Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธวจน "มรรควิธีที่ง่าย"

Description: พุทธวจน "มรรควิธีที่ง่าย"

Search

Read the Text Version

การละอวิชชาโดยตรง

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ธรรมทั้งปวง ไม่ควรยดึ มั่น 22 -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๖๒-๖๓/๙๖. ภิกษุรูปหน่ึง ได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าดังน้ี ว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ธรรมอย่างหนึ่ง มีอยู่หรือไม่หนอ ซึ่งเมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดข้ึน พระเจา้ ข้า ?”. ภิกษุ !   ธรรมอยา่ งหน่ึง มอี ย่แู ล ...ฯลฯ... “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ธรรมอย่างหน่ึง น้ันคืออะไร เลา่ หนอ ...ฯลฯ...?” ภิกษุ !   อวิชชานั่นแล เป็นธรรมอย่างหน่ึง ซึ่ง เมอ่ื ภกิ ษลุ ะไดแ้ ลว้   อวชิ ชายอ่ มละไป  วชิ ชายอ่ มเกดิ ขน้ึ . “ข้าแตพ่ ระองคผ์ เู้ จริญ !   เม่ือภกิ ษรุ ู้อย่อู ย่างไร เหน็ อยู่ อยา่ งไร อวชิ ชาจงึ จะละไป วิชชาจงึ จะเกดิ ขึ้น พระเจ้าข้า ?”. ภิกษุ !   หลกั ธรรมอนั ภกิ ษใุ นกรณนี ไ้ี ดส้ ดบั แลว้ ย่อมมอี ยวู่ า่ 86

เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย “สง่ิ ทง้ั หลายทง้ั ปวง อนั ใครๆ ไมค่ วรยดึ มน่ั ถอื มน่ั (วา่ เปน็ ตวั เรา-ของเรา) (สพเฺ พ ธมมฺ า นาลํ อภนิ เิ วสาย)” ดงั น.ี้ ภิกษุ !   ถ้าภิกษุได้สดับหลักธรรมข้อน้ันอย่างน้ี ว่า สิ่งทั้งหลายท้ังปวง อันใครๆ ไม่ควรยึดม่ัน ถือม่ัน ดงั นแี้ ล้ว ไซร้ ภกิ ษนุ ั้นย่อมรยู้ งิ่ ซง่ึ ธรรมท้ังปวง ครน้ั รยู้ ิง่ ซง่ึ ธรรมทั้งปวงแล้ว ยอ่ มรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวง ครน้ั รอบรู้ซง่ึ ธรรมทัง้ ปวงแล้ว ภกิ ษนุ ั้น ยอ่ มเหน็ ซ่ึง นมิ ิตท้งั หลายของส่งิ ทัง้ ปวง โดยประการอื่น ย่อมเหน็ ซง่ึ จกั ษุ โดยประการอ่ืน ยอ่ มเห็นซึ่ง รปู ทัง้ หลาย โดยประการอ่นื ยอ่ มเห็นซึ่ง จกั ขุวญิ ญาณ โดยประการอน่ื ยอ่ มเห็นซง่ึ จักขสุ มั ผัส โดยประการอ่ืน 87

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ยอ่ มเหน็ ซงึ่ เวทนาอนั เปน็ สขุ กต็ าม เปน็ ทกุ ขก์ ต็ าม มใิ ชท่ กุ ขม์ ใิ ชส่ ขุ กต็ าม ทเี่ กดิ ขนึ้ เพราะจกั ขสุ มั ผสั เปน็ ปจั จยั โดยประการอ่ืน. (ในกรณีแหง่ โสตะกด็ ี ฆานะก็ดี ชิวหาก็ดี กายะก็ดี มโนกด็ ี และธรรมทัง้ หลายท่สี ัมปยุตต์ดว้ ยโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมโน น้นั ๆ ก็ดี พระผู้มีพระภาคเจ้าไดต้ รสั ไว้ มีนยั อยา่ งเดียวกันกบั ในกรณีแห่งการเห็นจักษุ และธรรมทงั้ หลายท่ี สัมปยุตตด์ ว้ ยจกั ษุ). ภกิ ษุ !   เมือ่ ภกิ ษรุ อู้ ยอู่ ย่างนี้ เหน็ อยู่อยา่ งน้แี ล อวิชชาจงึ จะละไป วชิ ชาจึงจะเกดิ ข้นึ . 88

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย การเหน็ ซง่ึ ความไม่เท่ียง 23 -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๖๑-๖๒/๙๕. ภิกษุรูปหนึ่ง ได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าดังน้ี ว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ธรรมอย่างหนึ่ง มีอยู่หรือไม่หนอ ซ่ึงเมื่อภิกษุละได้แล้ว อวิชชาย่อมละไป วิชชาย่อมเกิดขึ้น พระเจ้าข้า ?” ภกิ ษ ุ !   เมอ่ื ภกิ ษรุ อู้ ยเู่ หน็ อยซู่ งึ่ จกั ษุ โดย ความ เปน็ ของไม่เท่ียง อวชิ ชาจึงจะละไป วชิ ชาจึงเกดิ ขนึ้ เมอื่ ภกิ ษุ รูอ้ ยเู่ หน็ อยู่ ซง่ึ รปู ทงั้ หลาย ...ฯลฯ... เมอ่ื ภกิ ษุ รอู้ ยเู่ หน็ อยู่ ซง่ึ จกั ขวุ ญิ ญาณ ...ฯลฯ... เมอ่ื ภกิ ษุ รอู้ ย่เู ห็นอยู่ ซง่ึ จักขสุ มั ผสั ...ฯลฯ... เมอ่ื ภิกษุ รอู้ ยูเ่ ห็นอยู่ ซงึ่ เวทนา อนั เปน็ สุขกต็ าม เป็นทุกข์ก็ตาม มิใช่ทุกข์มิใช่สุขก็ตาม ที่เกิดขึ้นเพราะ จกั ขสุ ัมผัสเป็นปัจจยั โดยความเปน็ ของไมเ่ ทยี่ ง อวชิ ชา จึงจะละไป วชิ ชาจงึ จะเกิดข้นึ 89

พุทธวจน - หมวดธรรม (ในกรณแี หง่ โสตะ ฆานะ ชวิ หา กายะ และมโน ทกุ หมวด มขี อ้ ความอย่างเดยี วกัน). ภิกษุ !   เม่ือภิกษุรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ อวิชชาจึงจะละไป วชิ ชาจงึ จะเกดิ ขึน้ . 90

ปฏิปทาเพื่อบรรลุมรรคผลของ คนเจ็บไข และบุคคลทั่วไป

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย ปฏปิ ทาเพอื่ บรรลุมรรคผล 24 ของคนเจบ็ ไข้ -บาลี ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๖๐-๑๖๑/๑๒๑. ภิกษทุ ้งั หลาย !   ถ้า ธรรม ๕ ประการ ไมเ่ วน้ หา่ งไปเสยี จากคนเจบ็ ไขท้ ุพพลภาพคนใด ขอ้ นเี้ ปน็ สง่ิ ทเ่ี ขา้ ผนู้ น้ั พงึ หวงั ได้ คอื เขาจกั กระท�ำ ใหแ้ จง้ ไดซ้ งึ่ เจโตวมิ ตุ ติ ปญั ญาวมิ ตุ ติ อนั หาอาสวะมไิ ด้ เพราะความสน้ิ ไปแหง่ อาสวะทง้ั หลาย ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เอง ในทิฏฐธรรมน้ี เขา้ ถึงแล้วแลอย่ตู ่อกาลไม่นานเทยี ว. ธรรม ๕ ประการนั้น เปน็ อย่างไรเล่า ? ภิกษุทัง้ หลาย !   ในกรณนี ้ี ภกิ ษุ ๑. เป็นผมู้ ีปกติตามเห็นความไมง่ ามในกาย อยู่ (อสุภานุปสสฺ ี กาเย วหิ รต)ิ ๒. เป็นผมู้ ีความสำ�คัญว่าปฏกิ ูลในอาหาร อยู่ (อาหาเร ปฏกิ กฺ ลู สฺ )ี 92

เปิดธรรมท่ีถูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ๓. เปน็ ผ้มู คี วามส�ำ คัญว่าไม่น่ายินดีในโลกท้ังปวง อยู่ (สพฺพโลเก อนภิรตสฺ ี) ๔. เปน็ ผมู้ ปี กตติ ามเหน็ วา่ ไมเ่ ทย่ี งในสงั ขารทง้ั ปวง อยู่ (สพพฺ สงขฺ าเรสุ อนจิ ฺจานุปสสฺ )ี ๕. มีมรณสัญญาอันเขาต้งั ไว้ดแี ล้วในภายใน อยู่. (มรณสฺ า โข ปนสฺส อชฺฌตตฺ  สุปฏฺ ติ า โหต)ิ ภิกษุท้ังหลาย !   ธรรม ๕ ประการเหล่านี้ ไม่เว้นห่างไปเสียจากคนเจ็บไข้ทุพพลภาพคนใด ข้อน้ี เป็นส่ิงที่เขาผู้นั้นพึงหวังได้ คือเขาจักกระทำ�ให้แจ้งได้ ซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะ ความส้ินไปแห่งอาสวะท้ังหลาย ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในทิฐธรรมน้ี เข้าถึงแลว้ แลอยู่ ตอ่ กาลไม่นานเทยี ว. 93

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ปฏปิ ทาเพอ่ื บรรลุมรรคผล 25 ของบคุ คลทั่วไป (นัยที่ ๑) -บาลี ปญฺจก. อ.ํ ๒๒/๑๖๑/๑๒๒. ภิกษุทั้งหลาย !   บคุ คลใดบคุ คลหนง่ึ จะเปน็ ภกิ ษุ หรอื ภกิ ษณุ กี ต็ าม เจรญิ กระท�ำ ใหม้ าก ซง่ึ ธรรม ๕ ประการ ผู้น้ัน พึงหวังผลอย่างใดอย่างหนึ่งได้ ในบรรดา ผลทั้งหลาย สองอย่าง กล่าวคือ อรหัตตผลในทิฐธรรม (ภพปัจจบุ ัน) น่นั เทยี ว หรอื ว่า อนาคามิผล เมอ่ื ยงั มอี ุปาทิ (เชอื้ ) เหลืออย.ู่ ภิกษุท้ังหลาย !   ธรรม ๕ ประการน้ัน เป็น อย่างไรเล่า ? ๕ ประการ คือ ภิกษุ ในกรณีนี้ ๑. มีสตอิ นั ตนเข้าไปต้งั ไวด้ แี ล้วในภายในน่ันเทียว เพอ่ื เกดิ ปญั ญารคู้ วามเกดิ ขน้ึ และดบั ไปแหง่ ธรรมทง้ั หลาย (อชฺฌตตฺ เฺ ว สติ สุปฏฺ ิตา โหติ ธมมฺ าน อุทยตฺถคามินิยา ปฺ าย) 94

เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ๒. มปี กติตามเหน็ ความไมง่ ามในกาย (อสุภานุปสฺสี กาเย วหิ รต)ิ ๓. มีความส�ำ คญั ว่าปฏิกูลในอาหาร (อาหาเร ปฏกิ ฺกูลสฺ)ี ๔. มคี วามส�ำ คญั ว่าในโลกท้ังปวงไม่มีอะไรท่นี ่ายนิ ดี (สพพฺ โลเก อนภริ ตสฺ ี) ๕. มปี กตติ ามเห็นความไมเ่ ท่ยี งในสงั ขารทง้ั ปวง (สพพฺ สงขฺ าเรสุ อนจิ ฺจานุปสฺสี) ภิกษุท้ังหลาย !   บคุ คลใดบคุ คลหนง่ึ จะเปน็ ภกิ ษุ หรอื ภกิ ษณุ กี ต็ าม เจรญิ กระท�ำ ใหม้ าก ซงึ่ ธรรม ๕ ประการ เหล่าน้ี ผู้น้ัน พึงหวังผลอย่างใดอย่างหน่ึงได้ในบรรดา ผลทั้งหลายสองอย่าง กล่าวคือ อรหัตตผลในทิฏฐธรรม (ภพปัจจุบัน) นั่นเทียว หรือว่า อนาคามิผล เม่ือยังมี อุปาทิเหลอื อยู่ แล. 95

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย ปฏิปทาเพื่อบรรลุมรรคผล 26 ของบคุ คลทว่ั ไป (นยั ที่ ๒) -บาลี ปญฺจก. อ.ํ ๒๒/๙๔-๙๕/๖๙. ภิกษุทั้งหลาย !   ธรรม ๕ ประการเหล่านี้ เมื่อบคุ คลเจรญิ กระทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพอ่ื ความ เบอ่ื หนา่ ยโดยสว่ นเดยี ว(เอกนตฺ นพิ พฺ ทิ ) เพอ่ื ความคลายก�ำ หนดั (วริ าค) เพอ่ื ความดบั (นโิ รธ) เพอ่ื ความสงบ (อปุ สม) เพอ่ื ความ รยู้ ่งิ (อภิญฺ ) เพอ่ื ความรูพ้ ร้อม (สมฺโพธ) เพ่ือนพิ พาน. ๕ ประการ อยา่ งไรเลา่ ? ๕ ประการ คือ ภกิ ษใุ นกรณีน้ี ๑. เป็นผู้ มีปกตติ ามเหน็ ความไมง่ ามในกาย อยู่ ๒. เป็นผู้ มปี กติส�ำ คัญวา่ ปฏิกูลในอาหาร อยู่ ๓. เปน็ ผู้มปี กตสิ �ำ คญั วา่ เปน็ สง่ิ ไมน่ า่ ยนิ ดใี นโลกทง้ั ปวง อยู่ ๔. เปน็ ผู้ มปี กตติ ามเหน็ ความไมเ่ ทย่ี งในสงั ขารทง้ั ปวง อยู่ ๕. มรณสัญญา  เป็นสิ่งที่ภิกษุนั้นเข้าไปตั้งไว้ดีแล้ว ในภายใน อยู่. 96

เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ภิกษุท้ังหลาย !   ธรรม ๕ ประการเหล่าน้ีแล เม่อื บคุ คลเจริญ กระท�ำ ใหม้ ากแล้ว ยอ่ มเป็นไปเพ่อื ความ เบอ่ื หนา่ ยโดยสว่ นเดยี ว เพอ่ื ความคลายก�ำ หนดั เพอ่ื ความดบั เพอ่ื ความสงบ เพอ่ื ความรยู้ ง่ิ เพอ่ื ความรพู้ รอ้ ม เพอ่ื นพิ พาน. 97

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ปฏปิ ทาเพ่ือบรรลุมรรคผล 27 ของบุคคลท่ัวไป (นัยท่ี ๓) -บาลี ปญฺจก. อ.ํ ๒๒/๙๕/๗๐. ภิกษุท้ังหลาย !   ธรรม ๕ ประการเหล่านี้ อนั บคุ คลเจรญิ แล้ว กระทำ�ให้มากแลว้ ย่อมเป็นไป เพอ่ื ความส้ินอาสวะท้ังหลาย. ธรรม ๕ ประการอยา่ งไรเล่า ? ๕ ประการ คอื ภกิ ษใุ นกรณนี ี้ ๑. เป็นผู้ มปี กตติ ามเหน็ ความไมง่ ามในกาย อยู่ ๒. เปน็ ผู้ มคี วามส�ำ คญั ว่าปฏกิ ูลในอาหาร อยู่ ๓. เปน็ ผู้ มคี วามส�ำ คญั วา่ เปน็ สง่ิ ไมน่ า่ ยนิ ดใี นโลกทง้ั ปวง อยู่ ๔. เปน็ ผู้ มปี กตติ ามเหน็ วา่ ไมเ่ ทย่ี งในสงั ขารทง้ั ปวง อยู่ ๕. มรณสัญญา  เป็นสิ่งที่ภิกษุนั้นเข้าไปตั้งไว้ดีแล้ว ในภายใน อย.ู่ 98

เปิดธรรมท่ีถูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ภิกษุท้ังหลาย !   ธรรม ๕ ประการเหล่าน้ีแล เม่ือบุคคลเจริญ กระทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือ ความสิน้ ไปแห่งอาสวะท้งั หลาย. 99

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ปฏิปทาเพ่ือบรรลุมรรคผล 28 ของบุคคลทั่วไป (นัยท่ี ๔) -บาลี ปญจฺ ก. อ.ํ ๒๒/๙๕-๙๗/๗๑. ภิกษุท้ังหลาย !   ธรรม ๕ ประการเหล่าน้ี อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำ�ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มมเี จโตวิมตุ ติ เป็นผล มีเจโตวิมุตติเป็นอานิสงส์ ย่อมมีปัญญาวิมุตติ เป็นผล มปี ญั ญาวมิ ตุ ตเิ ป็นอานิสงส์. ธรรม ๕ ประการเปน็ ไฉน คอื ภกิ ษใุ นธรรมวินยั นี้ ๑. เปน็ ผู้ มปี กติตามเห็นความไมง่ ามในกาย อยู่ ๒. เปน็ ผู้ มคี วามสำ�คญั วา่ ปฏกิ ูลในอาหาร อยู่ ๓. เปน็ ผ ู้มคี วามส�ำ คญั วา่ เปน็ สง่ิ ไมน่ า่ ยนิ ดใี นโลกทง้ั ปวง  อยู่ ๔. เปน็ ผู้ มปี กตติ ามเห็นว่าไม่เท่ียงในสังขารทง้ั ปวง อยู่ ๕. มรณสัญญา  เป็นสิ่งที่ภิกษุนั้นเข้าไปตั้งไว้ดีแล้ว ในภายใน อยู่. 100

เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ภิกษุท้ังหลาย !   ธรรม ๕ ประการเหล่านี้แล เม่ือบุคคลเจริญ กระทำ�ให้มากแล้ว ย่อมมีเจโตวิมุตติ เป็นผล มีเจโตวิมุตติเป็นอานิสงส์ ย่อมมีปัญญาวิมุตติ เปน็ ผล และมปี ญั ญาวมิ ุตตเิ ป็นอานสิ งส์. เมอ่ื ใด ภกิ ษุเป็นผ้มู ีเจโตวิมุตตแิ ละปญั ญาวิมุตติ เมื่อนั้น ภิกษุน้ีเรียกว่า เป็นผู้ถอนล่ิมสลักขึ้นได้ดังนี้บ้าง ว่าเป็นผู้รื้อเครื่องแวดล้อมได้ ดังนี้บ้าง ว่าเป็นผู้ถอน เสาระเนียดขึ้นได้ ดังนี้บ้าง ว่าเป็นผู้ถอดกลอนออกได้ ดงั นบ้ี า้ ง วา่ เปน็ ผไู้ กลจากขา้ ศกึ ปลดธงลงได้ ปลงภาระลงได้ ไม่ประกอบดว้ ยวฏั ฏะ ดงั นี้บา้ ง. ภกิ ษทุ งั้ หลาย !  ภกิ ษชุ อ่ื วา่ เปน็ ผถู้ อนลม่ิ สลกั ขน้ึ ได้อย่างไร คือ ภิกษุในธรรมวินัยน้เี ป็นผ้ลู ะอวิชชาเสียได้ ถอนรากขน้ึ แลว้ ท�ำ ใหเ้ ปน็ เหมอื นตาลยอดดว้ น ท�ำ ไมใ่ หม้ ี ไมใ่ หเ้ กดิ ขน้ึ อกี ตอ่ ไปเปน็ ธรรมดา. ภิกษุทั้งหลาย !   ภกิ ษุ ชอ่ื ว่าเป็นผถู้ อนล่มิ สลักขึน้ ได้อย่างน้ี แล. 101

พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษุเป็นผู้รอื้ เครอื่ งแวดล้อมไดอ้ ย่างไร คอื ภกิ ษุ ในธรรมวนิ ยั นี้ เปน็ ผลู้ ะชาติสงสารที่เป็นเหตุนำ�ใหเ้ กิดใน ภพใหม่ต่อไปได้ ถอนรากข้ึนแล้ว ทำ�ให้เป็นเหมือนตาล ยอดด้วน ทำ�ไม่ให้มี ไม่ให้เกิดข้ึนอีกต่อไปเป็นธรรมดา ภกิ ษชุ ่ือว่าเป็นผู้รอ้ื เคร่ืองแวดล้อมได้อย่างนี้ แล. ภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ถอนเสาระเนียดขึ้นได้อย่างไร คอื ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น้ี เปน็ ผลู้ ะตณั หาเสยี ได้ ถอนรากขน้ึ แลว้ ท�ำ ใหเ้ ปน็ เหมอื นตาลยอดดว้ น ท�ำ ไมใ่ หม้ ี ไมใ่ หเ้ กดิ ขน้ึ อกี ตอ่ ไปเปน็ ธรรมดา. ภกิ ษชุ อ่ื วา่ เปน็ ผถู้ อนเสาระเนยี ดขน้ึ ได้ อย่างนี้ แล. ภิกษุช่ือว่าเป็นผู้ถอดกลอนออกได้อย่างไร คือ ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น้ี เปน็ ผลู้ ะโอรมั ภาคยิ สงั โยชน์ ๕ ประการ เสียได้ ถอนรากขึ้นแล้ว ทำ�ให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำ�ไม่ให้มี ไม่ให้เกดิ ขน้ึ อีกต่อไปเป็นธรรมดา. ภิกษชุ ื่อว่า เปน็ ผูถ้ อดกลอนออกได้อยา่ งนี้ แล. 102

เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย ภิกษุชื่อว่าเป็นผู้ไกลจากข้าศึก ปลดธงลงได้ ปลงภาระลงได้ ไมป่ ระกอบดว้ ยวฏั ฏะอยา่ งไร คอื ภกิ ษใุ น ธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ละอัส๎มิมานะเสียได้ ถอนรากข้ึนแล้ว ท�ำ ใหเ้ ปน็ เหมอื นตาลยอดดว้ น ท�ำ ไมใ่ หม้ ี ไมใ่ หเ้ กดิ ขนึ้ อกี ตอ่ ไปเปน็ ธรรมดา. ภกิ ษชุ อ่ื วา่ เปน็ ผไู้ กลจากขา้ ศกึ ปลดธง ลงได้ ปลงภาระลงได้ ไมป่ ระกอบดว้ ยวฏั ฏะใดๆ อยา่ งน้ี แล. 103



สัมมาสังกัปปะ (ความดําริชอบ)

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย ผ้มู ีความเพียรตลอดเวลา 29 -บาลี จตกุ ฺก. อํ. ๒๑/๑๖-๑๘/๑๑. ภิกษุท้ังหลาย !   เม่ือภิกษุกำ�ลังเดินอยู่ ถ้าเกิด ครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดในกาม หรือครุ่นคิดด้วยความ ครุ่นคิดในทางเดือดแค้น หรือครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิด ในทางท�ำ ผอู้ น่ื ใหล้ �ำ บากเปลา่ ๆ ขน้ึ มา และภกิ ษกุ ไ็ มร่ บั เอา ความครนุ่ คดิ นน้ั ไว้ สละทง้ิ ไป ถา่ ยถอนออก ท�ำ ใหส้ น้ิ สดุ ลงไป จนไมม่ ีเหลือ ภกิ ษุทเ่ี ป็นเชน่ นี้ แมก้ �ำ ลังเดินอยู่ กเ็ รยี กวา่ เป็นผู้ทำ�ความเพียรเผากิเลส รู้สึกกลัวต่อสิ่งอันเป็นบาป เปน็ คนปรารภความเพยี ร อทุ ศิ ตนในการเผากเิ ลสอยเู่ นอื งนจิ . ภิกษุทั้งหลาย !   เม่ือภิกษุกำ�ลังยืนอยู่ ถ้าเกิด ครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดในกาม หรือครุ่นคิดด้วยความ ครุ่นคิดในทางเดือดแค้น หรือครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิด ในทางท�ำ ผอู้ น่ื ใหล้ �ำ บากเปลา่ ๆ ขน้ึ มา และภกิ ษกุ ไ็ มร่ บั เอา ความครนุ่ คดิ นน้ั ไว้ สละทง้ิ ไป ถา่ ยถอนออก ท�ำ ใหส้ น้ิ สดุ ลง ไปจนไมม่ เี หลอื ภกิ ษทุ เ่ี ปน็ เชน่ น้ี แมก้ �ำ ลงั ยนื อยู่ กเ็ รยี กวา่ 106

เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย เป็นผู้ทำ�ความเพียรเผากิเลส รู้สึกกลัวต่อส่ิงอันเป็นบาป เปน็ คนปรารภความเพยี ร อทุ ศิ ตนในการเผากเิ ลสอยเู่ นอื งนจิ . ภิกษุทั้งหลาย !   เมื่อภิกษุกำ�ลังน่ังอยู่ ถ้าเกิด ครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดในกาม หรือครุ่นคิดด้วยความ ครุ่นคิดในทางเดือดแค้น หรือครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิด ในทางท�ำ ผอู้ น่ื ใหล้ �ำ บากเปลา่ ๆ ขน้ึ มา และภกิ ษกุ ไ็ มร่ บั เอา ความครนุ่ คดิ นน้ั ไวส้ ละทง้ิ ไป ถา่ ยถอนออก ท�ำ ใหส้ น้ิ สดุ ลงไป จนไม่มีเหลือ ภิกษุที่เป็นเช่นนี้แม้กำ�ลังน่ังอยู่ ก็เรียกว่า เป็นผู้ทำ�ความเพียรเผากิเลส รสู้ กึ กลวั ตอ่ สง่ิ อนั เปน็ บาป เปน็ คนปรารภความเพยี ร อทุ ศิ ตนในการเผากเิ ลสอยเู่ นอื งนจิ . ภิกษุท้ังหลาย !   เม่ือภิกษุกำ�ลังนอนอยู่ ถ้าเกิด ครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดในกาม หรือครุ่นคิดด้วยความ ครุ่นคิดในทางเดือดแค้น หรือครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิด ในทางทำ�ผู้อ่ืนให้ลำ�บากเปล่าๆ ข้ึนมา และภิกษุก็ไม่รับ เอาความครนุ่ คดิ นน้ั ไว้ สละทง้ิ ไป ถา่ ยถอนออก ท�ำ ใหส้ น้ิ สดุ 107

พุทธวจน - หมวดธรรม ลงไปจนไม่มีเหลือ ภิกษุท่ีเป็นเช่นนี้แม้กำ�ลังนอนอยู่ กเ็ รียกว่า เป็นผ้ทู ำ�ความเพยี รเผากเิ ลส รูส้ กึ กลัวตอ่ สงิ่ อนั เป็นบาป เป็นคนปรารภความเพียร อุทิศตนในการเผา กิเลสอยูเ่ นอื งนิจแล. 108

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ผเู้ กยี จคร้านตลอดเวลา 30 -บาลี จตุกฺก. อ.ํ ๒๑/๑๖/๑๑. ภิกษุทั้งหลาย !   เมื่อภิกษุกำ�ลังเดินอยู่ ถ้าเกิด ครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดในกาม หรือครุ่นคิดด้วย ความครุ่นคิดในทางเดือดแค้น หรือครุ่นคิดด้วยความ ครุ่นคิดในทางทำ�ผู้อื่นให้ลำ�บากเปล่าๆ ขึ้นมา และภิกษุ ก็รับเอาความครุ่นคิดน้ันไว้ ไม่สละทิ้ง ไม่ถ่ายถอนออก ไม่ทำ�ให้ส้ินสุดลงไปจนไม่มีเหลือ ภิกษุที่เป็นเช่นน้ี แมก้ �ำ ลงั เดนิ อยู่ กเ็ รยี กวา่ เปน็ ผไู้ มท่ �ำ ความเพยี รเผากเิ ลส ไมร่ สู้ กึ กลวั ตอ่ สง่ิ อนั เปน็ บาป เปน็ คนเกยี จครา้ น มคี วามเพยี ร อันเลวทรามอย่เู นืองนิจ. เมื่อภิกษุกำ�ลังยืนอยู่ ถ้าเกิดครุ่นคิดด้วยความ ครุ่นคิดในกาม หรือครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดในทาง เดือดแค้น หรือครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดในทางทำ�ผู้อื่น ใหล้ �ำ บากเปลา่ ๆ ขน้ึ มา และภกิ ษกุ ร็ บั เอาความครนุ่ คดิ นน้ั ไว้ ไมส่ ละทง้ิ ไมถ่ า่ ยถอนออก ไมท่ �ำ ใหส้ น้ิ สดุ ลงไป จนไมม่ เี หลอื 109

พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท่ีเป็นเช่นนี้ แม้กำ�ลังยืนอยู่ ก็เรียกว่า เป็นผู้ไม่ทำ� ความเพียรเผากิเลส  ไม่รู้สึกกลัวต่อสิ่งอนั เปน็ บาป  เป็น คนเกยี จคร้าน มีความเพยี รอันเลวทรามอยูเ่ นืองนจิ . เมื่อภิกษุกำ�ลังนั่งอยู่ ถ้าเกิดครุ่นคิดด้วยความ ครุ่นคิดในกาม หรือครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดในทาง เดือดแค้น หรือครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดในทางทำ�ผู้อื่น ใหล้ �ำ บากเปลา่ ๆ ขนึ้ มา และภกิ ษกุ ร็ บั เอาความครนุ่ คดิ นนั้ ไว้ ไม่สละท้ิง ไม่ถ่ายถอนออก ไม่ทำ�ให้สิ้นสุดลงไป จนไม่มีเหลือ ภิกษุที่เป็นเช่นน้ี แม้กำ�ลังนั่งอยู่ ก็เรียกว่า เปน็ ผไู้ มท่ �ำ ความเพยี รเผากเิ ลส ไมร่ สู้ กึ กลวั ตอ่ สง่ิ อนั เปน็ บาป เป็นคนเกียจครา้ น มคี วามเพียรอนั เลวทรามอยเู่ นืองนจิ . เม่ือภิกษุกำ�ลังนอนอยู่ ถ้าเกิดครุ่นคิดด้วย ความครุ่นคิดในกาม หรือครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดใน ทางเดือดแค้น หรือครุ่นคิดด้วยความครุ่นคิดในทางทำ� ผอู้ น่ื ใหล้ �ำ บากเปลา่ ๆ ขน้ึ มา และภกิ ษกุ ร็ บั เอาความครนุ่ คดิ น้ันไว้ ไม่สละทิ้ง ไม่ถ่ายถอนออก ไม่ทำ�ให้สิ้นสุดลงไป 110

เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย จนไมม่ เี หลอื ภิกษทุ ่ีเป็นเชน่ น้ี แมก้ ำ�ลังนอนอยู่ ก็เรียกว่า เปน็ ผไู้ มท่ �ำ ความเพยี รเผากเิ ลส ไมร่ สู้ กึ กลวั ตอ่ สง่ิ อนั เปน็ บาป เป็นคนเกยี จคร้าน มคี วามเพียรอันเลวทรามอยเู่ นอื งนจิ . 111



ปฏปิ ทาของการสน้ิ อาสวะ ๔ แบบ

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ปฏิปทาของการสิน้ อาสวะ ๔ แบบ 31 -บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๒๐๒-๒๐๔/๑๖๑-๑๖๒. ภิกษทุ ง้ั หลาย !   ปฏิปทา ๔ ประการ เหลา่ น้ี มอี ยู่ คือ ปฏบิ ัตลิ �ำ บาก รู้ได้ชา้ ๑ ปฏิบตั ิลำ�บาก รูไ้ ด้เรว็ ๑ ปฏบิ ตั สิ บาย รู้ได้ชา้ ๑ ปฏิบตั สิ บาย รูไ้ ดเ้ รว็ ๑. 114

เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย แบบปฏิบัติล�ำบาก รูไ้ ดช้ า้ ภกิ ษทุ งั้ หลาย !  ในกรณนี ี้ ภกิ ษุ เปน็ ผมู้ ปี กตเิ หน็ ความไม่งามในกาย มีสัญญาว่าปฏิกูลในอาหาร มีสัญญาในโลกท้ังปวง โดยความเป็นของไม่น่ายินดี เป็นผู้มีปกติตามเห็นความไม่เที่ยงในสังขารทั้งปวง มรณสัญญาก็เปน็ สงิ่ ทีเ่ ขาตั้งไวด้ ีแลว้ ในภายใน. ภกิ ษนุ น้ั เขา้ ไปอาศยั ธรรม เปน็ ก�ำ ลงั ของพระเสขะ ๕ ประการเหลา่ นอ้ี ยู่ คอื สทั ธาพละ หริ พิ ละ โอตตปั ปพละ วิรยิ พละ ปัญญาพละ แต่ อินทรีย์ ๕ ประการเหล่าน้ีของ เธอนน้ั ปรากฏวา่ ออ่ น คอื สทั ธนิ ทรยี ์ วริ ยิ นิ ทรยี ์ สตนิ ทรยี ์ สมาธนิ ทรยี ์ ปญั ญนิ ทรยี .์ เพราะเหตทุ อ่ี นิ ทรยี ท์ ง้ั หา้ เหลา่ น้ี ยงั ออ่ น ภกิ ษนุ นั้ จงึ บรรลอุ นนั ตรยิ กจิ เพอ่ื ความสน้ิ อาสวะ ไดช้ า้ ภิกษุทง้ั หลาย !   นี้เรียกว่า ปฏิบัติลำ�บาก รู้ได้ช้า. 115

พุทธวจน - หมวดธรรม แบบปฏบิ ตั ิล�ำบาก รไู้ ด้เร็ว ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ในกรณนี ี้ ภกิ ษุ เปน็ ผมู้ ปี กตเิ หน็ ความไม่งามในกาย มีสัญญาว่า ปฏิกูลในอาหาร มี สัญญาในโลกท้ังปวง โดยความเป็นของไม่น่ายินดี เป็นผู้มีปกติตามเห็นความไม่เที่ยงในสังขารท้ังปวง มรณสัญญาก็เปน็ ส่ิงทีเ่ ขาต้ังไวด้ แี ล้วในภายใน. ภกิ ษนุ น้ั เขา้ ไปอาศยั ธรรม เปน็ ก�ำ ลงั ของพระเสขะ ๕ ประการเหลา่ นอ้ี ยู่ คอื สทั ธาพละ หริ พิ ละ โอตตปั ปพละ วริ ยิ พละ ปญั ญาพละ แต่ อนิ ทรยี ์ ๕ ประการเหลา่ นขี้ อง เธอน้ัน ปรากฏว่ามีประมาณยิ่ง (แก่กล้า) คือ สัทธนิ ทรยี ์ วริ ิยนิ ทรยี ์ สตินทรยี ์ สมาธนิ ทรยี ์ ปัญญนิ ทรยี .์ เพราะเหตุที่อินทรีย์ท้ังห้าเหล่าน้ีมีประมาณยิ่ง ภิกษุนั้น จึง บรรลอุ นนั ตริยกจิ เพ่อื ความสิ้นอาสวะไดเ้ ร็ว ภิกษุทัง้ หลาย !   นี้เรียกว่า ปฏิบัติลำ�บาก รู้ได้เร็ว. 116

เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย แบบปฏบิ ัติสบาย รไู้ ดช้ า้ ภิกษุท้ังหลาย !   ในกรณีน้ี ภิกษุ เพราะสงัด จากกามและอกุศลธรรมท้ังหลาย จึงบรรลุปฐมฌาน ทตุ ิยฌาน... ตติยฌาน... จตุตถฌาน (มรี ายละเอยี ดดังที่ แสดงแลว้ ในทที่ ่ัวไป) แล้วแลอยู่. ภกิ ษนุ น้ั เขา้ ไปอาศยั ธรรม เปน็ ก�ำ ลงั ของพระเสขะ ๕ ประการเหลา่ นอ้ี ยู่ คอื สทั ธาพละ หริ พิ ละ โอตตปั ปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ แต่ อินทรีย์ ๕ ประการเหล่าน้ี ของเธอนั้น ปรากฏว่าอ่อน คือ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตนิ ทรยี ์ สมาธนิ ทรีย์ ปญั ญินทรยี ์. เพราะเหตุทอี่ นิ ทรยี ์ ทั้งห้าเหล่านี้ยังอ่อน ภิกษุน้ัน จึง บรรลุอนันตริยกิจ เพ่ือความส้นิ อาสวะไดช้ ้า ภกิ ษทุ ้งั หลาย !   นี้เรียกว่า ปฏิบัติสบาย รู้ได้ช้า. 117

พทุ ธวจน - หมวดธรรม แบบปฏบิ ัติสบาย รู้ไดเ้ รว็ ภิกษุทั้งหลาย !   ในกรณีนี้ ภิกษุ เพราะสงัด จากกามและอกุศลธรรมท้ังหลาย จึงบรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน... ตตยิ ฌาน... จตุตถฌาน ... แลว้ แลอย.ู่ ภกิ ษนุ น้ั เขา้ ไปอาศยั ธรรม เปน็ ก�ำ ลงั ของพระเสขะ ๕ ประการเหลา่ นอ้ี ยู่ คอื สทั ธาพละ หริ พิ ละ โอตตปั ปพละ วริ ยิ พละ ปัญญาพละ แต่ อนิ ทรีย์ ๕ ประการเหลา่ นี้ของ เธอนน้ั ปรากฏวา่ มปี ระมาณยง่ิ คอื สทั ธนิ ทรยี ์ วริ ยิ นิ ทรยี ์ สตินทรยี ์ สมาธนิ ทรีย์ ปัญญนิ ทรีย์. เพราะเหตุท่อี นิ ทรีย์ ทัง้ หา้ เหล่านมี้ ีประมาณยิ่ง ภกิ ษนุ น้ั จงึ บรรลอุ นันตรยิ กจิ เพ่อื ความสิ้นอาสวะได้เรว็ ภกิ ษุทงั้ หลาย !   นี้เรียกว่า ปฏิบัติสบาย รู้ได้เร็ว. ภกิ ษุทัง้ หลาย !   เหล่านแี้ ล ปฏิปทา ๔ ประการ. 118

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย 119



ขอนอบนอ้ มแด่ ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพทุ ธะ พระองค์นน้ั ด้วยเศยี รเกลา้ (สาวกตถาคต) คณะงานธมั มะ วดั นาปา พง (กลมุ่ อาสาสมคั รพุทธวจน-หมวดธรรม)

มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ์ มูลนิธิแห่งมหาชนชาวพทุ ธ ผซู้ งึ่ ชดั เจน และมั่นคงในพุทธวจน เรม่ิ จากชาวพทุ ธกลมุ่ เลก็ ๆ กลมุ่ หนง่ึ ไดม้ โี อกาสมาฟงั ธรรมบรรยายจาก ทา่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ โสตถฺ ผิ โล ทเี่ นน้ การนา� พทุ ธวจน (ธรรมวนิ ยั จากพทุ ธโอษฐ์ ทพี่ ระพทุ ธองคท์ รงยนื ยนั วา่ ทรงตรสั ไวด้ แี ลว้ บรสิ ทุ ธบิ์ รบิ รู ณส์ นิ้ เชงิ ทง้ั เนอื้ ความและ พยญั ชนะ) มาใชใ้ นการถา่ ยทอดบอกสอน ซงึ่ เปน็ รปู แบบการแสดงธรรมทต่ี รงตาม พุทธบญั ญตั ิตามท่ี ทรงรบั ส่งั แกพ่ ระอรหันต์ ๖๐ รปู แรกที่ปาอสิ ิปตนมฤคทายวัน ในการประกาศพระสัทธรรม และเปน็ ลกั ษณะเฉพาะทภี่ กิ ษใุ นครง้ั พทุ ธกาลใชเ้ ปน็ มาตรฐานเดยี ว หลกั พทุ ธวจนนี้ ไดเ้ ขา้ มาตอบคา� ถาม ตอ่ ความลงั เลสงสยั ไดเ้ ขา้ มาสรา้ ง ความชดั เจน ต่อความพร่าเลอื นสับสน ในขอ้ ธรรมต่างๆ ทม่ี ีอยู่ในสงั คมชาวพทุ ธ ซง่ึ ท้งั หมดนี้ เป็นผลจากสาเหตเุ ดียวคือ การไมใ่ ช้คา� ของพระพุทธเจา้ เป็นตัวต้งั ต้น ในการศกึ ษาเลา่ เรยี น ดว้ ยศรทั ธาอยา่ งไมห่ วน่ั ไหวตอ่ องคส์ มั มาสมั พทุ ธะ ในฐานะพระศาสดา ทา่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ ไดป้ ระกาศอยา่ งเปน็ ทางการวา่ “อาตมาไมม่ คี า� สอนของตวั เอง” และใช้เวลาท่ีมีอยู่ ไปกับการรับสนองพุทธประสงค์ ด้วยการโฆษณาพุทธวจน เพื่อความตั้งมนั่ แหง่ พระสทั ธรรม และความประสานเป็นหน่ึงเดยี วของชาวพุทธ เมอื่ กลบั มาใชห้ ลกั พทุ ธวจน เหมอื นทเี่ คยเปน็ ในครง้ั พทุ ธกาล สงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ คือ ความชัดเจนสอดคล้องลงตัว ในความรู้ความเข้าใจ ไม่ว่าในแง่ของหลักธรรม ตลอดจนมรรควธิ ที ต่ี รง และสามารถนา� ไปใชป้ ฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผล รเู้ หน็ ประจกั ษไ์ ดจ้ รงิ ดว้ ยตนเองทนั ที ดว้ ยเหตนุ ้ี ชาวพทุ ธทเ่ี หน็ คณุ คา่ ในคา� ของพระพทุ ธเจา้ จงึ ขยายตวั มากขึ้นเรอ่ื ยๆ เกิดเป็น “กระแสพทุ ธวจน” ซง่ึ เปน็ พลงั เงียบท่กี �าลงั จะกลายเป็น คลนื่ ลกู ใหม่ ในการกลบั ไปใชร้ ะบบการเรยี นรพู้ ระสทั ธรรม เหมอื นดงั ครง้ั พทุ ธกาล

ด้วยการขยายตวั ของกระแสพทุ ธวจนน้ี ส่อื ธรรมที่เปน็ พุทธวจน ไม่ว่า จะเป็นหนังสือ หรือซีดี ซ่ึงแจกฟรีแก่ญาติโยมเร่ิมมีไม่พอเพียงในการแจก ทั้งน้ี เพราะจ�านวนของผู้ท่ีสนใจเห็นความส�าคัญของพุทธวจน ได้ขยายตัวมากขึ้นอย่าง รวดเร็ว ประกอบกับว่าท่านพระอาจารย์คึกฤทธ์ิ โสตฺถิผโล เคร่งครัดในข้อวัตร ปฏิบัติท่ีพระศาสดาบัญญัติไว้ อันเป็นธรรมวินัยท่ีออกจากพระโอษฐ์ของตถาคต โดยตรง การเผยแผ่พุทธวจนที่ผ่านมา จึงเป็นไปในลักษณะสันโดษตามมีตามได้ เมือ่ มีโยมมาปวารณาเป็นเจา้ ภาพในการจดั พิมพ์ ไดม้ าจ�านวนเท่าไหร่ ก็ทยอยแจก ไปตามทมี่ เี ทา่ นน้ั เมอ่ื มมี า กแ็ จกไป เมอื่ หมด กค็ อื หมด เนอ่ื งจากวา่ หนา้ ทใ่ี นการดา� รงพระสทั ธรรมใหต้ ง้ั มน่ั สบื ไป ไมไ่ ดผ้ กู จา� กดั อย่แู ตเ่ พยี งพทุ ธสาวกในฐานะของสงฆ์เทา่ นนั้ ฆราวาสกลมุ่ หนึ่งซึ่งเห็นความส�าคญั ของพทุ ธวจน จงึ รวมตวั กนั เขา้ มาชว่ ยขยายผลในสงิ่ ทที่ า่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ โสตถฺ ผิ โล ทา� อยแู่ ลว้ นน่ั คอื การนา� พทุ ธวจนมาเผยแพรโ่ ฆษณา โดยพจิ ารณาตดั สนิ ใจจดทะเบยี น จัดตัง้ เปน็ มลู นธิ อิ ย่างถูกตอ้ งตามกฏหมาย เพือ่ ใหก้ ารด�าเนนิ การตา่ งๆ ทง้ั หมด อยใู่ นรปู แบบทโี่ ปรง่ ใส เปดิ เผย และเปดิ กวา้ งตอ่ สาธารณชนชาวพทุ ธทวั่ ไป สา� หรับผู้ท่ีเหน็ ความสา� คัญของพุทธวจน และมคี วามประสงค์ทจี่ ะด�ารง พระสทั ธรรมใหต้ ง้ั มนั่ ดว้ ยวธิ ขี องพระพทุ ธเจา้ สามารถสนบั สนนุ การดา� เนนิ การตรงนไ้ี ด้ ดว้ ยวิธงี า่ ยๆ น่ันคอื เขา้ มาใส่ใจศึกษาพทุ ธวจน และนา� ไปใช้ปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง เม่ือรู้ประจักษ์ เห็นได้ด้วยตนแล้ว ว่ามรรควิธีท่ีได้จากการท�าความเข้าใจ โดย ใช้ค�าของพระพุทธเจ้าเป็นตัวต้ังต้นน้ัน น�าไปสู่ความเห็นที่ถูกต้อง ในหลักธรรม อันสอดคล้องเป็นเหตุเป็นผล และเช่ือมโยงเป็นหน่ึงเดียว กระทั่งได้ผลตามจริง ทา� ใหเ้ กดิ มีจติ ศรทั ธา ในการช่วยเผยแพรข่ ยายส่ือพทุ ธวจน เพียงเท่านี้ คุณก็คอื หนง่ึ หนว่ ยในขบวน “พทุ ธโฆษณ”์ แลว้ น่คี อื เจตนารมณ์ของมูลนิธิพทุ ธโฆษณ์ นน่ั คอื เปน็ มลู นิธิแหง่ มหาชน ชาวพทุ ธ ซง่ึ ชดั เจน และมน่ั คงในพทุ ธวจน

ผูท้ ีส่ นใจรับสือ่ ธรรมทเี่ ปน็ พุทธวจน เพอ่ื ไปใชศ้ กึ ษาส่วนตัว หรือน�าไปแจกเปน็ ธรรมทาน แกพ่ ่อแมพ่ ีน่ ้อง ญาติ หรือเพื่อน สามารถมารบั ไดฟ้ รี ที่วดั นาปาพง หรือตามที่พระอาจารย์คกึ ฤทธ์ไิ ด้รบั นมิ นต์ไปแสดงธรรมนอกสถานที่ สา� หรบั รายละเอยี ดกจิ ธรรมต่างๆ ภายใตเ้ ครอื ข่ายพุทธวจนโดยวัดนาปาพง คน้ หา ขอ้ มลู ไดจ้ าก www.buddhakos.org หรือ www.watnapp.com หากมคี วามจ�านงทจ่ี ะรับไปแจกเปน็ ธรรมทานในจา� นวนหลายสิบชดุ ขอความกรุณาแจง้ ความจ�านงไดท้ ี่ มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ์ ประสานงานและเผยแผ่ : เลขที่ ๒๙/๓ หมูท่ ่ี ๗ ถนนเลียบคลอง ๑๐ ฝ่ังตะวันออก ตา� บลบึงทองหลาง อา� เภอลา� ลูกกา จงั หวัดปทุมธานี ๑๒๑๕๐ โทรศพั ท์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔, ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘, ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ โทรสาร ๐ ๒๑๕๙ ๐๕๒๖ เวบ็ ไซต์ : www.buddhakos.org อเี มล์ : [email protected] สนบั สนนุ การเผยแผ่พุทธวจนไดท้ ี่ ชอื่ บญั ชี “มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ”์ ธนาคารไทยพาณชิ ย์ สาขา คลอง ๑๐ (ธญั บรุ )ี ประเภท บัญชีออมทรัพย์ เลขทีบ่ ัญชี ๓๑๘-๒-๔๗๔๖๑-๐ วธิ ีการโอนเงนิ จากต่างประเทศ ย่นื แบบฟอร์ม คา� ขอโอนได้ท่ี ธนาคารไทยพาณชิ ย์ Account name: “Buddhakos Foundation” SWIFT CODE : SICOTHBK Branch Number : 318 Siam Commercial Bank PCL, Khlong 10(Thanyaburi) Branch, 33/14 Mu 4 Chuchat Road, Bung Sanun Sub District, Thanyaburi District, Pathum Thani 12110, Thailand Saving Account Number : 318-2-47461-0

ขอกราบขอบพระคุณแด่ พระอาจารยค์ กึ ฤทธิ์ โสตถฺ ผิ โล และคณะสงฆว์ ดั นาปา่ พง ท่กี รณุ าให้ค�าปรกึ ษาในการจดั ทา� หนังสือเลม่ น้ี ติดตามการเผยแผ่พระธรรมคา� สอนตามหลกั พทุ ธวจน โดย พระอาจารยค์ ึกฤทธ์ิ โสตฺถิผโล ไดท้ ่ี เวบ็ ไซต์ • http://www.watnapp.com : หนงั สอื และสื่อธรรมะ บนอินเทอร์เนต็ • http://media.watnapahpong.org : ศูนยบ์ ริการมลั ตมิ เี ดียวัดนาปา พง • http://www.buddha-net.com : เครือขา่ ยพุทธวจน • http://etipitaka.com : โปรแกรมตรวจหาและเทยี บเคยี งพุทธวจน • http://www.watnapahpong.com : เว็บไซตว์ ัดนาปา พง • http://www.buddhakos.org : มลู นิธิพุทธโฆษณ์ • http://www.buddhawajanafund.org : มูลนธิ ิพทุ ธวจน ดาวนโ์ หลดโปรแกรมตรวจหาและเทยี บเคยี งพทุ ธวจน (E-Tipitaka) ส�าหรบั คอมพวิ เตอร์ • ระบบปฏบิ ัตกิ าร Windows, Macintosh, Linux http://etipitaka.com/download หรอื รบั แผน่ โปรแกรมได้ทว่ี ดั นาปาพง ส�าหรับโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทแ่ี ละแทบ็ เลต็ • ระบบปฏิบตั กิ าร Android ดาวน์โหลดได้ท่ี Play Store โดยพิมพค์ �าวา่ พทุ ธวจน หรอื e-tipitaka • ระบบปฏบิ ัตกิ าร iOS (ส�าหรับ iPad, iPhone, iPod) ดาวน์โหลดไดท้ ่ี App Store โดยพมิ พ์คา� ว่า พุทธวจน หรอื e-tipitaka ดาวนโ์ หลดโปรแกรมพุทธวจน (Buddhawajana) เฉพาะโทรศัพทเ์ คลือ่ นทีแ่ ละแทบ็ เล็ต • ระบบปฏบิ ตั กิ าร Android ดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี Google Play Store โดยพิมพ์คา� วา่ พุทธวจน หรอื buddhawajana • ระบบปฏบิ ตั ิการ iOS (ส�าหรับ iPad, iPhone, iPod) ดาวน์โหลดได้ท่ี App Store โดยพมิ พ์คา� ว่า พทุ ธวจน หรอื buddhawajana ดาวน์โหลดโปรแกรมวทิ ยวุ ดั นาป่าพง (Watnapahpong Radio) เฉพาะโทรศพั ทเ์ คลื่อนทีแ่ ละแท็บเลต็ • ระบบปฏิบัติการ Android ดาวน์โหลดได้ท่ี Google Play Store โดยพิมพ์ค�าว่า พทุ ธวจน หรือ วทิ ยุวดั นาปาพง • ระบบปฏิบตั ิการ iOS (สา� หรับ iPad, iPhone, iPod) ดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี App Store โดยพมิ พค์ �าว่า พทุ ธวจน หรือ วทิ ยุวัดนาปาพง วทิ ยุ • คล่ืน ส.ว.พ. FM ๙๑.๐ MHz ทุกวนั พระ เวลา ๑๗.๔๐ น.

บรรณานกุ รม พระไตรปฎิ กฉบับสยามรัฐ พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบบั หลวง หนงั สอื ธรรมโฆษณ์ ชุดจากพระโอษฐ์ (ผลงานแปลพทุ ธวจน โดยทา่ นพุทธทาสภิกขุในนามกองตา� ราคณะธรรมทาน) รว่ มสนับสนุนการจดั ท�าโดย คณะงานธัมมะ วดั นาปา พง (กลมุ่ อาสาสมัครพทุ ธวจน-หมวดธรรม), คณะศิษยว์ ัดนาปาพง, มูลนิธิพุทธวจน, พุทธวจนสถาบันภาคกลาง, พุทธวจนสถาบันภาคเหนือ, พุทธวจนสถาบันภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, พุทธวจนสถาบันภาคตะวันออก, พุทธวจนสถาบันภาคใต้, พุทธวจนสถาบันภาคตะวันตก, กลุ่มศิษย์ตถาคต, กลุ่มสมณะศากยะปุตติยะ, กลุ่มชวนม่วนธรรม, กลุ่มละนันทิ, กลุ่มพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินบริษัทการบินไทย, กลุ่มมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, ชมรมพุทธวจนอุดรธานี, บจก. สยามคูโบต้า คอร์ปอเรช่ัน, บจก. สยามรักษ์, บจก. เซเว่นสเต็ปส์, บจก. ห้างพระจันทร์โอสถ, สถานกายภาพบ�าบัด คิดดีคลินิค, บจก. ดีเทลส์ โปรดักส์

ลงสะพานคลอง ๑๐ ไปยูเทิร์นแรกมา แผนท่ีวัดนาป่าพง แล้วเล้ียวซ้ายก่อนข้ึนสะพาน แนวทิวสน วัดนาป่าพง โทรศัพท์ ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑, ๐๘ ๔๐๙๖ ๘๔๓๐, ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๔, ๐๘ ๖๕๕๒ ๒๔๕๙ ลงสะพานคลอง ๑๐ เล้ียวซ้ายคอสะพาน

๑๐ พระสตู รของความสา� คญั ทชี่ าวพทุ ธตอ้ งศกึ ษา แตค่ า� สอนจากพระพทุ ธเจา้ เทา่ นน้ั ผา่ นมา ๒,๕๐๐ กวา่ ปี คา� สอนทางพระพทุ ธศาสนาเกดิ ความหลากหลายมากขน้ึ มสี า� นกั ตา่ งๆ มากมาย ซง่ึ แตล่ ะหมคู่ ณะกม็ คี วามเหน็ ของตน หามาตรฐานไมไ่ ด้ แมจ้ ะกลา่ วในเรอ่ื งเดยี วกนั ทง้ั นไ้ี มใ่ ชเ่ พราะคา� สอนของพระพทุ ธเจา้ ไมส่ มบรู ณ์ แลว้ เราควรเชอ่ื และปฏบิ ตั ติ ามใคร ? ลองพจิ ารณาหาคา� ตอบงา่ ยๆ ไดจ้ าก ๑๐ พระสตู ร ซง่ึ พระตถาคตทรงเตอื นเอาไว้ แลว้ ตรสั บอกวธิ ปี อ้ งกนั และแกไ้ ขเหตเุ สอ่ื มแหง่ ธรรมเหลา่ น.ี้ ขอเชญิ มาตอบตวั เองกนั เถอะวา่ ถงึ เวลาแลว้ หรอื ยงั ? ทพ่ี ทุ ธบรษิ ทั จะมมี าตรฐานเพยี งหนงึ่ เดยี ว คอื “พทุ ธวจน” ธรรมวนิ ยั จากองคพ์ ระสงั ฆบดิ าอนั วญิ ญชู นพงึ ปฏบิ ตั แิ ละรตู้ ามไดเ้ ฉพาะตน ดงั น.ี้ ๑. พระองคท์ รงสามารถกา� หนดสมาธ ิ เมอ่ื จะพดู ทกุ ถอ้ ยคา� จงึ ไมผ่ ดิ พลาด -บาลี มู. ม. ๑๒/๔๕๘/๔๓๐. อคั คเิ วสนะ ! เรานน้ั หรอื จา� เดมิ แตเ่ รมิ่ แสดง กระทง่ั คา� สดุ ทา้ ยแหง่ การกลา่ วเรอ่ื งนนั้ ๆ ยอ่ มตงั้ ไวซ้ งึ่ จติ ในสมาธนิ มิ ติ อนั เปน็ ภายในโดยแท ้ ใหจ้ ติ ดา� รงอย ู่ ใหจ้ ติ ตง้ั มน่ั อย ู่ กระทา� ใหม้ จี ติ เปน็ เอก ดงั เชน่ ทค่ี นทง้ั หลาย เคยไดย้ นิ วา่ เรากระทา� อยเู่ ปน็ ประจา� ดงั น.้ี

๒. แตล่ ะคา� พดู เปน็ อกาลโิ ก คอื ถกู ตอ้ งตรงจรงิ ไมจ่ า� กดั กาลเวลา -บาลี ม.ู ม. ๑๒/๔๘๕/๔๕๑. ภิกษุท้ังหลาย ! พวกเธอทงั้ หลายเปน็ ผทู้ เี่ รานา� ไปแลว้ ดว้ ยธรรมน้ี อนั เปน็ ธรรมทบ่ี คุ คลจะพงึ เหน็ ไดด้ ว้ ยตนเอง (สนทฺ ฏิ โิ ก) เปน็ ธรรมให้ ผลไมจ่ า� กดั กาล (อกาลโิ ก) เปน็ ธรรมทคี่ วรเรยี กกนั มาด ู (เอหปิ สสฺ โิ ก) ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว (โอปนยิโก) อันวิญญูชนจะพึงรู้ได้เฉพาะตน (ปจจฺ ตตฺ � เวทติ พโฺ พ วญิ ญฺ หู )ิ . ๓. คา� พดู ทพ่ี ดู มาทง้ั หมดนบั แตว่ นั ตรสั รนู้ น้ั สอดรบั ไมข่ ดั แยง้ กนั -บาลี อิติว.ุ ขุ. ๒๕/๓๒๑/๒๙๓. ภิกษุท้ังหลาย ! นับต้ังแต่ราตรี ที่ตถาคตได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมา- สัมโพธิญาณ จนกระทั่งถึงราตรีที่ตถาคตปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสส นิพพานธาตุ ตลอดเวลาระหว่างนั้น ตถาคตได้กล่าวสอน พร่�าสอน แสดงออก ซง่ึ ถอ้ ยคา� ใด ถอ้ ยคา� เหลา่ นนั้ ทงั้ หมด ยอ่ มเขา้ กนั ไดโ้ ดย ประการเดยี วทงั้ สนิ้ ไมแ่ ยง้ กนั เปน็ ประการอน่ื เลย. อ๔. ทรงบอกเหตแุ หง่ ความอนั ตรธานของคา� สอนเปรยี บดว้ ยกลองศกึ -บาลี นทิ าน. สํ. ๑๖/๓๑๑/๖๗๒-๓. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! เรอ่ื งนเี้ คยมมี าแลว้ กลองศกึ ของกษตั รยิ พ์ วกทสารหะ เรยี กวา่ อานกะ มอี ยู่ เมอื่ กลองอานกะน้ี มแี ผลแตกหรอื ลิ พวกกษตั รยิ ์ ทสารหะไดห้ าเนอื้ ไมอ้ น่ื ทา� เปน็ ลมิ่ เสรมิ ลงในรอยแตกของกลองนนั้ (ทกุ คราวไป). ภิกษุทั้งหลาย ! เม่ือเชื่อมปะเข้าหลายคร้ังหลายคราวเช่นนั้น นานเขา้ กถ็ งึ สมยั หนง่ึ ซง่ึ เนอื้ ไมเ้ ดมิ ของตวั กลองหมดสนิ้ ไป เหลอื อยแู่ ต่ เนอื้ ไมท้ ที่ า� เสรมิ เขา้ ใหมเ่ ทา่ นน้ั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ฉนั ใดกฉ็ นั นนั้ ในกาลยดื ยาวฝา่ ยอนาคต จกั มภี กิ ษุ ทงั้ หลาย สตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทเ่ี ปน็ คา� ของตถาคต เปน็ ขอ้ ความลกึ มคี วามหมายซง้ึ เปน็ ชนั้ โลกตุ ตระ วา่ เฉพาะดว้ ยเรอ่ื งสญุ ญตา เมอ่ื มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ นน้ั

มากลา่ วอยู่ เธอจกั ไมฟ่ งั ด้วยดี จกั ไมเ่ งี่ยหฟู งั จกั ไมต่ ั้งจิตเพอ่ื จะรู้ท่ัวถงึ และจกั ไมส่ า� คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทต่ี นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น สว่ นสตุ ตนั ตะเหลา่ ใดที่ นกั กวแี ตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คา� รอ้ ยกรองประเภทกาพยก์ ลอน มอี กั ษรสละสลวย มพี ยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอื่ งนอกแนว เปน็ คา� กลา่ วของสาวก เมอ่ื มผี นู้ า� สุตตันตะท่ีนักกวีแต่งข้ึนใหม่เหล่านั้นมากล่าวอยู่ เธอจักฟังด้วยดี จัก เงย่ี หฟู งั จกั ตงั้ จติ เพอ่ื จะรทู้ วั่ ถงึ และจกั สา� คญั วา่ เปน็ สงิ่ ทตี่ นควรศกึ ษา เลา่ เรยี นไป. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! ความอนั ตรธานของสตุ ตนั ตะเหลา่ นนั้ ทเี่ ปน็ คา� ของ ตถาคต เปน็ ขอ้ ความลกึ มคี วามหมายซงึ้ เปน็ ชน้ั โลกตุ ตระ วา่ เฉพาะดว้ ย เรอื่ งสญุ ญตา จกั มไี ดด้ ว้ ยอาการอยา่ งนี้ แล. ๕.ทรงกา� ชับให้ศกึ ษาปฏิบัติเฉพาะจากคา� ของพระองคเ์ ท่านน้ั อย่าฟังคนอื่น -บาลี ทกุ . อํ. ๒๐/๙๑-๙๒/๒๙๒. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! พวกภกิ ษบุ รษิ ทั ในกรณนี ้ี สตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทก่ี วี แตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คา� รอ้ ยกรองประเภทกาพยก์ ลอน มอี กั ษรสละสลวย มี พยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอื่ งนอกแนว เปน็ คา� กลา่ วของสาวก เมอื่ มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ นน้ั มากลา่ วอยู่ เธอจกั ไมฟ่ งั ดว้ ยดี ไมเ่ งย่ี หฟู งั ไมต่ งั้ จติ เพอ่ื จะรทู้ วั่ ถงึ และจกั ไมส่ า� คญั วา่ เปน็ สงิ่ ทต่ี นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! สว่ นสตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทเ่ี ปน็ คา� ของตถาคต เปน็ ขอ้ ความลกึ มคี วามหมายซงึ้ เปน็ ชนั้ โลกตุ ตระ วา่ เฉพาะดว้ ยเรอ่ื งสญุ ญตา เมอ่ื มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ นน้ั มากลา่ วอยู่ เธอยอ่ มฟงั ดว้ ยดี ยอ่ มเงยี่ หฟู งั ยอ่ มตง้ั จติ เพอ่ื จะรทู้ ว่ั ถงึ และยอ่ มสา� คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทตี่ นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น จงึ พากนั เลา่ เรยี น ไตถ่ าม ทวนถามแกก่ นั และกนั อยวู่ า่ “ขอ้ นเี้ ปน็ อยา่ งไร มคี วามหมายกน่ี ยั ” ดงั น้ี ดว้ ยการทา� ดงั นี้ เธอยอ่ มเปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ ไวไ้ ด้ ธรรมทยี่ งั ไมป่ รากฏ เธอกท็ า� ใหป้ รากฏได้ ความสงสยั ในธรรมหลายประการ ทนี่ า่ สงสยั เธอกบ็ รรเทาลงได.้

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! บรษิ ทั ชอ่ื อกุ กาจติ วนิ ตี า ปรสิ า โน ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! ในกรณนี คี้ อื ภกิ ษทุ ง้ั หลายในบรษิ ทั ใด เมอื่ สตุ ตนั ตะ ทงั้ หลาย อนั เปน็ ตถาคตภาษติ (ตถาคตภาสติ า) อนั ลกึ ซง้ึ (คมภฺ รี า) มี อรรถอันลึกซึ้ง (คมฺภีรตฺถา) เป็นโลกุตตระ (โลกุตฺตรา) ประกอบด้วย เรอ่ื งสญุ ญตา (สญุ ญฺ ตปฏสิ ย� ตุ ตฺ า) อนั บคุ คลนา� มากลา่ วอยู่ กไ็ มฟ่ งั ดว้ ยดี ไมเ่ งย่ี หฟู งั ไมเ่ ขา้ ไปตงั้ จติ เพอื่ จะรทู้ ว่ั ถงึ และไมส่ า� คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทต่ี นควร ศกึ ษาเลา่ เรยี น. สว่ นสตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทก่ี วแี ตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คา� รอ้ ยกรองประเภท กาพยก์ ลอน มอี กั ษรสละสลวย มพี ยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอื่ งนอกแนว เปน็ คา� กลา่ วของสาวก เมอื่ มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ นมี้ ากลา่ วอยู่ พวกเธอยอ่ มฟงั ดว้ ยดี เงย่ี หฟู งั ตงั้ จติ เพอื่ จะรทู้ ว่ั ถงึ และสา� คญั ไป วา่ เปน็ สง่ิ ทตี่ นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น พวกเธอเลา่ เรยี นธรรมอนั กวแี ตง่ ใหม่ นัน้ แล้ว ก็ไม่สอบถามซงึ่ กันและกัน ไมท่ า� ใหเ้ ปิดเผยแจม่ แจ้งออกมาวา่ ขอ้ นพ้ี ยญั ชนะเปน็ อยา่ งไร อรรถเปน็ อยา่ งไร ดงั น้ี เธอเหลา่ นน้ั เปดิ เผย สง่ิ ทย่ี งั ไมเ่ ปดิ เผยไมไ่ ด้ ไมห่ งายของทค่ี วา�่ อยใู่ หห้ งายขนึ้ ได้ ไมบ่ รรเทา ความสงสยั ในธรรมทงั้ หลายอนั เปน็ ทต่ี งั้ แหง่ ความสงสยั มอี ยา่ งตา่ งๆ ได.้ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! นเี้ ราเรยี กวา่ อกุ กาจติ วนิ ตี า ปรสิ า โน ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า. ภกิ ษทุ งั้ หลาย! บรษิ ทั ชอื่ ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า ปรสิ า โน อกุ กาจติ วนิ ตี า เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! ในกรณนี คี้ อื ภกิ ษทุ งั้ หลายในบรษิ ทั ใด เมอื่ สตุ ตนั ตะ ทง้ั หลาย ทก่ี วแี ตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คา� รอ้ ยกรองประเภทกาพยก์ ลอน มอี กั ษร สละสลวย มพี ยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอื่ งนอกแนว เปน็ คา� กลา่ วของสาวก อนั บคุ คลนา� มากลา่ วอยู่ กไ็ มฟ่ งั ดว้ ยดี ไมเ่ งย่ี หฟู งั ไมเ่ ขา้ ไปตงั้ จติ เพอ่ื จะ รทู้ วั่ ถงึ และไมส่ า� คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทต่ี นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น สว่ น สตุ ตนั ตะ เหลา่ ใด อนั เปน็ ตถาคตภาษติ อนั ลกึ ซง้ึ มอี รรถอนั ลกึ ซง้ึ เปน็ โลกตุ ตระ ประกอบดว้ ยเรอ่ื งสญุ ญตา เมอ่ื มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ น ี้ มากลา่ วอย ู่ พวก

เธอยอ่ มฟงั ดว้ ยด ี ยอ่ มเงย่ี หฟู งั ยอ่ มเขา้ ไปตง้ั จติ เพอ่ื จะรทู้ วั่ ถงึ และ ยอ่ มสา� คญั วา่ เปน็ สงิ่ ทคี่ วรศกึ ษาเลา่ เรยี น พวกเธอเลา่ เรยี นธรรมทเ่ี ปน็ ตถาคตภาษติ นน้ั แลว้ กส็ อบถามซง่ึ กนั และกนั ทา� ใหเ้ ปดิ เผยแจม่ แจง้ ออก มาวา่ ขอ้ นพ้ี ยญั ชนะเปน็ อยา่ งไร อรรถะเปน็ อยา่ งไร ดงั น้ี เธอเหลา่ นนั้ เปดิ เผยสง่ิ ทยี่ งั ไมเ่ ปดิ เผยได้ หงายของทคี่ วา่� อยใู่ หห้ งายขนึ้ ได้ บรรเทา ความสงสยั ในธรรมทง้ั หลายอนั เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ความสงสยั มอี ยา่ งตา่ งๆ ได.้ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! นเี้ ราเรยี กวา่ ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า ปรสิ า โน อกุ กาจติ วนิ ตี า. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! เหลา่ นแี้ ลบรษิ ทั ๒ จา� พวกนน้ั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บรษิ ทั ทเี่ ลศิ ในบรรดาบรษิ ทั ทง้ั สองพวกนนั้ คอื บรษิ ทั ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า ปรสิ า โน อกุ กาจติ วนิ ตี า (บรษิ ทั ทอ่ี าศยั การสอบสวนทบทวนกนั เอาเอง เปน็ เครอื่ งนา� ไป ไมอ่ าศยั ความเชอ่ื จากบคุ คลภายนอกเปน็ เครอ่ื งนา� ไป) แล. ๖. ทรงหา้ มบัญญัติเพ่ิมหรือตดั ทอนสงิ่ ท่บี ัญญัตไิ ว้ -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๙๐/๗๐. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษทุ งั้ หลาย จกั ไมบ่ ญั ญตั สิ งิ่ ทไี่ มเ่ คยบญั ญตั ิ จกั ไมเ่ พกิ ถอนสงิ่ ทบ่ี ญั ญตั ไิ วแ้ ลว้ จกั สมาทานศกึ ษาในสกิ ขาบททบี่ ญั ญตั ไิ ว้ แลว้ อยา่ งเครง่ ครดั อยเู่ พยี งใด ความเจรญิ กเ็ ปน็ สง่ิ ทภ่ี กิ ษทุ ง้ั หลายหวงั ได้ ไมม่ คี วามเสอ่ื มเลย อยเู่ พยี งนนั้ . ๗. ส�านึกเสมอว่าตนเองเปน็ เพียงผู้เดินตามพระองคเ์ ท่านนั้ ถงึ แม้จะเปน็ อรหันตผ์ ู้เลศิ ทางปัญญากต็ าม -บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๘๒/๑๒๖. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ตถาคตผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ ไดท้ า� มรรคทยี่ งั ไมเ่ กดิ ใหเ้ กดิ ขน้ึ ไดท้ า� มรรคทย่ี งั ไมม่ ใี ครรใู้ หม้ คี นรู้ ไดท้ า� มรรคทย่ี งั ไมม่ ี ใครกลา่ วใหเ้ ปน็ มรรคทก่ี ลา่ วกนั แลว้ ตถาคตเปน็ ผรู้ มู้ รรค (มคคฺ ญญฺ )ู เปน็ ผรู้ แู้ จง้ มรรค (มคคฺ วทิ )ู เปน็ ผฉู้ ลาดในมรรค (มคคฺ โกวโิ ท). ภิกษุทั้งหลาย ! สว่ นสาวกทงั้ หลายในกาลน ้ี เปน็ ผเู้ ดนิ ตามมรรค (มคคฺ านคุ า) เปน็ ผตู้ ามมา ในภายหลงั .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! นแ้ี ล เปน็ ความผดิ แผกแตกตา่ งกนั เปน็ ความมงุ่ หมาย ทแ่ี ตกตา่ งกนั เปน็ เครอื่ งกระทา� ใหแ้ ตกตา่ งกนั ระหวา่ งตถาคตผอู้ รหนั ต- สัมมาสมั พุทธะ กบั ภิกษผุ ้ปู ัญญาวมิ ตุ ต.ิ ๘. ตรัสไวว้ า่ ให้ทรงจ�าบทพยัญชนะและค�าอธิบายอยา่ งถูกตอ้ ง พร้อมขยนั ถา่ ยทอดบอกสอนกันตอ่ ไป -บาลี จตุกกฺ . อ.ํ ๒๑/๑๙๗/๑๖๐. ภิกษทุ งั้ หลาย ! พวกภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น ้ี เลา่ เรยี นสตู รอนั ถอื กนั มาถกู ดว้ ยบทพยญั ชนะทใี่ ชก้ นั ถกู ความหมายแหง่ บทพยญั ชนะทใ่ี ชก้ นั กถ็ กู ยอ่ มมนี ยั อนั ถกู ตอ้ งเชน่ นน้ั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นเี่ ปน็ มลู กรณที หี่ นงึ่ ซงึ่ ทา� ใหพ้ ระสทั ธรรมตงั้ อยไู่ ดไ้ มเ่ ลอะเลอื นจนเสอ่ื มสญู ไป... ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! พวกภกิ ษเุ หลา่ ใด เปน็ พหสุ ตู คลอ่ งแคลว่ ในหลกั พระพทุ ธวจน ทรงธรรม ทรงวนิ ยั ทรงมาตกิ า (แมบ่ ท) พวกภกิ ษเุ หลา่ นนั้ เอาใจใส ่ บอกสอน เนอ้ื ความแหง่ สตู รทงั้ หลายแกค่ นอน่ื ๆ เมอื่ ทา่ นเหลา่ นน้ั ลว่ งลบั ไป สตู รทง้ั หลาย กไ็ มข่ าดผเู้ ปน็ มลู ราก (อาจารย)์ มที อ่ี าศยั สบื กนั ไป. ภิกษุท้ังหลาย ! น่ีเป็น มูลกรณีท่ีสาม ซ่ึงท�าให้พระสัทธรรมต้ังอยู่ได้ ไมเ่ ลอะเลอื นจนเสอ่ื มสญู ไป... *** ในที่นี้ยกมา ๒ นัย จาก ๔ นัย ของมูลเหตุส่ีประการ ที่ท�าให้พระสัทธรรมตั้งอยู่ได้ ไม่เลอะเลือนจนเส่ือมสูญไป ๙. ทรงบอกวิธีแกไ้ ขความผิดเพ้ยี นในคา� สอน -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๔๔/๑๑๓-๖. ๑. (หากม)ี ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นก้ี ลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ผมู้ อี ายุ ! ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั รบั มาเฉพาะพระพกั ตรพ์ ระผมู้ พี ระภาควา่ “นเ้ี ปน็ ธรรม นเ้ี ปน็ วนิ ยั นเี้ ปน็ คา� สอนของพระศาสดา”... ๒. (หากม)ี ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นก้ี ลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ในอาวาสชอ่ื โนน้ มี สงฆอ์ ยพู่ รอ้ มดว้ ยพระเถระ พรอ้ มดว้ ยปาโมกข์ ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั มาเฉพาะ หนา้ สงฆน์ นั้ วา่ “นเี้ ปน็ ธรรม นเ้ี ปน็ วนิ ยั นเี้ ปน็ คา� สอนของพระศาสดา”...

๓. (หากม)ี ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นกี้ ลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ในอาวาสชอื่ โนน้ มี ภกิ ษผุ เู้ ปน็ เถระอยจู่ า� นวนมาก เปน็ พหสุ ตู เรยี นคมั ภรี ์ ทรงธรรม ทรงวนิ ยั ทรงมาตกิ า ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั มาเฉพาะหนา้ พระเถระเหลา่ นน้ั วา่ “นเี้ ปน็ ธรรม นเี้ ปน็ วนิ ยั นเี้ ปน็ คา� สอนของพระศาสดา”... ๔. (หากม)ี ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นก้ี ลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ในอาวาสชอ่ื โนน้ มี ภกิ ษผุ เู้ ปน็ เถระอยรู่ ปู หนง่ึ เปน็ พหสุ ตู เรยี นคมั ภรี ์ ทรงธรรม ทรงวนิ ยั ทรงมาตกิ า ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั มาเฉพาะหนา้ พระเถระรปู นน้ั วา่ “นเ้ี ปน็ ธรรม นเ้ี ปน็ วนิ ยั นเ้ี ปน็ คา� สอนของพระศาสดา”... เธอทง้ั หลายยงั ไมพ่ งึ ชนื่ ชม ยงั ไมพ่ งึ คดั คา้ นคา� กลา่ วของผนู้ น้ั พงึ เรยี น บทและพยญั ชนะเหลา่ นน้ั ใหด้ ี แลว้ พงึ สอบสวนลงในพระสตู ร เทยี บเคยี ง ดใู นวนิ ยั ถ้าบทและพยัญชนะเหล่านั้น สอบลงในสูตรก็ไม่ได้ เทียบเข้าใน วินัยก็ไม่ได้ พึงลงสันนิษฐานว่า “น้ีมิใช่พระด�ารัสของพระผู้มีพระภาค พระองคน์ นั้ แนน่ อน และภกิ ษนุ รี้ บั มาผดิ ” เธอทงั้ หลาย พงึ ทง้ิ คา� นนั้ เสยี ถา้ บทและพยญั ชนะเหลา่ นนั้ สอบลงในสตู รกไ็ ด ้ เทยี บเขา้ ในวนิ ยั กไ็ ด ้ พงึ ลงสนั นษิ ฐานวา่ “นเ้ี ปน็ พระดา� รสั ของพระผมู้ พี ระภาคพระองคน์ นั้ แนน่ อน และภกิ ษนุ นั้ รบั มาดว้ ยด”ี เธอทงั้ หลาย พงึ จา� มหาปเทส... นไี้ ว.้ ๑๐. ทรงตรสั แกพ่ ระอานนท ์ ให้ใชธ้ รรมวนิ ยั ท่ีตรสั ไวเ้ ป็นศาสดาแทนตอ่ ไป -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๗๘/๑๔๑. -บาลี ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓. -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๒๑๗/๗๔๐. อานนท์ ! ความคิดอาจมีแก่พวกเธออย่างน้ีว่า ‘ธรรมวินัยของ พวกเรามีพระศาสดาล่วงลับไปเสียแล้ว พวกเราไม่มีพระศาสดา’ ดังนี้. อานนท์ ! พวกเธออยา่ คิดอย่างนนั้ . อานนท์ ! ธรรมก็ดี วนิ ัยก็ดี ทเ่ี รา แสดงแล้ว บญั ญัติแลว้ แก่พวกเธอท้ังหลาย ธรรมวนิ ัยน้ัน จกั เป็น ศาสดาของพวกเธอทง้ั หลาย โดยกาลลว่ งไปแหง่ เรา.