อานาปานสติ
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย อานิสงส์สูงสุด 10 แห่งอานาปานสติ ๒ ประการ -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๓๙๖-๓๙๗/๑๓๑๑-๑๓๑๓. ภิกษุทั้งหลาย ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญ กระทำ�ให้มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ กอ็ านาปานสต ิ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ อยา่ งไร กระท�ำ ใหม้ าก แลว้ อย่างไร จึงมผี ลใหญ ่ มอี านิสงส์ใหญ่ ? ภิกษุทั้งหลาย ! ในกรณีน้ี ภิกษุไปแล้วสู่ป่า หรือโคนไม้ หรือเรือนว่างก็ตาม น่ังคู้ขาเข้ามาโดยรอบ ต้ังกายตรง ดำ�รงสติเฉพาะหน้า เธอนั้นมีสติหายใจเข้า มีสตหิ ายใจออก เม่ือหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้ายาว เม่ือหายใจออกยาว กร็ ู้ชัดว่าเราหายใจออกยาว เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้าส้ัน เม่อื หายใจออกส้ัน ก็รู้ชดั ว่าเราหายใจออกส้ัน 36
เปิดธรรมที่ถกู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ ม เฉพาะซ่ึงกายท้ังปวง (สพฺพกายปฏิสํเวที) หายใจเข้า” วา่ “เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ มเฉพาะซง่ึ กายทง้ั ปวง หายใจออก” เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำ� กายสังขารให้รำ�งับ (ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ) หายใจเข้า” วา่ “เราเปน็ ผูท้ �ำ กายสังขารใหร้ ำ�งับ หายใจออก” เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ ม เฉพาะซึ่งปีติ (ปีติปฏิสํเวที) หายใจเข้า” ว่า “เราเป็นผู้รู้ พร้อมเฉพาะซ่ึงปีติ หายใจออก” เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ ม เฉพาะซึ่งสุข (สุขปฏิสํเวที) หายใจเข้า” ว่า “เราเป็นผู้รู้ พรอ้ มเฉพาะซง่ึ สุข หายใจออก” เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ ม เฉพาะซง่ึ จติ ตสังขาร (จติ ตฺ สงฺขารปฏิสํเวท)ี หายใจเข้า” วา่ “เราเปน็ ผู้ร้พู ร้อมเฉพาะซงึ่ จิตตสังขาร หายใจออก” เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำ� จิตตสังขารให้รำ�งับ (ปสฺสมฺภยํ จิตฺตสงฺขารํ) หายใจเข้า” วา่ “เราเปน็ ผทู้ ำ�จติ ตสงั ขารใหร้ �ำ งบั หายใจออก” 37
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราเปน็ ผูร้ ูพ้ ร้อม เฉพาะซ่งึ จติ (จิตฺตปฏิสเํ วท)ี หายใจเข้า” วา่ “เราเป็นผรู้ ู้ พร้อมเฉพาะซง่ึ จิต หายใจออก” เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำ�จิต ให้ปราโมทย์ยิ่ง (อภิปฺปโมทยํ จิตฺตํ) หายใจเข้า” ว่า “เราเป็นผู้ท�ำ จติ ใหป้ ราโมทยย์ งิ่ หายใจออก” เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำ�จิต ใหต้ ้ังมน่ั (สมาทหํ จิตฺต)ํ หายใจเข้า” ว่า “เราเปน็ ผู้ทำ�จิต ใหต้ ้ังม่ัน หายใจออก” เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำ�จิต ใหป้ ล่อยอยู่ (วิโมจยํ จิตฺตํ) หายใจเขา้ ” ว่า “เราเป็นผูท้ �ำ จิตใหป้ ล่อยอยู่ หายใจออก” เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผ้เู ห็นซ่งึ ความไมเ่ ทย่ี งอยเู่ ปน็ ประจ�ำ (อนจิ จฺ านปุ สสฺ )ี หายใจเขา้ ” วา่ “เราเปน็ ผเู้ หน็ ซง่ึ ความไมเ่ ทย่ี งอยเู่ ปน็ ประจ�ำ หายใจออก” เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราเปน็ ผเู้ หน็ ซง่ึ ความจางคลายอยเู่ ปน็ ประจ�ำ (วริ าคานปุ สสฺ )ี หายใจเขา้ ” วา่ “เราเปน็ ผเู้ หน็ ซง่ึ ความจางคลายอยเู่ ปน็ ประจ�ำ หายใจออก” 38
เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผ้เู ห็นซ่งึ ความดบั ไมเ่ หลอื อยเู่ ปน็ ประจ�ำ (นโิ รธานปุ สสฺ )ี หายใจเขา้ ” วา่ “เราเปน็ ผเู้ หน็ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื อยเู่ ปน็ ประจ�ำ หายใจออก” เธอย่อมท�ำ การฝึกหดั ศกึ ษาว่า “เราเป็นผเู้ ห็นซงึ่ ความสลดั คนื อยเู่ ปน็ ประจ�ำ (ปฏนิ สิ สฺ คคฺ านปุ สสฺ )ี หายใจเขา้ ” วา่ “เราเปน็ ผเู้ หน็ ซง่ึ ความสลดั คนื อยเู่ ปน็ ประจ�ำ หายใจออก” ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! อานาปานสติ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระท�ำ ใหม้ ากแลว้ อยา่ งนแ้ี ล ยอ่ มมผี ลใหญ่ มอี านสิ งสใ์ หญ.่ ภิกษุท้ังหลาย ! เมอ่ื อานาปานสติ อนั บคุ คลเจรญิ ทำ�ให้มากแล้วอยู่อย่างนี้ ผลอานิสงส์อย่างใดอย่างหน่ึง ในบรรดาผล ๒ ประการ เปน็ ส่ิงทห่ี วงั ได้ คอื อรหตั ตผลในปัจจุบัน หรอื ว่าถา้ ยังมีอปุ าทเิ หลอื อยู่ ก็จักเป็น อนาคาม.ี 39
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย เจรญิ อานาปานสติ เป็นเหตุให้ 11 -บาลี มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๔/๑๔๐๒-๑๔๐๓. สติปัฏฐาน ๔ โพชฌงค์ ๗ วิชชาและวมิ ตุ ติบรบิ ูรณ์ ภิกษุทั้งหลาย ! ธรรมอันเอกน้ันมีอยู่ ซึ่งเมื่อ บคุ คลเจริญแลว้ ทำ�ใหม้ ากแล้ว ย่อมท�ำ ธรรมท้ัง ๔ ให้ บรบิ รู ณ์ ครน้ั ธรรมทง้ั ๔ นน้ั อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ ท�ำ ใหม้ าก แลว้ ยอ่ มท�ำ ธรรมทง้ั ๗ ใหบ้ รบิ รู ณ์ ครน้ั ธรรมทง้ั ๗ นน้ั อนั บุคคลเจริญแลว้ ท�ำ ใหม้ ากแล้ว ย่อมทำ�ธรรมทัง้ ๒ ใหบ้ ริบูรณไ์ ด.้ ภิกษุทั้งหลาย ! อานาปานสติสมาธิน้ีแล เป็น ธรรมอันเอก ซึ่งเมื่อบุคคลเจริญแล้ว ทำ�ให้มากแล้ว ย่อมทำ�สติปัฏฐานท้ัง ๔ ให้บริบูรณ์ สติปัฏฐานทั้ง ๔ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ ท�ำ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มท�ำ โพชฌงคทง้ั ๗ ใหบ้ รบิ รู ณ์ โพชฌงค์ท้งั ๗ อันบคุ คลเจรญิ แลว้ ทำ�ให้ มากแลว้ ย่อมท�ำ วิชชาและวมิ ตุ ติใหบ้ ริบูรณไ์ ด.้ 40
เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย อานาปานสตบิ รบิ ูรณ์ ย่อมท�ำ สติปฏั ฐานให้บรบิ รู ณ์ ภิกษุท้ังหลาย ! ก็อานาปานสติ อันบุคคลเจริญ แล้ว ทำ�ให้มากแล้วอย่างไรเล่า จึงทำ�สติปัฏฐานทั้ง ๔ ให้บริบรู ณ์ได้ ? ภกิ ษุทง้ั หลาย ! สมยั ใด ภิกษุ เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้ายาว เม่ือหายใจออกยาว กร็ ้ชู ัดวา่ เราหายใจออกยาว เม่ือหายใจเข้าส้ัน ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้าสั้น เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่าเราหายใจออกสัน้ ยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ มเฉพาะ ซงึ่ กายทัง้ ปวง หายใจเขา้ ” วา่ “เราเป็นผ้รู ้พู ร้อมเฉพาะ ซงึ่ กายทง้ั ปวง หายใจออก” ยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราเปน็ ผทู้ �ำ กายสงั ขาร ใหร้ ำ�งับ หายใจเข้า” วา่ “เราเป็นผ้ทู �ำ กายสังขารใหร้ �ำ งบั หายใจออก” 41
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย ! สมัยน้ัน ภิกษุน้ันชื่อว่า เป็น ผู้เห็นกายในกายอยู่เป็นประจำ� มีความเพียรเผากิเลส มสี มั ปชญั ญะ มสี ติ น�ำ อภชิ ฌาและโทมนสั ในโลกออกเสยี ได.้ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เรายอ่ มกลา่ วลมหายใจเขา้ และ ลมหายใจออก ว่าเป็นกายอันหนง่ึ ๆ ในกายทั้งหลาย. ภิกษุท้ังหลาย ! เพราะเหตนุ น้ั ในเรอ่ื งน้ี ภกิ ษนุ น้ั ยอ่ มชอ่ื วา่ เปน็ ผเู้ หน็ กายในกายอยเู่ ปน็ ประจ�ำ มคี วามเพยี ร เผากเิ ลส มสี มั ปชญั ญะ มสี ติ น�ำ อภชิ ฌาและโทมนสั ในโลก ออกเสยี ได.้ ภกิ ษุท้ังหลาย ! สมัยใด ภกิ ษุ ยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ มเฉพาะ ซึ่งปีติ หายใจเข้า” ว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซ่ึงปีติ หายใจออก” ยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ มเฉพาะ ซึ่งสุข หายใจเข้า” ว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซึ่งสุข หายใจออก” 42
เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อม เฉพาะซง่ึ จติ ตสังขาร หายใจเขา้ ” ว่า “เราเปน็ ผ้รู ู้พรอ้ ม เฉพาะซึ่งจติ ตสงั ขาร หายใจออก” ย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำ� จิตตสังขารให้รำ�งับ หายใจเข้า” ว่า “เราเป็นผู้ทำ� จิตตสงั ขารใหร้ �ำ งับ หายใจออก” ภิกษุท้ังหลาย ! สมัยน้ัน ภิกษุน้ันชื่อว่า เป็นผู้ เหน็ เวทนาในเวทนาทง้ั หลายอยเู่ ปน็ ประจ�ำ มคี วามเพยี ร เผากเิ ลส มสี มั ปชญั ญะ มสี ติ น�ำ อภชิ ฌาและโทมนสั ในโลก ออกเสียได.้ ภกิ ษทุ ้ังหลาย ! เราย่อมกลา่ ว การทำ�ในใจเป็น อย่างดีต่อลมหายใจเข้า และลมหายใจออก ว่าเป็น เวทนาอันหนึง่ ๆ ในเวทนาท้งั หลาย. ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตนุ น้ั ในเรอ่ื งน้ี ภกิ ษนุ น้ั ยอ่ มชอ่ื วา่ เปน็ ผเู้ หน็ เวทนาในเวทนาทง้ั หลายอยเู่ ปน็ ประจ�ำ มีความเพียรเผากเิ ลส มสี ัมปชญั ญะ มสี ติ นำ�อภชิ ฌาและ โทมนสั ในโลกออกเสยี ได้. 43
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษุทง้ั หลาย ! สมัยใด ภิกษุ ย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อม เฉพาะซง่ึ จติ หายใจเขา้ ” วา่ “เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ มเฉพาะซง่ึ จติ หายใจออก” ย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำ�จิตให้ ปราโมทยย์ ง่ิ หายใจเขา้ ” วา่ “เราเปน็ ผทู้ �ำ จติ ใหป้ ราโมทยย์ ง่ิ หายใจออก” ย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำ�จิตให้ ตง้ั มน่ั หายใจเขา้ ” วา่ “เราเปน็ ผทู้ �ำ จติ ใหต้ ง้ั มน่ั หายใจออก” ย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำ�จิตให้ ปล่อยอยู่ หายใจเข้า” ว่า “เราเป็นผู้ทำ�จิตให้ปล่อยอยู่ หายใจออก” ภิกษุท้ังหลาย ! สมยั นน้ั ภกิ ษนุ น้ั ชอ่ื วา่ เปน็ ผเู้ หน็ จติ ในจติ อยเู่ ปน็ ประจ�ำ มคี วามเพยี รเผากเิ ลส มสี มั ปชญั ญะ มีสติ น�ำ อภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสยี ได.้ ภกิ ษุท้ังหลาย ! เราไมก่ ลา่ วอานาปานสติ วา่ เปน็ สง่ิ ทม่ี ไี ดแ้ กบ่ คุ คลผมู้ สี ตอิ นั ลมื หลงแลว้ ไมม่ สี มั ปชญั ญะ. 44
เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย ภิกษุท้ังหลาย ! เพราะเหตนุ น้ั ในเรอ่ื งน้ี ภกิ ษนุ น้ั ย่อมชื่อว่าเป็นผู้เห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจำ� มีความเพียร เผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำ�อภิชฌาและโทมนัส ในโลกออกเสียได้. ภิกษุท้ังหลาย ! สมยั ใด ภกิ ษุ ย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่ง ความไม่เท่ียงอยู่เป็นประจำ� หายใจเข้า” ว่า “เราเป็น ผเู้ ห็นซึง่ ความไมเ่ ที่ยงอย่เู ปน็ ประจำ� หายใจออก” ย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่ง ความจางคลายอยู่เปน็ ประจ�ำ หายใจเขา้ ” วา่ “เราเปน็ ผ้เู ห็นซงึ่ ความจางคลายอย่เู ปน็ ประจ�ำ หายใจออก” ย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้เห็นซ่ึง ความดบั ไมเ่ หลอื อยเู่ ปน็ ประจ�ำ หายใจเขา้ ” วา่ “เราเปน็ ผู้เห็นซงึ่ ความดับไม่เหลอื อยู่เปน็ ประจำ� หายใจออก” ย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้เห็นซ่ึง ความสลัดคืนอยู่เป็นประจำ� หายใจเข้า” ว่า “เราเป็น ผู้เหน็ ซึ่งความสลดั คืนอยเู่ ปน็ ประจำ� หายใจออก” 45
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย ! สมัยน้ัน ภิกษุนั้นชื่อว่า เป็นผู้ เห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยู่เป็นประจำ� มีความเพียร เผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นำ�อภิชฌาและโทมนัส ในโลกออกเสียได้. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! ภกิ ษนุ น้ั เปน็ ผเู้ ขา้ ไปเพง่ เฉพาะ เป็นอย่างดีแล้ว เพราะเธอเห็นการละอภิชฌาและ โทมนัสท้งั หลายของเธอน้นั ด้วยปญั ญา. ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตนุ น้ั ในเรอ่ื งน้ี ภกิ ษนุ น้ั ย่อมช่ือว่าเป็นผู้เห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยู่เป็นประจำ� มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชญั ญะ มสี ติ นำ�อภชิ ฌาและ โทมนสั ในโลกออกเสยี ได้. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! อานาปานสติ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ ทำ�ให้มากแล้ว อย่างน้ีแล ย่อมทำ�สติปัฏฐานทั้ง ๔ ใหบ้ ริบรู ณไ์ ด.้ 46
เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย สติปฏั ฐานบรบิ รู ณ์ ยอ่ มทำ�โพชฌงค์ให้บรบิ รู ณ์ ภิกษุทั้งหลาย ! ก็สติปัฏฐานท้ัง ๔ อันบุคคล เจริญแลว้ ทำ�ใหม้ ากแล้วอยา่ งไรเล่า จงึ ท�ำ โพชฌงคท์ ง้ั ๗ ใหบ้ ริบรู ณไ์ ด้ ? ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! สมยั ใดภกิ ษเุ ปน็ ผเู้ หน็ กายในกาย อยู่เป็นประจำ�ก็ดี เป็นผู้เห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย อยู่เป็นประจำ�ก็ดี เป็นผู้เห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจำ�ก็ดี เป็นผู้เห็นธรรมในธรรมท้ังหลายอยู่เป็นประจำ�ก็ดี มี ความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ น�ำ อภชิ ฌาและ โทมนสั ในโลกออกเสยี ได้ สมยั นน้ั สตทิ ภ่ี กิ ษเุ ขา้ ไปตง้ั ไวแ้ ลว้ ก็เป็นธรรมชาติไมล่ ืมหลง. ภิกษุทั้งหลาย ! สมยั ใด สตขิ องภกิ ษผุ ้เู ขา้ ไปต้งั ไวแ้ ล้ว เป็นธรรมชาติไม่ลมื หลง สมยั นั้น สติสมั โพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว สมัยนั้นภิกษุช่ือว่า ย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์ สมัยน้ันสติสัมโพชฌงค์ของ ภิกษุน้ัน ชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ ภิกษุนั้น 47
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เมอ่ื เปน็ ผมู้ สี ตเิ ชน่ นน้ั อยู่ ชอ่ื วา่ ยอ่ มท�ำ การเลอื ก ยอ่ มท�ำ การเฟน้ ยอ่ มท�ำ การใครค่ รวญ ซง่ึ ธรรมนน้ั ดว้ ยปญั ญา. ภิกษทุ ั้งหลาย ! สมยั ใด ภกิ ษเุ ปน็ ผมู้ สี ตเิ ชน่ นน้ั อยู่ ท�ำ การเลอื กเฟน้ ใครค่ รวญธรรมนน้ั อยดู่ ว้ ยปญั ญา สมยั นน้ั ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุน้ันปรารภแล้ว สมยั นน้ั ภกิ ษชุ อ่ื วา่ ยอ่ มเจรญิ ธมั มวจิ ยสมั โพชฌงค์ สมยั นน้ั ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ของภิกษุชื่อว่าถึงความเต็มรอบแห่ง การเจรญิ . ภกิ ษนุ น้ั เมอ่ื เลอื กเฟน้ ใครค่ รวญอยซู่ ง่ึ ธรรม นน้ั ด้วยปัญญา ความเพียรอันไม่ย่อหย่อน ชื่อว่าเป็น ธรรมอันภกิ ษุน้ันปรารภแล้ว. ภกิ ษุทั้งหลาย ! สมัยใด ความเพียรไม่ย่อหยอ่ น อันภิกษุผู้เลือกเฟ้น ใคร่ครวญในธรรมนั้นด้วยปัญญา สมยั นนั้ วิริยสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันวา่ ภิกษุนัน้ ปรารภแลว้ สมัยนั้นภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญวิริยสัมโพชฌงค์ สมัยน้ัน วริ ยิ สมั โพชฌงคข์ องภกิ ษชุ อ่ื วา่ ถงึ ความเตม็ รอบแหง่ การเจรญิ . ภกิ ษนุ น้ั เมอ่ื มคี วามเพยี รอนั ปรารภแลว้ ปตี อิ นั เปน็ นริ ามสิ กเ็ กดิ ขน้ึ . 48
เปดิ ธรรมทถี่ กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! สมยั ใด ปตี อิ นั เปน็ นริ ามสิ เกดิ ขน้ึ แกภ่ กิ ษผุ มู้ คี วามเพยี รอนั ปรารภแลว้ สมยั นน้ั ปตี สิ มั โพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุน้ันปรารภแล้ว สมัยน้ัน ภิกษุช่ือว่าย่อม เจรญิ ปตี สิ มั โพชฌงค์ สมยั นนั้ ปตี สิ มั โพชฌงคข์ องภกิ ษชุ อื่ ว่าถึงความเต็มรอบแห่งการเจริญ. ภิกษุน้ัน เมื่อมีใจ ประกอบดว้ ยปตี ิ แมก้ ายกร็ ำ�งับ แม้จิตกร็ ำ�งบั . ภิกษุท้ังหลาย ! สมัยใด ทั้งกายและทั้งจิต ของภิกษุผู้มีใจประกอบด้วยปีติ ย่อมรำ�งับ สมัยนั้น ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุน้ันปรารภแล้ว สมยั นน้ั ภกิ ษชุ อ่ื วา่ ยอ่ มเจรญิ ปสั สทั ธสิ มั โพชฌงค์ สมยั นน้ั ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ของภิกษุช่ือว่าถึงความเต็มรอบแห่ง การเจรญิ . ภกิ ษนุ น้ั เมอ่ื มกี ายอนั ร�ำ งบั แลว้ มคี วามสขุ อยู่ จติ ยอ่ มตง้ั มน่ั . ภิกษุทั้งหลาย ! สมัยใด จิตของภิกษุผู้มีกาย อันรำ�งับแล้วมีความสุขอยู่ ย่อมตั้งมั่น สมัยนั้น สมาธิ- สัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุน้ันปรารภแล้ว สมัยน้ัน ภิกษุช่ือว่าย่อมเจริญสมาธิสัมโพชฌงค์ สมัยน้ันสมาธิ- สมั โพชฌงคข์ องภกิ ษชุ อ่ื วา่ ถงึ ความเตม็ รอบแหง่ การเจรญิ . 49
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษนุ น้ั ยอ่ มเปน็ ผเู้ ขา้ ไปเพง่ เฉพาะซง่ึ จติ อนั ตง้ั มน่ั แลว้ อย่างน้ันเปน็ อยา่ งด.ี ภิกษุทั้งหลาย ! สมัยใด ภิกษุเป็นผู้เข้าไปเพ่ง เฉพาะซ่ึงจิตอันตั้งม่ันแล้วอย่างน้ัน เป็นอย่างดี สมัยน้ัน อุเบกขาสัมโพชฌงค์ ก็เป็นอันว่าภิกษุนั้นปรารภแล้ว สมยั นน้ั ภกิ ษชุ อ่ื วา่ ยอ่ มเจรญิ อเุ บกขาสมั โพชฌงค์ สมยั นน้ั อุเบกขาสัมโพชฌงค์ของภิกษุช่ือว่าถึงความเต็มรอบแห่ง การเจรญิ . ภิกษุทั้งหลาย ! สติปัฏฐานทั้ง ๔ อันบุคคล เจรญิ แลว้ ท�ำ ใหม้ ากแลว้ อยา่ งนแ้ี ล ยอ่ มท�ำ โพชฌงคท์ ง้ั ๗ ใหบ้ รบิ ูรณ์ได.้ 50
เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย โพชฌงคบ์ รบิ รู ณ์ ยอ่ มท�ำ วิชชาและวมิ ตุ ตใิ หบ้ ริบรู ณ์ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! โพชฌงคท์ ง้ั ๗อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ ทำ�ให้มากแล้วอย่างไรเล่า จึงจะทำ�วิชชาและวิมุตติให้ บรบิ รู ณ์ได้ ? ภิกษุทงั้ หลาย ! ภกิ ษใุ นกรณนี ี้ ย่อมเจริญ สติสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อนั อาศัยวริ าคะ (ความจางคลาย) อันอาศัยนิโรธ (ความดบั ) อนั นอ้ มไปเพอื่ โวสสคั คะ (ความสละ ความปลอ่ ย) ยอ่ มเจริญ ธัมมวิจยสมั โพชฌงค์ อันอาศัยวเิ วก อันอาศยั วิราคะ อันอาศัยนโิ รธ อนั นอ้ มไปเพอื่ โวสสัคคะ ย่อมเจริญ วิริยสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อนั อาศัยวริ าคะ อนั อาศยั นโิ รธ อนั นอ้ มไปเพ่อื โวสสัคคะ ย่อมเจริญ ปีติสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อนั อาศัยวิราคะ อันอาศยั นโิ รธ อนั นอ้ มไปเพอื่ โวสสคั คะ ย่อมเจริญ ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก 51
พทุ ธวจน - หมวดธรรม อนั อาศยั วริ าคะ อนั อาศัยนิโรธ อนั น้อมไปเพ่ือโวสสคั คะ ย่อมเจริญ สมาธิสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนโิ รธ อนั นอ้ มไปเพือ่ โวสสคั คะ ย่อมเจริญ อุเบกขาสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อนั อาศยั วริ าคะ อันอาศยั นิโรธ อันน้อมไปเพื่อโวสสคั คะ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! โพชฌงคท์ ง้ั ๗อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ ทำ�ให้มากแล้ว อย่างนี้แล ย่อมทำ�วิชชาและวิมุตติให้ บรบิ รู ณ์ได้ ดังน้.ี (หมายเหตุผู้รวบรวม พระสูตรที่ทรงตรัสเหมือนกัน กบั พระสูตรขา้ งบนนี้ ยงั มีอีกคือ ปฐมอานันทสตู ร มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๔๑๗-๔๒๓/๑๓๘๑-๑๓๙๘. ทตุ ยิ อานนั ทสตู ร มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๔๒๓-๔๒๔/๑๓๙๙-๑๔๐๑. ทตุ ิยภกิ ขสุ ตู ร มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๔๒๕/๑๔๐๔-๑๔๐๕.). 52
ปฏิปทาเปนที่สบายแกการบรรลุ “นิพพาน”
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย ปฏปิ ทาเปน็ ทสี่ บาย 12 แก่การบรรลนุ พิ พาน (นยั ท่ี ๑) -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๖๗/๒๓๒. ภิกษุท้ังหลาย ! เราจักแสดง ปฏิปทาเป็นท่ี สบายแก่การบรรลุนิพพาน แก่พวกเธอ. พวกเธอจงฟัง จงทำ�ในใจให้ดี เราจกั กล่าว. ภิกษุทั้งหลาย ! ปฏิปทาเป็นท่ีสบายแก่การ บรรลนุ ิพพานนัน้ เปน็ อยา่ งไรเล่า ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษใุ นกรณีนี้ ย่อมเห็นซ่ึง จกั ษุ ว่า ไมเ่ ทีย่ ง ย่อมเหน็ ซงึ่ รปู ทง้ั หลาย วา่ ไม่เท่ียง ย่อมเหน็ ซง่ึ จักขุวญิ ญาณ ว่า ไม่เทย่ี ง ยอ่ มเห็นซงึ่ จักขุสมั ผสั ว่า ไมเ่ ท่ยี ง 54
เปิดธรรมท่ถี กู ปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย ย่อมเห็นซ่ึง เวทนา อันเป็นสุข เป็นทุกข์ หรือ เปน็ อทกุ ขมสขุ (ไมท่ กุ ขไ์ มส่ ขุ ) ทเ่ี กดิ ขนึ้ เพราะจกั ขสุ มั ผสั เปน็ ปัจจัย วา่ ไมเ่ ท่ยี ง. (ในกรณแี ห่ง โสตะ (หู) ฆานะ (จมูก) ชิวหา (ลิน้ ) กายะ (กาย) และมนะ (ใจ) ก็ได้ตรัสต่อไปด้วยข้อความ อยา่ งเดียวกัน ทกุ ตัวอกั ษร ต่างกนั แตช่ ่ือเทา่ นั้น). ภิกษุทั้งหลาย ! น้ีแล คือปฏิปทาเป็นที่สบาย แกก่ ารบรรลุนิพพาน นัน้ . 55
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย ปฏิปทาเป็นท่สี บาย 13 แกก่ ารบรรลุนิพพาน (นยั ที่ ๒) -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๖๘/๒๓๓. ภิกษุท้ังหลาย ! เราจักแสดง ปฏิปทาเป็นท่ี สบายแก่การบรรลุนิพพาน แก่พวกเธอ. พวกเธอจงฟัง จงทำ�ในใจใหด้ ี เราจกั กลา่ ว. ภิกษุทั้งหลาย ! ปฏิปทาเป็นท่ีสบายแก่การ บรรลนุ พิ พานนน้ั เปน็ อย่างไรเล่า ? ภิกษทุ งั้ หลาย ! ภกิ ษุในกรณนี ี้ ย่อมเห็นซ่งึ จักษุ วา่ เปน็ ทกุ ข์ ยอ่ มเห็นซ่ึง รูปทั้งหลาย ว่า เป็นทกุ ข์ ย่อมเหน็ ซงึ่ จักขุวญิ ญาณ วา่ เปน็ ทกุ ข์ ยอ่ มเหน็ ซึง่ จกั ขุสมั ผสั ว่า เปน็ ทุกข์ 56
เปิดธรรมท่ถี กู ปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย ย่อมเห็นซ่ึง เวทนา อันเป็นสุข เป็นทุกข์ หรือ เปน็ อทกุ ขมสขุ (ไมท่ กุ ขไ์ มส่ ขุ ) ทเ่ี กดิ ขนึ้ เพราะจกั ขสุ มั ผสั เปน็ ปัจจัย วา่ เปน็ ทุกข.์ (ในกรณีแห่ง โสตะ (หู) ฆานะ (จมูก) ชิวหา (ลิน้ ) กายะ (กาย) และมนะ (ใจ) ก็ได้ตรัสต่อไปด้วยข้อความ อยา่ งเดียวกัน ทกุ ตัวอกั ษร ต่างกนั แตช่ ่ือเทา่ นั้น). ภิกษุทั้งหลาย ! น้ีแล คือปฏิปทาเป็นที่สบาย แกก่ ารบรรลุนพิ พาน นน้ั . 57
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ปฏิปทาเปน็ ท่สี บาย 14 แกก่ ารบรรลนุ ิพพาน (นยั ท่ี ๓) -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๑๖๘/๒๓๔. ภิกษุท้ังหลาย ! เราจักแสดง ปฏิปทาเป็นท่ี สบายแก่การบรรลุนิพพาน แก่พวกเธอ. พวกเธอจงฟัง จงทำ�ในใจให้ดี เราจกั กลา่ ว. ภิกษุท้ังหลาย ! ปฏิปทาเป็นท่ีสบายแก่การ บรรลนุ พิ พานน้ัน เปน็ อย่างไรเล่า ? ภิกษทุ ั้งหลาย ! ภิกษใุ นกรณนี ้ี ย่อมเห็นซ่งึ จักษุ วา่ เปน็ อนัตตา ยอ่ มเห็นซ่ึง รูปทั้งหลาย ว่า เปน็ อนตั ตา ย่อมเหน็ ซงึ่ จักขุวญิ ญาณ วา่ เป็นอนตั ตา ยอ่ มเหน็ ซึง่ จกั ขุสมั ผัส ว่า เปน็ อนัตตา 58
เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย ย่อมเห็นซ่ึง เวทนา อันเป็นสุข เป็นทุกข์ หรือ เปน็ อทกุ ขมสขุ (ไมท่ กุ ขไ์ มส่ ขุ ) ทเ่ี กดิ ขน้ึ เพราะจกั ขสุ มั ผสั เป็นปจั จัย ว่า เป็นอนตั ตา. (ในกรณีแหง่ โสตะ (หู) ฆานะ (จมกู ) ชิวหา (ลน้ิ ) กายะ (กาย) และมนะ (ใจ) ก็ได้ตรัสต่อไปด้วยข้อความ อย่างเดยี วกนั ทกุ ตัวอกั ษร ตา่ งกันแต่ชื่อเทา่ นนั้ ). ภิกษุทั้งหลาย ! นี้แล คือปฏิปทาเป็นที่สบาย แกก่ ารบรรลุนพิ พาน นนั้ . 59
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ปฏิปทาเปน็ ที่สบาย 15 แก่การบรรลนุ ิพพาน (นยั ท่ี ๔) -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๑๖๙/๒๓๕. ภิกษุทั้งหลาย ! เราจักแสดง ปฏิปทาเป็นที่ สบายแก่การบรรลุนิพพาน แก่พวกเธอ. พวกเธอจงฟัง จงท�ำ ในใจให้ดี เราจกั กล่าว. ภิกษุท้ังหลาย ! ปฏิปทาเป็นท่ีสบายแก่การ บรรลุนิพพานนนั้ เป็นอยา่ งไรเลา่ ? ภิกษุท้ังหลาย ! พวกเธอจะสำ�คัญความข้อน้ี ว่าอยา่ งไร จักษเุ ท่ียงหรอื ไมเ่ ท่ยี ง ? “ไมเ่ ท่ียง พระเจา้ ข้า ! ”. สิ่งใดไมเ่ ท่ียง ส่งิ น้นั เปน็ ทุกขห์ รอื สขุ เลา่ ? “เป็นทุกข์ พระเจา้ ขา้ ! ”. สง่ิ ใดไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทกุ ข์ มคี วามแปรปรวนไปเปน็ ธรรมดา ควรหรอื หนอทจ่ี ะตามเหน็ สง่ิ นน้ั วา่ “นน่ั ของเรา (เอตํ มม) นน่ั เปน็ เรา (เอโสหมสมฺ )ิ นน่ั เปน็ อตั ตาของเรา (เอโส เม อตตฺ า)” ดงั น้ี ? “ไมค่ วรตามเหน็ อยา่ งน้นั พระเจ้าขา้ ! ”. 60
เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย (ต่อไป ได้ตรัสถามและภิกษุตอบ เก่ียวกับ รูป... จกั ขุวญิ ญาณ...จกั ขุสมั ผัส...จกั ขสุ มั ผัสสชาเวทนา ซึง่ มขี ้อความ อยา่ งเดียวกนั กับในกรณีแห่งจักษุนนั้ ทกุ ประการ ต่างกันแต่ชอ่ื เทา่ น้นั เมือ่ ตรัสข้อความในกรณแี หง่ อายตนิกธรรมหมวดจักษุ จบลงดงั นแ้ี ลว้ ไดต้ รสั ขอ้ ความในกรณแี หง่ อายตนกิ ธรรมหมวด โสตะ หมวดฆานะ หมวดชวิ หา หมวดกายะ และหมวดมนะ ต่อไปอีก ซึ่งมีข้อความท่ีตรัสอย่างเดียวกันกับในกรณีแห่ง อายตนกิ ธรรมหมวดจกั ษนุ นั้ ทกุ ประการ ตา่ งกนั แตเ่ พยี งชอื่ เทา่ นน้ั ผู้ศึกษาพงึ เทียบเคยี งไดเ้ อง). ภิกษทุ ้งั หลาย ! อรยิ สาวกผมู้ กี ารสดบั เมอ่ื เหน็ อยู่ อยา่ งนี้ ยอ่ มเบอื่ หน่ายแม้ใน จกั ษุ ยอ่ มเบื่อหน่ายแม้ใน รปู ยอ่ มเบอื่ หน่ายแมใ้ น จักขุวิญญาณ ยอ่ มเบ่อื หนา่ ยแม้ใน จกั ขสุ ัมผัส ย่อมเบ่ือหน่ายใน เวทนา อันเป็นสุข เป็นทุกข์ หรือเป็นอทุกขมสุข (ไม่ทุกข์ไม่สุข) ท่ีเกิดข้ึนเพราะ จักขุสมั ผสั เปน็ ปจั จัย 61
พทุ ธวจน - หมวดธรรม (ในกรณีแห่งอายตนกิ ธรรมหมวดโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ มนะ ก็ได้ตรัสต่อไปอีก โดยนัยอย่างเดียวกันกับกรณี แห่งอายตนิกธรรมหมวดจักษุน้ี) เม่ือเบ่อื หน่าย ย่อม คลายก�ำ หนัด เพราะคลายก�ำ หนดั ย่อม หลุดพน้ เมอ่ื หลดุ พน้ แลว้ ยอ่ มมี ญาณหยง่ั รวู้ า่ หลดุ พน้ แลว้ . อรยิ สาวกนัน้ ย่อม รูช้ ดั ว่า “ชาติส้ินแลว้ พรหมจรรย์อยจู่ บแล้ว กจิ ที่ควรทำ�ได้ท�ำ ส�ำ เรจ็ แล้ว กจิ อน่ื ทจ่ี ะตอ้ งท�ำ เพอ่ื ความเปน็ อยา่ งน ้ี มไิ ดม้ อี กี ”. ภิกษุทั้งหลาย ! นี้แล คอื ปฏปิ ทาเปน็ ท่สี บาย แกก่ ารบรรลนุ ิพพาน น้นั . 62
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย กระจายเสีย ซ่ึงผัสสะ 16 -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๘๕/๑๒๔-๗. ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณย่อมมีขน้ึ เพราะอาศัยธรรม ๒ อย่าง. สองอยา่ งอะไรเล่า ? สองอย่างคือ ภิกษุท้ังหลาย ! เพราะอาศัยซ่ึง จักษุ ด้วย ซึ่ง รูปทงั้ หลาย ด้วย จักขวุ ิญญาณ จึงเกดิ ข้ึน. จกั ษเุ ป็น สง่ิ ทไ่ี มเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วามเปน็ ไปโดยประการอน่ื รปู ทง้ั หลายเปน็ สง่ิ ทไ่ี มเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วามเปน็ ไป โดยประการอ่ืน ธรรมทั้งสอง (จักษุ+รูป) อย่างน้ีแล เป็นส่ิงที่หวั่นไหวด้วย อาพาธด้วย ไม่เที่ยง มีความ แปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอ่ืน จกั ขวุ ญิ ญาณ เป็นส่ิงท่ีไม่เท่ียง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดย ประการอน่ื เหตอุ นั ใดกต็ าม ปจั จยั อนั ใดกต็ าม เพอ่ื ความ เกดิ ขน้ึ แหง่ จกั ขวุ ญิ ญาณ แม้ เหตุ อนั นน้ั แม้ ปจั จยั อนั นน้ั 63
พุทธวจน - หมวดธรรม ก็ล้วนเป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มคี วามเปน็ ไป โดยประการอน่ื . ภิกษุทั้งหลาย ! จกั ขวุ ญิ ญาณเกดิ ขน้ึ แลว้ เพราะอาศัยปัจจัยท่ไี ม่เท่ยี งดังน้ี จักขุวิญญาณจักเป็นของ เทย่ี งมาแต่ไหน. ภิกษุทั้งหลาย ! ความประจวบพร้อม ความ ประชุมพร้อม ความมาพร้อมกันแห่งธรรมท้ังหลาย (จักษุ+รูป+จักขุวิญญาณ) ๓ อย่าง เหล่าน้ี อันใดแล ภิกษุท้ังหลาย ! อันนี้เราเรียกว่า จักขุสัมผัส. ภิกษุ ทั้งหลาย ! แม้ จักขุสัมผัส ก็เป็นสิ่งท่ีไม่เท่ียง มีความ แปรปรวน มคี วามเปน็ ไปโดยประการอนื่ . เหตอุ นั ใดกต็ าม ปัจจัยอันใดก็ตาม เพื่อความเกิดข้ึนแห่งจักขุสัมผัส แม้ เหตุ อันน้ัน แม้ ปัจจัย อันน้ัน ก็ล้วนเป็นส่ิงท่ี ไมเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วามเปน็ ไปโดยประการอน่ื . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! จกั ขสุ มั ผสั เกดิ ขน้ึ แลว้ เพราะอาศยั ปจั จยั ทไ่ี มเ่ ทย่ี งดงั น้ี จกั ขสุ มั ผสั จกั เปน็ ของเทย่ี ง มาแตไ่ หน. 64
เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ภิกษุทั้งหลาย ! บุคคลที่ผัสสะกระทบแล้วย่อม รูส้ ึก (เวเทต)ิ ผสั สะกระทบแล้วยอ่ ม คิด (เจเตต)ิ ผัสสะ กระทบแลว้ ยอ่ ม จ�ำ ไดห้ มายรู้ (สญชฺ านาต)ิ แมธ้ รรมทง้ั หลาย (เวทนา เจตนา สญั ญา) อยา่ งนเ้ี หลา่ น้ี กล็ ว้ นเปน็ สง่ิ ทห่ี วน่ั ไหว ดว้ ย อาพาธดว้ ย ไมเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วามเปน็ ไป โดยประการอ่นื (ในกรณแี หง่ โสตวญิ ญาณกด็ ี ฆานวิญญาณกด็ ี ชวิ หา- วญิ ญาณก็ดี กายวญิ ญาณก็ดี กม็ นี ัยเดยี วกัน). ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะอาศัยซึ่ง มโนด้วย ซึ่ง ธรรมารมณ์ทั้งหลายด้วย มโนวิญญาณ จึงเกิดขึ้น. มโนเป็นสิ่งท่ีไม่เท่ียง มีความแปรปรวน มีความเป็นไป โดยประการอ่ืน ธรรมารมณ์ท้ังหลายเป็นสิ่งที่ไม่เท่ียง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอ่ืน ธรรมทั้งสอง (มโน+ธรรมารมณ์) อย่างนี้แล เป็นส่ิงท่ี หว่ันไหวด้วย อาพาธด้วย ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอ่ืน มโนวิญญาณเป็นส่ิงท่ี ไมเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วามเปน็ ไปโดยประการอน่ื 65
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เหตุอันใดก็ตาม ปัจจัยอันใดก็ตาม เพื่อความเกิดข้ึน แห่งมโนวิญญาณ แม้ เหตุ อันนั้น แม้ ปัจจัย อันนั้น ก็ล้วนเป็นส่ิงท่ีไม่เท่ียง มีความแปรปรวน มีความเป็นไป โดยประการอน่ื . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! มโนวญิ ญาณเกดิ ขน้ึ แลว้ เพราะอาศัยปัจจัยที่ไม่เที่ยงดังน้ี มโนวิญญาณจักเป็น ของเทีย่ งมาแตไ่ หน. ภิกษุทั้งหลาย ! ความประจวบพร้อม ความ ประชุมพร้อม ความมาพร้อมกันแห่งธรรมทั้งหลาย (มโน+ธรรมารมณ์+มโนวิญญาณ) ๓ อย่าง เหล่านี้ อันใดแล ภกิ ษุทั้งหลาย ! อันน้เี ราเรยี กวา่ มโนสัมผสั . ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! แมม้ โนสมั ผสั กเ็ ปน็ สง่ิ ทไ่ี มเ่ ทยี่ ง มคี วาม แปรปรวน มคี วามเปน็ ไปโดยประการอน่ื . เหตอุ นั ใดกต็ าม ปจั จยั อนั ใดกต็ าม เพอ่ื ความเกดิ ขน้ึ แหง่ มโนสมั ผสั แม้ เหตุ อนั นน้ั แม้ ปจั จยั อันน้นั กล็ ้วนเป็นส่ิงทีไ่ มเ่ ทยี่ ง มคี วาม แปรปรวน มคี วามเปน็ ไปโดยประการอน่ื . ภิกษทุ งั้ หลาย ! มโนสัมผัสเกิดข้ึนแล้ว เพราะอาศัยปัจจัยท่ีไม่เที่ยงดังน้ี มโนสมั ผัสจกั เปน็ ของเทีย่ งมาแตไ่ หน. 66
เปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย ภิกษุทั้งหลาย ! บุคคลท่ีผัสสะกระทบแล้วย่อม รู้สึก (เวเทติ) ผัสสะกระทบแล้วย่อม คิด (เจเตติ) ผัสสะกระทบแล้วย่อม จำ�ได้หมายรู้ (สญฺชานาติ) แม้ ธรรมทั้งหลาย (เวทนา เจตนา สัญญา) อย่างนี้เหล่าน้ี ก็ล้วนเป็นส่ิงท่ีหว่ันไหวด้วย อาพาธด้วย ไม่เท่ียง มีความแปรปรวน มคี วามเป็นไปโดยประการอนื่ . 67
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย เจรญิ อรยิ มรรคมีองค์ ๘ ด้วยวธิ ลี ดั 17 -บาลี อุปริ. ม. ๑๔/๕๒๒–๕๒๕/๘๒๘–๘๓๐. ภกิ ษุท้งั หลาย ! เมื่อรเู้ มอื่ เหน็ อยู่ ซ่งึ จักษุ ตามทเ่ี ป็นจริง เมอ่ื รู้เมอ่ื เห็นอยู่ ซ่งึ รูปทง้ั หลาย ตามที่เป็นจริง เมอื่ รเู้ มอ่ื เหน็ อยู่ ซง่ึ จกั ขวุ ญิ ญาณ ตามทเ่ี ปน็ จรงิ เมื่อร้เู ม่อื เห็นอยู่ ซึ่ง จักขสุ มั ผสั ตามทเ่ี ป็นจรงิ เมื่อรู้เมื่อเห็นอยู่ ซึ่ง เวทนา อันเกิดข้ึนเพราะ จกั ขสุ มั ผสั เปน็ ปจั จยั สขุ กต็ าม ทกุ ขก์ ต็ าม อทกุ ขมสขุ กต็ าม ตามที่เป็นจริง บุคคล ย่อมไม่กำ�หนัดยินดี ในจักษุ ยอ่ มไม่กำ�หนัดยนิ ดี ในรปู ท้งั หลาย ยอ่ มไมก่ ำ�หนัดยินดี ในจักขุวิญญาณ ย่อมไม่กำ�หนัดยินดี ในจักขุสัมผัส ยอ่ มไมก่ �ำ หนดั ยนิ ดี ในเวทนา อนั เกดิ ขน้ึ เพราะจกั ขสุ มั ผสั เป็นปัจจยั สขุ กต็ าม ทกุ ขก์ ็ตาม อทกุ ขมสุขก็ตาม. เม่ือบุคคลน้ันไม่กำ�หนัดยินดีแล้ว ไม่ประกอบ พร้อมแล้ว ไม่หลงใหลแล้ว มีปกติเห็นโทษอยู่ 68
เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย ปัญจุปาทานขันธ์ ย่อมถึงซึ่งความไม่ก่อขึ้นอีกต่อไป และ ตณั หา อันเครื่องนำ�มาซ่ึงภพใหม่ ประกอบอยดู่ ้วย ความกำ�หนัด ด้วยอำ�นาจแห่งความเพลิน ทำ�ให้เพลิน อย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ของบุคคลนั้น ย่อมละไป. ความกระวนกระวาย ทางกายและทางจิต ก็ละไป ความแผดเผา ทางกายและทางจติ กล็ ะไป ความเรา่ รอ้ น ทางกายและทางจติ ก็ละไป บุคคลนัน้ ย่อมเสวยความสขุ ทัง้ ทางกายและทางจติ ทิฏฐขิ องผู้ร้ผู ู้เหน็ อยเู่ ชน่ นนั้ เป็น สัมมาทฏิ ฐิ ความดำ�รขิ องผ้รู ้ผู ูเ้ หน็ อยเู่ ชน่ น้นั เปน็ สัมมาสงั กัปปะ ความเพียรของผู้รผู้ ู้เห็นอยู่เช่นน้ัน เป็น สมั มาวายามะ สตขิ องผู้รผู้ เู้ หน็ อยู่เช่นน้ัน เปน็ สัมมาสติ สมาธขิ องผ้รู ูผ้ เู้ หน็ อยเู่ ชน่ นน้ั เป็น สัมมาสมาธ.ิ สว่ น กายกรรม วจกี รรม และอาชวี ะ ของเขา 69
พุทธวจน - หมวดธรรม บรสิ ทุ ธม์ิ าแลว้ แตเ่ ดมิ (ดงั นน้ั เปน็ อนั วา่ สมั มากมั มนั ตะ สัมมาวาจา สัมมาอาชีวะ มีอยู่แล้วอย่างเต็มท่ี ในบุคคล ผรู้ ้อู ย่ผู ้เู หน็ อย่เู ชน่ นน้ั ). ดว้ ยอาการอยา่ งนี้ เปน็ อันวา่ อริยอัฏฐังคิกมรรค (อริยมรรคมีองค์ ๘) แห่ง บุคคลผู้รู้ผู้อยู่เห็นอยู่เช่นน้ัน ย่อมถึงซึ่งความบริบูรณ์ แหง่ ภาวนา ดว้ ยอาการอย่างน.ี้ เม่ือเขาทำ�อริยอัฏฐังคิกมรรคให้เจริญอยู่ อยา่ งน้ี สตปิ ฏั ฐานส่ี ... สมั มปั ปธานสี่ ... อิทธบิ าทสี่ ... อินทรยี ห์ ้า ... พละห้า ... โพชฌงคเ์ จ็ด ... ย่อมถงึ ความ งอกงามบริบูรณ์ได้แท้. ธรรมสองอย่างของเขาคือ สมถะและวิปสั สนา ช่อื ว่าเขา้ คูก่ ันไดอ้ ย่างแน่นแฟ้น... (ในกรณีแหง่ โสตะ (หู) ฆานะ (จมกู ) ชวิ หา (ลิ้น) กายะ (กาย) และมนะ (ใจ) ก็ได้ตรัสต่อไปด้วยข้อความ อยา่ งเดียวกนั ). 70
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย เมื่อไม่มมี า ไมม่ ีไป 18 ยอ่ มไมม่ เี กดิ และไมม่ ีดบั -บาลี อ.ุ ข.ุ ๒๕/๒๐๘/๑๖๑. พระผู้มีพระภาคเจา้ ไดท้ รงชักชวนภกิ ษทุ ัง้ หลาย ด้วยธัมมิกถาอันเนื่องเฉพาะด้วยนิพพาน ได้ทรงเห็นว่า ภกิ ษทุ ง้ั หลายสนใจฟงั อยา่ งยง่ิ จงึ ไดต้ รสั พระพทุ ธอทุ านนข้ี น้ึ ในเวลานนั้ ว่า ความหวั่นไหว ยอ่ มมี แก่บุคคลผู้อนั ตณั หาและทิฏฐิอาศยั แล้ว (นิสสฺ ิตสสฺ จลติ ํ) ความหว่ันไหว ย่อมไม่มี แกบ่ ุคคลผู้อันตณั หาและทิฏฐไิ ม่อาศยั แล้ว (อนสิ สฺ ิตสฺส จลติ ํ นตถฺ ิ) เม่อื ความหวัน่ ไหวไม่มี ปัสสัทธยิ ่อมมี (จลิเต อสติ ปสฺสทธฺ ิ) 71
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เมื่อปัสสทั ธมิ ี นติ (ความน้อมไป) ยอ่ มไม่มี (ปสฺสทธฺ ิยา สติ นติ น โหต)ิ เมื่อนตไิ มม่ ี อาคติคติ (การมาและการไป) ยอ่ มไม่มี (นตยิ า อสติ อาคตคิ ติ น โหติ) เมอ่ื อาคติคติไม่มี จตุ ปู ปาตะ (การเคลอื่ นและการเกิดขนึ้ ) ยอ่ มไมม่ ี (อาคติคตยิ า อสติ จตุ ูปปาโต น โหติ) เมอ่ื จุตปู ปาตะไมม่ ี อะไรๆ กไ็ ม่มีในโลกน้ี ไมม่ ีในโลกอ่ืน ไม่มใี นระหวา่ งแห่งโลกทง้ั สอง (จตุ ปู ปาเต อสติ เนวิธ น หุรํ น อภุ ยมนตฺ เร) นนั่ แหละ คอื ท่สี ุดแห่งทกุ ขล์ ะ. (เอเสวนฺโต ทุกฺขสสฺ ) 72
สักแตวา...
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย สักแต่วา่ ... 19 (นัยที่ ๑) -บาลี อุ. ขุ. ๒๕/๘๓-๘๔/๔๙. พาหยิ ะ ! เมือ่ ใดเธอ เห็นรปู แลว้ สักวา่ เห็น ได้ฟังเสียงแล้ว สกั ว่าฟัง ไดก้ ลิน่ ล้ิมรส สมั ผัสทางผิวกาย ก็สักว่าดม ลิ้ม สมั ผัส ไดร้ ู้แจ้งธรรมารมณ์ ก็สักว่าไดร้ ู้แจง้ แล้ว เมื่อนั้น “เธอ” จกั ไม่ม.ี เมื่อใด “เธอ” ไม่มี เม่ือนน้ั เธอก็ไมป่ รากฏในโลกน้ี ไม่ปรากฏในโลกอื่น ไมป่ รากฏในระหวา่ งแห่งโลกท้งั สอง นั่นแหละ คือท่ีสดุ แหง่ ทกุ ขล์ ะ. 74
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย สกั แตว่ ่า... 20 (นัยที่ ๒) -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๙๐-๙๕/๑๓๒-๑๓๙. “ข้าแต่พระองค์เจริญ ! ข้าพระองค์เป็นคนชรา เป็น คนแก่คนเฒ่ามานานผ่านวัยมาตามลำ�ดับ. ขอพระผู้มีพระภาค ทรงแสดงธรรมโดยย่อ ขอพระสุคตจงทรงแสดงธรรมโดยย่อ ในลักษณะที่ข้าพระองค์จะพึงรู้ท่ัวถึงเน้ือความแห่งภาษิตของ พระผู้มีพระภาคเจ้า ในลักษณะท่ีข้าพระองค์จะพึงเป็นทายาท แหง่ ภาษติ ของพระผูม้ ีพระภาคเจ้าเถดิ พระเจา้ ขา้ !”. มาลุงก๎ยบุตร ! ท่านจะสำ�คัญความข้อน้ีว่า อย่างไร คอื รูปท้งั หลาย อันรสู้ ึกกนั ไดท้ างตา เป็นรูปที่ ทา่ นไมไ่ ดเ้ หน็ ไมเ่ คยเหน็ ทที่ า่ นก�ำ ลงั เหน็ อยกู่ ไ็ มม่ ี ทที่ า่ น คิดว่าท่านควรจะได้เห็นก็ไม่มี ดังนี้แล้ว ความพอใจก็ดี ความก�ำ หนดั กด็ ี ความรกั กด็ ี ในรปู เหลา่ นน้ั ยอ่ มมแี กท่ า่ น หรอื ? “ข้อนนั้ หามไิ ดพ้ ระเจา้ ข้า !”. (ต่อไปน้ี ได้มกี ารตรัสถามและการทูลตอบในท�ำนอง เดียวกนั นี้ทุกตวั อักษร ผดิ กนั แต่ช่ือของสิ่งทน่ี �ำมากลา่ ว คอื ใน กรณีแหง่ เสียงอันร้สู กึ กันไดท้ างหู ในกรณแี ห่ง กลนิ่ อันรู้สึกกัน 75
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ไดท้ างจมกู ในกรณแี ห่ง รสอันรู้สกึ กันไดท้ างล้นิ ในกรณีแหง่ โผฏฐัพพะอันรสู้ ึกกันได้ทางผิวกาย และในกรณีแหง่ ธรรมารมณ์ อนั รสู้ กึ กันได้ทางใจ). มาลุงก๎ยบุตร ! ในบรรดาส่ิงท่ีท่าน พึงเห็น พึงฟัง พึงรู้สึก พึงรู้แจง้ เหลา่ นน้ั ใน สง่ิ ทท่ี า่ นเหน็ แลว้ จกั เปน็ แตเ่ พยี งสกั วา่ เหน็ ใน สง่ิ ทท่ี า่ นฟงั แลว้ จกั เปน็ แตเ่ พยี งสกั วา่ ไดย้ นิ ใน สง่ิ ทที่ า่ นรสู้ ึกแล้ว (ทางจมกู ลิ้น กาย) จักเปน็ แตเ่ พยี งสักว่ารูส้ กึ ใน สิ่งทีท่ ่านรแู้ จง้ แล้ว (ทางวิญญาณ) ก็จักเป็นแตเ่ พียงสกั ว่าร้แู จ้ง. มาลุงก๎ยบุตร ! เมอ่ื ใดแล ในบรรดาธรรมเหลา่ นน้ั เม่ือ สิง่ ท่เี หน็ แล้ว สักว่าเห็น สงิ่ ทีฟ่ งั แลว้ สกั วา่ ไดย้ ิน ส่ิงที่รู้สึกแล้ว สักว่ารู้สึก สิ่งท่ีรู้แจ้งแล้ว สักว่ารู้แจ้ง ดงั นี้แลว้ มาลุงก๎ยบุตร ! เม่ือนั้น ตัวท่านย่อมไม่มี เพราะเหตนุ ้ัน 76
เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : มรรควิธีท่ีง่าย มาลุงก๎ยบุตร ! เม่ือใดตัวท่านไม่มีเพราะ เหตุนนั้ เมือ่ นัน้ ตวั ทา่ นกไ็ ม่มใี นทีน่ ้ันๆ มาลุงกย๎ บุตร ! เมอื่ ใดตัวทา่ นไมม่ ีในท่ีนนั้ ๆ เม่ือน้ันตัวท่านก็ไม่มีในโลกน้ี ไม่มีในโลกอื่น ไมม่ ใี นระหว่างโลกทง้ั สอง น่ันแหละ คือท่ีสดุ แห่งความทกุ ข์ ดังนี.้ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์รู้ท่ัวถึงเนื้อความ แห่งภาษิตอันพระผู้มีพระภาคตรัสแล้วโดยย่อน้ี ได้โดยพิสดาร ดังต่อไปนี้ เหน็ รปู แลว้ สตหิ ลงลมื ท�ำ ในใจซง่ึ รปู นมิ ติ วา่ นา่ รกั มีจติ กำ�หนัดแกก่ ลา้ แลว้ เสวยอารมณน์ น้ั อยู่ ความสยบมวั เมายอ่ มครอบง�ำ บคุ คลนน้ั . เวทนาอนั เกิดจากรูปเป็นอเนกประการ ย่อมเจริญแก่เขานั้น. อภิชฌาและวิหิงสาย่อมเข้าไปกลุ้มรุมจิตของเขา. เมอ่ื สะสมทกุ ขอ์ ยอู่ ยา่ งน้ีทา่ นกลา่ ววา่ ยงั ไกลจากนพิ พาน. (ในกรณแี ห่งการฟงั เสยี ง ดมกล่ิน ลิ้มรส ถูกต้อง โผฏฐัพพะดว้ ยกาย รู้สึกธรรมารมณ์ด้วยใจ กม็ ขี อ้ ความทก่ี ลา่ วไว้ อยา่ งเดยี วกัน). 77
พทุ ธวจน - หมวดธรรม บคุ คลนน้ั ไมก่ �ำ หนดั ในรปู ทง้ั หลาย เหน็ รปู แลว้ มีสติเฉพาะ มีจิตไม่กำ�หนัดเสวยอารมณ์อยู่ ความ สยบมวั เมายอ่ มไมค่ รอบง�ำ บคุ คลนน้ั . เมอ่ื เขาเหน็ อยู่ ซึง่ รูปตามทเี่ ป็นจริง เสวยเวทนาอยู่ ทุกขก์ ็สิ้นไปๆ ไมเ่ พม่ิ พนู ขน้ึ เขามสี ตปิ ระพฤตอิ ยดู่ ว้ ยอาการอยา่ งน้ี เมอื่ ไมส่ ะสมทกุ ขอ์ ยอู่ ย่างนี้ ทา่ นกลา่ ววา่ อยู่ใกลต้ ่อ นิพพาน. (ในกรณีแหง่ การฟังเสียง ดมกลิน่ ล้ิมรส ถูกตอ้ ง โผฏฐพั พะดว้ ยกาย รูส้ กึ ธรรมารมณ์ดว้ ยใจ ก็มขี ้อความทีก่ ลา่ วไว้ อยา่ งเดียวกัน). “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์รู้ท่ัวถึงเน้ือความ แห่งภาษิตอันพระผู้มีพระภาคตรัสแล้วโดยย่อน้ี ได้โดยพิสดาร อยา่ งน้ี พระเจ้าข้า ! ”. พระผู้มีพระภาค ทรงรับรองความข้อนั้น ว่า เป็นการถูกต้อง. ท่านมาลุงก๎ยบุตรหลีกออกสู่ท่ีสงัด กระทำ�ความเพียรได้เป็นอรหนั ตอ์ งค์หนึ่งในศาสนาน้.ี 78
สติปฏฐาน ๔
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย มีสติ มสี มั ปชญั ญะ รอคอยการตาย 21 -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๒๖๐-๒๖๔/๓๗๔-๓๘๑. ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! ภิกษพุ ึงเป็นผมู้ ีสติ มีสมั ปชญั ญะ เม่ือรอคอยการท�ำ กาละ นี้เปน็ อนสุ าสนีของเราสำ�หรับพวกเธอทัง้ หลาย. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษุ เปน็ ผมู้ สี ติ เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ภิกษทุ ั้งหลาย ! ภกิ ษใุ นกรณนี ้ี เป็นผ้เู หน็ กายในกายอย่เู ปน็ ประจ�ำ มคี วามเพียร เผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ กำ�จัดอภิชฌาและโทมนัส ในโลกออกเสยี ได้ เปน็ ผเู้ หน็ เวทนาในเวทนาทง้ั หลายอยเู่ ปน็ ประจ�ำ ... เปน็ ผเู้ หน็ จิตในจติ อยู่เปน็ ประจ�ำ ... เป็นผู้เห็นธรรมในธรรมท้ังหลายอยู่เป็นประจำ� มีความเพยี รเผากิเลส มสี มั ปชัญญะ มสี ติ กำ�จดั อภิชฌา และโทมนสั ในโลกออกเสียได้. อย่างน้แี ล ภิกษุทั้งหลาย ! เรียกวา่ ภิกษุเป็นผมู้ ีสต.ิ 80
เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปิด : มรรควิธีท่ีง่าย ภิกษุทงั้ หลาย ! ภกิ ษุ เปน็ ผูม้ สี มั ปชญั ญะ เป็น อยา่ งไรเลา่ ? ภิกษุทั้งหลาย ! ภกิ ษุในกรณนี ้ี เป็นผู้รู้ตัวรอบคอบในการก้าวไปข้างหน้า การ ถอยกลบั ไปขา้ งหลงั การแลดู การเหลยี วดู การคู้ การเหยยี ด การทรงสงั ฆาฏิ บาตร จวี ร การฉนั การดม่ื การเคย้ี ว การลม้ิ การถา่ ยอจุ จาระ ปสั สาวะ การไป การหยดุ การนง่ั การนอน การหลบั การตน่ื การพดู การนง่ิ . อยา่ งนแ้ี ล ภกิ ษุท้งั หลาย ! เรยี กวา่ ภกิ ษุเป็นผู้มีสัมปชญั ญะ. ภกิ ษุทง้ั หลาย ! ภกิ ษุพงึ เปน็ ผู้มสี ตมิ สี มั ปชัญญะ เมือ่ รอคอยการทำ�กาละ นแี้ ล เปน็ อนุสาสนขี องเราส�ำ หรบั พวกเธอทั้งหลาย. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! ถา้ เมอ่ื ภกิ ษุ มีสติ มีสัมปชัญญะ ไมป่ ระมาท มคี วามเพยี รเผากเิ ลส มตี นสง่ ไปแลว้ ในธรรม อยู่อย่างน้ี สขุ เวทนา เกิดขน้ึ ไซร้ เธอยอ่ มร้ชู ัดอย่างน้วี ่า “สุขเวทนาน้ีเกิดขึ้นแล้วแก่เรา แต่สุขเวทนาน้ี อาศัยเหตุ ปจั จยั จงึ เกดิ ขนึ้ ได้ ไมอ่ าศยั เหตปุ จั จยั แลว้ หาเกดิ ขน้ึ ไดไ้ ม.่ 81
พทุ ธวจน - หมวดธรรม อาศยั เหตปุ จั จยั อะไรเลา่ ? อาศยั เหตปุ จั จยั คอื กายน้ี นน่ั เอง ก็กายน้ี ไม่เทย่ี ง มีปจั จัยปรงุ แต่ง อาศยั เหตปุ จั จยั เกิดขึ้น สขุ เวทนาทเ่ี กดิ ขน้ึ เพราะอาศยั กาย ซง่ึ ไมเ่ ทย่ี ง มปี จั จยั ปรงุ แตง่ อาศยั เหตุปจั จัยเกิดข้นึ ดงั น้แี ล้ว จักเปน็ สขุ เวทนาท่เี ทีย่ ง มาแตไ่ หน” ดงั น.้ี ภกิ ษนุ น้ั เปน็ ผตู้ ามเหน็ ความไมเ่ ทย่ี งอยู่ ตามเหน็ ความเสอ่ื ม ความจางคลายอยู่ ตามเหน็ ความดบั ไป ความสลัดคืนอยู่ในกายและในสุขเวทนา. เมื่อเธอเป็นผู้ ตามเหน็ ความไมเ่ ทยี่ ง (เปน็ ตน้ ) อยใู่ นกายและในสขุ เวทนา อยู่ดังนี้ เธอย่อมละเสียได้ ซึ่ง ราคานุสัย ในกายและ ในสุขเวทนานั้น. ภกิ ษุนน้ั ถา้ เสวย สขุ เวทนา กร็ ชู้ ัดวา่ “สขุ เวทนา นั้น เป็นของไม่เท่ียง และเป็นเวทนาที่เรามิได้มัวเมา เพลิดเพลินอยู่” ดังน้ี. ถ้าเสวย ทุกขเวทนา ก็รู้ชัดว่า “ทกุ ขเวทนานนั้ เปน็ ของไมเ่ ทยี่ ง และเปน็ เวทนาทเี่ รามไิ ด้ มวั เมาเพลิดเพลินอย”ู่ ดังนี้. ถ้าเสวย อทุกขมสุขเวทนา กร็ ูช้ ัดวา่ “อทกุ ขมสุขเวทนาน้ัน เปน็ ของไมเ่ ทยี่ ง และเปน็ เวทนาท่ีเรามไิ ด้มวั เมาเพลดิ เพลินอยู่” ดังน้ี. 82
เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : มรรควิธีท่ีง่าย ภกิ ษนุ น้ั ถา้ เสวย สขุ เวทนา กเ็ ปน็ ผปู้ ราศจากกเิ ลส อนั เกดิ จากเวทนานน้ั เปน็ เครอ่ื งรอ้ ยรดั แลว้ เสวยเวทนานน้ั ถ้าเสวย ทุกขเวทนา ก็เป็นผู้ปราศจากกิเลสอันเกิดจาก เวทนาน้นั เป็นเคร่อื งร้อยรัดแล้ว เสวยเวทนาน้นั ถ้าเสวย อทุกขมสุขเวทนา ก็เป็นผู้ปราศจากกิเลส อันเกิดจาก เวทนานน้ั เปน็ เครอ่ื งรอ้ ยรดั แลว้ เสวยเวทนานน้ั . ภกิ ษนุ น้ั เม่ือเสวย เวทนาอันมีกายเป็นท่ีสุดรอบ ย่อมรู้ชัดว่าเรา เสวยเวทนาอันมีกายเป็นท่ีสุดรอบ เม่ือเสวย เวทนาอัน มีชีวิตเป็นท่ีสุดรอบ ย่อมรู้ชัดว่าเราเสวยเวทนาอันมีชีวิต เป็นที่สุดรอบ. เธอย่อม รู้ชัดว่า เวทนาทั้งปวงอันเรา ไมเ่ พลดิ เพลนิ แลว้ จกั เปน็ ของเยน็ ในอตั ตภาพนน้ี น่ั เทยี ว จนกระท่ังถึงที่สุดรอบแห่งชีวิต เพราะการแตกทำ�ลาย แห่งกาย ดงั นี.้ ภิกษุทั้งหลาย ! เปรียบเหมือนประทีปนำ้�มัน ได้อาศัยนำ้�มันและไส้แล้วก็ลุกโพลงอยู่ได้ เม่ือขาดปัจจัย เครอ่ื งหลอ่ เลย้ี ง เพราะขาดน�ำ้ มนั และไสน้ น้ั แลว้ ยอ่ มดบั ลง นี้ฉันใด ภิกษุท้ังหลาย ข้อน้ีก็ฉันนั้น คือภิกษุ เมื่อเสวย 83
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เวทนาอันมีกายเป็นที่สุดรอบ ก็รู้ชัดว่าเราเสวยเวทนาอัน มีกายเป็นที่สุดรอบ ดังนี้. เมื่อเสวยเวทนาอันมีชีวิตเป็น ที่สุดรอบ ก็รู้ชัดว่าเราเสวยเวทนาอันมีชีวิตเป็นท่ีสุดรอบ ดงั น.้ี (เปน็ อนั วา่ ) ภกิ ษนุ นั้ ยอ่ มรชู้ ดั วา่ เวทนาทงั้ ปวงอนั เรา ไม่เพลดิ เพลินแลว้ จักเป็นของเยน็ ในอตั ตภาพนีน้ ั่นเทียว จนกระทั่งถึงท่ีสุดรอบแห่งชีวิต เพราะการแตกทำ�ลาย แห่งกาย ดังน.้ี 84
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168