Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บันทึกหลังแผน หน่วยที่1

บันทึกหลังแผน หน่วยที่1

Published by khaimook spp, 2022-08-08 14:16:07

Description: บันทึกหลังแผน หน่วยที่1

Search

Read the Text Version

สมรรถนะสาคัญ ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดสังเคราะห์ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (จิตวทิ ยาศาสตร)์ ความใฝ่เรียนรู้และมีความอยากรู้อยากเห็น นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจความต้องการที่จะรู้และ เสาะแสวงหาความรเู้ กย่ี วกับส่ิงตา่ งๆ ทสี นใจหรอื ต้องการค้นพบส่ิงใหม่ แสดงออกไดโ้ ดยการถามคาถาม หรือมี ความสงสัยในสิ่งที่สนใจอยากรู้ มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่สนใจ เพียรพยายามในการเรียนและการทากิจกรรมต่างๆ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ อยู่เสมอ โดยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้ ช้นิ งาน/ภาระงาน ใบงานที่ 1.12 การผลิตไฟฟ้ากระแสสลับ กจิ กรรมการเรียนรู้ วิธีสอนใชร้ ปู แบบวงจรการเรยี นรู้ 5 ขน้ั ตอน (5E Learning Cycle model) ข้นั ท่ี 1 ขนั้ สรา้ งความสนใจ ( 5 นาที ) 1. ครูทบทวนบทเรียนที่ผ่านมาเกี่ยวกับการทาใหเ้ กิดกระแสไฟฟ้าในขดลวด โดยตั้งคาถามให้นักเรียน ตอบ ดังนี้ - มวี ธิ ีการใดบา้ งท่ีทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าในขดลวดได้ (แนวคาตอบ ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ โดยไม่คาดหวังคาตอบที่ ถูกต้อง) 2. ครูตั้งคาถามเพื่อนาเขา้ สกู่ ารทากจิ กรรม เรอ่ื ง การผลิตไฟฟา้ กระแสสลับ ดังน้ี - การทาให้เกิดไฟฟ้ากระแสสลับโดยการหมนุ แม่เหลก็ เพ่ือทาใหฟ้ ลักซแ์ มเ่ หล็กทต่ี ดั ผา่ นขดลวดมี การเปลย่ี นแปลงได้หรือไม่ (แนวคาตอบ ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ โดยไม่คาดหวังคาตอบท่ี ถูกต้อง)

ขนั้ ที่ 2 ข้ันสารวจและค้นหา ( 25 นาที ) 3. ครูชี้แจงจุดประสงค์และวิธีการปฏิบัติกิจกรรมให้นักเรียนทราบ ตามรายละเอียดในใบงานที่ 1.12 การผลิตไฟฟา้ กระแสสลบั 4. ใหน้ ักเรียนแต่ละคนคานวณคา่ การผลติ ไฟฟ้ากระแสสลบั จากโจทย์ทก่ี าหนดให้ 5. นกั เรยี นลงมือปฏบิ ัตกิ ิจกรรม และรายงานผล ขนั้ ที่ 3 ขั้นสรา้ งคาอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ ( 15 นาที ) 6. นักเรียนแต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนออกมานาเสนอผลการปฏิบตั ิกจิ กรรมหน้าชนั้ 7. ครใู หน้ ักเรยี นรว่ มกันอภิปรายเพ่ือนาไปส่กู ารสรุป โดยใช้คาถามตอ่ ไปนี้ - การผลิตไฟฟ้ากระแสสลับโดยเครื่องกาเนิดไฟฟ้านั้นเป็นการเปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงาน อะไร (แนวคาตอบ เปล่ยี นพลงั งานกลเปน็ พลงั งานไฟฟ้า) - การผลิตไฟฟ้ากระแสสลับโดยเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ทาไดอ้ ยา่ งไร (แนวคาตอบ ค่าการทาให้ฟลักซ์แม่เหล็กที่ตัดผ่านขดลวดมีการเปลี่ยนแปลง เพื่อทาให้เกิด ไฟฟ้ากระแสสลับสามารถทาได้ทั้งการหมุนขดลวดตัดผ่านฟลักซ์แม่เหล็ก และการหมุนแท่งแม่เหล็กเพื่อทา ให้ฟลักซแ์ มเ่ หลก็ ตัดผา่ นขดลวด) - การผลิตไฟฟ้ากระแสสลับด้วยเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่มีขดลวด 1 ชุด ไฟฟ้ากระแสสลับที่ผลิตได้ จะถูกส่งจากเครือ่ งกาเนิดดว้ ยสายสง่ 2 เส้น เรยี กระบบไฟฟา้ นวี้ า่ อะไร (แนวคาตอบ ระบบไฟฟา้ กระแสสลับ 1 เฟส) - จากข้างต้นแต่โรงไฟฟ้าจะใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่มีขดลวด 3 ชุด ในการหมุนแม่เหล็กแต่ละ รอบทาให้สามารถผลติ ไฟฟา้ กระแสสลับออกมาทง้ั 3 ชุด เรยี กระบบไฟฟา้ นีว้ ่าอะไร (แนวคาตอบ ระบบไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส) - เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับที่ใช้งานตามโรงไฟฟ้าจะเป็นเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากี่เฟส และมี ขดลวดตัวนาอย่กู ่ีชดุ (แนวคาตอบ 3 เฟส มขี ดลวดตวั นาอยู่ 3 ชุด) - จากกราฟความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้าของตัวต้านทานกับเวลาข้างต้น อยากทราบว่าความ ต่างศกั ย์ และกระแสไฟฟ้าของไฟฟ้ากระแสสลับเปล่ยี นแปลงอย่างไร (แนวคาตอบ เปลี่ยนแปลงตามเวลาในรูปของฟังก์ชันแบบไซน์โดยความต่างศักย์และ กระแสไฟฟ้าของไฟฟ้ากระแสสลับที่ตวั ต้านทานมคี ่ามากทีส่ ุดพร้อมกัน และเป็นศูนย์พร้อมกัน กล่าวคือมีเฟส ตรงกัน) - ในการผลิตไฟฟา้ กระแสสลับจากเคร่อื งกาเนิดไฟฟา้ 3 เฟส ประกอบดว้ ยสายไฟฟ้ากเ่ี สน้ (แนวคาตอบ ประกอบดว้ ยสายไฟฟา้ 4 เสน้ )

- จงบอกข้อดขี องการผลติ และการสง่ ไฟฟา้ 3 เฟส (แนวคาตอบ การผลิตไฟฟ้าด้วยเครื่องกาเนิดไฟฟ้า 3 เฟส ให้พลังงานไฟฟ้ามากกว่าเครื่อง กาเนดิ ไฟฟา้ 1 เฟส เมอ่ื ใชพ้ ลงั งานในการผลิตเทา่ กนั และการส่งกาลังไฟฟา้ ) - ถ้าต้องการให้สูญเสียกาลังไฟฟ้าในสายไฟฟ้าน้อย จะต้องให้กระแสไฟฟ้าที่ผ่านสายไฟฟ้ามีค่า อยา่ งไร (แนวคาตอบ ถ้าต้องการให้สูญเสียกาลังไฟฟ้าในสายไฟฟ้าน้อย จะต้องให้กระแสไฟฟ้าที่ผ่าน สายไฟฟา้ มคี า่ น้อยๆ) - การส่งกาลังไฟฟ้าปริมาณมากจากโรงไฟฟ้าผ่านสายไฟฟ้าเป็นระยะทางไกลให้มีการสูญเสีย กาลังไฟฟ้าในสายไฟฟ้าอยา่ งไร จะต้องส่งกาลงั ไฟฟ้าด้วยกระแสไฟฟ้าน้อย จึงตอ้ งใชค้ วามตา่ งศักย์สูง (แนวคาตอบ การสูญเสียกาลังไฟฟ้าในสายไฟฟ้าน้อย จะต้องส่งกาลังไฟฟ้าด้วยกระแสไฟฟ้า นอ้ ย จึงต้องใชค้ วามต่างศักย์สงู ) 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ เรื่อง การผลิตไฟฟ้ากระแสสลับ ดังน้ี ขณะที่มีการส่ง กาลังไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าไปยังผู้ใช้ จะเกิดการสูญเสียกาลังไฟฟ้าในสายส่งไฟฟ้า ตามสมการ ������������������������������ = ������2������ กระแสไฟฟา้ ท่ผี า่ นสายไฟฟ้าหาไดส้ มการ ������ = ������������ เม่ือตอ้ งการส่งกาลงั ไฟฟ้าปรมิ าณหนึ่งเป็นระยะทางไกล เพื่อลดการสญู เสียกาลังไฟฟ้าในสายส่งไฟฟ้า ใหก้ ารสญู เสยี น้อยท่สี ุด ทาไดโ้ ดยการลดปริมาณกระแสไฟฟ้าใน สายส่งโดยใช้ความต่างศักย์สูงในการส่งกาลังไฟฟ้าตามความสัมพันธ์ของสมการ ������ = ������������ สาหรับ กาลังไฟฟ้าที่ค่าคงที่ค่าหนึ่ง ถ้าใช้ความต่างศักย์สงู ในการส่งกาลังไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจะมีค่าน้อย นั่นคือ หาก ตอ้ งการใหก้ าลังไฟฟ้าเทา่ เดมิ เม่อื มกี ารเพม่ิ คา่ ความตา่ งศกั ย์ กระแสไฟฟา้ จะนอ้ ยลง ขนั้ ท่ี 4 ข้นั ขยายความรู้ ( 10 นาที ) 9. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ การผลิตไฟฟ้ากระแสสลับ ดังนี้ ส านักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ได้กาหนดสีของสายไฟฟ้าที่มีตัวนาเป็นทองแดงและหุ้มฉนวนพอลิไวนิลคลอ ไรด์ (polyvinylchloride : PVC) ในระบบไฟฟ้าแรงตา่ (ไมเ่ กนิ 1000 โวลต์) ของระบบไฟฟา้ 3 เฟส ดังน้ี สายนิวทรลั สายดนิ สายไฟฟ้าของ สายไฟฟ้าของ สายไฟฟา้ ของ ขดลวดชุดที่ 1 ขดลวดชดุ ที่ 2 ขดลวดชุดที่ 3

ข้ันที่ 5 ประเมนิ ผล ( 5 นาที ) 10. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรม วัสดุ/อุปกรณ์ ส่ือและแหล่งเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียนฟิสิกส์ ม.6 เลม่ 1 สังกดั อจท. 2. หนังสือเรยี นฟิสกิ ส์ ม.6 เลม่ 5 สงั กดั สสวท. 3. หอ้ งเรียน 4. หอ้ งสมุด 5. แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ 6. ใบงานที่ 1.12 การผลติ ไฟฟา้ กระแสสลบั การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วธิ วี ดั เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน 1.นักเรียนอธิบายหลักการ ตรวจใบงาน ใบงานที่ 1. 12 การ ได้ระดับคุณภาพดี ทางานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ผลิตไฟฟ้ากระแสสลบั จึงผ่านเกณฑ์ กระแสสลับ 3 เฟส และการส่ง ไฟฟ้ากระแสสลับไปตาม บ้านเรอื นได้ (K) 2. นักเรียนค านวณหา ค่า สังเกตและประเมินการ แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี พลังงานที่สูญเสียไปในสาย ปฏิบตั กิ จิ กรรม ปฏิบัติกิจกรรมการ จงึ ผ่านเกณฑ์ ไฟฟ้า เมื่อส่งด้วยความตา่ งศักย์ คานวณ ได้ (P) 3. มีความอยากรอู้ ยากเห็น (A) สังเกตและประเมินการ แบบประเมินการความ ได้ระดับคุณภาพดี ความอยากรอู้ ยากเหน็ อยากรู้อยากเห็น จงึ ผ่านเกณฑ์ 4. คุณลักษณะด้านความใฝ่ สงั เกตพฤติกรรม แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ - ได้ระดับคุณภาพดี เรียนรู้ ลักษณะอันพึงประสงค์ จงึ ผ่านเกณฑ์ ดา้ นใฝ่เรยี นรู้

ความคิดเหน็ ของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชือ่ ................................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา (…………………….………….……….………………………….) ........./........................./.........

บนั ทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ผลการจัดกิจกรรม ตารางท่ี 1 ผลการประเมินดา้ นความรู้ (K) ลาดับท่ี ระดับชั้น จานวน ดีมาก (4) สรปุ ผลการประเมนิ ปรบั ปรงุ (1) รวม นกั เรยี น 90% ดี (3) พอใช้ (2) - 1 ม.6/1 80% 10% - - 100% 2 ม.6/3 30 85% 20% - - 100% 3 ม.6/4 32 80% 15% - - 100% 4 ม.6/5 27 รวม 20% - 100% 29 100 ตารางที่ 2 ผลการประเมนิ ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P) ลาดับท่ี ระดับชั้น จานวน สรุปผลการประเมิน พอใช้ (1 – 4) รวม นักเรียน ดีมาก (9 – 12) ดี (5 – 8) - 1 ม.6/1 - 100% 2 ม.6/3 30 100% - - 100% 3 ม.6/4 32 90% 10% - 100% 4 ม.6/5 27 80% 20% 100% 29 80% 20% 100 รวม

บนั ทกึ หลังการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการจดั กจิ กรรม ตารางท่ี 3 ผลการประเมนิ ดา้ นเจตคติ (A) ลาดับท่ี ระดับชนั้ จานวน ดีมาก (3) สรุปผลการประเมิน พอใช้ (1) รวม นกั เรียน 100% ดี (2) - 1 ม.6/1 90% - - 100% 2 ม.6/3 30 90% 10% - 100% 3 ม.6/4 32 90% 10% - 100% 4 ม.6/5 27 รวม 10% 100% 29 100 ตารางที่ 4 ผลการประเมนิ ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ลาดบั ท่ี ระดับช้ัน จานวน ดีมาก (3) สรุปผลการประเมนิ ไมผ่ า่ น (0) รวม นักเรยี น 100% ดี (2) ผา่ น (1) - 1 ม.6/1 100% - 100% 2 ม.6/3 30 100% -- - 100% 3 ม.6/4 32 100% -- - 100% 4 ม.6/5 27 -- 100% 29 รวม -- 100

บันทึกหลังการสอน ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6/1 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น รอ้ ยละ 10 ด้านทกั ษะ นกั เรยี นทกุ คนมที กั ษะในระดับดมี าก คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ด้านเจตคติ นักเรยี นทุกคนมีเจตคตทิ ีด่ มี าก คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ด้านสมรรถนะ นกั เรียนมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์และสังเคราะหไ์ ด้ ดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ นักเรยี นทกุ คนมีความใฝ่เรียนรทู้ ดี่ มี าก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงช่ือ..........................................................ผ้สู อน ( นางสาวไข่มกุ สุพร )

บันทกึ หลงั การสอน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/3 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น รอ้ ยละ 20 ดา้ นทักษะ นกั เรียนส่วนใหญ่มที กั ษะในระดบั ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และมีบางสว่ นมีทกั ษะในระดับดี 10 ดา้ นเจตคติ นกั เรียนส่วนใหญม่ เี จตคตทิ ี่ดมี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 90 และมบี างสว่ นมเี จตคตทิ ดี่ ี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10 ด้านสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคดิ วิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์ได้ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ นักเรยี นทุกคนมีความใฝ่เรยี นรู้ที่ดมี าก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงช่ือ..........................................................ผสู้ อน ( นางสาวไข่มุก สุพร )

บันทกึ หลงั การสอน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/4 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 85 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น รอ้ ยละ 15 ดา้ นทักษะ นกั เรียนส่วนใหญ่มที กั ษะในระดบั ดีมาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 80 และมบี างส่วนมที ักษะในระดับดี 20 ดา้ นเจตคติ นกั เรียนส่วนใหญม่ เี จตคตทิ ี่ดมี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 90 และมบี างสว่ นมีเจตคติท่ีดี คดิ เปน็ ร้อยละ 10 ด้านสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคดิ วิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์ได้ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ นักเรยี นทุกคนมีความใฝ่เรยี นรู้ที่ดมี าก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงช่อื ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไขม่ ุก สุพร )

บันทกึ หลงั การสอน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/5 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น รอ้ ยละ 20 ดา้ นทักษะ นกั เรียนส่วนใหญ่มที กั ษะในระดบั ดีมาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 80 และมบี างส่วนมที ักษะในระดบั ดี 20 ดา้ นเจตคติ นกั เรียนส่วนใหญม่ เี จตคตทิ ี่ดมี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 90 และมบี างสว่ นมีเจตคติท่ีดี คดิ เปน็ ร้อยละ 10 ด้านสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคดิ วิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์ได้ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ นักเรยี นทุกคนมีความใฝ่เรยี นรู้ที่ดมี าก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงช่อื ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไขม่ ุก สุพร )

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 13 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวชิ า ว30205 รายวชิ า ฟิสกิ ส์ 5 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ แม่เหลก็ และไฟฟา้ เร่อื ง หลกั การทางานของหมอ้ แปลง วนั ท…่ี …….เดอื น……………พ.ศ……………… เวลา……………………น. จานวน 2 ช่วั โมง ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ผูส้ อน นางสาวไขม่ ุก สพุ ร สาระฟิสกิ ส์ 3. เข้าใจแรงไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ความจุไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ และกฎของ โอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงาน ไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าและกฎ ของฟาราเดย์ ไฟฟ้ากระแสสลับ คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ และการสือ่ สาร รวมทง้ั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ อธิบายหลักการทางานและประโยชน์ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส การแปลงอีเอ็มเอฟ ของหมอ้ แปลง และคานวณปริมาณต่างๆ ท่เี กยี่ วขอ้ ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. นกั เรยี นอธิบายหลักการทางานของหม้อแปลงได้ (K) 2. นักเรียนคานวณหาปริมาณตา่ งๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งได้ (P) 3. ความใฝเ่ รยี นรูแ้ ละอยากร้อู ยากเห็น (A) สาระการเรียนรู้ หมอ้ แปลงประกอบด้วยขดลวด 2 ชดุ พนั อยู่บนแกนเหล็กเดยี วกนั โดยขดลวดทีใ่ ช้ต่อกับแหล่งกาเนิด ไฟฟ้าเรยี กวา่ ขดลวดปฐมภมู แิ ละขดลวดท่ใี ช้ตอ่ กบั เคร่อื งใช้ไฟฟ้า เรียกว่าขดลวดทุติยภูมิ เมื่อต่อขดลวด ปฐมภูมิกับไฟฟ้ากระแสสลับเกิดอีเอ็มเอฟเหนีย่ วนา ������1 ในขดลวดปฐมภูมิ จะเกิดอีเอ็มเอฟเหน่ียวนา ������2 ใน ขดลวดทุตยิ ภมู ิ ซ่ึงสัมพันธก์ ับจานวนรอบของขดลวดปฐมภูมิ ������1 และทตุ ิยภูมิ ������2ตามสมการ ������2 = ������2 ������1 ������1 หาก ������2 > ������1 จะได้ ������2 > ������1 เรียกหม้อแปลงขน้ึ และถา้ ������2 < ������1จะได้ ������2 < ������1 เรยี กหมอ้ แปลงลง

สาระสาคญั หมอ้ แปลง อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้เปลี่ยนความต่างศักย์หรืออีเอ็มเอฟของไฟฟ้ากระแสสลับ คือ หม้อแปลง (Transformer) โดยมีทั้งแบบที่เปลี่ยนให้ความต่างศักย์สูงขึ้น และแบบที่เปลี่ยนความต่างศักย์ให้ต่าลง เพื่อให้เหมาะสมกับการนาไปใช้งานดังรูป หม้อแปลงประกอบด้วยขดลวดท่ีมฉี นวนหุ้มพันบนแกนเหล็ก 2 ขด และเขียนสญั ลกั ษณ์แทนหม้อแปลงได้ รปู หมอ้ แปลง ขดลวดที่ต่อกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า เรียกว่า ขดลวดปฐมภูมิ (primary winding) ขดลวดที่ต่ออยู่กับ อุปกรณ์ท่ใี ช้ไฟฟ้า เรียกวา่ ขดลวดทตุ ิยภมู ิ (secondary winding) รปู การจัดอปุ กรณ์ทดสอบ ต่อแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับเข้ากับขดลวด 100 รอบ และนาหลอดไฟต่อกับขดลวด 200 รอบ เปิดสวิตซ์ให้แหล่งกาเนิดไฟฟ้าทางาน พบว่าหลอดไฟสว่าง แต่เมื่อสลับด้าน โดยต่อแหล่งกาเนิดไฟฟ้า กระแสสลับเข้ากับขดลวด 200 รอบ และนาหลอดไฟต่อกับขดลวด 100 รอบ เม่ือเปิดสวิตซ์ให้แหล่งกาเนิด ไฟฟ้าทางาน พบว่าหลอดไฟสว่าง แต่จะมีความสว่างน้อยกว่ากรณีก่อนหน้าจากสถานการณ์ดังกล่าว พบว่า เมื่อต่อแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับเข้ากับขดลวดปฐมภูมิจะเห็นว่าหลอดไฟที่ต่ออยู่กับขดลวดทุติยภูมิจะ สว่างทั้งสองครั้ง แต่เมื่อหลอดไฟต่ออยู่กับขดลวด 200 รอบ จะมีความสว่างมากกว่า ตอนที่ต่ออยู่กับขดลวด 100 รอบ ความสว่างของหลอดไฟขนึ้ อยู่กับความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้าจากขดลวดทุติยภูมิท่ีผ่านหลอดไฟ ซึง่ มคี วามสัมพันธก์ ับจานวนรอบของขดลวดปฐมภมู แิ ละขดลวดทุตยิ ภูมิอยา่ งไร ศึกษาได้ดงั น้ี เนื่องจากขดลวดปฐมภูมแิ ละขดลวดทตุ ิยภูมมิ ีแกนเหล็กรว่ มกนั ทาใหฟ้ ลักซ์แมเ่ หล็กท่ีผ่านขดลวดท้ัง สอง มีอัตราการเปลี่ยนแปลงฟลักซ์แม่เหล็ก (∆������ ) เท่ากัน เมื่อกระแสไฟฟ้าจากแหล่งกาเนิดไฟฟ้ามีการ เปลี่ยนแปลง จะทาให้เกิดฟลักซ์แม่เหล็กเปลี่ยนแปลงในขดลวดทั้งสอง เกิดอีเอ็มเอฟ ������1 ที่ขดลวดปฐมภูมิ และอีเอม็ เอฟ ������2 ทข่ี ดลวดทตุ ยิ ภูมิ ซ่ึงเกยี่ วขอ้ งกบั จานวนรอบของขดลวดดงั น้ี ถ้าขดลวดปฐมภูมิมจี านวน ������1 รอบ และขดลวดทุติยภมู ีจานวน ������2 รอบ อีเอ็มเอฟทส่ี ัมพันธ์กับการ เปลี่ยนแปลงฟลักซ์แม่เหล็กในขดลวดทั้งสองตามกฎการเหนี่ยวนาของฟาราเดย์ เป็นดังสมการที่ขดลวดปฐม

ภูมิ ������1 = ������1 |∆∅| ที่ขดลวดทุติยภูมิ ������2 = ������2 |∆∅| จากสมการทั้งสอง จะได้ว่า ������2 = ������2 ถ้าจานวน ∆������ ∆������ ������1 ������1 รอบ ������2 > ������1 จะทาใหอ้ ีเอ็มเอฟหรือความต่างศักย์ทางด้านขดลวดทตุ ิยภูมิมากกว่าทางดา้ นขดลวดปฐมภูมิ เรียกหม้อแปลงลักษณะน้ี หม้อแปลงขึ้น (Step-up transformer) ลักษณะตรงข้ามกันนี้ ถ้า ������2 < ������1 จะได้อีเอ็มเอฟหรือความต่างศักย์ทางด้านขดลวดทุติยภูมิน้อย กวา่ ทางด้านขดลวดปฐมภูมิ เรยี กหม้อแปลงนว้ี ่า หมอ้ แปลงลง (Step-down transformer) สมรรถนะสาคัญ ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคดิ สงั เคราะห์ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (จติ วิทยาศาสตร์) ความใฝ่เรียนรู้และมีความอยากรู้อยากเห็น นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจความต้องการทีจ่ ะรู้และ เสาะแสวงหาความร้เู กีย่ วกับสิ่งตา่ งๆ ทสี นใจหรือตอ้ งการค้นพบสิง่ ใหม่ แสดงออกได้โดยการถามคาถาม หรือมี ความสงสัยในสิ่งที่สนใจอยากรู้ มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่สนใจ เพียร พยายามในการเรียนและการทากจิ กรรมต่างๆ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ อยูเ่ สมอ โดยการเลือกใช้ สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และ นาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ ช้ินงาน/ภาระงาน ใบงานที่ 1.13 หลกั การทางานของหม้อแปลง กิจกรรมการเรยี นรู้ วธิ สี อนใช้รูปแบบวงจรการเรยี นรู้ 5 ขน้ั ตอน (5E Learning Cycle model) ขน้ั ท่ี 1 ขน้ั สร้างความสนใจ ( 15 นาที ) 1. ครูทบทวนบทเรียนทผี่ ่านมา เรื่อง การผลิตไฟฟ้ากระแสสลับ และสมการท่เี กยี่ วข้อง 2. ครตู ้งั คาถามเพ่ือนาเข้าสูก่ ารทากจิ กรรม เร่อื ง หมอ้ แปลง ดังน้ี - หากนาขดลวดปฐมภมู ิของหม้อแปลงต่อเข้ากบั แหลง่ กาเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลบั หลอดไฟฟ้าที่ต่อ อยูก่ ับขดลวดทตุ ยิ ภูมิจะมีการเปล่ียนแปลงอย่างไร (แนวคาตอบ ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ โดยไม่คาดหวังคาตอบที่ ถกู ต้อง)

ข้นั ที่ 2 ขั้นสารวจและคน้ หา ( 45 นาที ) 3. ครูชี้แจงจุดประสงค์และวิธีการปฏิบัติกิจกรรมให้นักเรียนทราบ ตามรายละเอียดในใบงานที่ 1.13 หลักการทางานของหมอ้ แปลง 4. ให้นกั เรยี นแตล่ ะคนคานวณคา่ การผลติ ไฟฟ้ากระแสสลบั จากโจทย์ทก่ี าหนดให้ 5. นกั เรียนลงมอื ปฏิบัติกิจกรรม และรายงานผล ขัน้ ท่ี 3 ขน้ั สรา้ งคาอธิบายและลงข้อสรุป ( 30 นาที ) 6. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมานาเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมหนา้ ชัน้ 7. ครูให้นักเรียนรว่ มกันอภิปรายเพ่อื นาไปสูก่ ารสรุป โดยใชค้ าถามตอ่ ไปน้ี - อุปกรณไ์ ฟฟา้ ที่ใช้เปลี่ยนความต่างศักย์หรืออีเอ็มเอฟของไฟฟา้ กระแสสลบั คอื อะไร (แนวคาตอบ หมอ้ แปลง(transformer)) - หมอ้ แปลง (transformer) มีกแี่ บบ อะไรบา้ ง (แนวคาตอบ มี 2 แบบ คือ แบบที่เปลี่ยนให้ความต่างศักย์สูงขึ้น และแบบที่เปลี่ยนความต่าง ศักยใ์ ห้ตา่ ลง) - ขดลวดทีต่ อ่ กับแหล่งจา่ ยไฟฟ้า เรียกวา่ อะไร (แนวคาตอบ ขดลวดปฐมภูมิ (primary winding)) - ขดลวดท่ตี ่ออยกู่ บั อปุ กรณท์ ่ีใช้ไฟฟา้ เรยี กวา่ อะไร (แนวคาตอบ ขดลวดทุตยิ ภูมิ (secondary winding)) - ความสว่างของหลอดไฟข้นึ อยกู่ ับคา่ ใดบ้าง (แนวคาตอบ ความสว่างของหลอดไฟข้ึนอยู่กบั ความตา่ งศักย์และกระแสไฟฟ้าจากขดลวดทุติย ภมู ทิ ีผ่ า่ นหลอดไฟ) 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ เรื่อง หลักการทางานของหม้อแปลง ดังนี้ หม้อแปลง ประกอบด้วยขดลวด 2 ชุด พันอยู่บนแกนเหล็กเดียวกัน โดยขดลวดที่ใช้ต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้า เรียกว่า ขดลวดปฐมภูมิ และขดลวดที่ใช้ต่อกับเครื่องใช้ไฟฟ้า เรียกว่า ขดลวดทุติยภูมิ เมื่อต่อกับขดลวดปฐมภูมิกับ ไฟฟ้ากระแสสลบั จะเกดิ อเี อม็ เอฟเหนีย่ วนาในขดลวดทุตยิ ภูมิ ซึ่งมคี วามสมั พนั ธ์ตามสมการ ������2 = ������2 ������1 ������1

ขน้ั ท่ี 4 ข้นั ขยายความรู้ ( 15 นาที ) 9. ครูตั้งประเด็นคาถามเพิ่มเติม เพื่อให้นักเรียนร่วมกันคิดและอภิปรายในประเด็นคาถามที่ได้ โดยมี ประเด็นคาถาม ดงั น้ี หากเปลี่ยนแหล่งกาเนิดไฟฟา้ กระแสสลบั ซ่ึงต่อเขา้ กับขดลวดปฐมภูมิของหม้อแปลงเป็น แหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงที่มีค่าคงตัว เมื่อเปิดสวิตซ์ให้แหล่งกาเนิดไฟฟ้าทางาน หลอดไฟที่ต่ออยู่กับ ขดลวดทตุ ยิ ภมู จิ ะสว่างหรือไมเ่ พราะเหตุใด (แนวคาตอบ ทันทีเปิดสวิตซ์จะสังเกตเห็นหลอดไฟสว่างชั่วขณะ หลังจากนั้นหลอดไฟจะไม่สว่าง เพราะในขณะที่เปิดสวิตซ์ กระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดปฐมภูมิเปลี่ยนแปลงจากไม่มีกระแสไฟฟ้าเป็น มี กระแสไฟฟ้า เกิดการเปลี่ยนแปลงฟลักซ์แม่เหล็กชั่วขณะทาให้เกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนาท่ีขดลวดทุติยภูมิทาให้ หลอดไฟสว่างชั่วขณะ หลังจากนั้นเมื่อกระแสไฟฟ้าคงตัว ทาให้เกิดฟลักซ์แม่เหล็กคงตัวผ่าน ขดลวดทั้งสอง ของหม้อแปลง จึงไม่เกดิ อีเอ็มเอฟเหนยี่ วนาทข่ี ดลวดทุตยิ ภมู ิ ทาให้หลอดไฟไมส่ วา่ ง) ขน้ั ที่ 5 ประเมนิ ผล ( 15 นาที ) 10. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม วัสดุ/อปุ กรณ์ ส่ือและแหล่งเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรยี นฟสิ ิกส์ ม.6 เล่ม 1 สังกัด อจท. 2. หนงั สือเรียนฟิสิกส์ ม.6 เลม่ 5 สังกัด สสวท. 3. หอ้ งเรยี น 4. หอ้ งสมุด 5. แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ 6. ใบงานท่ี 1.13 หลักการทางานของหมอ้ แปลง

การวัดผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธีวดั เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ 1. นักเรียนอธิบายหลักการ ตรวจใบงาน ใบงานที่ 1. 13 หลัก ได้ระดับคุณภาพดี ทางานของหมอ้ แปลงได้ (K) การท างานของหม้อ จงึ ผ่านเกณฑ์ แปลง 2. นักเรียนคานวณหาปริมาณ สังเกตและประเมินการ แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี ตา่ งๆ ทเี่ ก่ยี วข้องได้ (P) ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมการ จึงผ่านเกณฑ์ คานวณ 3. มคี วามอยากรูอ้ ยากเห็น (A) สังเกตและประเมินการ แบบประเมินการความ ได้ระดับคุณภาพดี ความอยากรู้อยากเหน็ อยากรู้อยากเห็น จงึ ผา่ นเกณฑ์ 4. คุณลักษณะด้านความใฝ่ สงั เกตพฤตกิ รรม แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ - ได้ระดับคุณภาพดี เรยี นรู้ ลักษณะอันพึงประสงค์ จึงผา่ นเกณฑ์ ดา้ นใฝเ่ รียนรู้ ความคิดเห็นของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ................................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา (…………………….………….……….………………………….) ........./........................./.........

บนั ทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผลการจัดกิจกรรม ตารางท่ี 1 ผลการประเมนิ ด้านความรู้ (K) ลาดบั ท่ี ระดับชนั้ จานวน ดีมาก (4) สรุปผลการประเมิน ปรับปรุง (1) รวม นกั เรียน 100% ดี (3) พอใช้ (2) - 1 ม.6/1 90% - 100% 2 ม.6/3 30 90% -- - 100% 3 ม.6/4 32 100% 10% - - 100% 4 ม.6/5 27 10% - 100% 29 รวม 100 -- ตารางที่ 2 ผลการประเมินดา้ นทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (P) ลาดับท่ี ระดับชน้ั จานวน สรปุ ผลการประเมิน พอใช้ (1 – 4) รวม นกั เรียน ดมี าก (9 – 12) ดี (5 – 8) - 1 ม.6/1 - 100% 2 ม.6/3 30 100% - - 100% 3 ม.6/4 32 80% 20% - 100% 4 ม.6/5 27 80% 20% 100% 29 90% 10% 100 รวม

บนั ทกึ หลังการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการจดั กจิ กรรม ตารางท่ี 3 ผลการประเมนิ ดา้ นเจตคติ (A) ลาดับท่ี ระดับชนั้ จานวน ดีมาก (3) สรุปผลการประเมิน พอใช้ (1) รวม นกั เรียน 100% ดี (2) - 1 ม.6/1 80% - - 100% 2 ม.6/3 30 90% 20% - 100% 3 ม.6/4 32 80% 10% - 100% 4 ม.6/5 27 รวม 20% 100% 29 100 ตารางที่ 4 ผลการประเมนิ ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ลาดบั ท่ี ระดับช้ัน จานวน ดีมาก (3) สรุปผลการประเมนิ ไมผ่ า่ น (0) รวม นักเรยี น 100% ดี (2) ผา่ น (1) - 1 ม.6/1 100% - 100% 2 ม.6/3 30 100% -- - 100% 3 ม.6/4 32 100% -- - 100% 4 ม.6/5 27 -- 100% 29 รวม -- 100

บันทึกหลงั การสอน ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6/1 ผลการสอน ดา้ นความรู้ นกั เรียนทกุ คนเขา้ ใจในเน้ือหาสาระไดด้ มี าก คดิ เป็นร้อยละ 100 ด้านทักษะ นักเรียนทกุ คนมีทกั ษะในระดับดีมาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ด้านเจตคติ นกั เรียนทุกคนมีเจตคตทิ ด่ี ีมาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ดา้ นสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์และสงั เคราะหไ์ ด้ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ นกั เรียนทุกคนมีความใฝเ่ รยี นรู้ทด่ี มี าก ปัญหา/อปุ สรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงชอ่ื ..........................................................ผ้สู อน ( นางสาวไข่มุก สพุ ร )

บันทกึ หลงั การสอน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/3 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น รอ้ ยละ 10 ดา้ นทักษะ นกั เรียนส่วนใหญ่มที กั ษะในระดบั ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางสว่ นมีทกั ษะในระดับดี 20 ดา้ นเจตคติ นกั เรียนส่วนใหญม่ เี จตคตทิ ี่ดมี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 80 และมบี างสว่ นมเี จตคตทิ ดี่ ี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20 ด้านสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคดิ วิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์ได้ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ นักเรยี นทุกคนมีความใฝ่เรยี นรู้ที่ดมี าก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงช่ือ..........................................................ผสู้ อน ( นางสาวไข่มุก สุพร )

บันทึกหลังการสอน ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/4 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น ร้อยละ 10 ด้านทกั ษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางส่วนมีทักษะในระดับดี คิดเป็น รอ้ ยละ 20 ดา้ นเจตคติ นกั เรยี นส่วนใหญม่ เี จตคติทดี่ ีมาก คดิ เป็นร้อยละ 90 และมีบางส่วนมีเจตคตทิ ี่ดี คดิ เปน็ ร้อยละ 10 ดา้ นสมรรถนะ นักเรียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์และสังเคราะหไ์ ด้ ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ นกั เรียนทกุ คนมคี วามใฝ่เรียนร้ทู ีด่ มี าก ปญั หา/อปุ สรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงช่อื ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไข่มุก สุพร )

บนั ทึกหลังการสอน ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/5 ผลการสอน ดา้ นความรู้ นกั เรยี นทกุ คนเขา้ ใจในเน้อื หาสาระได้ดมี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ดา้ นทกั ษะ นกั เรยี นส่วนใหญ่มีทักษะในระดับดีมาก คดิ เปน็ ร้อยละ 90 และมีบางสว่ นมีทกั ษะในระดบั ดี 10 ด้านเจตคติ นกั เรียนส่วนใหญม่ เี จตคตทิ ด่ี มี าก คิดเป็นรอ้ ยละ 80 และมบี างส่วนมีเจตคตทิ ีด่ ี คดิ เปน็ ร้อยละ 20 ด้านสมรรถนะ นกั เรียนมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์และสงั เคราะห์ได้ ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียนทกุ คนมคี วามใฝ่เรยี นรู้ท่ีดีมาก ปัญหา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงช่อื ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไข่มุก สพุ ร )