Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Phatthalung ข้อมูลจังหวัดพัทลุง

Description: Phatthalung ข้อมูลจังหวัดพัทลุง

Search

Read the Text Version

Phatthalung ข้อมลู จงั หวัดพัทลุง

ตราสญั ลกั ษณ์ ตราประจ�ำ จงั หวดั พทั ลงุ เป็นรูปภูเขาอกทะลุซ่ึงสูงเด่น อยู่บนที่ราบ มองเห็นจากท่ีไกลได้ทุกทิศ บนยอดเขามีเจดีย์เก่า สร้างเอาไว้องค์หน่ึง ซึ่งในปัจจุบันนี้ยังเหลือเฉพาะ ฐาน ชาวเมืองจึงถือเอาภูเขาอกทะลุเป็นสัญลักษณ์ ประจ�ำ จงั หวัดพทั ลุง ค�ำ ขวญั จงั หวดั พทั ลงุ “เมอื งหนังโนรา อนู่ าข้าว พราวนํ้าตก แหลง่ นกน้ํา ทะเลสาบงาม เขาอกทะลุ น้ําพุร้อน” ต้นไมป้ ระจำ�จังหวดั : ต้นพะยอม (Shorea roxburghii) ดอกไม้ประจ�ำ จงั หวดั : ดอกพะยอม (Shorea roxburghii)

ค�ำ น�ำ จงั หวดั พทั ลงุ เปน็ จงั หวดั ขนาดเลก็ ทม่ี คี วามส�ำ คญั ทางประวตั ศิ าสตร์ มสี ถานท่ี สำ�คัญท่ีทรงคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรม และแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติท่ีเหมาะแก่ การท่องเท่ียวเพ่ือการพักผ่อนและศึกษาหาความรู้ ประกอบกับวิถีชีวิตที่เรียบง่าย ยดึ มน่ั ในแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง ท�ำ ใหจ้ งั หวดั พทั ลงุ เปน็ จงั หวดั หนง่ึ ทมี่ คี วามนา่ อยู่ และไดร้ ับความสนใจจากบคุ คลภายนอกเขา้ มาท่องเท่ยี ว และพกั ผ่อนในจงั หวัดพทั ลุง มากยง่ิ ข้ึน การจัดทำ�บรรยายสรุปจังหวัด ประจำ�ปี ๒๕๕๙ ขึ้น เป็นการรวบรวมข้อมูล สำ�คัญ และสถานการณต์ ่างๆ เพือ่ เผยแพร่ ประชาสัมพนั ธ์ สร้างการรบั ร้แู กผ่ ู้สนใจได้ ศกึ ษา ท�ำ ความเขา้ ใจ และน�ำ ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการพฒั นาจงั หวดั พทั ลงุ ใหม้ คี วามเจรญิ กา้ วหน้าอยา่ งยง่ั ยนื ต่อไป ขอขอบคณุ สว่ นราชการ หนว่ ยงานที่ไดใ้ ห้ความรว่ มมอื สนบั สนุนขอ้ มลู ในการ จดั ท�ำ บรรยายสรปุ จงั หวดั พทั ลงุ ประจ�ำ ปี ๒๕๕๙ และหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ บรรยายสรปุ เลม่ นีจ้ ะเปน็ ประโยชนก์ บั ผู้อา่ นและผ้สู นใจทว่ั ไป (ดร.วนิ ยั บวั ประดษิ ฐ์) ผู้ว่าราชการจังหวัดพทั ลุง

CONTENTS Phatthalung

สารบญั ๗ ๑๓ ประวัตคิ วามเปน็ มาของจงั หวดั พัทลุง ๑๙ ข้อมลู ทว่ั ไปของจงั หวัดพทั ลงุ ๖๑ สถานการณข์ องจังหวัดพัทลงุ ๙๕ สถานการณท์ างเศรษฐกิจของจงั หวดั พัทลุง ๑๒๙ สถานการณ์ทางสังคมของจังหวัดพัทลงุ ๑๔๑ การวิเคราะห์ศกั ยภาพของจังหวัดพัทลงุ ยุทธศาสตร์การพัฒนาจงั หวดั พัทลงุ

6 บรรยายสรปุ จงั หวดั พทั ลงุ ๒๕๕๙

พทั ลงุประวตั คิ วามเปน็ มา ของจงั หวดั บรรยายสรุปจงั หวดั พทั ลุง ๒๕๕๙ 7

ชอ่ื พทั ลงุ ในสมยั กอ่ นไมไ่ ดเ้ ขยี นอยา่ งทป่ี รากฏใหเ้ หน็ จากหลกั ฐานบนเหรยี ญ อีแปะพทั ลงุ พ.ศ.๒๔๒๖ เขียนว่า พัททะลุง และพัตะลงุ ในเอกสารของไทยใชต้ ่างกัน มากมาย ไดแ้ ก่ พตั ะลงุ พดั ทลุง พทั ธลุง พฒั ลุง พทั ลงุ ในเอกสารเบอรน์ ขี ององั กฤษ สมยั รชั กาลที่ ๓ เขียนว่า Bondelun และ Merdelong ของนายลามาร์ วิศวกรชาว ฝร่ังเศส สมัยสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช เขยี นว่า Bourdelun 8 บรรยายสรุปจงั หวดั พทั ลุง ๒๕๕๙

ความหมายของชอื่ เมอื งหมายถงึ เมืองชา้ งหรือเมอื งเกยี่ วเนื่องด้วยช้าง ซึ่งตรง กับข้อเท็จจริงหลายประการ คำ�ว่า “พัด-ท-พัทธ” ยังไม่อาจทราบได้ว่าคำ�เดิมเขียน อย่างไร ทราบเพียงว่าเป็นคำ�ข้ึนต้น ส่วนคำ�พื้นเมืองที่เรียกว่า “ตะลุง” แปลว่าเสา ลา่ มชา้ ง หรือไมห้ ลกั ผูกช้าง ชอื่ บ้านนามเมอื งของพัทลุงทเ่ี ก่ียวกับชา้ งมมี าก หรอื จะ เรียกวา่ เปน็ “เมอื งช้าง” กไ็ ด้ โดยเฉพาะทางฝัง่ ตะวันตกของทะเลสาบสงขลาในแถบ ชะรดั ซง่ึ อยตู่ ดิ กบั เทอื กเขาบรรทดั มชี า้ งปา่ ชกุ ชมุ และในต�ำ นานนางเลอื ดขาว ต�ำ นาน เมอื งพทั ลงุ กล่าววา่ ตาสามโม ยายเพชร เป็นหมอดำ� หมอเฒา่ นายกองช้าง เล้ยี งช้าง ส่งเจ้าพระยากรุงทองทุกปี ต่อมาพระกุมารกบั นางเลือดขาวกไ็ ดร้ บั มรดกเปน็ นายกอง เลี้ยงชา้ งสง่ สว่ ย ซ่ึงในปัจจบุ ันชาวบา้ นบางส่วนยงั คงนบั ถอื “ตาหมอชา้ ง” จังหวัดพัทลุงมีประวัติความเป็นมายาวนานตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ดังปรากฏหลักฐานจากการค้นพบขวานหินขัดในท้องท่ีท่ัวไปหลายอำ�เภอ ในสมัย ศรวี ชิ ยั (พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓ -๑๔) บรเิ วณเมอื งพทั ลงุ เปน็ แหลง่ ชมุ นมุ ทไ่ี ดร้ บั วฒั นธรรม อินเดยี นบั ถอื พทุ ธศาสนาลทั ธิมหายาน หลักฐานคน้ พบ เชน่ พระพมิ พ์ดนิ ดบิ จำ�นวน มาก เปน็ รปู พระโพธสิ ตั วร์ ปู เทวดา โดยคน้ พบบรเิ วณถา้ํ คหู าสวรรค์ และถา้ํ เขาอกทะลุ ต่อมาในพทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ ในสมัยกรงุ ศรีอยุธยา เมอื งพัทลุงมฐี านะเป็นเมอื งชน้ั ตรี ซ่ึงนับว่าเป็นหัวเมืองหน่ึงของพระราชอาณาจักรทางใต้ ในสมัยน้ันเมืองพัทลุงมักจะ ประสบปัญหาการโจมตีจากกลุ่มโจรสลัดมาเลย์อยู่เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มโจร สลดั อาแจะอารู และยุยงคตนะได้โจมตีเผาทำ�ลายสร้างความเสยี หายแก่เมอื งพทั ลุงถึง สองครงั้ ปญั หาดงั กลา่ วนเ้ี ปน็ ปจั จยั หนงึ่ ทที่ �ำ ใหม้ กี ารยา้ ยสถานทตี่ ง้ั เมอื งอยเู่ สมอ และ ก็เป็นมูลเหตุหน่ึงท่ีทำ�ให้ชาวเมืองพัทลุงเป็นนักต่อสู้ที่เข้มแข็งในสมัยธนบุรีและ รตั นโกสนิ ทร์ ได้มีการย้ายสถานทต่ี งั้ เมืองอีกหลายคร้งั และไดย้ กขน้ึ เป็นเมืองช้นั โทใน รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ในช่วงน้ีเมืองพัทลุงมีผู้นำ� สำ�คัญในการสร้างความเจริญ และความมั่นคงให้กับบ้านเมืองหลายท่าน อาทิเช่น บรรยายสรุปจงั หวัดพทั ลุง ๒๕๕๙ 9

พระยาพัทลุง (ขุนคางเหล็ก) พระยาวิชิตเสนา (ทองขาว) พระยาอภัยบริรักษ์ (จ้ยุ จนั ทโรจนวงศ์) ไดป้ อ้ งกนั เอกราชของชาติมาหลายครง้ั เชน่ เมือ่ สงครามเกา้ ทัพ (พ.ศ.๒๓๒๘- ๒๓๒๙) พระมหาชว่ ย วดั ปา่ ลไิ ลย์ ไดน้ �ำ ชาวพทั ลงุ ตอ่ สปู้ อ้ งกนั การรกุ รานของ พมา่ จนไดร้ บั ความดคี วามชอบโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ ปน็ พระยาชว่ ยทกุ ขราษฎร์ ชว่ ยราชการ เมืองพทั ลุง นอกจากสงครามกับพมา่ แลว้ ชาวพทั ลงุ ยังมีบทบาทส�ำ คญั ในการรกั ษาความ มั่นคงปลอดภัยของประเทศชาติในหัวเมืองภาคใต้ เพราะปรากฏอยู่เสมอว่าทางเมือง หลวงได้มีคำ�สั่งให้เกณฑ์ชาวพัทลุงพร้อมด้วยเสบียงอาหารไปทำ�สงครามปราบปราม กบฏในหัวเมืองมาลายู เช่น กบฏไทรบุรี พ.ศ.๒๓๗๓ และ พ.ศ.๒๓๘๑ ซ่ึงบทบาท ดงั กลา่ วนสี้ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ความส�ำ คญั ของเมอื งพทั ลงุ ทางดา้ นการเมอื ง การปกครองและ แหล่งอ่ขู า้ วอนู่ ้ําในอดตี เป็นอย่างดี ตอ่ มาในรชั สมัยของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัวรัชกาลที่ ๕ ได้ ทรงโปรดเกล้าให้มีการปรับปรุงการปกครองส่วนภูมิภาคใหม่ เป็นการปกครองแบบ เทศาภบิ าลใน พ.ศ. ๒๔๓๗ และไดป้ ระกาศจดั ตง้ั มณฑลนครศรธี รรมราชขนึ้ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๓๙ ประกอบดว้ ยเมอื งตา่ งๆ คอื นครศรธี รรมราช พทั ลงุ สงขลา และหวั เมอื ง ทง้ั ๗ ที่เป็นเมอื งปตั ตานเี ดิม ส�ำ หรับเมืองพัทลุงแบ่งการปกครองเป็น ๓ อ�ำ เภอ คือ อำ�เภอ กลางเมือง อ�ำ เภออุดร อำ�เภอทักษิณ ขณะน้ันตวั เมืองต้งั อยทู่ ่ตี �ำ บลล�ำ ปำ� จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๖๗ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ ัวโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายเมอื งพัทลุง มาอยทู่ บี่ า้ นวงั เนยี ง ต�ำ บลคหู าสวรรค์ ในปจั จบุ นั เพอื่ จะไดอ้ ยใู่ กลเ้ สน้ ทางรถไฟ สะดวก ในการตดิ ตอ่ กบั เมอื งตา่ ง ๆ จากอดตี ถงึ ปจั จบุ นั เมอื งพทั ลงุ ไดม้ กี ารยา้ ยเมอื งหลายครงั้ สถานท่ที ่ีเคยเป็นเมืองท่ตี งั้ เมอื งพทั ลงุ ได้แก่ ๑. โคกเมอื งแกว้ ปจั จบุ นั คอื หมทู่ ่ี ๔ ต�ำ บลจองถนน อ�ำ เภอเขาชัยสน ๒. บ้านควนแร่ ปจั จุบัน คอื หมูท่ ี่ ๑ ตำ�บลควนมะพรา้ ว อ�ำ เภอเมืองพัทลุง 10 บรรยายสรปุ จงั หวัดพัทลุง ๒๕๕๙

๓. เขาชยั บุรี (เขาเมืองฯ) ปจั จุบันคอื ต.ชัยบุรี อ.เมอื งพทั ลงุ ๔. ท่าเสมด็ ปัจจุบัน คอื ต.ท่าเสม็ด อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมราช ๕. เมอื งพระรถ ปัจจุบนั คอื หมู่ท่ี ๑ ต�ำ บลพญาขนั อำ�เภอเมืองพทั ลงุ ๖. บ้านควนมะพร้าว ปจั จบุ นั คือ หมทู่ ี่ ๒ ต.พญาขัน อ.เมืองพัทลุง ๗. บา้ นม่วง ปัจจบุ นั คอื หมูท่ ่ี ๖ ต.พญาขนั อ.เมอื งพทั ลุง ๘. บ้านโคกลงุ ปจั จบุ นั คือ หมทู่ ่ี ๔ ต.ล�ำ ปำ� อ.เมอื งพทั ลุง บรรยายสรปุ จังหวดั พทั ลุง ๒๕๕๙ 11

12 บรรยายสรปุ จังหวดั พทั ลงุ ๒๕๕๙

ขอ้ มลู ทว่ั ไป พทั ลงุของจงั หวดั บรรยายสรุปจงั หวดั พทั ลงุ ๒๕๕๙ 13

แผนทพ่ี ทั ลงุ ทต่ี ั้งและอาณาเขต จงั หวดั พทั ลงุ เปน็ จงั หวดั ทม่ี เี นอ้ื ทม่ี ากเปน็ อนั ดบั ท่ี ๑๐ ของภาคใต้ และเปน็ อนั ดบั ท่ี ๕๕ ของประเทศ ต้งั อย่บู ริเวณชายฝ่งั ตะวันออกของแหลมมาลายูหรือแหลมทอง (Golden Khersonese) ซง่ึ ตง้ั อยทู่ างภาคใตข้ องประเทศไทยหรอื ฝง่ั ตะวนั ตกของลมุ่ นา้ํ ทะเลสาบสงขลา (Songkhla Lake Basin) โดยตง้ั อยรู่ ะหวา่ งละตจิ ูดท่ี ๗ องศา ๖ 14 บรรยายสรปุ จังหวัดพทั ลงุ ๒๕๕๙

ลปิ ดาเหนอื ถงึ ๗ องศา ๕๓ ลปิ ดาเหนอื และลองตจิ ดู ท่ี ๙๙ องศา ๔๔ ลปิ ดาตะวนั ออก ถงึ ๑๐๐ องศา ๒๖ ลปิ ดาตะวนั ออก หา่ งจากกรงุ เทพมหานครตามเสน้ ทางรถไฟสายใต้ ประมาณ ๘๔๖ กิโลเมตร ตามเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๑ ประมาณ ๘๕๖ กโิ ลเมตร หรอื ตามเสน้ ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ประมาณ ๑,๒๐๐ กโิ ลเมตร มรี ปู รา่ งคลา้ ยลกั ษณะสเ่ี หลย่ี มผนื ผา้ โดยมสี ว่ นกวา้ งทส่ี ดุ ตามแนวทศิ ตะวนั ออก ถงึ ตะวนั ตก ประมาณ ๕๖ กโิ ลเมตร และสว่ นยาวทส่ี ดุ ตามแนวทศิ เหนอื ถงึ ใต้ ประมาณ ๘๓ กโิ ลเมตร มพี น้ื ทท่ี ง้ั หมด ประมาณ ๓,๔๒๔ ตารางกโิ ลเมตร หรอื ๒๑,๔๐๒,๙๕๖ ไร่ (พน้ื ทด่ี นิ ๑,๙๑๙,๔๔๖ ไร่ พน้ื ทน่ี า้ํ ๒๒๐,๘๕๐ ไร)่ (กรมแผนทท่ี หาร, ๒๕๓๔; กรมการ ปกครอง,๒๕๔๑) มอี าณาเขตตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั ใกลเ้ คยี ง ดงั น้ี ทศิ เหนอื จรดอ�ำ เภอชะอวด จงั หวดั นครศรธี รรมราช และอ�ำ เภอระโนด จงั หวดั สงขลา ทศิ ใต ้ จรดกบั อ�ำ เภอควนเนยี ง อ�ำ เภอรตั ภมู ิ จงั หวดั สงขลา และอ�ำ เภอควนกาหลง จงั หวดั สตลู ทศิ ตะวนั ออก จรดทะเลสาบสงขลา ซง่ึ เปน็ นา่ นนา้ํ ตดิ ตอ่ กบั อ�ำ เภอระโนด อ�ำ เภอกระแสสนิ ธ์ุ อ�ำ เภอสทงิ พระ และอ�ำ เภอสงิ หนคร จงั หวดั สงขลา ทศิ ตะวนั ตก จรดเทอื กเขาบรรทดั ซง่ึ เปน็ แนวตดิ ตอ่ กบั อ�ำ เภอหว้ ยยอด อ�ำ เภอเมอื ง อ�ำ เภอนาโยง อ�ำ เภอยา่ นตาขาว และอ�ำ เภอปะเหลยี น จงั หวดั ตรงั บรรยายสรปุ จังหวดั พทั ลุง ๒๕๕๙ 15

ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ จังหวัดพัทลุงมีลักษณะเป็นภูเขาและท่ีราบสูงทางด้านทิศตะวันตก ประกอบ ด้วยเทือกเขาบรรทัด ถัดมาทางทิศตะวันออกเป็นพื้นที่ราบสลับท่ีดอนและเป็นพื้นที่ ราบลุ่มจรดทะเลสาบสงขลา พื้นท่ีท้ังหมด ประมาณ ๓,๔๒๔ ตารางกิโลเมตร หรือ ๒,๑๔๐,๒๙๖ ไร่ เปน็ พนื้ ดนิ ๑,๙๑๙,๔๔๖ไร่ พนื้ นา้ํ ๒๒๐,๘๕๐ ไร่ เปน็ พนื้ ทที่ างเกษตร ๑,๓๒๗,๒๗๐ ไร่ (๖๒%) พน้ื ทป่ี า่ ๓๘๔,๔๓๘ ไร่ (๑๘%) และพน้ื ทอ่ี น่ื ๆ ๔๒๘,๕๘๘ ไร่ (๒๐%) ลกั ษณะของพนื้ ท่ี ประกอบด้วยพนื้ ทภ่ี ูเขามีลกั ษณะเป็นเทอื กเขาท่ีมยี อดสูงๆ ตา่ํ ๆ มคี วามสงู เฉลยี่ ประมาณ ๘๐๐ เมตร และลาดไปทางทศิ ตะวนั ออกลงสทู่ ะเลสาบ สงขลาในอัตราความลาดชัน ๒๕-๓๐% เทือกเขาน้ีเป็นส่วนหน่ึงของเทือกเขา นครศรีธรรมราช เรยี กกนั โดยท่วั ไปในทอ้ งถ่นิ ว่าเขาบรรทดั พ้ืนทภี่ ูเขามีเนื้อที่รวมกัน ประมาณ ๘๓๕.๙๐ ตารางกโิ ลเมตร หรอื ร้อยละ ๒๔.๔๑ ของพน้ื ท่ีทงั้ หมดอยู่ในเขต พื้นทอี่ �ำ เภอป่าบอน ตะโหมด กงหรา ศรีนครนิ ทร์ ศรีบรรพต และป่าพะยอม พืน้ ท่ี ลูกคลื่นลอนชัน เป็นส่วนที่อยู่ถัดจากเทือกเขาบรรทัด หรือพื้นท่ีเชิงเขาลักษณะ ภูมิประเทศเป็นเนินเต้ียๆ ที่เรียกกันโดยทั่วไปในท้องถ่ินว่าควน มีเนื้อที่ประมาณ ๕๓๙.๗๐ ตารางกโิ ลเมตร หรอื ร้อยละ ๑๕.๗๖ ของพ้ืนทท่ี ั้งหมด พ้นื ท่ีราบ มีเนอ้ื ที่ 16 บรรยายสรปุ จงั หวัดพัทลุง ๒๕๕๙

รวมกนั ประมาณ ๑,๔๘๕.๕๔ ตารางกิโลเมตร หรอื ร้อยละ ๔๓.๓๘ ของพืน้ ที่ทัง้ หมด ลกั ษณะพนื้ ทร่ี าบ และเนอื่ งจากเปน็ ทท่ี เี่ หมาะแกก่ ารกสกิ รรม ประชากรสว่ นใหญข่ อง จงั หวดั จึงนยิ มต้ังถนิ่ ฐานหนาแนน่ ในบรเิ วณนี้ พื้นท่ีเกาะเปน็ พนื้ ท่ีในบรเิ วณทะเลสาบ สงขลาในเขตจังหวัดพัทลุงต้ังอยู่ในเขตอำ�เภอปากพะยูนมีเน้ือที่รวมกัน ประมาณ ๒๑๙.๑๗ ตารางกโิ ลเมตร หรอื ร้อยละ ๖.๔๐ ของพน้ื ทีท่ ัง้ หมด พื้นท่เี กาะเป็นถิน่ ที่อยู่ ของนกอีแอ่นกินรัง มีเน้ือท่ีรวมกันประมาณ ๑.๑๒ ตารางกิโลเมตร อน่ึง พ้ืนน้ําใน จังหวัดพัทลุงน้ันนับเป็นส่วนสำ�คัญของทะเลสาบสงขลา ประกอบด้วยทะเลน้อยและ ทะเลหลวงหรือทะเลสาบสงขลาตอนใน คิดเป็นเน้ือท่ีประมาณ ๓๔๔.๑๖ ตาราง กิโลเมตร หรือร้อยละ ๑๐ ของพน้ื ทที่ ้ังหมด ลักษณะภมู ิอากาศ จงั หวดั พทั ลงุ ตง้ั อยใู่ นเขตมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื และมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ท�ำ ใหม้ สี ภาพอากาศแบบภาคใตอ้ ยภู่ ายใต้ อทิ ธพิ ลของมรสมุ ทพ่ี ดั ปกคลมุ ประจ�ำ ฤดกู าล ท�ำ ให้ในปีหนึ่งๆ จะมเี พยี ง ๒ ฤดูกาล คอื ๑. ฤดรู ้อน เริม่ ตง้ั แตป่ ลายเดือนมีนาคม - กลางเดือนกันยายน ความรอ้ นและ ความอบอ้าวของอากาศมีสูงสุดในช่วงเดือนมิถุนายน โดยมีอุณหภูมิสูงสุดประมาณ ๓๕.๔ องศาเซลเซยี ส อณุ หภมู ิตาํ่ สุดประมาณ ๒๔.๐ องศาเซลเซยี ส โดยในชว่ ง ๑๐ ปี จงั หวัดพทั ลุงมีอณุ หภูมิเฉลยี่ อย่ใู นชว่ ง ๒๗-๒๙ องศาเซลเซยี ส ๒. ฤดฝู น เร่ิมตั้งแตก่ ลางเดือนกนั ยายน - กลางเดือนมนี าคม โดยปรมิ าณฝน สงู สดุ ในรอบปี ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘ คือ เดอื นธันวาคม ๒๕๕๘ วัดได้ ๑,๒๔๐ มลิ ลิเมตร มีความชน้ื สัมพัทธเ์ ฉลีย่ สูงสดุ ๙๑.๓% และเฉลย่ี ตาํ่ สดุ ๕๘.๗๖% ปริมาณนํ้าฝน จังหวดั พัทลงุ มฝี นเฉลยี่ ทง้ั ปีในชว่ ง ๑๐ ปี ๒,๐๕๒.๑ มลิ ลเิ มตร (ที่มา : ศูนย์อตุ นุ ยิ มวิทยาภาคใตฝ้ ง่ั ตะวันออก) บรรยายสรปุ จงั หวดั พัทลุง ๒๕๕๙ 17

18 บรรยายสรปุ จังหวดั พทั ลงุ ๒๕๕๙

สถานการณ์ พทั ลงุของจงั หวดั บรรยายสรุปจงั หวัดพทั ลงุ ๒๕๕๙ 19

ดา้ นประชากร จังหวัดพัทลุงมีประชากรจากทะเบียนราษฎร์ (ข้อมูลเดือนธันวาคม ๒๕๕๘) จ�ำ นวน ๕๒๒,๗๒๓ คน ประชากรเพศชาย ๒๕๕,๓๖๕ คน เพศหญิง ๒๖๗,๓๕๘ คน มีครัวเรอื น ๑๘๔,๑๘๕ ครวั เรอื น อ�ำ เภอทม่ี ปี ระชากรมากที่สุด คือ อ�ำ เภอเมอื ง จ�ำ นวน ๑๒๑,๑๖๗ คน ๕๖,๑๐๖ ครวั เรอื น และอ�ำ เภอทม่ี ปี ระชากรนอ้ ยทส่ี ดุ คอื อ�ำ เภอศรบี รรพต จ�ำ นวน ๑๗,๙๓๑ คน ๖,๔๓๘ ครัวเรือน 20 บรรยายสรุปจงั หวดั พัทลงุ ๒๕๕๙

โครงสร้างประชากรของจังหวัด ข้อมลู ประชากรจงั หวัดพัทลุง ปี ๒๕๕๘ อำ�เภอ ประชากร (คน) จำ�นวน ครัวเรือน เมืองพัทลุง ชาย หญิง รวม ควนขนนุ ๕๗,๘๓๓ ๕๖,๑๐๖ เขาชัยสน ๔๐,๕๘๘ ๖๓,๓๕๓ ๑๒๑,๑๘๖ ๓๐,๑๕๙ ปากพะยนู ๒๑,๙๗๙ ๑๕,๖๙๑ กงหรา ๒๓,๐๐๔ ๔๓,๗๕๒ ๘๔,๓๑๓ ๑๖,๕๔๑ ตะโหมด ๑๗,๙๑๙ ๑๐,๗๙๓ ปา่ บอน ๑๗,๘๔๗ ๒๒,๘๕๗ ๔๔,๘๓๖ ๑๑,๐๑๖ บางแกว้ ๒๓,๕๒๔ ๑๖,๒๑๐ ศรบี รรพต ๑๒,๘๖๔ ๒๓,๗๘๒ ๔๖,๗๘๖ ๘,๙๙๕ ปา่ พะยอม ๘,๙๙๙ ๖,๔๓๘ ศรีนครินทร์ ๑๘,๐๗๙ ๓๕,๙๙๘ ๑๗,๓๔๓ ๑๒,๕๘๓ รวม ๑๓,๔๖๕ ๑๘,๒๔๗ ๓๖,๐๙๖ ๙,๖๕๓ ๒๕๕,๓๖๕ ๑๘๔,๑๘๕ ๒๔,๐๒๖ ๔๗,๕๕๐ ๑๓,๐๐๘ ๒๕,๘๗๒ ๘,๙๔๗ ๑๗,๙๔๖ ๑๘,๐๙๐ ๓๕,๔๓๓ ๑๓,๒๑๒ ๒๖,๗๐๗ ๒๖๗,๓๕๘ ๕๒๒,๗๒๓ บรรยายสรปุ จงั หวดั พทั ลุง ๒๕๕๙ 21

ดา้ นการเมือง การเมอื งระดับชาติ การเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (วันอาทิตย์ท่ี ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๔) จงั หวดั พัทลุง แบง่ เขตการเลือกต้งั ออกเป็น ๓ เขต มสี มาชกิ สภาผู้แทนราษฎรจำ�นวน ๓ คน ผู้มีสิทธ์ิเลือกต้ัง ตามบัญชีรายช่ือผู้มีสิทธ์ิเลือกต้ัง (ส.ส.๑๑) รวมทุกเขต เลือกตง้ั ๓๗๗,๔๔๗ คน ผมู้ าใช้สิทธิ์ลงคะแนน รวมทุกเขตเลอื กตัง้ ๓๐๒,๙๑๒ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘๐.๒๕ ของผูม้ สี ิทธ์ิเลือกตงั้ มีผสู้ มคั รรบั เลือกต้งั แบบแบ่งเขตเลือกตง้ั จำ�นวน ๑๖ คน จากพรรคการเมอื ง ๗ พรรค รายช่ือผู้ได้รับการเลือกตัง้ เป็นสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร เมื่อวนั อาทิตยท์ ่ี ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๔ เขตเลือกต้ัง ชื่อ - สกลุ พรรค คะแนน ๑ นางสาวสุพชั รี ธรรมเพชร ประชาธิปตั ย์ ๗๔,๒๔๔ ๒ นายนพิ ิฏฐ์ อินทรสมบัติ ประชาธิปัตย์ ๖๖,๖๗๐ ๓ นายนริศ ข�ำ นรุ กั ษ์ ประชาธิปตั ย์ ๘๓,๒๔๓ 22 บรรยายสรปุ จังหวัดพัทลุง ๒๕๕๙

สรุปผลการมาใช้สทิ ธ์ิเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลอื กต้งั จังหวัดพัทลุง บัตร เขต ผูม้ สี ิทธิ ผู้มาใช้สิทธิ รอ้ ยละ บัตรดี ร้อยละ บตั รเสีย ร้อยละ ไม่ประ ร้อยละ สงค์ฯ ๑ ๑๒๒,๖๐๒ ๙๗,๒๙๔ ๗๙.๓๖ ๘๒,๕๕๓ ๘๔.๘๕ ๙,๔๗๖ ๙.๗๔ ๕,๒๖๕ ๕.๔๑ ๒ ๑๒๑,๒๓๔ ๙๘,๔๓๐ ๘๑.๑๙ ๘๔,๔๙๖ ๘๕.๘๔ ๙,๑๖๖ ๙.๓๑ ๔,๗๖๘ ๔.๘๔ ๓ ๑๓๓,๖๑๑ ๑๐๗,๑๘๘ ๘๐.๒๒ ๙๑,๕๙๗ ๘๕.๔๕ ๑๑,๒๖๔ ๑๐.๕๑ ๔,๓๒๗ ๔.๐๔  รวม ๓๗๗,๔๔๗ ๓๐๒,๙๑๒ ๘๐.๒๕ ๒๕๘,๖๔๖ ๘๕.๓๙ ๒๙,๙๐๖ ๙.๘๗ ๑๔,๓๖๐ ๔.๗๔ การเลือกตัง้ แบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดพัทลุง มีผู้สมัครรับเลือกต้ังแบบบัญชีรายชื่อ จำ�นวน ๔๐ คน จาก พรรคการเมือง ๔๐ พรรค รายช่ือผไู้ ด้รับการเลอื กตง้ั เปน็ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบญั ชีรายชือ่ เมอ่ื วันอาทิตยท์ ่ี ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ช่อื - สกลุ พรรค ดร.นาที รัชกจิ ประการ ภูมใิ จไทย นายวิภูแถลง พัฒนภูมิไทย เพอ่ื ไทย ดร.เยาว์นติ ย์ เพียงเกษ เพอื่ ไทย ดร.สามารถ ราชพลสทิ ธิ์ ประชาธปิ ัตย์ นายโปรดปราณ โตะ๊ รานี รกั ประเทศไทย บรรยายสรุปจงั หวดั พัทลุง ๒๕๕๙ 23

สรุปผลการมาใชส้ ิทธ์ิเลอื กต้ังสมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร แบบบญั ชีรายช่ือจังหวดั พัทลุง เขต ผมู้ ีสทิ ธิ ผ้มู าใช้สทิ ธิ ร้อยละ บตั รดี บัตร รอ้ ย รอ้ ยละ บัตรเสีย รอ้ ยละ ไม่ประ ละ สงค์ฯ ๑ ๑๒๒,๖๐๒ ๙๗,๒๙๔ ๗๙.๓๖ ๙๐,๙๒๑ ๙๓.๔๕ ๓,๖๖๔ ๓.๗๗ ๒,๗๐๙ ๒.๗๘ ๒ ๑๒๑,๒๓๔ ๙๘,๔๓๐ ๘๑.๑๙ ๙๑,๙๘๐ ๙๓.๔๕ ๔,๑๐๘ ๔.๑๗ ๒,๓๔๒ ๒.๓๘ ๓ ๑๓๓,๖๑๑ ๑๐๗,๑๘๗ ๘๐.๒๒ ๑๐๐,๕๖๘ ๙๓.๘๒ ๔,๖๒๔ ๔.๓๑ ๑,๙๙๕ ๑.๘๖  รวม ๓๗๗,๔๔๗ ๓๐๒,๙๑๑ ๘๐.๒๕ ๒๘๓,๔๖๙ ๙๓.๕๘ ๑๒,๓๙๖ ๔.๐๙ ๗,๐๔๖ ๒.๓๓ สมาชิกวุฒิสภา การเลือกต้ังสมาชิกวุฒิสภา (วันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๕๗) ผู้ได้รับการเลือกต้ัง เป็นสมาชิกวฒุ สิ ภาจังหวัดพัทลงุ จ�ำ นวน ๑ คน คอื นายทวี ภูมสิ ิงหราช ได้ ๑๑๕,๙๔๐ คะแนน (ที่มา : คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวดั พัทลุง) การเมืองระดับท้องถิ่น การเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั จงั หวดั พทั ลงุ มกี ารเลอื กตง้ั นายกองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด เมื่อวันท่ี ๓ มถิ นุ ายน ๒๕๕๕ ผ้ทู ่ไี ดร้ ับการเลือกตั้ง เป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุงคือ นายวิสุทธิ์ ธรรมเพชรได้ ๑๒๐,๖๙๘ คะแนน ส�ำ หรับสมาชกิ สภาองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดพทั ลงุ มจี ำ�นวนทั้งสิน้ ๓๐ คน การเลือกต้ังนายกเทศมนตรีเมืองพัทลุงและสมาชิกสภาเทศบาลเมืองพัทลุง เมอ่ื วนั ท่ี ๒๑ เมษายน ๒๕๕๕ ผทู้ ไ่ี ดร้ บั การเลอื กตงั้ เปน็ นายกเทศมนตรเี มอื งพทั ลงุ คอื นายสเุ มธ บญุ ยก ได้ ๕,๕๑๒ คะแนน ส�ำ หรบั สมาชกิ สภาเทศบาล มจี �ำ นวนทง้ั สน้ิ ๑๘ คน (ทมี่ า : คณะกรรมการการเลอื กตั้งจังหวัดพัทลุง) 24 บรรยายสรปุ จงั หวดั พัทลงุ ๒๕๕๙

ด้านการปกครอง จงั หวดั พทั ลงุ แบง่ เขตการปกครองออกเปน็ ๑๑ อ�ำ เภอ ๖๕ ต�ำ บล ๖๗๐ หมบู่ า้ น โดยแยกตามรายละเอียด ดังน้ี คือ ข้อมูลเขตการปกครองและพื้นท่ี ท่ี อำ�เภอ หมู่บ้าน เขตการปกครอง อบต. พ้นื ที่ ๑๔๔ ตำ�บล เทศบาล ๔ (ตร.กม.) ๑ เมอื งพทั ลงุ ๔๕ ๑๔ ๑๐ ๑ ๒ กงหรา ๕๘ ๓ ๔๒๗.๔๒๑ ๓ เขาชัยสน ๓๓ ๕๔ - ๒๕๕.๘๕๖ ๔ ตะโหมด ๑๒๙ ๕๓ ๓ ๒๖๐.๑๑๕ ๕ ควนขนนุ ๖๕ ๓๕ ๒ ๒๖๔.๒๖๐ ๖ ปากพะยนู ๓๐ ๑๒ ๑๑ ๓ ๔๕๓.๙๖๐ ๗ ศรบี รรพต ๓๔ ๗๖ ๕ ๔๓๓.๒๗๔ ๘ ป่าบอน ๕๐ ๓- ๒ ๒๑๘.๕๐๔ ๙ บางแกว้ ๓๙ ๓๑ ๒ ๓๘๐.๐๔๘ ๑๐ ปา่ พะยอม ๔๓ ๕๒ - ๑๑๙.๐๐๐ ๑๑ ศรีนครนิ ทร์ ๖๗๐ ๔๒ ๒๕ ๓๘๖.๔๐๔ ๔๔ ๒๒๕.๖๓๑ รวม ๖๕ ๔๘ ๓,๔๒๔.๔๗๓ (ทมี่ า : ทที่ ำ�การปกครองจังหวัดพัทลุง) บรรยายสรุปจงั หวัดพทั ลงุ ๒๕๕๙ 25

โครงสร้างการบรหิ ารราชการ จังหวัดพัทลุง มีส่วนราชการสังกัดราชการบริหารส่วนภูมิภาค จำ�นวน ๓๑ สว่ นราชการ สว่ นราชการสงั กดั ราชการบรหิ ารสว่ นกลาง ๘๑ สว่ นราชการ และหนว่ ยงาน รัฐวิสาหกิจ จำ�นวน ๑๔ หน่วยงาน โครงสรา้ งการบรหิ ารราชการจังหวัดพทั ลงุ หนว่ ยงานบริหารราชการส่วนกลาง องค์กรอิสระ จำ�นวน ๘๑ ส่วนราชการ หนว่ ยงานบรหิ ารราชการส่วนภูมิภาคจำ�นวน หนว่ ยงานบริหารราชการส่วนท้องถนิ่ ๓๑ สว่ นราชการ/รัฐวิสาหกิจ ๑๔ หน่วยงาน จ�ำ นวน ๗๔ ส่วนราชการ อำ�เภอจำ�นวน ๑๑ อ�ำ เภอ องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัด เทศบาลเมอื ง ๑ แหง่ ตำ�บลจ�ำ นวน ๖๕ ตำ�บล จำ�นวน ๑ แหง่ เทศบาลต�ำ บล ๔๗ แหง่ หมูบ่ า้ นจ�ำ นวน ๖๗๐ หมบู่ า้ น องคก์ ารบริหารสว่ นต�ำ บล จำ�นวน ๒๕ แห่ง 26 บรรยายสรปุ จังหวัดพทั ลงุ ๒๕๕๙

การปกครองสว่ นท้องถ่นิ จังหวัดพัทลุงมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำ�นวน ๗๔ แห่ง ประกอบด้วย องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั จ�ำ นวน ๑ แหง่ เทศบาล จ�ำ นวน ๔๘ แหง่ (แยกเปน็ เทศบาล เมอื ง จำ�นวน ๑ แหง่ และเทศบาลตำ�บล จำ�นวน ๔๗ แหง่ ) และองค์การบริหารสว่ น ต�ำ บล จำ�นวน ๒๕ แห่ง องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั องค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง ตั้งเม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๖ พ้ืนท่ีท้ังหมด ๓,๔๒๔.๔๗๓ ตร.กม. เทศบาล จงั หวัดพัทลุงมเี ทศบาลท้งั หมด ๔๘ แหง่ ในทุกอ�ำ เภอ ยกเวน้ อำ�เภอศรีบรรพต มีจำ�นวนประชากรทั้งหมด ๓๒๑,๗๗๔ แยกเป็นเพศชาย ๑๔๙,๙๘๕ คน เพศหญิง ๑๕๗,๘๓๓ คน มพี น้ื ทที่ ้ังหมด ๑๔,๗๖๗ ตร.กม. รายละเอยี ดตามตาราง บรรยายสรุปจังหวดั พทั ลุง ๒๕๕๙ 27

ตารางแสดงจ�ำ นวนพน้ื ที่ และจำ�นวนประชากรในเขตเทศบาลปี ๒๕๕๘ ที่ อำ�เภอ เทศบาล ตั้ง พ.ศ. พนื้ ท่ี ประชากร (คน) (ตร.กม.) ชาย หญิง รวม ๑ เมอื งพัทลงุ เมืองพัทลงุ ๒๔๗๙ ๑๖,๓๑๕ ๑๘,๖๘๑ ๓๔,๙๙๖ ๒ ต.โคกชะงาย ๒๕๕๑ ๑๓,๓๔๒ ๒,๔๖๓ ๒,๖๘๘ ๕,๑๕๑ ๓ ต.เขาเจียก ๒๕๕๒ ๑๖.๕๐ ๒,๑๖๙ ๒,๕๒๐ ๔,๖๘๙ ๔ ต.ทา่ มิหร�ำ ๒๕๕๒ ๑๔.๒๕ ๒,๒๗๒ ๒,๕๐๗ ๔,๗๗๙ ๕ ต.นาทอ่ ม ๒๕๕๒ ๑๒.๐๓ ๒,๒๘๐ ๒,๔๖๗ ๔,๗๔๗ ๖ ต.ปรางหมู่ ๒๕๕๒ ๑๓.๔๔ ๒,๔๔๖ ๒,๗๑๕ ๕,๑๖๑ ๗ ต.พญาขนั ๒๕๕๒ ๒๒.๙๕ ๒,๘๓๘ ๓,๐๕๐ ๕,๘๘๘ ๘ ต.ทา่ แค ๒๕๕๕ ๒๕.๙๖ ๓,๗๒๘ ๔,๐๐๗ ๗,๗๓๕ ๙ ต.นาโหนด ๒๕๕๕ ๓๕ ๔,๐๘๓ ๔,๓๑๓ ๘,๓๙๖ ๑๐ ต.รม่ เมือง ๒๕๕๒ ๓๖.๖๔ ๒,๕๒๙ ๒,๖๙๔ ๕,๒๒๓ ๑๑ ควนขนนุ ต.ควนขนนุ ๒๕๔๒ ๑๗.๕๒ ๙๕๙ ๑,๑๔๓ ๒,๑๐๒ ๑๒ ต.หนองพอ้ ๒๕๕๑ ๐.๙ ๓,๐๑๑ ๓,๓๑๗ ๖,๓๒๘ ๑๓ ต.มะกอกเหนอื ๒๕๔๒ ๒๔.๔๓ ๒,๔๙๑ ๒,๗๓๔ ๕,๒๒๕ ๑๔ ต.บา้ นสวน ๒๕๕๑ ๑.๒ ๒,๔๗๗ ๒,๗๑๓ ๕,๑๙๐ ๑๕ ต.พนางตุง ๒๕๕๑ ๓๕.๘๔ ๔,๘๗๒ ๕,๑๕๗ ๑๐,๐๒๙ ๑๖ ต.นาขยาด ๒๕๕๑ ๖๕ ๓,๙๖๓ ๔,๒๘๔ ๘,๒๔๗ ๑๗ ต.ทะเลนอ้ ย ๒๕๕๒ ๔๙ ๓,๑๘๗ ๓,๔๒๑ ๖,๖๐๘ ๑๘ ต.โตนดดว้ น ๒๕๕๒ ๖๕ ๒,๙๗๒ ๓,๒๑๑ ๖,๑๘๓ ๑๙ ต.ดอนทราย ๒๕๕๒ ๓๕.๓๒ ๒,๗๑๕ ๒,๘๘๙ ๕,๖๐๔ ๒๐ ต.แพรกหา ๒๕๕๒ ๓๕ ๒,๘๕๓ ๓,๐๒๔ ๕,๘๗๗ ๒๑ ต.แหลมโตนด ๒๕๕๒ ๑๙.๒ ๒,๔๓๒ ๒,๕๐๘ ๔,๙๔๐ ๒๒ เขาชยั สน ต.เขาชัยสน ๒๕๔๒ ๔๓ ๔,๙๙๓ ๕,๑๕๕ ๑๐,๑๔๘ ๒๓ ต.โคกม่วง ๒๕๕๑ ๑.๕ ๕,๐๗๖ ๕,๒๕๑ ๑๐,๓๒๗ ๒๔ ต.จองถนน ๒๕๕๒ ๖๗.๙๙ ๑,๗๙๙ ๑,๘๕๐ ๓,๖๔๙ ๑๘ 28 บรรยายสรปุ จังหวัดพทั ลงุ ๒๕๕๙

ที่ อำ�เภอ เทศบาล ต้ัง พ.ศ. พน้ื ที่ ประชากร (คน) (ตร.กม.) ชาย หญิง รวม ๒๕ ปากพะยูน ต.ปากพะยูน ๒๕๔๒ ๑,๗๗๕ ๑,๘๙๖ ๓,๖๗๑ ๒๖ ต.ดอนประดู่ ๒๕๕๕ ๑.๕ ๓,๑๕๖ ๓,๒๖๒ ๖,๔๑๘ ๒๗ ต.อ่าวพะยูน ๒๕๕๑ ๓๗.๖๒ ๒,๑๗๔ ๒,๒๓๕ ๔,๔๐๙ ๒๘ ต.หารเทา ๒๕๕๑ ๓๕.๙๒ ๔,๘๕๗ ๕,๐๔๕ ๙,๙๐๒ ๒๙ ต.เกาะนางค�ำ ๒๕๕๒ ๕๒ ๒,๘๘๘ ๒,๗๘๐ ๕,๖๕๘ ๓๐ ต.ดอนทราย ๒๕๕๒ ๗๗ ๑,๑๗๒ ๑,๒๓๔ ๒,๓๐๖ ๓๑ กงหรา ต.ชะรดั ๒๕๕๑ ๒๐ ๓,๔๖๘ ๓,๕๙๔ ๗,๐๖๒ ๓๒ ต.กงหรา ๒๕๕๒ ๒๖.๘๒ ๒,๐๙๙ ๒,๐๗๗ ๔,๑๗๖ ๓๓ สมหวัง ๒๕๕๕ ๖๐.๑๖ ๒,๒๘๗ ๒,๓๖๒ ๔,๖๔๑ ๓๔ ต.คลองทรายขาว ๒๕๕๒ ๒๐ ๓,๓๑๔ ๓,๓๑๗ ๖,๖๓๑ ๓๕ ตะโหมด ต.ตะโหมด ๒๕๔๒ ๓๕ ๒,๑๘๑ ๒,๒๐๐ ๔,๓๘๑ ๓๖ ต.แมข่ รี ๒๕๔๒ ๑๓ ๓,๖๐๙ ๓,๖๒๙ ๗,๒๓๘ ๓๗ ต.เขาหัวช้าง ๒๕๕๑ ๔ ๓,๕๑๗ ๓,๕๔๔ ๗,๐๖๑ ๓๘ ต.คลองใหญ่ ๒๕๕๕ ๗๐ ๓,๒๔๕ ๓,๒๔๘ ๖,๔๙๓ ๓๙ ต.ควนเสาธง ๒๕๕๑ ๕๑.๕๒ ๓,๖๐๘ ๓,๖๐๙ ๗,๒๑๗ ๔๐ ปา่ บอน ต.ป่าบอน ๒๕๔๒ ๕๓.๖๓ ๔,๑๓๐ ๔,๓๖๐ ๘,๔๙๐ ๔๑ ป่าพะยอม ต.ลานข่อย ๒๕๕๑ ๘.๒๕ ๔,๑๒๕ ๔,๒๗๖ ๘,๔๐๑ ๔๒ ต.บา้ นพร้าว ๒๕๕๑ ๕๙.๗๕ ๔,๑๕๔ ๔,๕๒๑ ๘,๖๗๕ ๔๓ บางแก้ว ต.ทา่ มะเดือ่ ๒๕๔๒ ๔๔.๑๓๓ ๒,๑๖๘ ๒,๒๕๑ ๔,๔๑๙ ๔๔ ต.บางแกว้ ๒๕๕๐ ๒ ๑,๘๙๗ ๑,๘๙๓ ๓,๗๙๐ ๔๕ ศรีนครนิ ทร์ ต.ชมุ พล ๒๕๕๑ ๑๘.๔๗ ๔,๕๐๗ ๔,๐๗๖ ๘,๕๘๓ ๔๖ ต.บา้ นนา ๒๕๕๑ ๗๒ ๓,๗๗๕ ๓,๘๑๓ ๗,๕๘๘ ๔๗ ต.ลำ�สนิ ธ์ุ ๒๕๕๒ ๑๑๗ ๓,๐๐๗ ๓,๐๑๕ ๖,๐๒๒ ๔๘ ต.อ่างทอง ๒๕๕๒ ๔๙ ๒,๑๐๘ ๒,๒๗๖ ๔,๓๘๔ ๒๑.๑๔ บรรยายสรปุ จงั หวัดพัทลงุ ๒๕๕๙ 29

องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำ�บล จงั หวดั พทั ลงุ มอี งคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บล (อบต.) ทงั้ หมด ๒๕ แหง่ ในทกุ อ�ำ เภอ ยกเว้นอำ�เภอศรีนครินทร์ มีจำ�นวนประชากรท้ังหมด ๒๑๐,๖๗๖ คน แยกเป็น เพศชาย ๑๐๓,๘๐๐ คน เพศหญงิ ๑๐๖,๘๗๖ คน มพี นื้ ทท่ี งั้ หมด ๑,๘๔๑.๐๘ ตร.กม. ตารางแสดงจำ�นวนพืน้ ที่ และจำ�นวนประชากร ในเขตองคก์ ารบริหารส่วนตำ�บล ปี ๒๕๕๘ ที่ อำ�เภอ อบต. ตง้ั เมือ่ พ้ืนที่ ชาย ประชากร พ.ศ. ตร.กม. ๕,๓๑๑ หญงิ รวม ๑ เมืองพัทลงุ ควนมะพร้าว ๒๕๓๙ ๔๕.๐๗ ๓,๗๘๐ ๒ ตำ�นาน ๒๕๓๙ ๒๖.๗๕ ๔,๐๗๙ ๕,๗๙๐ ๑๑,๑๐๑ ๓ ชยั บรุ ี ๒๕๓๙ ๕๘.๐๒ ๓,๒๕๔ ๔,๑๗๒ ๗,๙๕๒ ๔ ลำ�ปำ� ๒๕๓๙ ๔๒.๐๐ ๔,๐๖๘ ๔,๒๘๙ ๘,๓๖๘ ๕ ควนขนุน ชะมวง ๒๕๓๙ ๕๐ ๓,๐๒๓ ๓,๑๐๗ ๖,๓๖๑ ๖ ปันแต ๒๕๓๙ ๔๓ ๒,๙๗๔ ๔,๔๑๓ ๘,๔๘๑ ๗ พนมวงั ก์ ๒๕๓๙ ๒๙ ๔,๙๕๓ ๓,๑๔๕ ๖,๑๖๘ ๘ เขาชัยสน เขาชัยสน ๒๕๓๙ ๖๗.๙๒ ๔,๑๗๓ ๓,๒๙๐ ๖,๒๖๔ ๙ ควนขนุน ๒๕๓๙ ๔๘ ๔,๒๑๕ ๕,๑๓๔ ๑๐,๐๘๗ ๑๐ หานโพธ์ิ ๒๕๓๙ ๙๒ ๓,๕๕๔ ๔,๓๑๔ ๘,๔๘๗ ๑๑ ปากพะยนู เกาะหมาก ๒๕๓๙ ๑๔๒ ๕,๓๕๕ ๔,๓๓๒ ๘,๕๔๗ ๑๒ ฝาละมี ๒๕๓๙ ๖๕ ๖,๗๕๗ ๓,๗๕๘ ๗,๓๑๒ ๑๓ กงหรา คลองเฉลิม ๒๕๓๙ ๙๕ ๔,๑๑๘ ๕,๔๗๘ ๑๐,๘๓๓ ๑๔ ปา่ บอน ปา่ บอน ๒๕๓๙ ๗๗.๘๕ ๓,๐๙๙ ๖,๗๐๐ ๑๓,๔๕๗ ๑๕ วงั ใหม่ ๒๕๓๘ ๕๐.๙๒ ๔,๑๖๖ ๔,๓๓๕ ๘,๔๕๓ ๑๖ หนองธง ๒๕๓๙ ๗๕.๗๙ ๓,๑๒๓ ๖,๒๒๒ ๔,๒๔๕ ๘,๔๑๑ 30 บรรยายสรุปจังหวดั พัทลุง ๒๕๕๙

ที่ อำ�เภอ อบต. ตั้งเมือ่ พ้นื ท่ี ประชากร พ.ศ. ตร.กม. ชาย หญิง รวม ๑๗ โคกทราย ๑๘ ทงุ่ นารี ๒๕๓๙ ๕๗.๐๘ ๕,๐๙๗ ๕,๒๑๗ ๑๐,๓๑๔ ๑๙ ปา่ พะยอม ปา่ พะยอม ๒๐ เกาะเต่า ๒๕๓๙ ๑๑๙.๒๒ ๔,๙๘๓ ๔,๙๘๙ ๙,๙๗๒ ๒๑ ศรีบรรพต เขาปู่ ๒๒ เขายา่ ๒๕๓๙ ๒๖.๘๕ ๒,๙๘๔ ๓,๑๙๘ ๖,๑๘๒ ๒๓ ตะแพน ๒๔ บางแกว้ โคกสกั ๒๕๓๘ ๑๒๕.๕๔ ๖,๐๖๙ ๖,๐๗๔ ๑๒,๑๔๓ ๒๕ นาปะขอ ๒๕๓๙ ๗๘ ๒,๙๐๑ ๒,๘๘๑ ๕,๗๘๒ ๒๕๓๙ ๕๔ ๓,๔๕๑ ๓,๔๐๗ ๖,๘๕๘ ๒๕๓๙ ๙๒.๗๐ ๒,๖๒๖ ๒,๖๕๐ ๕,๒๗๖ ๒๕๓๙ ๔๖ ๓,๖๕๙ ๓,๖๓๙ ๗,๒๙๘ ๒๕๓๙ ๕๒.๕๙ ๕,๑๕๑ ๕,๑๙๖ ๗,๒๙๘ บรรยายสรุปจงั หวดั พทั ลงุ ๒๕๕๙ 31

โครงสรา้ งพน้ื ฐาน ไฟฟา้ จงั หวดั พทั ลงุ มสี �ำ นกั งานการไฟฟา้ สว่ นภมู ภิ าคจงั หวดั และส�ำ นกั งานการไฟฟา้ ยอ่ ย ในพน้ื ทอี่ �ำ เภอรวม ๑๐ แหง่ (ยกเวน้ อ�ำ เภอศรนี ครนิ ทร)์ สรปุ จ�ำ นวนครวั เรอื นทมี่ ไี ฟฟา้ ใช้แยกรายอำ�เภอ ดังนี้ ตารางสรุปจำ�นวนครวั เรือนท่ีมไี ฟฟ้าใชแ้ ยกเป็นรายอำ�เภอ อำ�เภอ ครัวเรอื น ครวั เรือนทม่ี ี รอ้ ยละของ จำ�นวนครัว รอ้ ยละของ ทง้ั หมด ไฟฟา้ ใช้ ครวั เรือนท่ีมี เรอื นทไี่ ม่มี ครัวเรอื นท่ีไมม่ ี ไฟฟา้ ใช้ ไฟฟ้าใช้ ไฟฟ้าใช้ เมืองพทั ลุง ๕๙,๑๓๙ ๕๙,๑๐๔ ๙๙.๙๔ ๓๕ ๐.๐๖ เขาชยั สน ๑๒,๘๔๕ ๑๒,๘๐๘ ๙๙.๗๑ ๓๗ ๐.๒๙ กงหรา ๖,๗๗๒ ๖,๗๔๖ ๙๙.๖๒ ๒๖ ๐.๓๘ ตะโหมด ๑๓,๖๖๙ ๑๓,๕๙๗ ๙๙.๔๗ ๗๒ ๐.๕๓ บางแก้ว ๖,๕๓๕ ๖,๔๙๘ ๙๙.๔๓ ๓๗ ๐.๕๗ ปา่ บอน ๑๑,๓๑๑ ๑๑,๒๘๖ ๙๙.๗๘ ๒๕ ๐.๒๒ ควนขนุน ๒๗,๓๓๒ ๒๗,๓๑๖ ๙๙.๙๔ ๑๖ ๐.๐๖ ศรบี รรพต ๖,๙๙๑ ๖,๙๗๙ ๙๙.๘๓ ๑๒ ๐.๑๗ ป่าพะยอม ๑๑,๕๙๘ ๑๑,๕๘๕ ๙๙.๘๙ ๑๓ ๐.๑๑ ปากพะยนู ๑๔,๗๙๖ ๑๔,๗๗๗ ๙๙.๘๗ ๑๙ ๐.๑๓ รวม ๑๗๐,๙๘๘ ๑๗๐,๖๙๖ ๙๙.๘๓ ๒๙๒ ๐.๑๗ อ�ำ เภอศรีนครินอยใู่ นเขตพน้ื ที่ของอ�ำ เภอเมอื งและอ�ำ เภอกงหรา 32 บรรยายสรปุ จังหวดั พัทลงุ ๒๕๕๙

การประปา จังหวดั พทั ลุงมีการใช้นา้ํ ประปาครอบคลมุ ทง้ั ๑๑ อำ�เภอ ๗๔ องคก์ ารบริหาร สว่ นทอ้ งถนิ่ โดยแยกเปน็ การใชบ้ รกิ ารของประปาสว่ นภมู ภิ าค และประปาขององคก์ ร ปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน พื้นทีก่ ารใหบ้ รกิ ารนํา้ ประปาของการประปาส่วนภมู ิภาค จงั หวดั พทั ลุง มีการใชบ้ รกิ ารนา้ํ ประปาของการประปาส่วนภูมภิ าค จ�ำ นวน ๓ แหง่ คอื สำ�นกั งานการประปาพทั ลุง มกี ำ�ลังการผลิต ๑๗,๒๘๐ ลบ.ม/วัน ส�ำ นักงาน การประปาทะเลน้อย มีกำ�ลังการผลิต ๗๒๐ ลบ.ม/วัน และสำ�นักงานการประปา เขาชยั สน มีกำ�ลังการผลิต ๒,๐๐๐ ลบ.ม/วนั โดยมคี รวั เรือนทใ่ี ช้นํ้าทง้ั หมด ๑๖,๙๐๗ ครัวเรอื น พน้ื ทใ่ี หบ้ รกิ ารนา้ํ ประปาขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ที่ให้บริการนํ้าประปาแก่ครัวเรอื นในพนื้ ที่ จ�ำ นวน ๗๔ แหง่ ซง่ึ ครอบคลมุ ทง้ั จงั หวดั โดยมคี รวั เรอื นทใ่ี ชน้ า้ํ ประปารวม ๑๓๘,๕๕๕ ครวั เรอื น ครวั เรอื นทม่ี ีน้าํ ประปาใช้ และไม่มนี ้ําประปาใช้ จำ�แนกเปน็ รายอำ�เภอ อำ�เภอ ครัวเรอื น ครวั เรอื นท่มี ี รอ้ ยละของ จำ�นวนครัว รอ้ ยละของ ทง้ั หมด น้าํ ประปาใช้ ครวั เรือนท่มี ี เรือนท่ีไม่มี ครัวเรอื นทไี่ ม่ น้ําประปาใช้ นาํ้ ประปาใช้ มีน้าํ ประปาใช้ เมืองพทั ลุง ๕๘,๒๗๘ ๕๒,๘๖๒ ๙๐.๗ ๓,๒๓๓ ๙.๓ กงหรา ๑๐,๓๓๗ ๘,๘๗๗ ๘๕.๘๘ ๑,๑๕๘ ๑๔.๑๒ เขาชยั สน ๑๕,๑๕๘ ๑๒,๖๖๕ ๘๓.๕๖ ๑๖.๔๔ ตะโหมด ๑๐,๕๖๖ ๖,๙๘๐ ๖๖.๐๖ ๘๐๗ ๓๓.๙๔ ควนขนุน ๒๙,๓๑๗ ๑๗,๙๙๗ ๖๑.๓๙ ๙๒๕ ๓๘.๖๑ ๕,๖๓๙ บรรยายสรปุ จงั หวัดพทั ลุง ๒๕๕๙ 33

อำ�เภอ ครวั เรอื น ครัวเรอื นทมี่ ี รอ้ ยละของ จำ�นวนครัว รอ้ ยละของ ทงั้ หมด น้ําประปาใช้ ครัวเรือนทม่ี ี เรอื นทไี่ ม่มี ครัวเรือนท่ไี ม่ ปากพะยนู นํ้าประปาใช้ นาํ้ ประปาใช้ มีน้าํ ประปาใช้ ศรบี รรพต ๑๖,๑๒๕ ๑๒,๑๔๙ ปา่ บอน ๖,๑๗๓ ๖,๐๒๗ ๗๕.๓๕ ๑,๑๘๗ ๒๔.๖๕ บางแกว้ ๑๕,๔๙๖ ๑๓,๗๗๗ ๙๗.๖๔ ๑๔๖ ๒.๓๖ ป่าพะยอม ๘,๖๓๘ ๖,๑๔๙ ๘๘.๙๑ ศรีนครนิ ทร์ ๑๒,๐๕๒ ๙,๕๖๑ ๗๑.๑๙ ๑,๔๑๔ ๑๑.๐๙ รวม ๑๕,๒๑๑ ๘,๔๑๘ ๗๙.๓๔ ๒,๕๑๔ ๒๘.๘๑ ๑๕๖,๔๙๖ ๑๕๕,๔๖๒ ๕๕.๑๒ ๙๙.๓๔ ๑๖๐ ๒๐.๖๖ ๕๘๓ ๔๔.๘๘ ๑๗,๖๒๐ ๑๑.๓๔ การไปรษณีย์โทรเลข จังหวัดพัทลุงมีท่ีทำ�การไปรษณีย์โทรเลขประจำ�อำ�เภอจำ�นวน ๑๐ อำ�เภอ (อำ�เภอควนขนุน มี ๒ แห่ง) อำ�เภอท่ีไม่มีที่ทำ�การไปรษณีย์โทรเลข คือ อำ�เภอ ศรนี ครนิ ทร์ ซ่ึงในปี ๒๕๕๘ ปริมาณการสง่ ออก - รบั เขา้ ไปรษณียภณั ฑธ์ รรมดา มีการ ส่งออกมากกว่าปี ๒๕๕๗ จำ�นวน ร้อยละ ๐.๑๕ และการรับเข้ามากกว่าปี ๒๕๕๗ ร้อยละ ๐.๑๓ ไปรษณียภัณฑ์มีหลักฐาน มีการส่งออกมากกว่าปี ๒๕๕๗ จำ�นวน ร้อยละ ๐.๐๒ และการรับเข้ามากกว่าปี ๒๕๕๗ ร้อยละ ๐.๐๑ และไปรษณียภัณฑ์ ดว่ นพเิ ศษ (EMS) มกี ารส่งออกมากกว่าปี ๒๕๕๗ จ�ำ นวน ร้อยละ ๐.๐๕ และรบั เขา้ มากกวา่ ปี ๒๕๕๗ รอ้ ยละ ๐.๐๕ โดยรวมแลว้ ปรมิ าณการสง่ ออกไปรษณยี ใ์ นปี ๒๕๕๘ มปี รมิ าณการสง่ ออกมากกว่าปี ๒๕๕๗ จำ�นวนรอ้ ยละ ๐.๒๒ รับเขา้ มากกว่า ๐.๑๘ 34 บรรยายสรุปจงั หวดั พัทลุง ๒๕๕๙

ตารางแสดงปรมิ าณการส่งออก - รับเข้าไปรษณียภณั ฑ์ ของไปรษณีย์ในจงั หวดั พัทลุง (หน่วย:ล้านชิ้น) ประเภท ปริมาณการสง่ ออก – รับเขา้ (ลา้ นชน้ิ ) ไปรษณยี ภณั ฑ์ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ สง่ ออก รับเข้า ส่งออก รับเขา้ ส่งออก รบั เข้า ไปรษณยี ภณั ฑ์ธรรมดา ๑.๑ ๑.๑ ๑.๕ ๑.๒ ๑.๖๕ ๑.๓๒ ไปรษณยี ภัณฑ์มหี ลกั ฐาน ๐.๒๔ ๐.๒๔ ๐.๒๕ ๐.๒๕ ๐.๒๗ ๐.๒๖ ไปรษณีย์ดว่ นพเิ ศษ (EMS) ๐.๓๒ ๐.๓๒ ๐.๓๖ ๐.๓๐ ๐.๔๑ ๐.๓๕ รวม ๑.๖๖ ๑.๖๖ ๒.๑๑ ๑.๗๕ ๒.๓๓ ๑.๙๓ บรรยายสรุปจังหวดั พัทลุง ๒๕๕๙ 35

โทรศพั ท์ ข้อมลู โทรศพั ท์ในจังหวดั พัทลุง ปี ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ รายละเอยี ด ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ เลขหมายราชการ ๑,๔๙๘ ๑,๑๙๘ เลขหมายบา้ น ๑๕,๕๑๗ ๑๕,๐๓๖ เลขหมายธุรกิจ ๑,๑๗๔ ๑,๑๗๕ เลขหมายสาธารณะ รวมเลขหมายทีม่ ีผู้เช่า ๗๑๖ ๗๑๐ ๑๘,๑๘๙ ๑๗,๔๐๙ เลขหมายท้ังหมด ๒๖,๕๕๕ ๒๖,๕๕๘ (ที่มา : บริษัท ที โอ ที จำ�กัด (มหาชน) (พทั ลุง)) 36 บรรยายสรุปจังหวัดพทั ลุง ๒๕๕๙

การคมนาคมขนส่ง จังหวดั พัทลงุ มกี ารคมนาคมสะดวกเพราะต้งั อยกู่ ่งึ กลางของภาคใต้ (กึ่งกลาง ระหว่างจังหวัดชุมพร-นราธิวาส) เป็นศูนย์รวมของการคมนาคมทางบก จากภาคใต้ ตอนบน (ฝง่ั อา่ วไทย) และภาคตะวนั ตก (ฝงั่ อันดามนั ) ลงสู่ภาคใตต้ อนล่างและภาคใต้ ชายแดน โดยใชเ้ สน้ ทางสายเพชรเกษม (หมายเลข ๔) ระหวา่ งสแี่ ยกเอเชยี อ�ำ เภอเมอื ง (จ.พัทลุง)-อ�ำ เภอหาดใหญ่ (จ.สงขลา) มีทางรถไฟผ่านหลายๆ อ�ำ เภอจากเหนือจรดใต้ การขนสง่ ทางบก เปน็ การคมนาคมขนสง่ ทส่ี ะดวกทสี่ ดุ สามารถเดนิ ทางตดิ ตอ่ กนั ท้ังภายในจังหวัดและต่างจงั หวดั โดยท้ังทางรถไฟและทางรถยนต์ ๑.๑ การเดินทางโดยรถยนต์ มีทางหลวงหมายเลข ๔๑ ผ่านทางอำ�เภอ ป่าพะยอม ควนขนนุ เมอื ง เขาชัยสน บางแกว้ ตะโหมด ป่าบอนและทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ผ่านท้องที่อำ�เภอเมืองพัทลุง ศรีนครินทร์ เขาชัยสน บางแกว้ ตะโหมด และปา่ บอน นอกจากนย้ี งั มถี นนหรอื ทางหลวงทอ่ี ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบ ของหนว่ ยงานอื่นๆ อีก เชน่ สำ�นกั งานโยธาธิการและผงั เมือง อปท. ต่างๆ ๑.๒ การเดนิ ทางโดยรถไฟ มรี ถไฟสายใตผ้ า่ นทอ้ งทอี่ �ำ เภอควนขนนุ เมอื งพทั ลงุ เขาชัยสน บางแกว้ ปา่ บอน และอำ�เภอปากพะยูน คดิ เปน็ ระยะทาง ๗๕.๗๖ กโิ ลเมตร มีสถานรี บั สง่ ผ้โู ดยสารและสนิ ค้า ๙ สถานี ไดแ้ ก่ สถานแี หลมโตนด ปากคลอง พัทลุง บา้ นต้นโดน เขาชัยสน บางแก้ว ควนเคยี่ ม หารเทา และสถานีโคกทราย มีปา้ ยหยดุ ๘ แห่ง ไดแ้ ก่ ป้ายหยุดรถบา้ นสนุ ทรา มะกอกใต้ ชยั บรุ ี นาปรือ บา้ นหว้ ยแตน ควนพระ หานกง และวัดควนเผยอ การขนสง่ ทางนํา้ การเดินทางทางเรอื มีบทบาทน้อยมากเมอื่ เทียบกบั ในอดีต ปจั จบุ นั มกี ารเดนิ ทางเพยี งสายเดยี ว คอื เสน้ ทางระหวา่ งจงั หวดั พทั ลงุ กบั อ�ำ เภอระโนด จงั หวดั สงขลา มที า่ เทยี บเรอื ทสี่ �ำ คญั เพยี งแหง่ เดยี วคอื ทา่ เทยี บเรอื ปากพะยนู อ�ำ เภอ ปากพะยูน บรรยายสรปุ จังหวดั พทั ลุง ๒๕๕๙ 37

๓. ทางอากาศ จงั หวดั พทั ลงุ ไมม่ สี นามบนิ พาณชิ ยข์ องตนเอง การเดนิ ทาง ทางอากาศ อาศัยสนามบินพาณิชย์ตรัง มีระยะทางห่างกัน ๖๒ กิโลเมตร สนามบิน พาณิชย์หาดใหญ่ มีระยะทางห่างกัน ๑๐๑ กิโลเมตรและสนามบินพาณิชย์ นครศรีธรรมราช มีระยะทางหา่ งกัน ๑๑๓ กิโลเมตร การคมนาคมภายในจงั หวดั มรี ถ ๔ ลอ้ เลก็ รถมอเตอรไ์ ซดร์ บั จา้ ง วงิ่ บรกิ าร รอบเมือง และมีรถสองแถววิ่งบริการระหว่างอำ�เภอใกล้เคียง สำ�หรับการเดินทางสู่ จงั หวัดใกล้เคียง สามารถเลอื กใช้บริการไดท้ ั้งรถตู้ และรถโดยสารประจ�ำ ทาง ระยะทางจากอำ�เภอถึงจังหวัดพัทลุง เมอื งพัทลงุ ระยะทาง ๐.๒ กโิ ลเมตร กงหรา เขาชัยสน ระยะทาง ๔๐ กโิ ลเมตร ตะโหมด ควนขนนุ ระยะทาง ๒๘ กิโลเมตร ปากพะยูน ศรีบรรพต ระยะทาง ๓๙ กิโลเมตร ปา่ บอน บางแกว้ ระยะทาง ๑๗ กโิ ลเมตร ปา่ พะยอม ศรีนครนิ ทร์ ระยะทาง ๖๖ กโิ ลเมตร ระยะทาง ๓๓ กโิ ลเมตร ระยะทาง ๕๐ กโิ ลเมตร ระยะทาง ๓๘ กิโลเมตร ระยะทาง ๓๘ กิโลเมตร ระยะทาง ๑๗ กิโลเมตร 38 บรรยายสรปุ จงั หวัดพทั ลงุ ๒๕๕๙

ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม ทรัพยากรดนิ กรมพฒั นาท่ีดนิ ไดจ้ �ำ แนกดินในพื้นทจี่ งั หวดั พัทลงุ ไว้ จ�ำ นวน ๖๒ กลมุ่ ชุดดิน ซึ่งลักษณะดินมีความสัมพนั ธก์ ับลักษณะภมู ปิ ระเทศและวตั ถตุ ้นกำ�เนิด (ชนดิ ของหนิ ) ลกั ษณะดินของจงั หวดั พทั ลงุ ประเภทของดนิ พืน้ ที่ ร้อยละของ (ไร)่ พื้นท่ี จงั หวัด ดนิ เปร้ยี วจดั ๖๒,๔๓๐ ๒.๙๒ ดนิ เปร้ยี วจดั ที่พบช้ันดนิ กรดกำ�มะถันในระดับตื้น ๑๙,๗๑๑ ๐.๙๒ ดินเปรี้ยวจดั ทพี่ บชนั้ ดนิ กรดก�ำ มะถนั ในระดบั ลึกปานกลาง ๓๙,๙๘๑ ๑.๘๗ ดินเปร้ยี วจัดที่พบชั้นดนิ กรดก�ำ มะถันในระดบั ลกึ มาก ๒,๗๓๘ ๐.๑๓ ดินอินทรีย์ ๓,๔๓๕ ๐.๑๖ ดินอนิ ทรยี ์ ๓,๔๓๕ ๐.๑๖ ดินเคม็ ชายทะเล ๖,๔๔๕ ๐.๓๐ ดนิ เค็มชายทะเล ๖,๔๔๕ ๐.๓๐ ดินทราย ๑๐,๙๒๘ ๐.๕๑ ดินทรายในพืน้ ท่ีลมุ่ ๑,๗๑๖ ๐.๐๘ ดินทรายในพ้นื ที่ดอนทไี่ มม่ ีชั้นดานอินทรยี ์ ๙,๒๑๒ ๐.๔๓ ดินตนื้ ๒๐๔,๗๔๐ ๙.๕๗ ดนิ ต้นื ในพ้นื ที่ลุม่ ถึงลกู รังหรอื ก้อนกรวด ๑๐,๙๕๕ ๐.๕๑ ดินตน้ื ในพืน้ ที่ดอนถึงลูกรัง กอ้ นกรวด หรอื เศษหิน ๑๕๘,๕๙๑ ๗.๔๑ บรรยายสรุปจงั หวัดพทั ลุง ๒๕๕๙ 39

ประเภทของดิน พ้นื ที่ ร้อยละของ (ไร)่ พ้ืนท่ี ดนิ ต้นื ในพนื้ ทดี่ อนถงึ ชน้ั หินพน้ื จังหวดั พน้ื ที่ลาดชันเชิงซอ้ น ๓๕,๑๙๔ ๑.๖๔ พ้นื ที่ลาดชันเชงิ ซอ้ น ๓๘๒,๒๙๖ ๑๗.๘๖ ทรพั ยากรดินอื่นๆ ๓๘๒,๒๙๖ ๑๗.๘๖ ดนิ ท่ีมีปฏกิ ิรยิ าเป็นกรดพบในทล่ี ่มุ ๑,๑๘๒,๕๔๖ ๕๕.๒๖ ดนิ ทีม่ ีปฏกิ ิริยาเป็นกรดพบในท่ีดอน ๗๕๒,๗๒๕ ๓๕.๑๗ ดินทมี่ ีการยกร่อง ๓๕๒,๒๑๘ ๑๖.๕๖ ดนิ ท่มี ีปฏกิ ริ ยิ าเปน็ ดา่ งพบในทลี่ มุ่ ๐.๐๓ พ้ืนท่เี บด็ เตล็ด ๕๕๓ ๓.๖๐ ๗๗,๐๕๐ ๑๓.๔๓ รวมพืน้ ที่ดิน ๒๘๗,๔๗๖ ๑,๐๗๖,๐๐๔ ๑๐๐.๐๐ (ทม่ี า : สถานพี ัฒนาทด่ี นิ พัทลงุ ) ความเหมาะสมของดินในการปลกู พชื เศรษฐกจิ ๑. เหมาะส�ำ หรบั ปลกู ขา้ ว ๑.๑ เหมาะสมส�ำ หรบั ปลูกขา้ ว เป็นพน้ื ทล่ี มุ่ พนื้ ทรี่ าบเรียบ (ร้อยละ ๐-๒) มีการระบายน้าํ เหลวหรือคอ่ นขา้ งเหลว มเี นือ้ ทีร่ วม ๕๗๒,๐๓๒.๐๐๒ ไรห่ รือรอ้ ยละ ๒๖.๗๗ ของพน้ื ที่จังหวดั ๑.๒ เหมาะสมปานกลางส�ำ หรบั ปลกู ขา้ ว เปน็ พน้ื ทเี่ ปน็ ดนิ เปรย้ี วพนื้ ทร่ี าบ เรียบ (ร้อยละ ๐-๒) มีการระบายนา้ํ เหลวถงึ คอ่ นขา้ งเหลว มเี นอื้ ท่ีรวม ๔๓,๑๙๔ ไร่ หรือร้อยละ ๒.๐๒ ของพนื้ ที่จังหวดั 40 บรรยายสรปุ จงั หวดั พัทลุง ๒๕๕๙

๑.๓ เหมาะสมปานกลางสำ�หรับปลูกข้าว ดินต้ืนถึงชั้นลูกรังและเป็นดิน ทรายพ้ืนทร่ี าบเรียบ (ร้อยละ ๐-๒) มกี ารระบายนํ้าเหลวถงึ ค่อนขา้ งเหลว มีเนือ้ ทีร่ วม ๗,๐๒๓ ไรห่ รอื ร้อยละ ๐๓๓ ของพื้นที่จังหวัด ๔. เหมาะสมสำ�หรับปลูกพชื ไร่ พชื ผัก ไม้ผล ไม้ยืนตน้ หญา้ เลี้ยงสัตว์ พน้ื ที่ คอ่ นข้างราบเรยี บถงึ เปน็ ลกู คลน่ื ลอนชนั (รอ้ ยละ ๐-๒๐) ดนิ มกี ารระบายน้ําดีหรอื ดี ปานกลางมเี นือ้ ที่ ๔๒๒,๙๒๒ไร่หรือร้อยละ ๑๙.๗๕ ของพืน้ ท่จี ังหวัด ๕. เหมาะสมสำ�หรับปลูกมะพร้าว มะม่วงหิมพานต์ พ้ืนที่ราบเรียบ (ร้อยละ ๐-๒) พวกดินชายทะเลดนิ ทรายการระบายนา้ํ ดี มีเน้อื ท่ี ๗๔๐ ไรห่ รือรอ้ ยละ ๐.๐๓ ของพื้นท่ีจงั หวัด ๖. เหมาะสมส�ำ หรับปลกู พชื ไร่ พืชผกั ไมผ้ ล ไมย้ นื ต้น หญ้าเล้ยี งสัตว์ พวกดิน รว่ นปนดนิ เหนยี วหรอื ดนิ รว่ นเปน็ ดนิ ลกึ ปานกลาง พบชนั้ ของเศษหนิ ปะปนมากในชว่ ง ความลกึ ๕๐-๑๐๐ เซนตเิ มตร เปน็ พน้ื ทล่ี กู คลน่ื ลอนลาดเลก็ นอ้ ยถงึ เปน็ ลกู คลน่ื ลอนชนั (ร้อยละ ๒-๒๐) มีเน้ือที่ ๑๑๘,๘๕๓ ไร่หรือรอ้ ยละ ๕.๕๓ ของพ้นื ท่จี ังหวัด ๗. เหมาะสมส�ำ หรบั ปลกู พืชไรห่ รือไมใ้ ช้สอยโตเรว็ พวกดินรว่ นปนดนิ เหนยี ว หรอื ดินรว่ นเปน็ ดนิ ตื้นดินมีการระบายนํ้าดี พบชนั้ หินพ้นื ภายใน ๕๐ เซนติเมตร พ้ืนที่ เปน็ ลูกคล่นื ลอนลาดเลก็ นอ้ ยถงึ เปน็ เนินเขา (ร้อยละ ๒-๓๕) มีเนอ้ื ๗๖,๑๐๙ ไร่ หรือ รอ้ ยละ ๒.๔๐ ของพน้ื ทีจ่ ังหวดั ๘. ดินไม่เหมาะสมทางด้านการเกษตร ควรปลูกป่าเพ่ิมเติมในบริเวณที่ถูก ถากถาง พวกดนิ ตื้นมีหินพ้นื โผล่ พน้ื ที่ลกู คลื่นลอนชันมเี น้ือที่ ๑,๖๑๕ ไร่ หรอื รอ้ ยละ ๐.๐๘ ของพืน้ ทจ่ี ังหวัด ๙. ดินไม่เหมาะสมทางด้านการเกษตร ควรอนุรักษ์ไว้เป็นป่าไม้หรือปลูกป่า เพิ่มเติมในบริเวณที่ราษฎรบุกรุก พวกดินต้ืนมีหินพ้ืนโผล่มีความลาดชันมากกว่า ร้อยละ ๓๕ มีเน้อื ที่ ๔๓๖,๔๕๗ ไร่ หรือร้อยละ ๒๐.๓๙ ของพ้ืนทจ่ี งั หวดั บรรยายสรปุ จงั หวัดพทั ลงุ ๒๕๕๙ 41

๑๐. ดินไม่เหมาะสมทางดา้ นการเกษตร ควรอนรุ กั ษ์ไวเ้ ป็นปา่ ชายเลนมีเนื้อที่ ๒๙,๑๘๖ ไร่ หรอื ร้อยละ ๑.๓๖ ของพื้นที่จงั หวัด ๑๑. ที่ดินเบ็ดเตล็ดเป็นที่ที่ได้แยกออกจากพื้นท่ีดินที่มีศักยภาพในการใช้ ประโยชน์หรือบริเวณท่ีไม่เป็นดินตามธรรมชาติ ได้แก่ โรงเรือนเพาะเล้ียงสัตว์ (AF) พ้ืนทีป่ า่ ชายเลน (F) ทด่ี ินดัดแปลง (ML) พื้นท่ีชุมชนหมูบ่ า้ น (U) พืน้ ทีน่ ํ้า (W) มีเนือ้ ท่ี ๓๔๙,๖๗๐ ไรห่ รอื รอ้ ยละ ๑๖.๓๐ ของพ้นื ที่จงั หวดั ปญั หาในการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ ได้แก่ - ดนิ เปรย้ี ว มเี นอ้ื ทป่ี ระมาณ ๔๓,๑๙๔ ไรห่ รอื รอ้ ยละ ๒.๐๒ ของเนอ้ื ทท่ี ง้ั หมด - ดินต้ืนถึงชั้นกรวดลูกรังและเศษหิน มีเน้ือที่ประมาณ ๗๖,๑๐๙ ไร่ หรือ รอ้ ยละ ๒.๔๐ ของเนือ้ ทท่ี งั้ หมด - ดนิ ลกึ ปานกลางถงึ ชน้ั หนิ พน้ื กอ้ นหนิ หรอื ลกู รงั มเี นอ้ื ทป่ี ระมาณ ๑๒๗,๓๓๒ ไร่ หรือรอ้ ยละ ๕.๖๙ ของเนื้อทท่ี ้ังหมด - พืน้ ท่มี ีความลาดชันมากกว่ารอ้ ยละ ๓๕ มเี นอ้ื ทีป่ ระมาณ ๔๓๖,๔๕๗ ไร่ หรือรอ้ ยละ ๒๐.๓๙ ของเนอ้ื ทที่ ง้ั หมด 42 บรรยายสรุปจงั หวดั พัทลงุ ๒๕๕๙

ทรัพยากรนา้ํ แหลง่ นํ้าธรรมชาติ จังหวัดพัทลุงมีพื้นที่รับนํ้า (Watershed Area) ท้ังสิ้น ๓,๕๑๓.๕๗ ตาราง กิโลเมตร ต้ังอยู่ในลุ่มนํ้าทะเลสาบสงขลา ลำ�น้ําส่วนใหญเป็นลำ�นํ้าสายสั้นๆ มีความ กว้างประมาณ ๑๐-๓๐ เมตร ยาวประมาณ ๓๐-๔๕ กโิ ลเมตร มีต้นนา้ํ จากเทือกเขา บรรทัดซ่ึงแบ่งเขตระหว่างจังหวัดตรังกับจังหวัดพัทลุง ส่วนมากจะมีทิศทางการไหล ของนํ้าจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก ซ่ึงจะไหลไปรวมกันท่ีทะเลสาบสงขลา ปริมาณน้ําฝนเฉลย่ี รายปี เท่ากับ ๒,๑๓๙.๖๖ ล้านลกู บาศก์เมตรตอ่ ปี ซึ่งสามารถนำ� ไปใชส้ �ำ หรับท�ำ การเกษตรจำ�นวน ๖๓๕.๘๘ ลา้ นลกู บาศก์เมตร การอุปโภค-บรโิ ภค จ�ำ นวน ๑๙.๗๗ ล้านลูกบาศกเ์ มตร และอตุ สาหกรรม ๔.๐๓ ลา้ นลกู บาศก์เมตร รวม ๖๕๘.๙๑ ล้านลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ปี ดงั นน้ั จะมปี รมิ าณนํา้ ทไ่ี ม่สามารถเก็บกักไวใ้ ช้ และ ไหลลงทะเลสาบสงขลา คดิ เปน็ ปรมิ าณ ๒,๒๐๔.๔๔ ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร โดยจ�ำ แนกได้ ๗ ล่มุ น้ํายอ่ ย ดังนี้ บรรยายสรุปจงั หวัดพทั ลงุ ๒๕๕๙ 43

ตารางแสดงปรมิ าณนาํ้ ท่าในล่มุ นา้ํ ยอ่ ย ๗ ลุ่มนํ้าของจงั หวดั พัทลุง ปริมาณ ความต้องการใชน้ ํ้า (ลา้ น ลบ.ม./ป)ี ปริมาณ นํ้าทา่ เฉลีย่ นํ้าเหลือ ที่ ลุ่มน้ํายอ่ ย พื้นท่รี ับนํา้ (ลา้ น ลบ.ม/ การ อุปโภค อตุ สาหกรรม รวม (ล้าน (ตร.กม.) เกษตร บริโภค ลบ.ม. ป)ี /ปี) ๑ คลองป่าพะยอม ๓๑๒.๓๘ ๒๖๑.๒๒ ๗๐.๔๑ ๑.๒๗ ๐.๑๘ ๗๑.๘๖ ๑๘๙.๓๖ ๒ คลองท่าแนะ ๕๘๖.๘๗ ๔๕๕.๑๑ ๙๒.๔๒ ๓.๔๖ ๑.๗๕ ๑๐๐.๖๓ ๓๕๔.๔๘ ๓ คลองนาทอ่ ม ๔๕๖.๗๔ ๔๕๖.๔๔ ๗๑.๕๕ ๕.๙๑ ๐.๒๓ ๗๗.๖๙ ๓๗๘.๗๕ ๔ คลองสะพานหยี ๓๖๘.๙๑ ๓๖๙.๕๗ ๑๒๑.๘๒ ๑.๙๙ ๐.๒๗ ๑๒๔.๐๘ ๒๔๕.๙๙ ๕ คลองท่าเชยี ด-บางแก้ว ๖๗๗.๖๘ ๕๓๒.๒๔ ๒๓๐.๕๙ ๓.๖๖ ๐.๒๕ ๒๓๔.๕๐ ๒๙๘.๐๔ ๖ คลองปา่ บอน ๒๘๘.๖๗ ๒๔๔.๖๗ ๒๐.๔๔ ๑.๘๕ ๑.๒๐ ๒๓.๔๙ ๒๒๑.๗๔ ๗ คลองพรพุ ้อ ๘๒๒.๓๒ ๕๔๓.๗๘ ๒๕.๖๕ ๑.๙๐ ๐.๑๕ ๒๗.๗๐ ๕๑๖.๐๘ รวม ๓,๕๑๓.๕๗ ๒,๘๖๓.๐๓ ๖๓๕.๘๘ ๑๙.๗๗ ๔.๐๓ ๖๕๙.๗๗ ๒,๒๐๔.๔๔ ๑) ลุ่มนํ้าคลองป่าพะยอม ครอบคลุมพ้ืนที่อำ�เภอป่าพะยอมเป็นส่วนใหญ่ อำ�เภอควนขนุนบางส่วน ไหลลงทะเลสาบสงขลาที่พรุควนเคร็ง มีความยาวประมาณ ๓๓ กิโลเมตร ลำ�นาํ้ ส�ำ คญั ได้แก่ คลองปา่ พะยอม คลองปันแต ๒) ล่มุ นํ้าคลองทา่ แนะ ครอบคลมุ พนื้ ที่อ�ำ เภอศรีบรรพตและอำ�เภอควนขนนุ เปน็ สว่ นใหญ่ อ�ำ เภอศรนี ครนิ ทรแ์ ละอ�ำ เภอเมอื งบางสว่ น ไปลงทะเลสาบสงขลา ทบี่ า้ น ปากประเหนอื มคี วามยาวประมาณ ๓๘ กโิ ลเมตร ล�ำ นาํ้ สำ�คัญ ได้แก่ คลองท่าแนะ คลองโงกนาํ้ คลองพงั โย คลองเรอื ๓) ลมุ่ นา้ํ คลองนาทอ่ ม ครอบคลมุ พน้ื ทอี่ �ำ เภอศรนี ครนิ ทรแ์ ละอ�ำ เภอเมอื ง เปน็ สว่ นใหญ่ ไหลลงทะเลสาบสงขลาทบ่ี า้ นปากพะเนยี ด มคี วามยาวประมาณ ๓๕ กโิ ลเมตร ลำ�นาํ้ ส�ำ คญั ไดแ้ ก่ คลองนาท่อม คลองใหญ่ คลองลำ�สินธุ์ และคลองลำ�เบ็ด 44 บรรยายสรปุ จงั หวัดพทั ลุง ๒๕๕๙

๔) ลุ่มนา้ํ คลองสะพานหยี ครอบคลุมพนื้ ท่อี ำ�เภอกงหราเป็นส่วนใหญ่ อ�ำ เภอ เมืองบางสว่ น มีความยาวประมาณ ๓๕ กโิ ลเมตร ล�ำ น้าํ สำ�คญั ไดแ้ ก่ คลองหัวหมอน ๕) ลมุ่ นา้ํ คลองทา่ เชยี ด-บางแกว้ ครอบคลมุ พน้ื ทอ่ี �ำ เภอตะโหมด อ�ำ เภอเขาชยั สน เปน็ สว่ นใหญ่ ไหลลงทะเลสาบสงขลาทบ่ี า้ นปากพล มคี วามยาวประมาณ ๔๒ กโิ ลเมตร ลำ�น้าํ ส�ำ คัญ ได้แก่ คลองตะโหมด คลองทา่ มะเด่อื คลองหัวชา้ ง ๖) ลมุ่ นาํ้ คลองปา่ บอน ครอบคลมุ พนื้ ทอ่ี �ำ เภอปา่ บอน อ�ำ เภอบางแกว้ เปน็ สว่ น ใหญ่ อำ�เภอปากพะยูนบางส่วน ไหลลงทะเลสาบสงขลาที่บ้านพระเกิด ความยาว ประมาณ ๔๐ กิโลเมตร ล�ำ นํา้ สำ�คัญไดแ้ ก่ คลองปา่ บอน ๗) ลุ่มนํ้าคลองพรุพ้อ ครอบคลุมพ้ืนท่ีอำ�เภอปากพะยูนเป็นส่วนใหญ่ และ อำ�เภอปา่ บอนบางสว่ น ไหลลงทะเลสาบสงขลาที่บ้านท่าหยี ความยาวประมาณ ๓๖ กโิ ลเมตร เปน็ คลองทก่ี นั้ เขตแดนระหวา่ งจงั หวดั พทั ลงุ กบั จงั หวดั สงขลาทางดา้ นทศิ ใต้ ลำ�น้ําสำ�คญั ได้แก่ คลองพรพุ ้อ (ที่มา : โครงการชลประทานพัทลงุ ) แหลง่ นา้ํ ชลประทาน จากการทพ่ี น้ื ทท่ี างทศิ ตะวนั ตกของจงั หวดั พทั ลงุ ตดิ ตอ่ กบั เทอื กเขาบรรทดั ซง่ึ เปน็ แหล่งกำ�เนดิ ของต้นน้ําล�ำ ธารสายสัน้ ๆ ไหลลงสู่ทะเลสาบสงขลาหลายสายทำ�ให้ สามารถใช้แหล่งน้ําธรรมชาติเหล่าน้ีมาพัฒนาใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น โดยแหล่งน้ํา ชลประทานขนาดต่างๆ มีจำ�นวนแหล่งนํ้าชลประทาน ๑๒ แหล่ง มีพื้นที่ที่ได้รับ ประโยชน ์ ๓๗๕,๓๔๘ ไร ่ จำ�แนกเป็นขนาดใหญ่ ๑ แหลง่ และขนาดกลาง ๑๑ แหลง่ โดยมโี ครงการพฒั นาแหลง่ นาํ้ ขนาดใหญแ่ ละขนาดกลางทไ่ี ดด้ �ำ เนนิ การแลว้ เสรจ็ จนถงึ ปัจจุบนั มีจ�ำ นวนรวมกนั ทง้ั สิ้น ๑๒ โครงการ มีปริมาตรความจเุ กบ็ กกั ทงั้ หมด ๗๐.๕๐ ลา้ น ลบ.ม. และมพี ้นื ที่ชลประทานรวมกันทั้งสิ้น ๓๗๕,๓๔๘ ไร่ บรรยายสรปุ จังหวัดพทั ลุง ๒๕๕๙ 45

ตารางข้อมูลแสดงจำ�นวนแหล่งนา้ํ ชลประทาน รวมทง้ั หมด อำ�เภอ ตำ�บล ชอื่ แหลง่ นํ้า จำ�นวน พื้นท่รี ับ จำ�นวน พืน้ ท่รี บั โครงการ ประโยชน(ไร่) โครงการ ประโยชน์ **๑ ๖๒,๖๘๘ (ไร)่ เมอื งพทั ลุง นาท่อม ฝายนาทอ่ ม ๑ ๖๒,๖๘๘ กงหรา ชะรัด ฝายพญาโฮง้ **๑ ๒๒,๗๓๒ ๒ ๕๔,๐๒๗ คลองเฉลมิ ฝายคลองหลกั สาม **๑ ๓๑,๒๙๕ - - ควนขนุน ฝายควนกุฎ ๔๖,๑๙๓ เขาชยั สน ตะโหมด โครงการอ่างเกบ็ นาํ้ คลองหวั ชา้ ง **๑ ๔๖,๑๙๓ ๑ ตะโหมด อนั เน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ **๑ แหลง่ น้าํ ตน้ ทนุ ให้ฝายท่าเชียด ควนขนนุ -- ปากพะยูน -- - - -- ศรีบรรพต เขาย่า ประตูระบายน้ําท่าแนะ - - -- ป่าบอน ปา่ บอน ฝายป่าบอน **๑ ๓๒,๐๒๘ ๑ ๓๒,๐๒๘ ทุ่งนารี อ่างเก็บนํ้าปา่ บอน **๑ ๖,๗๙๙ ๑ **๑ แหล่งน้ําต้นทนุ ใหป้ ตร.ปา่ บอนและฝายปา่ บอน ปตร.ปา่ บอน **๑ ๒๙,๗๗๔ ๓ ๓๖,๕๗๓ ๑๐๓,๐๐๐ บางแกว้ โคกสัก โครงการสง่ น้ําและบ�ำ รุงรักษาทา่ เชยี ด *๑ ๑๐๓,๐๐๐ ๑ ๔๐,๘๓๙ ป่าพะยอม บ้านพรา้ ว ฝายบ้านพร้าว **๑ ๔๐,๘๓๙ ๒ - ๓๗๕,๓๔๘ เกาะเต่า อ่างเก็บน้าํ ปา่ พะยอม **๑ แหล่งนํา้ ต้นทุนใหฝ้ ายบ้านพรา้ ว ศรนี ครนิ ทร์ - - - - - รวม - - - - ๑๒ (ท่มี า: โครงการชลประทานพทั ลุง *โครงการขนาดใหญ่ ** โครงการขนาดกลาง) 46 บรรยายสรุปจงั หวัดพทั ลงุ ๒๕๕๙

ทรัพยากรปา่ ไม้ จงั หวดั พัทลุงมพี ื้นท่ปี า่ ไมท้ ส่ี �ำ คญั แยกเปน็ ๕๐ ป่า ๑๒๒ แห่ง มพี ้ืนท่ที ัง้ หมด ๘,๘๐๒,๒๙๙.๗๔ ไร่ จ�ำ แนกประเภทได้ ดงั น้ี ตารางจำ�แนกพืน้ ท่ีป่าจงั หวัดพัทลุง พน้ื ทป่ี า่ จำ�นวน พน้ื ท่ี (ไร่) พ้นื ทปี่ า่ สงวนแห่งชาติ ๓๑ ปา่ ๗๕๖,๔๖๘.๗๕ พื้นที่ป่าอนรุ ักษอ์ ุทยานแหง่ ชาติ ๑ แห่ง ๑๗๕,๗๙๒ ไร่ ๔๘ ตารางวา พ้นื ที่ปา่ อนุรักษเ์ ขตรักษาพนั ธ์ุสตั ว์ปา่ ๑ แหง่ ๒๖๙,๓๓๐ พ้นื ทป่ี า่ อนุรกั ษ์เขตหา้ มลา่ สัตว์ปา่ ๓ แห่ง ๔๔๒,๔๓๐ ไร่ ๒ งาน ๑๒ ตารางวา พืน้ ทป่ี ่าอนุรกั ษเ์ มืองเกา่ ชัยบุรี ๑ แห่ง ๑,๙๒๒ พนื้ ทป่ี า่ มอบให้ ส.ป.ก ๑๙ ปา่ ๑๕๓,๔๗๔.๙๙ ปา่ ชุมชน (รวมพ้นื ทีป่ ่าชมุ ชนของจงั หวัดพทั ลงุ ๑๑๖ แหง่ ๒,๘๘๒ ไร่ ๓ งาน ๑๑ ตารางวา ปี ๒๕๓๖- ๒๕๕๗) ตารางเปรียบเทียบพนื้ ทปี่ ่าไม้จังหวดั พทั ลุงในรอบ ๓ ปี ปี พ.ศ. พ้ืนท่ี (ตารางกโิ ลเมตร) พน้ื ที่ (ไร)่ รอ้ ยละของจงั หวดั ๒๕๕๖ ๖๔๖.๓๘ ๔๐๓,๙๘๗.๕๐ ๑๘.๘๘ ๒๕๕๗ ๖๒๔.๙๐ ๓๙๐,๕๗๕.๐๐ ๑๖.๑๙ ๒๕๕๘ ๖๑๕.๔๐ ๓๘๔,๖๒๒.๙๑ ๑๕.๙๔ บรรยายสรุปจังหวัดพัทลุง ๒๕๕๙ 47

ทรพั ยากรสตั ว์ปา่ จงั หวดั พทั ลงุ พบสัตวป์ ่าทห่ี ายาก หรอื ใกล้สูญพนั ธ์ุ ประเภทสมเสรจ็ เก้งหม้อ เลยี งผา หรอื กรู �ำ คา่ งด�ำ นกเงอื ก เสอื ปลาหรอื เสอื ไฟ หมี และโลมาอริ วดี โดยพบเพยี ง จ�ำ นวนเลก็ นอ้ ยบรเิ วณเทือกเขาบรรทัด (ส�ำ นักบริหารพืน้ ทอ่ี นรุ ักษท์ ่ี ๖, ๒๕๔๙) ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่งั จะแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ๑. ปา่ ชายเลน แหล่งทพ่ี บ คือบรเิ วณพื้นท่ที ะเลน้อยและรอบทะเลสาบสงขลา มเี น้อื ที่ ๙๗.๒๑ ตารางกิโลเมตร หรอื ๖๐,๗๕๖.๒๕ ไร่ ๒. หญา้ ทะเล มกี ารกระจายตวั เปน็ พน้ื ทก่ี วา้ ง อยหู่ า่ งจากพน้ื ทช่ี ายฝงั่ ประมาณ ๘๐ - ๑๐๐ เมตร และเปน็ บริเวณทป่ี ลาชกุ ชุม มีการปักหอยและเลยี้ งปลาในกระชงั แหลง่ ทีพ่ บ คือบรเิ วณเกาะยวน ตำ�บลเกาะนางค�ำ อ�ำ เภอปากพะยนู ความหลากหลายทางชวี ภาพ จงั หวดั พทั ลงุ มคี วามหลากหลายทางชวี ภาพมากมาย โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ความ หลากหลายทางชวี ภาพในระบบนเิ วศวทิ ยาปา่ บก และความหลากหลายทางชวี ภาพใน ระบบนเิ วศวทิ ยาปา่ พรแุ ละทะเลสาบ ทม่ี สี ว่ นสนบั สนนุ หรอื กอ่ เกดิ ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น และผลิตภณั ฑช์ มุ ชนของคนพัทลงุ ได้แก่ ๑) อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาปู่ เขายา่ ครอบคลมุ พนื้ ทจี่ งั หวดั นครศรธี รรมราช ตรงั และพทั ลงุ ในพ้นื ทต่ี ำ�บลชุมพล ล�ำ สนิ ธุแ์ ละบ้านนา อ�ำ เภอศรนี ครนิ ทร์ ตำ�บลตะแพน และเขาปู่ อำ�เภอศรีบรรพต ตำ�บลเกาะเต่า และลานข่อย อำ�เภอป่าพะยอม ตำ�บล กงหรา ชะรัดและคลองทรายขาว อ�ำ เภอกงหรา ห่างจากจงั หวัดพทั ลงุ ๓๗ กิโลเมตร โดยไดป้ ระกาศใหเ้ ปน็ พน้ื ที่ “อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาป-ู่ เขายา่ ”เมอ่ื ปี ๒๕๒๕ นบั เปน็ อทุ ยาน แห่งชาติ ลำ�ดบั ท่ี ๔๒ ของประเทศไทย ลักษณะภูมิประเทศ/ภูมิอากาศเป็นเทือกเขาสูงพ้ืนท่ีโดยส่วนใหญ่จะอยู่ใน บริเวณป่าเทือกเขาบรรทัด มภี ูเขาสงู สลบั ซับซอ้ นมากมายมี “เขาหนิ แท่น” เป็นยอด 48 บรรยายสรปุ จังหวดั พัทลุง ๒๕๕๙

เขาสูงสดุ มีความสูงประมาณ ๘๗๗ เมตร จากระดบั นาํ้ ทะเลปานกลางเปน็ จดุ แบง่ เขต ระหวา่ งจงั หวดั พทั ลงุ และตรงั สภาพธรณปี ระกอบไปดว้ ยเทอื กเขาหนิ ปนู จดั อยใู่ นกลมุ่ หินปูนท่งุ สงยุคออร์โดวิเชียนถึงยุคไตรแอสซิสจูราสสิค อายุประมาณ ๑๕๐ - ๔๕๐ ลา้ นปมี าแลว้ พ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่าเป็นต้นนํ้าของแม่น้ําตรังและแม่น้ําปากพนัง โดยในฝง่ั จงั หวดั พัทลุงเปน็ แหล่งกำ�เนิดคลองลาไม คลองไมเ้ สียบ คลองนํา้ ใส ซงึ่ จะ ไหลรวมเปน็ คลองชะอวดและแมน่ าํ้ ปากพนัง ส่วนในฝ่งั จงั หวดั ตรงั เปน็ ตน้ ก�ำ เนดิ ของ คลองล�ำ ภูรา คลองละมอซ่งึ เป็นต้นนํ้าของแม่นํา้ ตรัง สภาพพชื พรรณ/สัตว์ป่าสว่ นใหญ่เป็นปา่ ดบิ ชืน้ ประมาณ ๖๐% ของพืน้ ทีม่ ี พรรณไมห้ ลายชนดิ ขน้ึ อยอู่ ยา่ งหนาแนน่ ไดแ้ ก่ ไมย้ าง ตะเคยี น หลมุ พอ กระบาก จ�ำ ปาปา่ พกิ ุล ไข่เขียว นาคบุด พญาไม้ เปน็ ต้น สตั ว์เล้ียงลูกด้วยนม พบประมาณ ๖๐ กวา่ ชนิด ได้แก่ เลียงผา เสือปลา พญา กระรอกเหลอื ง พญากระรอกด�ำ เกง้ กวาง กระจง หมูป่า ค่างแว่นถิ่นใต้ ชะนี อเี หน็ ลายพาด หมคี น หนผู ีจว๋ิ ค้างคาวแมไ่ กป่ ่าฝน ค้างคาวปกี ถุงเคราดำ� คา้ งคาวมงกุฎเล็ก เป็นต้น นก พบประมาณ ๒๘๖ ชนิด อาทิเช่น นกแซวสวรรค์ นกกางเขนดง นกกินปลี สเี รยี บ นกจบั แมลงสสี ม้ นกขนุ แผนอกสม้ นกกระบง้ั รอก นกเงอื กหวั หงอก นกเขาเขยี ว เหยี่ยวรงุ้ นกโพระดก นกกระเตน็ แดง นกกระจิบกระหมอ่ มแดง เป็นตน้ สัตว์เลอื้ ยคลาน พบประมาณ ๖๗ ชนิด อาทิเช่น งูดินมลายู เห่าชา้ ง งจู งอาง ก้ิงกา่ บินหัวสีฟ้า ต๊กุ แกป่าใต้ งใู บ้ ต๊ดุ ตู่ ตะกวด ตะพาบน้าํ เป็นตน้ สัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบก อาทิเช่น กบหงอนมลายู กบเขาหลังตอง กบอ่อง จงโครง่ อ่ีงกรวยมลายู กบชะง่อนหนิ เมอื งใต้ กบตะนาวศรี กบวา๊ ก อง่ึ กรายลายจุด อึง่ กรายหัวแหลม คางคกแคระ เขยี ดบัว เปน็ ต้น บรรยายสรุปจงั หวดั พทั ลุง ๒๕๕๙ 49

แมลง พบประมาณ ๗๐ ชนดิ อาทิเชน่ ผ้ึงหลวง จักจั่น งวงมวนแดง ด้วงกว่าง ห้าเขา ผีเสอ้ื พ่อมด ผเี สือ้ ชา่ งรอ่ น ผเี สื้อหางต่งิ อศิ วร ผีเส้อื พระเสารใ์ หญ่ ผีเส้อื ดารา ไพรปกั ษ์ใต้ ผเี ส้ือเจา้ ปา่ เป็นตน้ สถานท่ที อ่ งเท่ียวในพนื้ ทอ่ี ุทยานเขาป่-ู เขาย่า ได้แก่ นํา้ ตกเหรยี งทอง ถ้ําร่ืนเทพนิมติ (ถ้าํ ตาปู่) และถา้ํ มจั ฉาปลาวน ๒) เขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ ทะเลนอ้ ย เปน็ อทุ ยานนกนาํ้ ทใ่ี หญท่ สี่ ดุ ในประเทศไทย ไดม้ ีการส�ำ รวจเม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ และได้รบั การประกาศจดั ตงั้ เป็นเขตห้ามลา่ สตั วป์ ่า ทะเลน้อย เม่ือวันท่ี ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๘ นับเป็นเขตห้ามล่าสัตว์ป่าแห่งแรกของ ประเทศไทย อาณาเขตครอบคลมุ พนื้ ท่ี ๓ จงั หวดั คอื บางสว่ นของต�ำ บลพนางตงุ และ ตำ�บลทะเลน้อย อ�ำ เภอควนขนุน จงั หวัดพทั ลุง ต�ำ บลบ้านขาว ตำ�บลเครยี ะ อำ�เภอ ระโนด จังหวดั สงขลา ต�ำ บลขอนหาด ตำ�บลนางหลง ตำ�บลเสมด็ ต�ำ บลชะอวด อำ�เภอ ชะอวด จงั หวดั นครศรธี รรมราชมเี นอ้ื ทปี่ ระมาณ ๔๕๗ ตารางกโิ ลเมตรหรอื ๒๘๕,๖๒๕ ไร่ (พืน้ ดนิ ๔๒๙ ตร.กม. ประมาณ ๒๖๘,๑๒๕ ไร่ และพนื้ นํา้ ๒๘ ตร.กม. ประมาณ ๑๗,๕๐๐ ไร่) เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อยขึ้นช่ือว่าเป็นพื้นท่ีชุ่มน้ําที่มีความสมบูรณ์ และสำ�คัญท่ีสุดแห่งหนึ่งของไทย โดยเฉพาะพื้นที่บริเวณพรุควนขีเสี้ยน ได้รับการ จดทะเบียนเป็นพ้ืนท่ีชุม่ นาํ้ โลก หรือแรมซาร์ไซต์ แหง่ แรกของประเทศไทย และเปน็ ลำ�ดับที่ ๑๑๐ ของโลก เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๑ โดยทะเลน้อยเป็นที่อาศัยของนกนํ้า หลากพนั ธ์ุ ประมาณ ๑๘๗ ชนดิ และมีพชื ไม้นานาพนั ธม์ุ ากมาย ๓) เขตรกั ษาพนั ธุ์สัตวป์ า่ เขาบรรทัด ตงั้ อยทู่ ี่บ้านนาวง ตำ�บลบ้านนา อ�ำ เภอ ศรีนครินทร์ จงั หวดั พทั ลงุ ติดกบั ถนนเพชรเกษม (ทางหลวงหมายเลข ๔) จากจงั หวดั พทั ลงุ -จังหวดั ตรัง ห่างจากตวั เมอื งจังหวัดพทั ลงุ ประมาณ ๒๗ กโิ ลเมตรและห่างจาก ตวั เมอื งจงั หวดั ตรงั ประมาณ ๓๑ กโิ ลเมตร ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศโดยทว่ั ไปเปน็ เทอื กเขา ยาวประกอบด้วยภูเขาสูงหลายลูกสลับซับซ้อนเรียงกันเป็นแนว ยอดเขาที่สำ�คัญ คือ เขาหลกั สูงจากระดบั นาํ้ ทะเลปานกลางประมาณ ๗๐๐ เมตร เป็นแหลง่ ก�ำ เนิดของ 50 บรรยายสรุปจังหวดั พัทลงุ ๒๕๕๙