Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บันทึกหลังแผน หน่วยที่1

บันทึกหลังแผน หน่วยที่1

Published by khaimook spp, 2022-08-08 14:16:07

Description: บันทึกหลังแผน หน่วยที่1

Search

Read the Text Version

บันทกึ หลงั การสอน ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6/3 ผลการสอน ด้านความรู้ นกั เรยี นส่วนใหญเ่ ข้าใจเน้ือหาสาระไดด้ ีมาก คิดเป็นรอ้ ยละ 70 และมีบางสว่ นเรยี นรู้ได้ดี คิดเป็นร้อย ละ 30 ดา้ นทกั ษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในการคานวณได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 70 และมีบางส่วนมีทักษะในการ คานวณได้ดี คดิ เป็นรอ้ ยละ 30 ดา้ นเจตคติ นักเรียนส่วนใหญม่ เี จตคติทด่ี มี าก คดิ เป็นร้อยละ 80 และมบี างส่วนมีเจตคตทิ ดี่ ี คดิ เป็นรอ้ ยละ 20 ด้านสมรรถนะ นกั เรียนมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์และสงั เคราะห์ได้ ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ นกั เรยี นทุกคนมคี วามมุ่งมน่ั ในการทางานทด่ี ีมาก ปัญหา/อุปสรรค - แนวทางการแกไ้ ข - หมายเหตุ - ลงชอ่ื ..........................................................ผสู้ อน ( นางสาวไขม่ กุ สพุ ร )

บันทึกหลังการสอน ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนสว่ นใหญ่เข้าใจเน้ือหาสาระได้ดีมาก คดิ เป็นร้อยละ 90 และมบี างสว่ นเรียนรไู้ ด้ดี คิดเป็นร้อย ละ 10 ดา้ นทกั ษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในการคานวณได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และมีบางส่วนมีทักษะในการ คานวณไดด้ ี คดิ เป็นรอ้ ยละ 10 ด้านเจตคติ นกั เรยี นทุกคนมีเจตคติทด่ี ีมาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ด้านสมรรถนะ นักเรียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะหแ์ ละสังเคราะหไ์ ด้ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ นกั เรยี นทกุ คนมคี วามมุ่งมัน่ ในการทางานได้ดมี าก ปัญหา/อปุ สรรค - แนวทางการแกไ้ ข - หมายเหตุ - ลงชื่อ..........................................................ผสู้ อน ( นางสาวไข่มกุ สพุ ร )

บันทึกหลังการสอน ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6/5 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนสว่ นใหญ่เข้าใจเน้ือหาสาระได้ดีมาก คิดเปน็ ร้อยละ 70 และมบี างสว่ นเรียนรไู้ ด้ดี คิดเป็นร้อย ละ 30 ดา้ นทกั ษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในการคานวณได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 70 และมีบางส่วนมีทักษะในการ คานวณไดด้ ี คดิ เป็นรอ้ ยละ 30 ด้านเจตคติ นกั เรยี นทุกคนมีเจตคติทด่ี ีมาก คดิ เป็นร้อยละ 100 ด้านสมรรถนะ นักเรียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์และสงั เคราะหไ์ ด้ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ นกั เรยี นทกุ คนมคี วามมงุ่ มัน่ ในการทางานที่ดีมาก ปัญหา/อปุ สรรค - แนวทางการแกไ้ ข - หมายเหตุ - ลงชื่อ..........................................................ผสู้ อน ( นางสาวไข่มกุ สพุ ร )

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 5 กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว30205 รายวิชา ฟสิ ิกส์ 5 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ แมเ่ หลก็ และไฟฟ้า เร่ือง แรงกระทาต่อลวดตวั นาทีอ่ ย่ใู นสนามแมเ่ หลก็ ขณะมีกระแสไฟฟา้ ผ่าน วนั ท…่ี …….เดือน……………พ.ศ……………… เวลา……………………น. จานวน 2 ช่ัวโมง ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ผสู้ อน นางสาวไขม่ ุก สพุ ร สาระฟิสกิ ส์ 3. เข้าใจแรงไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟา้ ศักย์ไฟฟ้า ความจุไฟฟา้ กระแสไฟฟ้า และกฎของ โอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงาน ไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้ าและกฎ ของฟาราเดย์ ไฟฟ้ากระแสสลบั คลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้าและการสอ่ื สาร รวมท้งั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรยี นรู้ อธิบายและคานวณแรงแม่เหล็กที่กระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก แรง แม่เหลก็ ทก่ี ระทาต่อเส้นลวดท่ีมีกระแสไฟฟ้าผ่านและวางในสนามแม่เหล็ก รศั มคี วามโค้งของการเคลื่อนที่เม่ือ ประจเุ คลื่อนทตี่ ง้ั ฉากกับสนามแม่เหลก็ รวมท้ังอธิบายแรงระหวา่ งเสน้ ลวดตัวนาคขู่ นานทม่ี ีกระแสไฟฟ้าผ่าน จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายแรงแม่เหล็กที่กระทาต่อเส้นลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและวางใน สนามแมเ่ หล็กได้ (K) 2. นักเรียนสามารถคานวณหาแรงแม่เหล็กที่กระทาต่อเส้นลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและวางใน สนามแมเ่ หลก็ รวมทงั้ ปริมาณท่เี กี่ยวข้องได้ (P) 3. มคี วามมุ่งมั่นในการทางานและมคี วามอยากรู้อยากเหน็ (A) สาระการเรยี นรู้ ลวดตัวนาเส้นตรงมีกระแสไฟฟ้าผ่าน ������ วางทามุม ������ กับสนามแม่เหล็ก ���⃑��� โดยมีความยาวของลวด ตัวนา ������ ที่อยู่ในสนามแมเ่ หล็ก จะเกิดแรงกระทากบั ลวดตัวนาด้วยขนาด ������ = ������������������������������������������ หาทิศทางของแรง โดยใช้มอื ขวา ชี้นวิ้ ทงั้ สไ่ี ปตามทิศทางของกระแสไฟฟ้า แล้ววนน้ิวทั้งสป่ี าหาทิศทางสนามแม่เหล็ก นว้ิ หวั แม่มือ จะชท้ี ิศทางของแรงซง่ึ ตงั้ ฉากกบั สนามแมเ่ หลก็ และกระแสไฟฟา้ ที่ผ่านลวดตัวนา

สาระสาคัญ แรงแมเ่ หล็กกระทาตอ่ ลวดตัวนาท่ีมีกระแสไฟฟา้ ผ่าน เมื่อลวดตัวนาเสน้ ตรงมีกระแสไฟฟ้าผ่านขณะอยู่ในสนามแม่เหล็กจะมีแรงแมเ่ หล็กกระทาต่อลวดตวั นั้น และเมื่อกลับทิศทางของกระแสไฟฟ้าหรือทิศทางของสนามแม่เหล็กพบว่าแรงกระทาจะกลับทิศทางด้วย แสดงวา่ แรงท่ีกระทาต่อลวดตัวนามีความสมั พนั ธ์กบั ทิศทางของกระแสไฟฟ้าและสนามแมเ่ หล็ก หาทิศทางของ แรงได้โดยใช้มือขวาชี้นิ้วทั้งสี่ไปตามทิศทางของกระแสไฟฟ้า ������ แล้ววนนิ้วทั้งสี่ไปหาทิศทางสนามแม่เหล็ก ���⃑��� น้วิ หวั แม่มอื จะชี้ทิศทางของแรง ������ ดงั รปู รูปแสดงทิศทางของกระแสไฟฟา้ สนามแมเ่ หล็ก และแรงกระทาต่อลวดตัวนา จากแรงแมเ่ หลก็ กระทาตอ่ ลวดตวั นาเส้นตรงดังกล่าว พิจารณาขนาดของแรงได้ ดงั น้ี - กระแสไฟฟ้าในลวดตัวนาเส้นตรงเกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระด้วยความเร็วลอยเลื่อน ������������ ดังนั้นเมื่อลวดตัวนาวางตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กจะเกิดแรงแม่เหล็กกระทาต่ออิเล็กตรอนอิสระประจุ ������ เหล่านต้ี ามสมการ ������������ = ������������������������ เม่ือ ������������ คือ แรงแม่เหล็กกระทาต่ออเิ ลก็ ตรอนอสิ ระประจุ ������ พิจารณาตลอดความยาวลวดมีอิเล็กตรอนอิสระจานวน ������ อนุภาคอยู่ภายในลวดตัวนา ดังนั้นขนาด แรงลัพธ์ ������ ที่กระทาต่อลวดตัวนาเท่ากับผลรวมแรงแม่เหล็กที่กระทาต่ออิเล็กตรอนอิสระ ������ อนุภาค ตามสมการ ������ = ������������������������������ แทนค่า ������ = ������������ ในสมการนจี้ ะได้ ������ = ������������������������ ถ้าประจุไฟฟ้า ������ เคลื่อนทีผ่ ่านภาคตัดขวางของลวดตัวนาในเวลา ∆������ เป็นระยะทางเท่ากบั ความยาว ลวดตัวนา ������ ท่อี ยู่ในสนามแมเ่ หลก็ จากนยิ ามของกระแสไฟฟา้ เขียนไดว้ า่ ������ = ������∆������ และ ������������ = ������ ∆������

จะได้ ������ = (������∆������ ) ( ������ ) ������ ∆������ ������ = ������������������ เม่ือ ������ คอื ขนาดของแรงแมเ่ หล็กทีก่ ระทาต่อลวดตัวนา มหี นว่ ยเป็น นวิ ตนั (N) ������ คอื กระแสไฟฟา้ ทผ่ี ่านลวดตวั นา มีหนว่ ยเป็น แอมแปร์ (A) ������ คือ ความยาวลวดตวั นาทอี่ ยู่ในสนามแมเ่ หล็ก มีหน่วยเป็น เมตร (m) ������ คือ ขนาดของสนามแม่เหลก็ มีหนว่ ยเปน็ เทสลา (T) พิจารณาทานองเดียวกันกับกรณีอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว ������ ไม่ตั้งฉากกับ สนามแม่เหล็ก ���⃑��� ทาให้เกิดแรงกระทาต่อประจุไฟฟ้า q ตามสมการ ������ = ������������������������������������������ จะนามาใช้หาแรง กระทาตอ่ ลวดตัวนามกี ระแสไฟฟ้าผ่าน ขณะลวดตวั นาวางตัวในแนวทามมุ ������ กับสนามแมเ่ หล็ก ���⃑��� เปน็ ไปตาม สมการ ������ = ������������������������������������������ โดย ������ คือ มมุ ระหว่างกระแสไฟฟา้ ทีผ่ า่ นลวดตัวนากับสนามแมเ่ หลก็ สมรรถนะสาคัญ ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทักษะการคดิ สงั เคราะห์ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (จติ วิทยาศาสตร)์ ความมุ่งมั่นในการทางานและมีความอยากรู้อยากเหน็ นักเรียนแสดงออกถึงความต้ังใจความต้องการ ที่จะรู้และเสาะแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ทีสนใจหรือต้องการค้นพบสิ่งใหม่ แสดงออกได้โดยการถาม คาถาม หรอื มีความสงสยั ในส่ิงท่สี นใจอยากรู้ มีความกระตอื รอื ร้นในการเสาะแสวงหาขอ้ มลู ท่ีเกยี่ วข้องกับส่ิงท่ี สนใจ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเทกาลังกาย กาลังใจ ในการปฏิบัติ กิจกรรมต่างๆ ให้สาเร็จลุล่วงตามเป้าหมายที่กาหนดด้วยความรับผิดชอบ และมีความภาคภูมิใจในผลงาน ชน้ิ งาน/ภาระงาน ใบงานที่ 1.5 แรงกระทาต่อลวดตัวนาที่อยู่ในสนามแมเ่ หลก็ ขณะมกี ระแสไฟฟ้าผ่าน

กิจกรรมการเรยี นรู้ วิธสี อนใช้รูปแบบวงจรการเรยี นรู้ 5 ขนั้ ตอน (5E Learning Cycle model) ขัน้ ที่ 1 ข้ันสรา้ งความสนใจ ( 15 นาที ) 1. ครูทบทวนความรู้เดิมในเรื่อง ทิศทางของแรงแม่เหล็ก โดยใช้มือขวา ขนาดของแรงแม่เหล็ก และ การเคล่อื นท่ีของอนุภาคท่มี ปี ระจุไฟฟ้าในสนามแม่เหลก็ 2. ครตู ัง้ คาถามเพ่ือนาเข้าสกู่ ารทากจิ กรรม โดยมปี ระเด็นคาถาม ดังตอ่ ไปนี้ - กระแสไฟฟ้าในลวดตัวนาเกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระ ถ้านาลวดตัวนาที่มี กระแสไฟฟ้าไปไว้ในสนามแมเ่ หลก็ จะเกิดแรงกระทาต่อลวดตัวนาน้นั หรือไม่ อยา่ งไร (แนวคาตอบ ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ โดยไม่คาดหวังคาตอบท่ี ถกู ต้อง) ขน้ั ท่ี 2 ข้นั สารวจและค้นหา ( 45 นาที ) 3. ครูชีแ้ จงจดุ ประสงคแ์ ละวิธกี ารปฏบิ ตั กิ ิจกรรมให้นกั เรียนทราบ ตามรายละเอียดในใบงานท่ี 1.5 แรง กระทาต่อลวดตวั นาท่ีอย่ใู นสนามแม่เหลก็ ขณะมีกระแสไฟฟา้ ผ่าน 4. ให้นักเรียนแต่ละคนคานวณหาแรงแม่เหล็กที่กระทาต่อเส้นลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและวาง ในสนามแม่เหลก็ รวมท้งั ปรมิ าณทีเ่ กีย่ วข้องได้จากโจทย์ท่กี าหนดให้ 5. นักเรยี นลงมอื ปฏิบตั ิกิจกรรม และรายงานผล ขั้นท่ี 3 ขนั้ สรา้ งคาอธิบายและลงขอ้ สรปุ ( 30 นาที ) 6. ส่มุ นกั เรยี นออกมานาเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหน้าชน้ั เรียน 7. ครูให้นักเรียนร่วมกนั อภิปรายเพอื่ นาไปสู่การสรุป โดยใช้คาถามตอ่ ไปน้ี - กระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนาเส้นตรงมีทิศทางจาก B ไป A สนามแม่เหล็กมีทิศทางชี้ลงลวด ตัวนาเส้นตรงเคลอื่ นท่ีไปทางใด (แนวคาตอบ ลวดตวั นาเส้นตรงเคล่อื นท่อี อกจากแม่เหล็กรูปตัวยู) - กระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนาเส้นตรงมีทิศทางจากA ไป B สนามแม่เหล็กมีทิศทางชี้ลงลวด ตัวนาเสน้ ตรงเคลอื่ นทีไ่ ปทางใด (แนวคาตอบ ลวดตวั นาเส้นตรงเคลื่อนท่ีเข้าหาแม่เหล็กรปู ตวั ย)ู - ทิศทางของกระแสไฟฟ้ามีผลตอ่ การเคล่ือนท่ีของลวดตวั นาเสน้ ตรงหรอื ไม่ อย่างไร (แนวคาตอบ มีผล เพราะเมื่อกลับทิศทางของกระแสไฟฟ้า การเคลื่อนที่ของลวดตัวนา เสน้ ตรงจะมที ศิ ทางตรงขา้ ม)

- เมื่อกลับขั้วของแม่เหล็กรูปตัวยู สนามแม่เหล็กมีทิศทางไปทางใด และลวดตัวนาเคลื่อนท่ี อย่างไร เมอ่ื เทยี บกบั ตอนแรก (แนวคาตอบ เมื่อกลับขั้วของแม่เหล็กรูปตัวยู สนามแม่เหล็กมีทศิ ทางตรงข้ามกับทิศทางเดิม มีผล ทาใหล้ วดตัวนาเสน้ ตรงเคลือ่ นที่ในทศิ ทางตรงขา้ มกบั ตอนแรก) - ทิศทางของสนามแม่เหล็กมีผลต่อการเคลื่อนที่ของลวดตัวนาเส้นตรงที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน หรอื ไม่ อย่างไร (แนวคาตอบ มีผล เพราะเมื่อกลับทิศทางของสนามแม่เหล็ก การเคลื่อนที่ของลวดตัวนา เส้นตรงจะมที ศิ ทางตรงข้าม) - เพราะเหตใุ ดเมอ่ื กระแสไฟฟา้ ผ่านลวดตัวนาเสน้ ตรงจึงเคลือ่ นทไี่ ด้ (แนวคาตอบ เพราะมีแรงแมเ่ หล็กกระทากบั ลวดตวั นา เมื่อมกี ระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนาที่อยู่ ในสนามแม่เหลก็ ) - ในแต่ละกรณีลวดตัวนาเส้นตรงเคลื่อนที่ในทิศทางที่ตั้งฉากกับทิศทางของกระแสไฟฟ้าและ ทิศทางของสนามแมเ่ หลก็ หรอื ไม่ (แนวคาตอบ ลวดตวั นาเคลอ่ื นที่ในทิศทางต้ังฉากกบั ทิศทางของกระแสไฟฟา้ และทิศทางของ สนามแม่เหล็ก) 8. ครูและนักเรียนร่วมกนั อภิปรายเก่ียวกับ เรื่อง แรงกระทาต่อลวดตวั นาที่อยู่ในสนามแม่เหลก็ ขณะมี กระแสไฟฟ้าผ่าน ดังนี้ ลวดตัวนาเส้นตรงมีกระไฟฟ้าผ่าน ������ วางตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก ���⃑��� โดยมีความยาว ของลวดตัวนาที่อยู่ในสนามแม่เหล็ก ������ จะมีแรงแม่เหล็กกระทาต่อลวดตัวนามีขนาดตามสมการ ������ = ������������������ ลวดตัวนาเส้นตรงวางในทิศทางทามุม ������ กับสนามแม่เหล็ก ���⃑��� จะมีแรงแม่เหล็กกระทาต่อลวดตัวนามีขนาด ตามสมการ ������ = ������������������������������������������ และหาทิศทางของแรงแมเ่ หลก็ ทีก่ ระทากับลวดตัวนาทีม่ ีกระแสไฟฟ้าผ่านได้โดย ใช้มอื ขวาชี้นิ้วท้ังส่ีไปตามทิศทางของกระแสไฟฟ้า แลว้ วนน้ิวท้ังสไ่ี ปหาทิศทางสนามแม่เหล็ก นิ้วหัวแม่มือจะชี้ ทศิ ทางของแรงโดยแรงแม่เหลก็ จะมที ิศทางต้ังฉากกบั สนามแม่เหลก็ และกระแสไฟฟา้ ทผี่ ่านตัวนา ขนั้ ที่ 4 ขนั้ ขยายความรู้ ( 15 นาที ) 9. ครูให้นักเรียนฝึกทาโจทย์การคานวณเพิ่มเติม เพื่อเพิ่มทักษะการคานวณให้กับนักเรียนเพื่อความ แม่นยาในการทาแบบฝึกหัดและทาขอ้ สอบต่อไป ขัน้ ท่ี 5 ประเมนิ ผล ( 15 นาที ) 10. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏบิ ัติกิจกรรม

วสั ด/ุ อปุ กรณ์ สอื่ และแหล่งเรยี นรู้ 1. หนังสือเรยี นฟิสกิ ส์ ม.6 เล่ม 1 สังกัด อจท. 2. หนังสือเรยี นฟิสกิ ส์ ม.6 เลม่ 5 สงั กดั สสวท. 3. PowerPoint เรอื่ ง กระแสไฟฟา้ ทาให้เกดิ สนามแมเ่ หลก็ 4. หอ้ งเรยี น 5. ห้องสมุด 6. แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ 7. ใบงานท่ี 1.5 แรงกระทาตอ่ ลวดตัวนาทอ่ี ยใู่ นสนามแม่เหลก็ ขณะมีกระแสไฟฟ้าผ่าน การวดั ผลและประเมนิ ผล จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีวัด เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน 1. นักเรียนสามารถอธิบายแรง ตรวจใบงาน ใ บ ง า น ท ี ่ 1.5 แ ร ง ได้ระดับคุณภาพดี แม่เหล็กที่กระทาต่อเส้นลวด กระทาต่อลวดตัวนาที่ จึงผา่ นเกณฑ์ ตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและ อยู่ในสนามแม่เหล็ก วางในสนามแม่เหล็กได้ (K) ข ณ ะ ม ี ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ผ่าน 2. นักเรียนสามารถคานวณหา สังเกตและประเมินการ แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี แรงแม่เหล็กที่กระท าต่อ ปฏิบัติกจิ กรรม ปฏิบัติกิจกรรมการ จึงผ่านเกณฑ์ เส้นลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้า คานวณ ผ่านและวางในสนามแม่เหล็ก รวมทั้งปริมาณที่เกี่ยวข้องได้ (P) 3. มคี วามอยากรอู้ ยากเห็น (A) สังเกตและประเมินการมี แบบประเมินการ มี ได้ระดับคุณภาพดี ความอยากรู้อยากเห็น ความอยากรอู้ ยากเห็น จึงผ่านเกณฑ์ 4. คณุ ลกั ษณะด้านมุ่งม่ันในการ สงั เกตพฤติกรรม แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ - ได้ระดับคุณภาพดี ทางาน ลักษณะอันพึงประสงค์ จึงผา่ นเกณฑ์ ด้านมุ่งมั่นในการทา งาน

ความคิดเหน็ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................................ผู้บรหิ ารสถานศึกษา (…………………….………….……….………………………….) ........./........................./.........

บันทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ผลการจัดกิจกรรม ตารางที่ 1 ผลการประเมนิ ดา้ นความรู้ (K) ลาดับที่ ระดบั ชั้น จานวน ดมี าก (4) สรปุ ผลการประเมนิ ปรับปรุง (1) รวม นกั เรียน 100% ดี (3) พอใช้ (2) - 1 ม.6/1 70% - 100% 2 ม.6/3 30 100% -- - 100% 3 ม.6/4 32 90% 30% - - 100% 4 ม.6/5 26 100% 29 รวม -- 100 10% - ตารางท่ี 2 ผลการประเมินด้านทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (P) ลาดับท่ี ระดับชั้น จานวน สรปุ ผลการประเมิน พอใช้ (1 – 4) รวม นกั เรียน ดีมาก (9 – 12) ดี (5 – 8) - 1 ม.6/1 - 100% 2 ม.6/3 30 100% - - 100% 3 ม.6/4 32 70% 30% - 100% 4 ม.6/5 26 100% - 100% 29 90% 10% 100 รวม

บนั ทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผลการจดั กจิ กรรม ตารางที่ 3 ผลการประเมนิ ดา้ นเจตคติ (A) ลาดบั ท่ี ระดับชัน้ จานวน ดีมาก (3) สรุปผลการประเมนิ พอใช้ (1) รวม นักเรียน 100% ดี (2) - 1 ม.6/1 80% - - 100% 2 ม.6/3 30 100% 20% - 100% 3 ม.6/4 32 100% - - 100% 4 ม.6/5 26 รวม - 100% 29 100 ตารางที่ 4 ผลการประเมินดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ลาดับท่ี ระดับช้นั จานวน ดมี าก (3) สรุปผลการประเมนิ ไม่ผ่าน (0) รวม นักเรียน 100% ดี (2) ผา่ น (1) - 1 ม.6/1 100% - 100% 2 ม.6/3 30 100% -- - 100% 3 ม.6/4 32 100% -- - 100% 4 ม.6/5 26 -- 100% 29 รวม -- 100

บันทกึ หลงั การสอน ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6/1 ผลการสอน ด้านความรู้ นกั เรียนทุกคนขา้ ใจเนอ้ื หาสาระไดด้ มี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ด้านทกั ษะ นกั เรยี นทุกคนมที ักษะในการคานวณได้ดมี าก คดิ เป็นร้อยละ 100 ดา้ นเจตคติ นกั เรียนทุกคนมเี จตคติทดี่ ีมาก คดิ เป็นร้อยละ 100 ด้านสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคิดวิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์ได้ ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ นักเรยี นทกุ คนมีความมุ่งม่นั ในการทางานไดด้ ีมาก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแกไ้ ข - หมายเหตุ - ลงชอื่ ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไข่มุก สุพร )

บนั ทกึ หลังการสอน ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6/3 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่มีความเข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 70 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คดิ เป็นรอ้ ยละ 30 ดา้ นทกั ษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในการคานวณได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 70 และมีบางส่วนมีทักษะการ คานวณไดด้ ี คิดเป็นรอ้ ยละ 30 ดา้ นเจตคติ นักเรียนส่วนใหญม่ เี จตคตทิ ดี่ มี าก คิดเป็นร้อยละ 80 และมบี างสว่ นมีเจตคติท่ีดี คดิ เป็นร้อยละ 20 ดา้ นสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์และสังเคราะหไ์ ด้ ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ นกั เรียนทกุ คนมคี วามมุ่งมน่ั ในการทางานได้ดีมาก ปญั หา/อปุ สรรค - แนวทางการแกไ้ ข - หมายเหตุ - ลงชอ่ื ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไข่มุก สพุ ร )

บันทกึ หลงั การสอน ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6/4 ผลการสอน ด้านความรู้ นกั เรียนทุกคนขา้ ใจเนอ้ื หาสาระไดด้ มี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ด้านทกั ษะ นกั เรยี นทุกคนมที ักษะในการคานวณได้ดมี าก คดิ เป็นร้อยละ 100 ดา้ นเจตคติ นกั เรียนทุกคนมเี จตคติทดี่ ีมาก คดิ เป็นร้อยละ 100 ด้านสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคิดวิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์ได้ ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ นักเรยี นทกุ คนมีความมุ่งม่นั ในการทางานได้ดีมาก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแกไ้ ข - หมายเหตุ - ลงชอื่ ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไข่มุก สุพร )

บันทึกหลงั การสอน ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6/5 ผลการสอน ดา้ นความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่มีความเข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10 ด้านทักษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในการคานวณได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และมีบางส่วนมีทักษะการ คานวณทดี่ ี คดิ เป็นรอ้ ยละ 10 ดา้ นเจตคติ นกั เรียนทกุ คนมเี จตคติทดี่ มี าก คดิ เป็นร้อยละ 100 ดา้ นสมรรถนะ นกั เรยี นมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะหแ์ ละสังเคราะหไ์ ด้ ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ นกั เรียนทกุ คนมคี วามมุ่งม่นั ในการทางานทีด่ ีมาก ปัญหา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงชอื่ ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไข่มกุ สุพร )

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วิชา ว30205 รายวชิ า ฟสิ ิกส์ 5 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ แมเ่ หลก็ และไฟฟ้า เรอ่ื ง แรงระหวา่ งลวดตวั นาท่มี กี ระแสไฟฟ้า วันท…ี่ …….เดอื น……………พ.ศ……………… เวลา……………………น. จานวน 1 ชัว่ โมง ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ผสู้ อน นางสาวไขม่ ุก สุพร สาระฟิสกิ ส์ 3. เข้าใจแรงไฟฟา้ และกฎของคลู อมบ์ สนามไฟฟา้ ศกั ยไ์ ฟฟ้า ความจไุ ฟฟ้า กระแสไฟฟา้ และกฎของ โอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงาน ไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าและกฎ ของฟาราเดย์ ไฟฟา้ กระแสสลบั คลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ และการส่ือสาร รวมทัง้ นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ อธิบายและคานวณแรงแม่เหล็กที่กระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก แรง แมเ่ หลก็ ท่กี ระทาต่อเสน้ ลวดท่ีมีกระแสไฟฟ้าผ่านและวางในสนามแมเ่ หล็ก รัศมคี วามโคง้ ของการเคล่ือนที่เม่ือ ประจเุ คล่ือนทต่ี ั้งฉากกบั สนามแมเ่ หลก็ รวมท้งั อธบิ ายแรงระหว่างเสน้ ลวดตัวนาคขู่ นานทม่ี ีกระแสไฟฟา้ ผา่ น จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นกั เรียนสามารถอธิบายแรงระหว่างเสน้ ลวดตัวนาคขู่ นานที่มกี ระแสไฟฟ้าผา่ นได้ (K) 2. นักเรยี นสามารถเขียนแผนภาพการตอ่ เครื่องชั่งกระแสกับวงจรไฟฟ้าได้ (P) 3. มคี วามมงุ่ มัน่ ในการทางานและทางานรว่ มกับผ้อู นื่ ได้อย่างสร้างสรรค์ (A) สาระการเรียนรู้ ลวดตัวนาสองเส้นวางขนานกัน จะมีแรงกระทาระหว่างลวดตวั นาทั้งสองเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่าน โดย ดงึ ดูดกนั ถา้ กระแสไฟฟ้าในลวดตัวนาทัง้ สองมที ศิ ทางเดยี วกนั แต่ผลักกัน ถ้ากระแสไฟฟ้าในลวดตัวนาทั้งสอง มีทศิ ทางตรงข้ามกนั

สาระสาคัญ แรงระหวา่ งลวดตัวนาทีม่ กี ระแสไฟฟ้า กรณีกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนาส่วน ab และลวดตัวนาส่วน cd ในทิศเดียวกัน เมื่อกระแสไฟฟ้า ผ่านลวดตัวนาทั้งสองจะทาให้เกิดสนามแม่เหล็กรอบลวดตัวนา โดยลวดตัวนาส่วน cd อยู่ในสนามแม่เหล็กท่ี เกิดจากขดลวด ab (���⃑���ab) และขดลวดตัวนาส่วน ab อยู่ในสนามแม่เหล็กที่เกิดจากลวดตัวนาส่วน cd (���⃑���cd) ดงั รูป ก. และ ข. ตามลาดับ รูปแสดงสนามแมเ่ หล็กท่เี กิดจากกระแสไฟฟ้า ������ab ผา่ นขดลวดตวั นาสว่ น ab และสนามแม่เหลก็ ท่ีเกิดจากกระแสไฟฟา้ ������cd ผ่านลวดตัวนาสว่ น cd ลวดตัวนาส่วน cd อยู่ในสนามแมเ่ หลก็ ���⃑���ab ทีเ่ กิดจากกระแสไฟฟ้า ������ab ผ่านขดลวดตัวนาสว่ น ab ดงั รปู ก. เม่อื กระแสไฟฟ้า ������cd ผา่ นลวดตัวนาสว่ น cd จะเกดิ แรงแมเ่ หลก็ ���������⃑���abกระทาตอ่ ลวดตวั นา ทิศทางของ แรงหาไดโ้ ดยใชม้ ือขวา ดังรปู ข. ก. สนามแม่เหล็ก ���⃑���ab รอบขดลวดตวั นาส่วน ab ข. แรงแมเ่ หล็กท่กี ระทาต่อลวดตัวนาส่วน cd รปู แสดงแรงแมเ่ หล็กเนื่องจากสนามแมเ่ หล็กของขดลวดตัวนาสว่ น ab ท่ีกระทาต่อลวดตวั นาสว่ น cd ในทานองเดยี วกัน ขดลวดตัวนาส่วน ab อยูใ่ นสนามแมเ่ หล็ก ���⃑���abทเ่ี กิดจากกระแสไฟฟ้า ������������������ ผ่านลวดตัวนาส่วน cd ดังรูป ก. เมื่อกระแสไฟฟ้า ������ab ผ่านขดลวดตัวนาส่วน ab จะเกิดแรงแม่เหล็ก ���������⃑���cd กระทาต่อลวดตัวนาสว่ น cd ดงั รูป ข. รปู แสดงแรงแม่เหล็กจากสนามแม่เหล็กของลวดตัวนาส่วน cd ที่กระทาต่อขดลวดตวั นาส่วน ab

จะเหน็ ว่าแรง ���������⃑���ab และ ���������⃑���cd มีทศิ ทางเข้าหากัน แต่เน่ืองจากขดลวดตัวนาส่วน ab ถกู ตรงึ ไว้ กบั กล่องจงึ ทาใหส้ ังเกตเหน็ เฉพาะลวดตัวนาส่วน cd เคลื่อนท่ีในทิศลงเขา้ หาขดลวดตวั นาสว่ น ab กรณีกลับทิศทางกระแสไฟฟ้าที่ผ่านลวดตัวนาส่วน cd ให้มีทิศทางตรงข้ามกับกระแสไฟฟ้าที่ผ่าน ขดลวดตัวนาส่วน ab หลังเปิดสวิตซ์ พิจารณาแรงแม่เหล็กที่กระทาต่อขดลวดตัวนาส่วน ab และลวดตัวนา สว่ น cd ในทานองเดียวกบั กรณขี ้างต้นจะได้ว่า เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตวั นาส่วน ab และลวดตัวนาส่วน cd ในทิศทางตรงข้ามกัน จะเกิดแรงแม่เหล็กกระทาต่อลวดตัวนาส่วน cd และแรงแม่เหล็กกระทาต่อลวด ตัวนาส่วน ab ดง้ รูป ก. และ ข. ตามลาดับ ก. แรงแม่เหลก็ ที่กระทาตอ่ ลวดตวั นาส่วน cd ข. แรงแม่เหลก็ ทก่ี ระทาต่อลวดตวั นาสว่ น ab รูปแสดงแรงแม่เหล็กท่ีกระทาลวดตัวนาทัง้ สอง เมอ่ื กระแสไฟฟา้ ผ่านลวดตัวนาในทศิ ทางตรงข้ามกนั จะเห็นว่าแรง ���������⃑���ab และ ���������⃑���cd มีทิศทางตรงข้ามกัน แต่เนื่องจากขดลวดตัวนาส่วน ab ถูกตรึงไว้กบั กล่องจึงทาให้สังเกตเห็นเฉพาะลวดตัวนาส่วน cd เคลื่อนที่ในทิศขึ้นออกจากขดลวดตัวนาส่วน ab จึงสรุปได้ ว่าถ้าวางลวดตวั นาเส้นตรงสองเส้นขนานกัน เมื่อกระแสไฟฟ้าผา่ นลวดตวั นาทั้งสองในทิศทางเดียวกัน จะเกิด แรงดงึ ดูดระหว่างลวดตวั นาทัง้ สองดังรปู ก. แต่ถ้ากระแสไฟฟ้าผ่านลวดตวั นาในทิศทางของตรงขา้ มกัน จะเกิด แรงผลักระหว่างลวดตวั นาทั้งสองดงั รูป ก. แรงดงึ ดูด เม่ือกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตวั นา ข. แรงผลัก เม่อื กระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนา สองเส้นในทศิ ทางเดยี วกนั สองเสน้ ในทิศทางตรงขา้ มกัน รปู แสดงแรงระหว่างลวดตวั นาสองเส้นท่วี างขนานกันและมีกระแสไฟฟา้ ผา่ น สมรรถนะสาคัญ ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ - ทักษะการคดิ สังเคราะห์

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (จติ วิทยาศาสตร์) ความมุ่งมั่นในการทางานและทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจ ความต้องการที่จะรู้และเสาะแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ทีสนใจหรือต้องการค้นพบสิ่งใหม่ แสดงออกได้ โดยการถามคาถาม หรือมีความสงสัยในสิ่งที่สนใจอยากรู้ มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาข้อมูลท่ี เกี่ยวข้องกับสิ่งที่สนใจ และมีการใช้ทักษะทางสงั คม การมีปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นๆ ได้แก่ การแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นกับบุคคลอื่น การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การขอความช่วยเหลือและความร่วมมือจากผู้ อื่น เพ่ือความร่วมมือในการทางานกลุ่ม ชน้ิ งาน/ภาระงาน ใบงานที่ 1.6 แรงระหวา่ งลวดตัวนาท่ีมีกระแสไฟฟ้า กิจกรรมการเรยี นรู้ วธิ ีสอนใชร้ ูปแบบวงจรการเรยี นรู้ 5 ข้นั ตอน (5E Learning Cycle model) ขน้ั ท่ี 1 ขนั้ สร้างความสนใจ ( 10 นาที ) 1. ครูทบทวนความรู้เดิมในเรื่อง ทิศทางของแรงรอบลวดตัวนา เส้นตรงที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน และแรง แม่เหลก็ กระทาตอ่ ลวดตัวนาทมี่ ีกระแสไฟฟ้า 2. ครูนาลวดตัวนามาวางใกล้กัน และตั้งคาถามเพื่อนาเข้าสู่การทากิจกรรม โดยมีประเด็นคาถาม ดังต่อไปน้ี - หากมกี ระแสไฟฟ้าผ่านลวดตวั นาสองเส้นที่อยู่ใกล้กันและขนานกันจะเกิดอะไรข้ึนระหว่างลวด ตวั นาทั้งสอง (แนวคาตอบ ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ โดยไม่คาดหวังคาตอบท่ี ถูกตอ้ ง) ข้นั ที่ 2 ขน้ั สารวจและค้นหา ( 25 นาที ) 3. ครูให้นักเรียนร่วมกันจาลองสถานการณ์หรืออาจสาธิตเครือ่ งชัง่ กระแสที่ประกอบด้วยขดลวดตวั นา และลวดตวั นาเส้นตรงวางขนานกนั หรือการสาธติ เคร่อื งชัง่ กระแส 4. ใหน้ ักเรยี นแบง่ กลุ่ม กลุม่ ละ 4 - 5 คน และให้ตวั แทนกลุ่มมารับใบงาน 5. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษากิจกรรมจากใบงานท่ี 1.6 เรื่อง แรงระหว่างลวดตวั นาท่มี กี ระแสไฟฟ้า 6. ครูช้ีแจงจุดประสงคแ์ ละวธิ กี ารปฏบิ ตั ิกจิ กรรมให้นกั เรียนทราบ 7. นกั เรียนลงมือปฏบิ ตั ิกจิ กรรม และรายงานผล

ข้ันที่ 3 ขั้นสรา้ งคาอธิบายและลงขอ้ สรุป ( 15 นาที ) 8. นักเรียนแต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมานาเสนอผลการปฏิบัติกจิ กรรมหนา้ ช้ัน 9. ครใู ห้นกั เรยี นร่วมกันอภิปรายเพอ่ื นาไปสกู่ ารสรปุ โดยใช้คาถามตอ่ ไปน้ี - จากการสาธิตเครื่องช่ังกระแส กระแสไฟฟา้ ผ่านขดลวดตวั นา ab และลวดตัวนา cd มีทิศทาง เดยี วกนั เมื่อกระแสไฟฟ้าผา่ นลวดตวั นาท้ังสองเกดิ แรงระหวา่ งลวดตวั นาท่มี ีกระแสไฟฟา้ อย่างไร (แนวคาตอบ ลวดตวั นา เส้นตรงสองเส้นวางขนานกัน เม่ือมกี ระแสไฟฟา้ ผา่ นในทิศทางเดียวกัน จะมแี รงดึงดดู กัน) - จากการสาธิตเครื่องชั่งกระแส กระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนา ab และลวดตัวนา cd มีทิศทาง ขา้ มกัน เม่อื กระแสไฟฟา้ ผา่ นลวดตัวนาท้ังสองเกดิ แรงระหว่างลวดตวั นาทมี่ ีกระแสไฟฟ้าอย่างไร (แนวคาตอบ ลวดตวั นาเส้นตรงสองเส้นวางขนานกัน เมือ่ มีกระแสไฟฟ้าผ่านในทิศทางตรงข้าม กันจะมแี รงผลกั กัน) 10. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ เรื่อง แรงระหว่างลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้า ดังนี้ กรณี กระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนาส่วน ab และลวดตัวนาส่วน cd ในทิศเดียวกนั เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตวั นา ทั้งสองจะทาให้เกิดสนามแม่เหล็กรอบลวดตวั นา โดยลวดตัวนาสว่ น cd อยู่ในสนามแม่เหลก็ ที่เกดิ จากขดลวด ab (���⃑���ab) และขดลวดตัวนาส่วน ab อยู่ในสนามแม่เหล็กที่เกิดจากลวดตัวนาส่วน cd ���⃑���ab) จะเห็นว่าแรง ���������⃑���ab และ ���������⃑���ab มีทิศทางเข้าหากนั แต่เนือ่ งจากขดลวดตัวนาสว่ น ab ถูกตรึงไวก้ ับกล่องจงึ ทาใหส้ ังเกตเห็น เฉพาะลวดตัวนาส่วน cd เคลื่อนที่ในทิศลงเข้าหาขดลวดตัวนาส่วน ab กรณีกลับทิศทางกระแสไฟฟ้าที่ผ่าน ลวดตัวนาส่วน cd ให้มีทิศทางตรงข้ามกับกระแสไฟฟ้าที่ผ่านขดลวดตัวนาส่วน ab หลังเปิดสวิตซ์ พิจารณา แรงแม่เหล็กที่กระทาต่อขดลวดตัวนาส่วน ab และลวดตัวนาส่วน cd ในทานองเดียวกับกรณีข้างต้นจะได้ว่า เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนาส่วน ab และลวดตัวนาส่วน cd ในทิศทางตรงข้ามกัน จะเกิดแรงแม่เหล็ก กระทาต่อลวดตัวนาส่วน cd และแรงแม่เหล็กกระทาต่อลวดตัวนาส่วน ab จะเห็นว่าแรง ���������⃑���ab และ ���������⃑���ab มีทิศทางตรงข้ามกัน แต่เนื่องจากขดลวดตวั นาส่วน ab ถูกตรึงไวก้ ับกล่องจึงทาใหส้ ังเกตเห็นเฉพาะลวดตัวนา ส่วน cd เคลื่อนที่ในทิศขึ้นออกจากขดลวดตัวนาสว่ น ab จึงสรุปได้ว่า ถ้าวางลวดตวั นาเส้นตรงสองเส้นขนาน กัน เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนาทั้งสองในทิศทางเดียวกัน จะเกิดแรงดึงดูดระหว่างลวดตวั นาทั้งสองแต่ถ้า กระแสไฟฟา้ ผ่านลวดตวั นาในทศิ ทางของตรงขา้ มกัน จะเกิดแรงผลกั ระหว่างลวดตัวนาทง้ั สอง ข้ันที่ 4 ข้ันขยายความรู้ ( 5 นาที ) 11. ครูเปิดวิดีทัศน์เกี่ยวกบั แรงระหว่างลวดตัวนาที่มกี ระแสไฟฟ้าใหน้ ักเรียนรับชม เพื่อเพิ่มความเข้าใจ ให้นกั เรียนมากข้นึ

ขนั้ ท่ี 5 ประเมินผล ( 5 นาที ) 12. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏิบตั กิ ิจกรรม วสั ดุ/อปุ กรณ์ ส่ือและแหลง่ เรียนรู้ 1. หนังสอื เรียนฟิสกิ ส์ ม.6 เลม่ 1 สงั กัด อจท. 2. หนังสอื เรียนฟสิ ิกส์ ม.6 เลม่ 5 สังกดั สสวท. 3. วิดีทัศนก์ ารเรยี นรู้ เรอ่ื ง แรงระหวา่ งลวดตวั นาท่มี ีกระแสไฟฟ้า 4. ห้องเรียน 5. ห้องสมดุ 6. แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ 7. ใบงานที่ 1.6 แรงระหวา่ งลวดตัวนาทม่ี กี ระแสไฟฟ้า 8. ลวด การวดั ผลและประเมินผล จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ วี ัด เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมนิ 1. นักเรียนสามารถอธิบายแรง ตรวจใบงาน ใ บ ง า น ท ี ่ 1.6 แ ร ง ได้ระดับคุณภาพดี ระหว่างเส้นลวดตัวนาคู่ขนานท่ี ระหว่างลวดตัวนาที่มี จงึ ผ่านเกณฑ์ มกี ระแสไฟฟา้ ผ่านได้ (K) กระแสไฟฟา้ 2. นักเรียนสาม าร ถ เ ข ี ย น สังเกตและประเมินการ แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี แผนภาพการต่อเครื่องช่ัง ปฏิบัตกิ ิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมการจัด จงึ ผ่านเกณฑ์ กระแสกับวงจรไฟฟา้ ได้ (P) กระทาสอื่ 3. การทางานร่วมกับผู้อื่นได้ สังเกตและประเมินการ แบบประเมินการท า ได้ระดับคุณภาพดี อย่างสรา้ งสรรค์ (A) ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ งานร่วมกับผู้อื่นได้ จงึ ผา่ นเกณฑ์ อย่างสรา้ งสรรค์ อยา่ งสร้างสรรค์ 4. คุณลกั ษณะด้านมุ่งมั่นในการ สังเกตพฤติกรรม แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ - ได้ระดับคุณภาพดี ทางาน ลักษณะอันพึงประสงค์ จงึ ผ่านเกณฑ์ ด้านมุ่งมั่นในการทา งาน

ความคิดเหน็ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................................ผู้บรหิ ารสถานศึกษา (…………………….………….……….………………………….) ........./........................./.........

บนั ทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผลการจดั กจิ กรรม ตารางที่ 1 ผลการประเมนิ ดา้ นความรู้ (K) ลาดับที่ ระดับชั้น จานวน ดีมาก (4) สรปุ ผลการประเมนิ ปรบั ปรุง (1) รวม นกั เรียน 100% ดี (3) พอใช้ (2) - 1 ม.6/1 70% - 100% 2 ม.6/3 30 100% -- - 100% 3 ม.6/4 32 100% 30% - - 100% 4 ม.6/5 26 100% 29 รวม -- 100 -- ตารางที่ 2 ผลการประเมินด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P) ลาดับที่ ระดับช้นั จานวน สรปุ ผลการประเมนิ พอใช้ (1 - 3) รวม นกั เรียน ดีมาก (7 - 9) ดี (4 - 6) - 1 ม.6/1 - 100% 2 ม.6/3 30 100% - - 100% 3 ม.6/4 32 70% 30% - 100% 4 ม.6/5 26 100% - 100% 29 100% - 100 รวม

บนั ทกึ หลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ผลการจัดกจิ กรรม ตารางที่ 3 ผลการประเมนิ ด้านเจตคติ (A) ลาดบั ท่ี ระดับช้ัน จานวน สรปุ ผลการประเมนิ พอใช้ (1 - 3) รวม นกั เรียน ดีมาก (7 - 9) ดี (4 - 6) - 1 ม.6/1 - 100% 2 ม.6/3 30 100% - - 100% 3 ม.6/4 32 80% 20% - 100% 4 ม.6/5 26 100% - 100% 29 100% - 100 รวม ตารางที่ 4 ผลการประเมินดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ลาดับท่ี ระดับช้ัน จานวน ดมี าก (3) สรุปผลการประเมิน ไม่ผา่ น (0) รวม นกั เรยี น 100% ดี (2) ผา่ น (1) - 1 ม.6/1 100% - 100% 2 ม.6/3 30 100% -- - 100% 3 ม.6/4 32 100% -- - 100% 4 ม.6/5 26 -- 100% 29 รวม -- 100

บนั ทกึ หลังการสอน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 ผลการสอน ดา้ นความรู้ นักเรียนทกุ คนมคี วามเขา้ ใจในเนือ้ หาสาระได้ดีมาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ด้านทกั ษะ นกั เรยี นทุกคนมีทักษะในการเขยี นแผนภาพทด่ี ีมาก คดิ เป็นร้อยละ 100 ด้านเจตคติ นักเรยี นทุกคนมีเจตคติท่ดี มี าก คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ดา้ นสมรรถนะ นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะหแ์ ละสงั เคราะหไ์ ด้ ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ นกั เรียนทกุ คนมีความมงุ่ มน่ั ในการทางานที่ดีมาก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงชอ่ื ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไข่มกุ สุพร )

บันทึกหลงั การสอน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/3 ผลการสอน ด้านความรู้ นกั เรียนส่วนใหญเ่ ข้าใจเนื้อหาสาระไดด้ ีมาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 70 และมีบางสว่ นเรยี นรูไ้ ด้ดี คิดเป็นร้อย ละ 30 ด้านทักษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีความสามารถในการเขียนแผนภาพได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 70 และมีบางส่วน สามารถเขยี นแผนภาพไดด้ ี คดิ เป็นรอ้ ยละ 30 ดา้ นเจตคติ นักเรียนสว่ นใหญม่ ีเจตคตทิ ดี่ มี าก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางส่วนมีเจตคติที่ดี คิดเปน็ รอ้ ยละ 20 ดา้ นสมรรถนะ นกั เรียนสามารถคิดวิเคราะห์และสงั เคราะห์ได้ ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรยี นทุกคนมีความม่งุ มั่นในการทางานที่ดีมาก ปญั หา/อปุ สรรค - แนวทางการแกไ้ ข - หมายเหตุ - ลงชอ่ื ..........................................................ผสู้ อน ( นางสาวไขม่ กุ สุพร )

บันทกึ หลงั การสอน ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6/4 ผลการสอน ด้านความรู้ นกั เรียนทกุ คนมคี วามเข้าใจในเน้ือหาสาระได้ดีมาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ดา้ นทักษะ นกั เรยี นทุกคนสามารถเขียนแผนภาพของวงจรไดด้ ีมาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ดา้ นเจตคติ นักเรียนทกุ คนมเี จตคติท่ดี มี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ด้านสมรรถนะ นักเรียนมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ได้ ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ นกั เรยี นทกุ คนมีความม่งุ มนั่ ในการทางานท่ดี ีมาก ปญั หา/อปุ สรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงชอื่ ..........................................................ผ้สู อน ( นางสาวไขม่ ุก สพุ ร )

บันทกึ หลังการสอน ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6/5 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนทุกคนเขา้ ใจเน้ือหาสาระไดด้ มี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ดา้ นทักษะ นกั เรยี นทุกคนสามารถเขียนแผนภาพของวงจรได้ดีมาก คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ดา้ นเจตคติ นกั เรียนทุกคนมเี จตคติที่ดีมาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ด้านสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์ได้ ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ นักเรียนทกุ คนมคี วามมงุ่ มนั่ ในการทางาน ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแกไ้ ข - หมายเหตุ - ลงชอื่ ..........................................................ผ้สู อน ( นางสาวไข่มุก สพุ ร )

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 7 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว30205 รายวชิ า ฟสิ ิกส์ 5 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ แม่เหลก็ และไฟฟ้า เรื่อง โมเมนต์ของแรงคู่ควบ แกลแวนอมเิ ตอร์ และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง วนั ท…่ี …….เดอื น……………พ.ศ……………… เวลา……………………น. จานวน 2 ชว่ั โมง ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 ผู้สอน นางสาวไขม่ ุก สพุ ร สาระฟสิ กิ ส์ 3. เขา้ ใจแรงไฟฟา้ และกฎของคลู อมบ์ สนามไฟฟ้า ศักยไ์ ฟฟา้ ความจุไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และกฎของ โอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงาน ไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าและกฎ ของฟาราเดย์ ไฟฟา้ กระแสสลับ คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้ และการส่ือสาร รวมท้งั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ อธิบายหลักการทางานของแกลแวนอมิเตอร์และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง รวมทั้งคานวณปริมาณ ตา่ งๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ ง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นักเรียนอธิบายโมเมนต์ของแรงคู่ควบกระทาต่อขดลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านเมื่ออยู่ใน สนามแม่เหลก็ ได้ (K) 2. นักเรยี นอธิบายหลักการทางานของแกลแวนอมิเตอร์ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงได้ (K) 3. นักเรียนสามารถคานวณโมเมนต์ของแรงคูค่ วบกระทาตอ่ ขดลวดตวั นาท่ีมีกระแสไฟฟ้าผ่านเมื่ออยู่ ในสนามแม่เหล็ก รวมทัง้ ปริมาณท่เี ก่ียวขอ้ งได้ (P) 4. ใฝเ่ รียนร้แู ละมงุ่ มนั่ ในการทางาน (A) สาระการเรยี นรู้ เม่ือนาขดลวดตวั นาจานวน N รอบซึง่ มพี ืน้ ท่หี นา้ ตัด A วางในสนามแม่เหล็ก และมกี ระแสไฟฟ้า ������ ผ่านโดยระนาบของขดลวดทามุม ������ กับสนามแม่เหล็ก ������ จะเกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบกระทาต่อขดลวด มี ขนาดเปน็ ������ = ������������������������������������������������ แกลแวนอมิเตอรเ์ ป็นเครื่องวัดทางไฟฟ้า ประกอบดว้ ยขดลวดส่ีเหลี่ยมที่ติดเข็มช้ีและหมุนได้คล่องอยู่ ในสนามแม่เหล็ก เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดจะหมุนพร้อมกับเข็มชี้เบนไป และมอเตอร์ไฟฟ้า กระแสตรง

เป็นเครอื่ งมอื เปลีย่ นพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล ประกอบด้วยขดลวดพันอยู่กับแกนซ่ึง หมนุ ไดค้ ล่องและอยู่ ในสนามแม่เหล็กเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดจะหมุนต่อเนื่องรอบแกน การทางานแกลแวนอมิเตอร์และ มอเตอร์ไฟฟ้าใช้หลกั โมเมนต์แรงค่คู วบของขดลวดที่อยู่ในสนามแม่เหล็กและมีกระแสไฟฟ้าผา่ น สาระสาคญั โมเมนต์ของแรงคู่ควบ พิจารณาขดลวดตัวนาสี่เหลี่ยม มุมฉาก (PQRS) วางให้ระนาบขดลวดขนานกับ สนามแม่เหล็ก(���⃑���) สม่าเสมอ มีความยาวด้าน PS = QR = ������1 และความยาวด้าน PQ = RS = ������2 เมื่อให้กระแสไฟฟ้า (������) ผ่าน ขดลวดในทิศทาง P -> Q -> R -> S ดังรปู รปู แสดงทิศทางทกี่ ระแสไฟฟ้าผา่ นขดลวดตวั นา พิจารณาแรงแม่เหล็กกระทาต่อเส้นลวดแต่ละส่วนดังนี้ ด้าน PS และ QR กระแสไฟฟ้าในขดลวด ตัวนาอยู่ในทิศทางขนานกับสนามแม่เหล็ก ทาให้ไม่มีแรงกระทาต่อด้านทั้งสองนี้ ส่วนด้าน PQ และ RS เป็น ด้านที่กระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดในทิศทางตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก จึงเกิดแรงกระทาต่อด้านทั้งสอง มขี นาดเทา่ กัน โดยขนาดของแรงหาได้จากสมการ ������ = ������������2������ รูปแสดงทิศทางของแรงกระทาต่อขดลวดตัวนา ขณะระนาบขดลวดขนานกับสนามแม่เหลก็ ในการหาทิศทางของแรง โดยใช้มือขวา พบว่าแรงที่กระทาต่อด้าน PQ มีทิศทางตรงข้ามกับแรงที่ กระทาต่อด้าน RS ดังรูปข้างต้นจะเห็นว่าแรงที่กระทาต่อด้านทั้งสองมีขนาดเท่ากัน ทิศทางตรงข้ามกัน และ ขนานกันจึงเปน็ แรงคคู่ วบ ทาใหเ้ กดิ โมเมนต์ของแรงคู่ควบหาขนาดไดจ้ ากสมการ ������������ = ������������ เมือ่ ������������ คือ โมเมนตข์ องแรงคคู่ วบ ������ คือ ขนาดของแรงคคู่ วบ ������ คือ ระยะทางต้ังฉากระหว่างแนวแรงทง้ั สอง

แทนค่า ������ จากสมการ ������ = ������������2������ และแทน ������ ด้วย ในสมการ ������������ = ������������ จะไดโ้ มเมนตข์ องแรงค่คู วบ ������ = (������������2������) ������1 กาหนดให้ ������ เปน็ พนื้ ทีข่ องขดลวด มคี ่าเทา่ กับ ������1������2 เขยี นสมการขนาดโมมนต์ของแรงคคู่ วบได้เปน็ ������ = ������������������ ถ้าวางขดลวดตัวนาสี่เหลียมมุมฉาก (PQRS) ให้ระนาบขดลวดทามุม ������ กับสนามแม่เหล็ก (���⃑���) มดี ้าน PS และ QR ทามุม ������ กับสนามแมเ่ หลก็ ดงั รปู รูปแสดงระนาบขดลวดทามุม ������ กบั สนามแมเ่ หลกี พิจารณาด้าน PS กับ QR พบว่ามีแรงกระทาขนาดเท่ากัน ทิศทางตรงข้ามกัน คือ ������PS และ ������QS และอยู่ในแนวเดียวกัน ทาให้โมมนต์ของแรงคู่นี้เป็นศูนย์ดังรูป ก. ส่วนด้าน PQ กับ RS จะมีแรงคู่ควบ กระทา ไดแ้ ก่ ������P������ และ ������RS มที ิศทางดงั รปู รูปขดลวดตวั นาเหล่ียมฉากเอียงทามมุ กับสนามแมเ่ หลก็ และมีกระแสไฟฟ้าผ่าน โดยขนาดของแรงเท่ากับ ������������2������ และระยะทางตั้งฉากระหว่างแนวแรงทั้งสองเท่ากับ ������1������������������ ������ จาก สมการ ������������ = ������������ จะไดข้ นาดของโมเมนต์ของแรงคคู่ วบกระทาต่อขดลวด ตามสมการ ������ = (������������2������)������1������������������ ������ ������ = ������������������������������������ ������ ในกรณีขดลวดตัวนาจานวน N รอบ จะทาให้เกิดโมเมนต์ของแรงคูค่ วบกระทาต่อขดลวดเป็น จานวน N เท่าของขดลวด 1 รอบ จะไดข้ นาดโมเมนต์ของแรงคู่ควบกระทาตอ่ ขดลวด ตามสมการ ������ = ������������������������������������������ ������ เมือ่ ������ คือ มุมระหว่างระนาบขดลวดตวั นากับสนามแมเ่ หลก็ ในกรณีทพ่ี ืน้ ที่ของขดลวดเปน็ ขดลวดระนาบรูปทรงอื่น เชน่ ขดลวดระนาบรปู วงกลมโมเมนต์ของแรง คู่ควบกระทาต่อขดลวดยังคงหาได้จากสมการ ������ = ������������������������������������������ ������

แกลแวนอมเิ ตอร์ (galvanometer) แกลแวนอมิเตอร์เป็นเครื่องวัดทางไฟฟ้า ดังรูป ประกอบด้วยขดลวดทองแดงเคลือบฉนวน พันหลาย รอบบนกรอบรูปสี่เหลี่ยมที่ติดเข็มชีแ้ ละแกนหมุนได้คล่องทาใหข้ ดลวดหมุนรอบทรงกระบอกเหล็กอ่อนที่ตรึง อยูก่ บั ที่ โดยปลายของแกนหมุนตดิ กับสปรงิ กน้ หอย รปู แกลแวนอมเิ ตอร์และส่วนประกอบภายในแกลแวนอมเิ ตอร์ ทรงกระบอกเหล็กอ่อนทาให้แรงแม่เหล็ก (ที่ทาให้เกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบกระทาต่อขดลวด) ตั้งฉากกับระนาบขดลวดตลอดเวลา จึงทาให้โมเมนต์ของแรงคู่ควบจากระแสไฟฟ้าที่กระทาต่อขดลวดขึ้นอยู่ กับกระแสไฟฟ้าที่ผ่านขดลวดเท่านั้น เมื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่าน ขดลวดจะหมุนพร้อมกับเข็มชี้เบนไป และแกน หมุนทาให้สปริงก้นหอยบิดตัว จนกระทั่งโมเมนต์ของแรงบิดกลับของสปริงก้นหอยเท่ากับโมเมนต์ของแรงคู่ ควบที่กระทาต่อขดลวด ขดลวดและเข็มชี้จะหยุดนิ่ง มุมที่เข็มชี้เบนไปจึงขึ้นกับกระแสไฟฟ้าที่ผ่านขดลวด โดยทั่วไปแกลแวนอมิเตอร์มีวัตถุประสงค์ให้มีความไวต่อกระแสไฟฟ้าจึงใช้เส้นลวดที่มีขนาดเล็กมาก เพื่อให้ ขดลวดมนี ้าหนกั น้อย และสปรงิ กน้ หอยทีม่ ีค่าคงตัวสปริงน้อย ๆ เมอ่ื กระแสไฟฟ้าผา่ นเพียงเลก็ น้อย กส็ ามารถ ทาใหเ้ ขม็ ชี้เบนได้ มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง เป็นการประยุกต์ใช้ความรู้โมเมนต์ของแรงคู่ควบที่กระทาต่อขดลวดใน สนามเหล็กเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่าน ทาให้สามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกลได้ มอเตอร์ไฟฟ้า กระแสตรงอย่างงา่ ย ประกอบดว้ ยขดลวดทองแดงเคลือบฉนวน พนั เป็นรปู สี่เหล่ยี มตดิ กบั แกน่ หมุนได้คล่องใน สนามแม่เหล็ก และส่วนที่ทาหน้าที่เปลี่ยนทิศทางของกระแสไฟฟ้าในขดลวด คือ คอมมิวเทเตอร์วงแหวนผ่า ซีก (Split-ring commutator) และแปรงสัมผสั (Contact brush) ดังรูป รูปแสดงส่วนประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนาในทิศทาง d -> c -> b -> a จะเกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบหมุน ขดลวดรอบแกนหมนุ ตามเข็มนาฬิกา ดังรปู เมอ่ื ขดลวดหมุนไปจนระนาบของขดลวดตงั้ ฉากกับสนามแม่เหล็ก โมเมนต์ของแรงคู่ควบมีค่าเปน็ ศนู ย์ แต่เนื่องจากความเฉ่ือยจึงทาให้ขดลวดหมนุ ต่อไป โดยแปรงสัมผัส P และ

Q จะเปลี่ยนจากสัมผัสคอมมิวเทเตอร์ x และ y ไปสัมผัสกับคอมมิวเทเตอร์ y และ x ทาให้กระแสไฟฟ้าใน ขดลวดมีทิศทาง a -> b -> c -> d โมเมนต์ของแรงคู่ควบที่เกิดขึ้นในขณะนี้ จะทาให้ขดลวดหมุนในทางเดิม ตอ่ ไป ดังรูป รปู แสดงแรงกระทาต่อขดลวดของมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง จะเห็นมอเตอร์ไฟฟ้ากระแตรงนี้มีขดลวดเพียงระนาบเดียว จึงใช้คอมมิวเทเตอร์ 1 คู่ ถ้าพิจารณาใน ขณะที่ระนาบของขดลวดตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก โมเมนต์ของแรงคู่ควบจะมีค่าเป็นศูนย์ (ตามสมการ ������ = ������������������������������������������ ������ เพราะ cos 90° = 0) แต่ขดลวดจะหมนุ ต่อไปได้อกี เนื่องจากความเฉ่อื ย ดังน้นั ตาแหนง่ ที่ระนาบของขดลวดตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กจึงเป็นตาแหน่งที่มอเตอร์ไม่มีโมเมนต์ของแรงคู่ควบกระทา เพ่ือให้โมเมนตข์ องแรงคู่ควบที่กระทาต่อขดลวดตลอดเวลา จงึ ตอ้ งเพม่ิ ขดลวดในระนาบอ่นื อกี โดยอาจใช้ตั้งแต่ 3 ระนาบขน้ึ ไป ดังรูป รูปตัวอย่างมอเตอรก์ ระแสตรงแบบ 3 ระนาบ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงถูกนาไปใช้ทาใหเ้ กิดการเคลอ่ื นที่หรือการหมนุ ของอุปกรณใ์ นเครื่องยนต์ เครื่องมือและเคร่ืองใช้ไฟฟ้าต่างๆ เชน่ ชิ้นส่วนในของเล่นเดก็ มอเตอรท์ ่ีใช้ในอปุ กรณร์ ถยนต์ สมรรถนะสาคญั ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทักษะการคดิ สังเคราะห์

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (จิตวิทยาศาสตร์) ความใฝ่เรียนรู้และมีความอยากรู้อยากเห็น นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจความต้องการทีจ่ ะรู้และ เสาะแสวงหาความร้เู ก่ยี วกบั สิง่ ต่างๆ ทีสนใจหรอื ต้องการคน้ พบส่ิงใหม่ แสดงออกไดโ้ ดยการถามคาถาม หรือมี ความสงสัยในสิ่งที่สนใจอยากรู้ มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่สนใจ เพียรพยายามในการเรียนและการทากิจกรรมต่างๆ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ อยู่เสมอ โดยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้ ช้ินงาน/ภาระงาน ใบงานที่ 1.7.1 โมเมนต์ของแรงคคู่ วบ ใบงานท่ี 1.7.2 แกลแวนอมเิ ตอร์ และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง กจิ กรรมการเรยี นรู้ วิธีสอนใช้รูปแบบวงจรการเรยี นรู้ 5 ขั้นตอน (5E Learning Cycle model) ขน้ั ที่ 1 ขนั้ สรา้ งความสนใจ ( 15 นาที ) 1. ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับ เรื่อง การเกิดแรงแม่เหล็กเมื่อลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและอยู่ใน สนามแม่เหล็ก 2. ครตู ั้งคาถามเพอ่ื นาเขา้ สู่การทากจิ กรรม เรือ่ ง โมเมนตข์ องแรงคคู่ วบ แกลแวนอมเิ ตอร์ และมอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรง โดยมีประเด็นคาถาม ดงั ตอ่ ไปน้ี - หากเปล่ยี นลวดตวั นาเสน้ ตรงเป็นขดลวดตัวนารปู สีเ่ หลี่ยมมุมฉาก เม่อื กระแสไฟฟา้ ผา่ นขดลวด ตัวนาจะมผี ลอยา่ งไร (แนวคาตอบ ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ โดยไม่คาดหวังคาตอบที่ ถกู ต้อง ) ขน้ั ที่ 2 ขน้ั สารวจและคน้ หา ( 45 นาที ) 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษากิจกรรมจากใบงานที่ 1.7.1 เรื่อง โมเมนต์ของแรงคู่ควบ และใบงานที่ 1.7.2 เร่อื ง แกลแวนอมิเตอร์ และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 4. ครูชีแ้ จงจดุ ประสงค์และวิธกี ารปฏบิ ตั กิ จิ กรรมใหน้ กั เรยี นทราบ 5. นกั เรียนลงมือปฏบิ ตั กิ ิจกรรม และรายงานผล

ขั้นท่ี 3 ข้นั สรา้ งคาอธบิ ายและลงขอ้ สรุป ( 30 นาที ) 6. สุ่มนกั เรยี นออกมานาเสนอผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมหน้าชนั้ เรียน 7. ครใู ห้นักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพื่อนาไปสกู่ ารสรุป โดยใช้คาถามต่อไปนี้ - โมเมนต์ของแรงค่คู วบจากระแสไฟฟ้าท่กี ระทาต่อขดลวดขึ้นอยู่กบั อะไร (แนวคาตอบ กระแสไฟฟ้าท่ีผา่ นขดลวดเทา่ น้นั ) - ทรงกระบอกเหลก็ อ่อนทาให้แรงแม่เหล็กที่ทาใหเ้ กิดโมเมนตข์ องแรงคู่ควบกระทาต่อขดลวดต้ัง ฉากกบั อะไร (แนวคาตอบ ทาให้แรงแม่เหล็กที่ทาให้เกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบกระทาต่อขดลวดตั้งฉากกับ ระนาบขดลวดตลอดเวลา) - มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง เป็นการประยกุ ต์ใช้ความรูโ้ มเมนต์ของแรงคูค่ วบทีก่ ระทาต่อขดลวด ในสนามเหล็กเมือ่ มีกระแสไฟฟ้าผา่ น ทาให้สามารถเปลีย่ นพลังงานไฟฟา้ เปน็ พลงั งานอะไร (แนวคาตอบ ทาให้สามารถเปลย่ี นพลังงานไฟฟา้ เป็นพลงั งานกลได้) - มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงอย่างง่าย ประกอบด้วยอะไรบ้าง และส่วนท่ีทาหน้าที่เปลี่ยนทิศทาง ของกระแสไฟฟา้ คอื อะไร (แนวคาตอบ ประกอบดว้ ยขดลวดทองแดงเคลือบฉนวน พนั เป็นรปู สเ่ี หล่ียมติดกับแก่นหมุนได้ คล่องในสนามแม่เหล็ก และส่วนที่ทาหน้าที่เปลี่ยนทิศทางของกระแสไฟฟ้าในขดลวด คือ คอมมิวเทเตอร์วง แหวนผ่าซีก (split-ring commutator) และแปรงสมั ผสั (contact brush)) 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ เรื่อง โมเมนต์ของแรงคู่ควบ แกลแวนอมิเตอร์ และ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง ดังน้ี ขดลวดตัวนาที่อยู่ในสนามแม่เหล็ก เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านจะเกิดโมเมนต์ของ แรงคู่ควบกระทาต่อขดลวด ทาให้ขดลวดหมุนได้ซึ่งขนาดของโมเมนต์ของแรงควบคู่ M =NIABcosθ เม่ือ ระนาบของขดลวดตวั นาขนานกบั สนามแมเ่ หลก็ โมเมนต์ของแรงคู่ควบจะมีค่ามากท่สี ุด ซึ่งจะมีคา่ Mc = NIAB เมื่อระนาบขดลวดตัวนาตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก โมเมนต์ของแรงคู่ควบจะมีค่าน้อยที่สุด ซึ่งจะมีค่า Mc = 0 กลแวนอมิเตอร์เป็นเครื่องวัดทางไฟฟ้า โดยอาศัยโมเมนต์ของ แรงคู่ควบที่กระทากับขดลวดที่มีกระแสไฟฟ้า และอยู่ในสนามแม่เหล็ก และขนาดโมเมนต์ของแรงคู่ควบของขดลวดในแกลแวนอมิเตอร์จะมีค่าขึ้นอยู่กับ ปรมิ าณของกระแสไฟฟ้าในขดลวดเท่าน้นั ทาให้เขม็ ชเี้ บนตามปริมาณของกระแสไฟฟ้า

ข้นั ท่ี 4 ขน้ั ขยายความรู้ ( 15 นาที ) 9. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ กราฟความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนต์ของแรงคู่ควบที่กระทาต่อขดลวด กบั มุมท่รี ะนาบของขดลวดทากบั สนามแม่เหล็ก ดังนี้ กราฟความสัมพนั ธ์ระหวา่ งโมเมนตข์ องแรงคูค่ วบที่กระทาต่อขดลวดกับมุมทีร่ ะนาบของขดลวดทากับ สนามแมเ่ หลก็ ตามสมการ ������ = ������������������������������������������������ โดยให้แกน y เป็นโมเมนต์ของแรงค่คู วบและแกน x คือ มุมท่ี ระนาบขดลวดทากบั สนามแม่เหล็กจะได้กราฟความสมั พนั ธ์ ������ = ������������������������������ เมอ่ื ������ = ������������������������ เปน็ คา่ คงตวั y เป็น M และ x เปน็ ������ ดังรปู ขั้นท่ี 5 ประเมนิ ผล ( 15 นาที ) 10. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏิบตั ิกจิ กรรม วสั ด/ุ อุปกรณ์ ส่ือและแหล่งเรียนรู้ 1. หนงั สือเรยี นฟิสกิ ส์ ม.6 เลม่ 1 สังกัด อจท. 2. หนังสือเรยี นฟิสกิ ส์ ม.6 เลม่ 5 สังกดั สสวท. 3. ห้องเรียน 4. ห้องสมุด 5. แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ 6. ใบงานท่ี 1.7.1 โมเมนตข์ องแรงคู่ควบ 7. ใบงานท่ี 1.7.2 แกลแวนอมเิ ตอร์ และมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง

การวดั ผลและประเมินผล จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วธิ วี ดั เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ 1. นักเรียนอธิบายโมเมนต์ของ ตรวจใบงาน ใบงานที่ 1.7.1 โมเมนต์ ได้ระดับคุณภาพดี แรงคู่ควบกระทาต่อขดลวด ของแรงคู่ควบ จึงผา่ นเกณฑ์ ตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านเมื่อ ใบงานที่ 1.7.2 แกล อยู่ในสนามแม่เหลก็ ได้ (K) แวนอมิเตอร์ และ 2. นักเรียนอธิบายหลักการ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแส ท า งา น ของแกล แว น อมิ เ ต อร์ ตรง มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงได้ (K) 3. นักเรียนสามารถค านวณ สังเกตและประเมินการ แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี โมเมนต์ของแรงคู่ควบกระทา ปฏิบัติกจิ กรรม ปฏิบัติกิจกรรมการ จงึ ผ่านเกณฑ์ ต่อขดลวดตัวนาที่มีกระแส คานวณ ไฟฟ้าผ่านเมื่ออยู่ในสนาม แม่เหล็ก รวมทั้งปริมาณที่ เกีย่ วข้องได้ (P) 4. มีความอยากรอู้ ยากเหน็ (A) สังเกตและประเมนิ การมี แบบประเมิน การมี ได้ระดับคุณภาพดี ความอยากรอู้ ยากเหน็ ความอยากรอู้ ยากเหน็ จึงผ่านเกณฑ์ 5. คุณลกั ษณะดา้ นใฝเ่ รียนรู้ สังเกตพฤติกรรม แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ - ได้ระดับคุณภาพดี ลักษณะอันพึงประสงค์ จงึ ผ่านเกณฑ์ ดา้ นใฝ่เรียนรู้ ความคิดเห็นของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ................................................................ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา (…………………….………….……….………………………….) ........./........................./.........

บนั ทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ผลการจัดกิจกรรม ตารางท่ี 1 ผลการประเมินด้านความรู้ (K) ลาดบั ท่ี ระดับชั้น จานวน ดมี าก (4) สรปุ ผลการประเมนิ ปรับปรุง (1) รวม นกั เรียน 80% ดี (3) พอใช้ (2) - 1 ม.6/1 100% 20% - - 100% 2 ม.6/3 30 80% - 100% 3 ม.6/4 32 70% -- - 100% 4 ม.6/5 27 รวม 20% - 100% 29 30% - 100 ตารางที่ 2 ผลการประเมนิ ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P) ลาดับท่ี ระดับชนั้ จานวน สรุปผลการประเมิน พอใช้ (1 - 3) รวม นักเรียน ดีมาก (7 - 9) ดี (4 - 6) - 1 ม.6/1 - 100% 2 ม.6/3 30 100% - - 100% 3 ม.6/4 32 90% 10% - 100% 4 ม.6/5 27 100% - 100% 29 85% 15% 100 รวม

บันทกึ หลังการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลการจัดกจิ กรรม ตารางท่ี 3 ผลการประเมินด้านเจตคติ (A) ลาดบั ที่ ระดับชน้ั จานวน สรปุ ผลการประเมิน พอใช้ (1 - 3) รวม นกั เรียน ดมี าก (7 - 9) ดี (4 - 6) - 1 ม.6/1 - 100% 2 ม.6/3 30 90% 10% - 100% 3 ม.6/4 32 85% 15% - 100% 4 ม.6/5 27 90% 10% 100% 29 80% 20% 100 รวม ตารางที่ 4 ผลการประเมนิ ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ลาดับที่ ระดบั ชัน้ จานวน ดมี าก (3) สรปุ ผลการประเมนิ ไม่ผา่ น (0) รวม นักเรียน 100% ดี (2) ผา่ น (1) - 1 ม.6/1 100% - 100% 2 ม.6/3 30 100% -- - 100% 3 ม.6/4 32 100% -- - 100% 4 ม.6/5 27 -- 100% 29 รวม -- 100

บนั ทึกหลังการสอน ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น ร้อยละ 20 ด้านทกั ษะ นกั เรียนทุกคนมที ักษะในระดับดมี าก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ดา้ นเจตคติ นักเรียนส่วนใหญ่มีเจตคติที่ดีมาก คิดเปน็ ร้อยละ 90 และมบี างสว่ นมีเจตคติทด่ี ี คดิ เป็นร้อยละ 10 ดา้ นสมรรถนะ นกั เรียนมีความสามารถในการคดิ วิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์ได้ ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ นกั เรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนร้ทู ี่ดีมาก ปัญหา/อปุ สรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงชือ่ ..........................................................ผูส้ อน ( นางสาวไข่มกุ สุพร )

บนั ทึกหลังการสอน ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/3 ผลการสอน ดา้ นความรู้ นกั เรยี นทุกคนเข้าใจในเน้อื หาสาระได้ดมี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ดา้ นทกั ษะ นกั เรยี นส่วนใหญม่ ีทักษะในระดับดีมาก คดิ เปน็ ร้อยละ 90 และมีบางสว่ นมีทกั ษะในระดบั ดี 10 ด้านเจตคติ นกั เรยี นสว่ นใหญ่มเี จตคตทิ ด่ี ีมาก คิดเป็นรอ้ ยละ 85 และมบี างส่วนมีเจตคตทิ ีด่ ี คดิ เปน็ ร้อยละ 15 ด้านสมรรถนะ นกั เรียนมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์และสงั เคราะห์ได้ ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรยี นรู้ท่ีดีมาก ปัญหา/อุปสรรค - แนวทางการแกไ้ ข - หมายเหตุ - ลงช่อื ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไข่มุก สพุ ร )

บนั ทึกหลังการสอน ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6/4 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น ร้อยละ 20 ด้านทกั ษะ นกั เรียนทุกคนมที ักษะในระดับดมี าก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ดา้ นเจตคติ นักเรียนส่วนใหญ่มีเจตคติที่ดีมาก คิดเปน็ ร้อยละ 90 และมบี างสว่ นมีเจตคติทด่ี ี คดิ เป็นร้อยละ 10 ดา้ นสมรรถนะ นกั เรียนมีความสามารถในการคดิ วิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์ได้ ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ นกั เรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนร้ทู ด่ี ีมาก ปัญหา/อปุ สรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงชือ่ ..........................................................ผูส้ อน ( นางสาวไข่มกุ สุพร )

บันทกึ หลงั การสอน ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/5 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 70 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น รอ้ ยละ 30 ดา้ นทักษะ นกั เรียนสว่ นใหญ่มีทกั ษะในระดบั ดีมาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 85 และมบี างส่วนมที ักษะในระดบั ดี 15 ดา้ นเจตคติ นกั เรียนส่วนใหญ่มเี จตคตทิ ี่ดมี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 80 และมบี างสว่ นมีเจตคติท่ีดี คดิ เปน็ ร้อยละ 20 ด้านสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคดิ วิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์ได้ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ นักเรยี นทุกคนมคี วามใฝ่เรยี นรู้ที่ดมี าก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงช่อื ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไขม่ ุก สุพร )

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 8 กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหัสวิชา ว30205 รายวชิ า ฟสิ ิกส์ 5 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ แมเ่ หลก็ และไฟฟ้า เรอื่ ง กฎการเหน่ยี วนาของฟาราเดย์ วันท…่ี …….เดือน……………พ.ศ……………… เวลา……………………น. จานวน 1 ชว่ั โมง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ผู้สอน นางสาวไข่มุก สพุ ร สาระฟสิ ิกส์ 3. เขา้ ใจแรงไฟฟ้าและกฎของคลู อมบ์ สนามไฟฟ้า ศกั ย์ไฟฟา้ ความจไุ ฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และกฎของ โอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงาน ไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าและกฎ ของฟาราเดย์ ไฟฟา้ กระแสสลบั คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าและการส่อื สาร รวมทง้ั นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ สังเกตและอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนา กฎการเหนี่ยวนาของฟาราเดย์ และคานวณปริมาณ ต่างๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง รวมทงั้ นาความรเู้ ร่ืองอีเอม็ เอฟเหนีย่ วนาไปอธิบายการทางานของเครื่องใช้ไฟฟา้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นักเรียนอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟและอธิบายทิศทางของกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาโดยใช้กฎของ ฟาราเดยไ์ ด้ (K) 2. นักเรียนทดลองและสงั เกตการเกิดอเี อม็ เอฟเหนี่ยวนาโดยใชก้ ฎของฟาราเดย์ได้ (P) 3. มคี วามม่งุ มั่นในการทางานและทางานร่วมกบั ผอู้ น่ื ได้อย่างสรา้ งสรรค์ (A) สาระการเรยี นรู้ เมื่อมฟี ลักซ์แมเ่ หลก็ เปลยี่ นแปลง ������∅������ ตัดขดลวดตัวนาจะเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนา ε ในขดลวด ตวั นาน้นั เท่ากับอัตราการเปล่ียนแปลงของฟลักซ์แมเ่ หล็กทีผ่ ่านขดลวดตวั นานั้น เมือ่ เทยี บกบั เวลา อธิบายได้ โดยกฎการเหนี่ยวนาของฟาราเดย์ เขียนแทนด้วยสมการ ε = − ������∅������ เครื่องหมายลบ หมายถึง อีเอ็มเอฟ ������������ เหนี่ยวนาในขดลวดจะทาให้เกิดกระแสเหนี่ยวนาในทิศทางที่จะทาให้เกิดสนามแม่เหล็กใหม่ ขึ้นมาต้านการ เปลี่ยนแปลงของฟลกั ซแ์ มเ่ หล็กทม่ี าเหนย่ี วนาและตัดผ่านขดลวดนน้ั ตามกฎของเลนส์

สาระสาคัญ กระแสไฟฟ้าเหน่ียวนาและอีเอม็ เอฟเหนย่ี วนา เครื่องกาเนิดไฟฟ้า เป็นอุปกรณ์เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยใช้หลักการเกี่ยวกับ การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งถูกค้นพบโดย ไมเคิล ฟาราเดย์ (Michael Faraday) การเหนี่ยวนา แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และการนาความรู้เกยี่ วกับอีเอ็มเอฟเหนยี่ วนาประยุกตใ์ ช้ กฎการเหนยี่ วนาของฟาราเดย์ การเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาในขดลวดตัวนา ขณะแท่งแม่เหล็กอยู่นิ่งในขดลวด เข็มแกลแวนอ มิเตอร์อยู่นิ่งและชี้ตาแหน่งศูนย์ดลอดเวลา แต่เมื่อเคลื่อนที่ปลายขั้วแม่หล็กออกจากขดลวด เข็มแกลแวนอ มิเตอรเ์ บนไปทางหนึ่ง และเม่อื เคล่ือนทีป่ ลายข้วั แมห่ ล็กเข้าขดลวด เข็มแกลแวนอมิเตอร์เบนไปในทิศทางตรง ข้าม แล้วเมื่อเคลื่อนปลายขั้วแม่เหล็กให้เร็วขึ้นเข็มแกลแวนอมิเตอร์จะเบนเช่นเดิมแต่เบนห่างจากตาแหน่ง ศนู ยม์ ากข้นึ ขณะแท่งแม่เหล็กอยู่นิ่ง เข็มแกลแวนอมิเตอร์อยู่ที่ตาแหน่งศูนย์แสดงว่าไม่มีกระแไฟฟ้าจากขดลวด ผ่านแกลแวนอมิเตอร์ แต่เมื่อเคลื่อนปลายขั้วแม่เหล็กออกแล้วเข้า เข็มแกลแวนอมิเตอร์เบนไปจากตาแหน่ง ศนู ยแ์ สดงวา่ มกี ระแสไฟฟา้ จากขดลวดผ่านแกลแวนอมเิ ตอร์ และการท่ีเข็มแกลแวนอมเิ ตอร์เบนในทิศตรงข้าม กันเมื่อเคลื่อนแท่งแม่เหล็กออกและเข้า แสดงว่ากระแสไฟฟ้าที่กิดขึ้นมีทิศตรงข้ามด้วย และเมื่อเคลื่อนปลาย ข้วั แมเ่ หลก็ เร็วข้ึนเข็มแกลแวนอเตอร์เบนมากขึ้นแสดงวา่ มกี ระแสไฟฟ้าจากขดลวดมากข้ึน จากการเคลื่อนที่ปลายขั้วแม่เหล็กข้างต้นเป็นการทาให้ฟลักซ์แม่หล็กที่ผ่านพื้นท่ี หน้าตัดขดลวด เปลี่ยนแปลงจึงทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าในขดลวด เรียกกระแสไฟฟ้าที่เกิดจากวิธีนี้ว่า กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา (Induced electric current) และเรยี กการทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าในตวั นาด้วยสนามแมเ่ หล็กวา่ การเหนีย่ วนา แม่เหลก็ ไฟฟ้า (Electromagnetic induction) การเหน่ียวนาแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อให้เกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา ทาได้โดยการเคลื่อนแท่งแม่เหล็กหรอื ขดลวดอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งสองอย่างก็ได้ เพื่อทาให้ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านพื้นที่หน้าตัดขดลวด เปลี่ยนแปลง โดยฟาราเดย์ได้ทาการทดลอง และเสนอกฎการเหนี่ยวนาของฟาราเดย์ (Faraday's law of induction) สรุปได้ว่าเมือ่ มี ฟลักซ์แม่เหล็กท่ีตดั ขดลวดตัวนามีการเปลี่ยนแปลงทาให้เกดิ อีเอ็มเอฟเหนี่ยวนา (Induced electromotive force) ในขดลวดตัวนานั้นมีค่าขน้ึ กับอัตราการเปลยี่ นแปลงของ ฟลักซ์แม่เหล็กที่ ตดั ขดลวดตวั นาสว่ นทิศทางของกระแสเหน่ียวนาเป็นไปตามกฎของเลนซ์ (Lenz's law) เมือ่ นาฎการเนยี่ วนาของฟาราเดยแ์ ละกฎของลนซ์ มาเขียนสมการอีเอ็มเอฟเหนีย่ วนาไดด้ งั นี้ ε = − ������∅������ ������������ โดย ε เป็นอีเอ็มเอฟหน่ียวนา ������∅������ เป็นอตั ราการเปลี่ยนแปลงของฟลกั ซ์แม่เหล็กท่ีตดั ขดลวดตัวนาเทียบกบั เวลา ������������

เครื่องหมายลบในสมการเป็นไปตามกฎของลนซ์ มีความหมายว่า อีเอ็มเอฟเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้น มีทิศทางต้านการเปลี่ยนแปลงของฟลักซ์แม่เหล็กที่มาเหนี่ยวนา กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา สามารถใช้กฎการ เหนยี่ วนาของฟาราเดยแ์ ละกฎของเลนซม์ าอธบิ ายการเกดิ กระแสเหน่ยี วนาในขดลวดตวั นาได้ดังน้ี เม่ือเคลื่อนทีป่ ลายขว้ั แมเ่ หล็กออกจากขดลวดตวั นา เช่น เคลื่อนท่ีปลายข้ัวเหนอื (N) ออกจากขดลวด ตัวนา โดยขว้ั เหนือเร่ิมเคล่ือนทีจ่ ากใกล้ขดลวด จนข้ัวเหนือกาลังเคล่ือนที่ไกลจากขดลวด ทาให้ฟลักซ์แม่เหล็ก ที่ผ่านขดลวดตัวนามีปริมาณลดลง เกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนาตามกฎของฟาราเดย์ และเกิดกระแสไฟฟ้า เหนี่ยวนา (������ind) ในขดลวดในทิศทางที่ทาให้เกิดฟลักซ์แม่หล็กใหม่ต้านการเปลี่ยนแปลงฟลักซ์แม่เหล็กเดิม ตามกฎของเลนซ์ (โดยสนามแม่เหล็กของฟลักซ์แม่หล็กใหม่ชี้ไปในทิศทางเดียวกับทิศทางสนามแม่เหล็กของ ฟลกั ซ์แมเ่ หล็กเดิม ตามท่แี สดงในรปู ) รปู การเกดิ อีเอ็มเอฟเหนี่ยวนาและกระแสเหนย่ี วนาในขดลวดเม่อื ฟลกั ซ์แมเ่ หลก็ ลดลง ในทางตรงกันข้าม ถ้าเคลื่อนที่ปลายขั้วเหนือของแท่งแม่เหล็กเข้าหาขดลวดตัวนา โดยขั้วเหนือเร่ิม เคลื่อนที่จากไกลขดลวด จนขั้วเหนือกาลังเคลื่อนที่อยู่ใกล้ขดลวด ทาให้ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านขดลวดตัวนามี ปริมาณเพ่มิ ขึ้น เกดิ อเี อม็ เอฟเหน่ียวนาตามกฎของฟาราเดย์ และเกดิ กระแสไฟฟ้าเหน่ียวนาในขดลวดในทิศทา ให้กิดฟลักซ์แม่เหล็กใหม่ต้านการเปลี่ยนแปลงฟลักซ์แม่เหล็กเดิมตามกฎของเลนซ์ (โดยสนามแม่เหล็กของ ฟลักซแ์ มเ่ หล็กใหม่ชไ้ี ปในทิศทางตรงขา้ มกับทิศทางสนามแม่เหล็กของฟลักซแ์ มห่ ล็กเดิม ตามท่แี สดงในรูป) รูปการเกดิ อเี อ็มเอฟเหนย่ี วนาและกระแสเหนีย่ วนาในขดลวดเมือ่ ฟลกั ซแ์ ม่หล็กเพม่ิ ข้นึ สมรรถนะสาคัญ ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ - ทักษะการคดิ สงั เคราะห์

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (จิตวิทยาศาสตร)์ ความมุ่งมั่นในการทางานและทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจ ความต้องการที่จะรู้และเสาะแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ทีสนใจหรือต้องการค้นพบสิ่งใหม่ แสดงออกได้ โดยการถามคาถาม หรือมีความสงสัยในสิ่งที่สนใจอยากรู้ มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับสิ่งที่สนใจ และมีการใช้ทกั ษะทางสังคม การมีปฏิสมั พันธก์ ับคนอ่ืนๆ ได้แก่ การแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นกับบุคคลอื่น การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การขอความช่วยเหลือและความร่วมมือจากผู้อื่น เพ่อื ความร่วมมอื ในการทางานกลมุ่ ชิ้นงาน/ภาระงาน ใบงานท่ี 1.8 กฎการเหน่ียวนาของฟาราเดย์ กิจกรรมการเรยี นรู้ วธิ สี อนใชร้ ูปแบบวงจรการเรยี นรู้ 5 ขนั้ ตอน (5E Learning Cycle model) ข้ันที่ 1 ข้นั สรา้ งความสนใจ ( 10 นาที ) 1. ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับฟลักซ์แม่เหล็ก โดยบริเวณใกล้ขั้วแม่เหล็กมีฟลักซ์แม่เหล็กหนาแน่น กว่าบรเิ วณทีไ่ กลออกไป และการใชง้ านของแกลแวนอมเิ ตอร์ 2. ครูให้ตัวแทนนักเรียนเป็นผู้สาธติ การใช้ลวดตัวนาเคล่ือนที่ตัดฟลกั ซ์แม่เหลก็ โดยอุปกรณ์ที่ใชส้ าธติ ประกอบด้วยสายไฟ แม่เหล็กรูปตัวยู และแอมมเิ ตอร์ 3. ครูให้ตัวแทนนักเรียนนาสายไฟมาต่อกับแอมมิเตอร์ขนาด 2 มิลลิแอมแปร์ แล้วนาสายไฟนี้ไป เคลื่อนท่ีตัดฟลักซแ์ ม่เหล็กในทิศตั้งฉาก ขณะสายไฟกาลังเคลื่อนที่ ครใู ห้นกั เรยี นสังเกตเข็มของแอมมเิ ตอร์ จะ พบวา่ เข็มของแอมมเิ ตอร์เบนไป แสดงวา่ เกิดกระแสไฟฟ้าขน้ึ ในสายไฟ 4. ครเู คล่อื นทีส่ ายไฟสวนทางกบั คร้งั แรก จากน้ันถามนักเรียนโดยมีประเด็นคาถาม ดังตอ่ ไปนี้ - จะเกดิ กระแสไฟฟ้าในสายไฟหรือไม่ และทิศทางจะเป็นอยา่ งไร (แนวคาตอบ ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ โดยไม่คาดหวังคาตอบท่ี ถูกตอ้ ง) ข้ันท่ี 2 ข้นั สารวจและคน้ หา ( 25 นาที ) 5. ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4 - 5 คน และให้ตัวแทนกลุ่มมารบั ใบงาน 6. นักเรยี นแต่ละกลุม่ ศึกษากจิ กรรมจากใบงานท่ี 1.8 เร่ือง กฎการเหน่ยี วนาของฟาราเดย์ 7. ครชู ้ีแจงจดุ ประสงคแ์ ละวธิ กี ารปฏิบัติกจิ กรรมให้นักเรยี นทราบ 8. นักเรยี นลงมือปฏบิ ัติกจิ กรรม และรายงานผล

ขนั้ ที่ 3 ขัน้ สรา้ งคาอธิบายและลงขอ้ สรปุ ( 15 นาที ) 9. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลการปฏิบตั กิ ิจกรรมหน้าชน้ั 10. ครูใหน้ กั เรยี นร่วมกันอภปิ รายเพ่ือนาไปสูก่ ารสรุป โดยใชค้ าถามตอ่ ไปนี้ - ขณะแท่งแม่เหล็กอยู่น่ิงในขดลวดเคลอื บฉนวน เข็มแกลแวนอมิเตอรเ์ บนจากเดิมหรอื ไม่ (แนวคาตอบ ไม่เบนจากเดมิ ) - ขณะเคลอ่ื นท่ปี ลายขัว้ แมเ่ หลก็ ออกแล้วเข้าขดลวด เขม็ แกลแวนอมิเตอรเ์ บนอยา่ งไร (แนวคาตอบ ขณะเคลื่อนที่ปลายขั้วแม่เหล็กออกจากขดลวดเข็มแกลแวนอมิเตอร์จะเบนจาก ตาแหน่งศนู ย์ไปในทิศทางหนง่ึ และขณะเคลื่อนที่เข้าขดลวดจะเบนจากตาแหนง่ ศนู ย์ไปในทศิ ทางตรงข้าม) - ขณะเคลื่อนที่ปลายขั้วแม่เหล็กออกแล้วเข้าขดลวดเร็วมากขึ้น เข็มแกลแวนอมิเตอร์เบนต่าง จากตอนแรกอยา่ งไร (แนวคาตอบ เข็มแกลแวนอมิเตอร์จะเบนจากตาแหน่งศูนย์ไปในทิศทางเช่นเดียวกับตอนแรก แตเ่ บนมากกว่าตอนแรก และขณะเคลอื่ นทเี่ ข้าขดลวดจะเบนจากตาแหน่งศนู ยไ์ ปใน ทิศทางตรงขา้ ม) - ขณะเคลื่อนที่ปลายขั้วแม่เหล็กออกแล้วเข้า ขดลวดมีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นหรือไม่ สังเกตได้ อยา่ งไร (แนวคาตอบ กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นสังเกตได้จากการเบนจากตาแหน่งศูนย์ของเข็มแกลแวนอ มิเตอร)์ - ขณะเคล่ือนที่ปลายขั้วแม่เหล็กออกและขณะเคลื่อนที่เข้าขดลวด กระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นมี ทศิ ทางเดยี วกันหรอื ไม่ สงั เกตได้อย่างไร (แนวคาตอบ ขณะเคลื่อนที่ปลายขั้วแม่เหล็กออกและขณะเคลื่อนที่เข้าขดลวด กระแสไฟฟ้ามี ทิศทางตรงข้ามกัน สังเกตได้จากทศิ ทางการเบนของเข็มแกลแวนอมิเตอร์ขากตาแหน่งศูนย์มีทิศทางตรงข้าม กนั ) - การเคล่อื นท่ปี ลายขัว้ แม่เหลก็ ออกแลว้ เข้าขดลวดดว้ ยความเรว็ ต่างกนั เกิดกระแสไฟฟ้าภายใน ขดลวดมขี นาดเทา่ กันหรอื ไม่ สงั เกตไดอ้ ยา่ งไร (แนวคาตอบ ไม่เทา่ กนั สงั เกตได้จากการเบนของเขม็ แกลแวนอมิเตอร์จากตาแหนง่ ศูนย์เบนไม่ เทา่ กัน) 11. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ เรื่อง กฎการเหนี่ยวนาของฟาราเดย์ ดังนี้ การ เปลี่ยนแปลงของฟลักซแ์ ม่เหล็กที่ผ่านขดลวด จะทาให้เกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนาและมกี ระแสไฟฟ้าเหน่ียวนาใน ขดลวด ขนาดของอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนามีค่าเท่ากับอัตราการเปลี่ยนแปลงของฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านขดลวด ซ่ึง เป็นไปตามกฎของฟาราเดย์ หาทิศทางของกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาได้จากแนวคดิ ที่ว่า สนามแม่เหล็กใหม่ท่ีเกดิ จากกระแสไฟฟ้าเหน่ียวนา จะตา้ นการเปลีย่ นแปลงของฟลักซ์แม่เหล็กเดิมซึง่ เปน็ ไปตามกฎของเลนซ์ ขั้นตอน การหาทิศทางของกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา สามารถหาได้คือ 1. หาการเปลี่ยนแปลงของฟลักซ์แม่เหล็กเดิมที่ ผ่านขดลวด 2. หาทิศทางของอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนาจากการหาสนามแม่เหล็กใหม่ ซึ่งจะมีทิศทางที่ต้านการ

เปลี่ยนแปลงของฟลักซ์แม่เหล็กเดิม และ 3. หาทิศทางของกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาด้วยการใช้มือขวา โดยใช้ นิ้วหัวแม่มือชี้ไปในทิศทางของสนามแม่เหล็กใหม่แล้วนิ้วทั้งสี่ที่วนไปตามขดลวด จะแสดงทิศทางของ กระแสไฟฟา้ เหน่ยี วนา ข้ันที่ 4 ขน้ั ขยายความรู้ ( 5 นาที ) 12. ครูเปิดวิดีทัศน์เกี่ยวกับกฎการเหนี่ยวนาของฟาราเดย์ให้นักเรียนรับชม เพื่อเพิ่มความเข้าใจให้ นกั เรยี นมากขนึ้ ขน้ั ที่ 5 ประเมนิ ผล ( 5 นาที ) 13. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏิบตั กิ จิ กรรม วสั ด/ุ อุปกรณ์ ส่ือและแหลง่ เรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียนฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 1 สงั กดั อจท. 2. หนงั สอื เรียนฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 5 สงั กัด สสวท. 3. วิดที ศั นก์ ารเรยี นรู้ เรือ่ ง กฎการเหน่ยี วนาของฟาราเดย์ 4. หอ้ งเรยี น 5. ห้องสมดุ 6. แหล่งข้อมลู สารสนเทศ 7. ใบงานที่ 1.8 กฎการเหนี่ยวนาของฟาราเดย์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook