เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : ภพภมู ิ สว่ นการออกไปเสยี ไดจ้ ากสง่ิ นน้ั เปน็ ธรรมชาตอิ นั สงบ ไมเ่ ปน็ วสิ ยั แหง่ ความตรกึ เปน็ ของยง่ั ยนื ไมเ่ กดิ ไมเ่ กดิ ขน้ึ พรอ้ ม ไมม่ โี ศก ปราศจากธลุ ี เปน็ ทค่ี วรไปถงึ เปน็ ทด่ี บั แหง่ สง่ิ ทม่ี ี ความทกุ ขเ์ ปน็ ธรรมดา เปน็ ความเขา้ ไปสงบร�ำ งบั แหง่ สงั ขาร เปน็ สขุ ดงั น.้ี … … … … ภกิ ษุทง้ั หลาย ! ส่งิ ซง่ึ มไิ ดเ้ กิด มไิ ดเ้ ป็น มไิ ด้ถกู กระทำ� มไิ ด้ถกู อะไรปรงุ น้ันมีอยู.่ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! ถา้ หากวา่ สง่ิ ทมี่ ไิ ดเ้ กดิ มไิ ดเ้ ปน็ มิได้ถูกอะไรทำ� มิได้ถูกอะไรปรุง จักไม่มีอยู่แล้วไซร้ ความรอดออกไปได้ของสิ่งท่ีเกิด ท่ีเป็น ที่ถูกอะไรทำ� ทถ่ี ูกอะไรปรงุ กจ็ ักไมป่ รากฏเลย. ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุที่มีสิ่ง ซ่ึงมิได้เกิด มิได้เป็น มิได้ถูกกระทำ� มิได้ถูกอะไรปรุง นั่นเอง จึงได้ มีความรอดออกไปได้ ของสิ่งท่ีเกิด ท่ีเป็น ที่ถูกอะไรทำ� ทถ่ี ูกอะไรปรุง ปรากฏอยู่. 475
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : ภพภูมิ ล�ำดับการปฏิบตั ิ เพอื่ อรหตั ตผล 140 -บาลี ม. ม. ๑๓/๒๓๓/๒๓๘. ภกิ ษุท้ังหลาย ! เรายอ่ มไมก่ ลา่ วการประสบความพอใจในอรหตั ตผล ดว้ ยการกระท�ำ อนั ดบั แรกเพยี งอนั ดบั เดยี ว. ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! กแ็ ตว่ า่ การประสบความพอใจในอรหตั ตผล ยอ่ มมไี ด้ เพราะการศกึ ษาโดยล�ำ ดบั เพราะการกระท�ำ โดยล�ำ ดบั เพราะการปฏบิ ัติโดยลำ�ดับ. ภิกษทุ งั้ หลาย ! กก็ ารประสบความพอใจในอรหัตตผล ยอ่ มมไี ด้ เพราะการศึกษาโดยล�ำ ดบั เพราะการกระทำ�โดยล�ำ ดบั เพราะการปฏบิ ตั โิ ดยลำ�ดับนัน้ เปน็ อยา่ งไรเล่า ? 476
เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : ภพภูมิ ภิกษุทั้งหลาย ! บรุ ุษบคุ คลในกรณนี ี้ เปน็ ผมู้ ศี รทั ธาเกดิ ขน้ึ แลว้ ยอ่ ม เขา้ ไปหา (สปั บรุ ษุ ) เมือ่ เขา้ ไปหา ยอ่ ม เข้าไปนั่งใกล้ เม่อื เขา้ ไปน่งั ใกล้ ย่อม เงี่ยโสตลงสดบั ผู้เงย่ี โสตลงสดับ ยอ่ ม ได้ฟังธรรม ครน้ั ฟังแลว้ ย่อม ทรงจำ�ธรรมไว้ ยอ่ ม ใครค่ รวญพจิ ารณาซง่ึ เนอ้ื ความแหง่ ธรรมทง้ั หลาย ทตี่ นทรงจ�ำ ไว้ เมื่อเขาใคร่ครวญพจิ ารณา ซึง่ เน้อื ความแห่งธรรมน้นั อยู่ ธรรมทัง้ หลายยอ่ มทนต่อการเพ่งพสิ จู น์ เมื่อธรรมทนต่อการเพง่ พิสจู นม์ อี ยู่ ฉันทะ (ความพอใจ) ยอ่ มเกดิ ผเู้ กิดฉันทะแลว้ ย่อม มอี ุตสาหะ ครน้ั มอี ุตสาหะแลว้ ย่อม ใชด้ ุลยพินิจ (เพื่อหาความจรงิ ) ครนั้ ใชด้ ลุ ยพินิจ (พบ) แล้ว ย่อม ตงั้ ตนไว้ในธรรมนน้ั ผ้มู ีตนสง่ ไปแล้วในธรรมน้นั อยู่ ย่อม กระทำ�ให้แจ้ง ซ่งึ บรมสจั จ์ด้วยกายดว้ ย ยอ่ ม เหน็ แจง้ แทงตลอด ซง่ึ บรมสจั จน์ น้ั ดว้ ยปญั ญาดว้ ย. 477
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : ภพภมู ิ ล�ำดับการหลดุ พน้ เมื่อเห็นอนตั ตา 141 -บาลี ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๗/๙๓. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! รปู เปน็ สง่ิ ทไ่ี มเ่ ทย่ี ง สง่ิ ใดไมเ่ ทย่ี ง สงิ่ นน้ั เปน็ ทกุ ข์ สงิ่ ใดเปน็ ทกุ ข์ สง่ิ นนั้ เปน็ อนตั ตา สง่ิ ใดเปน็ อนตั ตา สง่ิ นนั้ นน้ั ไมใ่ ชข่ องเรา ไมใ่ ชเ่ ปน็ เรา ไมใ่ ชเ่ ปน็ ตวั ตนของเรา เธอทง้ั หลายพงึ เหน็ ขอ้ นน้ั ดว้ ยปญั ญาโดยชอบ ตรงตามทเ่ี ป็นจริง อยา่ งนี้ ด้วยประการดังน.้ี (ในกรณแี หง่ เวทนา สญั ญา สงั ขารทงั้ หลาย และวญิ ญาณ กต็ รัสอย่างเดียวกนั กบั ในกรณีแหง่ รปู ทุกประการ) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื บคุ คลเหน็ ขอ้ นน้ั ดว้ ยปญั ญา โดยชอบตรงตามท่ีเป็นจริงอยู่อย่างนี้ ปุพพันตานุทิฏฐิ (ความตามเหน็ ขนั ธส์ ว่ นอดีต) ท้ังหลาย ยอ่ มไม่มี เมอ่ื ปพุ พนั ตานทุ ฏิ ฐทิ ง้ั หลายไมม่ ี อปรนั ตานทุ ฏิ ฐิ ท้ังหลาย (ความตามเห็นขันธส์ ว่ นอนาคต) ย่อมไมม่ ี เมื่ออปรันตานุทิฏฐิทั้งหลายไม่มี ความยึดม่ัน ลูบคลำ�อยา่ งแรงกล้า ยอ่ มไมม่ ี เม่อื ความยึดม่นั ลูบคลำ�อย่างแรงกล้าไม่มี จิต ยอ่ มจางคลายก�ำ หนดั ในรปู ในเวทนา ในสญั ญา ในสงั ขาร ทั้งหลาย ในวิญญาณ ย่อมหลุดพ้นจากอาสวะท้งั หลาย เพราะไมม่ คี วามยดึ ม่ันถอื มน่ั 478
เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : ภพภูมิ เพราะหลดุ พ้นแล้ว จงึ ด�ำ รงอยู่ เพราะดำ�รงอยู่ จงึ ยนิ ดรี ่าเริงดว้ ยดี เพราะยนิ ดรี ่าเริงดว้ ยดี จึงไมห่ วาดสะด้งุ เมอื่ ไม่หวาดสะดงุ้ ย่อมปรนิ พิ พานเฉพาะตนน่ันเทียว เธอน้นั ย่อมรชู้ ดั วา่ “ชาตสิ ิน้ แลว้ พรหมจรรยไ์ ด้อย่จู บแล้ว กิจทีค่ วรทำ� ไดท้ �ำ ส�ำ เร็จแลว้ กจิ อน่ื ทจ่ี ะตอ้ งท�ำ เพอ่ื ความเปน็ อยา่ งน้ี มไิ ดม้ อี กี ” ดงั น.้ี 479
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : ภพภมู ิ อริยมรรคมีองค์ ๘ 142 คือ ข้อปฏบิ ัตเิ พ่ือความพ้นทุกข์ -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๓๔๓-๓๔๕/๒๙๙. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ก็ อรยิ สจั คอื หนทางเปน็ เครอ่ื ง ใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ข์ เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? คอื หนทางอนั ประกอบดว้ ยองคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ นเ้ี อง องค์แปดคือ ความเห็นชอบ (สัมมาทิฏฐิ) ความดำ�ริชอบ (สมั มาสงั กปั ปะ) วาจาชอบ (สมั มาวาจา) การงานชอบ (สมั มา กมั มนั ตะ) อาชวี ะชอบ (สมั มาอาชวี ะ) ความเพยี รชอบ (สมั มา วายามะ) ความระลึกชอบ (สัมมาสติ) ความต้ังใจม่ันชอบ (สัมมาสมาธ)ิ . ภิกษุท้ังหลาย ! ความเห็นชอบ เปน็ อย่างไร ? ภิกษุท้ังหลาย ! ความรู้ในทุกข์ ความรู้ในเหตุ ให้เกิดทุกข์ ความรู้ในความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ ความรู้ ในหนทางเปน็ เครอ่ื งใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ข์ อนั ใด นีเ้ ราเรยี กวา่ ความเห็นชอบ. 481
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย ! ความด�ำ รชิ อบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุทั้งหลาย ! ความดำ�ริในการออกจากกาม ความด�ำ รใิ นการไมพ่ ยาบาท ความด�ำ รใิ นการไมเ่ บยี ดเบยี น น้เี ราเรียกว่า ความด�ำ รชิ อบ. ภิกษทุ ง้ั หลาย ! วาจาชอบ เป็นอยา่ งไร ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! การเวน้ จากการพดู เทจ็ การเวน้ จากการพดู ยใุ หแ้ ตกกนั การเวน้ จากการพดู หยาบ การเวน้ จากการพูดเพอ้ เจอ้ นี้เราเรียกวา่ วาจาชอบ. ภิกษุท้ังหลาย ! การงานชอบ เป็นอยา่ งไร ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! การเวน้ จากการฆา่ สตั ว์ การเวน้ จากการถือเอาส่ิงของท่ีเจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤตผิ ดิ ในกามทง้ั หลาย นเ้ี ราเรยี กวา่ การงานชอบ. ภิกษทุ ั้งหลาย ! อาชวี ะชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุท้ังหลาย ! อริยสาวกในกรณีน้ี ละการหา เล้ียงชีพท่ีผิดเสีย สำ�เร็จความเป็นอยู่ด้วยการหาเล้ียงชีพ ที่ชอบ น้เี ราเรยี กวา่ อาชีวะชอบ. 482
เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : ภพภมู ิ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ความเพียรชอบ เป็นอยา่ งไร ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษใุ นกรณนี ้ี ยอ่ มปลกู ความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพ่ือความไม่บังเกิดขึ้นแห่งอกุศลธรรมอัน เปน็ บาปทง้ั หลายทย่ี งั ไมไ่ ดบ้ งั เกดิ ยอ่ มปลกู ความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพ่ือการละเสียซึ่งอกุศลธรรมอันเป็นบาป ท่ีบังเกิดขึ้นแล้ว ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมต้ังจิตไว้ เพือ่ การบงั เกดิ ขน้ึ แหง่ กศุ ลธรรมทง้ั หลาย ทย่ี งั ไมไ่ ดบ้ งั เกดิ ยอ่ มปลกู ความพอใจ ยอ่ มพยายาม ยอ่ มปรารภความเพยี ร ย่อมประคองจิต ย่อมต้ังจิตไว้ เพ่ือความยั่งยืน ความไม่ เลอะเลือน ความงอกงามยง่ิ ข้นึ ความไพบูลย์ ความเจรญิ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรมทั้งหลายที่บังเกิดขึ้นแล้ว นเ้ี ราเรียกว่า ความเพียรชอบ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ความระลกึ ชอบ เปน็ อยา่ งไร ? ภิกษุท้ังหลาย ! ภิกษุในกรณีน้ี เป็นผู้มีปกติ พจิ ารณาเหน็ กายในกายอยเู่ ปน็ ประจ�ำ มคี วามเพยี รเผากเิ ลส 483
พทุ ธวจน - หมวดธรรม มคี วามรสู้ กึ ตวั ทว่ั พรอ้ ม (สมั ปชญั ญะ) มสี ติ น�ำ ความพอใจ และความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ เป็นผู้มีปกติ พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่เป็นประจำ� มีความเพียรเผากิเลส มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม มีสติ น�ำ ความพอใจและความไมพ่ อใจในโลกออกเสยี ได ้ เปน็ ผู้ มีปกติพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจำ� มีความเพียร เผากเิ ลส มคี วามรสู้ กึ ตวั ทวั่ พรอ้ ม มสี ติ น�ำ ความพอใจและ ความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ เป็นผู้มีปกติพิจารณา เห็นธรรมในธรรมท้ังหลายอยู่เป็นประจำ� มีความเพียร เผากิเลส มีความรู้สึกตัวท่ัวพร้อม มีสติ นำ�ความพอใจ และความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ นี้เราเรียกว่า ความระลกึ ชอบ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ความตง้ั ใจมน่ั ชอบ เปน็ อยา่ งไร ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษใุ นกรณนี ี้ สงดั แลว้ จากกาม ทง้ั หลาย สงดั แลว้ จากอกศุ ลธรรมทง้ั หลาย เขา้ ถงึ ฌานทห่ี นง่ึ อันมีวิตกวิจาร มีปีติและสุข อันเกิดแต่วิเวก แล้วแลอยู่ เพราะวิตกวิจารรำ�งับลง เธอเข้าถึงฌานที่สอง อันเป็น เครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ให้สมาธิเป็นธรรมอันเอก 484
เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : ภพภมู ิ ผดุ ขน้ึ ไมม่ วี ติ กไมม่ วี จิ าร มแี ตป่ ตี แิ ละสขุ อนั เกดิ แตส่ มาธิ แล้วแลอย ู่ เพราะปีตจิ างหายไป เธอเปน็ ผู้เพ่งเฉยอย่ไู ด้ มสี ติ มคี วามรสู้ กึ ตวั ทวั่ พรอ้ ม และไดเ้ สวยสขุ ดว้ ยกาย ยอ่ ม เขา้ ถงึ ฌานทส่ี าม อนั เปน็ ฌานทพี่ ระอรยิ เจา้ ทง้ั หลาย กลา่ ว สรรเสรญิ ผไู้ ดบ้ รรลวุ า่ “เปน็ ผเู้ ฉยอยไู่ ด้ มสี ติ มคี วามรสู้ กึ ตวั ทว่ั พรอ้ ม” แลว้ แลอย ู่ เพราะละสขุ และทกุ ขเ์ สยี ได ้ และ เพราะความดับหายไปแห่งโสมนัสและโทมนัสในกาลก่อน เธอย่อมเข้าถึงฌานท่สี ่ ี อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอัน บรสิ ทุ ธเ์ิ พราะอเุ บกขาแลว้ แลอยู่ นเ้ี ราเรยี กวา่ สมั มาสมาธ.ิ ภิกษุท้ังหลาย ! นี้เราเรียกว่า อริยสัจ คือ หนทางเป็นเคร่อื งใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลือแห่งทุกข.์ 485
ภาคผนวก
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : ภพภมู ิ ตถาคตผูอ้ รหนั ตสมั มาสมั พุทธะ 143 -บาลี จตุกฺก. อํ. ๒๑/๔๙/๓๖. (การสนทนากับโหณพราหมณ์ เร่ิมในท่ีนี้ด้วยพราหมณ์ ทูลถาม) “ทา่ นผู้เจริญของเรา ! ท่านเป็นเทวดาหรือ ?” พราหมณเ์ อย ! เราไมไ่ ด้เปน็ เทวดาดอก. “ท่านผเู้ จริญของเรา ! ทา่ นเปน็ คนธรรพห์ รอื ?” พราหมณ์เอย ! เราไม่ได้เป็นคนธรรพด์ อก. “ทา่ นผู้เจรญิ ของเรา ! ทา่ นเปน็ ยักษห์ รอื ?” พราหมณ์เอย ! เราไม่ได้เป็นยักษ์ดอก. “ท่านผเู้ จรญิ ของเรา ! ท่านเป็นมนุษย์หรือ ?” พราหมณเ์ อย ! เราไมไ่ ดเ้ ปน็ มนษุ ยด์ อก. “ท่านผเู้ จริญของเรา ! เราถามอยา่ งไรๆ ท่านกต็ อบว่า มิได้เป็นอยา่ งนัน้ ๆ ถ้าเช่นนน้ั ท่านเป็นอะไรเลา่ ?” พราหมณเ์ อย ! อาสวะเหลา่ ใด ทจ่ี ะท�ำ ใหเ้ ราเปน็ เทวดา เพราะยงั ละมนั ไมไ่ ด ้ อาสวะเหลา่ นน้ั เราละไดข้ าด ถอนข้ึนทั้งรากแล้ว ทำ�ให้เหมือนตาลยอดด้วน ไม่ให้มี ไม่ใหเ้ กดิ ขึน้ อีกต่อไปแล้ว. 488
เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : ภพภูมิ พราหมณเ์ อย ! อาสวะเหลา่ ใด ทจ่ี ะท�ำ ใหเ้ ราเปน็ คนธรรพ์ เป็นยักษ์ เป็นมนุษย์ เพราะยังละมันไม่ได้ อาสวะเหล่าน้ัน เราละได้ขาด ถอนขึ้นท้ังรากแล้ว ทำ�ให้ เหมือนตาลยอดด้วน ไมใ่ หม้ ีไม่ให้เกิดขึน้ อกี ตอ่ ไปแล้ว. พราหมณ ์ ! เปรยี บเหมอื นดอกบวั เขยี ว บวั หลวง หรอื บวั ขาว มนั เกดิ ในน�้ำ เจรญิ ในน�ำ้ โผลข่ น้ึ พน้ น�ำ้ ตง้ั อยู่ น�้ำ ไม่เปียกติดมันได้ ฉนั ใดก็ฉนั นัน้ . พราหมณ ์ ! เรานเี้ กิดในโลก เจริญในโลก กจ็ รงิ แตเ่ ราครอบง�ำ โลกเสยี ไดแ้ ลว้ และอยใู่ นโลก โลกไมฉ่ าบทาแปดเปอ้ื น เราได.้ พราหมณ ์ ! ทา่ นจงจำ�เราไวว้ า่ เป็น “พุทธะ” ดงั น้ีเถดิ . 489
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : ภพภูมิ บรษิ ทั สมาคม ๘ 144 -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๒๗/๙๙. อานนท์ ! บรษิ ทั สมาคม ๘ จ�ำ พวก คือ (๑) ขตั ติยบริษัท (๒) พราหมณบรษิ ัท (๓) คหบดีบริษทั (๔) สมณบริษัท (๕) จาตมุ มหาราชิกบริษทั (๖) ดาวดึงสบริษทั (๗) มารบริษัท (๘) พรหมบริษทั อานนท ์ ! ตถาคตยังจำ�ได้ว่าเคยเข้าไปสู่ขัตติยบริษัท พราหมณบริษัท คหบดีบริษัท สมณบริษัท จาตุมมหา- ราชิกบริษัท ดาวดึงสบริษัท มารบริษัท และพรหมบริษัท นับด้วยร้อยๆ ท้ังเคยนั่งร่วม เคยเจรจาร่วม เคยสนทนา และสมาคมรว่ มกับบรษิ ทั น้นั ๆ. 490
เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : ภพภมู ิ เราย่อมจำ�เรื่องนน้ั ๆ ไดด้ ีวา่ (คราวน้ันๆ) ผิวกาย ของพวกน้ันเป็นเช่นใด ผิวกายของเราก็เป็นเช่นนั้น เสยี งของพวกนัน้ เป็นเชน่ ใด เสยี งของเราก็เป็นเช่นนั้น. อนง่ึ เรายงั เคยไดช้ แ้ี จงพวกเขาเหลา่ นน้ั ใหเ้ หน็ จรงิ ในธรรม ใหร้ บั เอาไปปฏบิ ตั ิ ใหเ้ กดิ ความกลา้ ทจ่ี ะท�ำ ตาม ให้พอใจในผลแหง่ การปฏบิ ัตทิ ไี่ ด้รบั แลว้ ดว้ ยธรรมกี ถา. บรษิ ทั เหลา่ นน้ั ไมร่ จู้ กั เรา ผกู้ �ำ ลงั พดู ใหเ้ ขาฟงั อยู่ ว่าเราเปน็ ใคร คอื เป็นเทวดา หรือเป็นมนษุ ย์. คร้ันเรากล่าวธรรมีกถาจบแล้ว ก็จากไปทั้งที่ ชนทงั้ หลายเหล่านั้น ก็ยังไมร่ ู้จกั เรา. เขาได้แต่เกิดความฉงนใจว่า ผู้ท่ีจากไปแล้วน้ัน เป็นใคร เปน็ เทวดา หรือมนุษยแ์ น่ ดังนี้. 491
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : ภพภมู ิ บรุ พกรรมของ 145 การไดล้ กั ษณะของมหาบรุ ษุ -บาลี ปา. ที. ๑๑/๑๕๙-๑๙๓/๑๓๐-๑๗๑. ภิกษุทั้งหลาย ! พวกฤาษีภายนอกจ�ำมนต์ มหาปุริสลักขณะได้ก็จริง แต่หารู้ไม่ว่าการที่มหาบุรุษได้ ลักขณะอนั นๆี้ เพราะท�ำกรรมเช่นนี้ๆ ก. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาติก่อน ในภพที่อยู่อาศัยก่อน ได้เป็นผู้บากบั่นในกุศล ถอื มน่ั ในกายสจุ รติ วจสี จุ รติ มโนสจุ รติ ในการบรจิ าคทาน การสมาทานศลี การรักษาอุโบสถ การปฏิบัตมิ ารดา บิดา การปฏบิ ตั สิ มณพราหมณ์ การออ่ นนอ้ มตอ่ ผเู้ จรญิ ในตระกลู และในอธกิ ศุ ลธรรมอน่ื เพราะไดก้ ระท�ำ ไดส้ รา้ งสม ไดพ้ อกพนู ไดม้ ว่ั สมุ กรรมนน้ั ๆ ไว้ ภายหลงั แตก่ ารตาย เพราะการท�ำ ลาย แหง่ กาย ยอ่ มเขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ ตถาคตนน้ั ถอื เอาในเทพ เหลา่ อ่นื โดยฐานะ ๑๐ คือ อายุทิพย์ วรรณะทพิ ย์ สขุ ทิพย์ ยศทพิ ย์ อธบิ ดที พิ ย์ รปู ทพิ ย์ เสยี งทพิ ย์ กลนิ่ ทพิ ย์ รสทพิ ย์ สมั ผสั ทพิ ย์ ครน้ั จตุ จิ ากภพนน้ั มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ยอ์ ยา่ งน้ี จงึ ไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะ ขอ้ นค้ี อื มฝี า่ เทา้ เสมอ จดลงกเ็ สมอ ยกข้ึนก็เสมอฝา่ เทา้ ถกู ตอ้ งพืน้ พรอ้ มกนั … (ลักขณะท่ี ๑) 492
เปิดธรรมทีถ่ ูกปิด : ภพภมู ิ ยอ่ มเปน็ ผไู้ มห่ วาดหวน่ั ตอ่ ขา้ ศกึ ทง้ั ภายในและภายนอก คอื ราคะ โทสะ โมหะ ก็ตาม สมณะพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรอื ใครๆ ก็ตาม ในโลก ทเี่ ปน็ ศัตร.ู ข. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผนู้ �ำ สขุ มาใหแ้ กม่ หาชนเปน็ ผบู้ รรเทาภยั คอื ความสะดงุ้ หวาดเสยี ว จดั การคมุ้ ครองรกั ษาโดยธรรม ไดถ้ วายทานมเี ครอ่ื งบรวิ าร เพราะ … กรรมนน้ั ๆ … ครน้ั มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ยอ์ ยา่ งนี้ จงึ ไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะขอ้ นี้ คอื ภายใตฝ้ ่าเทา้ มีจักรทั้งหลายเกิดขึ้น มซี ี่ตั้งพนั พรอ้ มดว้ ย กงและดมุ บรบิ รู ณด์ ว้ ยอาการทง้ั ปวง มรี ะยะอนั จดั ไวด้ ว้ ยดี … (ลักขณะท่ี ๒) ย่อมเป็นผู้มีบริวารมาก ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา เทวดา มนุษย์ อสูร นาค คนธรรพ์ ยอ่ มเปน็ บริวารของตถาคต. ค. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผเู้ วน้ จากปาณาตบิ าต วางแลว้ ซง่ึ ศสั ตรา และอาชญา มีความละอาย เอ็นดู กรุณาเกื้อกูลแก่สัตว์มี ชวี ติ ทง้ั ปวง เพราะ … กรรมนน้ั ๆ … ครน้ั มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ย์ อย่างนี้ จึงได้มหาปุริสลักขณะทั้ง ๓ ข้อนี้ คือ มีส้นยาว มขี อ้ นว้ิ ยาว มกี ายตรงดจุ กายพรหม … (ลกั ขณะท่ี ๓ ๔ ๑๕) 493
พุทธวจน - หมวดธรรม ย่อมเป็นผู้มีชนมายุยืนยาวตลอดกาลนาน สมณะหรือ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม กต็ าม หรอื ใครๆ ทเ่ี ปน็ ศตั รู ไมส่ ามารถปลงชวี ติ ตถาคตเสียในระหว่างได.้ ง. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาตกิ อ่ น ไดเ้ ปน็ ผใู้ หท้ านของควรเคย้ี ว ควรบรโิ ภค ควรลม้ิ ควรจบิ ควรดม่ื มรี สอนั ประณตี เพราะ … กรรมนน้ั ๆ … ครน้ั มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ยอ์ ยา่ งนแ้ี ลว้ จงึ ไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะ ขอ้ นี้ คอื มเี นอ้ื นนู หนาในที่ ๗ แหง่ คอื ทมี่ อื ทง้ั สอง ทเ่ี ทา้ ทั้งสอง ท่ีบา่ ทั้งสอง และท่ีคอ … (ลักขณะท่ี ๑๖) ยอ่ มได้ ของควรเคี้ยว ควรบรโิ ภค ควรลิม้ ควรจิบ ควรด่มื อัน มรี สประณตี . จ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาติก่อน … ได้สงเคราะห์ผู้อ่ืนด้วยสังคหวัตถุท้ังส่ี คือ การใหส้ ิ่งของ วาจาทไ่ี พเราะ การประพฤติประโยชน์ผูอ้ ื่น และความมตี นเสมอกนั เพราะ … กรรมนน้ั ๆ … ครน้ั มาสู่ ความเปน็ มนษุ ยอ์ ยา่ งนแ้ี ลว้ จงึ ไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะ ๒ ขอ้ น้ี คอื มีมอื และเท้าอ่อนนมุ่ มีลายฝ่ามือฝ่าเท้าดุจตาข่าย … (ลักขณะท่ี ๕ ๖) ย่อมเป็นผู้สงเคราะห์บริษัท คือ ภิกษุ ภกิ ษณุ ี อบุ าสก อบุ าสกิ า เทวดา มนษุ ย์ อสรู นาค คนธรรพ์ ยอ่ มไดร้ บั ความสงเคราะห์จากตถาคต. 494
เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : ภพภูมิ ฉ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผกู้ ลา่ ววาจาประกอบดว้ ยอรรถดว้ ยธรรม แนะนำ�ชนเป็นอันมาก เป็นผู้นำ�ประโยชน์สุขมาให้แก่ชน ทง้ั หลาย ตนเองกเ็ ปน็ ผบู้ ชู าธรรม เพราะ … กรรมนน้ั ๆ … คร้ันมาสู่ความเป็นมนุษย์อย่างน้ี จึงได้มหาปุริสลักขณะ ๒ ขอ้ น้ี คอื มขี อ้ เทา้ สงู มปี ลายขนชอ้ นขน้ึ … (ลกั ขณะท่ี ๗ ๑๔) ยอ่ มเปน็ ผเู้ ลศิ ประเสรฐิ เยย่ี มสงู กวา่ สตั วท์ ง้ั หลาย. ช. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาติก่อน … ได้เป็นผู้บอกศิลปวิทยา ข้อประพฤติ ด้วย ความเคารพ ดว้ ยหวงั วา่ สตั วเ์ หลา่ นน้ั พงึ รไู้ ดร้ วดเรว็ พงึ ปฏบิ ตั ิ ไดร้ วดเรว็ ไมพ่ งึ เศรา้ หมองสน้ิ กาลนาน เพราะ … กรรมนน้ั ๆ … ครน้ั มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ยอ์ ยา่ งน้ี จงึ ไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะ ข้อนี้ คอื มแี ข้งดงั แข้งเนอ้ื … (ลักขณะที่ ๘) ย่อมได้วัตถุ อนั ควรแกส่ มณะ เปน็ องคแ์ หง่ สมณะเปน็ เครอ่ื งอปุ โภค แกส่ มณะ โดยเรว็ . ซ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผเู้ ขา้ ไปหาสมณพราหมณแ์ ลว้ สอบถามวา่ “ทา่ นผเู้ จรญิ ! อะไรเปน็ กศุ ล อะไรเปน็ อกศุ ล อะไรมโี ทษ อะไรไมม่ โี ทษ อะไรควรเสพ อะไรไมค่ วรเสพ ท�ำ อะไรไมม่ ี 495
พุทธวจน - หมวดธรรม ประโยชน์ เปน็ ทกุ ขไ์ ปนาน ท�ำ อะไรมปี ระโยชน์ เปน็ สขุ ไปนาน เพราะ … กรรมนนั้ ๆ … ครั้นมาสู่ความเปน็ มนษุ ย์อย่างน้ี จงึ ไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะ ขอ้ น้ี คอื มผี วิ ละเอยี ดออ่ น ธลุ ไี มต่ ดิ อยไู่ ด้ … (ลกั ขณะท่ี ๑๒) ยอ่ มเปน็ ผมู้ ปี ญั ญาใหญ่ มปี ญั ญา หนาแนน่ มปี ญั ญาเครอ่ื งปลม้ื ใจ ปญั ญาแลน่ ปญั ญาแหลม ปญั ญาแทงตลอด ไมม่ สี ตั วอ์ น่ื เสมอหรอื ยง่ิ ไปกวา่ . ฌ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผไู้ มม่ กั โกรธ ไมม่ ากไปดว้ ยความแคน้ แม้ชนเป็นอันมาก ว่ากล่าวเอา ก็ไม่เอาใจใส่ ไม่โกรธ ไม่ พยาบาท ไม่คุมแค้น ไม่แสดงความโกรธ ความร้ายกาจ ความเสยี ใจใหป้ รากฏ ทง้ั เปน็ ผใู้ หท้ านผา้ เปลอื กไม้ ผา้ ดา้ ย ผา้ ไหม ผา้ ขนสตั ว์ ส�ำ หรบั ลาดและนงุ่ หม่ อนั มเี นอ้ื ละเอยี ดออ่ น เพราะ … กรรมน้ันๆ … คร้ันมาสู่ความเป็นมนุษย์อย่าง นี้ จึงได้มหาปุริสลักขณะข้อนี้ คือ มีกายดุจทอง มีผิวดุจ ทอง … (ลกั ขณะที่ ๑๑) ยอ่ มเปน็ ผไู้ ดผ้ า้ เปลอื กไม้ ผา้ ดา้ ย ผา้ ไหม ผา้ ขนสตั วส์ �ำ หรบั ลาดและหม่ มเี นอ้ื ละเอยี ดออ่ น. ญ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผสู้ มานญาตมิ ติ ร สหายชาวเกลอ ผเู้ หนิ หา่ ง แยกกนั ไปนาน ไดส้ มานไมตรมี ารดากบั บตุ ร บตุ รกบั มารดา บดิ ากบั บตุ ร บตุ รกบั บดิ า พน่ี อ้ งชายกบั พน่ี อ้ งหญงิ พน่ี อ้ ง 496
เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : ภพภมู ิ หญิงกับพี่น้องชาย ครั้นทำ�ความสามัคคีแล้วพลอยชื่นชม ยินดีด้วย เพราะ … กรรมน้ันๆ … ครั้นมาสู่ความเป็น มนุษย์อย่างน้ี จึงได้มหาปุริสลักขณะ ข้อน้ี คือมีคุยหฐาน (อวัยวะที่ลับ) ซ่อนอยู่ในฝัก … (ลักขณะที่ ๑๐) ย่อมเป็น ผมู้ บี ตุ ร (สาวก) มาก มบี ตุ รกลา้ หาญ มแี ววแหง่ คนกลา้ อนั เสนาแหง่ บุคคลอนื่ จะย่�ำ ยีมไิ ด้ หลายพนั . ฎ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาตกิ อ่ น ไดเ้ ปน็ ผสู้ งั เกตชนั้ เชงิ ของมหาชน รไู้ ดส้ ม�่ำ เสมอ รไู้ ดเ้ อง รจู้ กั บรุ ษุ ธรรมดาและบรุ ษุ พเิ ศษ วา่ ผนู้ ค้ี วรแกส่ ง่ิ นๆ้ี ได้เป็นผู้ทำ�ประโยชน์อย่างวิเศษในชนช้ันนั้น เพราะ … กรรมนั้นๆ … ครั้นมาสู่ความเป็นมนุษย์อย่างน้ีจึงได้ มหาปุริสลักขณะ ๒ ข้อนี้ คือ มีทรวดทรงดุจต้นไทร ยนื ตรงไมย่ อ่ กาย ลบู ถงึ เขา่ ไดด้ ว้ ยมอื ทงั้ สอง … (ลกั ขณะที่ ๑๙ ๙) ย่อมม่ังค่ังมีทรัพย์มาก มีโภคะมาก ทรัพย์ของ ตถาคตเหลา่ นี้ คอื ทรพั ยค์ อื ศรทั ธา ทรพั ยค์ อื ศลี ทรพั ย์ คือหริ ิ ทรัพยค์ อื โอตตปั ปะ ทรพั ย์คือการศกึ ษา (สุตตะ) ทรพั ย์คอื จาคะ ทรพั ย์คือปัญญา. ฐ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผใู้ ครต่ อ่ ประโยชน์ ใครต่ อ่ ความเกอื้ กลู ใครต่ อ่ ความผาสขุ ใครต่ อ่ ความเกษมจากโยคะแกช่ นเปน็ 497
พทุ ธวจน - หมวดธรรม อนั มากวา่ “ไฉนชนเหลา่ นพ้ี งึ เปน็ ผเู้ จรญิ ดว้ ยศรทั ธา ดว้ ยศลี ด้วยการศึกษา ด้วยความรู้ ด้วยการเผื่อแผ่ ด้วยธรรม ด้วยปัญญา ด้วยทรัพย์ และข้าวเปลือก ด้วยนาและสวน ด้วยสัตว์สองเท้าส่ีเท้า ด้วยบุตรภรรยา ด้วยทาสกรรมกร และบรุ ษุ ดว้ ยญาตมิ ติ รและพวกพอ้ ง” เพราะ … กรรมนน้ั ๆ … ครน้ั มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ยอ์ ยา่ งน้ี จงึ ไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะ ๓ ขอ้ น้ี คอื มกี ง่ึ กายเบอ้ื งหนา้ ดจุ สหี ะ มหี ลงั เตม็ มคี อกลม … (ลกั ขณะท่ี ๑๗ ๑๘ ๒๐) ยอ่ มเปน็ ผไู้ มเ่ สอ่ื มเปน็ ธรรมดา คอื ไมเ่ สอ่ื มจากศรทั ธา ศลี สตุ ตะ จาคะ ปญั ญา ไมเ่ สอ่ื ม จากสมบตั ทิ งั้ ปวง. ฑ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผไู้ มเ่ บยี ดเบยี นสตั วท์ งั้ หลายดว้ ยฝา่ มอื ก็ตาม ก้อนดินก็ตาม ท่อนไม้ก็ตาม ศัสตราก็ตาม เพราะ … กรรมน้ันๆ … คร้ันมาสู่ความเป็นมนุษย์อย่างน้ี จึงได้ มหาปุริสลกั ขณะข้อน้ี คือ มีประสาทรบั รสอันเลศิ มปี ลาย ข้นึ เบอ้ื งบน เกิดแล้วทค่ี อรับรสโดยสม่ำ�เสมอ … (ลักขณะ ท่ี ๒๑) ย่อมเป็นผู้มีอาพาธน้อย มีโรคน้อย มีวิบากอัน สม่ำ�เสมอ ไมเ่ ย็นเกนิ รอ้ นเกิน พอควรแก่ความเพียร. ฒ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผไู้ มถ่ ลงึ ตา ไมค่ อ้ นควกั ไมจ่ อ้ งลบั หลงั 498
เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : ภพภูมิ เปน็ ผแู้ ชม่ ชน่ื มองดตู รงๆ มองดผู อู้ นื่ ดว้ ยสายตาอนั แสดง ความรกั เพราะ … กรรมนน้ั ๆ … ครน้ั มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ย์ อย่างนี้ จึงไดม้ หาปรุ ิสลกั ขณะ ๒ ข้อนี้ คือ มตี าเขียวสนิท มตี าดจุ ตาโค … จงึ ไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะ ๒ อยา่ งน้ี คอื มฟี นั ครบ ๔๐ ซี่ มฟี นั สนทิ ไมห่ า่ งกนั … (ลกั ขณะท่ี ๒๓ ๒๕) ยอ่ ม เปน็ ผมู้ บี รษิ ทั ไมก่ ระจดั กระจาย คอื ภกิ ษุ ภกิ ษณุ ี อบุ าสก อุบาสกิ า เทวดา มนษุ ย์ อสรู นาค คนธรรพ์. ถ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผลู้ ะเวน้ การกลา่ วค�ำ หยาบ กลา่ วแตว่ าจา ทไ่ี มม่ โี ทษ เปน็ สขุ แกห่ ู เปน็ ทต่ี งั้ แหง่ ความรกั ซมึ ซาบถงึ ใจ เปน็ ค�ำ พดู ของชาวเมอื ง เปน็ ทพ่ี อใจและชอบใจของชนเปน็ อนั มาก เพราะ … กรรมนนั้ ๆ … ครนั้ มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ย์ อยา่ งน้ี ยอ่ มไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะ ๒ ขอ้ น้ี คอื มลี น้ิ อนั เพยี งพอ มีเสียงเหมือนพรหม พูดเหมือนนกการวิก … (ลักขณะที่ ๒๗ ๒๘) ย่อมเป็นผู้มีวาจาที่ผู้อ่ืนเอื้อเฟ้ือเชื่อฟัง คือ ภกิ ษุ ภกิ ษณุ ี อบุ าสก อบุ าสกิ า เทวดา มนษุ ย์ อสรู นาค คนธรรพ์ เออื้ เฟ้อื เชอ่ื ฟงั . ธ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาติก่อน … ได้เป็นผู้ละเว้นการพูดเพ้อเจ้อ เป็นผู้กล่าว ควรแก่เวลา กล่าวคำ�จริง กล่าวเป็นธรรม กล่าวมีอรรถ 499
พุทธวจน - หมวดธรรม กลา่ วเปน็ วนิ ยั กลา่ วมที ต่ี ง้ั มหี ลกั ฐาน มที ส่ี ดุ ประกอบดว้ ย ประโยชน์ เพราะ … กรรมนน้ั ๆ … ครน้ั มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ย์ อยา่ งนแี้ ลว้ ยอ่ มไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะขอ้ น้ี คอื มคี างดจุ คาง ราชสีห์ … (ลักขณะที่ ๒๒) ย่อมเป็นผู้ท่ีศัตรูท้ังภายใน และภายนอกกำ�จัดไม่ได้ ศัตรู คือ ราคะ โทสะ โมหะ หรอื สมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรอื ใครๆ ในโลก กำ�จดั ไมไ่ ด้. น. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื ตถาคตเกดิ เปน็ มนษุ ยใ์ น ชาตกิ อ่ น … ไดเ้ ปน็ ผลู้ ะมจิ ฉาชพี มกี ารเลย้ี งชพี ชอบ เวน้ จาก การฉอ้ โกงดว้ ยตาชง่ั ดว้ ยของปลอม ดว้ ยเครอ่ื งตวงเครอ่ื งวดั จากการโกง การลวง เว้นจากการตัด การฆ่า การผูกมัด การรว่ มท�ำ รา้ ย การปลน้ การกรรโชก เพราะ … กรรมนน้ั ๆ … ครนั้ มาสคู่ วามเปน็ มนษุ ยอ์ ยา่ งน้ี จงึ ไดม้ หาปรุ สิ ลกั ขณะ ๒ ขอ้ นน้ั คอื มฟี นั อนั เรยี บเสมอ มเี ขยี้ วขาวงาม … (ลกั ขณะ ท่ี ๒๔ ๒๖) ยอ่ มเปน็ ผมู้ บี รวิ ารเปน็ คนสะอาด คอื มภี กิ ษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา เทวดา มนุษย์ อสูร นาค คนธรรพ์ เป็นบริวารอันสะอาด. 500
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : ภพภูมิ อานสิ งส์ของ 146 ผู้มจี ิตเลอ่ื มใสในตถาคต -บาลี ติก. อ.ํ ๒๐/๒๙๒/๕๒๐. อานนท์ ! ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์แผ่รัศมีส่อง แสงใหส้ วา่ งไปทวั่ ทศิ กนิ เนอื้ ทป่ี ระมาณเทา่ ใด โลกมเี นอ้ื ท่ี เทา่ นน้ั มจี �ำ นวนพนั หนง่ึ ในพนั โลกนน้ั มดี วงจนั ทรพ์ นั ดวง ดวงอาทิตย์พันดวง ภูเขาสิเนรุพันลูก ชมพูทวีปพันทวีป อมรโคยานพันทวีป อุตรกรุ พุ ันทวีป ปุพพวเิ ทหะพนั ทวปี มหาสมุทรส่ีพัน มหาราชส่ีพัน จาตุมมหาราชิกาพันหน่ึง ดาวดึงส์พันหน่ึง ยามาพันหนึ่ง ดุสิตพันหนึ่ง นิมมานรดี พันหน่งึ ปรนิมมิตวสวตั ตีพันหน่งึ พรหมพนั หน่ึง นเ้ี รียก ว่า สหัสสีจูฬนิกาโลกธาตุ (โลกธาตุอย่างเล็กมีพันจักรวาล) สหสั สจี ฬู นกิ าโลกธาตมุ ขี นาดเทา่ ใด โลกธาตขุ นาดเทา่ นนั้ ค�ำ นวณทวขี นึ้ โดยสว่ นพนั นน้ั เรยี กวา่ ทวสิ หสั สมี ชั ฌมิ กิ า โลกธาตุ (โลกธาตอุ ยา่ งกลางมลี า้ นจกั รวาล) ทวสิ หสั สมี ชั ฌมิ กิ า โลกธาตมุ ขี นาดเทา่ ใด โลกธาตขุ นาดเทา่ นนั้ ค�ำ นวณทวขี น้ึ โดยสว่ นพนั นน้ั เรยี กวา่ ตสิ หสั สมี หาสหสั สโี ลกธาตุ (โลกธาตุ อย่างใหญ่ประมาณแสนโกฏิจักรวาล) 501
พุทธวจน - หมวดธรรม อานนท ์ ! ตถาคต เมอ่ื มคี วามจ�ำ นง กย็ อ่ มพดู ให้ ตสิ หสั สมี หาสหสั สโี ลกธาตุ ไดย้ นิ เสยี งทว่ั กนั ได้ หรอื วา่ จ�ำ นง ให้ได้ยินเพยี งเทา่ ใด ก็ได.้ ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ! เป็นไปได้ด้วยวิธีอย่างใด พระเจา้ ข้า ! อานนท ์ ! ตถาคตอยทู่ นี่ ่ี จะพงึ แผร่ ศั มี มโี อภาส สว่างไปทั่วติสหัสสีมหาสหัสสีโลกธาตุเสียก่อน เมื่อสัตว์ เหลา่ นน้ั รสู้ กึ ตอ่ แสงสวา่ งอนั นน้ั แลว้ ตถาคตกจ็ ะบนั ลอื เสยี ง ให้สัตว์เหลา่ นนั้ ได้ยนิ . อย่างน้ีแล อานนท์ ! ตถาคตจะพูดให้ติสหัสสี- มหาสหสั สโี ลกธาตุ ไดย้ นิ เสยี งทวั่ กนั ได้ หรอื จ�ำ นงใหไ้ ดย้ นิ เพยี งเทา่ ใดก็ได้. เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสดังน้ีแล้ว ท่านพระอานนท์ ได้ กราบทลู วา่ “เปน็ ลาภของขา้ พระองคห์ นอ ขา้ พระองคไ์ ดด้ แี ลว้ หนอ ท่ขี ้าพระองค์มพี ระศาสดาผมู้ ฤี ทธิม์ ีอานภุ าพมากอยา่ งน้ี”. ล�ำ ดบั นน้ั ทา่ นพระอทุ ายไี ดก้ ลา่ วกะทา่ นพระอานนทว์ า่ ทา่ นอานนทผ์ มู้ อี าย ุ ! ในขอ้ นท้ี า่ นจะไดป้ ระโยชนอ์ ะไร ถา้ ศาสดาของท่านมีฤทธิม์ ากอยา่ งน้ี มอี านภุ าพมากอยา่ งนี้. เมอ่ื ท่านพระอทุ ายีกลา่ วอย่างน้ี พระผ้มู พี ระภาคได้ตรัส กะทา่ นพระอทุ ายีวา่ 502
เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : ภพภมู ิ อุทายี ! เธออย่าได้กล่าวอย่างน้ี ถ้าอานนท์ ยังไม่หมดราคะเช่นนี้ พึงทำ�กาละไป เธอพึงเป็นเจ้า แหง่ เทวดาในหมเู่ ทวดา ๗ ครงั้ พงึ เปน็ พระเจา้ จกั พรรดิ ในชมพูทวปี นแี้ หละ ๗ คร้ัง เพราะจติ ท่เี ลอ่ื มใสนน้ั . อทุ าย ี! กแ็ ตว่ า่ อานนทจ์ กั ปรนิ พิ พานในอตั ภาพน้ี เอง. 503
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปิด : ภพภูมิ วา่ ด้วยทักษณิ า 147 -บาลี อุปร.ิ ม. ๑๔/๔๕๘-๔๖๒/๗๑๑-๗๑๙ อานนท์ ! บคุ คลใหท้ านในสตั วเ์ ดรจั ฉาน พงึ หวงั ผลทกั ษณิ า ได้ร้อยเทา่ ใหท้ านในปถุ ชุ นผทู้ ศุ ลี พงึ หวงั ผลทกั ษณิ าไดพ้ นั เทา่ ใหท้ านในปถุ ชุ นผมู้ ศี ลี พงึ หวงั ผลทกั ษณิ าไดแ้ สนเทา่ ใหท้ านในบคุ คลภายนอกผปู้ ราศจากความก�ำ หนดั ในกาม พึงหวังผลทักษิณาไดแ้ สนโกฏิเทา่ ใหท้ านในทา่ นผปู้ ฏบิ ตั เิ พอ่ื ท�ำ โสดาปตั ตผิ ลใหแ้ จง้ พึงหวังผลทักษิณานับไม่ได้ ประมาณไม่ได้ ไม่ต้องกล่าว ถึงการให้ทานในพระโสดาบัน ในท่านผู้ปฏิบัติเพื่อทำ� สกทาคามผิ ลใหแ้ จง้ ในพระสกทาคามี ในทา่ นผปู้ ฏบิ ตั เิ พอื่ ท�ำ อนาคามผิ ลใหแ้ จง้ ในพระอนาคามี ในทา่ นผปู้ ฏบิ ตั เิ พอ่ื ท�ำ อรหตั ผลใหแ้ จง้ ในสาวกของตถาคตผเู้ ปน็ พระอรหนั ต์ ในพระปจั เจกพทุ ธะ และในตถาคตอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ. 504
เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : ภพภูมิ อานนท์ ! ก็ทักษิณาที่ให้แล้วในสงฆ์มี ๗ อย่าง คอื ใหท้ านในสงฆ์ ๒ ฝ่าย มีพระพทุ ธเจา้ เป็นประมุข นเ้ี ปน็ ทกั ษิณาท่ีถึงแล้วในสงฆ์ ประการท่ี ๑ ใหท้ านในสงฆ์ ๒ ฝา่ ย ในเมอ่ื ตถาคตปรนิ พิ พานแลว้ น้ีเป็นทักษณิ าแลว้ ในสงฆ์ ประการท่ี ๒ ใหท้ านในภกิ ษสุ งฆ์ นเ้ี ปน็ ทกั ษณิ าทถ่ี งึ แลว้ ในสงฆ์ ประการที่ ๓ ใหท้ านในภกิ ษณุ สี งฆ์ นเ้ี ปน็ ทกั ษณิ าทถ่ี งึ แลว้ ในสงฆ์ ประการที่ ๔ แจ้งต่อสงฆ์ว่า ขอได้โปรดจัดภิกษุและภิกษุณี จำ�นวนเท่านี้ ขึ้นเป็นสงฆ์แก่ข้าพเจ้า แล้วให้ทาน น้ีเป็น ทักษิณาท่ถี ึงแล้วในสงฆ์ ประการที่ ๕ 1 แจ้งต่อสงฆ์ว่า ขอได้โปรดจัดภิกษุจำ�นวนเท่าน้ี ข้นึ เปน็ สงฆแ์ ก่ขา้ พเจ้า แลว้ ใหท้ าน น้ีเป็นทักษณิ าทีถ่ งึ แลว้ ในสงฆ์ ประการท่ี ๖ 1. หมายเหตุ = เป็นข้อสังเกตใหท้ ราบวา่ ทักษิณาท่ีถึงแลว้ ในสงฆน์ ้นั จะมีภิกษุหรอื ภกิ ษุณจี �ำนวนก่รี ปู ก็ได้. 505
พุทธวจน - หมวดธรรม แจง้ ตอ่ สงฆว์ า่ ขอได้โปรดจัดภิกษุณีจำ�นวนเท่าน้ี ขึ้นเป็นสงฆ์แก่ข้าพเจ้า แลว้ ใหท้ าน นเ้ี ปน็ ทกั ษณิ าทถ่ี งึ แลว้ ในสงฆ์ ประการที่ ๗ อานนท์ ! ก็ในอนาคตกาล จักมีแต่เหล่าภิกษุ โคตรภู มผี า้ กาสาวะ (จวี ร) พนั คอ เปน็ คนทศุ ลี มบี าปธรรม คนทง้ั หลายจกั ถวายทานเฉพาะสงฆไ์ ดใ้ นเหลา่ ภกิ ษทุ ศุ ลี นน้ั . อานนท ์ ! ทกั ษณิ าทถ่ี งึ แลว้ ในสงฆแ์ มใ้ นเวลานน้ั เรากก็ ลา่ ววา่ มผี ลนบั ไมไ่ ด้ ประมาณไมไ่ ด้ แตว่ า่ เราไมก่ ลา่ ว ปาฏิปุคคลิกทาน (การถวายเจาะจงบุคคล) ว่ามีผลมากกว่า ทกั ษิณาทถี่ ึงแล้วในสงฆโ์ ดยปรยิ ายไรๆ เลย. อานนท์ ! ก็ความบริสทุ ธ์แิ หง่ ทกั ษิณาน้ีมี ๔ อยา่ ง ๔ อยา่ ง คือ อานนท์ ! ทกั ษณิ าบางอยา่ งบรสิ ทุ ธฝ์ิ า่ ยทายก (ผใู้ ห)้ ไมบ่ รสิ ทุ ธฝ์ิ า่ ย ปฏคิ าหก (ผ้รู บั ) บางอยา่ งบรสิ ุทธ์ฝิ ่ายปฏคิ าหก ไม่บริสทุ ธฝ์ิ า่ ยทายก บางอยา่ งฝา่ ยทายกกไ็ ม่บรสิ ทุ ธ์ิ ฝา่ ยปฏคิ าหกกไ็ ม่บริสทุ ธ์ิ บางอย่างบริสุทธิท์ ้งั ฝา่ ยทายกและฝ่ายปฏคิ าหก. 506
เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : ภพภูมิ อานนท ์ ! ก็ทักษิณาช่ือว่าบริสุทธิ์ฝ่ายทายก ไม่บริสุทธ์ิฝ่าย ปฏคิ าหก เป็นอย่างไร ? อานนท์ ! ในข้อน้ี ทายกมีศลี มธี รรมงาม ปฏิคาหก เป็นผู้ทุศีล มีบาปธรรม อย่างน้ีแล ทักษิณาช่อื วา่ บรสิ ทุ ธฝ์ิ ่ายทายก ไม่บรสิ ุทธ์ิฝ่ายปฏคิ าหก. อานนท์ ! ก็ทักษิณาชื่อว่าบริสุทธิ์ฝ่ายปฏิคาหก ไม่บริสุทธฝิ์ า่ ยทายก เป็นอยา่ งไร ? อานนท์ ! ในขอ้ น้ี ทายกเปน็ ผทู้ ุศีล มีบาปธรรม ปฏิคาหกเป็นผู้มีศีล มีธรรมงาม อย่างนี้แล ทกั ษิณาช่ือว่า บรสิ ุทธ์ฝิ ่ายปฏิคาหก ไมบ่ ริสุทธ์ฝิ า่ ยทายก. อานนท์ ! ก็ทักษิณาช่ือว่าฝ่ายทายกก็ไม่บริสุทธิ์ ฝ่ายปฏิคาหกกไ็ มบ่ รสิ ทุ ธ์ิ เป็นอยา่ งไร ? อานนท์ ! ในขอ้ น้ี ทายกกเ็ ปน็ ผู้ทศุ ลี มบี าปธรรม ปฏิคาหกก็เป็นผู้ทุศีล มีบาปธรรม อย่างนี้แล ทกั ษณิ าชอ่ื วา่ ฝา่ ยทายกกไ็ มบ่ รสิ ทุ ธ์ิ ฝา่ ยปฏคิ าหกกไ็ มบ่ รสิ ทุ ธ.์ิ 507
พทุ ธวจน - หมวดธรรม อานนท์ ! ก็ทักษิณาชื่อว่าบริสุทธ์ิท้ังฝ่ายทายก และฝา่ ยปฏคิ าหก เป็นอยา่ งไร ? อานนท์ ! ในขอ้ น้ี ทายกกเ็ ปน็ ผู้มีศลี มธี รรมงาม ปฏิคาหกก็เป็นผู้มีศีล มีธรรมงาม อย่างนี้แล ทักษณิ าชื่อว่า บรสิ ทุ ธ์ทิ งั้ ฝ่ายทายกและฝา่ ยปฏคิ าหก. อานนท ์ ! น้แี ล ความบริสุทธ์ิแห่งทกั ษิณา ๔ อยา่ ง. (คาถาผนวกท้ายพระสูตร) (๑) ผใู้ ดมศี ลี ไดข้ องมาโดยธรรม มจี ติ เลอ่ื มใสดี เช่ือกรรมและผลแห่งกรรมอย่างยิ่ง ให้ทานในคนทุศีล ทกั ษณิ าของผนู้ ั้น ชื่อว่าบริสุทธิฝ์ ่ายทายก (๒) ผู้ใดทุศีล ได้ของมาโดยไม่เป็นธรรม มีจิต ไมเ่ ลอ่ื มใส ไมเ่ ชอ่ื กรรมและผลของกรรมอย่างย่ิง ให้ทาน ในคนมีศลี ทกั ษิณาของผนู้ นั้ ชือ่ ว่า บริสุทธ์ฝิ า่ ยปฏิคาหก (๓) ผู้ใดทุศีล ได้ของมาโดยไม่เป็นธรรม มีจิต ไมเ่ ลือ่ มใส ไม่เชือ่ กรรมและผลของกรรมอย่างยิง่ ให้ทาน ในคนทศุ ลี เราไมก่ ลา่ วทานของผูน้ ั้นว่ามีผลไพบูลย์ 508
เปิดธรรมทีถ่ ูกปิด : ภพภมู ิ (๔) ผใู้ ดมศี ลี ไดข้ องมาโดยธรรม มจี ติ เลอ่ื มใสดี เชอ่ื กรรม และผลของกรรมอยา่ งยงิ่ ใหท้ านในคนมศี ลี เรา กล่าวทานของผนู้ นั้ แลวา่ มีผลไพบูลย์ (๕) ผูใ้ ดปราศจากราคะแล้ว ไดข้ องมาโดยธรรม มจี ติ เลอื่ มใสดี เชอ่ื กรรมและผลของกรรมอยา่ งยง่ิ ใหท้ าน ในผปู้ ราศจากราคะ ทานของผนู้ น้ั นน่ั แล เลศิ กวา่ อามสิ ทาน ท้งั หลาย. 509
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : ภพภูมิ รตั นะท่หี าไดย้ าก 148 -บาลี ปญจฺ ก. อํ. ๒๒/๒๖๖/๑๙๕. เจ้าลิจฉวที ้ังหลาย ! ความปรากฏข้นึ แห่งรัตนะ ๕ ประการ หาได้ยากในโลก. ๕ ประการ อยา่ งไรเล่า ? คือ (๑) ตถาคตผู้อรหนั ตสมั มาสมั พุทธะ (๒) บคุ คลผแู้ สดงธรรมวนิ ยั ทต่ี ถาคตประกาศแลว้ (๓) บคุ คลผูร้ ู้แจง้ ธรรมวินยั ท่ตี ถาคตประกาศแล้ว อนั ผู้อน่ื แสดงแลว้ (๔) บุคคลผู้รูแ้ จง้ ธรรมวินัยทีต่ ถาคตประกาศแลว้ อนั ผอู้ น่ื แสดงแลว้ ปฏบิ ตั ธิ รรมสมควรแกธ่ รรม (๕) กตัญญกู ตเวทีบคุ คล เจ้าลจิ ฉวที ง้ั หลาย ! ความปรากฏข้นึ แห่งรตั นะ ๕ ประการน้แี ล หาได้ยากในโลก. 510
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : ภพภมู ิ ผู้มีอุปการะมาก 149 -บาลี อุปร.ิ ม. ๑๔/๔๕๖-๔๕๗/๗๐๙. ถกู แล้วๆ อานนท์ ! จริงอยู่ บุคคลอาศัยบุคคลใดแล้ว ได้เป็นผู้ถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เปน็ สรณะ เราไม่กลา่ วการทบ่ี ุคคลน้ี ตอบแทนตอ่ บคุ คลนดี้ ว้ ยดี แมด้ ว้ ยการอภวิ าท การลกุ ขนึ้ ยนื รบั การท�ำ อญั ชลี การท�ำ สามจี กิ รรม และการตามถวาย ซง่ึ จวี ร บณิ ฑบาต เสนาสนะ และคลิ านปจั จยั เภสชั ชบรขิ าร บุคคลใดอาศัยบุคคลใดแล้ว ได้เป็นผู้งดเว้นจาก ปาณาติบาต จากอทินนาทาน จากกาเมสุมิจฉาจาร จาก มุสาวาท จากฐานะเป็นท่ีตั้งแห่งความประมาทเพราะด่ืม น�ำ้ เมาคอื สรุ าและเมรยั เราไมก่ ลา่ วการทบ่ี คุ คลนต้ี อบแทน ต่อบุคคลนี้ด้วยดี แม้ด้วยการอภิวาท การลุกขึ้นยืนรับ การท�ำ อญั ชลี การท�ำ สามจี กิ รรม และการตามถวายซงึ่ จวี ร บิณฑบาต เสนาสนะ และคลิ านปัจจัยเภสชั ชบรขิ าร บุคคลอาศัยบุคคลใดแล้ว ได้เป็นผู้ประกอบด้วย ความเลื่อมใส อันหยั่งลงม่ัน ไม่หว่ันไหวในพระพุทธเจ้า ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ประกอบดว้ ยศลี อนั เปน็ ทรี่ กั ของ 511
พุทธวจน - หมวดธรรม พระอรยิ ะเจ้า เราไมก่ ลา่ วการท่ีบุคคลนตี้ อบแทนบคุ คลนี้ ดว้ ยดี แม้ด้วยการอภวิ าท การลกุ ขึน้ ยืนรับ การท�ำ อญั ชลี การทำ�สามีจิกรรม และการตามถวายซึ่งจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคลิ านปจั จัยเภสัชชบริขาร บคุ คลอาศยั บคุ คลใดแลว้ ไดเ้ ปน็ ผหู้ มดความสงสยั ในทกุ ข์ ในทกุ ขสมทุ ยั ในทกุ ขนโิ รธ ในทกุ ขนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา เราไมก่ ลา่ วการทบ่ี คุ คลนต้ี อบแทนบคุ คลนดี้ ว้ ยดี แมด้ ว้ ย การอภวิ าท การลกุ ขน้ึ ยนื รบั การท�ำ อญั ชลี การท�ำ สามจี กิ รรม และการตามถวายซงึ่ จวี ร บณิ ฑบาต เสนาสนะ และคลิ าน- ปจั จยั เภสชั ชบริขาร 512
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : ภพภมู ิ ประพฤตพิ รหมจรรย์ 150 เพอ่ื การละขาดซง่ึ ภพ -บาลี อุ.ข.ุ ๒๕/๑๒๑/๘๔. สตั วโ์ ลกน้ี เกดิ ความเดอื ดรอ้ นแลว้ มผี สั สะบงั หนา้ ย่อมกลา่ วซง่ึ โรคนัน้ โดยความเปน็ ตัวเป็นตน เขาส�ำ คญั สง่ิ ใด โดยความเปน็ ประการใด แตส่ ง่ิ นน้ั ยอ่ มเปน็ โดยประการอนื่ จากทเ่ี ขาสำ�คญั นัน้ สตั วโ์ ลกตดิ ขอ้ งอยใู่ นภพ ถกู ภพบงั หนา้ แลว้ มภี พ โดยความเปน็ อย่างอน่ื จึงไดเ้ พลดิ เพลนิ ยิง่ นกั ในภพนั้น. เขาเพลดิ เพลนิ ยง่ิ นกั ในสง่ิ ใด สง่ิ นน้ั เปน็ ภยั เขากลวั ตอ่ ส่งิ ใด ส่ิงน้ันกเ็ ป็นทุกข.์ พรหมจรรยน์ ี้ อนั บคุ คลย่อมประพฤติ กเ็ พ่ือการ ละขาดซ่งึ ภพ. สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ ใด กลา่ วความหลดุ พน้ จากภพวา่ มไี ดเ้ พราะภพ เรากลา่ ววา่ สมณะหรอื พราหมณ์ ทงั้ ปวงนน้ั มิใช่ผู้หลุดพน้ จากภพ. ถึงแม้สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด กล่าวความ ออกไปได้จากภพ ว่ามีได้เพราะวิภพ เรากล่าวว่า สมณะ หรอื พราหมณท์ ัง้ ปวงนนั้ กย็ ังสลัดภพออกไปไมไ่ ด้. กท็ ุกขน์ มี้ ีข้ึน เพราะอาศัยซ่งึ อปุ ธิทง้ั ปวง. 513
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เพราะความสน้ิ ไปแหง่ อปุ าทานทง้ั ปวง ความเกดิ ขน้ึ แหง่ ทกุ ข์จงึ ไมม่ .ี ท่านจงดูโลกนี้เถิด (จะเห็นว่า) สัตว์ท้ังหลายอัน อวชิ ชาหนาแน่นบังหนา้ แลว้ และว่าสัตว์ผู้ยินดีในภพอันเป็นแล้วน้ัน ย่อมไม่ เป็นผูห้ ลดุ พน้ ไปจากภพได.้ กภ็ พทง้ั หลายเหลา่ หนง่ึ เหลา่ ใด อนั เปน็ ไปในทห่ี รอื ในเวลาทง้ั ปวง เพอ่ื ความมแี หง่ ประโยชนโ์ ดยประการทง้ั ปวง ภพทง้ั หลายทงั้ หมดนน้ั ไมเ่ ทยี่ ง เปน็ ทกุ ขม์ คี วาม แปรปรวนเปน็ ธรรมดา. เม่ือบุคคลเห็นอยู่ซึ่งข้อนั้น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามทีเ่ ปน็ จริงอยา่ งนอี้ ยู่ เขาย่อมละภวตัณหาได้ และไม่เพลิดเพลิน วิภวตณั หาดว้ ย. ความดบั เพราะความส�ำ รอกไมเ่ หลอื เพราะความ ส้นิ ไปแห่งตณั หาโดยประการท้งั ปวง นัน้ คอื นิพพาน. ภพใหม่ย่อมไม่มีแก่ภิกษุน้ัน ผู้ดับเย็นสนิทแล้ว เพราะไม่มีความยึดมัน่ . ภกิ ษนุ น้ั เปน็ ผคู้ รอบง�ำ มารไดแ้ ลว้ ชนะสงครามแลว้ กา้ วลว่ งภพทง้ั หลายทง้ั ปวงไดแ้ ลว้ เปน็ ผคู้ งท่ี ดังนแ้ี ล. 514
นพิ พฺ าน ปรม สขุ
เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : ภพภมู ิ ประเด็นที่ควรค้นควา้ ตอ่ เกีย่ วกบั อสูร 1. อสูร นาค คนธรรพ์ อาศัยอยใู่ นสมทุ ร 2. ท้าวสักกะ มีอสุรกญั ญา นามวา่ สุชา เป็นปชาบดี (มอี สรู หญงิ ช่ือ สุชา เป็นมเหสี) 3. เม่ือตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะท้ังหลายเสด็จ อบุ ตั ขิ นึ้ ในโลก ทพิ ยกายยอ่ มบรบิ รู ณ์ อสรุ กายยอ่ ม เสอ่ื มไป 4. เทวดาเคยรบกับอสูร ถ้าอสูรรบชนะ พึงจองจำ� ท้าวสักกะผู้เป็นจอมเทวดานั้นด้วยเคร่ืองจองจำ� ๕ ประการ แล้วนำ�มายังอสูรบุรี ถ้าเทวดารบชนะ พึงจองจำ�ท้าวเวปจิตติจอมอสูร ด้วยเคร่ืองจองจำ� ๕ ประการ แลว้ นำ�มายังเทวสภาชอ่ื สธุ รรมา 5. การประชุมกันของเทวดาท้งั ๑๐ โลกธาตุ เพ่อื เข้า เฝา้ พระผมู้ พี ระภาค กม็ กี ารกลา่ วถงึ การมาของพวก อสรู ท้ังหลาย หมายเหตุ : ข้อมูลข้างต้นได้ถอดข้อความบางส่วนจากพุทธวจน ในไตรปฎิ กเพอ่ื ใหส้ ามารถเทยี บเคยี งสบื คน้ ตอ่ ไปได.้ 517
ขอนอบนอ้ มแด่ ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพทุ ธะ พระองค์นน้ั ด้วยเศยี รเกลา้ (สาวกตถาคต) คณะงานธมั มะ วดั นาปา พง (กลมุ่ อาสาสมคั รพุทธวจน-หมวดธรรม)
มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ์ มูลนิธิแห่งมหาชนชาวพทุ ธ ผซู้ งึ่ ชดั เจน และมั่นคงในพุทธวจน เรม่ิ จากชาวพทุ ธกลมุ่ เลก็ ๆ กลมุ่ หนง่ึ ไดม้ โี อกาสมาฟงั ธรรมบรรยายจาก ทา่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ โสตถฺ ผิ โล ทเี่ นน้ การนา� พทุ ธวจน (ธรรมวนิ ยั จากพทุ ธโอษฐ์ ทพี่ ระพทุ ธองคท์ รงยนื ยนั วา่ ทรงตรสั ไวด้ แี ลว้ บรสิ ทุ ธบิ์ รบิ รู ณส์ นิ้ เชงิ ทง้ั เนอื้ ความและ พยญั ชนะ) มาใชใ้ นการถา่ ยทอดบอกสอน ซงึ่ เปน็ รปู แบบการแสดงธรรมทต่ี รงตาม พุทธบญั ญตั ิตามท่ี ทรงรบั ส่งั แกพ่ ระอรหันต์ ๖๐ รปู แรกที่ปาอสิ ิปตนมฤคทายวัน ในการประกาศพระสัทธรรม และเปน็ ลกั ษณะเฉพาะทภี่ กิ ษใุ นครง้ั พทุ ธกาลใชเ้ ปน็ มาตรฐานเดยี ว หลกั พทุ ธวจนนี้ ไดเ้ ขา้ มาตอบคา� ถาม ตอ่ ความลงั เลสงสยั ไดเ้ ขา้ มาสรา้ ง ความชดั เจน ต่อความพร่าเลอื นสับสน ในขอ้ ธรรมต่างๆ ทม่ี ีอยู่ในสงั คมชาวพทุ ธ ซง่ึ ท้งั หมดนี้ เป็นผลจากสาเหตเุ ดียวคือ การไมใ่ ช้คา� ของพระพุทธเจา้ เป็นตัวต้งั ต้น ในการศกึ ษาเลา่ เรยี น ดว้ ยศรทั ธาอยา่ งไมห่ วน่ั ไหวตอ่ องคส์ มั มาสมั พทุ ธะ ในฐานะพระศาสดา ทา่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ ไดป้ ระกาศอยา่ งเปน็ ทางการวา่ “อาตมาไมม่ คี า� สอนของตวั เอง” และใช้เวลาท่ีมีอยู่ ไปกับการรับสนองพุทธประสงค์ ด้วยการโฆษณาพุทธวจน เพื่อความตั้งมนั่ แหง่ พระสทั ธรรม และความประสานเป็นหน่ึงเดยี วของชาวพุทธ เมอื่ กลบั มาใชห้ ลกั พทุ ธวจน เหมอื นทเี่ คยเปน็ ในครง้ั พทุ ธกาล สงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ คือ ความชัดเจนสอดคล้องลงตัว ในความรู้ความเข้าใจ ไม่ว่าในแง่ของหลักธรรม ตลอดจนมรรควธิ ที ต่ี รง และสามารถนา� ไปใชป้ ฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผล รเู้ หน็ ประจกั ษไ์ ดจ้ รงิ ดว้ ยตนเองทนั ที ดว้ ยเหตนุ ้ี ชาวพทุ ธทเ่ี หน็ คณุ คา่ ในคา� ของพระพทุ ธเจา้ จงึ ขยายตวั มากขึ้นเรอ่ื ยๆ เกิดเป็น “กระแสพทุ ธวจน” ซง่ึ เปน็ พลงั เงียบท่กี �าลงั จะกลายเป็น คลนื่ ลกู ใหม่ ในการกลบั ไปใชร้ ะบบการเรยี นรพู้ ระสทั ธรรม เหมอื นดงั ครง้ั พทุ ธกาล
ด้วยการขยายตวั ของกระแสพทุ ธวจนน้ี ส่อื ธรรมที่เปน็ พุทธวจน ไม่ว่า จะเป็นหนังสือ หรือซีดี ซ่ึงแจกฟรีแก่ญาติโยมเร่ิมมีไม่พอเพียงในการแจก ทั้งน้ี เพราะจ�านวนของผู้ท่ีสนใจเห็นความส�าคัญของพุทธวจน ได้ขยายตัวมากขึ้นอย่าง รวดเร็ว ประกอบกับว่าท่านพระอาจารย์คึกฤทธ์ิ โสตฺถิผโล เคร่งครัดในข้อวัตร ปฏิบัติท่ีพระศาสดาบัญญัติไว้ อันเป็นธรรมวินัยท่ีออกจากพระโอษฐ์ของตถาคต โดยตรง การเผยแผ่พุทธวจนที่ผ่านมา จึงเป็นไปในลักษณะสันโดษตามมีตามได้ เมือ่ มีโยมมาปวารณาเป็นเจา้ ภาพในการจดั พิมพ์ ไดม้ าจ�านวนเท่าไหร่ ก็ทยอยแจก ไปตามทมี่ เี ทา่ นน้ั เมอ่ื มมี า กแ็ จกไป เมอื่ หมด กค็ อื หมด เนอ่ื งจากวา่ หนา้ ทใ่ี นการดา� รงพระสทั ธรรมใหต้ ง้ั มน่ั สบื ไป ไมไ่ ดผ้ กู จา� กดั อย่แู ตเ่ พยี งพทุ ธสาวกในฐานะของสงฆ์เทา่ นนั้ ฆราวาสกลมุ่ หนึ่งซึ่งเห็นความส�าคญั ของพทุ ธวจน จงึ รวมตวั กนั เขา้ มาชว่ ยขยายผลในสงิ่ ทที่ า่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ โสตถฺ ผิ โล ทา� อยแู่ ลว้ นน่ั คอื การนา� พทุ ธวจนมาเผยแพรโ่ ฆษณา โดยพจิ ารณาตดั สนิ ใจจดทะเบยี น จัดตัง้ เปน็ มลู นธิ อิ ย่างถูกตอ้ งตามกฏหมาย เพือ่ ใหก้ ารด�าเนนิ การตา่ งๆ ทง้ั หมด อยใู่ นรปู แบบทโี่ ปรง่ ใส เปดิ เผย และเปดิ กวา้ งตอ่ สาธารณชนชาวพทุ ธทวั่ ไป สา� หรับผู้ท่ีเหน็ ความสา� คัญของพุทธวจน และมคี วามประสงค์ทจี่ ะด�ารง พระสทั ธรรมใหต้ ง้ั มนั่ ดว้ ยวธิ ขี องพระพทุ ธเจา้ สามารถสนบั สนนุ การดา� เนนิ การตรงนไ้ี ด้ ดว้ ยวิธงี า่ ยๆ น่ันคอื เขา้ มาใส่ใจศึกษาพทุ ธวจน และนา� ไปใช้ปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง เม่ือรู้ประจักษ์ เห็นได้ด้วยตนแล้ว ว่ามรรควิธีท่ีได้จากการท�าความเข้าใจ โดย ใช้ค�าของพระพุทธเจ้าเป็นตัวต้ังต้นน้ัน น�าไปสู่ความเห็นที่ถูกต้อง ในหลักธรรม อันสอดคล้องเป็นเหตุเป็นผล และเช่ือมโยงเป็นหน่ึงเดียว กระทั่งได้ผลตามจริง ทา� ใหเ้ กดิ มีจติ ศรทั ธา ในการช่วยเผยแพรข่ ยายส่ือพทุ ธวจน เพียงเท่านี้ คุณก็คอื หนง่ึ หนว่ ยในขบวน “พทุ ธโฆษณ”์ แลว้ น่คี อื เจตนารมณ์ของมูลนิธิพทุ ธโฆษณ์ นน่ั คอื เปน็ มลู นิธิแหง่ มหาชน ชาวพทุ ธ ซง่ึ ชดั เจน และมน่ั คงในพทุ ธวจน
ผูท้ ีส่ นใจรับสือ่ ธรรมทเี่ ปน็ พุทธวจน เพอ่ื ไปใชศ้ กึ ษาส่วนตัว หรือน�าไปแจกเปน็ ธรรมทาน แกพ่ ่อแมพ่ ีน่ ้อง ญาติ หรือเพื่อน สามารถมารบั ไดฟ้ รี ที่วดั นาปาพง หรือตามที่พระอาจารย์คกึ ฤทธ์ไิ ด้รบั นมิ นต์ไปแสดงธรรมนอกสถานที่ สา� หรบั รายละเอยี ดกจิ ธรรมต่างๆ ภายใตเ้ ครอื ข่ายพุทธวจนโดยวัดนาปาพง คน้ หา ขอ้ มลู ไดจ้ าก www.buddhakos.org หรือ www.watnapp.com หากมคี วามจ�านงทจ่ี ะรับไปแจกเปน็ ธรรมทานในจา� นวนหลายสิบชดุ ขอความกรุณาแจง้ ความจ�านงไดท้ ี่ มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ์ ประสานงานและเผยแผ่ : เลขที่ ๒๙/๓ หมูท่ ่ี ๗ ถนนเลียบคลอง ๑๐ ฝ่ังตะวันออก ตา� บลบึงทองหลาง อา� เภอลา� ลูกกา จงั หวัดปทุมธานี ๑๒๑๕๐ โทรศพั ท์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔, ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘, ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ โทรสาร ๐ ๒๑๕๙ ๐๕๒๖ เวบ็ ไซต์ : www.buddhakos.org อเี มล์ : [email protected] สนบั สนนุ การเผยแผ่พุทธวจนไดท้ ี่ ชอื่ บญั ชี “มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ”์ ธนาคารไทยพาณชิ ย์ สาขา คลอง ๑๐ (ธญั บรุ )ี ประเภท บัญชีออมทรัพย์ เลขทีบ่ ัญชี ๓๑๘-๒-๔๗๔๖๑-๐ วธิ ีการโอนเงนิ จากต่างประเทศ ย่นื แบบฟอร์ม คา� ขอโอนได้ท่ี ธนาคารไทยพาณชิ ย์ Account name: “Buddhakos Foundation” SWIFT CODE : SICOTHBK Branch Number : 318 Siam Commercial Bank PCL, Khlong 10(Thanyaburi) Branch, 33/14 Mu 4 Chuchat Road, Bung Sanun Sub District, Thanyaburi District, Pathum Thani 12110, Thailand Saving Account Number : 318-2-47461-0
ขอกราบขอบพระคุณแด่ พระอาจารยค์ กึ ฤทธิ์ โสตถฺ ผิ โล และคณะสงฆว์ ดั นาปา่ พง ท่กี รณุ าให้ค�าปรกึ ษาในการจดั ทา� หนังสือเลม่ น้ี ติดตามการเผยแผ่พระธรรมคา� สอนตามหลกั พทุ ธวจน โดย พระอาจารยค์ ึกฤทธ์ิ โสตฺถิผโล ไดท้ ่ี เวบ็ ไซต์ • http://www.watnapp.com : หนงั สอื และสื่อธรรมะ บนอินเทอร์เนต็ • http://media.watnapahpong.org : ศูนยบ์ ริการมลั ตมิ เี ดียวัดนาปา พง • http://www.buddha-net.com : เครือขา่ ยพุทธวจน • http://etipitaka.com : โปรแกรมตรวจหาและเทยี บเคยี งพุทธวจน • http://www.watnapahpong.com : เว็บไซตว์ ัดนาปา พง • http://www.buddhakos.org : มลู นิธิพุทธโฆษณ์ • http://www.buddhawajanafund.org : มูลนธิ ิพทุ ธวจน ดาวนโ์ หลดโปรแกรมตรวจหาและเทยี บเคยี งพทุ ธวจน (E-Tipitaka) ส�าหรบั คอมพวิ เตอร์ • ระบบปฏบิ ัตกิ าร Windows, Macintosh, Linux http://etipitaka.com/download หรอื รบั แผน่ โปรแกรมได้ทว่ี ดั นาปาพง ส�าหรับโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทแ่ี ละแทบ็ เลต็ • ระบบปฏิบตั กิ าร Android ดาวน์โหลดได้ท่ี Play Store โดยพิมพค์ �าวา่ พทุ ธวจน หรอื e-tipitaka • ระบบปฏบิ ัตกิ าร iOS (ส�าหรับ iPad, iPhone, iPod) ดาวน์โหลดไดท้ ่ี App Store โดยพมิ พ์คา� ว่า พุทธวจน หรอื e-tipitaka ดาวนโ์ หลดโปรแกรมพุทธวจน (Buddhawajana) เฉพาะโทรศัพทเ์ คลือ่ นทีแ่ ละแทบ็ เล็ต • ระบบปฏบิ ตั กิ าร Android ดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี Google Play Store โดยพิมพ์คา� วา่ พุทธวจน หรอื buddhawajana • ระบบปฏบิ ตั ิการ iOS (ส�าหรับ iPad, iPhone, iPod) ดาวน์โหลดได้ท่ี App Store โดยพมิ พ์คา� ว่า พทุ ธวจน หรอื buddhawajana ดาวน์โหลดโปรแกรมวทิ ยวุ ดั นาป่าพง (Watnapahpong Radio) เฉพาะโทรศพั ทเ์ คลื่อนทีแ่ ละแท็บเลต็ • ระบบปฏิบัติการ Android ดาวน์โหลดได้ท่ี Google Play Store โดยพิมพ์ค�าว่า พทุ ธวจน หรือ วทิ ยุวดั นาปาพง • ระบบปฏิบตั ิการ iOS (สา� หรับ iPad, iPhone, iPod) ดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี App Store โดยพมิ พค์ �าว่า พทุ ธวจน หรือ วทิ ยุวัดนาปาพง วทิ ยุ • คล่ืน ส.ว.พ. FM ๙๑.๐ MHz ทุกวนั พระ เวลา ๑๗.๔๐ น.
บรรณานุกรม พระไตรปฎิ กฉบบั สยามรัฐ พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวง ภาพประกอหบน:ังhสtือtธpรsร:/ม/โsฆciษeณnt์ iชfiุดciจllาuกsพtrรaะtโiอonษ.ฐtu์ mblr.com (ผลงานแปลพทุ ธวจน โดยทา่ นพุทธทาสภกิ ขใุ นนามกองตา� ราคณะธรรมทาน) รว่ มสนับสนุนการจัดท�าโดย คณะงานธมั มะ วดั นาปาพง (กลุ่มอาสาสมัครพุทธวจน-หมวดธรรม), คณะศิษย์วัดนาปา พง, มูลนิธิพุทธวจน, พุทธวจนสถาบันภาคกลาง, พุทธวจนสถาบันภาคเหนือ, พุทธวจนสถาบันภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, พุทธวจนสถาบันภาคตะวันออก, พุทธวจนสถาบันภาคใต้, พุทธวจนสถาบันภาคตะวันตก, กลุ่มศิษย์ตถาคต, กลุ่มสมณะศากยะปุตติยะ, กลุ่มชวนม่วนธรรม, กลุ่มละนันทิ, กลุ่มพนักงานต้อนรับบนเคร่ืองบินบริษัทการบินไทย, กลุ่มมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, ชมรมพุทธวจนอุดรธานี, บจก. สยามคูโบต้า คอร์ปอเรช่ัน, บจก. สยามรักษ์, บจก. เซเว่นสเต็ปส์, บจก. ห้างพระจันทร์โอสถ, สถานกายภาพบ�าบัด คิดดีคลินิค, บจก. ดีเทลส์ โปรดักส์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 576
Pages: