Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธวจน "โสดาบัน"

Description: พุทธวจน "โสดาบัน"

Search

Read the Text Version

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปิด : คูม่ อื โสดาบนั พระโสดาบันมญี าณหย่ังรเู้ หตุให้ 13 เกดิ ขนึ้ และเหตใุ ห้ดับไป ของโลก -บาลี นทิ าน. สํ. ๑๖/๙๒-๙๕/๑๗๘-๑๘๗. ภิกษุทั้งหลาย !   อรยิ สาวกผไู้ ดส้ ดบั แลว้ ยอ่ มไมม่ ี ความสงสัยอยา่ งน้ี วา่ “เพราะอะไรม ี อะไรจงึ มหี นอ เพราะอะไรเกิดขึ้น อะไรจึงเกดิ ข้นึ เพราะอะไรมี นามรูปจึงมี เพราะอะไรมี สฬายตนะจงึ มี เพราะอะไรมี ผสั สะจึงมี เพราะอะไรมี เวทนาจึงมี เพราะอะไรมี ตณั หาจงึ มี เพราะอะไรมี อุปาทานจงึ มี เพราะอะไรมี ภพจึงมี เพราะอะไรมี ชาตจิ งึ มี เพราะอะไรมี ชรามรณะจึงมี” ดงั น้ี. 33

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย !   โดยทแ่ี ท้ อรยิ สาวกผไู้ ดส้ ดบั แลว้ ยอ่ มมีญาณหยั่งรใู้ นเร่ืองนี้โดยไม่ตอ้ งเช่อื ผู้อืน่ ว่า “เพราะสง่ิ น้มี ี สิ่งนี้จงึ มี เพราะสิ่งนเ้ี กิดขึน้ ส่ิงน้จี ึงเกดิ ข้นึ เพราะวิญญาณมี นามรูปจึงมี เพราะนามรปู มี สฬายตนะจงึ มี เพราะสฬายตนะมี ผัสสะจึงมี เพราะผัสสะมี เวทนาจึงมี เพราะเวทนามี ตัณหาจงึ มี เพราะตณั หามี อปุ าทานจึงมี เพราะอปุ าทานมี ภพจึงมี เพราะภพมี ชาตจิ ึงมี เพราะชาติมี ชรามรณะจึงมี” ดงั น.ี้ อริยสาวกนน้ั ย่อมร้ปู ระจกั ษอ์ ยา่ งน้ี วา่ “โลกนีย้ อ่ มเกิดขึ้น ดว้ ยอาการอย่างนี้” ดังน้.ี 34

เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : คูม่ อื โสดาบัน ภิกษุท้ังหลาย !  อรยิ สาวกผไู้ ดส้ ดบั แลว้ ยอ่ มไมม่ ี ความสงสยั อย่างนี้ วา่ “เพราะอะไรไม่มี อะไรจงึ ไม่มหี นอ เพราะอะไรดับ อะไรจงึ ดับ เพราะอะไรไม่ม ี นามรูปจงึ ไม่มี เพราะอะไรไม่มี สฬายตนะจึงไมม่ ี เพราะอะไรไมม่ ี ผสั สะจงึ ไม่มี เพราะอะไรไม่ม ี เวทนาจงึ ไม่มี เพราะอะไรไมม่ ี ตัณหาจึงไมม่ ี เพราะอะไรไม่มี อุปาทานจึงไม่มี เพราะอะไรไมม่ ี ภพจึงไม่มี เพราะอะไรไมม่ ี ชาติจึงไมม่ ี เพราะอะไรไมม่ ี ชรามรณะจึงไม่มี” ดงั นี้. 35

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย !   โดยทแ่ี ท้ อรยิ สาวกผไู้ ดส้ ดบั แลว้ ยอ่ มมญี าณหยงั่ รู้ในเร่อื งนโี้ ดยไม่ต้องเช่ือผู้อ่ืน ว่า “เพราะสงิ่ น้ไี มม่ ี สิง่ นจี้ งึ ไมม่ ี เพราะส่ิงน้ีดบั ส่ิงนีจ้ งึ ดับ เพราะวญิ ญาณไมม่ ี นามรปู จึงไม่มี เพราะนามรูปไมม่ ี สฬายตนะจงึ ไมม่ ี เพราะสฬายตนะไมม่ ี ผสั สะจึงไม่มี เพราะผสั สะไมม่ ี เวทนาจงึ ไม่มี เพราะเวทนาไมม่ ี ตณั หาจึงไมม่ ี เพราะตณั หาไม่มี อุปาทานจึงไมม่ ี เพราะอุปาทานไมม่ ี ภพจงึ ไม่มี เพราะภพไมม่ ี ชาติจึงไม่มี เพราะชาตไิ ม่มี ชรามรณะจงึ ไมม่ ี” ดงั นี้. อริยสาวกน้ัน ย่อมรปู้ ระจักษ์อยา่ งนี้ ว่า “โลกน้ี ย่อมดบั ด้วยอาการอย่างน”ี้ ดงั น้ี. 36

เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : คู่มอื โสดาบนั ภกิ ษทุ ้งั หลาย !   อรยิ สาวก ยอ่ มมารปู้ ระจกั ษถ์ งึ เหตุเกิดและความดับแห่งโลก ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ในกาลใด  ในกาลนั้น เราเรียกอริยสาวกนี้ วา่ “ผู้สมบูรณแ์ ลว้ ด้วยทฏิ ฐิ” ดงั นีบ้ า้ ง “ผู้สมบูรณ์แลว้ ด้วยทสั สนะ” ดงั นี้บ้าง “ผูม้ าถึงพระสทั ธรรมน้ีแลว้ ” ดงั นีบ้ ้าง “ผู้ได้เห็นอยซู่ ึง่ พระสทั ธรรมนี”้ ดงั นี้บ้าง “ผ้ปู ระกอบแล้วดว้ ยญาณอนั เปน็ เสขะ” ดงั นีบ้ า้ ง “ผู้ประกอบแล้วด้วยวิชชาอันเป็นเสขะ” ดงั นบ้ี า้ ง “ผถู้ งึ ซง่ึ กระแสแหง่ ธรรมแล้ว” ดังน้ีบา้ ง “ผปู้ ระเสรฐิ มปี ญั ญาเครอ่ื งช�ำ แรกกเิ ลส” ดังน้บี ้าง “ยืนอยู่จรดประตูแหง่ อมตะ” ดงั นบ้ี ้าง ดงั นี้ แล. 37

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : ค่มู อื โสดาบนั 38

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : คมู่ ือโสดาบนั พระโสดาบัน คอื ผ้เู หน็ ชดั รายละเอียด 14แโดตยล่ นะยัสแายหขง่ ออรงยิปสฏจัจิ สจี่ส(มเหปุน็ ตบลาอทดตสลายอดนยัททง้ั ห่ี สนาง่ึ ย) -บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๕๐-๕๑/๘๘-๙๐. ภิกษทุ ัง้ หลาย !   จึงมีสังขารทั้งหลาย เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป เพราะมีวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีภพ เพราะมีอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะมีภพเป็นปัจจัย 39

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เพราะมชี าตเิ ปน็ ปจั จยั   ชรามรณะ  โสกะปรเิ ทวะทกุ ขะ โทมนสั อปุ ายาสทง้ั หลาย  จงึ เกดิ ขน้ึ ครบถว้ น  ความเกิดข้นึ พรอ้ มแห่งกองทกุ ขท์ งั้ สิน้ น ้ี ยอ่ มม ี ดว้ ยอาการอยา่ งน.้ี ภกิ ษุท้ังหลาย !   ก็ ชรามรณะ เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ความแก่ ความครำ�่ คร่า ความมีฟันหลุด ความมี ผมหงอก ความมีหนังเห่ียว ความสิ้นไปแห่งอายุ ความ แกร่ อบแหง่ อนิ ทรีย์ทงั้ หลาย ในสัตวนกิ ายนั้นๆ ของสตั ว์ ทงั้ หลายเหลา่ นน้ั ๆ  นเี้ รยี กวา่ ชรา.  การจตุ ิ ความเคลอื่ น การแตกสลาย การหายไป การวายชพี การตาย การท�ำ กาละ การแตกแห่งขันธ์ทั้งหลาย การทอดทิ้งร่าง การขาดแห่ง อินทรีย์ คือ ชีวิตจากสัตวนิกายน้ันๆ ของสัตว์ทั้งหลาย เหล่าน้ันๆ  นี้เรียกว่า มรณะ.  ชราน้ีด้วย มรณะนี้ด้วย ย่อมมีอยู่ ดังน้ี  ภิกษุท้ังหลาย !   นี้เรียกว่า  ชรามรณะ. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งชรามรณะ  ย่อมมี  เพราะความ ก่อขึ้นพร้อมแห่งชาติ  ความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ  ย่อมมี  เพราะความดับไม่เหลือแห่งชาติ  มรรคอัน ประกอบด้วยองค์แปดอันประเสริฐนั่นเอง เป็นปฏิปทา 40

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : คู่มือโสดาบัน ใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไม่เหลือแห่งชรามรณะ ได้แก่สิ่งเหล่านี้  คือ  ความเห็นชอบ  ความดำ�ริชอบ การพูดจาชอบ  การ ทำ�การงานชอบ  การเล้ียงชีวิตชอบ ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ  ความตง้ั ใจมน่ั ชอบ. ภกิ ษุทั้งหลาย !   ก็ ชาติ เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? การเกิด การกำ�เนิด การก้าวลง (สู่ครรภ์) การ บังเกิด การบังเกิดโดยย่ิง ความปรากฏของขันธ์ทั้งหลาย การท่ีสตั ว์ไดซ้ ึ่งอายตนะทง้ั หลาย ในสตั วนิกายน้นั ๆ ของ สัตว์ท้ังหลายเหล่าน้ันๆ  ภิกษุทั้งหลาย !   นี้เรียกว่า ชาติ.  ความก่อข้ึนพร้อมแห่งชาติ ย่อมมี เพราะความ ก่อขึ้นพร้อมแห่งภพ  ความดับไม่เหลือแห่งชาติ  ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งภพ  มรรคอันประกอบด้วย องค์แปดอันประเสริฐนั่นเอง เป็นปฏิปทาให้ถึงซ่ึงความ ดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ชาต ิ ไดแ้ กส่ งิ่ เหลา่ น ี้ คอื ความเหน็ ชอบ ความดำ�ริชอบ การพูดจาชอบ การทำ�การงานชอบ การเล้ียงชีวิตชอบ ความพากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความต้งั ใจมนั่ ชอบ. 41

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย !   ก็ ภพ เปน็ อย่างไรเล่า ? ภิกษุท้ังหลาย !   ภพทง้ั หลาย ๓ อยา่ งเหลา่ น้ี คอื กามภพ รปู ภพ อรปู ภพ  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   นเ้ี รยี กวา่ ภพ. ความกอ่ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ ภพ ยอ่ มมี เพราะความกอ่ ขน้ึ พรอ้ ม แห่งอุปาทาน ความดับไม่เหลือแห่งภพ ย่อมมี เพราะ ความดับไม่เหลือแห่งอุปาทาน  มรรคอันประกอบด้วย องคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ นน่ั เอง เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไม่เหลือแห่งภพ  ได้แก่สิ่งเหล่านี้  คือ  ความเห็นชอบ ความดำ�ริชอบ  การพูดจาชอบ  การทำ�การงานชอบ การเลยี้ งชวี ติ ชอบ  ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ ความต้งั ใจมน่ั ชอบ. ภิกษทุ ั้งหลาย !   ก็ อปุ าทาน เป็นอยา่ งไรเลา่  ? ภิกษุท้ังหลาย !   อุปาทานทั้งหลาย ๔ อย่าง เหล่าน้ี คอื ความยึดม่นั ในกาม ความยดึ มน่ั ในความเห็น ความยดึ มนั่ ในขอ้ ปฏบิ ตั ทิ างกายและวาจา (ศลี พรต) ความ ยึดม่ันในความเป็นตัวตน  ภิกษุทั้งหลาย !   น้ีเรียกว่า อุปาทาน.  ความก่อขึ้นพร้อมแห่งอุปาทาน  ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งตัณหา  ความดับไม่เหลือ 42

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : คมู่ ือโสดาบัน แห่งอุปาทาน ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งตัณหา มรรคอันประกอบด้วยองค์แปดอันประเสริฐนั่นเอง เป็น ปฏิปทาให้ถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งอุปาทาน ได้แก่ สง่ิ เหลา่ น ้ี คอื   ความเหน็ ชอบ ความด�ำ รชิ อบ การพดู จาชอบ การท�ำ การงานชอบ  การเลย้ี งชวี ติ ชอบ  ความพากเพยี รชอบ ความระลกึ ชอบ  ความต้งั ใจม่ันชอบ. ภิกษุทั้งหลาย !   ก็ ตณั หา เปน็ อยา่ งไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย !   หมู่แห่งตัณหาท้ังหลาย ๖ หมู่ เหลา่ น ้ี คอื   ความอยากในรปู ความอยากในเสยี ง ...ในกลิ่น ...ในรส ...ในสัมผัสทางกาย ความอยากในธรรมารมณ์ ภิกษุทั้งหลาย !   น้ีเรียกว่า ตัณหา.  ความก่อข้ึนพร้อม แห่งตัณหา ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งเวทนา ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ตณั หา ยอ่ มมี เพราะความดบั ไมเ่ หลอื แห่งเวทนา มรรคอันประกอบด้วยองค์แปดอันประเสริฐ นั่นเอง เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ตณั หา ได้แก่ส่ิงเหล่าน้ี  คือ  ความเห็นชอบ  ความด�ำริชอบ การพูดจาชอบ  การท�ำการงานชอบ  การเล้ียงชีวิตชอบ ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ  ความตงั้ ใจมนั่ ชอบ. 43

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษุทัง้ หลาย !   ก็ เวทนา เป็นอย่างไรเลา่  ? ภิกษุท้ังหลาย !   หมู่แห่งเวทนาทั้งหลาย ๖ หมู่ เหลา่ น้ี คอื เวทนาทเ่ี กดิ จากสมั ผสั ทางตา ...ทางห .ู ..ทางจมกู ...ทางลิ้น ...ทางกาย และเวทนาท่ีเกิดจากสัมผัสทางใจ ภิกษุทั้งหลาย !   น้ีเรียกว่า เวทนา.  ความก่อข้ึนพร้อม แห่งเวทนา ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งผัสสะ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ เวทนา ยอ่ มมี เพราะความดบั ไมเ่ หลอื แห่งผัสสะ  มรรคอันประกอบด้วยองค์แปดอันประเสริฐ นน่ั เอง เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ เวทนา ได้แก่ส่ิงเหล่าน้ี  คือ  ความเห็นชอบ  ความดำ�ริชอบ การพูดจาชอบ  การทำ�การงานชอบ  การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ  ความตง้ั ใจมน่ั ชอบ. ภิกษทุ ้ังหลาย !   ก็ ผสั สะ เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ภิกษุท้ังหลาย !   หมู่แห่งผัสสะทั้งหลาย ๖ หมู่ เหล่าน้ี คือ สัมผัสทางตา ...ทางหู ...ทางจมูก ...ทางล้ิน ...ทางกาย สมั ผสั ทางใจ  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  นเ้ี รยี กวา่ ผสั สะ. ความก่อข้ึนพร้อมแห่งผัสสะ ย่อมมี เพราะความก่อขึ้น พรอ้ มแหง่ สฬายตนะ ความดับไมเ่ หลอื แหง่ ผสั สะ ยอ่ มมี 44

เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : คมู่ อื โสดาบนั เพราะความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ สฬายตนะ มรรคอนั ประกอบดว้ ย องคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ นน่ั เอง เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไม่เหลือแห่งผัสสะ ได้แก่สิ่งเหล่านี้  คือ  ความเห็นชอบ ความดำ�ริชอบ  การพูดจาชอบ  การทำ�การงานชอบ การเลย้ี งชวี ติ ชอบ  ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ ความตง้ั ใจม่นั ชอบ. ภิกษุทงั้ หลาย !   ก็ สฬายตนะ เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? จกั ขว๎ ายตนะ โสตายตนะ ฆานายตนะ ชวิ หายตนะ กายายตนะ มนายตนะ  ภิกษุท้ังหลาย !   นี้เรียกว่า สฬายตนะ.  ความก่อขึ้นพร้อมแห่งสฬายตนะ ย่อมมี เพราะความกอ่ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ นามรปู ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ สฬายตนะ ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งนามรูป มรรคอันประกอบด้วยองค์แปดอันประเสริฐนั่นเอง เป็นปฏิปทาให้ถึงซ่ึงความดับไม่เหลือแห่งสฬายตนะ ได้แก่สิ่งเหล่านี้  คือ  ความเห็นชอบ  ความดำ�ริชอบ การพูดจาชอบ  การทำ�การงานชอบ  การเล้ียงชีวิตชอบ ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ  ความตง้ั ใจมน่ั ชอบ. 45

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษทุ ั้งหลาย !   ก็ นามรปู เปน็ อย่างไรเล่า ? เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ  น้เี รียกว่า นาม.  มหาภูตทั้งสี่ด้วย  รูปที่อาศัยมหาภูตทั้งสี่ด้วย  นเ้ี รยี กวา่ รปู .  นามนด้ี ว้ ย รปู นด้ี ว้ ย ยอ่ มมอี ยอู่ ยา่ งน ้ี  ภกิ ษุ ทั้งหลาย !   นี้เรียกว่า นามรูป. ความก่อขึ้นพร้อมแห่ง นามรูป ย่อมมี เพราะความก่อข้ึนพร้อมแห่งวิญญาณ ความดับไม่เหลือแห่งนามรูป ย่อมมี เพราะความดับ ไม่เหลือแห่งวิญญาณ มรรคอันประกอบด้วยองค์แปดอัน ประเสรฐิ นน่ั เอง เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ นามรปู   ไดแ้ กส่ ง่ิ เหลา่ น ้ี คอื   ความเหน็ ชอบ  ความด�ำ รชิ อบ  การพูดจาชอบ  การทำ�การงานชอบ  การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ  ความตง้ั ใจมน่ั ชอบ. ภิกษุทงั้ หลาย !   ก็ วิญญาณ เป็นอยา่ งไรเล่า ? ภิกษุท้ังหลาย !   หมแู่ หง่ วญิ ญาณทง้ั หลาย ๖ หมู่ เหล่านี้ คือ จักขุวิญญาณ (ผู้รู้แจ้งทางตา) โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ (ผู้รู้แจ้งทางใจ)  ภิกษุทั้งหลาย !  น้ีเรียกว่า  วิญญาณ. ความกอ่ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ วญิ ญาณ ยอ่ มมี เพราะความกอ่ ขน้ึ พร้อมแห่งสังขาร ความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ ย่อมมี 46

เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : คู่มอื โสดาบัน เพราะความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ สงั ขาร มรรคอนั ประกอบดว้ ย องคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ นน่ั เอง เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไม่เหลอื แหง่ วิญญาณ ได้แก่สง่ิ เหล่าน้ี  คือ  ความเห็นชอบ ความดำ�ริชอบ  การพูดจาชอบ  การทำ�การงานชอบ การเลย้ี งชวี ติ ชอบ  ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ ความต้ังใจมัน่ ชอบ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ก็ สงั ขารทง้ั หลาย เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  สังขารท้ังหลาย ๓ อย่างเหล่านี้ คอื กายสงั ขาร (ความปรงุ แตง่ ทางกาย)  วจสี งั ขาร (ความปรงุ แตง่ ทางวาจา)  จิตตสังขาร (ความปรุงแต่งทางใจ)  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เหล่านี้เรียกว่า  สังขารท้ังหลาย.  ความก่อขึ้นพร้อม แห่งสังขารย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งอวิชชา ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ สงั ขาร ยอ่ มมี เพราะความดบั ไมเ่ หลอื แห่งอวิชชา มรรคอันประกอบด้วยองค์แปดอันประเสริฐ นน่ั เอง เปน็ ปฏิปทาใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ สงั ขาร ได้แก่สิ่งเหล่านี้  คือ  ความเห็นชอบ  ความดำ�ริชอบ การพูดจาชอบ  การทำ�การงานชอบ  การเล้ียงชีวิตชอบ ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ  ความตง้ั ใจมน่ั ชอบ. 47

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ ้ังหลาย !   ในกาลใดแล อรยิ สาวก ย่อมมารู้ทั่วถึงซึ่งธรรม อันเป็นปัจจัย (เหตุ) ว่าเป็นอย่างน้ีๆ  มารู้ทั่วถึงซ่ึงเหตุแห่งธรรม อันเป็น ปัจจัยว่าเป็นอย่างนี้ๆ  มารู้ท่ัวถึงซึ่งความดับไม่เหลือ แหง่ ธรรม อนั เปน็ ปจั จยั   วา่ เปน็ อยา่ งนๆ้ี   มารทู้ วั่ ถงึ ซงึ่ ขอ้ ปฏบิ ตั เิ ครอ่ื งท�ำ สตั วใ์ หล้ ถุ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ธรรม อันเปน็ ปจั จยั   วา่ เปน็ อย่างนๆี้ ดงั น้ี ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ในกาลนน้ั เราเรยี กอรยิ สาวกนน้ั วา่ “ผสู้ มบรู ณแ์ ลว้ ด้วยทิฏฐ”ิ “ผสู้ มบรู ณแ์ ลว้ ดว้ ยทัสสนะ” ดังน้บี ้าง “ผู้มาถงึ พระสทั ธรรมนแี้ ลว้ ” ดงั นบ้ี ้าง “ผ้ไู ดเ้ ห็นอยู่ซ่ึงพระสัทธรรมน”้ี ดังน้ีบ้าง ดังน้บี า้ ง “ผู้ประกอบแลว้ ดว้ ยญาณอนั เป็นเสขะ” ดังนบ้ี ้าง “ผ้ปู ระกอบแล้วด้วยวชิ ชาอันเปน็ เสขะ” ดังนบี้ ้าง “ผู้ถงึ ซึ่งกระแสแห่งธรรมแลว้ ” ดงั นีบ้ า้ ง “ผปู้ ระเสรฐิ มปี ญั ญาเครอ่ื งช�ำ แรกกเิ ลส” ดงั นบี้ ้าง “ยืนอยูจ่ รดประตูแหง่ อมตะ” ดังน้ีบา้ ง ดงั น้ี แล. 48

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : คู่มือโสดาบนั พระโสดาบัน คอื ผเู้ หน็ ชดั รายละเอยี ด 15โแดตยล่ นะยัสแายหขง่ อองรปยิ สฏจัจิ สจสี่ (มเหปุ น็ บตาลทอตดสลาอยดนทยั ง้ัทสส่ี าอยง) -บาลี นิทาน. ส.ํ ๑๖/๕๑-๕๓/๙๑-๙๓. ภกิ ษุท้ังหลาย !   ภกิ ษใุ นธรรมวินัยน้ี ยอ่ มรทู้ ว่ั ถงึ ซง่ึ  ชรามรณะ  รทู้ ว่ั ถงึ ซง่ึ เหตใุ หเ้ กดิ ขน้ึ แหง่ ชรามรณะ  รทู้ วั่ ถงึ ซงึ่ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ชรามรณะ  รทู้ ว่ั ถงึ ซงึ่ ขอ้ ปฏบิ ตั เิ ครอ่ื งท�ำ สตั วใ์ หล้ ถุ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แห่งชรามรณะ ยอ่ มรทู้ วั่ ถงึ ซง่ึ  ชาต ิ รทู้ ว่ั ถงึ ซง่ึ เหตใุ หเ้ กดิ ขนึ้ แหง่ ชาติ  รู้ทั่วถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งชาติ  รู้ทั่วถึงซึ่ง ขอ้ ปฏิบัติเคร่ืองทำ�สตั วใ์ หล้ ุถงึ ความดบั ไม่เหลอื แหง่ ชาติ ย่อมรู้ท่ัวถึงซ่ึง ภพ  รู้ทั่วถึงซ่ึงเหตุให้เกิดข้ึนแห่ง ภพ  รู้ทั่วถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งภพ  รู้ท่ัวถึงซ่ึงข้อ ปฏบิ ัติเครอ่ื งท�ำสตั ว์ให้ลุถงึ ความดับไม่เหลือแห่งภพ 49

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ยอ่ มรทู้ ว่ั ถงึ ซงึ่  อปุ าทาน  รทู้ ว่ั ถงึ ซงึ่ เหตใุ หเ้ กดิ ขน้ึ แห่งอุปาทาน  รู้ทั่วถึงซ่ึงความดับไม่เหลือแห่งอุปาทาน  รทู้ ว่ั ถงึ ซงึ่ ขอ้ ปฏบิ ตั เิ ครอ่ื งท�ำ สตั วใ์ หล้ ถุ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ อปุ าทาน ย่อมรู้ทั่วถึงซ่ึง ตัณหา  รู้ท่ัวถึงซึ่งเหตุให้เกิดข้ึน แห่งตัณหา  รู้ท่ัวถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งตัณหา  รู้ท่ัวถึงซึ่งข้อปฏิบัติเคร่ืองทำ�สัตว์ให้ลุความดับไม่เหลือ แห่งตัณหา ย่อมรู้ทั่วถึงซึ่ง เวทนา  รู้ท่ัวถึงซ่ึงเหตุให้เกิดขึ้น แห่งเวทนา  รู้ทั่วถึงซ่ึงความดับไม่เหลือแห่งเวทนา  รู้ ท่ัวถึงซึ่งข้อปฏิบัติเคร่ืองทำ�สัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือ แห่งเวทนา ย่อมรู้ทั่วถึงซึ่ง ผัสสะ  รู้ท่ัวถึงซึ่งเหตุให้เกิดข้ึน แหง่ ผสั สะ  รทู้ ว่ั ถงึ ซงึ่ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ผสั สะ  รทู้ วั่ ถงึ ซ่ึงข้อปฏิบัติเคร่ืองทำ�สัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่ง ผัสสะ 50

เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : ค่มู ือโสดาบัน ย่อมรู้ทั่วถึงซ่ึง สฬายตนะ  รู้ทั่วถึงซึ่งเหตุให้ เกิดข้ึนแห่งสฬายตนะ  รู้ทั่วถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่ง สฬายตนะ  รทู้ วั่ ถงึ ซง่ึ ขอ้ ปฏบิ ตั เิ ครอ่ื งท�ำ สตั วใ์ หล้ ถุ งึ ความ ดับไม่เหลอื แห่งสฬายตนะ ย่อมรู้ท่ัวถึงซึ่ง นามรูป  รู้ท่ัวถึงซึ่งเหตุให้เกิด ขึ้นแห่งนามรูป  รู้ท่ัวถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งนามรูป  รทู้ ว่ั ถงึ ซง่ึ ขอ้ ปฏบิ ตั เิ ครอ่ื งท�ำ สตั วใ์ หล้ ถุ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แห่งนามรูป ยอ่ มรทู้ ว่ั ถงึ ซงึ่  วญิ ญาณ  รทู้ ว่ั ถงึ ซง่ึ เหตใุ หเ้ กดิ ขนึ้ แห่งวิญญาณ  รู้ท่ัวถึงซ่ึงความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ  รทู้ วั่ ถงึ ซง่ึ ขอ้ ปฏบิ ตั เิ ครอื่ งท�ำ สตั วใ์ หล้ ถุ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ วญิ ญาณ ย่อมรู้ท่ัวถึงซ่ึง สังขาร  รู้ท่ัวถึงซ่ึงเหตุให้เกิดข้ึน แหง่ สงั ขาร  รทู้ ว่ั ถงึ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ สงั ขาร  รทู้ ว่ั ถงึ ซ่ึงข้อปฏิบัติเครื่องทำ�สัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่ง สังขาร. 51

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ชรามรณะ เปน็ อย่างไรเล่า ? ความแก่ ความคร่�ำ คร่า ความมฟี นั หลดุ ความมี ผมหงอก ความมหี นงั เหยี่ ว ความสนิ้ ไปๆ แหง่ อายุ ความ แก่รอบแห่งอินทรีย์ทัง้ หลาย ในสตั วนกิ ายนนั้ ๆ ของสัตว์ ท้ังหลายเหล่านั้นๆ นี้เรียกว่า ชรา. การจุติ การเคล่ือน การแตกสลาย การหายไป การวายชีพ การตาย การทำ� กาละ การแตกแหง่ ขนั ธท์ ง้ั หลาย การทอดทง้ิ รา่ ง การขาด แหง่ อนิ ทรยี  ์ คอื   ชวี ติ จากสตั วนกิ ายนน้ั ๆ ของสตั วท์ ง้ั หลาย เหล่าน้ันๆ  นี้เรียกว่า มรณะ. ชราน้ีด้วย มรณะน้ีด้วย ย่อมมีอยู่ดังน้ี ภิกษุท้ังหลาย !   น้ีเรียกว่า ชรามรณะ. ความกอ่ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ ชรามรณะ ยอ่ มมี เพราะความกอ่ ขน้ึ พร้อมแห่งชาติ ความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งชาติ มรรคอันประกอบด้วย องคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ นน่ั เอง เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ชรามรณะ ไดแ้ กส่ ง่ิ เหลา่ น ้ี คือ  ความเหน็ ชอบ ความดำ�ริชอบ  การพูดจาชอบ  การทำ�การงานชอบ การเลย้ี งชวี ติ ชอบ  ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ ความตงั้ ใจมน่ั ชอบ. 52

เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : คู่มอื โสดาบัน ภิกษทุ ัง้ หลาย !   ชาต ิ เป็นอยา่ งไรเล่า ? การเกิด การกำ�เนิด การก้าวลง (สู่ครรภ์) การ บังเกิด การบังเกิดโดยย่งิ ความปรากฏของขันธ์ท้งั หลาย การท่สี ัตว์ได้ซ่งึ อายตนะท้งั หลาย ในสัตวนิกายน้นั ๆ ของ สตั วท์ ง้ั หลายเหลา่ นน้ั ๆ  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   นเ้ี รยี กวา่ ชาต.ิ ความกอ่ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ ชาต ิ ยอ่ มม ี เพราะความกอ่ ขน้ึ พรอ้ ม แหง่ ภพ  ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ชาติ ยอ่ มมี เพราะความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ภพ  มรรคอนั ประกอบดว้ ยองคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ นน่ั เอง  เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ชาต ิ ไดแ้ ก่ สง่ิ เหลา่ น ้ี คือ  ความเหน็ ชอบ ความด�ำ รชิ อบ การพดู จาชอบ การท�ำ การงานชอบ  การเลย้ี งชวี ติ ชอบ  ความพากเพยี รชอบ ความระลึกชอบ  ความตง้ั ใจม่ันชอบ. ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   ภพ เป็นอย่างไรเลา่  ? ภิกษทุ ั้งหลาย !   ภพทง้ั หลาย ๓ อยา่ งเหลา่ น้ี คอื กามภพ  รูปภพ  อรูปภพ  ภิกษุท้ังหลาย !   น้เี รียกว่า ภพ.  ความก่อขึ้นแห่งภพ  ย่อมมี  เพราะความก่อขึ้น พร้อมแห่งอุปาทาน  ความดับไม่เหลือแห่งภพ  ย่อมมี 53

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เพราะความดับไม่เหลือแห่งอุปาทาน  มรรคอัน ประกอบด้วยองค์แปดอันประเสริฐน่ันเอง  เป็นปฏิปทา ให้ถึงซ่ึงความดับไม่เหลือแห่งภพ  ได้แก่ส่ิงเหล่าน้ี  คือ  ความเห็นชอบ  ความดำ�ริชอบ  การพูดจาชอบ  การท�ำ การงานชอบ  การเลย้ี งชวี ติ ชอบ  ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ  ความต้ังใจมั่นชอบ. ภิกษุทงั้ หลาย !   อุปาทาน เป็นอยา่ งไรเลา่  ? ภิกษุทั้งหลาย !   อุปาทานทั้งหลาย ๔ อย่าง เหล่าน้ี  คือ  กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลัพพัตตุปาทาน อัตตวาทุปาทาน  ภิกษุท้ังหลาย !   น้ีเรียกว่า อุปาทาน. ความกอ่ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ อปุ าทาน ยอ่ มมี เพราะความกอ่ ขน้ึ พร้อมแห่งตัณหา ความดับไม่เหลือแห่งอุปาทาน ย่อมมี เพราะความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ตณั หา มรรคอนั ประกอบดว้ ย องคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ นน่ั เอง เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไม่เหลือแหง่ อปุ าทาน ไดแ้ กส่ ง่ิ เหลา่ น ้ี คือ  ความเหน็ ชอบ ความดำ�ริชอบ  การพูดจาชอบ  การทำ�การงานชอบ การเลย้ี งชวี ติ ชอบ  ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ ความต้งั ใจม่นั ชอบ. 54

เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : คมู่ อื โสดาบัน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ตณั หา เป็นอยา่ งไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย !   หมู่แห่งตัณหาทั้งหลาย ๖ หมู่ เหล่านี้  คือ  รูปตัณหา สัททตัณหา คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธัมมตัณหา  ภิกษุทัง้ หลาย !   น้ีเรียกวา่ ตณั หา.  ความกอ่ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ ตณั หา ยอ่ มมี เพราะความ กอ่ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ เวทนา ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ตณั หา ยอ่ มมี เพราะความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ เวทนา มรรคอนั ประกอบดว้ ย องคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ นน่ั เอง เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไม่เหลือแห่งตัณหา  ได้แก่สิ่งเหล่านี้ คือ ความเห็นชอบ ความดำ�ริชอบ  การพูดจาชอบ  การทำ�การงานชอบ การเลย้ี งชวี ติ ชอบ  ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ ความตัง้ ใจมั่นชอบ. ภกิ ษทุ ้งั หลาย !   เวทนา เปน็ อย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย !   หมู่แห่งเวทนาท้ังหลาย ๖ หมู่ เหล่านี้  คือ  จักขุสัมผัสสชาเวทนา  โสตสัมผัสสชาเวทนา ฆานสัมผัสสชาเวทนา  ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา  กายสัม- ผัสสชาเวทนา  มโนสัมผัสสชาเวทนา  ภิกษุทั้งหลาย !   นี้เรียกว่า เวทนา.  ความก่อข้ึนพร้อมแห่งเวทนา ย่อมมี  55

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งผัสสะ  ความดับไม่เหลือ แห่งเวทนา  ย่อมมี  เพราะความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ มรรคอันประกอบด้วยองค์แปดอันประเสริฐนั่นเอง  เป็น ปฏิปทาให้ถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งเวทนา  ได้แก่ สง่ิ เหลา่ น้ี คอื ความเหน็ ชอบ  ความด�ำ รชิ อบ  การพดู จาชอบ  การท�ำ การงานชอบ  การเลย้ี งชวี ติ ชอบ  ความพากเพยี รชอบ  ความระลึกชอบ  ความตัง้ ใจม่ันชอบ. ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   ผสั สะ เป็นอยา่ งไรเลา่  ? ภิกษุท้ังหลาย !   หมู่แห่งผัสสะท้ังหลาย ๖ หมู่ เหลา่ นี้ คอื จกั ขสุ มั ผสั โสตสมั ผสั ฆานสมั ผสั ชวิ หาสมั ผสั กายสมั ผสั มโนสมั ผสั   ภิกษุทั้งหลาย !   นเ้ี รยี กวา่ ผสั สะ. ความก่อข้ึนพร้อมแห่งผัสสะ ย่อมมี เพราะความก่อข้ึน พร้อมแห่งสฬายตนะ ความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ ย่อมมี เพราะความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ สฬายตนะ  มรรคอนั ประกอบดว้ ย องคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ นน่ั เอง เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไม่เหลือแห่งผัสสะ ได้แก่สิ่งเหล่านี้  คือ  ความเห็นชอบ ความด�ำ รชิ อบ  การพดู จาชอบ  การท�ำ การงานชอบ  การ เล้ียงชีวิตชอบ  ความพากเพียรชอบ  ความระลึกชอบ ความต้ังใจมน่ั ชอบ. 56

เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : คมู่ ือโสดาบนั ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   สฬายตนะ1 เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ภิกษุทั้งหลาย !   จักข๎วายตนะ  โสตายตนะ ฆานายตนะ  ชิวหายตนะ  กายายตนะ  มนายตนะ ภกิ ษทุ งั้ หลาย !  นเ้ี รยี กวา่   สฬายตนะ.  ความกอ่ ขนึ้ พรอ้ ม แหง่ สฬายตนะ ยอ่ มมี เพราะความกอ่ ขนึ้ พรอ้ มแหง่ นามรปู ความดับไม่เหลือแห่งสฬายตนะ ย่อมมี เพราะความดับ ไม่เหลือแห่งนามรูป มรรคอันประกอบด้วยองค์แปดอัน ประเสรฐิ นน่ั เอง เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ซงึ่ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ สฬายตนะ ไดแ้ กส่ งิ่ เหลา่ นี้ คอื ความเหน็ ชอบ ความด�ำรชิ อบ การพูดจาชอบ  การท�ำการงานชอบ  การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ  ความตงั้ ใจมน่ั ชอบ. ภกิ ษทุ ัง้ หลาย !   นามรปู เปน็ อย่างไรเลา่  ? ภิกษุทั้งหลาย !   เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ นี้เรียกว่า นาม  มหาภูตท้ังสี่ด้วย รูปท่ีอาศัย มหาภูตทั้งสี่ด้วย นี้เรียกว่า รูป  นามนี้ด้วย รูปนี้ด้วย ย่อมมีอยู่ดังน้ี  ภิกษุท้ังหลาย !   น้ีเรียกว่า นามรูป. ความก่อขึ้นพร้อมแห่งนามรูป ย่อมมี เพราะความก่อข้นึ 1. คอื อายตนะภายในทง้ั ๖ และอายตนะภายนอกทง้ั ๖. 57

พทุ ธวจน - หมวดธรรม พร้อมแห่งวิญญาณ ความดับไม่เหลือแห่งนามรูป ย่อมมี เพราะความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ วญิ ญาณ มรรคอนั ประกอบดว้ ย องคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ นน่ั เอง เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ นามรปู ได้แก่สิ่งเหล่านี้  คือ  ความเห็นชอบ ความดำ�ริชอบ  การพูดจาชอบ  การทำ�การงานชอบ  การเลย้ี งชวี ติ ชอบ  ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ ความตั้งใจม่ันชอบ. ภกิ ษทุ ้ังหลาย !   วญิ ญาณ เปน็ อยา่ งไรเล่า ? ภิกษุทง้ั หลาย !   หมแู่ หง่ วญิ ญาณทง้ั หลาย ๖ หมู่ เหล่าน้ี  คือ  จักขุวิญญาณ  โสตวิญญาณ  ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ  กายวิญญาณ  มโนวิญญาณ    ภิกษุ ทง้ั หลาย !   นเี้ รยี กวา่ วิญญาณ. ความก่อขน้ึ พร้อมแหง่ วิญญาณ ย่อมมี เพราะความก่อข้ึนพร้อมแห่งสังขาร ความดับไม่เหลือแห่งวิญญาณ ย่อมมี เพราะความดับ ไม่เหลือแห่งสังขาร มรรคอันประกอบด้วยองค์แปดอัน ประเสรฐิ นน่ั เอง เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ วญิ ญาณ ไดแ้ กส่ ง่ิ เหลา่ น ้ี คอื   ความเหน็ ชอบ ความด�ำ รชิ อบ การพูดจาชอบ  การทำ�การงานชอบ  การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ  ความตง้ั ใจมน่ั ชอบ. 58

เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : คมู่ อื โสดาบัน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  สงั ขารทง้ั หลาย เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  สงั ขารทง้ั หลาย ๓ อยา่ งเหลา่ น้ี คือ  กายสังขาร  วจีสังขาร  จิตตสังขาร  ภิกษุทั้งหลาย ! เหล่านี้เรียกว่า  สังขารทั้งหลาย.  ความก่อขึ้นพร้อม แห่งสังขาร ย่อมมี เพราะความก่อข้ึนพร้อมแห่งอวิชชา ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ สงั ขาร ยอ่ มมี เพราะความดบั ไมเ่ หลอื แห่งอวชิ ชา  มรรคอนั ประกอบดว้ ยองคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ น่ันเอง เป็นปฏิปทาให้ถึงซ่ึงความดับไม่เหลือแห่งสังขาร ได้แก่ส่ิงเหล่าน้ี  คือ  ความเห็นชอบ  ความดำ�ริชอบ การพูดจาชอบ  การทำ�การงานชอบ  การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ  ความตง้ั ใจมน่ั ชอบ. ภกิ ษุท้ังหลาย !   ในกาลใดแล ภกิ ษุ ย่อมมารู้ท่ัวถึงซึ่ง ชรามรณะ  มารู้ท่ัวถึงซึ่งเหตุ ให้เกิดขึ้นแห่งชรามรณะ  มารู้ทั่วถึงซ่ึงความดับไม่เหลือ แห่งชรามรณะ  มารู้ท่ัวถึงซ่ึงข้อปฏิบัติเครื่องทำ�สัตว์ให้ ลุถึงความดับไม่เหลือแหง่ ชรามรณะ  วา่ เป็นอยา่ งนี้ๆ. ย่อมมารู้ท่ัวถึงซ่ึง ชาติ  มารู้ทั่วถึงซึ่งเหตุให้เกิด ขึ้นแห่งชาติ  มารู้ทั่วถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่งชาติ  59

พทุ ธวจน - หมวดธรรม มารู้ท่ัวถึงซึ่งข้อปฏิบัติเคร่ืองทำ�สัตว์ให้ลุถึงความดับไม่ เหลือแหง่ ชาติ  ว่าเป็นอยา่ งนีๆ้ . ยอ่ มมารทู้ วั่ ถงึ ซงึ่  ภพ  มารทู้ ว่ั ถงึ ซงึ่ เหตใุ หเ้ กดิ ขน้ึ แหง่ ภพ  มารทู้ ว่ั ถงึ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ภพ  มารทู้ ว่ั ถงึ ซง่ึ ขอ้ ปฏบิ ตั เิ ครอ่ื งท�ำ สตั วใ์ หล้ ถุ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ภพ  ว่าเปน็ อย่างน้ีๆ. ย่อมมารู้ท่ัวถึงซึ่ง อุปาทาน  มารู้ทั่วถึงซึ่งเหตุให้ เกิดขึ้นแห่งอุปาทาน  มารู้ท่ัวถึงซ่ึงความดับไม่เหลือแห่ง อุปาทาน  มารู้ทั่วถึงซ่ึงข้อปฏิบัติเครื่องทำ�สัตว์ให้ลุถึง ความดบั ไมเ่ หลือแหง่ อุปาทาน  วา่ เปน็ อยา่ งนีๆ้ . ยอ่ มมารทู้ ว่ั ถงึ ซงึ่  ตณั หา  มารทู้ วั่ ถงึ ซง่ึ เหตใุ หเ้ กดิ ข้ึนแห่งตัณหา มารู้ทั่วถึงซ่ึงความดับไม่เหลือแห่งตัณหา  มารู้ท่ัวถึงซึ่งข้อปฏิบัติเคร่ืองทำ�สัตว์ให้ลุถึงความดับไม่ เหลือแหง่ ตณั หา  วา่ เป็นอยา่ งน้ีๆ. ยอ่ มมารทู้ วั่ ถงึ ซงึ่  เวทนา  มารทู้ วั่ ถงึ ซง่ึ เหตใุ หเ้ กดิ ขน้ึ แหง่ เวทนา  มารทู้ วั่ ถงึ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ เวทนา  มารู้ท่ัวถึงซึ่งข้อปฏิบัติเคร่ืองทำ�สัตว์ให้ลุถึงความดับไม่ เหลือแห่งเวทนา  ว่าเป็นอย่างน้ๆี . 60

เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : คมู่ ือโสดาบัน ยอ่ มมารทู้ วั่ ถงึ ซง่ึ  ผสั สะ  มารทู้ ว่ั ถงึ ซงึ่ เหตใุ หเ้ กดิ ข้ึนแห่งผัสสะ  มารู้ทั่วถึงซ่ึงความดับไม่เหลือแห่งผัสสะ  มารู้ท่ัวถึงซ่ึงข้อปฏิบัติเครื่องทำ�สัตว์ให้ลุถึงความดับไม่ เหลือแห่งผัสสะ  ว่าเปน็ อยา่ งนี้ๆ. ย่อมมารู้ท่ัวถึงซ่ึง สฬายตนะ  มารู้ท่ัวถึงซึ่งเหตุ ให้เกิดขึ้นแห่งสฬายตนะ  มารู้ท่ัวถึงซ่ึงความดับไม่เหลือ แห่งสฬายตนะ  มารู้ทั่วถึงซึ่งข้อปฏิบัติเครื่องทำ�สัตว์ให้ ลถุ ึงความดบั ไมเ่ หลือแหง่ สฬายตนะ  ว่าเปน็ อยา่ งนๆ้ี . ย่อมมารู้ท่ัวถึงซึ่ง นามรูป  มารู้ทั่วถึงซ่ึงเหตุให้ เกิดขึ้นแห่งนามรูป  มารู้ทั่วถึงซ่ึงความดับไม่เหลือแห่ง นามรปู   มารทู้ วั่ ถงึ ซงึ่ ขอ้ ปฏบิ ตั เิ ครอื่ งท�ำ สตั วใ์ หล้ ถุ งึ ความ ดับไมเ่ หลอื แห่งนามรปู   ว่าเป็นอยา่ งนๆ้ี . ย่อมมารู้ท่ัวถึงซ่ึง วิญญาณ  มารู้ท่ัวถึงซ่ึงเหตุให้ เกิดข้ึนแห่งวิญญาณ  มารู้ท่ัวถึงซึ่งความดับไม่เหลือแห่ง วิญญาณ  มารู้ทั่วถึงซ่ึงข้อปฏิบัติเคร่ืองทำ�สัตว์ให้ลุถึง ความดบั ไมเ่ หลอื แห่งวิญญาณ  วา่ เป็นอย่างนีๆ้ . ยอ่ มมารทู้ วั่ ถงึ ซงึ่  สงั ขาร  มารทู้ วั่ ถงึ ซงึ่ เหตใุ หเ้ กดิ ข้ึนแห่งสงั ขาร  มารู้ทั่วถงึ ซึง่ ความดับไมเ่ หลือแหง่ สังขาร  61

พทุ ธวจน - หมวดธรรม มารู้ท่ัวถึงซ่ึงข้อปฏิบัติเคร่ืองทำ�สัตว์ให้ลุถึงความดับไม่ เหลือแหง่ สงั ขาร  ว่าเป็นอยา่ งนๆ้ี . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ในกาลนน้ั เราเรยี กภกิ ษนุ น้ั วา่ “ผสู้ มบูรณแ์ ลว้ ด้วยทิฏฐ”ิ ดังนี้บา้ ง “ผสู้ มบูรณแ์ ล้วดว้ ยทสั สนะ” ดังนบ้ี ้าง “ผมู้ าถึงพระสทั ธรรมนี้แล้ว” ดังนีบ้ ้าง “ผ้ไู ดเ้ ห็นอยู่ซ่งึ พระสทั ธรรมน้”ี ดงั นี้บ้าง “ผู้ประกอบแล้วด้วยญาณอนั เปน็ เสขะ” ดังนบ้ี า้ ง “ผปู้ ระกอบแล้วดว้ ยวิชชาอนั เปน็ เสขะ” ดังนีบ้ า้ ง “ผถู้ ึงซงึ่ กระแสแหง่ ธรรมแลว้ ” ดงั น้บี ้าง “ผปู้ ระเสรฐิ มปี ญั ญาเครอ่ื งช�ำ แรกกเิ ลส” ดงั นีบ้ า้ ง “ยืนอยู่จรดประตูแห่งอมตะ” ดงั นีบ้ า้ ง ดงั น้ี แล. 62

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : คูม่ อื โสดาบนั ผูร้ ูป้ ฏิจจสมปุ บาทแต่ละสายโดยนัย 16ชแ่ือหวง่ อา่ รโสยิ สดจัาสบ่ี ันท้ัง(ปญัจาจณบุวตัันถุอดตีอนาคต ๔๔) -บาลี นทิ าน. สํ. ๑๖/๖๗-๗๑/๑๑๘-๑๒๕. ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   เราจักแสดง ซ่งึ ญาณวตั ถุ1 ๔๔ อยา่ ง แกพ่ วกเธอทั้งหลาย. พวกเธอท้งั หลายจงฟังขอ้ ความนน้ั จงกระทำ�ในใจให้สำ�เร็จประโยชน์ เราจักกลา่ วบัดน้ี. ครน้ั ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  เหลา่ นน้ั ทลู รบั สนองพระพทุ ธดำ�รสั แลว้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ไดต้ รสั ถอ้ ยคำ�เหลา่ น้ี วา่ 1. ญ าณวัตถุ แปลว่า สิ่งซึ่งเป็นท่ีก�ำหนดพิจารณาของญาณ ญาณก�ำหนด พิจารณาส่ิงใด สิ่งนั้นเรียกว่าญาณวัตถุ เฉพาะในกรณีน้ี หมายถึง อาการ ๔ อย่างๆ ของปฏิจจสมุปบาทแต่ละอาการ ซ่ึงมีอยู่ ๑๑ อาการ ดังน้ัน จึงเรียกวา่ ญาณวัตถุ ๔๔. 63

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษุทัง้ หลาย !   ก็ ญาณวัตถุ ๔๔ อย่าง เป็นอย่างไรเล่า ? ญาณวัตถุ ๔๔ อยา่ ง  คือ  (หมวด ๑) ๑. ญาณ คือ ความรู้ ในชรามรณะ ๒. ญาณ คือ ความรู้ ในเหตุให้เกิดขน้ึ แห่งชรามรณะ ๓. ญาณ คือ ความรู้ ในความดับไม่เหลอื แห่งชรามรณะ ๔. ญาณ คอื ความรู้ ในข้อปฏิบตั เิ ครื่องท�ำ สตั วใ์ ห้ลุถึง ความดับไม่เหลอื แหง่ ชรามรณะ (หมวด ๒) ๑. ญาณ คอื ความรู้ ในชาติ ๒. ญาณ คือ ความรู้ ในเหตุให้เกิดขึ้นแห่งชาติ ๓. ญาณ คอื ความรู้ ในความดบั ไม่เหลือแห่งชาติ ๔. ญาณ คือ ความรู้ ในข้อปฏิบตั ิเคร่ืองทำ�สตั ว์ใหล้ ุถงึ ความดับไมเ่ หลอื แหง่ ชาติ 64

เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : คูม่ อื โสดาบัน (หมวด ๓) ๑. ญาณ คอื ความรู้ ในภพ ๒. ญาณ คือ ความรู้ ในเหตใุ หเ้ กิดขนึ้ แห่งภพ ๓. ญาณ คือ ความรู้ ในความดับไมเ่ หลอื แหง่ ภพ ๔. ญาณ คือ ความรู้ ในขอ้ ปฏิบตั ิเคร่อื งท�ำ สตั วใ์ ห้ลุถงึ ความดบั ไมเ่ หลือแหง่ ภพ (หมวด ๔) ๑. ญาณ คือ ความรู้ ในอุปาทาน ๒. ญาณ คือ ความรู้ ในเหตใุ ห้เกดิ ขึ้นแห่งอุปาทาน ๓. ญาณ คอื ความรู้ ในความดับไมเ่ หลือแหง่ อุปาทาน ๔. ญาณ คอื ความรู้ ในขอ้ ปฏบิ ตั ิเครือ่ งท�ำ สตั วใ์ ห้ลุถงึ ความดับไมเ่ หลอื แหง่ อุปาทาน (หมวด ๕) ๑. ญาณ คอื ความรู้ ในตัณหา ๒. ญาณ คือ ความรู้ ในเหตใุ หเ้ กิดขึ้นแหง่ ตัณหา ๓. ญาณ คือ ความรู้ ในความดบั ไมเ่ หลือแหง่ ตัณหา ๔. ญาณ คือ ความรู้ ในขอ้ ปฏิบตั ิเครื่องทำ�สัตว์ให้ลุถึง ความดับไมเ่ หลอื แห่งตัณหา 65

พทุ ธวจน - หมวดธรรม (หมวด ๖) ๑. ญาณ คือ ความรู้ ในเวทนา ๒. ญาณ คือ ความรู้ ในเหตุใหเ้ กดิ ข้นึ แห่งเวทนา ๓. ญาณ คอื ความรู้ ในความดบั ไมเ่ หลอื แห่งเวทนา ๔. ญาณ คือ ความรู้ ในขอ้ ปฏิบตั เิ ครอื่ งทำ�สตั วใ์ ห้ลุถงึ ความดับไมเ่ หลอื แหง่ เวทนา (หมวด ๗) ๑. ญาณ คือ ความรู้ ในผัสสะ ๒. ญาณ คือ ความรู้ ในเหตใุ หเ้ กดิ ขึน้ แห่งผัสสะ ๓. ญาณ คอื ความรู้ ในความดบั ไมเ่ หลือแหง่ ผสั สะ ๔. ญาณ คอื ความรู้ ในขอ้ ปฏบิ ตั ิเครอ่ื งทำ�สัตว์ใหล้ ุถงึ ความดับไมเ่ หลือแห่งผัสสะ (หมวด ๘) ๑. ญาณ คือ ความรู้ ในสฬายตนะ ๒. ญาณ คือ ความรู้ ในเหตุให้เกดิ ขึ้นแหง่ สฬายตนะ ๓. ญาณ คอื ความรู้ ในความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ สฬายตนะ ๔. ญาณ คือ ความรู้ ในขอ้ ปฏิบตั ิเครื่องท�ำ สตั ว์ให้ลถุ งึ ความดับไมเ่ หลือแห่งสฬายตนะ 66

เปิดธรรมท่ถี กู ปดิ : ค่มู ือโสดาบัน (หมวด ๙) ๑. ญาณ คอื ความรู้ ในนามรปู ๒. ญาณ คอื ความรู้ ในเหตุให้เกดิ ขึ้นแห่งนามรปู ๓. ญาณ คือ ความรู้ ในความดบั ไมเ่ หลือแห่งนามรปู ๔. ญาณ คอื ความรู้ ในขอ้ ปฏิบัตเิ ครอ่ื งทำ�สตั วใ์ ห้ลุถงึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ นามรปู (หมวด ๑๐) ๑. ญาณ คือ ความรู้ ในวญิ ญาณ ๒. ญาณ คือ ความรู้ ในเหตุใหเ้ กดิ ขึ้นแห่งวิญญาณ ๓. ญาณ คอื ความรู้ ในความดับไมเ่ หลอื แหง่ วญิ ญาณ ๔. ญาณ คือ ความรู้ ในข้อปฏิบตั ิเคร่อื งทำ�สตั วใ์ ห้ลถุ งึ ความดับไม่เหลือแหง่ วญิ ญาณ (หมวด ๑๑) ๑. ญาณ คือ ความรู้ ในสังขารท้งั หลาย ๒. ญาณ คอื ความรู้ ในเหตใุ หเ้ กดิ ขน้ึ แห่งสงั ขาร ๓. ญาณ คอื ความรู้ ในความดบั ไม่เหลือแหง่ สังขาร ๔. ญาณ คือ ความรู้ ในข้อปฏบิ ัตเิ ครื่องท�ำ สตั วใ์ ห้ลถุ งึ ความดับไม่เหลือแหง่ สังขาร 67

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษทุ งั้ หลาย !   เหลา่ นี้เรียกวา่ ญาณวัตถุ ๔๔ อย่าง. ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ก็ ชรามรณะ เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ความแก่ ความคร่ำ�คร่า ความมีฟันหลุด ความ มีผมหงอก ความมีหนังเห่ียว ความส้ินไปๆ แห่งอายุ ความแก่รอบแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย ในสัตวนิกายนั้นๆ ของสัตว์ท้ังหลายเหล่านั้นๆ  น้ีเรียกว่า ชรา.  การจุติ ความเคล่อื น การแตกสลาย การหายไป การวายชพี การ ตาย การทำ�กาละ การแตกแห่งขันธท์ งั้ หลาย การทอดทงิ้ ร่าง การขาดแห่งอินทรีย์  คือ  ชีวิต จากสัตวนิกายน้ันๆ ของสัตว์ท้ังหลายเหล่าน้ันๆ  นี้เรียกว่า มรณะ.  ชรา นี้ด้วย มรณะนี้ด้วย ย่อมมีอยู่ ดังน้ี  ภิกษุท้ังหลาย !  นเี้ รยี กวา่ ชรามรณะ.  ความกอ่ ขนึ้ พรอ้ มแหง่ ชรามรณะ  ย่อมมี เพราะความก่อขึ้นพร้อมแห่งชาติ  ความดับไม่ เหลือแห่งชรามรณะ ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่ง ชาติ มรรคอันประกอบด้วยองค์แปดอันประเสริฐน่ันเอง เป็นปฏิปทาให้ถึงซ่ึงความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ ไดแ้ กส่ งิ่ เหลา่ น้ี คอื   ความเหน็ ชอบ  ความด�ำ รชิ อบ  การ 68

เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : ค่มู อื โสดาบัน พูดจาชอบ การทำ�การงานชอบ การเล้ียงชีวิตชอบ ความ พากเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตง้ั ใจมั่นชอบ. ภิกษุท้ังหลาย !   อริยสาวก ย่อมมารู้ท่ัวถึงซ่ึง ชรามรณะ ว่าเป็นอย่างน้ีๆ  มารู้ทั่วถึงซึ่งเหตุให้เกิดข้ึน แห่งชรามรณะ ว่าเป็นอย่างน้ีๆ  มารู้ทั่วถึงซึ่งความดับ ไม่เหลือแห่งชรามรณะ ว่าเป็นอย่างน้ีๆ  มารู้ทั่วถึงซ่ึง ข้อปฏิบัติเครื่องทำ�สัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่ง ชรามรณะ วา่ เปน็ อยา่ งนๆี้   ในกาลใด ในกาลนน้ั ความรนู้ ี้ ของอริยสาวกน้ันชื่อว่า ญาณในธรรม (ธัมมญาณ).  ด้วยธรรมน้ีอันอริยสาวกน้ัน เห็นแล้ว รู้แล้ว บรรลุแล้ว หยง่ั ลงแลว้ และเปน็ ธรรมอนั ใชไ้ ดไ้ มจ่ �ำ กดั กาล อรยิ สาวก นั้น ย่อมนำ�ความรู้น้ันไปสู่นัยอันเป็นอดีตและอนาคต (ต่อไปอีก) ว่า “สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง ในกาลยดื ยาวนานฝ่ายอดตี ได้รู้อย่างย่งิ แล้วซึง่ ชรามรณะ  ไดร้ อู้ ยา่ งยงิ่ แลว้ ซงึ่ เหตใุ หเ้ กดิ ขนึ้ แหง่ ชรามรณะ  ไดร้ อู้ ยา่ ง ย่ิงแล้วซ่ึงความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ  ได้รู้อย่างยิ่ง แล้วซึ่งข้อปฏิบัติเคร่ืองทำ�สัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือ แหง่ ชรามรณะ สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นน้ั ทกุ ทา่ น กไ็ ดร้ ู้ 69

พทุ ธวจน - หมวดธรรม อยา่ งยงิ่ แลว้ เหมอื นอยา่ งทเ่ี ราเองไดร้ อู้ ยา่ งยงิ่ แลว้ ในบดั น.้ี   ถึงแม้สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง  ในกาล ยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต  จกั รู้อยา่ งยง่ิ ซง่ึ ชรามรณะ  จักรู้ อย่างยิ่ง ซึ่งเหตุให้เกิดข้ึนแห่งชรามรณะ  จักรู้อย่างย่ิง ซึ่งความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ  จักรู้อย่างยิ่ง ซ่ึง ข้อปฏิบัติเคร่ืองทำ�สัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งชรา มรณะ ก็ตาม  สมณะหรือพราหมณเ์ หลา่ นนั้ ทุกท่าน ก็จกั รู้อย่างย่ิง เหมือนอย่างท่ีเราเองได้รู้อย่างย่ิงแล้วในบัดน้ี” ดงั น.้ี   ความรนู้ ข้ี องอรยิ สาวกนนั้ ชอ่ื วา่ ญาณในการรตู้ าม (อันว๎ ยญาณ). ภิกษุท้ังหลาย !   ญาณทั้งสอง  คือ  ธัมมญาณ และอัน๎วยญาณเหล่านี้ของอริยสาวก  เป็นธรรมชาติ บริสทุ ธ์ิ ผอ่ งใส ในกาลใด ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ในกาลนน้ั เราเรยี กอรยิ สาวกนน้ั วา่ “ผสู้ มบรู ณ์แล้วดว้ ยทิฏฐิ” “ผู้สมบรู ณ์แลว้ ดว้ ยทัสสนะ” ดงั นี้บา้ ง “ผมู้ าถงึ พระสทั ธรรมนีแ้ ล้ว” ดงั น้ีบ้าง “ผไู้ ด้เหน็ อยซู่ ึง่ พระสทั ธรรมนี้” ดงั น้บี า้ ง ดงั น้ีบ้าง 70

เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : คมู่ ือโสดาบนั “ผปู้ ระกอบแล้วด้วยญาณอนั เปน็ เสขะ” ดงั นบ้ี ้าง “ผู้ประกอบแล้วดว้ ยวชิ ชาอันเปน็ เสขะ” ดงั นี้บา้ ง “ผ้ถู งึ ซ่ึงกระแสแห่งธรรมแลว้ ” ดังน้ีบ้าง “ผปู้ ระเสรฐิ มปี ญั ญาเครอ่ื งช�ำ แรกกเิ ลส” ดังนี้บา้ ง “ยนื อยู่จรดประตแู ห่งอมตะ” ดงั นบ้ี ้าง ดงั น้ี แล. ภิกษุท้งั หลาย !   ก็ชาติ เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? การเกิด การกำ�เนิด การก้าวลง (สู่ครรภ์) การ บังเกิด การบังเกิดโดยยิ่ง ความปรากฏของขันธ์ท้ังหลาย การที่สัตว์ได้ซ่งึ อายตนะทั้งหลาย ในสตั วนกิ ายนั้นๆ ของ สัตว์ทั้งหลายเหล่านั้นๆ  ภิกษุท้ังหลาย !   น้ีเรียกว่า ชาติ.  ความก่อข้ึนพร้อมแห่งชาติ ย่อมมี เพราะความ ก่อข้ึนพร้อมแห่งภพ  ความดับไม่เหลือแห่งชาติ ย่อมมี เพราะความดับไม่เหลือแห่งภพ  มรรคอันประกอบด้วย องคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ นนั่ เอง เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ซงึ่ ความดบั ไม่เหลือแห่งชาติ  ได้แก่สิ่งเหล่าน้ี  คือ  ความเห็นชอบ ความดำ�ริชอบ  การพูดจาชอบ  การทำ�การงานชอบ การเลยี้ งชวี ติ ชอบ  ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ ความตัง้ ใจมั่นชอบ. 71

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย !   อริยสาวก ย่อมมารู้ท่ัวถึงซึ่ง ชาติ วา่ เปน็ อยา่ งนๆ้ี   มารทู้ วั่ ถงึ ซงึ่ เหตใุ หเ้ กดิ ขน้ึ แหง่ ชาติ ว่าเป็นอย่างน้ีๆ  มารู้ท่ัวถึง ซ่ึงความดับไม่เหลือแห่งชาติ ว่าเป็นอย่างน้ีๆ  มารู้ท่ัวถึง ซึ่งข้อปฏิบัติเคร่ืองทำ�สัตว์ให้ ลถุ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ชาติ วา่ เปน็ อยา่ งนๆ้ี   ในกาลใด ในกาลน้ันความรู้นี้ของอริยสาวกนั้น ชื่อว่าญาณในธรรม (ธัมมญาณ).  ด้วยธรรมนี้อันอริยสาวกนั้นเห็นแล้ว รู้แล้ว บรรลแุ ลว้ หยงั่ ลงแลว้ และเปน็ ธรรมอนั ใชไ้ ดไ้ มจ่ �ำ กดั กาล อรยิ สาวกนนั้ ยอ่ ม น�ำ ความรนู้ น้ั ไปสนู่ ยั อนั เปน็ อดตี และ อนาคต (ต่อไปอกี ) วา่ “สมณะหรอื พราหมณเ์ หล่าใดเหลา่ หน่ึง ในกาลยืดยาวนานฝ่ายอดีตได้รู้อย่างย่ิงแล้ว ซ่ึงชาติ ได้รู้อย่างยิ่งแล้ว ซ่ึงเหตุให้เกิดข้ึนแห่งชาติ  ได้รู้อย่างยิ่ง แล้ว ซึ่งความดับไม่เหลือแห่งชาติ  ได้รู้อย่างยิ่งแล้ว ซ่ึง ข้อปฏิบัติเคร่ืองทำ�สัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งชาติ สมณะหรือพราหมณ์เหล่าน้ันทุกท่านก็ได้รู้อย่างย่ิงแล้ว เหมือนอย่างท่ีเราเองได้รู้อย่างยิ่งแล้วในบัดนี้.  ถึงแม้ สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ ใดเหลา่ หนง่ึ ในกาลยดื ยาวนาน ฝา่ ยอนาคต  จกั รอู้ ยา่ งยง่ิ ซงึ่ ชาต ิ จกั รอู้ ยา่ งยง่ิ ซง่ึ เหตใุ ห้ 72

เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : ค่มู ือโสดาบัน เกดิ ขนึ้ แหง่ ชาต ิ จกั รอู้ ยา่ งยง่ิ ซงึ่ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ชาติ จักรู้อย่างย่ิง ซ่ึงข้อปฏิบัติเคร่ืองทำ�สัตว์ให้ลุถึงความดับ ไม่เหลือแห่งชาติ ก็ตาม สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ทุกท่าน ก็จักรู้อย่างยิ่งเหมือนอย่างที่เราเองได้รู้อย่างย่ิง แล้วในบัดน้ี” ดังน้ี.  ความรู้นี้ของอริยสาวกนั้น ช่ือว่า ญาณในการรู้ตาม (อันว๎ ยญาณ). ภิกษุท้ังหลาย !   ญาณทั้งสอง  คือ  ธัมมญาณ และอัน๎วยญาณเหล่านี้ของอริยสาวก  เป็นธรรมชาติ บริสทุ ธ์ิ ผ่องใส ในกาลใด ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ในกาลนน้ั เราเรยี กอรยิ สาวกนน้ั วา่ “ผู้สมบรู ณแ์ ล้วดว้ ยทฏิ ฐ”ิ “ผ้สู มบูรณ์แลว้ ด้วยทสั สนะ” ดังน้บี า้ ง “ผมู้ าถึงพระสัทธรรมนีแ้ ลว้ ” ดังน้บี ้าง “ผ้ไู ดเ้ ห็นอยูซ่ ึ่งพระสทั ธรรมน”้ี ดงั นบี้ ้าง ดงั นี้บ้าง “ผู้ประกอบแล้วดว้ ยญาณอันเปน็ เสขะ” ดงั น้ีบ้าง “ผู้ประกอบแล้วด้วยวชิ ชาอนั เป็นเสขะ” ดงั นี้บา้ ง “ผู้ถึงซ่ึงกระแสแหง่ ธรรมแล้ว” ดงั นีบ้ า้ ง 73

พทุ ธวจน - หมวดธรรม “ผปู้ ระเสรฐิ มปี ญั ญาเครอ่ื งช�ำ แรกกเิ ลส” ดังนีบ้ ้าง “ยืนอยู่จรดประตูแหง่ อมตะ” ดงั น้บี า้ ง ดังน้ี แล. ภิกษุทั้งหลาย !   ก็ ภพ เป็นอย่างไรเลา่  ? ...ฯลฯ... ภิกษุท้ังหลาย !   ก็ อปุ าทาน เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ...ฯลฯ... ภิกษทุ ้ังหลาย !   ก็ ตณั หา เปน็ อย่างไรเล่า ? ...ฯลฯ... ภิกษทุ ้ังหลาย !   ก็ เวทนา เป็นอยา่ งไรเลา่  ? ...ฯลฯ... ภิกษทุ ั้งหลาย !   ก็ ผัสสะ เปน็ อยา่ งไรเล่า ? ...ฯลฯ... ภกิ ษุทง้ั หลาย !   ก็ สฬายตนะ เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ...ฯลฯ... ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   ก็ นามรูป เป็นอย่างไรเลา่  ? ...ฯลฯ... ภิกษทุ ง้ั หลาย !   ก็ วญิ ญาณ เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ...ฯลฯ... (ขอ้ ความนที้ ลี่ ะไวด้ ว้ ย ...ฯลฯ... ดงั ขา้ งบนน้ี มขี อ้ ความเตม็ ดงั ในขอ้ อนั วา่ ดว้ ย ชรามรณะ และชาติ ขา้ งตน้ ทกุ ประการ ตา่ งกนั แตช่ อ่ื หวั ขอ้ ธรรม). ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  กส็ งั ขารทง้ั หลาย เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   สงั ขารทง้ั หลาย สามอยา่ งเหลา่ น้ี คือ กายสังขาร วจีสังขาร จิตตสังขาร  ภิกษุท้ังหลาย !   เหล่านี้เรียกว่า  สังขารท้ังหลาย.  ความก่อขึ้นพร้อม 74

เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : คู่มอื โสดาบนั แห่งสังขาร  ย่อมมี  เพราะความก่อข้นึ พร้อมแห่งอวิชชา ความดับไม่เหลือแห่งสังขาร  ย่อมมี  เพราะความดับ ไม่เหลือแห่งอวิชชา  มรรคอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐนั่นเอง  เป็นปฏิปทาให้ถึงซึ่งความดับ ไมเ่ หลอื แหง่ สงั ขาร  ไดแ้ กส่ ง่ิ เหลา่ น ้ี คอื   ความเหน็ ชอบ  ความดำ�ริชอบ  การพูดจาชอบ  การทำ�การงานชอบ  การเลย้ี งชวี ติ ชอบ  ความพากเพยี รชอบ  ความระลกึ ชอบ  ความตัง้ ใจมน่ั ชอบ. ภิกษุท้ังหลาย !   อริยสาวก ย่อมมารู้ท่ัวถึงซึ่ง สังขารทั้งหลาย  ว่าเป็นอย่างนี้ๆ  มารู้ทั่วถึงซึ่งเหตุให้ เกดิ ขน้ึ แหง่ สงั ขาร  วา่ เปน็ อยา่ งนๆี้   มารทู้ วั่ ถงึ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ สงั ขาร วา่ เปน็ อยา่ งนๆ้ี   มารทู้ วั่ ถงึ ซง่ึ ขอ้ ปฏบิ ตั ิ เคร่ืองท�ำสัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งสังขาร ว่าเป็น อย่างน้ีๆ ในกาลใด ในกาลน้ันความรู้น้ีของอริยสาวกน้ัน ชอื่ วา่ ญาณในธรรม  (ธมั มญาณ).  ดว้ ยธรรมนอ้ี นั อรยิ สาวกนนั้ เห็นแล้ว รู้แล้ว บรรลุแล้ว หยั่งลงแล้ว และเป็นธรรมอัน ใช้ได้ไม่จ�ำกัดกาล อริยสาวกนั้น ย่อมนำความรู้น้ันไปสู่ นัยอันเป็นอดีตและอนาคต (ต่อไปอีก) ว่า “สมณะหรือ 75

พทุ ธวจน - หมวดธรรม พราหมณ์เหล่าใดเหล่าหน่ึง ในกาลยืดยาวนานฝ่ายอดีต ไดร้ อู้ ยา่ งยง่ิ แลว้ ซงึ่ สงั ขารทงั้ หลาย  ไดร้ อู้ ยา่ งยง่ิ แลว้ ซงึ่ เหตุ ใหเ้ กดิ ขน้ึ แหง่ สงั ขาร  ไดร้ อู้ ยา่ งยงิ่ แลว้ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แห่งสังขาร  ได้รู้อย่างย่ิงแล้วซ่ึงข้อปฏิบัติเคร่ืองท�ำสัตว์ ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งสังขาร สมณะหรือพราหมณ์ เหล่าน้ันทกุ ท่าน กไ็ ดร้ ู้อยา่ งยิ่งแล้ว เหมอื นอยา่ งท่ีเราเอง ไดร้ อู้ ยา่ งยงิ่ แลว้ ในบดั น.ี้   ถงึ แมส้ มณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ ใด เหล่าหน่ึง ในกาลยืดยาวนานฝ่ายอนาคต จักรู้อย่างยิ่งซึ่ง สังขารท้ังหลาย  จักรู้อย่างยิ่งซึ่งเหตุให้เกิดขึ้นแห่งสังขาร จักรู้อย่างยิง่ ซึ่งความดับไม่เหลอื แหง่ สงั ขาร  จกั รอู้ ย่างยิง่ ซ่ึงข้อปฏิบัติเคร่ืองท�ำสัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่ง สงั ขารกต็ าม สมณะหรือพราหมณ์เหลา่ นัน้ ทุกทา่ น กจ็ กั รู้ อย่างย่ิง เหมือนอย่างท่ีเราเองได้รู้อย่างย่ิงแล้วในบัดนี้” ดงั น.้ี   ความรนู้ ข้ี องอรยิ สาวกนน้ั ชอื่ วา่ ญาณในการรตู้ าม (อัน๎วยญาณ). ภิกษุทั้งหลาย !   ญาณทั้งสอง คือ ธัมมญาณ และอัน๎วยญาณ เหล่านี้ของอริยสาวก เป็นธรรมชาติ บรสิ ทุ ธ์ิ ผ่องใส ในกาลใด 76

เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : คมู่ อื โสดาบัน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ในกาลนน้ั เราเรยี กอรยิ สาวกนน้ั วา่ “ผสู้ มบูรณ์แลว้ ดว้ ยทิฏฐ”ิ “ผสู้ มบูรณแ์ ลว้ ด้วยทสั สนะ” ดังนบ้ี ้าง “ผูม้ าถงึ พระสัทธรรมน้แี ลว้ ” ดังนี้บ้าง “ผไู้ ด้เหน็ อยูซ่ ่ึงพระสทั ธรรมน้”ี ดังน้ีบ้าง ดงั นบ้ี ้าง “ผู้ประกอบแลว้ ด้วยญาณอนั เปน็ เสขะ” ดงั นบี้ า้ ง “ผปู้ ระกอบแลว้ ด้วยวิชชาอันเป็นเสขะ” ดงั นบี้ ้าง “ผู้ถงึ ซึ่งกระแสแห่งธรรมแล้ว” ดังนบ้ี ้าง “ผปู้ ระเสรฐิ มปี ญั ญาเครื่องชำ�แรกกิเลส” ดงั นี้บ้าง “ยืนอยูจ่ รดประตแู หง่ อมตะ” ดังนี้บ้าง ดังนี้ แล. 77

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : ค่มู อื โสดาบนั 78

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปิด : คู่มอื โสดาบัน ผรู้ ปู้ ฏจิ จสมปุ บาทแตล่ ะสายถงึ “เหตเุ กดิ ” 17แกลช็ ะื่อว“คา่ โวสามดดาบับ”ันท(ง้ัญปาจัณจวบุตั ถนั ุ ๗อ๗ด)ตี อนาคต -บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๗๑-๗๒/๑๒๖-๑๒๗. ภกิ ษุทง้ั หลาย !   เราจกั แสดง ซง่ึ ญาณวตั ถุ ๗๗ อยา่ ง แกพ่ วกเธอทง้ั หลาย. พวกเธอทงั้ หลายจงฟังความขอ้ น้นั จงท�ำ ในใจให้ส�ำ เรจ็ ประโยชน์ เราจักกล่าวบัดนี้. ครน้ั ภกิ ษทุ ง้ั หลายเหลา่ นน้ั ทลู รบั สนองพระพทุ ธดำ�รสั นน้ั แลว้ พระผู้มพี ระภาคเจ้า ไดต้ รัสถอ้ ยคำ�เหลา่ น้ีวา่ ภกิ ษุทั้งหลาย !   ก็ ญาณวัตถุ ๗๗ อยา่ ง เปน็ อย่างไรเล่า ? ญาณวตั ถุ ๗๗ อย่างน้ัน คือ 79

พทุ ธวจน - หมวดธรรม (หมวด ๑) ๑. ญาณ คอื ความรู้ว่า เพราะมีชาติเป็นปจั จยั จึงมี ชรามรณะ ๒. ญาณ คอื ความรวู้ า่ เมอ่ื ชาตไิ มม่ ี ชรามรณะ ยอ่ มไมม่ ี ๓. ญาณ คือ ความรวู้ ่า แม้ในกาลยืดยาวนานฝา่ ยอดตี เพราะมีชาติเป็นปัจจัย จึงมชี รามรณะ ๔. ญาณ คอื ความรูว้ ่า แม้ในกาลยืดยาวนานฝ่ายอดีต เมอื่ ชาติไม่มี ชรามรณะยอ่ มไมม่ ี ๕. ญาณ คอื ความรวู้ า่ แมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เพราะมชี าตเิ ป็นปัจจยั จึงมีชรามรณะ ๖. ญาณ คอื ความรวู้ า่ แมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เม่ือชาติไมม่ ี ชรามรณะย่อมไมม่ ี ๗. ญาณ คอื ความรวู้ ่า แม้ ธมั มัฏฐติ ิญาณ1 ในกรณนี ี้ กม็ คี วามสน้ิ ไป เสอ่ื มไป จางไป ดบั ไป เปน็ ธรรมดา 1. ธัมมัฏฐิติญาณ ในกรณีน้ี คือ ญาณเป็นไปตามหลักของปฏิจจสมุปบาท เป็นกรณๆี ไป เชน่ ในกรณีแหง่ ชาติ ดังทีก่ ล่าวนี้เปน็ ตน้ . 80

เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : คมู่ อื โสดาบัน (หมวด ๒) ๑. ญาณ คือ ความร้วู า่ เพราะมภี พเป็นปัจจัย จงึ มีชาติ ๒. ญาณ คอื ความรวู้ า่ เม่อื ภพไมม่ ี ชาตยิ อ่ มไม่มี ๓. ญาณ คอื ความรูว้ า่ แม้ในกาลยืดยาวนานฝ่ายอดตี เพราะมภี พเป็นปัจจยั จึงมชี าติ ๔. ญาณ คือ ความรวู้ ่า แมใ้ นกาลยืดยาวนานฝา่ ยอดตี เมือ่ ภพไมม่ ี ชาตยิ อ่ มไม่มี ๕. ญาณ คอื ความรวู้ า่ แมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เพราะมีภพเปน็ ปัจจัย จึงมีชาติ ๖. ญาณ คอื ความรู้วา่ แมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เม่ือภพไม่มี ชาติยอ่ มไมม่ ี ๗. ญาณ คอื ความรูว้ า่ แม้ ธมั มัฏฐิตญิ าณ ในกรณนี ้ี กม็ คี วามสน้ิ ไป เสอ่ื มไป จางไป ดบั ไป เปน็ ธรรมดา 81

พทุ ธวจน - หมวดธรรม (หมวด ๓) ๑. ญาณ คือ ความรวู้ ่า เพราะมอี ุปาทานเปน็ ปจั จัย จึงมีภพ ๒. ญาณ คือ ความรู้ว่า เมื่ออุปาทานไม่มี ภพย่อมไม่มี ๓. ญาณ คือ ความรู้ว่า แมใ้ นกาลยืดยาวนานฝ่ายอดีต เพราะมอี ุปาทานเปน็ ปัจจยั จงึ มีภพ ๔. ญาณ คือ ความรู้วา่ แมใ้ นกาลยืดยาวนานฝา่ ยอดีต เมื่ออปุ าทานไมม่ ี ภพย่อมไม่มี ๕. ญาณ คอื ความรวู้ า่ แมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เพราะมีอปุ าทานเป็นปจั จยั จงึ มภี พ ๖. ญาณ คอื ความรวู้ า่ แมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เมอื่ อุปาทานไมม่ ี ภพย่อมไม่มี ๗. ญาณ คอื ความรูว้ า่ แม้ ธัมมัฏฐติ ิญาณ ในกรณีนี้ กม็ คี วามสน้ิ ไป เสอ่ื มไป จางไป ดบั ไป เปน็ ธรรมดา 82