Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ พุทธศักราช 2564กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ พุทธศักราช 2564กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

Description: เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ พุทธศักราช 2564กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ พุทธศักราช ๒๕๖๔ โรงเรียนวัดสายลาโพงใต้ สังกัดสำนกั งำนเขตพื้นทีก่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำนครสวรรค์ เขต ๓ สงั กดั สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพนื้ ฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร

เอกสารประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นวัดสายลำโพงใต้ พุทธศกั ราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต 3 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้จัดทำหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษษไทย ฉบับน้ี ซึ่งเปน็ เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ พุทธศักราช 2564 ตามหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อเป็นเปา้ หมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และ กระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นกรอบและทศิ ทางในการจดั การเรียนการสอน ให้ตรงตามมาตรฐาน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยพิจารณาตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ พุทธศักราช 2564 ซึ่งมี องค์ประกอบ ดงั น้ี - วิสัยทศั น์ หลกั การ จุดหมาย - สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน - คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ - สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ - คณุ ภาพผเู้ รยี น - ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง - รายวิชาทีเ่ ปดิ สอน - คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน - โครงสร้างรายวิชาพน้ื ฐาน - สือ่ /แหลง่ เรียนรู้ - การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ คณะผู้จัดทำขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาและจัดทำหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ฉบับน้ี จนสำเรจ็ ลลุ ว่ งเป็นอย่างดี และหวังเปน็ อยา่ งย่ิงว่าจะเกิดประโยชนต์ อ่ การจดั การเรียนรู้ ให้กับผเู้ รียนต่อไป กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ผจู้ ดั ทำ

สารบัญ คำนำ หน้า สารบัญ วสิ ยั ทศั น์ 1 หลกั การ 1 จดุ มุง่ หมาย 1 สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น 2 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 3 ทำไมต้องเรยี นภาษาไทย 4 เรียนรอู้ ะไรในภาษาไทย 4 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 5 คุณภาพผ้เู รียน 5 ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง 7 รายวิชาที่เปดิ สอน 27 คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐานและโครงสร้างรายวิชาพ้ืนฐาน 28 สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 76 การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 77 ภาคผนวก 87 88 สาระการเรยี นรู้ 89 ความสัมพนั ธ์ของการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 90 อภิธานศัพท์ 97 คณะผูจ้ ดั ทำ

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นวดั สายลําโพงใต พุทธศักราช 2564 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน 2551 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย วสิ ัยทศั น์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะทางภาษาไทยนําไปใช้ในการ ดํารงชีวติ และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ในศาสตร์อ่ืน ๆ รักและภูมิใจในภาษาไทยในฐานะเป็นมรดก ของชาติ หลกั การ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน มีหลกั การท่สี ําคัญ ดงั น้ี 1. เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจดุ หมายและมาตรฐานการเรยี นรู้ เป็นเปูาหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน ใหม้ ีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็น ไทยควบคกู่ ับความเปน็ สากล 2. เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพอื่ ปวงชน ท่ีประชาชนทกุ คนมีโอกาสไดร้ บั การศกึ ษาอย่างเสมอภาค และมคี ณุ ภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาที่สนองการกระจายอํานาจ ใหส้ งั คมมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา ให้สอดคลอ้ งกับสภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถ่ิน 4. เป็นหลักสตู รการศึกษาท่ีมีโครงสร้างยดื หยุน่ ทงั้ ด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจดั การ เรียนรู้ 5. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาทเี่ น้นผเู้ รียนเป็นสําคัญ 6. เป็นหลักสตู รการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม ทุกกลุม่ เปาู หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์ จุดมุ่งหมาย หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนใหเ้ ป็นคนดี มีป๎ญญา มีความสุข มศี ักยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเป็นจุดหมายเพ่ือใหเ้ กดิ กับผู้เรียน เมอื่ จบการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐาน ดงั น้ี 1. มคี ุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนิ ยั และปฏบิ ตั ติ นตาม หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนับถือ ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกป้ ๎ญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชวี ติ 3. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มสี ุขนสิ ัย และรักการออกกาลงั กาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสานกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมน่ั ในวถิ ีชีวติ และ การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มจี ิตสานกึ ในการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมและภูมิป๎ญญาไทย การอนุรักษแ์ ละพฒั นาสงิ่ แวดล้อม มีจติ สาธารณะท่มี ุง่ ทาประโยชนแ์ ละสรา้ งสิ่งทดี่ งี ามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมคี วามสุข

2 สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน โรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซ่ึงการพัฒนาผู้เรียนให้ บรรลมุ าตรฐานการเรียนรูท้ ก่ี าํ หนดนนั้ จะชว่ ยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาํ คัญ 5 ประการ ดงั นี้ 1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปญ๎ หาความขัดแย้งตา่ ง ๆ การเลอื กรบั หรือไมร่ ับข้อมลู ขา่ วสารดว้ ยหลกั เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ เลอื กใชว้ ธิ กี ารสือ่ สารทม่ี ปี ระสิทธิภาพโดยคาํ นงึ ถึงผลกระทบทมี่ ีต่อตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนําไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตดั สินใจเกย่ี วกับตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ป๎ญหาและอุปสรรคต่าง ๆท่ีเผชิญได้ อย่างถูกตอ้ งเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปูองกันและแก้ไข ปญ๎ หา และมกี ารตดั สนิ ใจทมี่ ีประสิทธภิ าพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกดิ ข้นึ ต่อตนเอง สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทํางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม ดว้ ยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการป๎ญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับ การเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ท่ีส่งผลกระทบ ตอ่ ตนเองและผ้อู ื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้การส่ือสาร การทํางาน การแกป้ ญ๎ หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสมและมคี ุณธรรม

3 คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยู่ ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทย และพลโลก ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ดังนี้ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง มีความภาคภูมิใจในความเปน็ ไทย นยิ มไทย ปฏิบตั ติ ามคาํ สั่งสอน ของศาสนาเคารพเทดิ ทูนศาสนา แสดงความจงรักภกั ดี เทิดทูนพระเกยี รตแิ ละพระราชกรณียกจิ ของ พระมหากษตั ริย์ 2. ซือ่ สัตย์สุจริต หมายถึง การประพฤติปฏิบตั อิ ย่างเหมาะสม และตรงต่อความเป็นจริงประพฤติปฏิบตั ิ อยา่ งตรงไปตรงมา ท้ังกาย วาจา ใจ ต่อตนเองและผู้อ่นื รวมตลอดทั้งต่อหน้าท่ีการงานและคําม่นั สญั ญา ความ ประพฤตทิ ตี่ รงไปตรงมาและจริงใจในสง่ิ ท่ีถูกที่ควร ถกู ต้องตามทาํ นองคลองธรรม รวมไปถึงการไมค่ ิดคดทรยศ ไมค่ ดโกงและไม่หลอกลวงนอกจากนแ้ี ล้วความซือ่ สตั ยส์ จุ ริตยงั รวมไปถงึ การรักษาคาํ พูดหรือคาํ มั่นสญั ญาและ การปฏิบตั ิหน้าท่ีการงานของตนเองด้วยความรับผิดชอบและ ดว้ ยความซอื่ สตั ย์ไมแ่ สวงหาผลประโยชน์ใหแ้ ก่ ตนเองและพวกพ้องด้วยการใชอ้ ํานาจหน้าท่ีโดยมิชอบ ซ่ึงความซ่ือสัตยส์ จุ ริตนีจ้ ะดาํ เนนิ ไปด้วยความต้งั ใจจริง เพือ่ ทาํ หน้าที่ของตนเองให้สาํ เร็จลุล่วง ดว้ ย ความระมดั ระวัง และเกดิ ผลดตี ่อตนเองและสังคม 3. มวี ินยั หมายถงึ การควบคุมความประพฤตใิ ห้ถูกต้องและเหมาะสมกับจรรยามารยาท ขอ้ บังคับ ขอ้ ตกลง กฎหมายและศีลธรรมการรู้จักควบคมุ ตนเองใหป้ ระพฤติปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง ข้อบงั คับ ระเบียบแบบ แผน และขนบธรรมเนยี มประเพณีอันดีงามย่อมนํามาซึง่ ความสงบสขุ ในชวี ติ ของตนความเป็นระเบยี บ เรยี บรอ้ ยของสังคมและประเทศชาติ 4. ใฝเ่ รยี นรู้ หมายถงึ การค้นคว้าหาความรู้หรอื สง่ิ ท่เี ป็นประโยชน์ เพอื่ พฒั นาตนเองอยเู่ สมอ 5. อย่อู ย่างพอเพียง หมายถึง การมีความพอดีในการบริโภค ใช้ทรัพยากรและเวลาว่างให้เป็นประโยชน์ คํานงึ ถงึ ฐานะและเศรษฐกจิ คิดกอ่ นใช้จ่ายตามความเหมาะสมรู้จกั การเพ่ิมพูนทรัพย์ ด้วยการเก็บและนําไปใช้ ใหเ้ กดิ ประโยชนด์ ูแลรกั ษาบรู ณทรพั ย์ของตนเอง มกี ารเกบ็ ออมเงนิ ไว้ตามสมควร 6. มุ่งมั่นในการทางาน หมายถึง การศึกษาเรียนรู้เพื่อหาข้อเท็จจริง ซึ่งอาจพัฒนาไปสู่ความจริงในส่ิงท่ี ต้องการเรียนรู้ หรือต้องการหาคําตอบเพ่ือนําคําตอบท่ีได้น้ันมาใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น การยกระดับ ความร้กู ารนําไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาํ วนั หรือนาํ มาสรปุ เปน็ ความจริงได้ 7. รักความเป็นไทย หมายถึง เข้าใจ หวงแหนความเป็นไทยซึ่งถือเป็นต้นทุนทางสังคมทําให้ทุกศาสนา สามารถอย่รู ว่ มกันไดอ้ ยา่ งสันติโดยต้องมีการดาํ เนนิ ชวี ติ โดยกายสุจรติ วจีสุจริต และมโนสุจริตเป็นคุณลักษณะ ท่ีเก่ยี วข้องกบั การเขา้ สังคมและการมปี ฏสิ มั พนั ธก์ ับผู้อ่นื เชน่ ความมีกิริยามารยาท การปรับตัว ความตรงต่อ เวลา ความสภุ าพ การมีสมั มาคารวะ การพดู จาไพเราะ และ อ่อนนอ้ มถ่อมตน 8. มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะทางจิตใจของบุคคลเก่ียวกับการมองเห็นคุณค่า หรือการให้ คุณคา่ แก่การมีปฏสิ มั พนั ธ์ทางสังคมและส่ิงตา่ ง ๆ ที่เปน็ ส่ิงสาธารณะท่ไี มม่ ีผ้ใู ดผู้ผหู้ น่งึ เปน็ เจ้าของหรือเป็นส่ิงท่ี คนในสังคมเป็นเจ้าของร่วมกันเป็นสิ่งท่ีสามารถสังเกตได้จากความรู้สึกนึกคิด หรือการกระทําท่ีแสดงออกมา ได้แก่ การหลีกเลี่ยงการใช้หรือการกระทําที่จะทําให้เกิดความชํารุดเสียหายต่อส่วนรวมท่ีใช้ประโยชน์ร่วมกัน ของกลุ่มการถือเป็นหน้าที่ท่ีจะมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาของส่วนรวมในวิสัยท่ีตนสามารถทําได้ และการ เคารพสิทธใิ นการใชข้ องส่วนรวมท่ีเป็นประโยชนร์ ่วมกันของกล่มุ

4 ทาไมต้องเรยี นภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและ เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเคร่ืองมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจ และความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน ทําให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดํารงชีวิตร่วมกันในสังคม ประชาธิปไตยไดอ้ ย่างสันติสุข และเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ต่างๆ เพอ่ื พัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทาง สังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนําไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ทางเศรษฐกจิ นอกจากนีย้ งั เป็นสื่อแสดงภูมิป๎ญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เปน็ สมบัตลิ า้ํ ค่าควรแก่การเรียนรู้ อนุรกั ษ์ และสบื สานให้คงอยคู่ ชู่ าตไิ ทยตลอดไป เรยี นรอู้ ะไรในภาษาไทย ภาษาไทยเปน็ ทกั ษะทตี่ อ้ งฝกึ ฝนจนเกิดความชํานาญในการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร การเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเพ่อื นาํ ไปใช้ในชวี ิตจรงิ 1. การอ่าน การอ่านออกเสยี งคํา ประโยค การอา่ นบทรอ้ ยแกว้ คาํ ประพันธช์ นดิ ต่างการอา่ นใน ใจเพื่อสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิ่งท่ีอ่านเพื่อนําไป ปรับใช้ใน ชีวิตประจาํ วัน 2. การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใช้ถ้อยคําและรูปแบบต่างๆ ของการ เขยี น ซึง่ รวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห์วิจารณ์ และเขยี นเชิงสรา้ งสรรค์ 3. การฟัง การดู และการพูด การฟ๎งและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดลําดับเร่ืองราวต่าง ๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสต่างๆ ท้ังเป็นทางการและไม่เป็น ทางการ และการพูดเพ่อื โนม้ น้าวใจ 4. หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสม กบั โอกาสและบคุ คล การแต่งบทประพนั ธป์ ระเภทตา่ งๆ และอทิ ธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย 5. วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือศึกษาข้อมูลแนวความคิด คุณค่า ของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทําความเข้าใจบทเห่ บทร้องเล่นของเด็ก เพลงพื้นบ้าน ท่ีเป็นภูมิป๎ญญาที่มีคุณค่าของไทย ซ่ึงได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราวของ สังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิดความซาบซึ้งและภูมิใจ ในบรรพบุรุษท่ีได้ส่ังสมสืบทอดมา จนถงึ ปจ๎ จุบัน

5 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐานกําหนดมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จํานวน 5 มาตรฐาน ดังน้ี ภาษาไทย สาระท่ี 1 การอา่ น มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพอื่ นําไปใชต้ ดั สินใจแก้ป๎ญหาในการ ดาํ เนนิ ชีวิตและมนี สิ ัยรักการอ่าน สาระท่ี 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี น เขยี นส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรอ่ื งราวใน รปู แบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงาน การศึกษาค้นควา้ อย่างมีประสิทธิภาพ สาระท่ี 3 การฟัง การดู และการพดู มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟง๎ และดูอย่างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึก ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณ และสรา้ งสรรค์ สาระที่ 4 หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภมู ปิ ๎ญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติ ของชาติ สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คณุ คา่ และนํามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตจริง คุณภาพผ้เู รียน รายวชิ าพนื้ ฐาน จบชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 1. อ่านออกเสียงคํา คําคล้องจอง ข้อความ เร่ืองส้ันๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้องคล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของคําและข้อความที่อ่าน ตั้งคําถามเชิงเหตุผล ลําดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุป ความรู้ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน ปฏิบัติตามคําส่ัง คําอธิบายจากเร่ืองที่อ่านได้ เข้าใจความหมายของข้อมูลจาก แผนภาพ แผนที่ และแผนภมู ิ อา่ นหนงั สอื อยา่ งสมา่ํ เสมอ และ มีมารยาทในการอ่าน 2. มีทกั ษะในการคัดลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขยี นบรรยาย บันทึกประจาํ วนั เขียนจดหมายลาครู เขยี นเร่อื งเกีย่ วกับประสบการณ์ เขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการและมมี ารยาทในการเขียน 3. เล่ารายละเอียดและบอกสาระสําคัญ ต้ังคําถาม ตอบคําถาม รวมท้ังพูดแสดงความคิดความรู้สึก เก่ียวกับเรื่องที่ฟ๎งและดู พดู ส่ือสารเล่าประสบการณ์และพูดแนะนํา หรือพูดเชิญชวนให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม และมี มารยาทในการฟง๎ ดู และพดู 4. สะกดคําและเข้าใจความหมายของคํา ความแตกต่างของคําและพยางค์ หน้าท่ีของคํา ในประโยค มีทักษะการใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคํา แต่งประโยคง่าย ๆ แต่ง คําคล้องจอง แต่งคําขวัญ และเลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ

6 5. เข้าใจและสามารถสรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนําไปใช้ใน ชีวิตประจําวัน แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีท่ีอ่าน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ซ่ึงเป็นวัฒนธรรมของ ท้องถิ่น รอ้ งบทรอ้ งเล่นสําหรับเดก็ ในท้องถนิ่ ท่องจําบทอาขยานและบทรอ้ ยกรอง ทม่ี คี ณุ คา่ ตามความสนใจได้ จบชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 1. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทํานองเสนาะได้ถูกต้อง อธิบายความหมาย โดยตรงและความหมายโดยนัยของคํา ประโยค ข้อความ สํานวนโวหาร จากเร่ืองท่ีอ่าน เข้าใจคําแนะนํา คําอธิบายในคู่มือต่างๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริง รวมท้ังจับใจความสําคัญของเรื่องที่อ่านและนํา ความรคู้ วามคิดจากเร่อื งที่อ่านไปตัดสนิ ใจแกป้ ๎ญหาในการดําเนินชีวิตได้ มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน และ เห็นคุณคา่ สิ่งทอี่ า่ น 2. มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนสะกดคํา แต่งประโยคและเขียน ข้อความ ตลอดจนเขียนส่ือสารโดยใช้ถ้อยคําชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพความคิด เพ่ือพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ย่อความ จดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนแสดง ความรสู้ กึ และความคิดเหน็ เขียนเร่ืองตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ และมมี ารยาทในการเขยี น 3. พูดแสดงความรู้ ความคิดเก่ียวกับเร่ืองที่ฟ๎งและดู เล่าเรื่องย่อหรือสรุปจากเร่ืองท่ีฟ๎งและดูตั้ง คาํ ถาม ตอบคําถามจากเรื่องที่ฟ๎งและดู รวมทั้งประเมินความน่าเช่ือถือจากการฟ๎งและดูโฆษณาอย่างมีเหตุผล พูดตามลําดับข้ันตอนเรื่องต่าง ๆ อย่างชัดเจน พูดรายงานหรือประเด็นค้นคว้าจาก การฟ๎ง การดู การสนทนา และพูดโน้มน้าวได้อย่างมเี หตผุ ล รวมท้งั มีมารยาทในการดแู ละพูด 4. สะกดคําและเข้าใจความหมายของคํา สํานวน คําพังเพยและสุภาษิต รู้และเข้าใจ ชนิดและหน้าที่ ของคําในประโยค ชนิดของประโยค และคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คําราชาศัพท์และคําสุภาพได้ อย่างเหมาะสม แต่งประโยค แต่งบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสุภาพ และกาพยย์ านี 11 5. เขา้ ใจและเห็นคณุ ค่าวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน เลา่ นิทานพ้ืนบา้ น ร้องเพลงพ้นื บ้านของ ทอ งถ่นิ นาํ ขอคิดเห็นจากเรือ่ งทอ่ี ่านไปประยกุ ตใ ชในชวี ิตจรงิ และทอ งจําบทอาขยานตามทก่ี าํ หนดได

7 ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระท่ี 1 การอา่ น มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความร้แู ละความคดิ เพอ่ื นาํ ไปใช้ตัดสินใจแก้ป๎ญหาในการดําเนินชีวิต และมีนสิ ยั รกั การอ่าน ชัน้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 1 1. อ่านออกเสียงคํา คาํ คล้องจอง และข้อความสน้ั ๆ การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคํา 2. บอกความหมายของคํา และข้อความที่อา่ น คําคล้องจอง และข้อความท่ีประกอบด้วย คําพน้ื ฐาน คือ คาํ ท่ีใช้ในชีวติ ประจําวัน ไมน่ ้อย กว่า 600 คาํ รวมทงั้ คําท่ใี ชเ้ รียนร้ใู นกลมุ่ สาระ การเรยี นรอู้ ืน่ ประกอบดว้ ย - คําท่มี ีรปู วรรณยกุ ต์และไม่มีรปู วรรณยกุ ต์ - คาํ ท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรง ตามมาตรา - คําทม่ี พี ยัญชนะควบกลํ้า - คําทมี่ ีอักษรนาํ 3. ตอบคาํ ถามเก่ียวกับเรอ่ื งที่อา่ น การอา่ นจับใจความจากสอ่ื ต่างๆ เช่น 4. เล่าเรื่องย่อจากเร่ืองทีอ่ ่าน - นิทาน 5. คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเร่ืองที่อ่าน - เรื่องส้ันๆ - บทร้องเลน่ และบทเพลง - เร่อื งราวจากบทเรยี นในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรอู้ ืน่ 6. อ่านหนงั สอื ตามความสนใจอยา่ งสม่าํ เสมอและนําเสนอ การอา่ นหนังสือตามความสนใจ เช่น เรอ่ื งท่ีอา่ น - หนังสือที่นกั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วัย - หนังสอื ที่ครูและนักเรียนกําหนดรว่ มกนั 7. บอกความหมายของเคร่ืองหมาย หรอื สัญลกั ษณ์สําคญั ท่ี การอ่านเคร่ืองหมายหรอื สญั ลกั ษณ์ มกั พบเห็นในชีวติ ประจาํ วัน ประกอบด้วย - เครื่องหมายสัญลักษณ์ต่างๆ ที่พบเหน็ ใน ชีวติ ประจําวนั - เครอื่ งหมายแสดงความปลอดภยั และแสดง อนั ตราย 8. มีมารยาท ในการอ่าน มารยาทในการอา่ น เช่น - ไมอ่ า่ นเสียงดังรบกวนผ้อู ่นื - ไม่เล่นกนั ขณะที่อา่ น - ไมท่ าํ ลายหนังสอื

8 ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป. 2 1. อ่านออกเสียงคํา คําคล้องจอง ข้อความ และบทร้อย การอา่ นออกเสียงและการบอกวามหมายของ กรองง่ายๆ ได้ถูกต้อง คาํ คําคล้องจอง ขอ้ ความ และบทร้อยกรอง 2. อธบิ ายความหมายของคําและข้อความที่อา่ น งา่ ยๆ ท่ปี ระกอบดว้ ยคําพืน้ ฐานเพิม่ ป. 1 ไม่น้อยกว่า 800 คํา รวมท้ังคําที่ใช้เรียนรู้ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน ประกอบดว้ ย - คําทมี่ ีรูปวรรณยกุ ต์และไม่มีรปู วรรณยกุ ต์ - คําที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรง ตามมาตรา - คําที่มีพยัญชนะควบกลํา้ - คาํ ที่มีอักษรนํา - คาํ ทม่ี ีตัวการันต์ - คาํ ทมี่ ี รร - คาํ ทม่ี ีพยัญชนะและสระท่ีไม่ออกเสียง 3. ตั้งคาํ ถามและตอบคําถามเกีย่ วกบั เรอื่ งทอ่ี ่าน การอ่านจบั ใจความจากสือ่ ตา่ งๆ เชน่ 4. ระบุใจความสําคัญและรายละเอียดจากเรอ่ื งที่อา่ น - นทิ าน 5. แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรือ่ งท่ี - เร่ืองเล่าส้นั ๆ อ่าน - บทเพลงและบทรอ้ ยกรองง่ายๆ - เรอื่ งราวจากบทเรยี นในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ่นื - ขา่ วและเหตกุ ารณ์ประจาํ วัน 6. อ่านหนงั สือตามความสนใจอยา่ งสม่ําเสมอและนําเสนอ การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เชน่ เรื่องที่อา่ น - หนงั สือทน่ี กั เรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วัย - หนังสือทีค่ รูและนักเรยี นกําหนดรว่ มกัน 7. อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏบิ ตั ติ ามคําสงั่ หรอื การอ่านข้อเขยี นเชงิ อธบิ าย และปฏิบัติตาม ข้อแนะนํา คําส่ังหรอื ข้อแนะนํา - การใชส้ ถานทสี่ าธารณะ - คาํ แนะนําการใช้เครื่องใช้ท่ีจําเปน็ ในบา้ นและ ในโรงเรยี น 8. มีมารยาท ในการอา่ น มารยาทในการอา่ น เชน่ - ไมอ่ า่ นเสียงดังรบกวนผอู้ ื่น - ไม่เลน่ กันขณะทีอ่ ่าน - ไม่ทาํ ลายหนังสือ - ไม่ควรแย่งอา่ นหรือชะโงกหน้าไปอ่านขณะท่ี ผอู้ น่ื กําลังอา่ นอยู่

9 ชนั้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 3 1. อา่ นออกเสยี งคาํ ข้อความ เรอื่ งสน้ั ๆ และบทรอ้ ยกรอง การอ่านออกเสยี งและการบอกความหมายของ งา่ ยๆ ได้ถูกต้อง คลอ่ งแคลว่ คาํ คําคล้องจอง ขอ้ ความ และบทร้อยกรอง 2. อธบิ ายความหมายของคําและข้อความทีอ่ า่ น งา่ ยๆ ทีป่ ระกอบดว้ ยคําพนื้ ฐานเพ่ิมจาก ป.2 ไม่น้อยกวา่ 1,200 คํา รวมทั้งคาํ ท่ีเรยี นรู้ในกลุ่ม สาระการเรียนรู้อืน่ ประกอบด้วย - คาํ ท่มี ตี ัวการนั ต์ - คาํ ทม่ี ี รร - คําทีม่ ีพยัญชนะและสระไมอ่ อกเสยี ง - คําพ้อง - คําพิเศษอ่นื ๆ เชน่ คําทใี่ ช้ ฑ ฤ ฤๅ 3. ต้ังคาํ ถามและตอบคาํ ถามเชิงเหตุผลเกย่ี วกับเรื่องทอ่ี ่าน การอา่ นจบั ใจความจากสอื่ ตา่ งๆ เชน่ 4. ลาํ ดับเหตกุ ารณแ์ ละคาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเรื่องท่ีอ่าน - นิทานหรือเรอ่ื งเกี่ยวกบั ท้องถิน่ โดยระบุเหตผุ ลประกอบ - เร่อื งเล่าสนั้ ๆ 5. สรปุ ความรู้และข้อคิดจากเร่ืองที่อ่านเพื่อนาํ ไปใช้ใน - บทเพลงและบทรอ้ ยกรอง ชวี ติ ประจาํ วัน - บทเรยี นในกล่มุ สาระการเรียนรู้อ่นื - ข่าวและเหตกุ ารณใ์ นชีวิตประจําวนั ในทอ้ งถนิ่ และชุมชน 6. อา่ นหนงั สอื ตามความสนใจอย่างสมาํ่ เสมอและนําเสนอ การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เชน่ เรือ่ งท่ีอา่ น - หนงั สอื ทนี่ กั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วัย - หนังสอื ท่ีครูและนักเรยี นกําหนดร่วมกัน 7. อา่ นข้อเขยี นเชงิ อธิบาย และปฏบิ ัตติ ามคําสง่ั หรอื การอา่ นขอ้ เขียนเชิงอธบิ าย และปฏบิ ัติตาม ขอ้ แนะนํา คําสั่งหรอื ข้อแนะนํา - คาํ แนะนาํ ตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจาํ วนั - ประกาศ ปาู ยโฆษณา และคําขวญั 8. อธิบายความหมายของขอ้ มูลจากแผนภาพ แผนท่ี และ การอ่านขอ้ มูลจากแผนภาพ แผนท่ี และ แผนภูมิ แผนภมู ิ 9. มมี ารยาทในการอ่าน มารยาทในการอ่าน เชน่ - ไมอ่ า่ นเสยี งดังรบกวนผู้อนื่ - ไมเ่ ล่นกันขณะที่อ่าน - ไมท่ ําลายหนังสอื - ไม่ควรแยง่ อา่ นหรอื ชะโงกหน้าไปอ่านขณะท่ี ผู้อนื่ กําลังอา่ น

10 ช้ัน ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. 4 1. อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และ บทร้อยกรองได้ถูกต้อง การอา่ นออกเสียงและการบอกความหมายของ 2. อธบิ ายความหมายของคาํ ประโยค และสํานวนจากเรื่อง บทร้อยแก้วและบทร้อยกรองทปี่ ระกอบด้วย ที่อา่ น - คาํ ท่มี ี ร ล เป็นพยัญชนะต้น - คาํ ทม่ี พี ยัญชนะควบกล้าํ - คาํ ที่มีอักษรนํา - คาํ ประสม - อักษรย่อและเคร่อื งหมายวรรคตอน - ประโยคทีม่ ีสํานวนเป็นคําพังเพย สุภาษิต ปริศนาคาํ ทาย และเคร่ืองหมายวรรค ตอน การอ่านบทรอ้ ยกรองเป็นทํานองเสนาะ 3. อ่านเรือ่ งสัน้ ๆ ตามเวลาทีก่ าํ หนดและตอบคําถามจาก การอ่านจับใจความจากสอ่ื ตา่ งๆ เชน่ เรื่องท่ีอา่ น - เร่อื งสั้น ๆ 4. แยกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคดิ เห็นจากเรื่องท่อี า่ น - เรื่องเล่าจากประสบการณ์ 5. คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเร่ืองท่ีอา่ นโดยระบเุ หตุผล - นิทานชาดก ประกอบ - บทความ 6. สรปุ ความร้แู ละข้อคิดจากเร่ืองท่ีอ่านเพ่ือนําไปใช้ใน - บทโฆษณา ชวี ติ ประจาํ วัน - งานเขยี นประเภทโน้มนา้ วใจ - ข่าวและเหตุการณ์ประจาํ วัน - สารคดแี ละบนั เทิงคดี 7. อ่านหนงั สือทม่ี ีคุณค่าตามความสนใจอย่างสมํ่าเสมอและ การอ่านหนังสือตามความสนใจ เชน่ แสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกบั เรือ่ งทอี่ ่าน - หนงั สือทน่ี กั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั - หนงั สอื ทีค่ รแู ละนักเรียนกําหนดรว่ มกัน 8. มมี ารยาทในการอ่าน มารยาทในการอ่าน ป. 5 1. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง การอา่ นออกเสียงและการบอกความหมายของ 2. อธบิ ายความหมายของคํา ประโยคและข้อความทีเ่ ป็น บทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองทป่ี ระกอบดว้ ย การบรรยาย และการพรรณนา - คาํ ที่มพี ยัญชนะควบกลา้ํ 3. อธบิ ายความหมายโดยนยั จากเรือ่ งท่ีอ่านอยา่ ง - คําทีม่ อี ักษรนํา หลากหลาย - คําทีม่ ีตัวการนั ต์ - อักษรย่อและเครอื่ งหมายวรรคตอน - ข้อความท่ีเป็นการบรรยายและพรรณนา - ข้อความท่ีมคี วามหมายโดยนยั การอ่านบทรอ้ ยกรองเป็นทํานองเสนาะ

11 ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง 4. แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเร่อื งท่อี า่ น การอา่ นจับใจความจากส่อื ตา่ งๆ เช่น 5. วเิ คราะหแ์ ละแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับเรือ่ งท่ีอ่านเพื่อ - วรรณคดีในบทเรยี น นําไปใช้ ในการดําเนนิ ชวี ติ - บทความ - บทโฆษณา - งานเขยี นประเภทโน้มน้าวใจ - ขา่ วและเหตกุ ารณป์ ระจาํ วัน 6. อ่านงานเขียนเชิงอธบิ าย คําสง่ั ข้อแนะนํา และปฏิบตั ิ การอา่ นงานเขยี นเชิงอธิบาย คาํ สงั่ ข้อแนะนํา ตาม และปฏบิ ตั ิตาม เชน่ - การใช้พจนานุกรม - การใช้วัสดุอุปกรณ์ - การอ่านฉลากยา - คู่มือและเอกสารของโรงเรยี นท่ีเกย่ี วข้อง กับนักเรยี น - ข่าวสารทางราชการ 7. อา่ นหนังสือที่มีคุณคา่ ตามความสนใจอย่างสมา่ํ เสมอและ การอา่ นหนังสือตามความสนใจ เช่น แสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกับเรื่องท่ีอ่าน - หนงั สือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย - หนังสอื ท่ีครูและนักเรยี นกําหนดรว่ มกัน 8. มีมารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน ป. 6 1. อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถกู ตอ้ ง การอ่านออกเสยี งและการบอกความหมายของ 2. อธิบายความหมายของคํา ประโยคและข้อความทเ่ี ป็น บทรอ้ ยแก้ว และบทร้อยกรอง ประกอบด้วย โวหาร - คาํ ที่มีพยัญชนะควบกลํ้า - คําที่มีอักษรนํา - คําทีม่ ตี วั การนั ต์ - คาํ ท่มี าจากภาษาต่างประเทศ - อักษรย่อและเครื่องหมายวรรคตอน - วนั เดอื น ปแี บบไทย - ขอ้ ความที่เป็นโวหารตา่ งๆ - สํานวนเปรยี บเทยี บ การอ่านบทร้อยกรองเปน็ ทํานองเสนาะ 3. อ่านเรือ่ งสัน้ ๆ อย่างหลากหลายโดยจบั เวลาแลว้ ถาม การอา่ นจับใจความจากสอ่ื ต่างๆ เชน่ เกย่ี วกบั เร่ืองทอ่ี ่าน - เร่ืองสัน้ ๆ 4. แยกข้อเท็จจรงิ และข้อคดิ เหน็ จากเรือ่ งทีอ่ ่าน - นิทานและเพลงพื้นบ้าน 5. อธบิ ายการนําความรู้และความคดิ จากเรื่องที่อ่านไป - บทความ ตัดสินใจแก้ปญ๎ หา ในการดาํ เนินชวี ิต - พระบรมราโชวาท - สารคดี - เรอื่ งสั้น

12 ช้นั ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง - งานเขยี นประเภทโนม้ นา้ ว - บทโฆษณา - ข่าว และเหตุการณส์ าํ คัญ การอ่านเร็ว 6. อา่ นงานเขยี นเชงิ อธบิ าย คําสงั่ ข้อแนะนาํ และปฏบิ ตั ิ การอ่านงานเขียนเชิงอธบิ าย คาํ สง่ั ขอ้ แนะนํา ตาม และปฏิบัตติ าม - การใชพ้ จนานกุ รม - การปฏบิ ัตติ นในการอย่รู ว่ มกนั ในสังคม - ขอ้ ตกลงในการอยรู่ ว่ มกันในโรงเรยี น และการ ใชส้ ถานที่สาธารณะในชุมชนและท้องถ่ิน 7. อธิบายความหมายของข้อมลู จากการอา่ นแผนผัง แผนท่ี การอ่านขอ้ มูลจากแผนผงั แผนที่ แผนภูมิ และ แผนภมู ิ และกราฟ กราฟ 8. อา่ นหนงั สือที่มีคณุ ค่าตามความสนใจอย่างสม่ําเสมอและ การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เช่น แสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกับเรื่องท่ีอา่ น - หนงั สอื ทนี่ ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วัย - หนังสือท่ีครูและนกั เรียนกําหนดรว่ มกัน 9. มมี ารยาทในการอา่ น มารยาทในการอา่ น

13 สาระที่ 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี น เขยี นสื่อสาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่อื งราวในรูปแบบ ตา่ ง ๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงาน การศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ช้นั ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ป. 1 1. คัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัด การคัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั ตามรูปแบบ 2. เขียนส่ือสารดว้ ยคาํ และประโยคง่ายๆ การเขยี นตวั อักษรไทย 3. มมี ารยาทในการเขียน การเขยี นสือ่ สาร - คาํ ทีใ่ ช้ในชวี ติ ประจําวนั ป. 2 1. คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั - คาํ พ้นื ฐานในบทเรียน 2. เขยี นเรอ่ื งสั้นๆ เกย่ี วกับประสบการณ์ - คําคลอ้ งจอง 3. เขยี นเร่ืองสัน้ ๆ ตามจินตนาการ - ประโยคงา่ ยๆ 4. มีมารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขยี น เช่น ป. 3 1. คัดลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัด - เขียนใหอ้ ่านงา่ ย สะอาด ไม่ขีดฆา่ 2. เขียนบรรยายเก่ยี วกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งไดอ้ ย่างชัดเจน - ไม่ขีดเขยี นในทสี่ าธารณะ 3. เขียนบนั ทกึ ประจําวนั - ใช้ภาษาเขยี นเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และ 4. เขียนจดหมายลาครู บคุ คล 5. เขียนเร่ืองตามจินตนาการ การคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั ตามรูปแบบ การเขียนตวั อักษรไทย การเขียนเรื่องสั้นๆ เก่ยี วกับประสบการณ์ การเขยี นเร่ืองสั้นๆ ตามจนิ ตนาการ มารยาทในการเขยี น เช่น - เขยี นใหอ้ า่ นงา่ ย สะอาด ไม่ขดี ฆ่า - ไม่ขีดเขียนในทส่ี าธารณะ - ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบคุ คล - ไมเ่ ขยี นลอ้ เลียนผู้อื่นหรือทําให้ผูอ้ ืน่ เสยี หาย การคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบ การเขยี นตวั อักษรไทย การเขียนบรรยายเกี่ยวกับลักษณะของ คน สตั ว์ ส่ิงของ สถานที่ การเขยี นบนั ทึกประจาํ วนั การเขียนจดหมายลาครู การเขยี นเรื่องตามจนิ ตนาการจากคาํ ภาพ และ หัวข้อทกี่ ําหนด

14 ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง 6. มีมารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขยี น เชน่ ป. 4 1. คดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั และคร่ึงบรรทัด - เขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไม่ขีดฆา่ 2. เขียนส่ือสารโดยใช้คําได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม - ไม่ขดี เขยี นในท่ีสาธารณะ - ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานท่ี และ 3. เขยี นแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพ่ือใช้ บคุ คล พัฒนางานเขียน - ไมเ่ ขยี นล้อเลียนผู้อน่ื หรอื ทําใหผ้ อู้ ื่นเสยี หาย 4. เขียนย่อความจากเรอื่ งสั้นๆ การคดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทดั และคร่ึงบรรทดั 5. เขียนจดหมายถงึ เพื่อนและบดิ ามารดา ตามรปู แบบการเขยี นตวั อักษรไทย 6. เขยี นบนั ทึกและเขียนรายงานจากการศกึ ษาคน้ คว้า 7. เขยี นเรื่องตามจินตนาการ การเขยี นสื่อสาร เช่น 8. มีมารยาทในการเขยี น - คําขวญั ป. 5 1. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครง่ึ บรรทัด - คําแนะนาํ 2. เขยี นสือ่ สารโดยใช้คําได้ถกู ต้องชดั เจน และเหมาะสม การนําแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคดิ 3. เขียนแผนภาพโครงเรอื่ งและแผนภาพความคิดเพ่ือใช้ ไปพัฒนางานเขียน พัฒนางานเขียน 4. เขยี นย่อความจากเรอื่ งท่ีอ่าน การเขยี นย่อความจากสอ่ื ต่างๆ เช่น นิทาน ความเรียงประเภทต่างๆ ประกาศ จดหมาย 5. เขยี นจดหมายถึงผปู้ กครองและญาติ คาํ สอน การเขยี นจดหมายถงึ เพือ่ นและบิดามารดา การเขียนบนั ทึกและเขยี นรายงานจาก การศึกษาคน้ คว้า การเขยี นเรื่องตามจนิ ตนาการ มารยาทในการเขียน การคดั ลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และคร่ึงบรรทดั ตามรปู แบบการเขียนตวั อักษรไทย การเขยี นส่อื สาร เชน่ - คําขวัญ - คาํ อวยพร - คาํ แนะนาํ และคาํ อธิบายแสดงขน้ั ตอน การนาํ แผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิด ไปพัฒนางานเขียน การเขยี นย่อความจากสื่อตา่ งๆ เชน่ นิทาน ความเรียงประเภทตา่ งๆ ประกาศ แจง้ ความ แถลงการณ์ จดหมาย คําสอน โอวาท คาํ ปราศรยั การเขยี นจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ

15 ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง 6. เขียนแสดงความรูส้ กึ และความคดิ เห็นได้ตรงตามเจตนา 7. กรอกแบบรายการตา่ งๆ การเขียนแสดงความรูส้ กึ และความคดิ เหน็ 8. เขยี นเร่ืองตามจนิ ตนาการ การกรอกแบบรายการ 9. มีมารยาทในการเขียน - ใบฝากเงนิ และใบถอนเงนิ ป. 6 1. คดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทดั และคร่ึงบรรทัด - ธนาณัติ 2. เขียนส่อื สารโดยใชค้ าํ ได้ถูกต้องชดั เจน และเหมาะสม - แบบฝากส่งพัสดุไปรษณียภัณฑ์ 3. เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพื่อใช้ การเขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการ พัฒนางานเขยี น 4. เขยี นเรยี งความ มารยาทในการเขยี น 5. เขียนยอ่ ความจากเร่อื งที่อ่าน การคดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัดและ 6. เขียนจดหมายสว่ นตัว ครึง่ บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย 7. กรอกแบบรายการต่างๆ การเขยี นส่ือสาร เช่น - คาํ ขวญั 8. เขยี นเรือ่ งตามจนิ ตนาการและสร้างสรรค์ - คําอวยพร 9. มีมารยาทในการเขยี น - ประกาศ การเขยี นแผนภาพโครงเรือ่ งและแผนภาพ ความคดิ การเขียนเรยี งความ การเขยี นย่อความจากสอื่ ตา่ งๆ เช่น นทิ าน ความเรยี งประเภทตา่ งๆ ประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ จดหมาย คําสอน โอวาท คําปราศรยั สุนทรพจน์ รายงาน ระเบียบ คําสัง่ การเขียนจดหมายสว่ นตัว - จดหมายขอโทษ - จดหมายแสดงความขอบคุณ - จดหมายแสดงความเหน็ ใจ - จดหมายแสดงความยนิ ดี การกรอกแบบรายการ - แบบคําร้องต่างๆ - ใบสมัครศึกษาต่อ - แบบฝากสง่ พัสดุและไปรษณยี ภัณฑ์ การเขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มารยาทในการเขยี น

16 สาระที่ 3 การฟงั การดู และการพดู มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟ๎งและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด ความรสู้ กึ ในโอกาส ต่าง ๆ อยา่ งมีวิจารณญาณ และสรา้ งสรรค์ ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป. 1 1. ฟ๎งคําแนะนํา คาํ สัง่ ง่ายๆ และปฏิบัตติ าม การฟ๎งและปฏิบัตติ ามคาํ แนะนาํ คาํ สง่ั ง่ายๆ 2. ตอบคาํ ถามและเลา่ เรื่องท่ีฟง๎ และดูท้งั ที่เปน็ ความรู้และ การจบั ใจความและพดู แสดงความคดิ เห็น ความบันเทิง ความรู้สกึ จากเรื่องท่ีฟง๎ และดู ทง้ั ทเ่ี ปน็ ความรู้ 3. พดู แสดงความคิดเหน็ และความรู้สกึ จากเร่ืองท่ีฟ๎งและดู และความบนั เทงิ เชน่ - เรื่องเลา่ และสารคดีสาํ หรับเด็ก - นิทาน - การต์ ูน - เรื่องขบขัน 4. พดู สื่อสารได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ การพูดส่ือสารในชวี ิตประจําวัน เชน่ - การแนะนาํ ตนเอง - การขอความชว่ ยเหลอื - การกล่าวคําขอบคุณ - การกล่าวคําขอโทษ 5. มีมารยาทในการฟง๎ การดู และการพูด มารยาทในการฟ๎ง เช่น - ตั้งใจฟ๎ง ตามองผู้พดู - ไม่รบกวนผ้อู ่ืนขณะทฟี่ ๎ง - ไมค่ วรนาํ อาหารหรือเครื่องดมื่ ไม่ รบั ประทานขณะทฟี่ ๎ง - ให้เกยี รติผู้พดู ด้วยการปรบมอื - ไม่พดู สอดแทรกขณะท่ีฟ๎ง มารยาทในการดู เช่น - ตั้งใจดู - ไมส่ ง่ เสียงดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธิ ของผู้อ่ืน มารยาทในการพูด เชน่ - ใช้ถอ้ ยคาํ และกิริยาทสี่ ุภาพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ - ใช้นาํ้ เสยี งน่มุ นวล - ไม่พูดสอดแทรกในขณะที่ผู้อ่ืนกําลงั พูด

17 ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ป. 2 1. ฟง๎ คําแนะนาํ คําสั่งที่ซับซ้อน และปฏบิ ตั ิตาม การฟ๎งและปฏบิ ัติตามคําแนะนาํ คาํ สั่งท่ซี ับซ้อน 2. เลา่ เร่ืองทฟี่ ๎งและดูท้ังท่เี ป็นความรแู้ ละความบนั เทิง การจบั ใจความและพดู แสดงความคิดเห็น 3. บอกสาระสาํ คญั ของเร่ืองที่ฟ๎งและดู ความรสู้ กึ จากเร่ืองท่ีฟ๎งและดู ทงั้ ทีเ่ ปน็ ความรู้ 4. ต้งั คําถามและตอบคําถามเก่ียวกับเรื่องที่ฟ๎งและดู และความบันเทงิ เชน่ 5. พูดแสดงความคดิ เหน็ และความรู้สึกจากเร่ืองท่ีฟ๎งและดู - เรือ่ งเลา่ และสารคดสี าํ หรบั เด็ก - นทิ าน การ์ตนู และเรื่องขบขนั - รายการสําหรับเดก็ - ข่าวและเหตุการณ์ประจาํ วัน - เพลง 6. พูดส่ือสารได้ชดั เจนตรงตามวัตถุประสงค์ การพูดสื่อสารในชีวิตประจําวัน เช่น - การแนะนาํ ตนเอง - การขอความชว่ ยเหลือ - การกล่าวคาํ ขอบคุณ - การกลา่ วคาํ ขอโทษ - การพดู ขอรอ้ งในโอกาสตา่ งๆ - การเล่าประสบการณใ์ นชวี ติ ประจาํ วนั 7. มีมารยาทในการฟง๎ การดู และการพูด มารยาทในการฟ๎ง เชน่ - ตงั้ ใจฟ๎ง ตามองผู้พดู - ไม่รบกวนผอู้ นื่ ขณะทีฟ่ ๎ง - ไมค่ วรนาํ อาหารหรือเครื่องดื่มไปรับประทาน ขณะท่ีฟ๎ง - ไมพ่ ูดสอดแทรกขณะที่ฟ๎ง มารยาทในการดู เชน่ - ต้งั ใจดู - ไม่สง่ เสียงดงั หรอื แสดงอาการรบกวนสมาธิ ของผู้อืน่ มารยาทในการพูด เชน่ - ใชถ้ อ้ ยคําและกิริยาท่สี ภุ าพ เหมาะสมกับ กาลเทศะ - ใชน้ ้ําเสียงนุม่ นวล - ไมพ่ ูดสอดแทรกในขณะทผ่ี ู้อนื่ กาํ ลงั พูด - ไมพ่ ูดล้อเลยี นให้ผูอ้ นื่ ได้รับความอับอายหรอื เสยี หาย

18 ชนั้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป. 3 1. เลา่ รายละเอยี ดเกีย่ วกับเรื่องที่ฟ๎งและดูทง้ั ที่เปน็ ความรู้ การจับใจความและพดู แสดงความคิดเหน็ และ และความบนั เทงิ ความรูส้ ึกจากเรื่องท่ีฟง๎ และดูทงั้ ทเ่ี ปน็ ความรู้ 2. บอกสาระสําคญั จากการฟ๎งและการดู และความบันเทิง เช่น 3. ตงั้ คาํ ถามและตอบคาํ ถามเกย่ี วกบั เรื่องทฟ่ี ๎งและดู - เรื่องเล่าและสารคดีสําหรบั เด็ก 4. พดู แสดงความคิดเหน็ และความรู้สกึ จากเรื่องที่ฟง๎ และดู - นทิ าน การ์ตนู เร่ืองขบขัน - รายการสาํ หรับเด็ก - ข่าวและเหตุการณ์ในชีวิตประจาํ วนั - เพลง 5. พดู ส่อื สารได้ชดั เจนตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ การพดู สื่อสารในชวี ิตประจําวัน เช่น - การแนะนําตนเอง - การแนะนําสถานทใ่ี นโรงเรียนและในชมุ ชน - การแนะนาํ /เชิญชวนเก่ียวกบั การปฏบิ ัติตนในด้าน ต่างๆ เชน่ การรกั ษาความสะอาดของรา่ งกาย - การเลา่ ประสบการณใ์ นชีวติ ประจําวัน - การพูดในโอกาสตา่ งๆ เช่น การพูดขอร้อง การพูด ทกั ทาย การกล่าวขอบคุณและขอโทษ การพูด ปฏิเสธ และการพูดชกั ถาม 6. มมี ารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูด มารยาทในการฟ๎ง เช่น - ตั้งใจฟ๎ง ตามองผู้พูด - ไมร่ บกวนผอู้ ืน่ ขณะทฟี่ ๎ง - ไมค่ วรนาํ อาหารหรือเครื่องดมื่ ไปรบั ประทาน ขณะที่ฟ๎ง - ไมแ่ สดงกิริยาทีไ่ ม่เหมาะสม เช่น โห่ ฮา หาว - ให้เกียรติผูพ้ ูดด้วยการปรบมือ - ไม่พูดสอดแทรกขณะท่ีฟง๎ มารยาทในการดู เช่น - ตงั้ ใจดู - ไมส่ ่งเสยี งดงั หรือแสดงอาการรบกวนสมาธขิ อง ผอู้ น่ื มารยาทในการพูด เชน่ - ใช้ถอ้ ยคําและกิรยิ าทสี่ ภุ าพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ - ใช้น้ําเสียงนมุ่ นวล - ไม่พูดสอดแทรกในขณะที่ผู้อื่นกาํ ลงั พดู - ไมพ่ ูดล้อเลียนใหผ้ ูอ้ นื่ ไดร้ บั ความอับอายหรอื เสียหาย

19 ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป. 4 1. จาํ แนกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคิดเหน็ จากเรื่องท่ฟี ๎งและดู การจําแนกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคดิ เห็นจากเรื่องท่ี ฟ๎งและดู ในชวี ติ ประจําวนั 2. พูดสรุปความจากการฟ๎งและดู การจับใจความ และการพดู แสดงความรู้ 3. พดู แสดงความรู้ ความคดิ เหน็ และความรสู้ กึ เก่ยี วกบั ความคิดในเรื่องท่ีฟ๎งและดู จากสือ่ ต่างๆ เชน่ เร่อื งท่ีฟง๎ และดู - เร่ืองเล่า 4. ตง้ั คาํ ถามและตอบคาํ ถามเชิงเหตผุ ลจากเรอ่ื งที่ฟง๎ และดู - บทความสั้นๆ - ข่าวและเหตกุ ารณป์ ระจาํ วัน - โฆษณา - สื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์ - เรื่องราวจากบทเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่นื 5. รายงานเรือ่ งหรอื ประเด็นท่ีศึกษาค้นคว้าจากการฟ๎ง การรายงาน เชน่ การดู และการสนทนา - การพดู ลาํ ดับขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน - การพดู ลําดบั เหตุการณ์ 6. มีมารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูด มมี ารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูด ป. 5 1. พดู แสดงความรู้ ความคิดเหน็ และความรู้สกึ จากเรื่องท่ีฟ๎ง การจบั ใจความ และการพดู แสดงความรู้ และดู ความคิดในเร่ืองท่ีฟ๎งและดู จากส่อื ตา่ งๆ เชน่ 2. ตั้งคําถามและตอบคาํ ถามเชิงเหตผุ ลจากเร่อื งที่ฟง๎ และดู - เรื่องเล่า 3. วเิ คราะห์ความนา่ เช่ือถือจากเรอ่ื ง ท่ฟี ง๎ และดูอยา่ งมี - บทความ เหตผุ ล - ข่าวและเหตุการณป์ ระจําวัน - โฆษณา - สือ่ สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ การวเิ คราะห์ความนา่ เชอ่ื ถอื จากเร่อื งที่ฟ๎งและดู ในชีวิตประจาํ วนั 4. พูดรายงานเรือ่ งหรือประเด็นทีศ่ ึกษาคน้ คว้าจากการฟ๎ง การรายงาน เชน่ การดู และการสนทนา - การพูดลําดบั ข้นั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน - การพูดลําดับเหตุการณ์ 5. มีมารยาทในการฟ๎ง การดู และการพดู มารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูด ป. 6 1. พูดแสดงความรู้ ความเขา้ ใจจุดประสงคข์ องเรื่องที่ฟง๎ การพูดแสดงความรู้ ความเขา้ ใจในจดุ ประสงค์ และดู ของเร่ืองที่ฟง๎ และดจู ากสื่อต่างๆ ได้แก่ 2. ตั้งคาํ ถามและตอบคาํ ถามเชงิ เหตผุ ล จากเรอ่ื งที่ฟ๎งและดู - สื่อสงิ่ พิมพ์ - สื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ 3. วิเคราะหค์ วามนา่ เชื่อถือจากการฟ๎งและดสู อื่ โฆษณา การวิเคราะห์ความนา่ เชอ่ื ถือจากการฟง๎ และดู อยา่ งมเี หตผุ ล ส่อื โฆษณา

20 ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 4. พดู รายงานเรอื่ งหรอื ประเด็นท่ีศึกษาค้นควา้ จากการฟง๎ การรายงาน เช่น การดู และการสนทนา - การพดู ลําดับขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน - การพูดลําดับเหตุการณ์ 5. พดู โน้มนา้ วอยา่ งมีเหตผุ ล และนา่ เช่อื ถือ การพดู โนม้ น้าวในสถานการณ์ต่างๆ เช่น - การเลอื กตั้งกรรมการนกั เรยี น - การรณรงคด์ า้ นต่างๆ - การโตว้ าที 6. มีมารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูด มารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูด

21 สาระที่ 4 หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ิปญ๎ ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป. 1 1. บอกและเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย - พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ - เลขไทย 2. เขยี นสะกดคําและบอกความหมาย ของคํา - การสะกดคํา การแจกลกู และการอ่านเปน็ คาํ - มาตราตวั สะกดที่ตรงตามมาตราและไม่ตรง ตามมาตรา - การผันคํา - ความหมายของคาํ 3. เรยี บเรยี งคาํ เปน็ ประโยคง่าย ๆ - การแตง่ ประโยค 4. ตอ่ คาํ คล้องจองง่ายๆ - คาํ คลอ้ งจอง ป. 2 1. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย - พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ - เลขไทย 2. เขยี นสะกดคาํ และบอกความหมาย ของคํา - การสะกดคํา การแจกลูก และการอ่านเปน็ คํา - มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไมต่ รง ตามมาตรา - การผนั อักษรกลาง อักษรสงู และอักษรตา่ํ - คําทม่ี ตี ัวการนั ต์ - คําทม่ี ีพยัญชนะควบกลํ้า - คําที่มีอักษรนํา - คาํ ท่มี ีความหมายตรงข้ามกัน - คาํ ที่มี รร - ความหมายของคํา 3. เรียบเรียงคาํ เปน็ ประโยคได้ตรงตามเจตนาของการ - การแต่งประโยค ส่อื สาร - การเรียบเรียงประโยคเป็นข้อความส้ันๆ 4. บอกลักษณะคําคล้องจอง คําคล้องจอง 5. เลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถนิ่ ไดเ้ หมาะสมกับ - ภาษาไทยมาตรฐาน กาลเทศะ - ภาษาถนิ่ ป. 3 1. เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา - การสะกดคาํ การแจกลูก และการอ่านเป็นคาํ - มาตราตวั สะกดที่ตรงตามมาตราและไมต่ รง ตามมาตรา

22 ชน้ั ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การผันอกั ษรกลาง อักษรสงู และอักษรตํ่า 2. ระบชุ นดิ และหนา้ ที่ของคําในประโยค - คาํ ท่มี พี ยัญชนะควบกลา้ํ 3. ใชพ้ จนานุกรมคน้ หาความหมายของคํา - คาํ ทมี่ อี ักษรนํา 4. แต่งประโยคงา่ ยๆ - คาํ ท่ีประวสิ รรชนียแ์ ละคาํ ที่ไม่ประวิสรรชนยี ์ - คําที่มี ฤ ฤๅ 5. แต่งคาํ คล้องจองและคาํ ขวัญ - คาํ ท่ีใช้ บัน บรร 6. เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและ ภาษาถนิ่ ไดเ้ หมาะสม - คาํ ท่ีใช้ รร กบั กาลเทศะ - คําที่มีตวั การนั ต์ ป. 4 1. สะกดคาํ และบอกความหมายของคําในบริบทต่างๆ - ความหมายของคาํ 2. ระบุชนิดและหนา้ ที่ของคําในประโยค ชนดิ ของคํา ได้แก่ - คํานาม 3. ใชพ้ จนานุกรมค้นหาความหมายของคํา - คาํ สรรพนาม - คาํ กรยิ า การใช้พจนานุกรม การแตง่ ประโยคเพ่ือการส่ือสาร ได้แก่ - ประโยคบอกเล่า - ประโยคปฏเิ สธ - ประโยคคาํ ถาม - ประโยคขอร้อง - ประโยคคําสั่ง - คาํ คล้องจอง - คําขวัญ - ภาษาไทยมาตรฐาน - ภาษาถนิ่ - คาํ ในแม่ ก กา - มาตราตวั สะกด - การผันอักษร - คําเป็นคําตาย - คาํ พอ้ ง ชนิดของคํา ไดแ้ ก่ - คาํ นาม - คําสรรพนาม - คาํ กริยา - คาํ วเิ ศษณ์ การใช้พจนานุกรม

23 ชน้ั ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 4. บอกและเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทแต่ง ประโยคสามัญ ประโยคได้ถกู ต้องตามหลักภาษา - ส่วนประกอบของประโยค - ประโยค 2 สว่ น - ประโยค 3 ส่วน 5. แตง่ บทร้อยกรองและคาํ ขวัญ - กลอนสี่ - คําขวญั 6. บอกความหมายของสํานวน สํานวนทเ่ี ป็นคําพังเพยและสุภาษติ 7. เปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถิ่นได้ - ภาษาไทยมาตรฐาน - ภาษาถนิ่ ป. 5 1. ระบชุ นดิ และหนา้ ท่ีของคําในประโยค ชนดิ ของคํา ได้แก่ - คาํ บุพบท - คําสันธาน - คําอุทาน 2. จําแนกสว่ นประกอบของประโยค -ประโยคและส่วนประกอบของประโยค 3. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น - ภาษาไทยมาตรฐาน - ภาษาถิ่น 4. ใช้คาํ ราชาศัพท์ คําราชาศพั ท์ 5. บอกคาํ ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย คาํ ทีม่ าจากภาษาต่างประเทศ 6. แต่งบทรอ้ ยกรอง กาพย์ยานี 11 7. ใชส้ าํ นวนได้ถกู ต้อง สาํ นวนที่เป็นคาํ พังเพยและสุภาษิต ป. 6 1. วเิ คราะหช์ นิดและหนา้ ท่ีของคําในประโยค ชนิดของคํา - คาํ นาม - คําสรรพนาม - คํากริยา - คําวเิ ศษณ์ - คําบพุ บท - คาํ เช่ือม - คาํ อุทาน 2. ใช้คําไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและบคุ คล - คาํ ราชาศพั ท์ - ระดับภาษา - ภาษาถน่ิ 3. รวบรวมและบอกความหมายของคําภาษาต่างประเทศ คําทม่ี าจากภาษาต่างประเทศ ทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย

24 ช้นั ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 4. ระบุลกั ษณะของประโยค - กลมุ่ คาํ หรอื วลี - ประโยคสามญั - ประโยครวม - ประโยคซ้อน 5. แตง่ บทร้อยกรอง กลอนสภุ าพ 6. วิเคราะหแ์ ละเปรยี บเทยี บสาํ นวนทเี่ ป็นคาํ พังเพย และ สาํ นวนทีเ่ ปน็ คาํ พงั เพย และสุภาษติ สุภาษิต

25 สาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคณุ ค่าและ นํามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตจรงิ ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ป. 1 1. บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรอื การฟ๎งวรรณกรรม วรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรองสาํ หรบั เด็ก ร้อยแกว้ และร้อยกรองสําหรับเด็ก เช่น - นิทาน - เรื่องสน้ั งา่ ยๆ - ปรศิ นาคาํ ทาย - บทรอ้ งเลน่ - บทอาขยาน - บทร้อยกรอง - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน 2. ทอ่ งจาํ บทอาขยานตามทกี่ ําหนด และบทรอ้ ยกรอง บทอาขยานและบทรอ้ ยกรอง ตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กาํ หนด - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ ป. 2 1. ระบุข้อคดิ ที่ได้จากการอา่ นหรือ การฟ๎งวรรณกรรม วรรณกรรมรอ้ ยแกว้ และร้อยกรองสาํ หรบั เด็ก สาํ หรับเด็ก เพ่ือนาํ ไปใชใ้ นชวี ติ ประจําวนั เช่น - นิทาน - เร่ืองส้นั ง่ายๆ - ปรศิ นาคาํ ทาย - บทอาขยาน - บทรอ้ ยกรอง - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรยี น 2. ร้องบทร้องเลน่ สาํ หรบั เด็กในท้องถ่นิ บทร้องเล่นท่ีมคี ุณคา่ - บทร้องเลน่ ในท้องถน่ิ - บทร้องเล่นในการละเล่นของเดก็ ไทย 3. ท่องจาํ บทอาขยานตามท่กี ําหนด และบทร้อยกรอง บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองท่มี ีคณุ ค่า ทีม่ ีคณุ ค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกําหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ ป. 3 1. ระบุข้อคิดท่ีได้จากการอ่านวรรณกรรมเพ่ือนําไปใช้ วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพื้นบา้ น ในชีวิตประจาํ วัน - นทิ านหรอื เร่ืองในท้องถิน่ 2. รู้จักเพลงพื้นบ้านและเพลงกลอ่ มเด็ก เพื่อปลกู ฝ๎ง - เรื่องสั้นง่ายๆ ปรศิ นาคําทาย ความชนื่ ชมวัฒนธรรมท้องถิ่น - บทรอ้ ยกรอง 3. แสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับวรรณคดี ท่อี ่าน - เพลงพน้ื บา้ น - เพลงกลอ่ มเดก็ - วรรณกรรมและวรรณคดีในบทเรียนและ ตามความ สนใจ

26 ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 4. ทอ่ งจําบทอาขยานตามทก่ี ําหนดและบทร้อยกรอง บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมคี ณุ ค่า ทม่ี คี ุณคา่ ตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกาํ หนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ ป. 4 1. ระบขุ ้อคิดจากนิทานพนื้ บา้ นหรอื นิทานคติธรรม วรรณคดแี ละวรรณกรรม เช่น 2. อธบิ ายขอ้ คิดจากการอ่านเพ่อื นําไปใชใ้ นชวี ิตจริง - นิทานพื้นบ้าน - นิทานคติธรรม - เพลงพื้นบา้ น - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและตามความ สนใจ 3. รอ้ งเพลงพนื้ บ้าน เพลงพน้ื บา้ น 4. ท่องจําบทอาขยานตามท่กี ําหนด และบทร้อยกรอง บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มคี ุณค่า ทม่ี ีคุณค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกําหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ ป. 5 1. สรปุ เรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมท่ีอ่าน วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น 2. ระบุความรแู้ ละขอ้ คดิ จากการอา่ นวรรณคดแี ละ - นทิ านพื้นบ้าน วรรณกรรมทีส่ ามารถนาํ ไปใช้ในชีวิตจรงิ - นทิ านคตธิ รรม 3. อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม - เพลงพนื้ บ้าน - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรยี นและตามความ สนใจ 4. ท่องจาํ บทอาขยานตามทกี่ ําหนดและบทร้อยกรองท่ี บทอาขยานและบทร้อยกรองทม่ี คี ุณคา่ มคี ุณค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกาํ หนด - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ ป. 6 1. แสดงความคิดเหน็ จากวรรณคดี หรอื วรรณกรรม วรรณคดีและวรรณกรรม เชน่ ทอ่ี า่ น 2. เล่านิทานพน้ื บ้านท้องถน่ิ ตนเอง และนทิ าน - นิทานพ้ืนบ้านท้องถ่นิ ตนเองและท้องถิน่ อนื่ พ้ืนบ้านของท้องถิ่นอนื่ 3. อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดี และวรรณกรรมที่อ่าน - นทิ านคตธิ รรม และนําไป ประยุกต์ใช้ในชวี ติ จรงิ - เพลงพ้นื บ้าน - วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี นและตามความ สนใจ 4. ท่องจาํ บทอาขยานตามทก่ี ําหนด และบทร้อยกรอง บทอาขยานและบทร้อยกรองท่มี ีคณุ ค่า ที่มคี ุณค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกาํ หนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ

27 รายวิชาทีเ่ ปิดสอน รายวิชาพนื้ ฐานและเพม่ิ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวชิ าพนื้ ฐาน ระดบั ชน้ั ประถมศึกษา ป. 1 - ป. 6 ท 11101 ภาษาไทย จาํ นวน 200 ชั่วโมง ท 12101 ภาษาไทย จาํ นวน 200 ชั่วโมง ท 13101 ภาษาไทย จํานวน 200 ช่วั โมง ท 14101 ภาษาไทย จํานวน 160 ช่วั โมง ท 15101 ภาษาไทย จํานวน 160 ช่ัวโมง ท 16101 ภาษาไทย จํานวน 160 ชั่วโมง

28 คาอธบิ ายรายวชิ าและโครงสร้างรายวชิ าพนื้ ฐาน คาอธิบายรายวชิ า รายวชิ าพนื้ ฐาน ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จานวน 5.0 หน่วยกิต ท 11101 ภาษาไทย เวลาเรยี น 200 ชวั่ โมง (5 ชั่วโมง/สปั ดาห์) ศึกษาความหมายของคํา คําคล้องจอง และข้อความที่ประกอบด้วยคําพื้นฐาน คําท่ีใช้ ในชีวิตประจําวัน ไม่น้อยกว่า 600 คํา คําท่ีใช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น คําท่ีมีรูปวรรณยุกต์ และไม่มี รูปวรรณยุกต์คําท่ีมีตัวสะกด ตรงตามมาตรา และไม่ตรงตามมาตรา คําที่มีพยัญชนะควบกลํ้า คําท่ีมีอักษรนํา อ่านออกเสียง อ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ อ่านนิทาน อ่านเรื่องสั้นๆ อ่านบทร้องเล่นและบทเพลง อา่ นเร่อื งราวจากบทเรียน ในกลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนอ่านหนังสือตามความ สนใจ อ่านหนังสือที่ครูและนักเรียนกําหนดร่วมกัน อ่านเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่พบเห็น ในชีวติ ประจําวัน อา่ นเครอ่ื งหมายแสดงความปลอดภัยและแสดงอนั ตราย มมี ารยาทและมีนิสยั รกั การอ่าน ฝึกคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ตามรูปการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนส่ือสาร คําที่ใช้ ในชีวิตประจําวัน คําพื้นฐานในบทเรียน คําคล้องจอง ประโยคง่ายๆ มีมารยาทในการเขียน ใช้ภาษาเขียน เหมาะสมกบั เวลา สถานที่ และบคุ คล ฝึกการฟ๎งและปฏิบัติตามคําแนะนํา คําสั่งง่ายๆ การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก จากเรื่องท่ีฟ๎งและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง เรื่องเล่าและสารคดีสําหรับเด็ก นิทาน การ์ตูนเรื่อง ขบขัน การพูดสื่อสารในชีวิตประจําวัน การแนะนําตนเอง การขอความช่วยเหลือ การกล่าวคําขอบคุณ การกล่าวคาํ ขอโทษ มารยาทในการฟ๎ง ตั้งใจฟง๎ ตามองผพู้ ูด ไม่รบกวนผู้อ่ืนขณะท่ีฟ๎ง มารยาทในการดู ตั้งใจดู ไม่ส่งเสียงดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธิของผู้อื่น มารยาทในการพูดใช้ถ้อยคําและกิริยาท่ีสุภาพ เหมาะสม กับกาลเทศะ ใชน้ า้ํ เสียงนุม่ นวล ไม่พูดสอดแทรกในขณะท่ผี ูอ้ ืน่ กําลังพดู ฝึกเขียน พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ เลขไทยการสะกดคํา การแจกลูก และการอ่านเป็นคํา มาตรา ตวั สะกดที่ตรงตามมาตรา และไม่ตรงตามมาตรา การผันคํา ความหมายของคํา การแต่งประโยค คําคล้องจอง ฝึกอ่านวรรณกรรมร้อยแก้ว และร้อยกรองสําหรับเด็ก อ่านนิทาน เรื่องสั้นง่ายๆ ปริศนาคําทาย บทร้องเล่น บทอาขยาน บทร้อยกรอง วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนบทอาขยาน และบทร้อยกรอง บทอาขยานตามท่ีกาํ หนด บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษาไทย พัฒนาทักษะการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ อภิปราย เปรียบเทียบ เพื่อให้ความรู้และทักษะในการใช้ภาษา เพ่ือการส่ือสาร มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีมารยาท มีนิสัยรัก การอา่ น ชน่ื ชมและเหน็ คุณค่าของภาษาซ่งึ เป็นภูมปิ ๎ญญาไทยท่เี ป็นเอกลกั ษณแ์ ละวฒั นธรรมประจาํ ชาติ รหสั ตัวช้ีวดั ท 1.1 ป. 1/1, ป. 1/2, ป. 1/3, ป. 1/4, ป. 1/5, ป. 1/6, ป. 1/7, ป. 1/8 ท 2.1 ป. 1/1, ป. 1/2, ป. 1/3 ท 3.1 ป. 1/1, ป. 1/2, ป. 1/3, ป. 1/4, ป. 1/5 ท 4.1 ป. 1/1, ป. 1/2, ป. 1/3, ป. 1/4 ท 5.1 ป. 1/1, ป. 1/2 รวมทั้งหมด 22 ตัวชี้วดั

29 โครงสรา้ งรายวชิ า รหัสวชิ า ท 11101 รายวชิ า ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จานวน 20 หน่วย ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 เวลา 200 ชว่ั โมง/ปี สัดส่วนคะแนน ระหวา่ งภาค : ปลายภาค = 70 : 30 ท่ี ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั เรยี นรู้ เรียนรู้/ตัวชวี้ ดั (ชั่วโมง) คะแนน (100) เตรียมความ ท 3.1 ป.1/1,3 - ฝกึ ทกั ษะในการฟง๎ ฟ๎งคําแนะนาํ คําสั่งงา่ ยๆและ 4 2 พร้อม ท 3.1 ป.1/4, ปฏบิ ตั ติ าม ฝึกทักษะการเขยี นพยญั ชนะ สระ ป.1/5 วรรณยกุ ต์ และเลขไทย ท 4.1 ป.1/1 1 ใบโบก ใบบวั ท 1.1 ป.1/1, - การฟง๎ ดู และพดู - การอา่ นคํา 10 3 ป.1/2, - การคดั ลายมือ - การอา่ นออกเสียง ป.1/8 - การอา่ นออกเสยี งพยญั ชนะ - การแตง่ ประโยค ท 2.1 ป.1/1 - อ่านคล่อง ร้องเลน่ - การอ่านและเขยี นสระ ท 3.1 ป.1/2,5 - การอ่านและเขยี นคํา - การเขียนคาํ ท 4.1 ป.1/1-5 2 ภผู า ท 1.1 ป.1/1-/5 - รู้จักคาํ นาํ เรือ่ ง - การอา่ นจับใจความ 10 3 ท 2.1 ป.1/1-/3 - คาํ สระอา สระอี สระอู - อา่ นคลอ่ ง รอ้ งเล่น ท 3.1 ป.1/1, - ชวนทาํ ชวนคิด - อา่ นบท ร้องเลน่ ป.1/3, -แตง่ ประโยคจากภาพ - อ่านและคดั พยัญชนะ ป.1/5 ไทย ท 4.1 ป.1/1-3 - คําสระอา สระอี สระอู - แต่งประโยคจากคาํ 3 เพ่ือนกัน ท 1.1 ป.1/1, - รจู้ กั คํา นาํ เรื่อง - การอา่ น บทอ่าน 10 3 ป.1/2 - การอ่านพยัญชนะ - การอ่านเลขไทย ท 2.1 ป.1/1, - จุดเนน้ การอา่ นสะกดคํา - การอ่านสะกดคํา ป.1/2 - อา่ นคลอ่ งร้องเล่น - ชวนฟง๎ ชวนรอ้ ง ท 3.1 ป.1/1 - ระบาํ เสยี งสัตว์ - ฝกึ เขียน ท 4.1 ป.1/1, ป.1/2 4 ตามหา ท 1.1 ป.1/1 - รจู้ กั คํา นาํ เรอื่ ง - การอ่าน บทอา่ น 10 3 ท 2.1 ป.1/2 - การอ่านพยัญชนะ สระ - การอา่ นเลขไทย ท 3.1 ป.1/1, - จุดเน้นการอา่ นสะกดคํา - การอ่านสะกดคํา ป.1/4 - อ่านคลอ่ งร้องเลน่ - ชวนพดู ชวนฟ๎ง ท 4.1 ป.1/2 - การอา่ นทบทวน - ฝึกเขยี น ท 5.1 ป.1/1, ป.1/2

30 ที่ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก เรยี นรู้ เรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั (ชว่ั โมง) คะแนน (100) 5 เจ้าเนอื้ อ่อน ท 1.1 ป.1/1, - เพลงกล่อมเด็ก - บทรอ้ ง“เจ้าเนื้อละมุน” 10 2 เอย ป.1/8 - บทร้อง“เจ้าเนื้ออ่อน” - เพลงของแม่ ท 2.1 ป.1/1 - ดอกไมห้ ลายชนิด - ภาษาทา่ ทาง ท 3.1 ป.1/4 - บทร้อง“เด็กนอ้ ย เนื้อละมุน” ท 4.1 ป.1/1, - เรามาเลน่ เล้ยี งนอ้ งกัน - นทิ านกล่อมน้อง ป.1/2 - พา น้อง รอ้ ง เลน่ 6 ไปโรงเรียน ท 1.1 ป.1/1, - รจู้ กั คํา นําเร่อื ง - การอ่าน บทอา่ น 10 3 ป.1/2 - การอ่านพยัญชนะ สระ –รูปและเสยี งวรรณยกุ ต์ ท 2.1 ป.1/2 - จุดเนน้ การอ่านสะกดคํา - การอา่ นสะกดคํา ท 3.1 ป.1/1 - อ่านคล่องร้องเลน่ - ชวนรอ้ ง ชวนเลน่ ท 4.1 ป.1/2, - การอ่านทบทวน - ฝกึ เขยี น ป.1/3 7 มาเล่นกนั ไหม ท 1.1 ป.1/1 - เล่น เป็น ลูก ไก่ - เพลง กุ๊ก กุ๊ก ไก่ 10 3 ท 2.1 ป.1/2 - เพลง “ แม่ งู เอย๋ ” - การเล่น “ แม่ งู เอ๋ย” ท 3.1 ป.1/1 - บทร้องประกอบการเลน่ - เพลงร้องเลน่ ท 4.1 ป.1/2, “โยกยา้ ย” ป.1/3 - เรยี งคําเป็นประโยค - การคัดลายมือ ท 5.1 ป.1/1, - การใช้คาํ - การแตง่ ประโยค ป.1/2 8 โรงเรียน ท 1.1 ป.1/1, - รจู้ ักคาํ นาํ เร่ือง - การอา่ น บทอา่ น 10 3 ลกู ชา้ ง ป.1/2 - การอา่ นวิเคราะหค์ าํ - การอา่ นพยัญชนะ สระ ท 2.1 ป.1/2 - การผันวรรณยกุ ต์ - การอ่านสะกดคํา ท 4.1 ป.1/2 - อา่ นคลอ่ งร้องเล่น - ชวนทํา ชวนคิด ท 5.1 ป.1/1 - การอ่านทบทวน - ฝึกเขียน 9 ของเธอของ ท 1.1 ป.1/1 - การอา่ นบทร้องเลน่ การทอ่ งอาขยาน และคํา 5 2 ฉนั ท 2.1 ป.1/2 คลอ้ งจอง ท 3.1 ป.1/5 - การพดู และการฟง๎ มา เรา มา รอ้ งเพลงกนั และ ท 4.1 ป.1/2, อา่ น คดิ ตอบคาํ ถาม ป.1/3 - การแต่งประโยค - จุดเน้นการอา่ นสะกดคํา ท 5.1 ป.1/1-2 - จุดเน้นการเขียนสะกดคํา 10 เพอื่ นรักเพื่อน ท 1.1 ป.1/1-2 - ร้จู กั คาํ นําเรื่อง - การอ่าน บทอ่าน 10 3 เล่น ท 2.1 ป.1/2 - การอ่านวเิ คราะห์คาํ - การอ่านพยัญชนะ สระ ท 3.1 ป.1/5 - การผนั วรรณยุกต์ - การอ่านสะกดคาํ ท 4.1 ป.1/2 - อ่านคล่องร้องเลน่ - ชวนทาํ ชวนคดิ ท 5.1 ป.1/1-2 - การอ่านทบทวน - ฝกึ เขยี น

31 ท่ี ชือ่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั เรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวดั (ชัว่ โมง) คะแนน (100) สอบกลางปี 1 10 11 ฝนตกแดด ท 1.1 ป.1/1, - การอา่ นบทร้องเลน่ - บทรอ้ ยกรอง 10 3 ออก ป.1/8 - คาํ คลอ้ งจอง - คําประพนั ธใ์ นภาษาไทย ท 2.1 ป.1/1 - การอ่านบทร้อยกรอง - การทอ่ งอาขยาน ท 3.1 ป.1/4 - การอา่ น เขยี น เรียน ร้อง - ฝึกอา่ นเพม่ิ เติม ท 4.1 ป.1/1, - มา ร้องเพลง ดว้ ยกนั - ลองเลยี นเสียงอ่นื ๆ ป.1/2 12 พูดเพราะ ท 1.1 ป.1/1 - ร้จู ักคํา นาํ เร่อื ง - การอ่าน บทอ่าน 12 3 ท 2.1 ป.1/2 - การอ่านวเิ คราะหค์ าํ - การอ่านพยัญชนะ สระ ท 4.1 ป.1/2, - การผนั วรรณยกุ ต์ - จุดเนน้ การสะกดคาํ ป.1/4 - การอา่ นสะกดคาํ - อา่ นคล่องร้องเลน่ ท 5.1 ป.1/1, - ชวนทาํ ชวนคดิ - การอ่านทบทวน ป.1/2 - ฝกึ เขยี น - จุดเน้นการเขยี น 13 เรารกั ท 1.1 ป.1/1 - การอา่ นบทร้องเล่น - บทรอ้ ยกรอง 10 3 เมอื งไทย ท 2.1 ป.1/2 - คําคล้องจอง - การทอ่ งอาขยาน ท 3.1 ป.1/1 - การอ่านบทร้อยกรอง - การอา่ น เขียน เรียน ท 4.1 ป.1/2, รอ้ ง ป.1/3 - การอ่านและการสนทนา - เด็กน่ารกั ท 5.1 ป.1/1, - การอา่ นและการดูแลหนังสือ - จุดเน้นการ ป.1/2 เขียน 14 เกอื บไป ท 1.1 ป.1/2, - ร้จู กั คํา นาํ เรือ่ ง การอ่าน บทอ่าน และการอา่ น 10 3 ป.1/7 วเิ คราะห์คํา ท 4.1 ป.1/2, - การอ่านพยัญชนะ สระ การผนั วรรณยุกต์ ป.1/4 - จุดเนน้ การอา่ นสะกดคํา - อ่านคล่องร้องเล่น ท 5.1 ป.1/1, - จุดเน้นการเขียนสะกดคํา - การอ่านทบทวน ป.1/2 15 ตั้งไขล่ ม้ ต้มไข่ ท 1.1 ป.1/1 - การอา่ นบทร้องเล่น - บทร้อยกรอง 10 3 กนิ ท 2.1 ป.1/2 - คาํ คลอ้ งจอง - การทอ่ งอาขยาน ท 3.1 ป.1/1 - การอา่ นบทร้อยกรอง - การพูดเลา่ เรื่อง ท 4.1 ป.1/2, - การอ่าน การสนทนา - คาํ บอกรูปร่าง ป.1/3 - อา่ น เขยี น เรียน รอ้ ง เลน่ ท 5.1 ป.1/1

32 ท่ี ช่อื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั เรยี นรู้ เรียนรู้/ตัวชว้ี ัด (ชวั่ โมง) คะแนน (100) 16 เพ่อื นรใู้ จ ท 1.1 ป.1/1 - รจู้ กั คาํ นาํ เร่ือง - การอ่าน บทอ่าน 10 3 ท 2.1 ป.1/1, - การอา่ นวิเคราะห์คํา - การอา่ นพยญั ชนะ สระ ท 2.1 ป.1/7 - การผนั วรรณยกุ ต์ - การอ่านสะกดคํา ท 4.1 ป.1/1, - อา่ นคลอ่ งร้องเล่น - ชวนทํา ชวนคดิ ป.1/2 - การอ่านทบทวน - ฝึกเขียน ท 5.1 ป.1/1 17 แมวเหมยี ว ท 1.1 ป.1/1, - การอ่านบทร้องเล่น บทร้อยกรอง คําคลอ้ งจอง 6 3 ป.1/8 - การทอ่ งอาขยาน ท 2.1 ป.1/1 - การพดู เลา่ เรือ่ ง ท 3.1 ป.1/4 - จดุ เน้นการเขยี นอ่านสะกดคํา ท 4.1 ป.1/1, ป.1/2 18 ชา้ งนอ้ ยน่ารัก ท 1.1 ป.1/1, - รจู้ กั คํา นําเร่อื ง - การอ่าน บทอา่ น 12 3 ป.1/8 - การอ่านวิเคราะห์คํา - การอา่ นผันวรรณยุกต์ ท 2.1 ป.1/1 - การผนั วรรณยุกต์ - จดุ เน้นการอ่านสะกดคาํ ท 3.1 ป.1/4 - การอา่ นสะกดคาํ - เครื่องหมาย ท 4.1 ป.1/1, สัญลักษณ์ ป.1/2 - อา่ นคลอ่ งร้องเล่น - ชวนทาํ ชวนคิด ท 5.1 ป.1/2 - จดุ เนน้ การเขียนสะกดคาํ - ฝึกเขยี น ป.1/2 19 กระตา่ ยกับ ท 1.1 ป.1/1 - การอา่ นออกเสยี ง - การอา่ นนิทาน 63 เต่า ท 2.1 ป.1/2 - การแสดงบทบาทสมมุติ ท 3.1 ป.1/2 - การเลา่ เรอ่ื ง ท 5.1 ป.1/1 - คาํ บอกรปู ร่าง 20 วันสงกรานต์ ท 1.1 ป.1/1 - รจู้ ักคาํ นาํ เร่อื ง – การอ่านคาํ 13 3 ป.1/8 - การอ่านวิเคราะหค์ ํา - การอา่ นผนั วรรณยุกต์ ท 2.1 ป.1/1 - การผันวรรณยกุ ต์ - การอา่ นสะกดคํา ท 3.1 ป.1/4 - อา่ นคล่องร้องเล่น - ชวนทํา ชวนคดิ ท 4.1 ป.1/1, - การอา่ นทบทวน - ฝึกเขียน ป .1/2 - การสะกดคํามาตราแม่ กบ - มาตราตวั สะกด สอบปลายปี - 30 รวมตลอดทั้งปี 200 100

33 คาอธิบายรายวชิ า รายวชิ าพืน้ ฐาน ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 2 กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย จานวน 5.0 หนว่ ยกติ ท 12101 ภาษาไทย เวลาเรียน 200 ช่ัวโมง (5 ชั่วโมง/สปั ดาห์) ศึกษาและฝึกอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคําพ้ืนฐาน คําท่ีใช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ อน่ื คําคลอ้ งจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ อ่านจับใจความจากส่ือต่าง ๆ แล้วสามารถ ตั้งคําถามตอบ คําถาม ระบุใจความสําคัญ และรายละเอียดแสดงความคิดเห็น และคาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองท่ีอ่าน อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ําเสมอ และนําเสนอเร่ืองที่อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติ ตามคําสั่งหรือข้อแนะนําและมีมารยาทในการอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียน ตัวอักษรไทย เขียนเรื่องส้ัน ๆ เกี่ยวกับประสบการณ์และเรื่องสั้น ๆ ตามจินตนาการ และมีมารยาทในการ เขียน ฟ๎งคําแนะนํา คําส่ังที่ซับซ้อน และปฏิบัติตาม จับใจความจากเร่ืองท่ีฟ๎งและดูท้ังท่ีเป็นความรู้และ ความบันเทิง โดยเล่าเรื่อง บอกสาระสําคัญ เพื่อให้เกิดความเข้าใจหลักภาษา เกิดทักษะในการใช้ภาษา เพือ่ การส่ือสารสามารถนําไปใช้ในชีวิตประจําวันได้ มีความชื่นชม เห็นคุณค่าภูมิป๎ญญาไทยและภูมิใจในภาษา ประจําชาติ การบอกและเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์และเลขไทย การเขียนสะกดคําและบอกความหมายของ คํา การสะกดคํา การแจกลูกและการอ่านเป็นคําท่ีมีมาตราตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา การผันอักษรกลาง อักษรสูงและอักษรต่ํา คําท่ีมีตัวการันต์ คําท่ีมีพยัญชนะควบกลํ้า คําท่ีมีอักษรนํา คําท่ีมี ความหมายตรงข้ามกัน คําที่มี รร การเรียบเรียงคําเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการสื่อสาร การบอก ลกั ษณะคําคล้องจอง การเลอื กใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่นิ ได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ การระบุข้อคิดท่ีได้จากการอ่านของเด็กไทย การท่องจําบทอาขยานตามที่กําหนด และบทร้อยกรอง ท่ีมีคุณค่าตามความสนใจหรือฟ๎งวรรณกรรม สําหรับเด็กเพ่ือนําไปใช้ในชีวิตประจําวัน เช่นนิทาน เร่ืองส้ันๆ ปรศิ นาคาํ ทาย บทอาขยาน บทรอ้ ยกรอง วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน การร้องบทร้องเล่นสําหรับเด็ก ท่ีมีคุณค่า เช่น บทร้องเล่นในท้องถิ่น บทร้องเล่นในการละเล่น ฝึกทักษะการอ่าน การเขียน การฟ๎ง การดู และการพูด ให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของภาษา ใช้ภาษา เพ่ือการส่ือสาร หาความรู้ ความบันเทิง นําข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมไปใช้เป็นแนวทาง ในการพัฒนาตน พัฒนางานคิดวิเคราะห์ตัดสินใจ มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน มีมารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูด มีความคิดสร้างสรรค์รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่สามารถ นําไปใช้ในชีวติ ประจาํ วันไดอ้ ย่างมีความสขุ รหสั ตวั ชี้วัด ท 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8 ท 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4 ท 3.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7 ท 4.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5 ท 5.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3 รวมทั้งหมด 27 ตัวชี้วัด

34 โครงสร้างรายวิชา รหัสวชิ า ท 12101 รายวชิ า ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย จานวน 5.0 หน่วยกติ ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 2 เวลา 200 ช่ัวโมง/ปี สัดสว่ นคะแนน ระหวา่ งภาค : ปลายภาค = 70 : 30 ท่ี ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก การเรยี นรู้ เรียนรู้/ตวั ชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน (100) 1 การเตรยี ม ท 1.1 ป.2/1-3 - คาง่ายๆ ในภาษาไทยมี 5 ความพร้อม ท 2.1 ป.2/1 5 1 ท 3.1 ป.2/1 องค์ประกอบ ได้แก่ พยัญชนะ สระ 5 ป.2/4-5 และวรรณยกุ ต์ การฝกึ จาแนก 5 1 ป.2/7 องคป์ ระกอบคาการเทียบเคียง ท 4.1 ป.2/1 ชว่ ยใหน้ ักเรียนมเี คร่อื งมือเรยี นรู้ 1 ท 5.1 ป.2/1-2 ด้วยตนเองและสามารถนาไปใช้ พัฒนาทกั ษะทางภาษาทัง้ การฟัง 1 2 ทบทวน ท 1.1 ป.2/1-5 พดู อ่านและเขียน ประสบการณ์ ป.2/8 - การรู้จกั องค์ประกอบของคํา สามารถนําไปใชเ้ ป็นเคร่ืองมือการ ท 3.1 ป.2/1 เรยี นรไู้ ดท้ ง้ั การสร้างคาํ การฟ๎งการ พดู การอา่ นและการเขยี นเม่ือ ป.2/5-7 นาํ มารวมกับความสามารถในการ คิดทําให้นักเรยี นสามารถสื่อสารได้ ท 4.1 ป.2/1 อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ท 5.1 ป.2/1-2 - การเขียนเรอ่ื งราวใหน้ ่าสนใจ ผูเ้ ขยี นตอ้ งใช้คา ประโยคท่ีถูกต้อง 3 ร้อยกรอง...รอ้ ง ท 1.1 ป.2/1-6 และการเขียนเรียบเรยี ง นาเสนอ เลน่ ป.2/8 นา่ สนใจ ดังนนั้ นักเรยี นจะต้องมี ท 2.1 ป.2/1 ความรู้ ความเข้าใจทถ่ี ูกต้องตั้งแต่ ป.2/3-4 หน่วยคา ประโยค และการเรียบ ท 3.1 ป.2/5-7 เรียงเร่ืองราว รวมทง้ั วธิ ีการในการ ท 4.1 ป.2/1-3 นาเสนอที่เหมาะสมด้วย ท 5.1 ป.2/1-2 - การถ่ายทอดเรื่องราวโดยการพูด 4 เลา่ ย้อน ท 1.1 ป.2/1 และการเขียนอสิ ระต้องมกี าร สะทอ้ นคดิ ป.2/3-8 เช่อื มโยงอยา่ งมเี หตุผลและการ นําเสนอได้อย่างนา่ ติดตาม ท 2.1 ป.2/1 ป.2/3-4 ท 3.1 ป.2/6-7 ท 4.1 ป.2/1-2 ท 5.1 ป.2/1-2

35 ท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั การเรยี นรู้ เรียนรู้/ตวั ช้ีวัด (ชัว่ โมง) คะแนน (100) 5 สนุกกับการ ท 1.1 ป.2/1-6 - การอา่ นบทร้อยกรองเปน็ ทํานอง 5 อา่ น ป.2/8 เสนาะการแสดงความรู้สึกและ 5 1 ท 2.1 ป.2/1 ความคิดเห็นจากบทร้อยกรองท่ี 5 ท 3.1 ป.2/1 อา่ นทาํ ให้ผเู้ รียนเหน็ คุณค่าและ 5 1 ป.2/5-6 ความงดงามของภาษา 5 ท 4.1 ป.2/1-2 1 ป.2/4-5 - การใชก้ ระบวนการอ่าน ท 5.1 ป.2/1-2 กระบวนการเขียนการเข้าใจ 1 ธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย 6 ผนั อยา่ งไรดีนะ ท 1.1 ป.2/1-8 ชว่ ยใหผ้ ้เู รียนมปี ระสบการณ์ใน 1 ท 2.1 ป.2/1-2 การสร้างความรูม้ ีทกั ษะการใช้ ป.2/4 ภาษาในการสื่อสารผ่านการพูด ท 3.1 ป.2/5-7 การเขียนในรูปแบบตา่ งๆนําไป ท 4.1 ป.2/2-3 ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจําวันได้ ป.2/5 - การเข้าใจธรรมชาติของภาษาไทย ท 5.1 ป.2/1-2 และหลักภาษาไทยเก่ยี วกบั การผัน วรรณยุกต์การสะกดคาํ การสร้าง 7 ไกเ่ อย๋ ไกแ่ จ้ ท 1.1 ป.2/1-8 คําสามารถนาํ ไปแต่งประโยคและ ท 2.1 ป.2/1 การเขียนสอ่ื สารได้อยา่ งมี ป.2/4 ประสิทธภิ าพ ท 3.1 ป.2/1-7 - การอ่านโดยการคาดคะเน ท 4.1 ป.2/1-5 เหตุการณเ์ รียงลําดบั เหตกุ ารณ์ ท 5.1 ป.2/1-2 สรุปแนวคดิ จากเร่ืองที่อ่าน วเิ คราะหล์ กั ษณะของคําจัด 8 แม่กนแสน ท 1.1 ป.2/1 หมวดหมคู่ ําจะชว่ ยให้นกั เรยี นนํา สนุก ป.2/3-6 ประสบการณ์ในการอา่ นไปใช้ใน ท 2.1 ป.2/3 การเรยี งลําดบั เหตุการณ์ในการ ท 3.1 ป.2/3 เขียนเร่อื งราวไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ ป.2/5-7 - การเรียนรู้หลักภาษาอักษร3หมู่ ท 4.1 ป.2/2-3 รูปและเสียงวรรณยุกต์จะช่วยให้ ท 5.1 ป.2/1 นั ก เ รี ย น อ่ า น แ ล ะ เ ขี ย น คํ า ไ ด้ ถกู ต้องนักเรยี นจะเขียนเรื่องราวได้ 9 อกั ษร 3 หมู่ ท 1.1 ป.2/1 ดีจะเร่ิมต้นจากการเขียนคําการ ป.2/3-8 แต่งประโยคท่ีถูกต้องแล้วนํามา ท 2.1 ป.2/2-4 ท 3.1 ป.2/3 ป.2/5-7 ท 4.1 ป.2/2-3

36 ท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั การเรยี นรู้ เรยี นรู้/ตัวช้ีวดั (ชัว่ โมง) คะแนน (100) ท 5.1 ป.2/1 เ รี ย บ เ รี ย ง ใ ห้ ส่ื อ ส า ร ไ ด้ อ ย่ า ง 5 น่าสนใจถ้านักเรียนรู้จักเลือกอ่าน 1 10 อกั ษรนา ท 1.1 ป.2/1-6 ห นั ง สื อ ที่ เ ห ม า ะ ส ม จ ะ ส า ม า ร ถ 5 ป.2/8 พัฒนาทักษะทางภาษาของตนเอง 1 11 มาตรา ได้ 5 ตวั สะกด ท 2.1 ป.2/1 2 ป.2/4 - การใชห้ นาํ เปน็ วธิ เี พิ่มเสียงต้นคาํ 5 ในภาษาไทยท่ชี ่วยให้เกิดคําที่มี 2 ท 3.1 ป.2/1 ความหมายใหม่มากขนึ้ ส่วนคํา ป.2/3 คล้องจองเป็นการสรา้ งความ ป.2/5-7 ไพเราะของภาษาสามารถนาํ ไปใช้ ประกอบการพดู ได้อย่างนา่ ฟ๎งทั้งน้ี ท 4.1 ป.2/2-4 การฟง๎ และการพูดทด่ี นี ั้นจะต้องมี มารยาทในการฟ๎งและการพดู ด้วย ท 1.1 ป.2-1-7 ท 2.1 ป.2/3-4 - มาตราตวั สะกดแมก่ กแม่กบ ท 3.1 ป.2/3 ประกอบด้วยพยญั ชนะหลายตวั ที่ ออกเสียงตวั สะกดเดียวกันกับกบ ป.2/5-7 ส่วนอักษรควบกลํ้าในภาษาไทยมี3 ท 4.1 ป.2/2-3 ตวั คอื รลวจะตอ้ งอ่านออกเสยี ง ท 5.1 ป.2/1 ควบพยญั ชนะต้นกบั อกั ษรควบ กลํ้าเสมอนักเรยี นจงึ ควรออกเสยี ง 12 ตัวสะกดไม่ตรง ท 1.1 ป.2/1 ให้ถกู ต้องเพ่ือใหส้ ามารถส่ือสารได้ มาตรา ป.2/3-6 อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ท 2.1 ป.2/3-4 ท 3.1 ป.2/2-3 - การเรียนรเู้ รื่องมาตราตัวสะกดจะ ป.2/5-7 ช่วยใหน้ ักเรยี นอา่ นและเขียนคําได้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง นั ก เ รี ย น จ ะ เ ขี ย น 13 สระเปล่ียนรปู ท 1.1 ป.2/1 เร่ืองราวได้ดีจะต้องเร่ิมจากการ ลดรปู ป.2/3-7 เขียนคําประโยคแล้วนํามาเรียบ ท 2.1 ป.2/4 เรียงเป็นเร่ืองราวท่ีน่าสนใจส่วน ท 3.1 ป.2/2-7 ก า ร เ ลื อ ก อ่ า น ห นั ง สื อ ที่ ดี มี ท 4.1 ป.2/1-4 ประโยชน์จะสามารถพัฒนาทักษะ การใช้ภาษาของนกั เรยี นได้ - การคาดคะเนเหตุการณ์จากการ อ่านการเรียงลําดับเรื่องราวสรุป แนวคิดของเร่ืองการจัดหมวดหมู่ คําการแสดงความคิดเห็นจากเร่ือง ที่อ่านจะนําไปสู่การสร้างรูปแบบ

37 ที่ ชอื่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั การเรียนรู้ เรยี นรู้/ตัวชี้วัด (ชัว่ โมง) คะแนน (100) ท 5.1 ป.2/1 การเรียนรู้และสรุปความรู้ที่คงทน 5 2 กลา้ คดิ กล้าแสดงออก 1 6 10 14 อา่ นดีมีสาระ ท 1.1 ป.2/17 - การอ่านสารคดีและการลําดับ 2 6 ท 2.1 ป.2/1 เหตุการณ์แสดงความคิดเห็นสรุป 2 6 ป.2/3-4 ใจความสําคัญของเร่ืองที่อ่านแล้ว 2 ท 3.1 ป.2/4-7 วิเคราะห์คําควบแท้และควบไม่แท้ ท 4.1 ป.2/2-3 คําท่ีสะกดด้วยมาตราแม่กดเมื่อ สรุปหลักการวิธีการได้จะสามารถ นําคําเหล่านั้นมาเรียบเรียงเขียน เรื่องราวใหมไ่ ด้ สอบกลางปี 15 การเขยี นเรื่อง ท 1.1 ป.2/1 - การอ่านสารคดีและการลําดับ จากจินตนาการ ป.2/3-7 เหตุการณ์แสดงความคิดเห็นสรุป ท 2.1 ป.2/2-3 ใจความสําคัญของเรื่องท่ีอ่านแล้ว ท 3.1 ป.2/1-2 วิเคราะห์คําควบแท้และควบไม่แท้ ป.2/5-6 คําท่ีสะกดด้วยมาตราแม่กดทําให้ ท 4.1 ป.2/2-3 ผู้เรียนสามารถสรุปหลักการและ ท 5.1 ป.2/1 นํ า ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร เ ขี ย น เ รื่ อ ง จ า ก จิ น ต น า ก า ร ไ ด้ อ ย่ า ง ส ล ะ ส ล ว ย นําเสนอเรอื่ งราวได้นา่ สนใจ 16 สนกุ กับโฆษณา ท 1.1 ป.2/1-3 - การแยกแยะขอ้ เท็จจริงข้อคิดเห็น ป.2/5-7 คว ามน่าเชื่อถือ ของข่าว และ ท 2.1 ป.2/3 โ ฆ ษ ณ า ทํ า ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ส า ม า ร ถ ท 3.1 ป.2/1-7 วิเคราะห์และตัดสินใจในการเลือก ท 4.1 ป.2/1-3 บริโภคข้อมูลการอ่านเรื่องราวแล้ว ป.2/1/5 สรุปใจความสําคัญวิเคราะห์คํา ท 5.1 ป.2/1 ตามหลักการอ่านและการเขียน หลักการใช้ช่วยให้ผู้เรียนสามารถ นําไปใชใ้ นชวี ติ ประจําวนั ได้ 17 อ่านดีมสี าระ ท 1.1 ป.2/1 - หลงั การอา่ นส่งิ สาํ คญั ในการฝึก ป.2/3-7 ทกั ษะทางภาษาคือการเลา่ เรื่อง ท 2.1 ป.2/34 สะทอ้ นกลบั การบอกเล่าเรื่องราว ท 3.1 ป.2/3-7 รายละเอยี ดของเร่ืองท่อี า่ นผา่ น ท 4.1 ป.2/2-3 วิธกี ารท่ีหลากหลายซ่ึงจะช่วย ท 5.1 ป.2/1 พฒั นาทกั ษะและความสามารถใน

38 ท่ี ชือ่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก การเรียนรู้ เรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั (ช่วั โมง) คะแนน (100) 18 ไพเราะเพราะ ท 1.1 ป.2/1 การอ่านได้ 6 - หลงั จากการฟ๎งเร่ืองราวต่างๆจาก 2 คําคลอ้ งจอง ป.2/3-5 หลายทางนักเรียนควรฝึกทักษะ 6 การจัดการความรู้ในหลากหลาย 2 ป.2/8 รูปแบบเช่นการตั้งคําถามและตอบ 10 คําถามการสนทนาแลกเปลี่ยน 3 ท 3.1 ป.2/2 ความคิดเห็นเพ่ือให้สามารถนํา 10 ค ว า ม รู้ จ า ก ก า ร ฟ๎ ง ม า ใ ช้ ใ น 3 ป.2/7 ชวี ิตประจําวนั ได้ - การเรียนรู้หลักภาษาสระเปลยี่ นรูป ท 4.1 ป.2/4 ลดรูปมาตราตวั สะกดคําควบกล้ํา อักษรนําอักษร3หมู่รปู และเสียง ท 5.1 ป.2/1-2 วรรณยกุ ต์จะช่วยให้นักเรียนอ่าน และเขยี นคําได้ถกู ต้องสามารถ 19 คําควรรู้ ท 1.1 ป.2/1-7 นําไปพัฒนาทักษะทางภาษาของ ท 4.1 ป.2/1-2 ตนเองได้ - การอ่านคาํ ท่ีมคี วามหมายตรง 20 นกกางเขน ท 1.1 ป.2/1 ขา้ มกันอักษรนําการจับใจความ ป.2/2 จากบทเพลงการพดู แนะนําตนเอง ป.2/3 การคดั ลายมือมารยาทในการอ่าน ป.2/8 บทร้อยกรองบทร้องเล่นในท้องถน่ิ เป็นกระบวนการทางภาษาที่ ท 2.1 ป.2/1 นักเรยี นต้องฝึกฝนใหเ้ กดิ เปน็ ท 3.1 ป.2/6 ทกั ษะเพ่ือพฒั นาความสามารถ ท 4.1 ป.2/2 ทางดา้ นภาษา ป.2/3 - การอ่านคําอักษรนาํ การอา่ นจบั ท 5.1 ป.2/1 ใจความจากเรื่องท่ีอา่ นมารยาทใน การเขยี นฟง๎ ดูพดู การกลา่ วคํา ป.2/2 ขอบคุณคําขอโทษบทอาขยานเป็น องค์ความรทู้ างด้านภาษาที่ 21 ชาวนากบั งเู หา่ ท 1.1 ป.2/1 นกั เรียนต้องมที ักษะเพ่ือการ ป.2/2 พัฒนาทางการใชภ้ าษาและการรับ ป.2/3 รู้คุณค่าํ ความงดงามของภาษา ท 2.1 ป.2/1 ป.2/4 ท 3.1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ป.2/6 ป.2/7

39 ที่ ช่อื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก การเรยี นรู้ เรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด (ช่วั โมง) คะแนน (100) ท 4.1 ป.2/2 - การอา่ นการเขียนคําควบกลํ้า 10 ป.2/3 นทิ านประสบการณ์การฟ๎งการพูด 4 บทเพลงเป็นกระบวนการดา้ นการ 10 ท 5.1 ป.2/3 เรียนรู้ทางภาษาอนั นําไปสู่การ 4 พัฒนาความสามารถของนักเรียน 12 22 จนั ทร์เอ๋ยจนั ทร์ ท 1.1 ป.2/1 6 เจ้า ป.2/2 - การอ่านคาํ ควบกล้าํ การเขยี น ป.2/3 เร่ืองจากภาพการพดู แสดง ท 2.1 ป.2/2 ขอ้ คิดเหน็ จากการฟง๎ นิทานบท ป.2/4 ร้อยกรองบทร้องเลน่ เปน็ ท 3.1 ป.2/1 กระบวนการท่นี ักเรียนใช้เปน็ ป.2/6 เครอ่ื งมือในการเรียนรูค้ วรฝึกฝน ท 4.1 ป.2/2 ใหเ้ กิดเปน็ องค์ความรูเ้ พ่ือให้ ป.2/3 สามารถสอ่ื สารไดอ้ ย่างมี ท 5.1 ป.2/3 ประสิทธภิ าพ 23 คณุ ครใู จดี ท 1.1 ป.2/1 - การอา่ นออกเสยี งคําควบกลํ้าการ ป.2/2 จบั ใจความสําคญั จากนิทานการ ป.2/3 คัดลายมือการเขยี นเร่อื งจากภาพ ป.2/8 ภาษาไทยมาตรฐานบทร้อยกรอง บทรอ้ งเล่นเป็นกระบวนการเรียนรู้ ท 2.1 ป.2/2 ท่นี กั เรยี นใช้แสวงหาเพื่อพัฒนาตน ป.2/3 ให้เกิดองค์ความรทู้ างด้านภาษา ท 3.1 ป.2/6 ท 4.1 ป.2/2 ป.2/3 ท 5.1 ป.2/1 24 สกั วาดาว ท 1.1 ป.2/1 จระเข้ ป.2/2 ป.2/3 ป.2/6 ป.2/8 ท 2.1 ป.2/1 ป.2/3 ท 3.1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ป.2/5 ท 4.1 ป.2/2-3 ป.2/5

40 ที่ ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนัก การเรียนรู้ เรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด (ช่วั โมง) คะแนน (100) 25 กาดํา ท 1.1 ป.2/1 - การอ่านคําที่มีพยัญชนะและสระ 11 ทีไ่ ม่ออกเสียง 12 6 ป.2/2 การจับใจความจากบทร้อยกรอง 11 การเลือกอ่านหนังสือตามความ 6 ป.2/6 ส น ใ จ ก า ร เ ขี ย น เ ร่ื อ ง ต า ม จินตนาการภาษาถิ่นบทร้องเล่น 6 ท 2.1 ป.2/1 แ ล ะ บ ท ร้ อ ย ก ร อ ง เ ป็ น ก า ร ฝึ ก ประสบการณ์การสร้างความรู้ผ่าน ป.2/3 ทักษะการใช้ภาษาควรฝึกฝนให้ เกิดทักษะเพื่อการใช้ภาษาได้อย่าง ท 3.1 ป.2/2 มปี ระสทิ ธภิ าพ ป.2/3 - การอ่านคํามาตราตัวสะกดการ จับใจความสําคัญของข่าวการอ่าน ท 4.1 ป.2/2 ข้อเขียนเชิงอธิบายการเขียนเรื่อง สั้นสารคดสี ําหรบั เด็กภาษาถ่ินและ ป.2/3 ปริศนาคําทายเป็นองค์ประกอบ ทางการเรียนรู้ด้านภาษาควรฝึก ป.2/5 ทั ก ษ ะ ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ ใ ห้ หลากหลายรูปแบบเพื่อเพิ่มทักษะ ท 5.1 ป.2/1 ทางด้านภาษาให้เกิดการเรียนรู้ท่ี คงทน ป.2/3 - การเขา้ ใจธรรมชาติของภาษาไทย 26 กระต่ายเจ้าเลห่ ์ ท 1.1 ป.2/1 และ หลักภาษาไทย เก่ยี วกบั เครือ่ งหมายต่างๆ สามารถนําไปแตง่ ป.2/2 ประโยค การเขยี นส่ือสารและการ อา่ นประโยคต่างๆ ไดอ้ ย่างมี ป.2/3 ประสทิ ธภิ าพ ป.2/4 ป.2/5 ป.2/7 ท 2.1 ป.2/1 ป.2/2 ท 3.1 ป.2/4 ป.2/5 ท 4.1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/5 ท 5.1 ป.2/1 27 โพงเอย๋ ท 1.1 ป.2/3 โพงพาง ป.2/4 ป.2/5 ป.2/7 ท 2.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/4 ท 3.1 ป.2/3 ป.2/4 ท 4.1 ป.2/3

41 ท่ี ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั การเรียนรู้ เรียนรู้/ตัวช้วี ดั (ช่ัวโมง) คะแนน (100) ท 5.1 ป.2/1 10 5 ป.2/3 - 200 30 28 กระต่ายกับเต่า ท 1.1 ป.2/1 - การอา่ นคาํ ที่มีรรการจบั ใจความ 100 ป.2/3 สําคัญจากเรื่องท่ีมใี นบทเรียนเร่อื ง ท 2.1 ป.2/1 ขบขนั และการอ่านวรรณคดี ป.2/3 วรรณกรรมเป็นการเรียนรู้หลักทาง ท 4.1 ป.2/2 ภาษาและการรับร้เู ข้าใจธรรมชาติ ท 5.1 ป.2/3 และความงดงามของภาษาเพื่อใช้ใน การสอื่ สารได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ สอบปลายปี รวมตลอดท้ังปี

42 คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ าพน้ื ฐาน ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย จานวน 5.0 หน่วยกติ ท 13101 ภาษาไทย เวลาเรียน 200 ชว่ั โมง (5 ช่ัวโมง/สปั ดาห์) ศึกษาความหมายของคํา คําคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ คําพ้ืนฐาน ไม่น้อยกว่า 1,200 คํา รวมท้ังคําที่เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น คําท่ีมีตัวการันต์ คําท่ีมี รร คําท่ีมีพยัญชนะหรือสระไม่ออก เสียง คําพ้อง คําพเิ ศษอ่ืนๆ เชน่ คําที่ใช้ ฑ ฤ ฤา การอ่านจับใจความ จากสื่อต่างๆ นิทาน หรือเรื่องที่เก่ียวกับ ท้องถิ่น เรื่องเล่าสั้นๆ บทเพลงและบทร้อยกรอง บทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ข่าว และเหตุการณ์ใน ชีวติ ประจําวัน ในทอ้ งถน่ิ และชุมชน การอ่านหนงั สือตามความสนใจ หนงั สือท่ีนักเรียนสนใจ และเหมาะสมกับ วัย หนังสือท่ีนักเรียนและครูกําหนดร่วมกัน การอ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคําส่ังหรือข้อแนะนํา คําแนะนําต่างๆในชีวิตประจําวัน ประกาศ โฆษณา และคําขวัญ การอ่านข้อมูลจากแผนภาพแผนท่ี และ แผนภูมิ มารยาทในการอ่าน ไม่อ่านเสียงดังรบกวนผู้อ่ืน ไม่เล่นกันขณะท่ีอ่าน ไม่ทําลายหนังสือ ไม่ควรแย่ง อา่ น หรอื ชะโงกหนา้ ไปอา่ นขณะทผ่ี อู้ ืน่ กําลงั อา่ น ฝึกคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การคัดลายมือตัวบรรจง เตม็ บรรทดั ตามรปู แบบ การเขียนตวั อกั ษรไทย การเขียนบันทึกประจําวัน การเขียนบรรยาย เก่ียวกับลักษณะ ของคนสัตว์ ส่ิงของ สถานที่ การเขียนจดหมายลาครู การเขียนเร่ืองตามจินตนาการจากคํา ภาพและหัวข้อท่ี กําหนด มารยาทในการเขียน เขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไม่ขีดฆ่า ไม่ขีดเขียนในที่สาธารณะ ใช้ภาพเขียน เหมาะสมกับเวลา สถานท่ี และบุคคล ไมเ่ ขยี นล้อเลียนผูอ้ ื่นใหเ้ สียหาย ฝกึ การฟง๎ การจบั ใจความและพูดแสดงความคิดเห็น และความรู้สึก จากเรื่องท่ีฟ๎งและดูท้ังที่เป็นความรู้ และความบันเทิง เร่ืองเล่าและสารคดีสําหรับเด็ก นิทาน การ์ตูน เรื่องขบขัน รายการสําหรับเด็ก ข่าว และเหตุการณ์ในชีวิตประจําวัน เพลง การพูดส่ือสารในชีวิตประจําวัน การแนะนําตัวเอง การแนะนํา สถานทโ่ี รงเรยี นและในชมุ ชน การแนะนํา เชิญชวนเก่ียวกับการปฏิบัติตนในด้านต่างๆ การรักษาความสะอาด ของร่างกาย การเล่าประสบการณ์ ในชีวิตประจําวัน การพูดในโอกาสต่างๆ การพูดขอร้อง การพูดทักทาย การกล่าวขอบคุณและขอโทษ การพูดปฏิเสธ และการพูดซักถาม มารยาทในการฟ๎ง ต้ังใจฟ๎ง มองตาผู้พูด ไม่รบกวนผู้อ่ืนขณะที่ฟ๎ง ไม่ควรนําอาหารหรือเคร่ืองดื่ม ไปรับประทานในขณะที่ฟ๎ง ไม่แสดงกิริยาที่ไม่ เหมาะสม ไมโ่ ห่ ฮา หรือหาว ให้เกยี รติผูพ้ ูดด้วยการปรบมือ ไม่พูดสอดแทรกขณะท่ีฟ๎ง มารยาทในการดู ต้ังใจ ดู ไม่ส่งเสียงดัง หรือแสดงอาการ รบกวนสมาธิของผู้อ่ืน มารยาทในการพูด ใช้ถ้อยคําและกิริยาท่ีสุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ ใช้น้ําเสียวนุ่มนวล ไม่พูดสอดแทรกในขณะที่ผู้อ่ืนกําลังพูดล้อเลียนให้ผู้อ่ืนได้รับความ อบั อายหรอื เสยี หาย ฝึกทักษะการสะกดคํา การแจกลูก และการอ่านเป็นคํา มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา และไม่ตรง ตามมาตรา การผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ํา คําท่ีมีพยัญชนะควบกล้ํา คําท่ีประวิสรรชนีย์ และคําที่ ไม่ประวิสรรชนีย์ และคําที่มี ฤ ฤา คําที่ใช้ บัน บรร คําท่ีใช้ ร หัน คําท่ีมีตัวการันต์ ความหมายของคํา ชนิดของคํา คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา การใช้พจนานุกรม การแต่งประโยคเพ่ือการสื่อสาร ประโยคบอก เล่าประโยคปฏิเสธ ประโยคคําถาม ประโยคขอร้อง ประโยคคําสั่ง คําคล้องจอง คําขวัญ ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถ่นิ ฝึกอ่านวรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก วรรณกรรม และวรรณคดีในบทเรียน และตามความสนใจ บทอาขยานและบทร้อยกรอง ที่มีคุณค่า บทอาขยานตามท่ีกําหนด บทร้อยกรองตาม ความสนใจ

43 โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษาไทย พัฒนาทักษะการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ อภิปราย เปรียบเทยี บ เพอื่ ให้ความรู้ และทกั ษะในการใชภ้ าษาเพื่อการสื่อสาร มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีมารยาท มีนิสัยรักการ อ่าน ชื่นชม และเห็นคณุ ค่าของภาษา ซึง่ เป็นภมู ิป๎ญญาไทยที่เป็นเอกลกั ษณ์ และวฒั นธรรมประจาํ ชาติ รหสั ตัวช้ีวดั ท 1.1ป.3/1,ป.3/2,ป.3/3,ป.3/4,ป.3/5,ป.3/6,ป.3/7,ป.3/8,ป.3/9 ท 2.2ป.3/1,ป.3/2,ป.3/3,ป.3/4,ป.3/5,ป.3/6 ท 3.1ป.3/1,ป.3/2,ป.3/3,ป.3/4,ป.3/5,ป.3/6 ท 4.1ป.3/1,ป.3/2,ป.3/3,ป.3/4,ป.3/5,ป.3/6 ท 5.1ป.3/1,ป.3/2,ป.3/3,ป.3/4 รวมทั้งหมด 31 ตัวช้ีวดั

44 โครงสร้างรายวิชา รหสั วิชา ท 13101 รายวิชา ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย จานวน 5.0 หนว่ ยกติ ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 เวลา 200 ช่วั โมง/ปี สัดส่วนคะแนน ระหวา่ งภาค : ปลายภาค = 70 : 30 ที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั การเรยี นรู้ เรียนรู้/ตวั ชวี้ ัด (ชัว่ โมง) คะแนน (100) 1 กระต่ายไมต่ นื่ ท 1.1 - การอา่ นออกเสยี งและการบอก 35 ตมู ป. 3/1 ความหมายของคาํ คาํ คล้องจอง 15 ป. 3/2 ขอ้ ความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ป. 3/5 ทป่ี ระกอบดว้ ยคาํ พ้ืนฐาน รวมทั้งคํา ป. 3/9 ที่เรียนรใู้ นกลุม่ สาระการเรียนรอู้ ืน่ ท 2.1 ประกอบดว้ ย ป. 3/1 - คาํ ทม่ี ีพยัญชนะอกั ษรกลาง อักษร ท 3.1 สงู อกั ษรตา่ํ ป. 3/3 - คําท่ีมีพยัญชนะ ฑ ท 4.1 - คาํ ทม่ี ีสระเด่ียว สระผสม สระ ป. 3/1 เปล่ียนรปู ท 5.1 - คาํ ทม่ี ตี วั สะกดที่ตรงและไม่ตรง ป. 3/1 มาตรา - สรปุ ความร้แู ละข้อคิดจากเรื่องท่ี อ่านเพ่ือนําไปใชใ้ นชวี ิตประจําวนั - มารยาทในการอ่าน เชน่ ไม่อ่าน เสยี งดังรบกวนผูอ้ ่ืน ไม่เล่นกัน ขณะทอี่ ่าน ไมท่ ําลายหนังสือ - การคัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั ตามรปู แบบการเขยี น อักษรไทย - การตั้งคําถามและตอบคําถาม เกีย่ วกบั เรื่องทฟี่ ๎งและดู เช่น เร่ือง เล่า สารคดสี ําหรับเด็กนิทาน การ์ตนู เรื่องขบขัน ข่าวและ เหตุการณ์ประจําวัน - การสะกดคํา การแจกลูกและการ อา่ นเป็นคาํ - การผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรตาํ่

45 ท่ี ชือ่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก การเรยี นรู้ เรียนรู้/ตัวช้วี ัด (ชว่ั โมง) คะแนน (100) 2 แมไ่ กอ่ ย่ใู น ท 1.1 - คาํ ท่ีมีพยัญชนะ ฑ 35 ตะกร้า ป. 3/1 - สระเดย่ี ว สระผสม สระเปล่ยี น 15 ป. 3/2 รปู ป. 3/3 - มาตราตัวสะกด ป. 3/9 - ความหมายของคาํ - ระบุขอ้ คดิ ที่ได้จากการอ่าน วรรณกรรมเพ่ือนําไปใชใ้ ชีวิตประ จาํ วนั - การอ่านออกเสยี งและการบอก ความหมายของคํา คาํ คล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ท่ีประกอบด้วยคําพื้นฐาน รวมท้ังคํา ท่ีเรียนรู้ในกลุม่ สาระการเรยี นรูอ้ ื่น ประกอบด้วย - คาํ ทม่ี เี สยี งวรรณยุกต์ไมต่ รงกับรปู - คําทีป่ ระวิสรรชนยี ์ และคาํ ทีไ่ ม่ ประวสิ รรชนยี ์ - คาํ ทม่ี พี ยัญชนะควบกล้าํ - คาํ อักษรนาํ - ต้ังคาํ ถามและตอบคําถามเชิง เหตุผลเกยี่ วกบั เร่ืองทอี่ ่าน - มารยาทในการอ่าน เชน่ ไม่อา่ น เสยี งดงั รบกวนผ้อู ่ืน ไม่เลน่ กัน ขณะท่อี า่ น - เขียนบรรยายเกีย่ วกับสง่ิ ใดสง่ิ หนง่ึ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน - เขียนเรื่องตามจนิ ตนาการ - มมี ารยาทในการเขยี น เช่น เขยี น ดว้ ยลายมือบรรจง เปน็ ระเบียบ เขยี นสะกดคําถูกต้อง ไมข่ ูด ขีด หรือฆ่าทิ้ง ใชถ้ ้อยคาํ สภุ าพ - พดู แสดงความคดิ เหน็ และ ความรสู้ กึ จากเรื่องที่ฟง๎ และดู - มีมารยาทในการฟง๎ การดู และ การพดู - คําท่ีมเี สยี งวรรณยกุ ต์ไมต่ รงกบั รปู

46 ท่ี ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก การเรยี นรู้ เรยี นรู้/ตัวชี้วัด (ชัว่ โมง) คะแนน (100) 3 เดก็ เอ๋ยเด็ก ท 1.1 - คําที่ประวิสรรชนีย์ และคําท่ีไม่ 30 น้อย ป. 3/1 ประวสิ รรชนยี ์ 10 ป. 3/2 - คําท่ีมีพยัญชนะควบกลา้ํ ป. 3/6 - คาํ อักษรนาํ ป. 3/9 - คําคล้องจอง - กลอนส่ี - คาํ ขวญั - ความหมายของคาํ - ระบขุ ้อคิดที่ได้จากการอ่าน วรรณกรรมเพ่ือนําไปใชใ้ นชวี ติ ประจําวนั - การอ่านออกเสยี งและการบอก ความหมายของคํา คําคล้องจอง ขอ้ ความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ท่ปี ระกอบด้วยคําพนื้ ฐาน รวมท้ังคาํ ทเ่ี รยี นรใู้ นกลุ่มสาระการเรียนรอู้ ื่น ประกอบด้วย คาํ ทีม่ ี ฤ ฤๅ คําทีใ่ ช้ บัน บรร คาํ ทใี่ ช้ รร (ร หัน) คําท่มี ีพยญั ชนะที่ไม่ออกเสียง คํา พ้อง - อา่ นหนงั สอื ตามความสนใจอยา่ ง สม่ําเสมอและนําเสนอเรื่องที่อา่ น - มารยาทในการอา่ น เช่น ไม่อ่าน เสียงดงั รบกวนผอู้ น่ื ไม่เลน่ กัน ขณะทอี่ ่าน ไม่ทําลายหนังสอื - คดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบการเขียนอกั ษรไทย - เขียนจดหมายลาครู - มีมารยาทในการเขยี น เช่น เขียน ด้วยลายมอื บรรจง เปน็ ระเบียบ เขียนสะกดคาํ ถูกต้อง - บอกสาระสาํ คญั จากการฟ๎งและ การดู - มีมารยาทในการฟง๎ การดู และ การพดู