Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธวจน "มรรควิธีที่ง่าย"

Description: พุทธวจน "มรรควิธีที่ง่าย"

Search

Read the Text Version

พุทธวจน

กสั สป ! หนทางนนั้ เป็ นอย่างไร ? ปฏิปทานน้ั เป็ นอย่างไรเล่า ? หนทางนนั้ คือ หนทางอนั ประเสริฐ ประกอบดว้ ยองคแ์ ปดประการ, ไดแ้ ก่สิ่งเหล่าน้ีคือ สมั มาทิฏฐิ สมั มาสงั กปั ปะ สมั มาวาจา สมั มากมั มนั ตะ สมั มาอาชีวะ สมั มาวายามะ สมั มาสติ สมั มาสมาธิ. -บาลี สี. ท.ี ๙/๒๐๙/๒๖๕.

พุทธวจน ภิกษุทง้ั หลาย ! เราจกั แสดง ปฏิปทาเป็ นท่ีสบายแก่การบรรลุนิพพาน มรรค งา่ ยแก่พวกเธอ พวกเธอจงฟัง จงทา� ในใจวใหธิ ด้ ที ี เร่ี าจกั กล่าว. ภิกษุทง้ั หลาย ! ปฏิปทภาเิกปษ็ นุททงั้ ่ีสหบลาายลยแ!ะกภ่กนิการันษบุใรนทรกลิรุนจณิพีนิตพ้ี าหนนลนั้ ุดเปพ็ นอน้ ย่างไรเล ซยยยึง่ ่่่อออผมมมปู้ เเเกหหหฏัส็็็นนนบิ สซซซัตปึึึ่่่งงงิตจรจาปูกก!ัั มทขษแง้ัุวุหหิญลนลว้ ญทายาาจณงักมรอี ู้ ไยดู่ เ้ อปงฏปิ จทกั าเมหีอ็นยวววได่่่าาาู่ ไไไเ้ มมมอ่่่เเเงททท.ีีี่่่ยยยงงง ย่อมเห็นซึ่งจกั ข-ุสบามัลี ผส.ี สั ท.ี ๙/๒๐๙-๒๑๐/๒๖๕. ว่าไม่เที่ยง ย่อมเห็นซึ่งเวทนา อนั เป็ นสขุ เป็ นทกุ ข์ ว่าไม่เที่ยง. หรือไม่สขุ ไม่ทกุ ข์ ท่ีเกิดข้ึนเพราะจกั ขุสมั ผสั เป็ นปัจจยั (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และมนะ ก็ไดต้ รัสตอ่ ไป ดว้ ยข้อความอย่างเดียวกนั ทกุ ตัวอกั ษร ตา่ งกันแตช่ ื่อเท่านนั้ ) ภิกษุทง้ั หลาย ! น้ีแล คือปฏิปทาเป็ นท่ีสบาย แก่การบรรลุนิพพานนนั้ . -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๖๗/๒๓๒.



พทุ ธวจน -หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ ๔ฉบับ มรรควิธีท่ีง่าย พุทธวจนสถาบัน รว่ มกนั มงุ่ มน่ั ศกึ ษา ปฏบิ ตั ิ เผยแผค่ �ำ ของตถาคต

พุทธวจน ฉบบั ๔ มรรควธิ ที ง่ี า่ ย ข้อมูลธรรมะนี้ จัดทำ�เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาสู่สาธารณชน เป็นธรรมทาน ลขิ สทิ ธิใ์ นตน้ ฉบบั น้ีได้รบั การสงวนไว้ ในการจะจดั ท�ำ หรือเผยแผ่ โปรดใช้ความละเอียดรอบคอบ เพอื่ รกั ษาความถกู ต้องของขอ้ มูล ให้ขออนุญาตเปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร และปรกึ ษาดา้ นข้อมูลในการจดั ท�ำ เพ่ือความสะดวกและประหยดั ตดิ ตอ่ ไดท้ ี่ มลู นธิ ิพุทธโฆษณ ์ โทรศพั ท ์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔ มลู นธิ พิ ทุ ธวจน โทรศพั ท์ ๐๘ ๑๔๕๗ ๒๓๕๒ คุณศรชา โทรศัพท ์ ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ คณุ อารีวรรณ โทรศัพท์ ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘ ปีทพี่ ิมพ์ ๒๕๖๓ ศิลปกรรม ปรญิ ญา ปฐวินทรานนท์, วชิ ชุ เสรมิ สวสั ด์ศิ รี, ณรงค์เดช เจริญปาละ จดั ทำ�โดย มูลนธิ พิ ทุ ธโฆษณ์ (เวบ็ ไซต์ www.buddhakos.org)

มลู นธิ ิพทุ ธโฆษณ์ เลขท่ี ๒๙/๓ หมูท่ ี่ ๗ ต�ำ บลบงึ ทองหลาง อ�ำ เภอลำ�ลกู กา จังหวัดปทมุ ธานี ๑๒๑๕๐ โทรศพั ท์ /โทรสาร ๐ ๒๕๔๙ ๒๑๗๕ เวบ็ ไซต์ : www.buddhakos.org

อกั ษรย่อ เพ่อื ความสะดวกแก่ผู้ท่ียงั ไมเ่ ข้าใจเรื่องอกั ษรย่อ ทใี่ ชห้ มายแทนชอื่ คมั ภรี ์ ซึ่งมอี ย่โู ดยมาก มหาวิ. ว.ิ มหาวภิ ังค ์ วนิ ัยปิฎก. ภิกฺขนุ .ี ว.ิ ภกิ ขนุ ีวภิ ังค์ วินยั ปิฎก. มหา. วิ. มหาวรรค วินยั ปฎิ ก. จุลฺล. วิ. จุลวรรค วินัยปิฎก. ปรวิ าร. ว.ิ ปรวิ ารวรรค วินัยปฎิ ก. สี. ที. สลี ขันธวรรค ทฆี นิกาย. มหา. ท.ี มหาวรรค ทฆี นิกาย. ปา. ท.ี ปาฏิกวรรค ทฆี นิกาย. มู. ม. มลู ปณั ณาสก์ มัชฌิมนิกาย. ม. ม. มัชฌิมปัณณาสก์ มชั ฌิมนิกาย. อปุ ริ. ม. อปุ รปิ ัณณาสก์ มัชฌมิ นิกาย. สคาถ. ส.ํ สคาถวรรค สงั ยุตตนิกาย. นิทาน. สํ. นทิ านวรรค สังยุตตนกิ าย. ขนธฺ . สํ. ขนั ธวารวรรค สงั ยตุ ตนกิ าย. สฬา. สํ. สฬายตนวรรค สงั ยุตตนกิ าย. มหาวาร. สํ. มหาวารวรรค สงั ยุตตนิกาย. เอก. อ.ํ เอกนิบาต องั คุตตรนิกาย. ทุก. อ.ํ ทกุ นบิ าต องั คุตตรนกิ าย. ติก. อ.ํ ติกนิบาต อังคุตตรนิกาย. จตกุ ฺก. อํ. จตุกกนบิ าต องั คุตตรนิกาย.

ปญฺจก. อํ. ปญั จกนิบาต อังคตุ ตรนกิ าย. ฉกกฺ . อํ. ฉักกนบิ าต องั คตุ ตรนิกาย. สตฺตก. อํ. สัตตกนบิ าต อังคุตตรนกิ าย อฏฺ ก. อ.ํ อัฏฐกนิบาต องั คตุ ตรนกิ าย. นวก. อํ. นวกนิบาต อังคุตตรนิกาย. ทสก. อ.ํ ทสกนิบาต องั คตุ ตรนิกาย. เอกาทสก. อํ. เอกาทสกนบิ าต อังคุตตรนิกาย. ข.ุ ขุ. ขุททกปาฐะ ขุททกนิกาย. ธ. ข.ุ ธรรมบท ขทุ ทกนกิ าย. อ.ุ ข.ุ อทุ าน ขทุ ทกนกิ าย. อติ วิ .ุ ขุ. อิตวิ ุตตกะ ขทุ ทกนิกาย. สุตฺต. ขุ. สตุ ตนิบาต ขทุ ทกนิกาย. วิมาน. ข.ุ วมิ านวตั ถุ ขุททกนกิ าย. เปต. ขุ. เปตวตั ถุ ขทุ ทกนิกาย. เถร. ข.ุ เถรคาถา ขทุ ทกนิกาย. เถรี. ข.ุ เถรีคาถา ขุททกนิกาย. ชา. ข.ุ ชาดก ขุททกนกิ าย. มหานิ. ข.ุ มหานิทเทส ขุททกนกิ าย. จฬู น.ิ ขุ. จูฬนทิ เทส ขุททกนิกาย. ปฏสิ มฺ. ขุ. ปฏสิ ัมภิทามรรค ขุททกนิกาย. อปท. ข.ุ อปทาน ขุททกนกิ าย. พุทธฺ ว. ขุ. พุทธวงส์ ขทุ ทกนิกาย. จริยา. ขุ. จริยาปฎิ ก ขุททกนกิ าย ตวั อย่าง : ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ใหอ้ ่านว่า ไตรปิฎกฉบบั สยามรัฐ เล่ม ๑๔ หน้า ๑๗๑ ขอ้ ที่ ๒๔๕



คำ�อนโุ มทนา ขออนุโมทนา ในกุศลเจตนาคร้ังน้ีเป็นอย่างยิ่ง ที่ได้สร้างเหตุปัจจยั อันเปน็ ไปเพ่ือความเจรญิ และความ มอี ายยุ นื ยาวแหง่ พทุ ธวจน ดว้ ยการสบื สายถา่ ยทอดค�ำ สอน ทอ่ี อกจากพระโอษฐข์ องพระองคเ์ อง ในสว่ นมรรควธิ ที ง่ี า่ ย เพื่อความเข้าถึงมรรคผลอย่างสะดวกและรวดเร็ว สมดัง พุทธประสงค์ที่ต้องการให้มีผู้นำ�คำ�สอนของพระองค์ไป ศกึ ษาประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ เพง่ พสิ จู นข์ อ้ อรรถขอ้ ธรรม เพอื่ ให้ เหน็ แจง้ เปน็ ปจั จตั ตงั และขยนั ในการถา่ ยทอดบอกสอนกนั ร่นุ ตอ่ รนุ่ สบื ๆ กันไป ดว้ ยเหตทุ ไี่ ดก้ ระท�ำ มาแลว้ น้ี ขอจงเปน็ พลวปจั จยั ให้ผู้มีส่วนร่วมในการทำ�หนังสือและผู้ที่ได้อ่านศึกษา พึงได้ดวงตาเห็นธรรม สำ�เร็จผลยังพระนิพพาน สมดัง ความปรารถนาทไ่ี ด้สรา้ งมาอยา่ งดแี ลว้ ดว้ ยเทอญ. ขออนุโมทนา ภกิ ขุคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล



สารบญั มรรควธิ ีทง่ี า่ ย 1 คำ�นำ�2 การละนนั ทิ  7 1. ภพแมช้ ว่ั ขณะดีดนิว้ มือกย็ ังนา่ รังเกยี จ 8 2. ผูเ้ ข้าไปหา เปน็ ผู้ไม่หลุดพ้น 9 ผไู้ ม่เขา้ ไปหา ยอ่ มเปน็ ผหู้ ลุดพน้  12 16 3. จิตมีตัณหา เรยี กวา่ อย่สู องคน จิตไม่มตี ณั หา เรยี กว่าอยคู่ นเดยี ว 4. พรหมจรรยน์ ี้ อันบุคคลยอ่ มประพฤติ เพื่อการละขาดซงึ่ ภพ 5. ส้ินนันทิ สนิ้ ราคะ ก็สน้ิ ทุกข์ 19 6. ความดับทุกข์มี เพราะความดับไปแหง่ ความเพลนิ (นนั ท)ิ  21 กายคตาสติ23 7. กายคตาสติ เปน็ เสาหลกั เสาเขื่อนอยา่ งดีของจิต 24 ลกั ษณะของผ้ไู ม่ตง้ั จติ ในกายคตาสติ 24 ลักษณะของผู้ตง้ั จติ ในกายคตาสติ 26 8. กระดองของบรรพชติ  29 9. ต้งั จติ ในกายคตาสติ เสมือนบุรุษผ้ถู อื หม้อน�ำ้ มนั  32

อานาปานสติ 35 10. อานสิ งสส์ งู สุดแหง่ อานาปานสติ ๒ ประการ 36 11. เจรญิ อานาปานสติ เป็นเหตุให้ 40 สติปฏั ฐาน ๔ โพชฌงค์ ๗ วิชชาและวิมตุ ตบิ รบิ รู ณ์ 40 อานาปานสตบิ ริบูรณ์ ย่อมท�ำ สตปิ ัฏฐานใหบ้ ริบรู ณ์ 4๑ สติปัฏฐานบริบูรณ์ ย่อมทำ�โพชฌงคใ์ หบ้ ริบรู ณ์ 47 โพชฌงคบ์ รบิ รู ณ์ ย่อมทำ�วิชชาและวิมุตตใิ ห้บรบิ ูรณ์ ๕๑ ปฏิปทาเปน ท่สี บายแกการบรรลุ “นิพพาน” 53 12. ปฏปิ ทาเปน็ ที่สบายแก่การบรรลุนพิ พาน (นัยที่ ๑) 54 13. ปฏปิ ทาเป็นที่สบายแก่การบรรลนุ ิพพาน (นยั ท่ี ๒) 56 14. ปฏิปทาเป็นท่ีสบายแก่การบรรลุนพิ พาน (นัยท่ี ๓) 58 15. ปฏปิ ทาเป็นทส่ี บายแกก่ ารบรรลนุ พิ พาน (นยั ท่ี ๔) 60 16. กระจายเสีย ซึง่ ผัสสะ 63 17. เจริญอรยิ มรรคมีองค์ ๘ ด้วยวธิ ีลัด 68 18. เม่ือไม่มีมา ไมม่ ไี ป ยอ่ มไม่มเี กิด และไมม่ ีดบั  71 สกั แตว า...  73 19. สกั แตว่ ่า... (นัยที่ ๑) 74 20. สกั แตว่ ่า... (นัยที่ ๒) 75 สตปิ ฏฐาน ๔  79 21. มสี ติ มสี ัมปชัญญะ รอคอยการตาย 80

การละอวิชชาโดยตรง 85 22. ธรรมทั้งปวง ไมค่ วรยึดมั่น 86 23. การเหน็ ซึ่งความไมเ่ ที่ยง 89 ปฏปิ ทาเพ่อื บรรลมุ รรคผลของคนเจบ็ ไข 91 และบคุ คลทวั่ ไป  92 24. ปฏปิ ทาเพอ่ื บรรลมุ รรคผลของคนเจ็บไข้ 94 25. ปฏิปทาเพ่ือบรรลมุ รรคผลของบคุ คลท่ัวไป (นัยที่ ๑) 96 26. ปฏิปทาเพ่ือบรรลมุ รรคผลของบุคคลทว่ั ไป (นยั ที่ ๒) 98 27. ปฏปิ ทาเพื่อบรรลุมรรคผลของบคุ คลท่วั ไป (นัยท่ี ๓) 100 28. ปฏปิ ทาเพื่อบรรลมุ รรคผลของบคุ คลท่ัวไป (นัยที่ ๔) สมั มาสังกัปปะ (ความดํารชิ อบ) 105 29. ผ้มู คี วามเพยี รตลอดเวลา 106 30. ผูเ้ กียจครา้ นตลอดเวลา 109 ปฏิปทาของการสิน้ อาสวะ ๔ แบบ 113 31. ปฏิปทาของการสิน้ อาสวะ ๔ แบบ 114 แบบปฏิบัติลำ�บาก รไู้ ดช้ ้า115 แบบปฏิบัตลิ �ำ บาก ร้ไู ด้เรว็ 116 แบบปฏิบัติสบาย รไู้ ด้ช้า117 แบบปฏบิ ัตสิ บาย ร้ไู ดเ้ รว็ 118



มรรควิธีที่ง่าย

ค�ำน�ำ ปฏเิ สธไมไ่ ดว้ า่ ในยคุ แหง่ เทคโนโลยขี อ้ มลู ขา่ วสาร ทผ่ี คู้ นแขง่ กนั รใู้ หไ้ ดเ้ รว็ ทส่ี ดุ ไวก้ อ่ นนน้ั ไดน้ �ำ พาสงั คมไปสู่ วถิ ชี วี ติ ทเ่ี สพตดิ ในความงา่ ยเรว็ ลดั ของขน้ั ตอนการเรยี นรู้ โดยละทง้ิ ความถกู ตอ้ งตรงจรงิ ในการรนู้ น้ั ไวเ้ ปน็ อนั ดบั รอง ในแวดวงของชาวพุทธยุคใหม่ แม้ในส่วนท่ีมี ปญั ญาพอเหน็ โทษภยั ในทกุ ข์ มจี ติ นอ้ มไปในการภาวนาแลว้ กย็ งั ไมพ่ น้ ทจี่ ะมกี ารพูดถงึ เก่ยี วกับ มรรควธิ ที งี่ ่าย ลดั ส้ัน ปัญหามอี ยู่… คอื การหมายรู้ ในค�ำ ว่า “ง่าย” โดยในแง่ที่คนส่วนใหญ่เข้าใจนั้น มีความหมาย ไม่ตรงกับรายละเอียดในมรรควิธีที่ง่าย ซึ่งบัญญัติโดย พระตถาคต เมื่อนิยามตั้งต้นไม่ตรงกันเสียแล้ว จะต้อง กล่าวไปไยในรายละเอยี ดอ่ืนๆ ทตี่ ามมา เม่ือพูดถึงค�ำ ว่า “ง่าย” โดยท่วั ไป มักจะถูกเขา้ ใจ ในลกั ษณะวา่ เปน็ อะไรสกั อยา่ งทไ่ี ดม้ าโดยไมม่ ขี น้ั ตอนยาก ได้มาโดยไม่ต้องลงแรง โดยไม่ต้องใช้ความพยายามมาก

ใช้การขวนขวายนอ้ ย ใช้ขอ้ มูลนอ้ ย ใชก้ ารใครค่ รวญนอ้ ย ใช้การกระทำ�นอ้ ย …กระท่ังไม่ต้องท�ำ อะไรเลย ในขณะที่ปฏิปทา (วิธีการกระทำ�เพื่อให้ได้มา) ทน่ี �ำ ไปสกู่ ารบรรลมุ รรคผล ซง่ึ พระพทุ ธองคไ์ ดท้ รงอธบิ าย ไวน้ นั้ ประกอบด้วยหลกั การทว่ี างตอ่ กันอยู่ ๒ ส่วน คอื ๑. สว่ นของมรรควิธีที่เลอื กมาใช้ ซง่ึ เปน็ ตวั ก�ำ หนด ระดบั ความสบายในการปฏบิ ตั ิ ๒. สว่ นของเหตุในความเรว็ ชา้ ในการบรรลุ ซง่ึ แปรผนั ตามระดบั ความออ่ นแกข่ องอนิ ทรยี ห์ า้ ในสว่ นแรก คอื มรรควธิ ที เ่ี ลอื กมาใชน้ นั้ ทรงแบง่ ออกไว้เป็นสองแบบคือ ทุกขาปฏิปทา และ สุขาปฏิปทา ทกุ ขาปฏปิ ทา คอื มรรควธิ ที ไ่ี มไ่ ดส้ ขุ วหิ ารในขน้ั ตอนปฏบิ ตั ิ เพราะเนน้ การใชท้ กุ ขเ์ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการรแู้ จง้ ซงึ่ อรยิ สจั ส่วนสุขาปฏิปทา คือการอาศัยสุขเป็นเครื่องมือในการรู้ ผปู้ ฏบิ ตั จิ งึ ไดส้ ขุ วหิ ารไปดว้ ยในระหวา่ งปฏบิ ตั เิ พอ่ื สนิ้ ทกุ ข์ ในสว่ นของเหตทุ บ่ี รรลเุ รว็ หรอื ชา้ นน้ั คอื อนิ ทรยี ห์ า้ (ศรทั ธา วริ ยิ ะ สติ สมาธิ ปญั ญา)

ผู้มีศรัทธาในตถาคตมาก (อินทรีย์ คอื ศรัทธา) ก็ย่อมจะเช่ือในพุทธปัญญาญาณ ย่อมจะศึกษา ทรงจำ� สั่งสมสุตะเฉพาะที่เป็นพุทธวจนไว้มาก จึงรู้แง่มุมของจิต และวธิ กี ารปฏิบตั ทิ ี่ถกู ต้องไวม้ าก บคุ คลผมู้ ปี ญั ญาเหน็ ไดเ้ รว็ (อนิ ทรยี ์ คอื ปญั ญา) เลือกหนทางท่ีสะดวก ก็ย่อมจะไปถึงจุดหมายได้เร็วกว่า แม้รู้หนทางท่ถี กู แล้ว แต่เพียรนอ้ ย (อนิ ทรีย์ คอื วริ ยิ ะ) มไิ ด้ปฏิบตั ธิ รรมให้สมควรแก่ธรรม ฝึกสตนิ อ้ ย ทิ้งสมาธิ เหินห่างจากฌาน กย็ อ่ มถงึ ทีห่ มายได้ชา้ …ดังน้ี เป็นตน้ อกี ทัง้ แง่มุมท่คี วรใหค้ วามส�ำ คัญวา่ เปน็ มรรควิธี ท่ีง่ายคือ ส่ิงที่พระตถาคตทรงแสดงสอนบ่อยๆ, บอก ตรงๆ วา่ เป็นวธิ ที ีส่ ะดวกต่อการเขา้ มรรคผล, ทรงใช้บอก สอนกับคนชราคนเจ็บป่วย ใกล้ตาย มีกำ�ลังน้อย มีเวลา ในชีวิตเหลือน้อย คือ มรรควิธีที่ตรัสบอกถึงอานิสงส์ไว้ มากกว่ามรรควธิ อี น่ื ๆ ดังน้นั มรรควิธีท่งี ่าย จึงไม่ใช่ว่า ง่าย ในแบบท่ี เข้าใจกันว่าใช้ความพยายามน้อย ใช้การกระทำ�น้อย ขวนขวายนอ้ ยแตง่ า่ ย ตามเหตปุ จั จยั อนั สมควรแกก่ รณนี น้ั ๆ

ภายใต้ขีดจำ�กัดของสาวก ซึ่งพระพุทธองค์ ทรงยนื ยนั วา่ แมอ้ รหนั ตผ์ ปู้ ญั ญาวมิ ตุ ติ ตา่ งกเ็ ปน็ ไดเ้ พยี ง แคม่ คั คานคุ า (ผเู้ ดนิ ตามมรรคมาทหี ลงั ) จงึ ไมแ่ ปลกทเ่ี รา จะไดร้ ไู้ ดฟ้ งั การอธบิ ายแจงแจกมรรควธิ ที ง่ี า่ ย ตามแบบของ สาวกในรปู แบบตา่ งๆ กนั ไป ซง่ึ ตรงกนั บา้ ง ไมต่ รงกนั บา้ ง และไมส่ ามารถน�ำ มาใชอ้ า้ งองิ เปน็ หลกั มาตรฐานได้ หากเปรยี บการบรรลมุ รรคผล คอื การถงึ จดุ หมาย หนงั สอื เลม่ น้ี คอื แผนท่ี ซง่ึ เขยี นโดยมคั คโกวโิ ท (ผฉู้ ลาดใน มรรค คอื พระตถาคต) และชาวพทุ ธตอ้ งหนั กลบั มาใชแ้ ผนท่ี ฉบบั ถูกต้องนี้ เป็นมาตรฐานเดยี วเหมือนครง้ั พุทธกาล คณะผจู้ ัดพมิ พห์ นงั สือเลม่ น้ี ขอนอบน้อมสกั การะ ต่อ ตถาคต ผอู้ รหนั ตสมั มาสัมพุทธะ และ ภิกษสุ าวกในธรรมวินยั นี้ ต้ังแตค่ รั้งพทุ ธกาล จนถึงยคุ ปจั จุบนั ที่มสี ว่ นเกีย่ วข้องในการสืบทอดพทุ ธวจน คือ ธรรม และวนิ ัย ทท่ี รงประกาศไว้ บริสุทธ์ิบริบูรณด์ แี ลว้ คณะงานธมั มะ วัดนาป่าพง



การละนันทิ

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ภพแมช้ วั่ ขณะดดี นวิ้ มอื กย็ งั นา่ รงั เกยี จ 01 -บาลี เอก. อ.ํ ๒๐/๔๖/๒๐๓. ภิกษุทง้ั หลาย !   คถู แม้นดิ เดยี ว กเ็ ปน็ ของมกี ลนิ่ เหมน็ ฉนั ใด ภกิ ษทุ ้ังหลาย !   ส่ิงท่ีเรยี กวา่ ภพ (ผลแหง่ ภวตัณหา) กฉ็ ันนน้ั เหมอื นกัน แม้มีประมาณน้อย ชวั่ ลดั นว้ิ มอื เดยี ว ก็ไม่มคี ณุ อะไรทพ่ี อจะกล่าวได.้ (ในสูตรถัดไป ได้ตรัสอุปมาด้วยมูตร ด้วยน้�ำลาย ดว้ ยหนอง ดว้ ยโลหติ โดยท�ำนองเดยี วกนั เอก. อ.ํ ๒๐/๔๖/๒๐๔.). 8

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ผู้เขา้ ไปหา เปน็ ผู้ไม่หลดุ พน้ 02 ผู้ไมเ่ ข้าไปหา ยอ่ มเปน็ ผหู้ ลดุ พ้น -บาลี ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๖/๑๐๕. ภิกษุท้ังหลาย !   ผู้เข้าไปหา เป็นผู้ไม่หลุดพ้น ผูไ้ ม่เขา้ ไปหา เปน็ ผูห้ ลดุ พน้ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   วญิ ญาณ ซง่ึ เขา้ ถอื เอารปู ตง้ั อยู่ ก็ต้ังอยู่ได้  เป็นวิญญาณท่ีมีรูปเป็นอารมณ์  มีรูปเป็น ที่ตั้งอาศัย  มีนันทิ  (ความเพลิน)  เป็นที่เข้าไปส้องเสพ  กถ็ งึ ความเจริญ  งอกงาม  ไพบลู ย ์ ได้ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   วิญญาณ ซ่งึ เข้าถือเอาเวทนา ตั้งอยู่  ก็ต้ังอยู่ได้  เป็นวิญญาณท่ีมีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นท่ีตั้งอาศัย  มีนันทิ  เป็นท่ีเข้าไปส้องเสพ ก็ถงึ ความเจรญิ   งอกงาม  ไพบูลย ์ ได้ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   วิญญาณ ซงึ่ เขา้ ถอื เอาสญั ญา ต้ังอยู่  ก็ตั้งอยู่ได้  เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นท่ีต้ังอาศัย  มีนันทิ  เป็นท่ีเข้าไปส้องเสพ กถ็ ึงความเจรญิ   งอกงาม  ไพบูลย ์ ได้ 9

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   วญิ ญาณ ซึ่ง เขา้ ถือเอาสงั ขาร ต้ังอยู่  ก็ตั้งอยู่ได้  เป็นวิญญาณท่ีมีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นท่ีต้ังอาศัย  มีนันทิเป็นท่ีเข้าไปส้องเสพ  กถ็ งึ ความเจรญิ   งอกงาม  ไพบูลย ์ ได้. ภิกษุท้ังหลาย !   ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างน้ีว่า  “เราจกั บญั ญตั ิ  ซง่ึ การมา  การไป  การจตุ ิ  การอบุ ตั ิ ความเจรญิ ความงอกงาม และความไพบลู ยข์ องวญิ ญาณ โดยเว้นจากรูป  เว้นจากเวทนา  เว้นจากสัญญา  และ เว้นสงั ขาร” ดงั นี้นน้ั   น่ี ไมใ่ ชฐ่ านะทจ่ี กั มไี ดเ้ ลย. ภิกษุท้งั หลาย !   ถา้ ราคะในรปู ธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ  ในสังขารธาตุ  ในวิญญาณธาตุ  เป็นส่ิงที่ ภกิ ษุละไดแ้ ลว้ เพราะละราคะได้ อารมณ์สำ�หรับวิญญาณ ก็ขาดลง ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี. วญิ ญาณอนั ไมม่ ที ต่ี ง้ั นน้ั กไ็ มง่ อกงาม หลดุ พน้ ไป เพราะไมถ่ กู ปรุงแต่ง 10

เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย เพราะหลดุ พน้ ไปกต็ ง้ั มน่ั เพราะตง้ั มน่ั กย็ นิ ดใี น ตนเอง เพราะยนิ ดใี นตนเองกไ็ มห่ วน่ั ไหว เมอ่ื ไมห่ วน่ั ไหวก็ ปรินิพพานเฉพาะตน ยอ่ มรชู้ ดั วา่ “ชาตสิ น้ิ แลว้   พรหมจรรยอ์ ยจู่ บแลว้ กิจท่ีควรทำ�ได้ทำ�สำ�เร็จแล้ว  กิจอ่ืนท่ีจะต้องทำ�เพื่อ ความเปน็ อยา่ งน ี้ มิไดม้ อี กี ” ดงั นี้. 11

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย จิตมีตัณหา เรยี กว่าอยสู่ องคน 03 จติ ไม่มีตณั หา เรยี กวา่ อยูค่ นเดียว -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๔๓–๔๔/๖๖-๖๗. “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ  !   ดว้ ยเหตเุ พยี งเทา่ ไรหนอ ภกิ ษุ จงึ ช่อื ว่า เปน็ ผมู้ กี ารอย่อู ยา่ งมีเพอื่ นสอง พระเจ้าข้า ?”. มคิ ชาละ !   รปู ทง้ั หลายอนั จะพงึ เหน็ ไดด้ ว้ ยจกั ษุ อันเป็นรูปที่น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะ นา่ รกั เปน็ ทเ่ี ขา้ ไปตง้ั อาศยั อยแู่ หง่ ความใคร่ เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ความก�ำ หนดั ยอ้ มใจมอี ย.ู่ ถา้ หากวา่ ภกิ ษยุ อ่ มเพลดิ เพลนิ พร่ำ�สรรเสริญ สยบมวั เมา ซ่งึ รปู นนั้ ไซร้ แกภ่ กิ ษผุ เู้ พลดิ เพลนิ พร�ำ่ สรรเสรญิ สยบ มวั เมา ซง่ึ รปู น้ันอยู่ นนั่ แหละ นนั ทิ (ความเพลนิ ) ยอ่ มเกิดขน้ึ . เม่ือ นันทิ มีอยู่ สาราคะ (ความพอใจอย่างยิ่ง) ย่อมมี เมอ่ื สาราคะ มอี ยู่ สัญโญคะ (ความผูกจติ ติดกับ อารมณ์) ย่อมมี 12

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย มคิ ชาละ !   ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบพรอ้ มแลว้ ดว้ ยการ ผูกจิตตดิ กับอารมณ์ดว้ ยอ�ำ นาจแห่งความเพลนิ นัน่ แล เราเรียกว่า “ผมู้ กี ารอย่อู ย่างมีเพ่ือนสอง”. (ในกรณีแห่งเสียงท้ังหลายอันจะพึงได้ยินด้วยหูก็ดี กล่ินทั้งหลายอันจะพึงดมด้วยจมูกก็ดี รสท้ังหลายอันจะพึงลมิ้ ด้วยลิ้นก็ดี โผฏฐัพพะทั้งหลายอันจะพึงสัมผัสด้วยผิวกายก็ดี และธรรมารมณท์ ง้ั หลายอนั จะพงึ รแู้ จง้ ดว้ ยใจกด็ ี พระผมู้ พี ระภาค เจ้าได้ตรัสไว้มีนัยยะอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูปท้ังหลาย อันจะพึงเหน็ ด้วยจักษ)ุ . มิคชาละ !   ภิกษุผู้มีการอยู่ด้วยอาการอย่างนี้ แมจ้ ะสอ้ งเสพเสนาสนะอนั เปน็ ปา่ และปา่ ชฏั ซง่ึ เงยี บสงดั มเี สยี งรบกวนนอ้ ย มเี สยี งกกึ กอ้ งครกึ โครมนอ้ ย ปราศจาก ลมจากผวิ กายคน เปน็ ทท่ี �ำ การลบั ของมนษุ ย์ เปน็ ทส่ี มควร แก่การหลีกเร้น เช่นนี้แล้ว ก็ตาม ถึงกระนั้น ภิกษุนั้น เราก็ยงั คงเรียกว่า ผมู้ กี ารอยอู่ ยา่ งมเี พื่อนสองอยู่นัน่ เอง. ข้อนน้ั เพราะเหตไุ รเลา่ ? ข้อนน้ั เพราะเหตุว่า ตณั หาน่ันแล เป็นเพอ่ื นสอง ของภิกษุนั้น ตัณหาน้ัน อันภิกษุน้ัน ยังละไม่ได้แล้ว 13

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เพราะเหตุน้นั ภิกษุนั้น เราจงึ เรียกวา่ “ผูม้ กี ารอยู่อย่าง มเี พ่ือนสอง” ดงั น.้ี “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอแล ภกิ ษจุ งึ ชือ่ วา่ เปน็ ผมู้ ีการอยอู่ ยา่ งอยูผ่ ู้เดยี ว พระเจา้ ขา้ ?”. มคิ ชาละ !   รปู ทงั้ หลายอนั จะพงึ เหน็ ไดด้ ว้ ยจกั ษุ เปน็ รูปท่ีนา่ ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ นา่ พอใจ มลี กั ษณะนา่ รกั เปน็ ท่เี ข้าไปต้งั อาศยั อยแู่ หง่ ความใคร่ เป็นทต่ี ง้ั แหง่ ความ กำ�หนัดย้อมใจ มีอยู่ ถ้าหากว่าภิกษุย่อมไม่เพลิดเพลิน ไมพ่ ร่�ำ สรรเสรญิ ไม่สยบ มัวเมา ซึง่ รปู นั้นไซร้ แกภ่ กิ ษผุ ไู้ มเ่ พลดิ เพลนิ ไมพ่ ร�ำ่ สรรเสรญิ ไมส่ ยบ มวั เมา ซง่ึ รปู นน้ั นน่ั แหละ นนั ทิ (ความเพลนิ ) ยอ่ มดบั เม่อื นันทิ ไม่มอี ยู่ สาราคะ (ความพอใจอยา่ งย่ิง) ย่อมไม่มี เม่ือ สาราคะ ไม่มีอยู่ สัญโญคะ (ความผูกจิต ติดกับอารมณ์) ยอ่ มไม่มี มคิ ชาละ !   ภกิ ษุผู้ ไมป่ ระกอบพร้อมแลว้ ด้วย การผูกจิตติดกับอารมณ์ด้วยอำ�นาจแห่งความเพลิน (นนั ท)ิ น่ันแล เราเรยี กว่า “ผมู้ กี ารอยูอ่ ย่างอยู่ผเู้ ดียว”. 14

เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย (ในกรณีแห่งเสียงท้ังหลายอันจะพึงได้ยินด้วยหูก็ดี กลิ่นท้ังหลายอันจะพึงดมด้วยจมูกก็ดี รสท้ังหลายอันจะพึงลม้ิ ด้วยลิ้นก็ดี โผฏฐัพพะทั้งหลายอันจะพึงสัมผัสด้วยผิวกายก็ดี และธรรมารมณท์ งั้ หลายอนั จะพงึ รแู้ จง้ ดว้ ยใจกด็ ี พระผมู้ พี ระภาค เจ้าได้ตรัสไว้มีนัยยะอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่งรูปทั้งหลาย อนั จะพงึ เห็นดว้ ยจกั ษ)ุ . มคิ ชาละ !   ภกิ ษผุ มู้ กี ารอยดู่ ว้ ยอาการอยา่ งนี้ แม้ อย่ใู นหมบู่ ้าน อนั เกลอื่ นกล่นไปดว้ ยภิกษุ ภกิ ษุณี อุบาสก อุบาสิกาทั้งหลาย ด้วยพระราชา มหาอำ�มาตย์ของพระ ราชาทั้งหลาย ด้วยเดียรถีย์ สาวกของเดียรถีย์ทั้งหลาย ก็ตาม ถึงกระนั้น ภิกษุนน้ั เรากเ็ รียกว่า ผมู้ ีการอยูอ่ ยา่ ง อยผู่ ูเ้ ดียวโดยแท้. ข้อนน้ั เพราะเหตไุ รเลา่ ? ข้อน้ันเพราะเหตุว่าตัณหานั่นแล เป็นเพ่ือนสอง ของภิกษุนั้น ตัณหานั้น อันภิกษุนั้น ละเสียได้แล้ว เพราะเหตุนัน้ ภกิ ษุน้ัน เราจึงเรียกว่า “ผูม้ ีการอยู่อย่าง อยผู่ เู้ ดยี ว” ดังนี้ แล. 15

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย พรหมจรรยน์ ้ี อนั บคุ คลยอ่ มประพฤติ 04 เพื่อการละขาดซึง่ ภพ -บาลี อุ. ขุ. ๒๕/๑๒๑-๑๒๓/๘๔. สัตว์โลกน้ี เกิดความเดือดร้อนแล้ว มีผัสสะ บังหนา้ ยอ่ มกลา่ วซงึ่ โรค (ความเสียดแทง) น้ัน โดยความ เป็นตวั เป็นตน. เขาส�ำ คญั สง่ิ ใด โดยความเปน็ ประการใด แตส่ ง่ิ นน้ั ยอ่ มเปน็ (ตามทเ่ี ปน็ จรงิ ) โดยประการอน่ื จากทเ่ี ขาส�ำ คญั นน้ั . สตั วโ์ ลกตดิ ขอ้ งอยใู่ นภพ ถกู ภพบงั หนา้ แลว้ มภี พ โดยความเป็นอย่างอื่น (จากท่ีมันเป็นอยู่จริง) จึงได้ เพลดิ เพลนิ ยง่ิ นกั ในภพนั้น. เขาเพลิดเพลินยิ่งนักในส่ิงใด สิ่งนั้นเป็นภัย (ทีเ่ ขาไม่รจู้ กั ) เขากลัวตอ่ สิ่งใด สง่ิ นั้นก็เปน็ ทกุ ข์. พรหมจรรยน์ ี้ อนั บคุ คลยอ่ มประพฤติ กเ็ พอื่ การ ละขาดซงึ่ ภพ. 16

เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด กล่าวความ หลุดพ้นจากภพว่า มีได้เพราะภพ เรากล่าวว่า สมณะ หรือพราหมณท์ ้งั ปวงนนั้ มิใชผ่ หู้ ลดุ พน้ จากภพ. ถงึ แมส้ มณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ ใด กลา่ วความออก ไปได้จากภพว่า มีได้เพราะวิภพ (ไม่มีภพ) เรากล่าวว่า สมณะหรอื พราหมณท์ ง้ั ปวงนน้ั กย็ งั สลดั ภพออกไปไมไ่ ด.้ ก็ทุกข์นี้มีขนึ้ เพราะอาศัยซึง่ อุปธิทง้ั ปวง. เพราะความสิ้นไปแหง่ อปุ าทานทง้ั ปวง ความเกิดขึน้ แหง่ ทุกข์จงึ ไม่ม.ี ท่านจงดูโลกนี้เถิด (จะเห็นว่า) สัตว์ทั้งหลายอัน อวิชชา (ความไม่รู้) หนาแน่นบังหน้าแล้ว และว่าสัตว์ ผู้ยินดีในภพอันเป็นแล้วนั้น ย่อมไม่เป็นผู้หลุดพ้นไป จากภพได้ กภ็ พทั้งหลายเหล่าหนึ่งเหลา่ ใด อันเปน็ ไปใน ที่หรือในเวลาท้ังปวง เพื่อความมีแห่งประโยชน์โดย ประการทง้ั ปวง ภพทง้ั หลายทง้ั หมดนน้ั ไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทกุ ข์ มคี วามแปรปรวนเปน็ ธรรมดา. 17

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เมื่อบุคคลเห็นอยู่ซ่ึงข้อน้ัน ด้วยปัญญาอันชอบ ตามทเ่ี ปน็ จรงิ อยา่ งนอ้ี ยู่ เขายอ่ มละภวตณั หา (ความอยากมี อยากเปน็ ) ได้ และไมเ่ พลดิ เพลนิ วภิ วตณั หา (ความไมอ่ ยาก) ด้วย. ความดับเพราะความสำ�รอกไม่เหลือ (แห่งภพ ทง้ั หลาย) เพราะความสน้ิ ไปแหง่ ตณั หาโดยประการทง้ั ปวง นน้ั คอื นพิ พาน. ภพใหม่ย่อมไม่มีแก่ภิกษุนั้น ผู้ดับเย็นสนิทแล้ว เพราะไม่มีความยดึ มน่ั . ภิกษุนนั้ เป็นผู้ครอบง�ำ มารไดแ้ ล้ว ชนะสงคราม แล้ว ก้าวล่วงภพทั้งหลายทั้งปวงได้แล้ว เป็นผู้คงท่ี (คอื ไมเ่ ปล่ยี นแปลงอกี ต่อไป) ดังน้ี แล. 18

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย สิ้นนนั ทิ สิ้นราคะ ก็ส้ินทุกข์ 05 -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๑๗๙/๒๔๕-๖. ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   ภิกษเุ หน็ จักษุอันไมเ่ ท่ยี งนนั่ แล ว่าไม่เท่ยี ง ความเหน็ เชน่ นน้ั เปน็ สัมมาทิฏฐิ (การเห็นอยู่ โดยถูกตอ้ ง) ของเธอนัน้ . เมือ่ เหน็ อยู่โดยถูกต้อง ย่อมเบอ่ื หน่าย (สมมฺ า ปสฺสํ นิพฺพนิ ทฺ ติ) เพราะความส้ินไปแหง่ นันทิ จึงมีความส้นิ ไปแหง่ ราคะ (นนทฺ กิ ฺขยา ราคกขฺ โย) เพราะความส้ินไปแห่งราคะ จงึ มีความสิ้นไปแห่งนันทิ (ราคกฺขยา นนทฺ ิกขฺ โย) เพราะความส้นิ ไปแหง่ นนั ทิและราคะ กล่าวไดว้ ่า “จิตหลุดพ้นแลว้ ด้วยดี” ดังนี้. (นนฺทิราคกฺขยา จิตตฺ ํ สุวิมุตตฺ นตฺ ิ วุจฺจต)ิ . 19

พทุ ธวจน - หมวดธรรม (ในกรณีแห่งอายตนะภายในที่เหลืออีก ๕ คือ โสตะ ฆานะ ชวิ หา กายะ มโน และในกรณแี ห่งอายตนะภายนอก ๖ คอื รปู เสยี ง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ก็ตรัสอยา่ งเดียวกันกับ ในกรณีแห่งจักษทุ กุ ประการ). 20

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ความดบั ทกุ ขม์ ี เพราะความดบั ไป 06 แหง่ ความเพลนิ (นนั ท)ิ -บาลี อุปริ. ม. ๑๔/๔๘๑/๗๕๖. ปณุ ณะ !   รปู ทเ่ี หน็ ดว้ ย ตา กด็ ี เสยี ง ทฟ่ี งั ดว้ ย หู ก็ดี กล่ิน ท่ีดมด้วย จมูก ก็ดี รส ที่ล้ิม ด้วย ลิ้น ก็ดี โผฏฐัพพะ ท่ีสัมผัสด้วย กาย ก็ดี ธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้ง ด้วย ใจ กด็ ี อนั เป็นสง่ิ ท่ีนา่ ปรารถนา น่ารักใคร่ นา่ พอใจ เป็นท่ียวนตายวนใจให้รัก เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยู่แห่ง ความใคร่ เปน็ ท่ตี ง้ั แห่งความกำ�หนดั ย้อมใจ มีอยู่ ภกิ ษยุ อ่ มไมเ่ พลดิ เพลนิ ไมพ่ ร�ำ่ สรรเสรญิ ไมเ่ มาหมก ซง่ึ อารมณ์ มรี ปู เปน็ ตน้ นน้ั . เมอ่ื ภกิ ษไุ มเ่ พลดิ เพลนิ ไมพ่ ร�ำ่ สรรเสริญ ไม่เมาหมก ซึ่งอารมณ์ มีรูปเป็นต้นน้ันอยู่ นนั ทิ (ความเพลิน) ยอ่ มดับไป. ปุณณะ !   เรากล่าวว่า “ความดับไม่มีเหลือ ของทกุ ขม์ ไี ด้ เพราะความดบั ไมเ่ หลอื ของความเพลนิ ” ดังนี้ แล. 21



กายคตาสติ

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย กายคตาสติ 07 เปน็ เสาหลกั เสาเขื่อนอยา่ งดขี องจติ -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๒๔๖, ๒๔๘-๒๔๙/๓๔๘, ๓๕๐. ลกั ษณะของผู้ไมต่ ง้ั จิตในกายคตาสติ ภิกษุท้ังหลาย !   เปรียบเหมือนบุรุษจับสัตว์ หกชนิด อันมีท่ีอยู่อาศัยต่างกัน มีท่ีเที่ยวหากินต่างกัน มาผูกรวมกันด้วยเชือกอันมั่นคง คือเขาจับงูมาผูกด้วย เชือกเหนียวเส้นหน่ึง จับจระเข้ จับนก จับสุนัขบ้าน จับสุนัขจ้ิงจอก จับลิง มาผูกด้วยเชือกเหนียวเส้นหน่ึงๆ แลว้ ผกู รวมเขา้ ดว้ ยกนั เปน็ ปมเดยี วในทา่ มกลาง ปลอ่ ยแลว้ . ภิกษุท้ังหลาย !   ครง้ั นน้ั สตั วเ์ หลา่ นน้ั ทง้ั หกชนดิ อนั มที ่อี าศยั และทีเ่ ทย่ี วต่างๆ กัน ก็ยอื้ แย่งฉดุ ดงึ กนั เพ่ือ จะไปสู่ที่อาศัยท่ีเท่ียวของตนๆ งูจะเข้าจอมปลวก จระเขจ้ ะลงน�ำ้ นกจะบนิ ขน้ึ ไปในอากาศ สนุ ขั จะเขา้ บา้ น สนุ ขั จง้ิ จอกจะไปปา่ ชา้ ลงิ กจ็ ะไปปา่ . ครน้ั เหนอ่ื ยลา้ กนั ทง้ั หกสตั วแ์ ลว้ สตั วใ์ ดมกี �ำ ลงั กวา่ สตั วน์ อกนน้ั กต็ อ้ งถกู ลาก ติดตามไปตามอ�ำ นาจของสตั ว์นนั้ ขอ้ นีฉ้ นั ใด 24

เปิดธรรมที่ถกู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุใด ไม่อบรมทำ�ให้มาก ในกายคตาสติแล้ว ตา ก็จะฉุดเอาภิกษุนั้นไปหารูป ทนี่ า่ พอใจ รปู ทไี่ มน่ า่ พอใจกก็ ลายเปน็ สงิ่ ทเ่ี ธอรสู้ กึ อดึ อดั ขยะแขยง หู ก็จะฉุดเอาภิกษุนั้นไปหาเสียงที่น่าฟัง เสียงที่ไม่น่าฟังก็กลายเป็นส่ิงท่ีเธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง จมูก ก็จะฉุดเอาภิกษุน้ันไปหากล่ินท่ีน่าสูดดม กล่ินที่ ไม่น่าสูดดมก็กลายเป็นสิ่งท่ีเธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง ล้นิ กจ็ ะฉุดเอาภกิ ษุนัน้ ไปหารสท่ีชอบใจ รสทีไ่ มช่ อบใจ ก็กลายเป็นส่งิ ทเ่ี ธอรสู้ กึ อึดอดั ขยะแขยง กาย ก็จะฉุดเอา ภิกษุนั้นไปหาสัมผัสที่ย่ัวยวนใจ สัมผัสท่ีไม่ยั่วยวนใจก็ กลายเป็นสิ่งที่เธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง และ ใจ ก็จะฉุด เอาภิกษุน้ัน ไปหาธรรมารมณ์ที่ถูกใจ ธรรมารมณ์ที่ ไม่ถูกใจก็กลายเป็นสิ่งที่เธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง ข้อนี้ กฉ็ ันนนั้ เหมอื นกัน. 25

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ลักษณะของผู้ตง้ั จิตในกายคตาสติ ภิกษุท้ังหลาย !   เปรียบเหมือนบุรุษจับสัตว์ หกชนิด อันมีท่ีอยู่อาศัยต่างกัน มีที่เท่ียวหากินต่างกัน มาผูกรวมกันด้วยเชือกอันม่ันคง คือเขาจับงูมาผูกด้วย เชือกเหนียวเส้นหน่ึง จับจระเข้ จับนก จับสุนัขบ้าน จบั สนุ ขั จงิ้ จอกและจบั ลงิ มาผกู ดว้ ยเชอื กเหนยี วเสน้ หนง่ึ ๆ ครน้ั แลว้ น�ำ ไปผกู ไวก้ บั เสาเขอ่ื นหรอื เสาหลกั อกี ตอ่ หนง่ึ . ภิกษุท้ังหลาย !   ครง้ั นน้ั สตั วท์ ง้ั หกชนดิ เหลา่ นน้ั อนั มีทีอ่ าศยั และทเ่ี ท่ยี วต่างๆ กนั กย็ ือ้ แยง่ ฉดุ ดึงกันเพ่อื จะไปสู่ที่อาศัยท่ีเท่ียวของตนๆ งูจะเข้าจอมปลวก จระเข้จะลงนำ้� นกจะบินข้ึนไปในอากาศ สุนัขจะเข้าบ้าน สนุ ัขจิง้ จอกจะไปปา่ ช้า ลงิ ก็จะไปปา่ . ภกิ ษุท้ังหลาย !   ในกาลใดแล ความเปน็ ไปภายใน ของสัตว์ทั้งหกชนิดเหล่านั้น มีแต่ความเมื่อยล้าแล้ว ในกาลนน้ั มนั ทง้ั หลายกจ็ ะพงึ เขา้ ไปยนื เจา่ นง่ั เจา่ นอนเจา่ อยขู่ ้างเสาเข่ือนหรอื เสาหลกั นัน้ เอง ข้อน้ฉี นั ใด 26

เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุใดได้อบรมทำ�ให้มาก ในกายคตาสตแิ ล้ว ตา กจ็ ะไม่ฉดุ เอาภิกษนุ นั้ ไปหารูปที่ น่าพอใจ รูปท่ีไม่น่าพอใจ ก็ไม่เป็นสิ่งที่เธอรู้สึกอึดอัด ขยะแขยง หู ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหาเสียงที่น่าฟัง เสียงที่ไม่น่าฟัง ก็ไม่เป็นส่ิงท่ีเธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง จมูก ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุน้ันไปหากลิ่นที่น่าสูดดม กลิ่นที่ ไม่นา่ สูดดม กไ็ มเ่ ปน็ สง่ิ ทีเ่ ธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง ลิ้น ก็ จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหารสท่ีชอบใจ รสท่ีไม่ชอบใจ ก็ ไม่เป็นสิ่งที่เธอรู้สึกอึดอัดขยะแขยง กาย ก็จะไม่ฉุดเอา ภิกษุนั้นไปหาสัมผัสที่ย่ัวยวนใจ สัมผัสท่ีไม่ย่ัวยวนใจ ก็ ไม่เป็นส่งิ ท่เี ธอรู้สึกอึดอดั ขยะแขยง และใจ ก็จะไมฉ่ ุดเอา ภกิ ษนุ น้ั ไปหาธรรมารมณท์ ถ่ี กู ใจ ธรรมารมณท์ ไ่ี มถ่ กู ใจ ก็ ไมเ่ ปน็ สง่ิ ทเ่ี ธอรสู้ กึ อดึ อดั ขยะแขยง ขอ้ นก้ี ฉ็ นั นน้ั เหมอื นกนั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ค�ำ วา่ “เสาเขอ่ื น หรอื เสาหลกั ” น้เี ป็นคำ�เรียกแทนช่อื แหง่ กายคตาสต.ิ ภกิ ษทุ งั้ หลาย !  เพราะฉะนนั้ ในเรอื่ งนี้ พวกเธอ ท้งั หลายพึงสำ�เหนยี กใจไวว้ ่า 27

พทุ ธวจน - หมวดธรรม “กายคตาสติของเราทั้งหลาย จักเป็นส่ิงท่ีเรา อบรม กระทำ�ให้มาก กระทำ�ให้เป็นยานเครื่องนำ�ไป กระทำ�ให้เป็นของที่อาศัยได้ เพียรตั้งไว้เนืองๆ เพียร เสรมิ สร้างโดยรอบคอบ เพียรปรารภสม�่ำ เสมอด้วยด”ี ดงั น.ี้ ภิกษุทั้งหลาย !   พวกเธอทง้ั หลาย พงึ ส�ำ เหนยี กใจ ไวด้ ้วยอาการอยา่ งนแ้ี ล. 28

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย กระดองของบรรพชติ 08 -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๒๒๒-๒๒๓/๓๒๐-๓๒๑. ภิกษุทั้งหลาย !   เรอ่ื งเคยมมี าแตก่ อ่ น เตา่ ตวั หนง่ึ เท่ยี วหากินตามริมลำ�ธารในตอนเย็น สุนัขจ้งิ จอกตัวหน่งึ กเ็ ทย่ี วหากนิ ตามรมิ ล�ำ ธารในตอนเยน็ เชน่ เดยี วกนั เตา่ ตวั น้ี ไดเ้ หน็ สนุ ขั จง้ิ จอกซง่ึ เทย่ี วหากนิ (เดนิ เขา้ มา) แตไ่ กล ครน้ั แลว้ จงึ หดอวัยวะทั้งหลาย มีศีรษะเปน็ ท่ี ๕ เขา้ ในกระดองของ ตนเสีย เป็นผู้ขวนขวายน้อยนิ่งอยู่ แม้สุนัขจ้ิงจอก กไ็ ดเ้ หน็ เตา่ ตวั ทเ่ี ทย่ี วหากนิ นน้ั แตไ่ กลเหมอื นกนั ครน้ั แลว้ จึงเดนิ ตรงเข้าไปที่เตา่ คอยช่องอย่วู า่ “เมื่อไรหนอเต่าจัก โผล่อวัยวะส่วนใดส่วนหน่ึงออกในบรรดาอวัยวะทั้งหลาย มศี รี ษะเปน็ ที่ ๕ แลว้ จกั กดั อวยั วะสว่ นนนั้ ครา่ เอาออกมา กนิ เสีย” ดังน้.ี ภกิ ษทุ ้งั หลาย !   ตลอดเวลาทีเ่ ต่าไมโ่ ผล่ อวยั วะออกมา สนุ ขั จง้ิ จอกกไ็ มไ่ ดโ้ อกาสตอ้ งหลกี ไปเอง ภิกษุทั้งหลาย !   ฉันใดก็ฉันน้ัน มารผู้ใจบาป ก็คอยช่องต่อพวกเธอทั้งหลาย ติดต่อไม่ขาดระยะอยู่ เหมอื นกันวา่ “ถ้าอย่างไร เราคงได้ชอ่ ง ไม่ทางตาก็ทางหู หรอื ทางจมกู หรอื ทางลน้ิ หรอื ทางกาย หรอื ทางใจ” ดงั น.้ี 29

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  เพราะฉะนน้ั ในเรอื่ งนี้ พวกเธอ ทง้ั หลาย จงเปน็ ผคู้ มุ้ ครองทวารในอนิ ทรยี ท์ ง้ั หลายอยเู่ ถดิ ได้เห็นรูปด้วยตา ได้ฟังเสียงด้วยหู ได้ดมกล่นิ ด้วยจมูก ได้ลิ้มรสด้วยล้ิน ได้สัมผัสโผฏฐัพพะด้วยกาย หรือได้รู้ ธรรมารมณ์ด้วยใจแล้ว จงอย่าได้ถือเอาโดยลักษณะท่ี เป็นการรวบถือทั้งหมด อย่าได้ถือเอาโดยลักษณะท่ี เป็นการแยกถือเป็นส่วนๆ เลย สิ่งท่ีเป็นบาปอกุศล คือ อภชิ ฌา (โลภอยากไดข้ องเขา) และโทมนสั (ความเปน็ ทกุ ขใ์ จ) จะพงึ ไหลไปตามบคุ คลผูไ้ มส่ ำ�รวม ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ เพราะการไมส่ �ำ รวมอนิ ทรยี เ์ หลา่ ใดเปน็ เหตุ พวกเธอทง้ั หลาย จงปฏิบัติเพื่อการปิดก้ันอินทรีย์นั้นไว้ พวกเธอท้ังหลาย จงรักษาและถึงความสำ�รวม ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ เถิด. ภิกษุทั้งหลาย !   ในกาลใด พวกเธอทั้งหลาย จักเป็นผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลายอยู่ ในกาลนั้น มารผู้ใจบาป จักไม่ได้ช่องแม้จากพวกเธอทั้งหลาย และ จักต้องหลีกไปเอง เหมือนสุนัขจิ้งจอกไม่ได้ช่องจากเต่า ก็หลีกไปเอง ฉะนนั้ . 30

เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย “เตา่ หดอวยั วะไวใ้ นกระดอง ฉนั ใด ภิกษุ พึงตงั้ มโนวติ ก (ความตรติ รกึ ทางใจ) ไวใ้ นกระดอง ฉันน้ัน เป็นผู้ทต่ี ณั หาและทิฏฐิไมอ่ งิ อาศยั ได้ ไม่เบยี ดเบียนผ้อู ่ืน ไมก่ ลา่ วร้ายตอ่ ใครทงั้ หมด เปน็ ผู้ดบั สนิทแล้ว” ดงั น้แี ล. 31

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ตัง้ จิตในกายคตาสติ 09 เสมอื นบุรุษผู้ถอื หมอ้ นำ้� มัน -บาลี มหาวาร. สํ ๑๙/๒๒๖-๒๒๗/๗๖๔–๗๖๖., -บาลี เอก. อํ. ๒๐/๕๙/๒๓๕,๒๓๙. ภิกษุท้ังหลาย !   เปรียบเหมือนหมู่มหาชน ไดท้ ราบขา่ ววา่ มนี างงามในชนบทพงึ ประชมุ กนั กน็ างงาม ในชนบทน้ัน  น่าดูอย่างย่ิงในการฟ้อนรำ�  น่าดูอย่างยิ่ง ในการขบั รอ้ ง  หมมู่ หาชนไดท้ ราบขา่ ววา่   นางงามในชนบท จะฟ้อนรำ�  ขับร้อง  พึงประชุมกันยิ่งข้ึนกว่าประมาณ คร้ังน้ัน  บุรุษผู้อยากเป็นอยู่  ไม่อยากตาย  ปรารถนา ความสุข  เกลียดทุกข์  พึงมากล่าวกะหมู่มหาชนน้ัน อยา่ งนว้ี า่ “บุรุษผู้เจริญ !   ท่านพึงนำ�ภาชนะน้ำ�มันอันเต็มเปี่ยมน้ี ไปในระหวา่ งทป่ี ระชมุ ใหญก่ บั นางงามในชนบท และจกั มบี รุ ษุ เงอ้ื ดาบ ตามบรุ ษุ ผนู้ �ำ หมอ้ น�ำ้ มนั นน้ั ไปขา้ งหลงั ๆ บอกวา่ ทา่ นจกั ท�ำ น�ำ้ มนั นน้ั หก แมห้ นอ่ ยหนง่ึ ในทใ่ี ด ศรี ษะของทา่ นจกั ขาดตกลงไปในทน่ี น้ั ทเี ดยี ว”. 32

เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย ภิกษุท้ังหลาย !   เธอทง้ั หลายจะส�ำ คญั ความขอ้ นน้ั เป็นอย่างไร ?  บุรุษผู้นั้นจะไม่ใส่ใจภาชนะน้ำ�มันโน้น  แล้วพงึ ประมาทในภายนอกเทยี วหรือ. “ไมเ่ ปน็ อยา่ งน้นั พระเจ้าขา้  !   ”. ภิกษุทั้งหลาย !   เราทำ�อุปมาน้ี  เพ่ือให้เข้าใจ เนื้อความนี้ชัดขึ้น  เนื้อความในข้อน้ีมีอย่างน้ีแล  คำ�ว่า “ภาชนะน�ำ้ มนั อนั เตม็ เปย่ี ม” เปน็ ชอ่ื ของ “กายคตาสต”ิ . ภิกษทุ ง้ั หลาย !   เพราะเหตนุ นั้ ในเรื่องน้ี เธอท้ังหลาย พงึ ทำ�การศกึ ษาอย่างนีว้ ่า กายคตาสติ จกั เปน็ ของอนั เราเจรญิ แลว้ กระท�ำ ให้มากแล้ว กระทำ�ให้เป็นดังยาน กระทำ�ให้เป็นที่ต้ัง กระทำ�ไมห่ ยุด สั่งสมแลว้ ปรารภดแี ลว้ . ภิกษทุ งั้ หลาย ! เธอทัง้ หลาย พงึ ท�ำ การศกึ ษาอย่างน้ี. 33

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย !    ชนเหล่าใด ไมบ่ รโิ ภคกายคตาสติ ชนเหลา่ นัน้ ชื่อว่า ย่อมไม่บรโิ ภคอมตะ. ภกิ ษทุ ้ังหลาย !   ชนเหลา่ ใด บรโิ ภคกายคตาสติ ชนเหลา่ น้นั ชอ่ื ว่า ย่อมบรโิ ภคอมตะ. ภิกษุทั้งหลาย !   ชนเหล่าใด ประมาทกายคตาสติ ชนเหลา่ นน้ั ชอื่ วา่ ประมาทอมตะ. ภิกษทุ ้ังหลาย !   ชนเหล่าใด ไมป่ ระมาทกายคตาสติ ชนเหลา่ นน้ั ชื่อวา่ ไมป่ ระมาทอมตะ ดงั น้ี แล. 34