Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลาน พืชพื้นเมืองของไทย

Description: ลาน พืชพื้นเมืองของไทย

Search

Read the Text Version

“ลาน” พืชพ้นื เมอื งของไทย จดั ทำ� โดย : กลุม่ งานวจิ ยั พนั ธพุ์ ืชปา่ มีคา่ หายาก และใกล้สญู พันธุ์ กองคุ้มครองพันธ์สุ ัตว์ปา่ และพชื ป่าตามอนุสัญญา กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ ่า และพันธุ์พืช พิมพ์ครั้งท่ี : 1 จำ� นวน 1,500 เล่ม หา้ มจ�ำหนา่ ย สงวนลิขสทิ ธิ์ ส�ำหรับเผยแพร่ ทปี่ รึกษา : นายวโิ รจน์ พวงภาคศี ิริ ผเู้ รียบเรียง : นางสาวลักขณา แสงอไุ รเพญ็ ภาพประกอบ : นายธนกร เขือ่ นเสน คณะผ้วู จิ ัย : นางสาวลักขณา แสงอไุ รเพ็ญ นางสาวนิรันดรร์ ัตน์ ปอ้ มอ่มิ นางสาวพชั รกิติ เพ็งสกลุ นายธนกร เขอื่ นเสน นางสาวเกวลี อุปมา นายมนสั ชยั ยะนุภาพ นายธนกร เขอื่ นสน ออกแบบ : บริษทั ซิสเต็ม โฟร.์ ....... พมิ พท์ ่ี : ISBN 1 : 978-616-316-470-4



คำ� นำ� ประเทศไทยมีความหลากหลายของชนดิ พรรณพืช (plant diversity) อย่ใู นลำ� ดับสูง เนือ่ งจากท่ตี งั้ ของประเทศไทยอยูบ่ รเิ วณรอยตอ่ ของเขตพฤกษภมู ศิ าสตร์ (floristic region) ถึง 3 ภูมิภาคด้วยกัน ได้แก่ ภูมิภาคอินเดีย - พม่า (Indo - Burmese) ภูมิภาคอินโดจีน (Indo - Chinese) และภูมิภาคมาเลเซีย (Malesian) แต่ปัจจุบันพืชบางชนิดลดจำ� นวนลง และบางชนดิ สูญพนั ธไุ์ ปจากธรรมชาติ โดยมสี าเหตุมาจากการเปล่ยี นแปลงการใชป้ ระโยชน์ ท่ดี ินท่ีกระทบต่อระบบนเิ วศดงั้ เดมิ การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ส่งผลใหพ้ ชื บางชนิด มกี ารเจรญิ เตบิ โตและขยายพนั ธท์ุ เี่ ปลย่ี นแปลงไป เชน่ ชว่ งเวลาการออกดอก ชว่ งเวลาตดิ ผล ประสทิ ธิภาพการตดิ ผลตามธรรมชาติ เป็นต้น ลาน พืชพื้นเมืองของไทยเป็นพืชอีกชนิดท่ีมีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ เมอื่ อายปุ ระมาณ 30 ปขี นึ้ ไป ลานจะออกดอกและผลเพยี งครง้ั เดยี วแลว้ ตาย โดยจะเพมิ่ โอกาส ในการสืบต่อพันธุ์ด้วยการออกดอกเป็นจ�ำนวนมาก แต่มีดอกส่วนน้อยที่พัฒนาเป็นผล และเมล็ดทส่ี มบูรณ์ ขึ้นอยู่กับปัจจัยแวดล้อมและความสมบูรณ์ของต้น ผลมีขนาดใหญ่มักตก ไมไ่ กลตน้ แม่ จงึ พบลานกระจายเป็นกลุม่ ๆ อย่ใู กลก้ นั ปจั จุบันมกี ารใช้ประโยชน์จากต้นลาน ไม่มากนัก โดยส่วนใหญ่ใช้ใบในงานหัตถกรรม และมีการน�ำผลอ่อนส่วนเนื้อในของเมล็ด (endosperm) มารับประทานเป็นของหวาน การใช้ประโยชน์จากใบและผลมากเกินไปเป็นอีก สาเหตทุ ่ีกอ่ ให้เกิดผลกระทบตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการอยูร่ อดของต้นลาน หนงั สอื เลม่ นี้ จดั ทำ� ขน้ึ เพอ่ื เผยแพรข่ อ้ มลู รวมถงึ ผลการศกึ ษาวจิ ยั ดา้ นตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ นเิ วศวทิ ยาและการกระจายพนั ธ์ุ ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรม ชพี ลกั ษณ์ ความสำ� เรจ็ ในการสบื พนั ธ์ุ การขยายพนั ธ์ุ ปจั จยั คกุ คาม สถานภาพการอนรุ กั ษ์ ประโยชน์ และแนวทางในการอนุรักษ์ รวมถงึ วิถีชวี ิตของชุมชนกับต้นลาน คณะผู้จัดท�ำหวงั เป็นอยา่ งยิง่ วา่ หนงั สอื เล่มนี้ จะเปน็ ประโยชน์ต่อหน่วยงานของภาครัฐ ภาคเอกชน ตลอดจน ประชาชนท่สี นใจ ที่จะนำ� ไปใชใ้ นการเรยี นรู้ นำ� ไปใช้เปน็ แนวทางในการจดั การเพอื่ การอนรุ ักษ์ ตน้ ลานในพนื้ ทปี่ า่ อนรุ กั ษแ์ ละพน้ื ทขี่ องชมุ ชน รวมถงึ การสง่ เสรมิ การปลกู และการใชป้ ระโยชน์ จากสว่ นต่างๆ ของต้นลานอยา่ งแพรห่ ลายและตอ่ เนอ่ื งตลอดไป

สารบัญ ลาน พืชพื้นเมอื งของไทย ......01 ......03 ท่มี แี นวโน้มใกล้สูญพันธ์ุ ......21 ......26 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ......29 ......38 นเิ วศวทิ ยาและการกระจายพันธ์ุ ความหลากหลายทางพนั ธุกรรม ชีพลักษณ์ ความส�ำเร็จในการสบื ตอ่ พันธ์ุ

การขยายพันธ์ุ ......40 ......45 ประโยชน์ ......52 ......54 ปัจจัยคกุ คาม ......58 ......62 สถานภาพการอนุรกั ษ์ แนวทางในการอนุรกั ษ์ เอกสารอ้างอิง

ลาน พืชพน้ื เมืองของไทย ทมี่ แี นวโนม้ ใกลส้ ญู พนั ธ์ุ ลาน หรอื ตน้ ลาน นน้ั อาจไมเ่ ปน็ ทร่ี จู้ กั มากนกั แตถ่ า้ พดู ถงึ “คมั ภรี ใ์ บลาน” หลายคน อาจจะรจู้ กั มากขน้ึ ในประเทศไทยพบตน้ ลาน 3 ชนดิ เปน็ ชนดิ พน้ื เมอื งของประเทศไทย 2 ชนดิ คอื ลานปา่ (Corypha lecomtei Becc.) และลานพรุ (Corypha utan Lam.) อกี ชนดิ คอื ลานวดั (Corypha umbraculifera L.) มีถิ่นเดิมในอินเดยี ศรีลงั กา หรอื าจพบในพมา่ น�ำเข้ามาปลูก ทางภาคเหนือของประเทศไทย ในอดีตมีการใช้ประโยชน์จากต้นลานอย่างแพร่หลาย ท้ังใช้ จารกึ เร่ืองราวต่างๆ ในคมั ภีร์ใบลาน ใช้จกั ลาน มัดขา้ ว มุงคลังคา ทำ� ร้วั ท�ำคนั เบด็ รวมถึง ใชเ้ ปน็ ยารกั ษาโรคตา่ งๆ เปน็ ตน้ แตป่ จั จบุ นั มกี ารใชป้ ระโยชนน์ อ้ ย จงึ มแี คค่ นบางกลมุ่ เทา่ นน้ั ที่รจู้ กั ตน้ ลานและใชป้ ระโยชนจ์ ากสว่ นต่างๆ ของตน้ ลาน ซ่งึ ยังเปน็ การใชป้ ระโยชนใ์ นรปู แบบ ที่ขาดการจัดการอย่างยั่งยนื ลานเป็นพืชที่ถูกคุกคามจากหลายปัจจัย โดยเฉพาะถ่ินอาศัยท่ีอยู่บริเวณที่ราบ ท่ีราบลุ่มต่�ำ ซ่ึงปัจจุบันเป็นพ้ืนท่ีเกษตรกรรมและท่ีอยู่อาศัยเกือบท้ังหมด นอกจากน้ี ยังมีปัจจัยเส่ียงจากชีววิทยาการสืบพันธุ์ของต้นลานเอง คือ เม่ือต้นลานมีอายุประมาณ 30-50 ปี จะออกดอกเพยี งครง้ั เดยี วแลว้ ตาย แมต้ น้ ลานจะเพม่ิ โอกาสในการสบื พนั ธโ์ุ ดยการ ออกดอกเป็นจ�ำนวนมาก แต่ก็มีดอกจ�ำนวนน้อยท่ีพัฒนาไปเป็นผลและมีการตัดโค่นช่อผล ทงั้ หมดเพอื่ นำ� ผลออ่ นไปรบั ประทาน ซง่ึ จะทำ� ใหล้ านตน้ นน้ั หมดโอกาสในการขยายพนั ธ์ุ อกี ทงั้ ผลลานมขี นาดคอ่ นขา้ งใหญ่ จงึ กระจายอยไู่ มไ่ กลตน้ แมอ่ ยา่ งหนาแนน่ โอกาสรอดเปน็ ตน้ ใหม่ ไมม่ ากนกั เนื่องจากการคดั เลือกตามธรรมชาติ ความสมบูรณข์ องเมล็ด และปจั จยั แวดล้อม รวมท้ังเมื่อต้นลานโตเต็มท่ีจะมีต้นและช่อดอกขนาดใหญ่ อาจสูงรวมได้ถึง 20 เมตร ท�ำให้ต้องใช้พ้ืนท่ีมากและหากปลูกใกล้อาคารท่ีอยู่อาศัย อาจท�ำให้เกิดอันตรายได้ รวมถึงความเช่ือต่างๆ ที่ท�ำให้ไม่นิยมปลูกต้นลานในท่ีดินของตนเอง ท�ำให้มีความเส่ียงต่อ การสญู พนั ธ์ุ 01 ลาน พืชพน้ื เมืองของไทย

ตน้ ลานปา่ กลุม่ งานวจิ ัยพนั ธ์พุ ืชปา่ มีค่า หายาก และใกล้สญู พันธุ์ เลง็ เหน็ ความสำ� คัญของ ปัญหาที่กล่าวมา จึงจัดท�ำโครงการวิจัยเรื่อง การศึกษาชีววิทยาและการประเมินสถานภาพ ลานในประเทศไทย และโครงการ การศึกษาชีพลักษณ์และความส�ำเร็จในการสืบพันธุ์ ของตน้ ลานในประเทศไทย เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ชวี วทิ ยา นเิ วศวทิ ยา การกระจายพนั ธ์ุ ปจั จยั คกุ คาม สถานภาพการอนรุ กั ษ์ การใชป้ ระโยชน์ รวมถงึ การขยายพนั ธ์ุ ประกอบกบั ขอ้ มลู ทมี่ ผี ศู้ กึ ษาไว้ นำ� มาใชเ้ ป็นแนวทางในการอนุรกั ษต์ น้ ลาน เพือ่ ต่อลมหายใจให้ตน้ ลานอยกู่ บั ป่าและชุมชนได้ ตลอดไป 02 ลาน พชื พืน้ เมืองของไทย

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ พืชสกลุ ลาน จัดเป็นพชื ใบเลย้ี ง เด่ียว (Monocotyledon) อยู่ในวงศ์ Arecaceae(ชื่อเดิมคือ Palmae) อยู่ใน สกุล Corypha จัดเป็นปาล์มล�ำต้นเด่ียว ไม่มีการแตกกอ สูง 5-30 ม.เส้นผ่าน ศูนยก์ ลาง 45-100 ซม. ผิวลำ� ต้นมรี อย วงแหวน ท่ีเกิดจากการหลุดรว่ งของใบ ใบ : เปน็ ใบประกอบ รปู ฝา่ มอื เรยี งเวยี น เปน็ กระจุกที่ปลายยอด มีขนาดใหญ่มาก เส้นผ่านศูนยก์ ลางใบยาวถึง 3 ม. มีแกน กระดูกกลางใบทางใบยาวถึง 3.5 ม. ขอบทางใบมีหนามสีด�ำ โคนกาบใบแยก ออกจากกันโอบลำ� ต้น 03 ลาน พืชพ้นื เมืองของไทย

ดอก : ออกเปน็ ชอ่ (inflorescence) ทรง พรี ะมิด แบบชอ่ แยกแขนง (panicle) ออกท่ี ปลายยอดของล�ำต้นเหนือใบ (suprafoliar) และเปน็ ชอ่ ดอกขนาดใหญท่ ส่ี ดุ ของพชื มดี อก ดอกลานเป็นดอกสมบูรณ์เพศ (perfect flower) มกี ลบี เลยี้ ง 3 กลบี กลบี ดอก 3 กลบี และรงั ไข่ 3 ชอ่ ง รงั ไขอ่ ยเู่ หนอื วงกลบี มเี กสร เพศผู้ 6 อัน ในแต่ละช่อย่อยตาดอกจะ พัฒนาไดไ้ ม่หมด โดยเฉพาะสว่ นปลายของ ช่อจะเป็นตุ่มตา ไม่มีการพัฒนาเป็นดอก ดอกย่อยอาจมมี ากถงึ 60 ลา้ นดอก 04 ลาน พืชพนื้ เมอื งของไทย

ผล : เปน็ แบบผลมเี นอ้ื สด มเี มลด็ เดยี ว (drupe) เนอ้ื เยอ่ื ชน้ั ในสดุ ของเปลอื ก (endo- carp) แขง็ ขณะผลออ่ น สว่ นของเนอ้ื ในเมลด็ (endosperm) จะมีลักษณะเป็นน�้ำใส และ พฒั นาเปน็ เนอ้ื นมิ่ และแขง็ เมอ่ื ผลแก่ ผลสกุ แก่จะมีสีออกเหลือง เม่ือผลร่วงหมดต้น แมจ่ ะตายและคอ่ ยๆ ผพุ งั ลง 05 ลาน พืชพ้ืนเมอื งของไทย

ภาพลกั ษณข์ องดอกและผลของพืชสกลุ ลาน (Corypha spp.) ; 5 mm. B : ลกั ษณะดอกย่อย A : สว่ นกา้ นแขนงช่อ C : กลบี ดอก (petal) (rachilla) D : เกสรเพศเมยี (gynoecium) E : เกสรเพศผู้ (stamen) F : ผล 06 ลาน พืชพนื้ เมอื งของไทย

1 (Coryphลaาleนcoปmtา่ei Becc.) หรอื ท่ีเรีย(กInวd่าocลhาiนnดes�ำeลfาaนnกpบaินlmท)ร์ ลานทุ่ง เป็นปาลม์ ลำ� ต้นเด่ยี วขนาดใหญ่ สูงได้ถงึ 15 ม. รวมใบ ลำ� ต้นสงู ได้ถงึ 5 ม. เส้นผ่านศูนย์กลางล�ำต้นรวมกาบใบ มีขนาดประมาณ 1 ม. เส้นผ่านศูนย์กลาง ไม่รวมกาบใบมีขนาด 45 - 75 ซม. เมื่อใบแกเ่ ห่ียวแหง้ หักลง แต่โคนก้านใบยงั คง ติดอยรู่ อบลำ� ตน้ 07 ลาน พืชพื้นเมืองของไทย

ใ บ : เ ป ็ น ใ บ ป ร ะ ก อ บ รู ป ฝ ่ า มื อ (palmate-leaved) เป็นกระจุกที่ปลายยอด มี 15 - 25 ใบ ใบมีขนาดใหญ่ ความยาว ของใบประมาณ 3 - 4 ม.ความกว้างที่ แผอ่ อกไปประมาณ 4.5 - 6 ม. สเี ขยี วอมเทา ปลายใบหอ้ ยลงโคนกาบใบแยกออกจากกนั ดูเป็นรูปตัววีคว�่ำ ก้านใบยาว 2.5 - 5 ม. ขอบก้านใบทั้งสองด้านมีหนามสีออกด�ำ คลา้ ยฟนั เลอื่ ยเรยี งกนั อยู่ หนามยาว 7 - 10 มม. แถบสีดำ� ทีข่ อบก้านใบกว้างประมาณ 1 - 1.5 ซม. โคนกา้ นใหญ่งุม้ กวา้ งประมาณ 25-30 ซม. ยาว 2.5 - 3 ม. 08 ลาน พืชพื้นเมอื งของไทย

ดอก : ออกท่ีปลายยอด ต้ังขึ้นและ แตกก้านช่อดอกย่อยเรียงห่างกัน แผ่เป็น รูปพีระมิด ช่อดอกรวมยาว 10 - 12 ม. ก้านช่อดอกยาว 1.5 - 2 ม. เส้นผ่าน ศูนย์กลาง 15 - 20 ซม. แกนชอ่ ดอกยาว 8 - 10 ม. กิ่งย่อยที่อยู่ในแนวราบมีถึง 25 กง่ิ ยาวไดถ้ งึ 3 ม.มกี ง่ิ แขนงยอ่ ยจำ� นวน มากห้อยลง ยาว 30 - 40 ซม. ตรงฐาน ดอกติดกับก้านดอกจะมีกลีบเล้ียงอยู่รอบ 3 กลีบ โคนเช่ือมติดกัน ปลายแยกออก จากกัน กลีบดอกมีอยู่ 3 กลีบ มีสีขาว ถงึ เหลอื งอ่อน 09 ลาน พืชพื้นเมอื งของไทย

ผล : รูปทรงกลมแกมรีขนาดใหญ่ สีเขียวอมเทา ผลอยู่เป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 - 4 ผล เกาะตดิ อยกู่ บั กา้ นดอกยาว 1 มม. ขนาดผลยาวประมาณ 4 - 5 ซม. กวา้ ง 3 - 4 ซม. 10 ลาน พชื พื้นเมอื งของไทย

2 ลานพรุ (Corypha utan Lam.) ชื่อพ้อง : Corypha elata L. ช่อื สากล Bชigือ่ ไbทoยmอbน่ื ๆbuไrดs้แtกc่oลrาyนphลaา, นGใeตb้ ang Palm เป็นปาล์มล�ำต้นเด่ียวขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 25 ม. เส้นผ่านศูนย์กลางล�ำต้น รวมกาบใบมีขนาดประมาณ 60 - 90 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลางไม่รวมกาบใบมี ขนาดประมาณ 40 - 60 ซม.ลำ� ต้นเกลยี้ งมรี ่องรอยการทง้ิ ก้านใบ 11 ลาน พชื พน้ื เมืองของไทย

ใบ : เป็นใบประกอบรูปฝ่ามือ (pal- mate-leaved) กระจกุ ท่ียอด 25 - 30 ใบ ใบมีขนาดใหญ่ ความยาวของใบประมาณ 3 - 4 ม. ความกวา้ งทแ่ี ผ่ออกไปประมาณ 4.5 - 6 ม. ก้านใบมีลักษณะยาวเรียว จากโคน ขอบก้านใบโค้งเข้าหากันเล็กน้อย ข อ บ ก ้ า น ใ บ ทั้ ง ส อ ง ด ้ า น มี ห น า ม แ ห ล ม คล้ายฟันเล่ือยเรียงกันอยู่ หนามยาว ประมาณ 2.5 ซม. มแี ว๊กซ์สีขาวเคลือบก้านใบอยู่ โคนกาบ ใบแยกออกจากกนั เป็นรปู ตวั วคี ว�ำ่ ก้านใบ ยาว 2.5 - 3.5 ม. 12 ลาน พชื พื้นเมอื งของไทย

ดอก : ช่อดอกรูปไข่ต้ังขึ้น ออกท่ี ปลายยอด มจี �ำนวนมากและอยรู่ วมกนั แน่น ชอ่ ดอกรวมยาว 4 - 7 ม. ก้านช่อดอกสน้ั หรอื ไม่มี แกนช่อดอกยาว 4 - 6 ม. เสน้ ผ่าน ศูนย์กลาง 25 - 35 ซม. ก่ิงย่อยที่อยู่ใน แนวราบจำ� นวน 30 - 55 ก่งิ ยาวถงึ 2.5 ม. แตกกิ่งแขนงย่อยแผ่ออกรอบจ�ำนวนมาก ยาวถึง 25 ซม. ตรงฐานดอกติดกับ ก้านดอก จะมีกลีบเลี้ยงอยู่รอบ 3 กลีบ โคนเช่ือมติดกัน ปลายแยกออกจากกัน ถัดเข้าไปเป็นกลีบดอก มีอยู่ 3 กลีบ บานเต็มที่ขนาด 3 - 5 มม. สีขาวถึง เหลอื งอ่อน 13 ลาน พชื พื้นเมอื งของไทย

ผล : ค่อนข้างกลม ขนาด 2.5 - 3 ซม. อยู่เป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 - 4 ผล เกาะติดอยู่กับ กา้ นดอก ยาว 1 มม. 14 ลาน พชื พนื้ เมอื งของไทย

3 ลานวัด (Corypha umbraculifera L.) ชือ่ ไทยอนื่ ๆ : ลานบ้าน ลานเชียงใหม่ ลานหมน่ื เถดิ เทงิ ชอ่ื สากล : Talipot palm Lontar palm Fan palm เป็นปาล์มล�ำต้นเด่ียวขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 25 ม. เส้นผ่านศูนย์กลางล�ำต้น รวมกาบหุ้มมีขนาดประมาณ 60 - 90 ซม. เสน้ ผา่ นศูนย์กลางไม่รวมกาบใบมขี นาด 45 - 47 ซม. ลำ� ตน้ มีร่องรอยของกาบใบเก่าถแี่ ละไมช่ ดั เจน 15 ลาน พืชพื้นเมอื งของไทย

ใบ : เปน็ กระจกุ ทป่ี ลายยอด 25 - 35 ใบ กาบใบอ้วน สีออกเขียว ยาว 2.5 - 3 ม. โคนกาบสีเขียวอมเหลือง แยกออกจากกัน เปน็ รปู ตวั วี ทข่ี อบมรี ะยางคค์ ลา้ ยหแู ตล่ ะขา้ ง ขอบกา้ นใบมหี นามสีดำ� ยาวถึง 1 ซม. แผน่ ใบรูปร่างเกือบกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 - 3 ม.เป็นคลื่นเส้นกลางใบยื่นเข้าไป ในใบ ประมาณ 1 ม. และโค้งลง แฉกใบยอ่ ย ปลายหยักลกึ 1/4 - 1/2 ของใบ มี 110 แฉก ขนาด 4 - 6.5 x 75 - 150 ซม. มักมี สองแฉกอยตู่ ดิ กนั ทำ� ใหใ้ บดมู ลี กั ษณะหยาบ 16 ลาน พืชพื้นเมืองของไทย

ดอก : ช่อดอกเป็นรูปพีระมิด ช่อดอก รวมยาวถึง 6 ม. เส้นผ่านศูนญ์กลาง 35 ซม.กา้ นชอ่ ดอกสน้ั หรอื ไมม่ ี แกนชอ่ ดอก ยาวถึง 6 ม. แตกกิง่ แขนงย่อยจ�ำนวนมาก แผ่ออกยาว 5 - 25 ซม. ดอกบานออก บนกา้ นเป็นกลมุ่ ๆ ดอกมีขนาดเล็ก รปู ร่าง ยาวรี เป็นดอกสมบูรณ์เพศ ในช่อดอก เดียวกันจะบานไม่พร้อมกัน สีขาวถึง เหลอื งอ่อน 17 ลาน พืชพื้นเมอื งของไทย

ผล : เป็นทรงกลม ขนาด 3.5 - 4.5 ซม. มีสีเขียวอ่อนอมเทา ผลเป็นแบบผลมีเน้ือสด มเี มลด็ เดยี ว 18 ลาน พชื พื้นเมืองของไทย

การจัดหมวดหมูพ่ ืชสกุลลาน ก า ร จั ด ห ม ว ด ห มู ่ พื ช ส กุ ล ล า น ใ ช ้ ห ลั ก ก า ร จั ด ห ม ว ด ห มู ่ ป า ล ์ ม ข อ ง Dransfield and Uhl (1987) โดยการ จัดจะรวบรวมปาล์มบางกลุ่มที่มีลักษณะ บางอย่างเหมือนกันเข้าด้วยกัน เหลือก ลุ่มย่อยในระดับอนุวงศ์ (subfamily) เพียง 6 กลมุ่ สว่ นกลมุ่ ยอ่ ยทมี่ คี วามแตกตา่ งกนั ออกไป ก็จัดให้อยู่ระดับหมวด (tribe) รายละเอยี ดดงั น้ี Kingdom Plantae Division Magnoliophyta Class Monocotyledoneae Order Palmales Family Palmae Subfamily Coryphoideae Tribe Corypheae 19 ลาน พืชพน้ื เมืองของไทย

C. lecomtei (ลานปา่ ) C. utan (ลานพร)ุ C. umbraculifera (ลานวดั ) อนกุ รมวิธานของพืชสกุลลาน รปู วธิ านพชื สกลุ ลาน (Corypha spp.) อา้ งตาม Hodel (1997) และ พนู ศกั ดิ์ (2548) 1. ล�ำต้นสูง 5 ม. หรือต�่ำกว่านั้น จ�ำนวนใบท่ีกระจุกยอด 15 - 25 ใบ ขอบกาบใบ มีแถบสดี ำ� กว้างถงึ 1.5 ซม. ช่อดอกสูง 10 - 12 ม. แผ่กระจาย C. lecomtei 1. ล�ำต้นสูง 10 - 30 ม. จ�ำนวนใบท่ีกระจุกยอด 25 - 35 ใบ ขอบก้านใบไม่มีสีด�ำ มเี ฉพาะหนามสีดำ� ช่อดอกสงู 4 - 7 ม. อัดตวั กนั แนน่ 2. 2. กาบใบและก้านใบมีสีขาวคลุม ขอบก้านใบเรียบ ไม่มีแถบ (with out flaps) ขอบกาบใบมหี นาม ยาวถงึ 2.5 ซม. ขอบโคน กาบใบไมม่ ตี งิ่ คลา้ ยหู C. utan 2. กาบใบและก้านใบไมม่ ีสขี าวคลุม ขอบก้านใบมีแถบ ขอบกาบใบมีหนามยาวถงึ 1 ซม. ขอบโคนกาบใบมีต่ิงคลา้ ยหู C. umbraculifera 20 ลาน พืชพน้ื เมอื งของไทย

นิเวศวิทยาและการกระจายพนั ธุ์ พืชสกุลลาน (Corypha spp.) มีการกระจายพันธุ์ในเขตร้อน ตั้งแต่ตอนใต้ ของประเทศอนิ เดยี ศรลี งั กา อา่ วเบงกอล ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ มาเลเซยี นวิ กนิ ี ตลอดไปจนถงึ ตอนเหนอื ของทวปี ออสเตรเลีย พชื สกุลลาน มี 5 ชนิดด้วยกัน (theplantist, 2013) ได้แก่ 1. Corypha lecomtei Becc. 2. Corypha microclada Becc. 3. Corypha tallera Roxb. 4. Corypha umbraculifera L. 5. Corypha utan Lam. ในประเทศไทย พบวา่ มพี ชื สกลุ ลานอยู่ 3 ชนดิ โดยเปน็ พนั ธพ์ุ นื้ เมอื ง 2 ชนดิ คือ ลานปา่ และลานพรุ อีกชนดิ คือ ลานวดั น�ำเขา้ มาปลกู ในทางภาคเหนอื ของประเทศไทย มถี ่นิ เดิมในอนิ เดยี ศรลี งั กา หรืออาจพบในพม่า 21 ลาน พืชพ้นื เมอื งของไทย

ตน้ ลานปา่ ลานป่า พบข้ึนกระจายอย่ใู นเขตมรสมุ บริเวณปา่ โปรง่ หรอื ในท่โี ล่งใกล้แหล่งนำ�้ และเปน็ ท่ีน้ำ� ทว่ มถึง ทร่ี ะดบั ความสูง 100 - 600 ม. เหนือระดับน�ำ้ ทะเล ตามท่รี าบลุ่มในภูมภิ าค อนิ โดจนี ตงั้ แตจ่ นี ตอนใตถ้ งึ ลาว เวยี ดนาม กมั พชู า ประเทศไทยพบมากทางภาคกลาง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ และภาคเหนือ พบมากท่ีสุดในเขตอทุ ยานแห่งชาตทิ ับลาน จังหวัดปราจีนบุรี และบริเวณทร่ี าบบนเขาละมั่ง ต�ำบลบพุ ราหมณ์ อำ� เภอนาดี จังหวัดปราจนี บุรี โดยป่าลานเปน็ ประเภทป่าผลัดใบ สภาพจะเป็นป่าโปร่ง มีลานขึ้นอย่างหนาแน่นท่ัวพื้นที่ มีเนื้อที่ประมาณ 200 ไร่ บริเวณดงลาน อ�ำเภอชมุ แพ จงั หวดั ขอนแกน่ และยงั พบทีบ่ ้านทา่ ฤทธ์ิ อ�ำเภอวังม่วง จังหวดั สระบรุ ี นอกจากนย้ี งั พบท่ัวไปบรเิ วณจงั หวดั ลพบุรี ตาก และพิษณุโลก 22 ลาน พืชพน้ื เมอื งของไทย

ตน้ ลานพรุ ลานพรุ พบได้ในทีโ่ ล่ง ทรี่ าบลุม่ ต่�ำ พนื้ ท่นี ำ�้ ท่วมขัง จนถงึ พืน้ ทีด่ อนที่มีความสงู จากระดับน้�ำทะเล 300 ม. มีการกระจายพันธุ์ในอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิวกินี และออสเตรเลีย ประเทศไทยพบบริเวณตอนกลางและใต้สุดของภาคใต้ พบมากท่ี อำ� เภอเชยี รใหญ่ และอำ� เภอหวั ไทร จงั หวดั นครศรธี รรมราช อำ� เภอระโนด จงั หวดั สงขลา สตลู ตรงั ภาคกลางพบทจี่ งั หวดั นครปฐม ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื พบมากทตี่ อนบนแถบจงั หวดั เลย และพบมากทอ่ี ำ� เภอด่านขุนทด จังหวดั นครราชสมี า 23 ลาน พชื พนื้ เมอื งของไทย

การส�ำรวจลานป่า พบการปรากฏของลานป่าทงั้ หมด 512 จดุ สำ� รวจ ส่วนใหญ่ ปรากฏอยู่ในพื้นที่ต�ำบลบุพราหมณ์ อ�ำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี พ้ืนท่ีราบบริเวณภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ไดแ้ ก่ จงั หวดั ขอนแกน่ ชยั ภมู ิ เลย อดุ รธานี หนองบวั ลำ� ภู นครราชสมี า บรุ รี ัมย์ ศรษี ะเกษ และร้อยเอ็ด บรเิ วณภาคกลาง จงั หวดั ลพบุรี สระบรุ ี นครสวรรค์ ไปจนถึง พษิ ณุโลก ตาก และล�ำปาง สำ� หรบั ภาคใตไ้ ม่พบการปรากฏของต้นลานปา่ 24 ลาน พชื พืน้ เมืองของไทย

การส�ำรวจลานพรุ พบการปรากฏของลานพรุทั้งหมด 575 จุดส�ำรวจ ส่วนใหญป่ รากฏอยู่ในพ้นื ทร่ี าบบริเวณภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา สตลู สุราษฎร์ธานี พัทลุง ตรัง และภูเก็ต บรเิ วณภาคกลางและภาคตะวนั ตกแถบจังหวัดนครปฐม สุพรรณบุรี และราชบุรี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบมากที่อ�ำเภอด่านขุนทด จังหวัด นครราชสีมา สำ� หรบั ภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกไมพ่ บการปรากฏของลานพรุ 25 ลาน พชื พ้นื เมอื งของไทย

ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรม กลมุ่ งานวิจัยพันธพุ์ ชื ป่ามีคา่ หายาก และใกล้สญู พันธ์ุ ไดร้ ว่ มมือกับผูเ้ ชี่ยวชาญ เฉพาะดา้ นวิจยั การอนรุ ักษ์ปา่ ไม้ ส�ำนักวจิ ัยการอนุรักษป์ ่าไม้และพันธ์ุพชื ในการศึกษา ความหลากหลายทางพันธุกรรมโดย ใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอชนิดไมโครแซทเทลไลท์ เพอื่ ศกึ ษาความหลากหลายทางพนั ธกุ รรมและความสมั พนั ธท์ างเครอื ญาติ ในตวั อยา่ ง ใบลาน รวม 132 ตวั อยา่ ง แบง่ เปน็ ลานปา่ 59 ตวั อยา่ ง จากจงั หวดั ชยั ภมู ิ เลย ขอนแกน่ หนองบัวล�ำภู อุดรธานี สกลนคร นครพนม ร้อยเอด็ อบุ ลราชธานี ศรีสะเกษ สระแกว้ ปราจีนบุรี นครราชสีมา นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ พิษณุโลก สุโขทัย ตาก ล�ำปาง ก�ำแพงเพชร ลพบุรี และสระบุรี ลานพรุ 73 ตัวอย่าง จากจังหวัดนครราชสีมา สุพรรณบุรี นครปฐม ราชบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี สุราษฎร์ธานี สงขลา นครศรีธรรมราช สตลู ตรงั และภูเกต็ 26 ลาน พชื พ้ืนเมอื งของไทย

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมและความสัมพันธ์ทางเครือญาติ ของตัวอย่างใบลาน โดยใช้เคร่ืองหมายไมโครแซทเทลไลท์ จ�ำนวน 30 ต�ำแหน่ง พบว่า ประชากรลานที่ศึกษาไม่พบความผันแปรทางพันธุกรรม เพื่อให้ผลการศึกษามีความ ถูกต้องแม่นย�ำมากข้ึน ควรเพ่ิมจ�ำนวนตัวอย่างมากกว่า 20 ตัวอย่างต่อแหล่ง หรือหาก ไมส่ ามารถหาไดเ้ นอ่ื งจากประชากรทพ่ี บในธรรมชาตมิ สี ถานภาพหายากหรอื ใกลส้ ญู พนั ธ์ุ อาจจ�ำเป็นต้องท�ำการวิจัยพัฒนาเคร่ืองหมายไมโครแซทเทลไลท์ ในบริเวณที่จ�ำเพาะ ของลานแต่ละชนดิ ต�ำแหน่งลายพิมพด์ ีเอ็นเอของตวั อยา่ งประชากรลาน โดยใช้เคร่อื งหมายดเี อน็ เอชนิดไมโครแซทเทลไลท์ 27 ลาน พืชพื้นเมืองของไทย

ซ่ึงสอดคล้องกับผลการศึกษาความ ห ล า ก ห ล า ย ท า ง พั น ธุ ก ร ร ม ข อ ง ต ้ น ล า น ในประเทศไทยด้วยการใช้เทคนิค Amplified Fragment Length Polymorphism, AFLP ของพงศ์เทพ (2553) โดยท�ำการรวบรวม ตัวอย่างของลานป่า (C. lecomtei Becc.), ลานวัด (C. umbraculifera L.), และลานพรุ (C. utan Lam.) จากจังหวัดล�ำปาง ขอนแก่น ปราจีนบุรี นครปฐม สุราษฎร์ธานี และสตูล รวมจ�ำนวน 65 ตัวอย่าง มาสกัดดีเอ็นเอและ ทดสอบด้วยไพรเมอร์ สามารถแบ่งประชากร ต้นลานออกไดเ้ ปน็ 7 กลมุ่ โดยคา่ เฉลีย่ เฮตเทอ โรไซโกซิต้ขี องลานปา่ ลานวดั และลานพรุ มคี ่า อยู่ระหว่าง 0.165 - 0.209, 0.220 และ 0.072 - 0.086 ตามล�ำดับ และเปอร์เซน็ ตโ์ พลีมอรฟ์ คิ ไลโซของลานป่า ลานวัด และลานพรุ มีค่าอยู่ ระหว่าง 49.30 - 59.44%, 76.03% และ 19.81 - 24.42% ตามลำ� ดบั จากผลการศกึ ษา แสดงใหเ้ หน็ วา่ พชื สกลุ ลานในประเทศไทยมคี วามหลากหลายทาง พนั ธกุ รรมตำ�่ สง่ ผลใหม้ คี วามเสยี่ งสงู ตอ่ การสญู พนั ธ์ุ ซงึ่ เปน็ ไปไดท้ ตี่ น้ ลานมโี อกาสผสม ตัวเอง (self-pollinated) หรือต้นลานแพร่กระจายในพื้นท่ีจ�ำกัด ท�ำให้สมาชิกประชากรไม่มี การแยกตัวออกจากประชากรเดิม นอกจากนั้นเป็นไปได้ว่าในอดีตที่ผ่านมาแหล่งอาศัย ของต้นลานท้ัง 3 ชนิด อาจถูกบุกรุกท�ำลาย ท�ำให้มีประชากรบางส่วนเท่านั้นที่รอดชีวิต เมอ่ื มกี ารปรบั ปรงุ แหลง่ อาศยั ทำ� ใหป้ ระชากรเพม่ิ ขน้ึ แตย่ งั มคี วามหลากหลายทางพนั ธกุ รรม ตำ�่ และตน้ ลานมีการเจรญิ เตบิ โตชา้ ใช้เวลานานถึง 50 - 80 ปี ทำ� ใหก้ ารเปลย่ี นแปลงทาง พันธุกรรมเกิดข้ึนได้ช้า คล้ายกับต้นตาลโตนดท่ีมีความหลากหลายทางพันธุกรรมต�่ำ เช่นเดียวกัน 28 ลาน พืชพนื้ เมืองของไทย

ชีพลักษณแ์ ละการเจรญิ เตบิ โต ลาน เป็นพืชใบเล้ียงเดี่ยว มีการเจริญเติบโตที่ปลายยอดโดยการสร้างใบใหม่ ปลี ะประมาณ 2 - 10 ใบ หรือมากกว่า ขึ้นกับขนาดและความสมบรู ณข์ องต้น และปจั จยั แวดล้อม ในตน้ กลา้ หรือตน้ ขนาดเล็กจะแตกใบใหม่น้อยกวา่ ต้นขนาดกลาง (2 - 5 ม.) ใบจะออกแบบเรียงเวียนไปรอบล�ำต้น ยอดอ่อนหรือใบใหม่แทงออกจากใจกลางต้น ยดื ยาวขน้ึ จนเตม็ ทแี่ ลว้ จะแผอ่ อก มขี นาดใหญแ่ ละยาวกกวา่ ใบเกา่ สามารถแบง่ การเจรญิ เติมโตของตน้ ลานเปน็ 3 ช่วง ดงั น้ี ชว่ งแรก ยังไมเ่ ห็นล�ำต้น ใช้เวลาประมาณ 10 - 20 ปี 29 ลาน พชื พนื้ เมอื งของไทย

ชว่ งท่เี หน็ ลำ� ตน้ ชว่ งทเี่ หน็ ลำ� ตน้ ในชว่ งนตี้ น้ ลานจะมอี ายปุ ระมาณ 20 ปขี น้ึ ไป สว่ นของลำ� ตน้ จะเปน็ ลกั ษณะของหัวอยใู่ ตด้ ิน มีกา้ นใบเรยี งเวียนสลบั หอ่ หุ้มอยู่ดา้ นนอก เมื่อโตขน้ึ จงึ จะสังเกตได้ ชดั เจนขน้ึ ในลานปา่ จะยงั พบกา้ นใบชว่ งโคนตดิ อยกู่ บั ลำ� ตน้ สว่ นลานพรจุ ะทง้ิ กา้ นใบเมอ่ื ตน้ สงู ใหญข่ ึน้ ท�ำให้เหน็ ล�ำตน้ ได้ชดั เจน ล�ำต้นจะเห็นเป็นเปลือกแข็งหมุ้ เนื้อไม้ดา้ นในมลี ักษณะ เป็นเสี้ยนแขง็ 30 ลาน พชื พนื้ เมอื งของไทย

ชว่ งออกดอก ชว่ งออกดอก เมอื่ ตน้ ลานเจรญิ เตบิ โตเตม็ ทพ่ี รอ้ มทจี่ ะสบื พนั ธแ์ุ ลว้ ใบทสี่ รา้ งใหมจ่ ะ มขี นาดเล็ก กา้ นใบจะส้ันลักษณะเป็นใบรองฐานชอ่ ดอก ระยะเร่มิ ของการออกดอกจะมหี น่อ เปน็ รปู ทรงกรวยใหญ่ ปลายแหลมโผลข่ นึ้ มาทป่ี ลายสดุ ของลำ� ตน้ รอบหนอ่ นหี้ อ่ หมุ้ ดว้ ยกาบ สเี ขยี ว หนอ่ จะเจรญิ เตบิ โตขน้ึ ไปเรอื่ ยๆ ขณะทหี่ นอ่ เพมิ่ ความสงู กงิ่ แขนงกจ็ ะเรมิ่ แตกแยกออก มาทางด้านขา้ งในเส้นรอบวงเดยี วกัน 2 - 3 กงิ่ แต่ละก่งิ มกี าบสเี ขียวหุ้มอยู่ทโ่ี คน แต่ละก่ิง จะแตกก่ิงแขนงแยกย่อยออกไปอีก 2 - 3 ชั้น จากนั้นจึงมีก้านช่อดอกแยกออกไปแขนงละ 12 - 15 ก้าน ยาวประมาณ 15 - 20 ซม. 31 ลาน พชื พ้ืนเมืองของไทย

ชีพลักษณ์ ของลานป่า 32 ลาน พืชพ้นื เมอื งของไทย

ชีพลักษณ์ ของลานพรุ 33 ลาน พชื พื้นเมอื งของไทย

ชีพลกั ษณ์การสืบพนั ธ์ุ กลุ่มงานวิจัยพันธุ์พืชป่ามีค่า หายาก และใกล้สูญพันธุ์ ได้ศึกษาชีพลักษณ์ใน ช่วงการสืบพันธุ์ของต้นลาน 2 ชนิด คือ ลานป่า ศึกษาบริเวณอุทยานแห่งชาติทับลาน และลานพรุ ศึกษาบริเวณอ�ำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา พบว่า ลานท้ัง 2 ชนิด มรี ะยะการพฒั นาทเ่ี หมอื นกนั ซง่ึ สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 5 ระยะ แตม่ ชี ว่ งเวลาในการพฒั นาทตี่ า่ งกนั ดงั้ นี้ ลานปา่ สามารถแบง่ ระยะการพัฒนาของดอกและผลลานป่าออกไดเ้ ป็น 5 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เรม่ิ มกี ารแตกใบขนาดเลก็ กา้ นใบสนั้ เปน็ ใบรองชอ่ ดอกในชว่ งเดอื นเมษายน ถึงพฤษภาคม หลังจากสังเกตเหน็ ใบรองฐานชอ่ ดอกประมาณ 1 - 4 สัปดาห์ ระยะที่ 2 ช่อดอกแทงข้ึนมาตรงส่วนยอดและแตกแขนงออก มีลักษณะคล้าย ปลีกล้วย ใช้เวลาประมาณ 1 - 4 สัปดาห์ ประมาณช่วงเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน หากมีฝนตกจะเรง่ ใหช้ ่อดอกพฒั นาเรว็ ขน้ึ ระยะที่ 3 ดอกบาน ดอกจะเร่มิ บานเต็มท่ชี ่วงเดอื นพฤษภาคมถงึ กรกฎาคม ระยะที่ 4 หลงั จากดอกบานเตม็ ทป่ี ระมาณ 1 - 2 สปั ดาห์ ดอกทไี่ ดร้ บั การผสมเกสร โดยสมบูรณ์จะพัฒนาเป็นผลอ่อน ระยะที่ 5 ผลจะเร่ิมสุกแก่และร่วงหล่น ช่วงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมในปีถัดไป ซง่ึ ใกลเ้ คยี งกบั การศกึ ษาการเจรญิ ของชอ่ ดอกลานปา่ ของพงศเ์ ทพ (2556) ทที่ ำ� การศกึ ษา ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติทับลาน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงสิงหาคม 2552 พบว่า ลานป่า เริ่มออกดอกในเดือนพฤษภาคม จะติดผลในช่วงเดือนกรกฎาคม จะติดผลในช่วงเดือน กรกฎาคม และผลจะรว่ งหลน่ ในเดอื นพฤษภาคมปถี ัดไป 34 ลาน พืชพื้นเมืองของไทย

ระยะการพฒั นาของดอกและผลลานป่า (Corypha lecomtei Becc.) (A) ใบขนาดเล็กทฐ่ี านช่อดอก (B) ชอ่ ดอกแทงครบ (C) ดอกบาน (D) ช่อดอกบานเต็มที่ (E) ช่อผล (F) ช่อผล ผลสกุ แก่และรว่ งหลน่ 35 ลาน พืชพื้นเมืองของไทย

ระยะของการพฒั นาของดอกเเละผล 2. ลานพรุ สามารถแบง่ ระยะการพัฒนาของดอกและผลออกเปน็ 5 ระยะเชน่ กัน ดงั น้ี ระยะที่ 1 : เรมิ่ มกี ารแตกใบขนาดเลก็ กา้ นใบสน้ั เปน็ ใบรองชอ่ ดอกในชว่ งเดอื นมกราคม ถึงมีนาคม หลงั จากสังเกตเห็นใบรองฐานช่อดอกประมาณ 1 - 4 สปั ดาห์ ระยะท่ี 2 : ช่อดอกแทงขึ้นมาตรงส่วนยอดและแตกแขนงออก มีลักษณะคล้าย ปลีกลว้ ย ใชเ้ วลาประมาณ 1 - 4 สัปดาห์ ประมาณช่วงเดือนกุมภาพนั ธ์ถงึ เมษายน ระยะที่ 3 ดอกบาน ดอกจะเริม่ บานชว่ งเดือนมนี าคมถงึ เมษายน ระยะที่ 4 หลงั จากดอกบานเตม็ ทีป่ ระมาณ 1 - 2 สปั ดาห์ ดอกทไี่ ด้รบั การผสมเกสร โดยสมบรู ณ์จะพฒั นาเป็นผลอ่อน ระยะที่ 5 ผลจะเริ่มสกุ แก่และรว่ งหลน่ ชว่ งเดอื นธันวาคมถึงมนี าคมในปถี ัดไป 36 ลาน พืชพ้นื เมืองของไทย

ระยะการพัฒนาของดอกและผลลานพรุ (Corypha utan Lam.) (A) ใบขนาดเล็กท่ีฐานชอ่ ดอก (B) ช่อดอกแทงครบ (C) ดอกบาน (D) ช่อดอกบานเตม็ ท่ี (E) ช่อผล (F) ชอ่ ผล ผลสกุ แกแ่ ละร่วงหลน่ 37 ลาน พชื พ้นื เมืองของไทย

ความสำ� เรจ็ ในการสืบต่อพนั ธุ์ การศึกษาความส�ำเร็จในการสืบต่อพันธุ์ (Reproductive success; RS) เป็นการ ศึกษาจ�ำนวนดอกย่อยต่อช่อดอก (Fl) และดอกย่อยมานับจ�ำนวนไข่อ่อนต่อดอก (O) และในชว่ งทมี่ ผี ลสกุ แกเ่ ตม็ ท่ี ตรวจนบั ผลแกต่ อ่ ชอ่ ผล (Fr) และจำ� นวนเมลด็ ทสี่ กุ แกต่ อ่ ผล (S) จากจำ� นวนผลทส่ี มุ่ มาทงั้ หมด ประเมนิ คา่ ความสำ� เรจ็ ของการสบื พนั ธ์ุ ซง่ึ เปน็ ดชั นที บี่ ง่ บอก ถึงศักยภาพของดอกและไข่อ่อน (Ovule) ของพืชท่ีจะพัฒนาไปเป็นผลและเมล็ดที่สมบูรณ์ (Weins et al., 1987) โดยใชส้ ตู ร RS = โปรง่ แสง (Fr/FI)x(S/O) โดยค่าดัชนี RS =1 (หรือรอ้ ยละ 100) หมายถึง ดอกทกุ ดอกภายในช่อดอกพัฒนา ไปเป็นผลท้ังหมด และไข่อ่อนทุกใบของทุกดอกพัฒนาไปเป็นเมล็ดท่ีสมบูรณ์ ในขณะที่ RS = 0 (รอ้ ยละ 0) บ่งบอกถึงดอกไม่มกี ารพฒั นาไปเป็นผลและเมลด็ ท่ีสมบรู ณ์ การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้เลือกพ้ืนท่ีบริเวณอุทยานแห่งชาติทับลานในการ ศึกษาความส�ำเร็จในการสืบต่อพันธุ์ของลานป่า และเลือกพื้นที่บริเวณอ�ำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ในการศึกษาความส�ำเร็จในการสืบต่อพันธุ์ของลานพรุ โดยคัดเลือก ตน้ ลานทม่ี กี ารแทงชอ่ ดอก จำ� นวนชนดิ ละ 3 ตน้ ตดิ ตง้ั นงั่ รา้ น เพอ่ื ศกึ ษาความสำ� เรจ็ ในการ สบื ตอ่ พันธ์ุ คดั เลือกแหละหมายช่อดอกทีส่ มบูรณไ์ ม่มีรอ่ งรอยการล่วงหลน่ จำ� นวน 30 ช่อ ดอกตอ่ ตน้ พบว่า ค่าความสำ� เร็จในการสืบตอ่ พนั ธ์ุของลาน (RS) มคี า่ คอ่ นข้างตำ่� โดยค่า ความสำ� เรจ็ ในการสบื ตอ่ พนั ธข์ุ องลานปา่ และลานพรุ มคี า่ เฉลยี่ RS เทา่ กบั 0.013 และ 0.016 ตามลำ� ดบั แสดงใหเ้ หน็ วา่ มจี ำ� นวนดอกและไขอ่ อ่ นเพยี งเลก็ นอ้ ยทมี่ กี ารพฒั นาไปเปน็ ผลและ เมล็ดท่สี มบรู ณ์ โดยมีสาเหตจุ ากการร่วงหลน่ ของดอกและผลในระหวา่ งการพฒั นา 38 ลาน พืชพนื้ เมอื งของไทย

แม้ต้นลานจะเพิ่มโอกาสในการสืบต่อพันธุ์โดยการออกดอกเป็นจ�ำนวนมาก แตโ่ อกาสในการตดิ ผลนนั้ มนี อ้ ยมาก เนอ่ื งจากในระยะแรกกอ่ นการปฏสิ นธิ (perzygotic peiod) เกิดจากการพัฒนาของดอกที่ไม่สมบูรณ์ การร่วงหล่นของดอกที่ไม่ได้รับการผสมเกสร ในส่วนระยะหลังระยะการปฏิสนธิ (postzygotic period) ท่ีมีการร่วงของดอกที่ได้รับการ ปฏิสนธิแล้วหรือผลที่ก�ำลังพัฒนา อาจมีสาเหตุมาจากการจ�ำกัดของปริมาณธาตุอาหาร สะสมภายในตน้ ไม้ การควบคมุ ทางพนั ธกุ รรม โดยผลทเี่ กดิ จากดอกทผ่ี สมภายในตน้ เดยี วกนั มีแนวโน้มที่จะมีลกั ษณะทางพันธกุ รรมดอ้ ย จึงอาจเกิดการรว่ งหลน่ ไปในระหว่างการพฒั นา ของผล รวมถึงปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายนอกบางประการก็มีผลต่อการร่วงหล่นของดอก และผลเชน่ เดียวกนั เมอ่ื เปรยี บเทยี บคา่ ความสำ� เรจ็ ในการสบื พนั ธข์ุ องตน้ ลานกบั ไมช้ นดิ อน่ื พบวา่ ตน้ ลานมีค่าความส�ำเร็จของการสืบพันธุ์ใกล้เคียงกับผักหวานป่า มีค่า RS = 0.01แต่มีค่า ความส�ำเร็จของการสืบพันธต์ุ �่ำกว่าหวายดง ซ่ึงมคี ่า RS = 0.033 มะขามปอ้ ม มีค่า RS = 0.392 กฤษณา มคี ่า RS = 0.048 และเทพธาโร มคี า่ RS = 0.115 และมคี ่าความสำ� เรจ็ ของ การสืบพนั ธ์สุ ูงกว่าลูกผสมระหวา่ งกระถนิ เทพา (Acacia mangium) และกระถนิ ณรงค์ (A. auriculiformis) ซงึ่ มีค่า RS = 0.0054 39 ลาน พืชพ้ืนเมืองของไทย

การขยายพนั ธุ์ ลาน มกี ารสบื พนั ธโ์ุ ดยอาศยั เพศ การขยายพนั ธล์ุ านทำ� ไดโ้ ดยการเพาะเมลด็ เชน่ เดยี วกบั พชื เศรษฐกจิ หลายชนดิ ทย่ี งั คงตอ้ งขยายพนั ธด์ุ ว้ ยเมลด็ ดงั นนั้ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งศกึ ษา ปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ การงอกของเมลด็ พชื โดยปกตเิ มลด็ พชื ทแ่ี กเ่ ตม็ ที่ จะมคี วามชนื้ ตำ่� ประมาณ รอ้ ยละ 10 - 15 มีอัตราการหายใจต่�ำ และมกี ารเปลยี่ นแปลงทางชีวเคมีภายในเมลด็ น้อยมาก เมลด็ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั ปจั จยั ทเี่ หมาะสม จงึ จะงอกได้ โดยปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ การงอกของเมลด็ ได้แก่ 1) น้�ำหรือความชื้น เมื่อเมล็ดได้รับน�้ำ เปลือกหุ้มเมล็ดจะอ่อนตัวลง ท�ำให้น้�ำและ ออกซิเจนผา่ นเข้าไปในเมล็ดไดม้ ากขึ้น นำ้� จะเป็นตวั กระตุ้นปฏกิ ิรยิ าทางชวี เคมีต่างๆ ภายใน เมลด็ นำ�้ และสารละลายแพรเ่ ขา้ ไปในเอม็ บรโิ อ เพอ่ื ใชใ้ นการหายใจและการเจรญิ เตบิ โต นอกจากนี้ น้�ำยังเป็นตัวท�ำละลายสารอื่นๆ ที่สะสมในเมล็ด และช่วยในการล�ำเลียงสารอาหารไปให้ ตัวออ่ นใช้ในการงอก 2) ออกซิเจน เมล็ดขณะงอกมีอัตราการหายใจสูง ต้องการออกซิเจนไปใช้ใน กระบวนการสลายสารอาหารเพอ่ื ใหไ้ ดพ้ ลงั งาน ซงึ่ จะนำ� ไปใชใ้ นกระบวนการเมแทบอลซิ มึ ตา่ งๆ ของเซลล์ เมลด็ หลายชนิดจะไม่งอกเลยถา้ ออกซเิ จนไมเ่ พียงพอ แมค้ วามชื้นจะสงู เช่น เมล็ด วชั พชื หลายชนิดที่ฝังอยใู่ นดนิ ลกึ ๆ เมอ่ื ไถพรวนดนิ ให้เมล็ดข้ึนมาอยูใ่ กล้ผิวดนิ จึงจะงอกได้ 3) อณุ หภมู ิ เมลด็ พชื แตล่ ะชนดิ ตอ้ งการอณุ หภมู ทิ เ่ี หมาะสมในการงอกแตกตา่ งกนั เชน่ เมล็ดพืชเขตหนาวจะงอกไดด้ ใี นชว่ งอุณหภูมิ 10 - 20 องศาเซลเซยี ส บางชนดิ ต้องการ อุณหภูมิในช่วงกลางวันและกลางคืนที่ต่างกัน หรือให้อุณหภูมิต่�ำสลับกับอุณหภูมิสูง การ งอกจะเกิดดี LEINGEHRGYT OXYGEN CARBON DIOXIDE WATER 40 ลาน พืชพ้นื เมอื งของไทย

4) แสง เป็นปัจจัยหน่ึงท่ีควบคุมการงอกของเมล็ด เมล็ดพืชบางชนิดจะงอกได้ ตอ่ เมอ่ื มแี สง เชน่ วชั พชื ตา่ งๆ หญา้ ยาสบู ผกั กาดหอม สาบเสอื ปอตา่ งๆ เมลด็ พชื อกี หลายชนดิ ไมต่ ้องการแสงในขณะงอก เชน่ กระเจ๊ยี บ แตงกวา ผกั บงุ้ จนี ฝ้าย ขา้ วโพด 5) การพักตัวของเมล็ด พืชบางชนิด เช่น มะม่วง ล�ำไย ขนุน ทุเรียน ระก�ำ เมอ่ื ผลเหลา่ นแี้ กเ่ ตม็ ทแี่ ลว้ นำ� เมลด็ ไปเพาะในสภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสม กจ็ ะงอกเปน็ ตน้ ใหม่ ได้ แตบ่ างชนดิ เชน่ แตงโม เมอื่ ผลแกเ่ ตม็ ทแ่ี ลว้ นำ� เมลด็ ไปเพาะ ถงึ แมส้ ภาพแวดลอ้ มเหมาะสม ต่อการงอก แตเ่ มลด็ ก็ไม่สามารถงอกเป็นต้นใหมไ่ ด้ เรยี กวา่ มกี ารพักตัวของเมล็ด (seed dormancy) ซึ่งมีสาเหตหุ ลายประการ ไดแ้ ก่ 1) เปลือกหุ้มเมล็ดไม่ยอมให้น้�ำซึมผ่าน เข้าไปยังส่วนต่างๆ ของเมล็ด เน่ืองจาก เปลือกหุ้มเมล็ดหนา หรืออาจมีสารบางชนิดหุ้มอยู่ เช่น คิวทิน หรือซูเบอริน ในธรรมชาติ เมลด็ พชื บางชนดิ ทหี่ นาและแขง็ จะออ่ นตวั ลง โดยการยอ่ ยสลายของจลุ นิ ทรยี ใ์ นดนิ หรอื การท่ี เมลด็ ผ่านเข้าไปในระบบยอ่ ยอาหารของสตั วท์ ี่เลีย้ งลกู ด้วยนม หรอื นก เชน่ เมลด็ โพธิ์ เมลด็ ไทร เมล็ดตะขบ หรอื อาจแตกออกดว้ ยแรงขัดถู หรอื ถูกไฟเผา เชน่ เมลด็ พชื วงศห์ ญา้ วงศไ์ ผบ่ างชนดิ เมลด็ ตะเคยี น เมลด็ สกั วธิ กี ารแกก้ ารพกั ตวั ของเมลด็ จากสาเหตนุ ี้ อาจทำ� ได้ โดยการแชน่ า้ รอ้ น หรอื แชใ่ นสารละลายกรด เพราะจะทำ� ใหเ้ ปลอื กหมุ้ เมลด็ ออ่ นนมุ่ การใชว้ ธิ กี ล โดยการทำ� ใหเ้ ปลอื กหมุ้ เมลด็ แตกออกมหี ลายวธิ ี เชน่ การเฉอื นเปลอื กแขง็ บางสว่ นของเมลด็ มะมว่ ง หรอื วธิ ีน�ำไปใหค้ วามร้อนโดยการเผา หรือการใชค้ วามเยน็ สลับกบั ความรอ้ น ซงึ่ มัก จะเก็บไว้ในทีอ่ ุณหภมู ิต�ำ่ ระยะหนึง่ 2) เปลือกหุ้มเมล็ดไม่ยอมให้ก๊าซออกซิเจนแพร่ผ่าน การพักตัวแบบนี้มีน้อย สว่ นใหญเ่ ปน็ พชื วงศห์ ญา้ เปน็ การพกั ตวั ในระยะสน้ั ๆ เกบ็ ไวร้ ะยะหนง่ึ กส็ ามารถนำ� ไปเพาะได้ วิธีการแก้การพักตัวอาจท�ำได้โดยการเพ่ิมก๊าซออกซิเจน หรือใช้วิธีกล ท�ำให้เปลือกหุ้มเมล็ด แตก 3) เอ็มบริโอของเมล็ดยังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ เมล็ดไม่สามารถจะงอกได้ต้องรอ เวลาชว่ งหน่ึง เพ่อื ให้เอ็มบรโิ อมีการเปล่ียนแปลงทางชวี เคมี รวมไปถึงการเจริญ พฒั นาของ เอม็ บรโิ อใหแ้ กเ่ ตม็ ท่ี เมลด็ จงึ จะงอกได้ เช่น เมลด็ ของปาล์มน�้ำมันอฟั รกิ า 41 ลาน พืชพ้ืนเมอื งของไทย

4) สารเคมีบางชนิดยับยั้งการงอกของเมล็ด เช่น สารที่มีลักษณะเป็นเมือกหุ้ม เมล็ดมะเขอื เทศ ทำ� ไห้เมลด็ ไมส่ ามารถงอกไดจ้ นกว่าจะถูกชะล้างไปจากเมล็ด เมลด็ บางชนิด ไม่ปรากฏวา่ มรี ะยะพกั ตัวเลย บางชนิดอาจจะมีระยะพักตวั ส้ันมาก จนสังเกตไมไ่ ด้ เมล็ดของ พชื เหลา่ นส้ี ามารถงอกไดท้ นั ทเี มอ่ื ตกถงึ ดนิ บางชนดิ งอกไดท้ งั้ ๆ ทเี่ มลด็ ยงั อยใู่ นผลหรอื บน ล�ำต้น เชน่ เมลด็ ขนุน เมล็ดโกงกาง เมลด็ มะละกอ เมลด็ มะขามเทศ เป็นต้น ผวู้ จิ ยั ทดลองเพาะเมลด็ ลาน เพอ่ื ศกึ ษาอตั ราการงอก การพกั ตวั และวธิ กี ารปฏบิ ตั ิ ตอ่ เมลด็ กอ่ นเพาะ พบวา่ อตั ราการงอกของเมลด็ ลานปา่ ทนี่ ำ� มาเพาะทนั ทหี ลงั รว่ งหลน่ มอี ตั รา การงอกสงู ที่สดุ รองลงมาคอื เมล็ดทเี่ พาะหลังเกบ็ ไว้ 1 เดอื น และ 3 เดอื น คิดเปน็ ร้อยละ 87.00, 67.00 และ 62.00 ตามลำ� ดบั การเพาะทง้ั ผลมอี ตั ราการงอกสงู ทส่ี ดุ รองลงมา คอื การนำ� เมลด็ แชน่ ำ้� และการกระเทาะเปลอื กกอ่ นเพาะ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 87.00, 78.00 และ 56.00 ตามล�ำดับ สว่ นลานพรุที่น�ำมาเพาะหลงั จากรว่ งหลน่ และเกบ็ ไวน้ าน 6 เดอื น ก่อนนำ� ไปเพาะ เมลด็ นนั้ ไมม่ กี ารงอก แตเ่ มลด็ คา้ งปจี ากตน้ ทต่ี ดิ ผลเมอ่ื ปกี อ่ น มอี ตั ราการงอกคดิ เปน็ รอ้ ยละ 49.75 เมลด็ ลานพรุท่ีแชน่ ้ำ� ก่อนเพาะมีอตั ราการงอกสงู ทีส่ ดุ รองลงมา คือ เพาะทัง้ ผล และ การกระเทาะเปลือกกอ่ นเพาะ คดิ เปน็ ร้อยละ 48.90, 42.70 และ 8.00 ตามลำ� ดบั 42 ลาน พืชพ้นื เมอื งของไทย

จากผลการศึกษา พบว่าเมล็ดลานป่า มีแนวโน้มที่จะเป็นเมล็ดชนิดท่ีไม่สามารถ ลดความชน้ื ใหต้ �ำ่ มากได้ (recalcitrant seeds) เพราะว่าเมลด็ จะไดร้ ับอันตราย เมล็ดลานป่า จงึ มอี ายุสั้น ชว่ งงอกท่ดี ที ส่ี ุด 7 - 10 วัน นบั ตั้งแต่หลน่ จากตน้ เมอ่ื รากแทงออกจากเมลด็ หากปลอ่ ยใหส้ มั ผสั อากาศจะไมส่ ามารถเจรญิ เตบิ โตตอ่ ได้ ตน้ ออ่ นลานจะแทงรากออกมาทาง ดา้ นปลายผล ใช้เวลา 1 - 2 สัปดาห์ รากจะยาวขึ้นเรอ่ื ยๆ และมยี อดแตกออกจากบรเิ วณราก มีลักษณะแหลมและแข็ง สีเขียว ประมาณ 30 - 45 วัน ยอดอ่อนจะพัฒนาจนโผล่พ้นดิน จากน้นั จะคลีอ่ อกเป็นใบ ส่วนเมล็ดลานพรมุ ชี ว่ งระยะเวลาในการพกั ตัว ซึ่งสอดคล้องกบั พูน ศักด์ิ (2548) ทร่ี ายงานว่า ผลของลานพรุใชเ้ วลาพักตัวไดเ้ กือบ 10 ปี หากถกู ฝังอยู่ใต้ดนิ อาจเนื่องมาจากสารเคลือบเมล็ด (seed coat) ที่แข็งและหนา ท�ำให้ความช้ืน และออกซิเจน ท่ีเป็นปัจจัยในการงอกซึมผ่านเข้าไปในเมล็ดได้ยาก ต้นอ่อนยังไม่สมบูรณ์พอ จึงท�ำให้การ งอกเปน็ ไปไดช้ า้ 43 ลาน พชื พนื้ เมอื งของไทย

44 ลาน พืชพนื้ เมอื งของไทย