาเหล่านี้ ไม่ได้มีพุทธวจนท่ีกล่าวถึงการสร้างเหตุ ท่ีมีเพียง การกระท�ำ กายสจุ รติ วจสี จุ รติ มโนสจุ รติ และการตงั้ ความปรารถนา เหมอื นอยา่ งทพ่ี บในเทวดาซง่ึ นบั เนอ่ื งในหมคู่ นธรรพ์ -ผรู้ วบรวม) 312
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : ภพภูมิ เทวดาเหล่ามนาปกายิกา 81 -บาลี สตฺตก. อ.ํ ๒๓/๒๖๙/๑๓๖. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ขอประทานวโรกาส วันน้ี ข้าพระองค์ไปยังวิหารทพ่ี ักกลางวนั หลกี เรน้ อยู่ ครง้ั นน้ั แล เทวดา เหลา่ มนาปกายกิ ามากมายเขา้ มาหาขา้ พระองคถ์ งึ ทอ่ี ยู่ อภวิ าทแลว้ ยนื ณ ท่คี วรสว่ นขา้ งหนึง่ ครัน้ แล้วกลา่ วกะข้าพระองค์ว่า ข้าแต่ท่านพระอนุรุทธะผู้เจริญ ! ข้าพเจ้าท้ังหลายเป็น เทวดาช่ือว่า มนาปกายิกา มอี สิ ระและอ�ำ นาจในฐานะ ๓ ประการ คอื (๑) ข้าพเจ้าทั้งหลายหวังวรรณะเช่นใด ก็ได้วรรณะ เช่นน้นั โดยพลนั (๒) หวังเสยี งเช่นใด ก็ไดเ้ สยี งเชน่ น้ันโดยพลัน (๓) หวงั ความสขุ เชน่ ใด กไ็ ดค้ วามสขุ เชน่ นน้ั โดยพลนั ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! มาตคุ ามประกอบดว้ ยธรรมเทา่ ไร เมอ่ื ตายไป จงึ เขา้ ถงึ ความเปน็ สหายของเทวดาเหลา่ มนาปกายกิ า. อนรุ ทุ ธะ ! มาตคุ ามประกอบดว้ ยธรรม ๘ ประการ เม่ือตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายของเทวดาเหล่า มนาปกายิกา. 313
พุทธวจน - หมวดธรรม ธรรม ๘ ประการ เปน็ อย่างไรเล่า ? อนุรุทธะ ! (๑) มาตคุ ามในโลกน้ี ทม่ี ารดาบดิ าผมู้ งุ่ ประโยชน์ แสวงหาความเกอ้ื กลู อนเุ คราะห์ เออ้ื เอน็ ดยู อมยกใหแ้ กช่ ายใด ผ้เู ป็นสามีสำ�หรับชายน้นั เธอต้องต่นื ก่อน นอนภายหลัง คอยฟงั รบั ใช้ ประพฤตใิ หถ้ กู ใจ กลา่ วถอ้ ยค�ำ เปน็ ทร่ี กั (๒) ชนเหลา่ ใดเปน็ ทเี่ คารพของสามี คอื มารดา บดิ าหรอื สมณพราหมณ์ เธอสกั การะเคารพนบั ถอื บชู าชน เหล่าน้นั และตอ้ นรบั ทา่ นเหลา่ นน้ั ผมู้ าถงึ แลว้ ดว้ ยอาสนะ และนำ�้ (๓) การงานใดเป็นงานในบ้านของสามี คือ เธอ เป็นคนขยัน ไม่เกียจคร้านในการงานนน้ั ประกอบดว้ ย ปญั ญาอนั เปน็ อบุ ายในการงานนน้ั สามารถจดั ทำ�ได้ (๔) ชนเหล่าใดเป็นคนภายในบ้านของสามี คือ ทาส คนใช้ หรือกรรมกร ย่อมรวู้ ่าการงานท่เี ขาเหล่านั้น ทำ�แล้วและยังไมไ่ ด้ท�ำ (๕) ย่อมรู้อาการของคนภายในบ้านผู้เป็นไข้ว่า ดีขึ้นหรือทรดุ ลง 314
เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : ภพภมู ิ (๖) ย่อมแบ่งปันของกินของบริโภคให้แก่เขา ตามควร (๗) ส่ิงใดที่สามีหามาได้จะเป็นทรัพย์ ข้าว เงิน หรือทอง ยอ่ มรกั ษาคมุ้ ครองสิง่ น้ันไว้ และไมเ่ ปน็ นกั เลง การพนัน ไม่เป็นขโมย ไม่เป็นนักด่ืม ไม่ผลาญทรัพย์ ใหพ้ นิ าศ (๘) เป็นอุบาสิกาถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ วา่ เปน็ สรณะ เปน็ ผมู้ ศี ลี งดเวน้ จากปาณาตบิ าต อทินนาทาน กาเมสมุ ิจฉาจาร มสุ าวาท และการดมื่ นำ้�เมา คือ สุราและเมรัยอันเป็นที่ต้ังแห่งความประมาท เป็น ผู้มีการบริจาค มีใจปราศจากมลทิน คือ ความตระหน่ี อยู่ครองเรือน มีจาคะอันปล่อยแล้ว มีฝ่ามืออันชุ่ม ยินดี ในการสละ ควรแกก่ ารขอ ยินดีในการจำ�แนกทาน อนุรุทธะ ! มาตุคามประกอบด้วยธรรม ๘ ประการน้ีแล เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหาย ของเทวดาเหลา่ มนาปกายิกา. 315
พทุ ธวจน - หมวดธรรม (คาถาผนวกทา้ ยพระสตู ร) สภุ าพสตรผี มู้ ีปรีชา ยอ่ มไม่ดหู มน่ิ สามี ผหู้ ม่นั เพยี ร ขวนขวายอยู่เป็นนติ ย์ เลีย้ งตนอยูท่ ุกเมือ่ ท้งั ใหค้ วามปรารถนาทัง้ ปวง ไมย่ งั สามใี หข้ นุ่ เคอื ง ดว้ ยถอ้ ยค�ำ แสดงความหงึ หวง และย่อมบชู าผู้ทเ่ี คารพท้ังปวงของสามี เป็นผขู้ ยนั ไมเ่ กียจครา้ น สงเคราะหค์ นขา้ งเคียงของสามี ประพฤติเป็นทพี่ อใจของสามี รักษาทรพั ยท์ สี่ ามีหามาได้ นารีใด ยอ่ มประพฤตติ ามความชอบใจของสามีอย่างน้ี นารนี น้ั ยอ่ มเขา้ ถงึ ความเปน็ เทวดาเหลา่ มนาปกายกิ า. 316
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : ภพภมู ิ เทวดาเข้าถอื เอาพนื้ ท่ี 82 -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๐๓/๘๒. อานนท ์ ! ใครหนอจะสรา้ งเมอื งในปาฏลคิ าม ? ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! สุนีธะและวัสสการะอำ�มาตย์ ผใู้ หญใ่ นมคธรฐั จะสรา้ งเมอื งปาฏลคิ าม เพอ่ื ปอ้ งกนั พวกเจา้ วชั ช.ี อานนท์ ! สุนีธะและวัสสการะอำ�มาตย์ผใู้ หญ่ใน มคธรฐั จะสรา้ งเมอื งในปาฏลคิ าม เพอ่ื ปอ้ งกนั พวกเจา้ วชั ชี ก็เปรียบเหมือนท้าวสักกะทรงปรึกษากับพวกเทวดาช้ัน ดาวดึงส์ ในที่น้ีเราได้เห็นเทวดาเป็นอันมากนับเป็นพันๆ เขา้ ถอื เอาพน้ื ที่ (ปรคิ คฺ ณหฺ ) ในปาฏลคิ ามดว้ ยทพิ ยจกั ษอุ นั บริสุทธ์ิ ล่วงจกั ษขุ องมนษุ ย์ เทวดาผมู้ ศี กั ดใ์ิ หญเ่ ขา้ ถอื เอา พน้ื ทใ่ี นสว่ นใด จิตของพระราชาและราชมหาอำ�มาตย์ ผมู้ ศี กั ดใิ์ หญก่ น็ อ้ มไปเพอ่ื สรา้ งนเิ วศนใ์ นสว่ นนน้ั เทวดา ชน้ั กลางเขา้ ถอื เอาพน้ื ทใ่ี นสว่ นใด จติ ของพระราชาและ ราชมหาอ�ำ มาตยช์ น้ั กลาง กน็ อ้ มไปเพอื่ สรา้ งนเิ วศนใ์ น สว่ นน้ัน เทวดาชนั้ ต�ำ่ เข้าถือเอาพน้ื ที่ในสว่ นใด จิตของ พระราชาและราชมหาอ�ำ มาตยช์ น้ั ต�ำ่ กน็ อ้ มไปเพอ่ื สรา้ ง นิเวศน์ในสว่ นนน้ั . 317
พทุ ธวจน - หมวดธรรม อานนท์ ! ที่น้ีจักเป็นที่อยู่อันประเสริฐ เป็นทาง คา้ ขาย เปน็ นครอนั เลศิ ชอื่ วา่ ปาฏลบี ตุ ร เปน็ ทแี่ กห้ อ่ สนิ คา้ แต่นครปาฏลีบุตรจักมีอันตราย ๓ ประการ คือ ไฟ น้ำ� หรอื การยุใหแ้ ตกพวก. 318
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : ภพภูมิ เหตุใหไ้ ดค้ วามเป็นจอมเทพ 83 -บาลี สคาถ. ส.ํ ๑๕/๓๓๖-๓๓๗/๙๐๙-๙๑๐. ภิกษุทั้งหลาย ! ท้าวสักกะจอมเทพเม่ือยังเป็น มนษุ ยอ์ ยใู่ นกาลกอ่ น เปน็ มาณพชอื่ วา่ มฆะ เพราะเหตนุ นั้ จึงถูกเรียกวา่ ท้าวมฆวา …ได้ให้ทานมาก่อน เพราะเหตุน้ันจึงถูกเรียกว่า ทา้ วปรุ นิ ททะ …ไดใ้ หท้ านโดยเคารพ เพราะเหตนุ น้ั จงึ ถกู เรยี กวา่ ท้าวสกั กะ …ได้ให้ที่พักอาศัยเพราะเหตุนั้น จึงถูกเรียกว่า ทา้ ววาสวะ …ย่อมทรงคิดเน้ือความได้ตั้งพันโดยครู่เดียว เพราะเหตนุ ั้น จงึ ถูกเรยี กวา่ ท้าวสหสั นยั น์ …ทรงมีนางอสุรกัญญานามว่าสุชาเป็นปชาบดี เพราะเหตุนัน้ จึงถกู เรยี กวา่ ท้าวสุชัมบดี …เสวยรัชสมบัติเป็นอิสราธิบดีของเทวดาเหล่า ดาวดงึ ส์ เพราะเหตนุ ้ัน จึงถูกเรยี กว่า เทวานมินทะ. 319
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย ! ท้าวสักกะจอมเทพเมื่อยังเป็น มนุษย์อยู่ในกาลก่อน ได้สมาทานวัตรบท ๗ ประการ บรบิ รู ณ์ เพราะเปน็ ผสู้ มาทานวตั รบท ๗ ประการ จงึ ไดถ้ งึ ความเป็นทา้ วสกั กะ. วตั รบท ๗ ประการ เป็นอยา่ งไรเล่า ? คอื (๑) เราพึงเลยี้ งมารดาบดิ าจนตลอดชีวติ (๒) เราพึงประพฤติอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ใน ตระกลู จนตลอดชีวิต (๓) เราพงึ พูดวาจาอ่อนหวานตลอดชวี ิต (๔) เราไม่พึงพูดวาจาส่อเสยี ดตลอดชีวิต (๕) เราพึงมีใจปราศจากความตระหน่อี ันเป็น มลทิน อยู่ครองเรือน มีการบริจาคอันปล่อยแล้ว มีฝ่ามืออันชุ่ม ยินดีในการสละ ควรแก่การขอ ยินดี ในการแจกจา่ ยทานตลอดชวี ติ (๖) เราพึงพูดค�ำ สตั ย์ตลอดชวี ิต (๗) เราไมพ่ งึ โกรธตลอดชวี ติ ถา้ แมค้ วามโกรธ พึงเกดิ ขึน้ แก่เรา เราพงึ ก�ำ จดั มนั เสียโดยฉับพลนั ทเี ดยี ว. 320
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : ภพภมู ิ การบูชาเทวดา 84 -บาลี มหา. ที. ๑๐/๑๐๕/๘๔. ตรัสแก่สุนีธะและวัสสการะมหาอำ�มาตย์ภายหลังจากท่ี พระองคไ์ ดฉ้ นั ของเคย้ี วและของฉนั อนั ประณตี ทท่ี ง้ั ๒ ไดถ้ วายดว้ ย มือของตนแลว้ ดว้ ยคาถาว่า บุรษุ ชาตบิ ณั ฑิต ย่อมสำ�เร็จการอยใู่ นประเทศใด พึงเชิญท่านผู้มีศีล ผู้สำ�รวมและประพฤติ พรหมจรรย์ ใหบ้ ริโภคในประเทศนั้น ควรอทุ ศิ ทกั ษณิ า เพื่อเทวดาผสู้ ถติ อย่ใู นทน่ี ้ันๆ เทวดาเหลา่ นน้ั อนั บรุ ษุ ชาตบิ ณั ฑติ นบั ถอื บชู าแลว้ ย่อมนับถอื บชู าตอบ แตน่ น้ั ยอ่ มอนเุ คราะหบ์ รุ ษุ ชาตบิ ณั ฑติ นน้ั ประหนง่ึ มารดาอนุเคราะห์บตุ ร บรุ ษุ ผอู้ นั เทวดาอนเุ คราะหแ์ ลว้ กย็ อ่ มเหน็ ความเจรญิ ทกุ เมอื่ .1 1. สามารถอ่านเพ่ิมเติมเกยี่ วกบั ทกั ษณิ าไดท้ ี่ภาคผนวก. 321
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : ภพภมู ิ การบูชาท่ีจัดเปน็ การบชู าอย่างสงู สุด 85 -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๕๙-๖๐/๑๒๘-๙. อานนท ์ ! เธอจงจดั ตงั้ ทน่ี อน ระหวา่ งตน้ สาละคู่ มศี ีรษะทางทศิ เหนอื เราล�ำ บากกายนกั จักนอน. (ประทบั สหี ไสยยาแลว้ มอี ศั จรรย์ ดอกสาละผลผิ ดิ ฤดกู าล โปรยลงบนพระสรรี ะ ดอกมณั ฑารพ จรุ ณไ์ มจ้ นั ทน ์ ดนตรี ลว้ นแต่ ของทพิ ยไ์ ดต้ กลงและบรรเลงขึ้น เพื่อบูชาตถาคตเจ้า). อานนท์ ! การบูชาเหล่าน้ี หาชื่อวา่ ตถาคตเปน็ ผทู้ ่ไี ดร้ ับสกั การะ เคารพนบั ถือ บูชาแล้วไม่. อานนท์ ! ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาใด ประพฤตธิ รรมสมควรแกธ่ รรม ปฏบิ ตั ชิ อบยง่ิ ปฏบิ ตั ิ ตามธรรมอยู่ ผู้นั้นชื่อว่า ย่อมสักการะ เคารพนับถือ บูชาตถาคต ด้วยการบูชาอันสงู สดุ . อานนท ์ ! เพราะฉะน้นั เธอพึงกำ�หนดใจว่า “เราจักประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบัติ ชอบยิ่ง ปฏบิ ัตติ ามธรรมอยู่” ดงั น้.ี 322
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ : ภพภมู ิ ทางเพือ่ ความเปน็ สหายแหง่ พรหม 86 -บาลี ม. ม. ๑๓/๖๖๔/๗๓๐. มาณพ ! ก็ทางเพื่อความเป็นสหายแห่งพรหม เป็นอยา่ งไรเลา่ ? มาณพ ! ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นี้ มจี ติ ประกอบดว้ ย เมตตา แผ่ไปสู่ทิศที่หนึ่ง ทิศที่สอง ท่ีสาม ท่ีสี่ ก็เหมือน อย่างน้ัน ท้ังเบื้องบน เบ้ืองล่างและเบ้ืองขวาง เธอแผ่ไป ตลอดโลกทง้ั สน้ิ ในทท่ี ง้ั ปวง แกส่ ตั วท์ ง้ั หลายทว่ั หนา้ เสมอกนั ดว้ ยจติ อนั ประกอบดว้ ยเมตตา เปน็ จติ ไพบลู ย์ ใหญห่ ลวง ไมม่ ปี ระมาณ ไมม่ เี วร ไมม่ พี ยาบาทแลว้ แลอยู่ เมอื่ เมตตา เจโตวมิ ตุ ต1ิ อนั ภกิ ษนุ นั้ เจรญิ แลว้ อยา่ งน้ี กรรมชนดิ ทที่ �ำ อยา่ งมขี ดี จ�ำ กดั ยอ่ มไมม่ เี หลอื อยู่ ไมต่ ง้ั อยใู่ นนน้ั กฉ็ นั นน้ั . มาณพ ! เปรยี บเหมอื นคนเปา่ สงั ขผ์ มู้ กี �ำ ลงั ยอ่ ม เป่าสังข์ให้ได้ยินได้ท้ังส่ีทิศโดยไม่ยากฉันใด ในเมตตา เจโตวมิ ตุ ตทิ เ่ี จรญิ แลว้ อยา่ งน้ี กรรมชนดิ ทท่ี �ำ อยา่ งมขี ดี จ�ำ กดั ยอ่ มไมม่ เี หลอื อยู่ ไมต่ ง้ั อยใู่ นนน้ั กฉ็ นั นน้ั แมข้ อ้ น้ี กเ็ ปน็ ทาง เพอื่ ความเป็นสหายแหง่ พรหม. 1. เมตตาเจโตวิมตุ ติ = การหลดุ พน้ โดยการเจริญเมตตา แลว้ เหน็ อริยสัจ ๔. 323
พุทธวจน - หมวดธรรม มาณพ ! อกี ประการหนง่ึ ภกิ ษมุ จี ติ ประกอบดว้ ย กรุณา … . มาณพ ! ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นี้ มจี ติ ประกอบดว้ ย มทุ ติ า … . มาณพ ! ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นี้ มจี ติ ประกอบดว้ ย อเุ บกขา แผ่ไปสูท่ ิศที่หน่ึง ทิศทส่ี อง ที่สาม ท่ีสี่ กเ็ หมือน อย่างน้ัน ทั้งเบ้ืองบน เบ้ืองล่างและเบื้องขวาง เธอแผ่ไป ตลอดโลกทง้ั สน้ิ ในทท่ี ง้ั ปวง แกส่ ตั วท์ ง้ั หลายทว่ั หนา้ เสมอกนั ดว้ ยจติ อนั ประกอบดว้ ยอเุ บกขา เปน็ จติ ไพบลู ย์ ใหญห่ ลวง ไมม่ ปี ระมาณ ไมม่ เี วร ไมม่ พี ยาบาทแลว้ แลอยู่ เมอ่ื อเุ บกขา เจโตวมิ ตุ ต1ิ อนั ภกิ ษนุ น้ั เจรญิ แลว้ อยา่ งน้ี กรรมชนดิ ทท่ี �ำ อยา่ งมขี ดี จ�ำ กดั ยอ่ มไมม่ เี หลอื อยู่ ไมต่ ง้ั อยใู่ นนน้ั กฉ็ นั นน้ั . มาณพ ! เปรยี บเหมอื นคนเปา่ สงั ขผ์ มู้ กี �ำ ลงั ยอ่ ม เป่าสังข์ให้ได้ยินได้ทั้งส่ีทิศโดยไม่ยากฉันใด ในอุเบกขา เจโตวมิ ตุ ตทิ เ่ี จรญิ แลว้ อยา่ งน้ี กรรมชนดิ ทท่ี �ำ อยา่ งมขี ดี จ�ำ กดั ยอ่ มไมม่ เี หลอื อยู่ ไมต่ ง้ั อยใู่ นนน้ั กฉ็ นั นน้ั แมข้ อ้ น้ี กเ็ ปน็ ทาง เพอ่ื ความเป็นสหายแหง่ พรหม. 1. อเุ บกขาเจโตวมิ ตุ ติ = การหลดุ พน้ โดยการเจรญิ อเุ บกขา แลว้ เหน็ อรยิ สจั ๔. 324
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 576
Pages: