Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 ธรรมวิภาค (นักธรรมโท)_1-150 หน้า

1 ธรรมวิภาค (นักธรรมโท)_1-150 หน้า

Published by อาจูหนานภิกขุ, 2019-12-25 08:20:42

Description: 1 ธรรมวิภาค (นักธรรมโท)_1-150 หน้า

Search

Read the Text Version

1๑  วิชา ธรรมวิภาค เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 21

2๒ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ขอบขายเน้อื หา วชิ าธรรม : ธรรมวภิ าคปริเฉทท่ี ๒ 2

 3๓ วชิ า ธรรมวภิ าค ทุกะ : หมวด ๒ อรยิ บคุ คล ๒ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 คําวา อริยบุคคล คือ บุคคลผูประเสริฐ หรือ บุคคลผูไกลจากขาศึกคือกิเลส หมายถึง บุคคลผูประเสริฐ ผูเลิศ หรือสูงกวาปุถุชนโดยทั่วไปดวยคุณธรรมตามชั้นภูมิของตนๆ โดยฐานทีล่ ะกเิ ลสไดเปน บางสว นหรอื ละไดโดยทงั้ หมด มี ๒ ประเภท คอื ๑. พระเสขะ พระผูยังตองศึกษา หมายถึง ผูมีกิจท่ีตองศึกษาในไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปญญา แลวนํามาปฏบิ ัติเพอื่ บรรลุคณุ วเิ ศษเบ้อื งสงู ย่งิ ขึ้นไป ไดแกพ ระอรยิ บุคคล ๗ ประเภท คอื ๑.๑ พระผูต ง้ั อยใู นโสดาปตติมรรค ๑.๒ พระผูต ั้งอยูในโสดาปตตผิ ล ๑.๓ พระผูตงั้ อยูในสกทาคามมิ รรค ๑.๔ พระผูต งั้ อยูในสกทาคามิผล ๑.๕ พระผูต ง้ั อยูในอนาคามมิ รรค ๑.๖ พระผูตง้ั อยใู นอนาคามิผล ๑.๗ พระผูต ั้งอยูในอรหตั ตมรรค ๒. พระอเสขะ พระผูไมตองศึกษาอีก ไดแก พระอริยบุคคลผูบรรลุอรหัตตผล หรือ สําเร็จเปนพระอรหันตท่ีจัดเปนพระอริยบุคคลชั้นสูงสุดในพระพุทธศาสนา เรียกอีกอยางหนึ่งวา พระอรหนั ตขณี าสพ คาํ วา อรหนั ต มีความหมาย ๕ อยาง คือ ๒.๑ ผไู กลจากกเิ ลสโดยสิน้ เชิง ๒.๒ ผทู าํ ลายขา ศกึ คือกเิ ลสไดหมดสนิ้ ๒.๓ ผหู ักกงกําแหง การเวยี นวา ยตายเกิดไดเ ดด็ ขาด ๒.๔ ผคู วรรับทกั ษณิ าอยา งยง่ิ ๒.๕ ผไู มมีที่ลบั ในการทําบาป 3

4๔ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 สว นคาํ วา ขีณาสพ แปลวา ผูส้ินอาสวะแลว หมายถึงละกิเลสท่ีช่ือวาอาสวะ ๔ อยาง คือ กามสวะ อาสวะคอื กาม ภวาสวะ อาสวะคือภพ ทิฏฐาสวะ อาสวะคือทิฏฐิ และอวิชชาสวะ อาสวะคือ อวชิ ชา ไดอ ยา งเบด็ เสรจ็ เด็ดขาดแลว กมั มัฏฐาน ๒ คําวา กัมมัฏฐาน คือ อารมณอันเปนที่ตั้งแหงการทํางานของจิต หรือสิ่งที่ใชเปนอารมณ ในการเจริญภาวนา เรียกอีกอยางหนึ่งวา ภาวนา แปลวา การเจริญ หรือการทําใหมีข้ึน หมายถึง การอบรมจติ ใจใหส งบและเกิดพัฒนาการทางปญญา มี ๒ ประเภท คอื ๑. สมถกัมมัฏฐาน กัมมัฏฐานเปนอุบายสงบใจ หมายถึง กระบวนการฝกจิตใหเปน สมาธิ โดยใชสติกําหนดยึดเอาอารมณอยางใดอยางหนึ่งเพ่ือใหจิตแนบแนนในอารมณ อันจะ สงผลใหสามารถสงบระงับจากนิวรณกิเลสได โดยเปนจิตมีอารมณเปนเลิศเปนหน่ึงท่ีเรียกวา เอกัคคตาจิต ซ่ึงควรแกการงานและเปนบาทฐานที่จะยกข้ึนสูวิปสสนาตอไป โดยส่ิงท่ีใชเปน เครือ่ งกําหนดจิตใหเ ปนสมาธิ มี ๔๐ วิธี ซึ่งเรียกวา อารมณกัมมัฏฐาน ๔๐ มีกสิณ ๑๐ เปนตน ๒. วิปสสนากัมมัฏฐาน กัมมัฏฐานเปนอุบายเรืองปญญา คือ กระบวนการฝกจิต ใหเกิดปญญา หมายถึง การเจริญจิตอบรมปญญาพิจารณานามรูปใหเห็นตามความเปนจริง โดยพิจารณาสภาวธรรม คือขันธ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย ๒๒ แยกกออกพิจารณา ตามหลักไตรลักษณ คือ ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา เปนเพียงประชุมธาตุ ท้ัง ๔ เทานั้น จนสามารถปลอยวางความยึดมนั่ ในสิ่งท้ังปวง ไมม คี วามยินดีในนามรูปไดในท่สี ดุ กัมมัฏฐาน ๒ ประเภทน้ี ทา นจัดตามความมุงหมายของการฝก กลาวคือ ถามุงฝกอบรม จิตใหต้ังม่ันเพื่อไดคุณวิเศษคือฌานสมาบัติ ก็เรียกวา สมถกัมมัฏฐาน ถามุงฝกจิตใหเกิดปญญา พิจารณารูเทาทันสภาวะที่เปนจริงของสังขารเพ่ือตัดกิเลสและดับทุกข ก็เรียกวา วิปสสนา กมั มฏั ฐาน 4

 5๕ วชิ า ธรรมวภิ าค กาม ๒ คําวา กาม แปลวา ความใคร ความพอใจ หรอื ความตองการ เปนคําที่มีความหมาย กลางๆ ไมดหี รือชัว่ ในทนี่ หี้ มายเอาความใครใ นทางท่ีไมด ี มี ๒ ประเภท คอื ๑. กิเลสกาม กิเลสเปนเหตุใคร หมายถึง กิเลสท่ีทําใหจิตใจคิดใคร ชักนําใจใหเกิด ความดิ้นรนอยากได เปนสิ่งที่ทําใหจิตขุนมัว หรือหมกมุนอยูในส่ิงนั้น ๆ ท่ีเรียกวา ปริยุฏฐาน กิเลส คือ กิเลสท่ีกอใหเกิดความเรารอนทะยานอยากไปในอารมณตาง ๆ เชน ราคะ ความกําหนัด โลภะ ความอยากได อิจฉา ความริษยา เปนตน กิเลสกาม ทานจัดวาเปน มาร เพราะเปนโทษ ลา งผลาญคณุ ความดขี องบคุ คล และทาํ ใหจิตตกตํา่ เสยี คนได ๒. วัตถุกาม วัตถุอันนา ใคร หมายถึง ส่งิ ที่นา ปรารถนา หรือสง่ิ ที่ทาํ ใหจติ ใจใครอยากได ไดแก กามคุณ ๕ คือ รูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ ที่นาปรารถนา นาใคร นาพอใจ วัตถุกาม ทา นจดั เปน บวงแหงมาร เพราะเปน อารมณเคร่อื งผกู ใจใหต ิดแหงมาร กามท้ัง ๒ อยา งมคี วามเกย่ี วเนอ่ื งกนั โดยกิเลสกามเปนตัวใคร วัตถุกามเปนสิ่งท่ีถูกใคร ทง้ั เปนตวั ยว่ั ยวนชวนใหร กั ใคร พาใจใหก ําหนดั ดวย ทฏิ ฐิ ๒ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 คําวา ทิฏฐิ แปลวา ความเห็น ในท่ีน้ีเปนความเห็นเกี่ยวกับการเวียนวายตายเกิด ในสังสารวัฏของสัตวโ ลก มคี วามหมายท่ีผดิ หลกั การของพระพุทธศาสนา มี ๒ ประเภท คือ ๑. สัสสตทิฏฐิ ความเห็นวาเท่ียง คือความคิดเห็นของบุคคลวาคติหรือความเปนไป ของสัตวโลกที่ตายไปแลวเปนของเท่ียง ไมมีการเปล่ียนแปลง เคยเกิดเปนอะไรก็เปนอยางนั้น เชน เคยเกิดเปน มนษุ ยตายไปกจ็ ะกลับมาเกิดเปน มนษุ ยอีก ไมม ีอะไรเปล่ยี นแปลง 5

6๖ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๒. อุจเฉททิฏฐิ ความเห็นวาขาดสูญ คือความคิดเห็นท่ีปฏิเสธตรงกันขามกับ สัสสตทิฏฐิ โดยเห็นวาคนหรือสัตวก็ตามเมื่อจุติหรือตายจากอัตภาพนั้นไปแลวเปนอันขาดสูญ ทัง้ หมด ไมมีส่งิ ท่ีจะไปถอื ปฏสิ นธิในภพใหมอ ีกตอไป ทางพระพุทธศาสนาถือวา การทําดีหรือช่ัว ผลของการกระทํายอมตกอยูกับผูกระทํา มอี าํ นาจท่ีจะนําไปสสู ุคตหิ รือทุคตไิ ด บุคคลทํากรรมใดไวก็จะตองไดรับผลของกรรมน้ัน ไมวาจะ เปนกรรมดหี รือกรรมช่ัว และการที่บคุ คลและสัตวจ ะไปเกิดเปนอะไร กย็ อ มแลวแตผลของกรรมที่ ตนทําไวท ัง้ สิน้ เทสนา ๒ คาํ วา เทสนา (เขียนวา เทศนา ก็ได) แปลวา การแสดง หมายถึง การแสดงหรือช้ีแจง ใหผูฟงเขาใจ มองเห็นส่ิงที่เปนคุณ เปนโทษ พรอมท้ังแนะนําส่ิงที่ควรทําและไมควรทํา มี ๒ ลักษณะ คอื ๑. ปุคคลาธิฏฐานา มีบุคคลเปนท่ีต้ัง (หรือ บุคคลาธิษฐาน) หมายถึง การแสดงธรรม ดวยการสมมติโดยยกบุคคลขึ้นเปนตัวอยางเพ่ือใหผูฟงเขาใจเนื้อความน้ันงายขึ้น เปนการแสดง ส่ิงท่ีเปนนามธรรมใหเ หน็ เปนรปู ธรรม การแสดงธรรมลักษณะน้ีพระพุทธองคท รงใชมาก ๒. ธัมมาธิฏฐานา มีธรรมเปนที่ตั้ง (หรือธรรมาธิษฐาน) หมายถึง การแสดงโดยยก เอาเฉพาะธรรมลวนๆ ข้ึนมาแสดง การแสดงธรรมโดยธรรมาธิษฐานนี้เปนเทสนาวิธีท่ีมีปรากฏ ชดั เจนเดนชัดอยใู นคมั ภรี พ ระอภธิ รรม เหมาะสาํ หรบั ผูทม่ี ีพนื้ ฐานทางธรรมแลว ธรรม ๒ (๑) 6

 7๗ วชิ า ธรรมวิภาค คําวา ธรรม (หรือธรรมะ) แปลวา สภาพท่ีทรงไว หรือ สภาพที่รักษาไว หมายถึง สภาพท่ีทรงไวซ ึ่งความเปนจรงิ ตามลักษณะของตน ไดแก ส่ิงท่ีเปนไปตามธรรมดาของโลก ซ่ึงมี อยูจรงิ ในโลกน้ี และเปน ไปตามกฎเกณฑของธรรมชาติ แบงออกเปน ๒ ประเภท คอื ๑. รปู ธรรม สภาวะท่ีเปนรูป หมายถงึ สง่ิ ทส่ี ามารถรับรูไดดวยการสัมผัสถูกตองทาง ตา หู จมูก ลน้ิ กาย ไดแ ก ส่ิงท่ีถกู สภาวะปจจยั ปรงุ แตงขน้ึ ทจ่ี ดั เขา ในรปู ขนั ธท ั้งหมด ซึง่ เมอ่ื แยก ออกเปน สวนยอ ยแลว ก็ไดแก ธาตุ ๔ คือดนิ นาํ้ ไฟ ลม ๒. อรูปธรรม สภาวะท่ีมิใชรูป หมายถึง สภาพท่ีไมมีตัวตนปรากฏอยู ไมสามารถ ถูกตอง หรือพิสูจนไดโดยวัตถุดวยประการใดๆ แตเปนสิ่งที่ปรากฏทางใจ กลาวโดยยอ ไดแก ธรรมท่ีนบั เน่อื งในนามขนั ธ ๔ คือ เวทนา การท่ีใจเสวยอารมณ มีความรูสึกสุข ทุกข หนาว รอน เปนตน สญั ญา ความจาํ ไดหมายรสู งั ขาร คอื เจตสกิ ธรรมท่ปี รุงแตงจิต ทําใหเกิดความคิดทางท่ีดี หรือทางทชี่ ัว่ หรือทางไมด ไี มชัว่ วญิ ญาณ ความรูแจงในอารมณตางๆ เชน รูแจงวา เปนสุขเปนทุกข เปนตน ธรรมเหลานีเ้ ปนเพยี งนามธรรม หามรี ปู รางตัวตนปรากฏไม ดังนั้น จงึ เรียกวา อรปู ธรรม ธรรม ๒ (๒) เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 คําวา ธรรม ในหัวขอนี้มิไดหมายถึงสภาวธรรมเหมือนธรรมในหัวขอที่กลาวมา แตห มายถงึ ธรรมอันเปน คําส่งั สอนของพระพทุ ธเจา ซึ่งสามารถยังผูปฏิบัติมิใหตกไปในที่ชั่ว ซ่ึง ทา นมุงกลาวในเชิงธรรมปฏบิ ัติ จึงหมายเอาเฉพาะธรรมที่เปน ฝายกุศล แบง ออกเปน ๒ ประเภท คอื ๑. โลกยิ ธรรม ธรรมอันเปนวสิ ัยของโลก หมายถึง ธรรมที่เปนวิสัยของบุคคลทั่วไป ซ่ึงเปน หลักธรรมเบอ้ื งตน ของการดาํ เนนิ ชีวติ ของกัลยาณชน เชน หิริ โอตตัปปะ สติ สัมปชัญญะ กตญั กู ตเวทิตา พรหมวหิ าร ๔ อิทธิบาท ๔ พละ ๕ เปนตน ๒. โลกุตตรธรรม ธรรมท่ีพนวิสัยของโลก หมายถึง ธรรมชั้นอริยภูมิ คือธรรมท่ี พระอริยบุคคลมีพระโสดาบันเปนตน กลาวโดยยอ ไดแก อริยธรรม ๙ อยาง แบงเปน มรรค ๔ คือ โสดาปตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตตมรรค ผล ๔ คือโสดาปตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตตผล และนิพพาน ๑ ซึง่ เรยี กวา นวโลกตุ ตรธรรม ธรรมเหลานี้ พระอรยิ บคุ คลที่ดํารงอยใู นช้นั น้นั ๆ ยอมมองเหน็ ได ทานจงึ เรียกวา ธรรมอันพน วสิ ัยของโลก 7

8๘ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ธรรม ๒ (๓) คําวา ธรรม ในท่ีน้ีหมายถึง สภาวะท่ีถูกเหตุปจจัยปรุงแตงขึ้น และสภาวะที่ไมได ถกู เหตปุ จจยั ปรงุ แตง คือสภาวะท่ที รงไวซงึ่ ลกั ษณะของตน ดงั น้ี ๑. สังขตธรรม ธรรมอันปจจัยปรุงแตง หมายถึง ส่ิงตางๆ ท่ีมีอยูในโลกโดยอาศัย ปจ จยั ปรงุ แตง ข้นึ จําแนกเปน ๒ ประเภท คอื ๑.๑ อุปาทินนกธรรม ส่ิงที่เปนอุปาทินนกะ คือมีกรรมที่ประกอบดวยตัณหา และทฏิ ฐิเขายดึ ครอง หรอื สงั ขารท่ีมใี จครอง ไดแ กค นและสัตว ๑.๒ อนุปาทินนกธรรม สิง่ ท่ีเปนอนุปาทินนกะ คือไมมีกรรมที่ประกอบดวยตัณหา และทฏิ ฐิเขายึดครอง หรือสงั ขารทไ่ี มมใี จครอง ไดแ ก แผน ดิน ภเู ขา ตน ไม เปนตน ๒. อสังขตธรรม ธรรมอันปจจัยมิไดปรุงแตง หมายเอาธรรมท่ีไมตองอาศัยปจจัยอื่น ปรงุ แตง ไดแ ก พระนิพพาน ซึ่งมสี ภาวะท่ีปลอดจากกิเลสอนั เปนเคร่ืองปรงุ แตง ทงั้ ปวง นิพพาน ๒ คาํ วา นิพพาน แปลได ๒ นยั คอื (๑) แปลวา ธรรมหาเครื่องเสยี บแทงมิได หมายถึง ภาวะจิตท่ีปราศจากตัณหาเครื่อง เสียบแทงใจใหท ะยานอยากดิน้ รนไปตามอาํ นาจกามตณั หา ภวตัณหา และวิภวตัณหา (๒) แปลวา ความดับ หมายถึง สภาพท่ีดับกิเลสคือราคะ โทสะ และโมหะไดอยาง 8

 9๙ วชิ า ธรรมวิภาค เบ็ดเสรจ็ เดด็ ขาด หรอื สภาพทีด่ บั กองทุกขใ นวิวัฏฏะท้ังมวล กลาวโดยสรุป นิพพาน หมายถึง ภาวะจิตท่ีเปนสุขสูงสุดเพราะไรกิเลส ไรทุกข จัดเปนอสังขตธรรมไมมีปจจัยอะไรปรุงแตง จัดเปนโลกุตตรธรรม และเปนจุดมุงหมายสูงสุด ในพระพทุ ธศาสนา ในท่นี จ้ี ดั ตามลักษณะแหงความดับเปน ๒ ลกั ษณะ คือ ๑. สอุปาทิเสสนิพพาน ดับกิเลสยังมีเบญจขันธเหลือ หรือภาวะส้ินกิเลสแตยังมีชีวิต ซึ่งเรยี กวา กิเลสปรนิ ิพพาน หมายถึง พระอรหันตท่ีละกิเลสทั้งมวลแลว แตขันธ ๕ คือรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณของทานยังอยูจึงตองประสบกับโลกธรรม แตสิ่งเหลานี้ก็เปนเพียงสิ่งท่ี ปรากฏแกทานเทานนั้ ไมส ามารถทําใหกเิ ลสเกิดขน้ึ หรือฟขู ้ึนอีกได ๒. อนุปาทิเสสนิพพาน ดับกิเลสไมมีเบญจขันธเหลือ หรือภาวะท่ีสิ้นกิเลสและชีวิต ซึ่งเรียกวา ขันธปรินิพพาน คือการสิ้นชีวิตของพระอรหันตผูระงับการเสวยอารมณท้ังปวง และ ขนั ธ ๕ คือรูป เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ ทเ่ี ปน เครอ่ื งเสวยอารมณดบั สนทิ แลว เปนนิพพาน ทเี่ รียกวา อมตธรรมบาง อสงั ขตธรรมบา ง บูชา ๒ คําวา บูชา หมายถึง กริยาท่ีพุทธศาสนิกชนแสดงความเคารพ นับถือ กราบไหว ใหความยําเกรงตอพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ ซ่งึ รวมเรียกวา การบชู าพระรัตนตรยั อันเปน สรณะที่พ่ึงอันประเสริฐสูงสุดของบรรดาพุทธศาสนิกชน ซ่ึงรวมไปถึงการทําการสักการบูชา สถานทีท่ คี่ วรบูชา ทานจัดไวเปน ๒ ประเภท คอื ๑. อามิสบูชา บูชาดวยอามิส ไดแก การบูชาดวยเครื่องสักการะที่เปนวัตถุส่ิงของ เชน การถวายดอกไมธูปเทียนเปนเคร่ืองสกั การบูชาพระรัตนตรยั การถวายเครอ่ื งไทยธรรม ๒. ปฏปิ ตติบูชา บูชาดวยการปฏิบัติตาม (ปฏิบัติบูชา) หรือเรียกวา ธรรมบูชา คือ การบชู าดว ยการประพฤตธิ รรม ไดแ กก ารฟง หรอื ศกึ ษาเลา เรยี นคาํ สั่งสอนของพระพุทธองคแลว ประพฤติปฏบิ ตั ติ ามพระธรรมที่พระองคตรัสไวด แี ลวดว ยความเตม็ ใจ ในการบชู า ๒ อยางนี้พระพุทธองคทรงสรรเสริญปฏิบัติบูชาวาประเสริฐ เพราะสามารถ ทรี่ กั ษาพระสทั ธรรมหรือดาํ รงพระพุทธศาสนาไวไดนานยง่ิ กวา อามิสบูชา เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 9

1๑0๐ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ปฏิสนั ถาร ๒ คําวา ปฏิสันถาร หมายถึง การตอนรับ หรอื การรับรอง ซึ่งถือวาเปนสิ่งสําคัญประการ หนง่ึ ของผเู ปนเจาถนิ่ ในการกระทาํ ปฏสิ นั ถารนน้ั ทานแสดงลักษณะการทาํ ไว ๒ ลกั ษณะ คือ ๑. อามิสปฏิสันถาร ปฏิสันถารดวยอามิส หมายถึง การตอนรับดวยวัตถุสิ่งของ คือการจดั หาวตั ถุท่ีเปนสง่ิ ของเครอื่ งตอนรับ เชน ขา ว นํ้า หรือเสนาสนะทพ่ี ักอาศัย เปน ตน ๒. ธัมมปฏิสันถาร ปฏิสันถารโดยธรรม หมายถึง การแสดงการตอนรับตามเหมาะสม แกแขกผูมาเยือนดวยการทักทายปราศัยดวยกิริยาทาทางใบหนาท่ียิ้มแยมแจมใส กลาวตอนรับ ดวยถอยคําที่ไพเราะ แสดงความเปนกันเอง หรือแสดงความเคารพตอผูท่ีควรเคารพ โดย ไมแ สดงกิริยาอาการเยอหย่ิงใดๆ อน่ึง การกลาวธรรมใหฟง หรือการแนะนําพร่ําสอนในส่ิงที่เปนบาป บุญ คุณ โทษ ประโยชน และมิใชป ระโยชนแ กผ ูอ ืน่ ดวยความปรารถนาดี กจ็ ัดเขา ในธัมมปฏสิ นั ถารนด้ี วย ปรเิ ยสนา ๒ คําวา ปริเยสนา แปลวา การแสวงหา หมายถึง กริ ิยาของบุคคลผูมีความตองการสิ่งใด ส่ิงหนึง่ แลวก็เสาะหาเพื่อจะไดส งิ่ ทีต่ นตองการ ทา นแยกออกเปน ๒ ลกั ษณะ คอื ๑. อริยปรเิ ยสนา การแสวงหาอยางประเสรฐิ หรือแสวงหาอยางอารยะ กลาวในทางโลก หมายถึง การแสวงหาในทางท่ีดี ไดแก สัมมาอาชีวะ คือการเล้ียงชีพในทางที่ชอบ โดยเวนจาก พฤติกรรมอนั เปนทจุ รติ แสวงหาแตในทางสุจรติ เทา นัน้ กลา วในทางธรรม หมายถึง การแสวงหา ธรรมอันเกษมคือพระนิพพาน หรือหมายถึง การแสวงหาธรรมอันไมแก ไมเจ็บ ไมตาย ที่ เรยี กวา อมตธรรม ซ่ึงเปนการแสวงหาและปฏิบตั ติ นเพอ่ื กาวลว งทุกขท้งั ปวง 10

 1๑1๑ วชิ า ธรรมวิภาค ๒. อนริยปริเยสนา การแสวงหาอยางไมประเสริฐ กลาวในทางโลก หมายเอา การแสวงหาเคร่ืองเล้ียงชีพในทางท่ีผิดท่ีเรียกวา มิจฉาอาชีวะ อันจะนําความเดือดรอนมาสูตน และผอู ืน่ ไดแ ก การหาเล้ียงชีพในทางทุจริต กลาวในทางธรรม หมายถึง การแสวงหาส่ิงอันมิใช ทางพน ทุกขอ ันเปนเหตใุ หตองมคี วามเวียนวา ยตายเกดิ อยรู า่ํ ไป ปาพจน ๒ คําวา ปาพจน แปลวา คําเปนประธาน หมายถึง คําท่ีเปนหัวขอหรือรวบรวมเนื้อความ คําส่งั สอนของพระพุทธเจา ท้ังหมด ไดแ ก พระพุทธพจนใ นพระไตรปฎ ก ทจ่ี าํ แนกเปน ๒ ประการ คอื ๑. ธรรม คําส่ังสอนของพระพุทธเจา หมายถึง ขอปฏิบัติที่เปนทางนําความประพฤติ และอัธยาศัยใหประณีต ไมทรงปรับโทษสําหรับผูไมปฏิบัติ เปนเพียงคําทรงสอน ใครจะทําตาม หรือไมทําตามก็ได แตผ ลกจ็ ะตกอยูแกตัวผูปฏิบัติเอง คืออยูเปนสุขตามสมควรแกการปฏิบัติของตน พระธรรมคําสง่ั สอนน้ันมตี ้ังแตร ะดับพ้นื ฐานทเ่ี ปนขอ ปฏบิ ัตเิ บอ้ื งตนสําหรับการอยูรวมกันของคน ในสังคม ทเ่ี รียกวาธรรมระดับศีลธรรมไปจนถึงธรรมท่ีเปนขอปฏิบัติระดับที่จะทําใหพนจากทุกข เปน ทีส่ ุด และไดรบั การรวบรวมไวในพระสตุ ตันตปฎ ก และพระอภธิ รรมปฎก ๒. วินยั คําบัญญตั ิของพระพุทธเจา หมายถึง ขอปฏิบัติท่ีเนื่องดวยระเบียบ ขอบัญญัติ ท่ีทรงตั้งไวเปนพุทธอาณา อันจะนําความประพฤติใหสม่ําเสมอ เปนเครื่องบริหารหมูคณะ โดย ทรงปรับโทษสําหรับผูไมปฏิบัติ ซึ่งมีท้ังขอท่ีทรงอนุญาตและขอทรงหามซ่ึงไดรับการประมวลไว ในพระวินัยปฎก ในปาพจนทั้ง ๒ นี้ พระวินัยจัดวาเปนสิ่งสําคัญ ซ่ึงทานเปรียบเสมือนหลักหรือรากแกว ของพระพุทธศาสานา เพราะเปนเครื่องบริหารหมูคณะ และเปนทางนําความประพฤติให สมํา่ เสมอ ถา ขาดวินัยเสยี แลว หมคู ณะก็จะอยเู ปนสุขไมไ ด เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 11

1๑2๒ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 รปู ๒ คําวา รูป หมายถึง สภาวะท่ีแปรปรวนแตกสลายเพราะปจจัยตางๆ อันขัดแยงกัน รางกายและสว นประกอบฝายวตั ถุพรอ มทัง้ พฤตกิ รรมและคณุ สมบัตขิ องมันมี ๒ ประเภท คอื ๑. มหาภูตรูป รูปใหญ หมายถึง สภาวะอันปรากฏไดเปนใหญๆ โตๆ หรือเปนตางๆ ไดมากมาย รูปที่มีอยูโดยสภาวะชัดเจน ไดแก ธาตุ ๔ หรือภูตรูป ๔ คือ (๑) ปฐวีธาตุ ธาตุดิน (๒) อาโปธาตุ ธาตุนํา้ (๓) เตโชธาตุ ธาตุไฟ (๔) วาโยธาตุ ธาตุลม ๒. อปุ าทายรูป รูปอาศัย หมายถึง รูปคือกิริยาอาการของรางกายท่ีตองอาศัยมหาภูตรูป จําแนกแยกยอยออกเปน ๒๔ ประการ คือ ๒.๑ ปสาทรูป คอื รูปทเ่ี ปนประสาทสําหรบั รบั อารมณ ๕ อยาง ๑) จักขุปสาท สง่ิ ทใ่ี หสําเรจ็ การเหน็ (ตา) ๒) โสตปสาท สง่ิ ทีใ่ หสาํ เรจ็ การฟง (หู) ๓) ฆานปสาท สิง่ ทใี่ หส าํ เร็จการดม (จมูก) ๔) ชวิ หาปสาท สิง่ ท่ีใหส ําเร็จการล้มิ (ล้ิน) ๕) กายปสาท ส่ิงที่ใหสาํ เร็จการรสู กึ สมั ผสั (กาย) ๒.๒ โคจรรูป หรือวิสัยแหงรูป คือรูปที่เปนอารมณ หรือความรูสึกที่เกิดจาก ปสาทรปู ๕ คอื ๑) รปู ะ รูปอนั เปนวิสยั แหงจกั ขุ คอื แสงสีทต่ี ามองเหน็ ๒) สัททะ รปู อนั เปน วสิ ัย แหงโสตะ คือเสียงท่หี ไู ดยนิ ๓) คนั ธะ รปู อันเปน วิสัยแหง จมกู คอื กลิ่นท่ีจมูกรูส กึ ๔) รสะ รูปอันเปนวิสัยแหงล้ิน คือรสท่ีล้ินรูสึก (โผฏฐัพพะ ๕) รูปอันเปน วิสยั แหงกายคือส่ิงท่กี ายรูสกึ สัมผัส ๒.๓ ภาวรูป รูปท่ีบงบอกถึงเพศ มี ๒ เพศ คือ ๑) อิตถีภาวรูป (รูปคือความเปน หญงิ ) ๒) ปรุ ิสภาวรูป (รปู คอื ความเปน ชาย) ๒.๔ หทัยรปู รูปคอื หทยั หรือหทัยวตั ถุ ทต่ี ้งั แหงหัวใจ ๒.๕ ชีวติ รปู สภาวะทรี่ ักษารูปใหอ ยู เรยี กอกี อยา งวา ชวี ิตนิ ทรีย อนิ ทรยี คอื ชวี ติ 12

 1๑3๓ วชิ า ธรรมวิภาค ๒.๖ อาหารรูป โอชารสที่เกิดแตอาหารท่ีกินเขาไป เรียกอีกอยางหน่ึงวา กวฬงิ การาหาร อาหารคือคําขา ว ๒.๗ ปรจิ เฉทรูป รูปท่ีกําหนดเทศะ หรือเรียกอีกอยางวา อากาศธาตุ สภาวะ คือ ชองวาง หมายถึง ชอ งตา งๆ ที่มอี ยูในรางกาย ๒.๘ วิญญัติรูป รูปคอื การเคล่อื นไหวใหรคู วามหมาย มี ๒ อยางไดแก ๑) กายวิญญตั ติ การเคล่อื นไหวใหร ูความหมายดว ยกาย ๒) วจีวิญญตั ิ การเคล่ือนไหวใหรคู วามหมายดว ยวาจา หรือการพูด ๒.๙ วกิ ารรปู รูปคืออาการท่เี ปนไปดวยอาการตางๆ มี ๓ อาการ คอื ๑) ลหุตา ความเบา ๒) มทุ ตุ า ความออ นสลวย ๓) กัมมญั ญตา ความควรแกการงาน ๒.๑๐ ลักษณรปู รปู คอื ลกั ษณะหรอื อาการเปน เคร่ืองกําหนด มี ๔ ลกั ษณะ คอื ๑) อุปจยะ ความกอตัวหรอื เตบิ ใหญข ้นึ ไปกวา เดมิ ๒) สันตติ ความสืบตอ หรอื ความสืบเนื่องกันไป ๓) ชรตา ความทรดุ โทรม ความเสื่อมโทรมไป ๔) อนจิ จตา ความแปรปรวนแตกสลาย หรอื ไมย่ังยนื วมิ ุตติ ๒ คําวา วิมุตติ แปลวา ความพนอยางวิเศษ หรือความหลุดพนจากกิเลสาสวะท้ังปวง มี ๒ ประเภท คือ ๑. เจโตวิมุตติ ความหลดุ พน ดวยอํานาจแหงใจ หมายถึง ความหลดุ พนดว ยอํานาจ การฝกจิต หรือกําลังสมาธิ โดยผูบําเพ็ญสมถกัมมัฏฐานจนไดฌานกอนแลวจึงบําเพ็ญวิปสสนา กัมมัฏฐานจนสําเร็จเปนพระอรหันตไดคุณวิเศษ คือเตวิชโช ผูไดวิชชา ๓ ฉฬภิญญา ผูได อภิญญา ๖ จตปุ ปฏิสมั ภทิ ัปปต โต ผถู งึ ปฏิสมั ภทิ า ๔ พระอรหนั ตป ระเภทนสี้ ามารถแสดงฤทธ์ิได ๒. ปญญาวมิ ตุ ติ ความหลุดพนดวยอํานาจแหงปญญา หมายถึง ปญญาท่ีเปนเหตุ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 13

1๑4๔ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 บรรลุอรหัตตผล ซ่ึงทําใหหลุดพนจากเคร่ืองผูกพันคือกิเลสและอวิชชาไดอยางสิ้นเชิง ไดแก วิมุตติท่ีไดบรรลุดวยลําพังบําเพ็ญวิปสสนากัมมัฏฐานลวนๆ โดยไมไดบําเพ็ญวิปสสนาที่มี สมถกัมฏฐานเปนพื้นมากอน เปนแตเพียงทํากิเลสาสวะใหแหงไปเฉยๆ เรียกอีกอยางหนึ่งวา พระอรหันต ผูสุกขวิปสสกะ แปลวา ผูมีวิปสสนาอันแหงแลง หรือผูเห็นแจงอยางแหงแลง พระอรหนั ตประเภทนแี้ สดงฤทธิ์ไมไ ด สงั ขาร ๒ สังขาร แปลวา สภาพท่ีปรุงแตง หมายถึง สังขารท่ีเกิดจากการปรุงแตงของปจจัย คือ สิ่งท่ีธรรมดาคุมกันเขาปรุงแตงขึ้นจากธาตุ ๔ เชน คน สัตว ตนไม เปนตน และสิ่งท่ีบุคคลปรุงแตง ประกอบขึ้นตางๆ เชน เรือน รถ เปนตน สังขารนี้มีลักษณะประจําตัว ๓ ประการ คืออนิจจัง ไมเท่ยี ง ทกุ ขงั เปนทกุ ข อนัตตา ไมใชตวั ตน มี ๒ ประเภท ๑. อุปาทินนกสังขาร สังขารมีใจครอง ไดแก ส่ิงมีชีวิต มีจิต และวิญญาณครอง ทง้ั หมด เชน เทวดา มนษุ ย อมนษุ ย และสัตวทั้งหลาย ซึง่ เปน ผูมีชีวิต มจี ติ ใจ สามารถเคลื่อนได ๒. อนุปาทินนกสังขาร สังขารไมมีใจครอง ไดแก สิ่งท่ีธรรมดาปรุงแตงขึ้น แตไมมี ใจครอง เชน ตนไม ภูเขา แมน้ํา เปนตน ที่เกิดข้ึนโดยธรรมชาติ กับส่ิงท่ีมนุษยสรางขึ้น เชน ทอี่ ยอู าศัย ยารักษาโรค เปนตน สมาธิ ๒ สมาธิ แปลวา ความตั้งม่ัน (แหงจิต) หมายถึง ภาวะที่จิตตั้งม่ันอยูในอารมณอันเดียว ไมฟ งุ ซา นไปในอารมณต า งๆ จาํ แนกเปน ๒ ประเภท คือ 14

 1๑5๕ วชิ า ธรรมวิภาค ๑. อุปจารสมาธิ สมาธิเปนแตเฉียดๆ หมายถึง สมาธิจวนหรือเกือบจะแนวแน แต ยังไมแ นว แน ไดแก ภาวะท่ีจิตยังไมตั้งมั่นในอารมณ เปนแตเพียงเกือบจะแนวแนในอารมณ ถา ไมร ักษาใหด ี อาจจะเสอ่ื มได เพราะสมาธใิ นชัน้ อปุ จารนี้ยังไมด ่งิ ลงแท ๒. อัปปนาสมาธิ สมาธิแนวแน หมายถึง สมาธิท่ีแนบสนิท ไดแก ภาวะท่ีจิตเปน สมาธิ แนบแนน ไมหวั่นไหวในอารมณอ ่นื คอื ลกั ษณะของจิตทีม่ ีอารมณเปนอันเดียวกันของทาน ผูไ ดฌาน จัดเปน สมาธิชนั้ สงู สดุ ในการบาํ เพ็ญสมถกมั มฏั ฐาน หรอื เรียกวาสมาธใิ นฌาน สุข ๒ สุข แปลวา สภาพทท่ี นไดง าย หมายถึง สภาพท่ีกดั เสยี ซง่ึ ทุกข ไดแก ความสบาย หรือ ภาวะทีก่ ายและจิตปราศจากความเดือดรอ นโดยประการตางๆ แบงเปน ๒ ประเภท คอื ๑. กายกิ สุข สขุ ทางกาย คือการท่ีกายมีภาวะเปนปกติ ไมมีโรคเบียดเบียนและไมได รับความเจ็บปวดจากการกระทบกระท่ังกับส่ิงอ่ืนๆ โดยมีทรัพยสมบัติพรอมท้ังเครื่องอุปโภค บริโภคใชสอยอยางพรอมมูล ตลอดถึงการท่ีกายไมตองไดรับความเหน็ดเหนื่อยเม่ือยลาดวย กจิ การท่ีจะพงึ ทําตา งๆ เปนตน ๒. เจตสกิ สขุ สขุ ทางใจ หมายถงึ การที่ใจมคี วามสําราญแชมชื่นไมขุนมัวดวยอํานาจ กิเลส คือโลภะ โทสะ โมหะ อันเปนเหตุเศราหมองแหงใจ อีกอยางหนึ่ง ไดแกสภาวะแหงใจท่ีมี ปกติผอ งใสไมข นุ มัวดวยอารมณที่มากระทบ มีปกตเิ ยน็ และแชมช่นื อยเู ปนนจิ สขุ ทางใจนับวา เปนส่งิ สาํ คัญ เพราะบุคคลแมกายจะไดรับความลําบากเพียงใดก็ตามถา ใจเปนสุข ไมขุนมัวแลว ยอมทนตอความทุกขท่ีเกิดข้ึนทางกายทั้งยังอาจหาอุบายหลีกเล่ียง ความทกุ ขน นั้ ๆ ไดด วย เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 15

1๑6๖ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 สขุ ๒ (อกี นัยหน่งึ ) สุข ในหัวขอน้ีมีลักษณะคลายกันกับสุข ๒ ขางตน ตางกันแตเพียงวา ในสุข ๒ ขางตน ทา นกลา วถงึ เฉพาะผลคือความสุขอยา งเดยี ว สว นสุขในหัวขอ น้ีทา นกลาวถึงเหตุแหงความสขุ คอื ๑. อามิสสุข สุขอิงอามิส (คือกามคุณ) หมายถึง สุขที่จะตองอาศัยเหยื่อลอ เหยื่อท่ี เปนเครื่องลอนั้น คือกามคุณ ๕ ไดแก รูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ ท่ีนาปรารถนา นารักใคร ส่ิงเหลาน้ีช่ือวาเปนเหยื่อลอเพราะเปนเหตุจูงใจใหใคร ใหปรารถนา เม่ือไดสมความปรารถนาก็ กอ ใหเกดิ สขุ ๒. นิรามิสสุข สุขไมอิงอามิส (คืออิงเนกขัมมะ) หมายถึง สุขท่ีไมตองอาศัยเหย่ือลอ สุขปลอดโปรง เพราะใจสงบ หรือไดเห็นแจงตามเปนจรงิ คือความสุขอยางหน่ึงท่ีไมจําเปนตองอิง อามิสแตอาศัยเนกขัมมะ คือการพรากจิตออกเสียใหหางจากกามคุณ ๕ และกิเลสาสวะท้ังปวง จิตที่ปราศจากกิเลสยอมเปนจิตที่ผองใส สงบ เย็น ไมขุนมัว ไดแกความสุขคือพระนิพพาน ซ่ึง เปน ความสุขทมี่ ีแกพระอริยบุคคลเทานั้น สุทธิ ๒ สุทธิ แปลวา ความหมดจด หมายถึง ความหมดจดแหงจิตในการบําเพ็ญเพียรเปน ภาวะท่จี ติ บรสิ ุทธิจ์ ากกิเลสาสวะตามสมควรแกช น้ั ภูมิของผูปฏิบตั ิ จาํ แนกเปน ๒ ประเภท คอื ๑. ปริยายสุทธิ หมดจดโดยเอกเทส หมายถึง ความหมดจดเปนบางอยาง หรือ บางสวน คอื ปฏบิ ัตกิ าย วาจา ใจบรสิ ุทธิเ์ ปนอยา งๆ เชน ความหมดจดของทา นผปู ฏิบตั บิ างทา น ท่ีมีกายหมดจด แตวาจายังไมหมดจด หรือมีกายและวาจาหมดจดแลว แตใจยังไมหมดจด อีกอยา งหนึ่ง ไดแ ก ความหมดจดของพระอริยบุคคล ๗ จําพวก ต้ังแตผูต้ังอยูในโสดาปตติมรรค 16

 1๑7๗ วชิ า ธรรมวภิ าค เปนตนไป จนถึงผูต้ังอยูในอรหัตตมรรคเปนที่สุด ซ่ึงแตละจําพวกยอมละกิเลสหรือหมดจดจาก กิเลสไดเปนอยางๆ ตามลําดับ กลาวสั้นๆ ไดแกความหมดจดของพระเสขะซึ่งยังไมนับวาเปน ความหมดจดแท ยงั มกี ารละและการบาํ เพญ็ ทีเ่ ปนกจิ อยูอกี ๒. นิปปริยายสทุ ธิ หมดจดโดยสิ้นเชิง หมายถึง ความหมดจดของพระอริยบุคคล ผูละ กิเลสาสวะไดสิ้นเชิงแลว และกิเลสาสวะเหลานั้นก็ไมกลับกําเริบขึ้นแกทานอีก เม่ือกลาวถึง ตัวบุคคล ไดแ ก ความหมดจดของพระอเสขะ หรือทา นผตู ั้งอยใู นอรหัตตผล เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 17

1๑8๘ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท ติกะ : หมวด ๓ ๑. กามวติ ก ความตริในทางกาม ๒. พยาบาทวิตก ความตริในทางพยาบาท ๓. วหิ งิ สาวติ ก ความตริในทางเบียดเบยี น อกุศลวิตก แปลวา ความตริหรือความตรึกในทางอกุศล ไดแก ความนึกคิดไปในทาง ไมดี เปน อาการทีเ่ กิดข้นึ กับจติ ใหคดิ ตรึกตรองไปในทางช่ัว ๓ ลกั ษณะ คอื ๑. กามวิตก ความตริในทางกาม หมายถึง ความตริตรึกนึกคิดที่มีราคะเปนสมุฏฐาน คอื ความตรทิ ปี่ ระกอบดว ยอธรรมราคะ (ความกําหนัดยินดีที่ผิดธรรม) เชน ความคิดแสไปในการทํา กาเมสมุ จิ ฉาจารและทําทุราจารผิดประเพณี ๒. พยาบาทวิตก ความตริในทางพยาบาท หมายถึง ความตริตรึกนึกคิดที่มีโทสะเปน สมุฏฐาน คือความตริที่ประกอบดวยพยาบาท โดยคิดทําลายหรือตัดรอนผูอื่นดวยความขัดเคือง โกรธแคนที่เก็บไวในใจ เปนอาการของจิตที่ปราศจากความเมตตา เพงมองผูอื่นในแงราย มุงแตจะ ใหเ กิดความทกุ ขแกผูอน่ื พยาบาทวิตกน้สี ามารถกาํ จดั ไดด วยเมตตา ๓. วิหิงสาวิตก ความตริในทางเบียดเบียน หมายถึง ความตริตรึกนึกคิดที่ ประกอบดวยเจตนาเปนเหตุทําความลําบาก หรือกอความเดือดรอนแกผูอื่น โดยปราศจากความ กรุณา เชน คิดใชคนหรือสัตวพาหนะเกินกําลังความสามารถ วิหิงสาวิตกทานวามีโมหะเปน สมุฏฐาน สามารถกาํ จดั ไดด วยกรณุ า อกุศลวิตกทั้ง ๓ อยางน้ี ควรระวังอยาใหเกิดขึ้น เม่ือเกิดขึ้นแลว ควรหาทางระงับเสีย เพราะเปน เหตขุ ัดขวางตอการบาํ เพ็ญความดขี องตน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 18

 1๑9๙ วชิ า ธรรมวิภาค ๑. เนกขมั มวิตก ความตรใิ นทางพรากจากกาม ๒. อพั ยาบาทวิตก ความตริในทางไมพยาบาท ๓. อวิหงิ สาวิตก ความตรใิ นทางไมเบยี ดเบียน กุศลวิตก แปลวา ความตริในทางกุศล หมายถึง ความนึกคิดที่ดีงาม ซ่ึงเปนอาการ ของจติ ท่มี ีความคดิ ตริตรองไปในฝา ยดีทต่ี รงกันขามกบั อกศุ ลวิตก ๓ อยา ง ดังกลา วมา คือ ๑. เนกขัมมวิตก ความตริในทางพรากจากกาม หมายถึง ความตริตรึกนึกคิดที่ เปน ไปเพื่อทําใจไมใหล ุแกอ าํ นาจกิเลสกามและไมต ิดอยูในวัตถุกาม โดยคํานึงถึงโทษของกามวา เปนเหตุแหงความฟุงซานของจิตไมมีที่สุด จึงมีความคิดท่ีจะพรากจากไปดวยเนกขัมมะ คือ การออกบรรพชา ซงึ่ จะเปนเหตใุ หไ ดก ายวิเวก และจิตตวิเวกตลอดจนอปุ ธวิ เิ วกในท่สี ดุ ๒. อัพยาบาทวติ ก ความตริในทางไมพยาบาท หมายถึง ความตริตรึกนึกคิดที่เปนไป ดว ยอาํ นาจความเมตตาในผูอืน่ ปรารถนาดีหวังดี โดยไมขัดเคืองหรือเพงมองในแงรายเปนความตริ ของบคุ คลผหู วงั ใหคนอื่นมีความสขุ ท่ัวถงึ กนั ไมคดิ แตความสขุ ของตนฝายเดียว คิดแตจะแบงปน ประโยชนของตนแกผอู ืน่ เมอ่ื ตนเองมคี วามสุขกอ็ ยากจะแบงความสุขใหผ ูอื่น เปน ตน ๓. อวิหิงสาวิตก ความตริในทางไมเบียดเบียน หมายถึง ความตริตรึกนึกคิดท่ี เปนไปดว ยอํานาจกรุณาในผูอ่ืน ไมคดิ รายหรือมุงทําลาย เปนความนึกคิดของบุคคลผูมุงใหผูอ่ืน สัตวอ่ืน สามารถพนทุกข โดยไมคิดซ้ําเติมเมื่อเห็นผูอ่ืนมีทุกข จะทําส่ิงใดก็นึกถึงประโยชนของ ผูอืน่ ๑. ราคคั คิ ไฟคือราคะ ๒. โทสัคคิ ไฟคอื โทสะ ๓. โมหัคคิ ไฟคอื โมหะ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 19

2๒0๐ คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท อัคคิ แปลวา ไฟ หมายถึง ไฟคือกิเลส มีลักษณะรอนเหมือนไฟโดยเปนสภาพเผาลน จติ ใจของคนเราใหเรารอนกระวนกระวายอยูไมเปนสุข ซ่ึงเมื่อเกิดขึ้นภายในจิตใจแลวก็จะทําให รุมรอนไมอาจคงอยูใ นคุณความดีได มี ๓ อยาง คือ ๑. ราคคั คิ ไฟคือราคะ คําวา ราคะ หมายถึง ความกําหนัดยินดี หรือความทะยานอยาก ในอารมณต างๆ ตามทีต่ นปรารถนา ซงึ่ มีมูลมาจากความโลภ ราคะเกิดขึ้นแกผูใดแลวยอมจะทํา จิตใจของบุคคลนัน้ รอนรมุ กระวนกระวาย กระสนั อยากไดด จุ ถูกลนดวยไฟ ดังนนั้ ทานจึงเปรียบ วาเปน เหมือนไฟ ดว ยอาการทรี่ อนรุมด้ินรนอยากได ๒. โทสัคคิ ไฟคือโทสะ หมายถึง ความขัดเคือง ไมพอใจ คิดประทุษราย เปนอาการ ฟงุ ซานของจติ ท่ีถูกอนิฏฐารมณมากระทบ มลี กั ษณะทาํ ใหจติ หงุดหงิดฉุนเฉียวในเวลาที่ถูกกลาว รา ย หรอื ประทุษราย เปน ตน โทสะนีเ้ ม่ือเกดิ ขน้ึ แลว ถาบุคคลไมรูจักยับยั้งชั่งใจ ยอมเปนเหตุให แสดงอาการวิปริตตางๆ สามารถประทษุ รา ยผทู ี่ทาํ ใหต นโกรธได ๓. โมหัคคิ ไฟคือโมหะ คําวา โมหะ หมายถึง ความหลงไมรูไมเขาใจสภาวะของ ส่ิงทั้งหลายตามความเปนจริง หลงเห็นผิดเปนชอบ ลุมหลงมัวเมาไปตามความเช่ือของตน หรือ การชกั นาํ ของผอู นื่ โดยขาดปญญาพจิ ารณาหาเหตผุ ล เม่ือทําไปแลวไมเกิดตามที่ปรารถนาก็เกิด อาการเดือดเนื้อรอนใจ ท้ังจะทําใหเสียทรัพยสินเงินทองอีก ดังนั้นกิเลสคือโมหะ ทานจึง เปรียบเหมือนไฟท่ีคอยแผดเผาจิตใจของผูลุมหลง โงเขลา เบาปญญาทําการตางๆ ไปตาม กระแสสังคม ๑. ทฏิ ฐธมั มกิ ัตถะ ประโยชนใ นภพนี้ ๒. สมั ปรายิกัตถะ ประโยชนในภพหนา ๓. ปรมตั ถะ ประโยชนอ ยางยอด (คือพระนิพพาน) อัตถะ แปลวา ประโยชน ผลที่มุงหมาย หมายถึง ผลที่บุคคลจะพึงไดรับเนื่องมาจาก การกระทาํ และปฏบิ ตั ิของตน ในท่นี ้ี ทา นหมายถึงประโยชนท ่ีบคุ คลผูตองการความสุขแหงตนจะ พงึ ประกอบใหมขี ึ้น โดยแบง เปน ๓ ข้นั คอื ๑. ทิฏฐธัมมิกัตถะ ประโยชนในภพนี้ หมายถึง ประโยชนท่ีผูปฏิบัติตนตามหลัก เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 20

 2๒1๑ วชิ า ธรรมวภิ าค พุทธธรรม จะไดรับอยางแนนอนในภพปจจุบัน หรือในอัตภาพชาตินี้ เรียกวาเปนประโยชน ข้ันตาเห็น คือ สามารถเห็นผลประจักษไดในปจจุบันชาติน้ี เชน ปฏิบัติตนตามหลักการสรางตัว ใหเปนหลักฐานมั่นคง ๔ ประการ คือ (๑) อุฏฐานสัมปทา ความถึงพรอมดวยความหม่ัน (๒) อารักขสัมปทา ความถึงพรอมดวยการรักษา (๓) กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเปนคนดี (๔) สมชวี ติ ตา ความเล้ียงชีพพอสมควร ๒. สัมปรายิกัตถะ ประโยชนในภพหนา หมายถึง ประโยชนที่ผูปฏิบัติตามหลัก พุทธธรรม จะไดรับในภพหนา เรียกวาประโยชนขั้นเลยตาเห็น ซ่ึงบุคคลจะไดรับโดยแนนอนน้ัน อยางนอยตองปฏิบัติตนตาม หลักธรรมเปนเหตุใหสมหมาย ๔ ประการ คือ (๑) สัทธาสัมปทา ความถึงพรอมดวยศรัทธา (๒) สีลสัมปทา ความถึงพรอมดวยศีล (๓) จาคสัมปทา ความถึงพรอม ดว ยการบรจิ าคทาน (๔) ปญ ญาสัมปทา ความถึงพรอมดวยปญญา ๓. ปรมัตถะ ประโยชนสูงสุด หมายถึง ประโยชนอันเปนจุดหมายสูงสุดของ การศึกษาปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา ไดแก ภาวะที่จิตบรรลุพระนิพพาน อันเปนภาวะที่จิต สงบพบความสุขอยา งยิ่ง เพราะดบั กิเลสและความทุกขท้งั ปวงไดอ ยา งเบ็ดเสรจ็ เด็ดขาดแลว ๑. อตั ตาธปิ เตยยะ ความมตี นเปน ใหญ ๒. โลกาธปิ เตยยะ ความมโี ลกเปนใหญ ๓. ธัมมาธปิ เตยยะ ความมธี รรมเปน ใหญ อธิปเตยยะ แปลวา ความเปนใหญ หมายถึง หลักถือท่ีบุคคลเม่ือจะทําการอยางใด อยางหนึ่ง ตางก็หวังผลที่จะไดเปนสําคัญ เชน บางคนก็ทําเพ่ือตนเอง บางคนก็ทําเพ่ือชาติ บานเมือง บางคนก็ทําเพื่อความถูกตองเปนธรรม การปรารภผลเชนน้ี ในทางธรรมเรียกวา อธิปเตยยะ หรอื อธปิ ไตย แบงเปน ๓ อยาง คอื ๑. อัตตาธิปเตยยะ ความมีตนเปนใหญ (อัตตาธิปไตย) ไดแก บุคคลผูยึดถือ ประโยชนตนเปนประมาณ คือจะทําส่ิงใดก็นึกถึงประโยชนตน มุงผลที่จะไดแกตน หรือมุง ความสะดวกของตนเปนสําคญั โดยไมนกึ ถึงความเสยี หายของผอู น่ื เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 21

2๒๒2 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท ๒. โลกาธิปเตยยะ ความมีโลกเปนใหญ (โลกาธิปไตย) คําวา โลก ในทีนี้หมายเอา ประชาชนผูอยูในโลก ดังนั้น โลกาธิปเตยยะ จึงมีความหมายวา มีประชาชนเปนใหญ หรือในสมัยน้ี เรยี กวา สงั คมประชาธปิ ไตย ๓. ธัมมาธิปเตยยะ ความมีธรรมเปนใหญ (ธัมมาธิปไตย หรือธรรมาธิปไตย) คําวา ธรรม ในทีนี้หมายเอาความถูกตองชอบธรรมในการกระทําของบุคคล เปนหลักการของบุคคลที่ คิดจะทําอะไรก็ตาม จะมุงถึงธรรมคือความถูกตอง ความเที่ยงธรรมเปนใหญ โดยจะไมคิดทํา เพราะกลัวคนอื่นติเตียนหรือเพราะหวังจะไดคําสรรเสริญของคนอ่ืน แตทําเพราะคิดวา ความถกู ตองชอบธรรมเปนสงิ่ ทคี่ วรทาํ ๑. ทัสสนานุตตรยิ ะ ความเห็นอนั เย่ยี ม ๒. ปฏปิ ทานุตตริยะ ความปฏิบัติอนั เยี่ยม ๓. วมิ ุตตานตุ ตริยะ ความพนอันเยย่ี ม อนุตตริยะ แปลวา ภาวะอันยอดเย่ียม หรือสิ่งยอดเยี่ยม หมายถึง สิ่งสูงสุดที่จะหา ส่ิงอ่ืนในลักษณะเดียวกันมาเปรียบเทียบไมได ในท่ีนี้หมายถึง ส่ิงสูงสุดในทางธรรม ที่ชาวพุทธ ท้งั หลายควรทราบและปรารถนา ๓ ประการ คือ ๑. ทัสสานุตตริยะ ความเห็นอันเย่ียม ไดแก ปญญาอันเห็นธรรมโดยกําหนดอยาง สูงสดุ คอื เห็นพระนพิ พาน เปนความเห็นธรรมดว ยญาณหรือปญญาท่ีเกิดจากความรูความเขาใจ โดยการตรกึ ตรองของตนตามความเปนจริง ๒. ปฏิปทานุตตริยะ ความปฏิบัติอันเยี่ยม ไดแกการปฏิบัติธรรมท่ีเห็นแลว คือ ปฏบิ ตั ิธรรมตามที่ไดเ ห็นแลว อยา งถูกตองท้ังในสว นที่ควรละ และสว นทีค่ วรเจรญิ อน่ึง ปฏปิ ทานุตตริยะน้ี เม่ือกลา วใหชัด ไดแก การปฏบิ ตั ติ นตามหลักมชั ฌิมาปฏิปทาอนั เปน ขอ ปฏิบัติสายกลางเพ่ือความดับทุกข (ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา) ซึ่งองคธรรมท่ีเปนขอปฏิบัติคือ อริยมรรคมีองค ๘ มีสัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบเปนตน หรือยนเปนกระบวนการศึกษาปฏิบัติ ทบ่ี ูรณาการกนั ๓ ประการ ทเี่ รยี กวา ไตรสกิ ขา คือศลี สมาธิ ปญญานั่นเอง ๓. วิมุตตานุตตริยะ ความพนอันเยี่ยม ไดแก ความหลุดพนอันเปนผลแหงการปฏิบัติ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 22

 2๒3๓ วชิ า ธรรมวภิ าค นั้น คือความหลุดพนจากกิเลสและทุกขทั้งปวงดวยอํานาจการปฏิบัติธรรมตามที่ตนเห็นแลว เปนอกุปปธรรมไมมีความกําเริบขึ้นอีกตอไปเปนความหลุดพน หรือภาวะท่ีจิตบรรลุนิพพาน จดั เปนความหลดุ พนอนั เยีย่ มทีส่ ดุ ในบรรดาความหลุดพน ทั้งหลายในโลก ๑. ปุญญาภิสงั ขาร อภสิ งั ขารคือบุญ ๒. อปญุ ญาภิสงั ขาร อภิสงั ขารคือบาป ๓. อเนญชาภิสังขาร อภิสงั ขารคอื อเนญชา อภิสังขาร แปลวา สภาพที่ปรุงแตงเฉพาะ หรือ ความปรุงแตงอันย่ิง หมายถึง สภาพที่ ปรุงแตงการกระทาํ ของสัตวบุคคลใหดีบาง เลวบาง ตางๆ กัน หรือเจตนาท่ีเปนตัวการในการทํากรรม จําแนกเปน ๓ อยา ง ดังนี้ ๑. ปุญญาภิสังขาร อภิสังขารคือบุญ หมายถึง สภาพที่ปรุงแตงกรรมฝายดี ไดแก กศุ ลเจตนาที่เกิดจากการใหทาน การรักษาศลี การบําเพญ็ ภาวนา ทัง้ ท่ีเปน กามาวจรและรปู าวจร โดยอํานวยผลใหไดรับความสุขสบาย มีรางกายแข็งแรง ไมมีโรคภัยเบียดเบียน เปนตน และ อํานวยผลใหไ ดรับผลดี เชน มีสุคติ คือมนุษย สวรรค และพรหมโลก (รูปพรหม) ตามสมควรแก การกระทํานน้ั ๒. อปุญญาภิสังขาร อภิสังขารคือบาป หมายถึง สภาพท่ีปรุงแตงกรรมฝายช่ัว ซึง่ ตรงขา มกับปุญญาภสิ ังขาร โดยอํานวยผลใหไ ดรบั ความทกุ ขยาก มีโรคภัยเบยี ดเบียน เปน ตน และอํานวยผลใหมที คุ ติ อบายภมู ิ ๔ มนี รก เปนตน ตามผลกรรมที่ทําไว ๓. อเนญชาภิสังขาร อภิสังขารคืออเนญชา หมายถึง สภาพปรุงแตงภพอันไม หว่ันไหว หรือภาวะจิตที่แนวแนดวยสมาธิแหงจตุตถฌาน กลาวโดยองคธรรมกําหนดไดทั้งช้ัน สมาบัตแิ ละโลกตุ ตรธรรม ในทีน่ ้ีทานกาํ หนดเฉพาะอรูปสมาบัติ ๔ โดยผูที่เจริญสมาธิจนไดฌาน ขั้นท่ี ๔ และสําเร็จอรูปสมาบัติ ๔ เรียกวา สรางอเนญชาภิสังขารไว ซึ่งจะอํานวยผลใหมีสุคติ แนนอน คือตายไปเกดิ ในอรปู ภพ ซง่ึ เปนภพที่ไมเ สพ ไมย ินดกี ามคุณ ๕ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 23

2๒4๔ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท ๑. กามาสวะ อาสวะเปนเหตอุ ยากได ๒. ภวาสวะ อาสวะเปน เหตอุ ยากเปน ๓. อวิชชาสวะ อาสวะคอื อวชิ ชาความเขลา อาสวะ แปลวา สภาพหมักดอง เปนคําใชเรียกเมรัย หรือเคร่ืองหมักดองตางๆ เชน คําบาลีวา ปุปผาสโว นํ้าดองดอกไม เปนตน แตคําวา อาสวะ ในที่น้ี เปนช่ือของกิเลส ที่หมายถึงสภาวะอันหมักดองสันดาน คือสิ่งที่มอมพ้ืนจิต หรือกิเลสที่ไหลซึมซานไปยอมใจ เมื่อประสบอารมณตา งๆ มี ๓ อยาง คอื ๑. กามาสวะ อาสวะเปนเหตุอยากได ไดแก เจตสิกอันเศราหมองในทางกามคุณ คือ ทําจิตใหอยากไดในส่ิงที่เปนวัตถุ มีทรัพยสมบัติ ลาภ ยศ เปนตน หรือทําใหอยากไดในส่ิงท่ีนา ปรารถนาท่เี รียกวาอิฏฐารมณ อนั เปน เครื่องยัว่ ยวนใจ คือรปู สวย เสยี งที่เพราะ เปนตน ๒. ภวาสวะ อาสวะเปนเหตุอยากเปน ไดแก เจตสิกที่เศราหมองอันทําใหอยาก เปนอยใู นภาวะแหง ชีวติ นน้ั ไปนานๆ หรือทาํ ใหอยากเกิดในภพในชาติอนื่ ตอ ๆ ไปไมมีทสี่ นิ้ สุด ๓. อวิชชาสวะ อาสวะคืออวิชชาความเขลา ไดแก เจตสิกอันเศราหมองเปนเหตุ ทําใหไมรูจริงในคติของธรรมดา คือทําใหมีความสําคัญผิดตรงกันขามกับความจริง โดยสําคัญ ในสง่ิ ท่ีไมเปนธรรมวาเปน ธรรม และสาํ คญั สิ่งที่เปนธรรมวาไมใชธ รรม เปนตน คําวา อาสวะ และคําวา กิเลส ในบางคราวก็ใชเรียกแทนกันได หรือเรียกรวมกันวา กิเลสาสวะ กลาวคือบางคราวเรียกวา อาสวะ เพราะเปนสภาพที่หมักหมมอยูในจิต บางคราว เรียกวา กเิ ลส เพราะเปนสภาพทําจติ ใหเ ศราหมอง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 24

 2๒5๕ วชิ า ธรรมวิภาค ๑. กายกรรม กรรมท่ีทําดวยกาย ๒. วจกี รรม กรรมท่ีทําดวยวาจา ๓. มโนกรรม กรรมทีท่ าํ ดวยใจ กรรม แปลวา การกระทํา ใชเปนกลางๆ ไมไดกําหนดวาเปนฝายดี หรือฝายชั่ว การกระทาํ ของบุคคลไมว า จะเปน การกระทําดี หรอื ช่ัว มีกริยาท่ีจะทําไดเปน ๓ ทาง คือ ๑. กายกรรม กรรมที่ทําดวยกาย คือการกระทําท่ีเปนทางกาย จําแนกตามลักษณะ ท่ีทําชั่ว - ทําดี เปนสองฝาย ฝายชั่วไมควรประพฤติเรียกวา กายทุจริต ฝายดีควรประพฤติ เรยี กวา กายสุจรติ ๒. วจีกรรม กรรมท่ีทําดวยวาจา คือการกระทําท่ีเปนไปทางวาจา จําแนกตามลักษณะ ทพ่ี ูดชัว่ – พูดดี เปนสองฝา ย ฝายชว่ั ไมควรพูดเรียกวา วจที จุ ริต ฝายดีควรพดู เรยี กวา วจสี จุ ริต ๓. มโนกรรม กรรมท่ีทําดวยใจ หมายถึง การกระทําท่ีเปนไปทางใจ จําแนกตาม ลักษณะที่คดิ ช่ัว – คิดดี เปนสองฝาย ฝายช่ัวไมควรคิดเรียกวา มโนทุจริต ฝายดีควรคิดเรียกวา มโนสจุ รติ ในกรรม ๓ อยางน้ี มโนกรรมเปนกรรมที่สําคัญท่ีสุด โดยเปนเหตุใหเกิดกรรมท้ัง ๒ นั้น เพราะกายและวาจายอมเปนไปในอํานาจของใจ คือจะตองอาศัยมโนกรรมเขาประกอบจึงสําเร็จ ประโยชนเ ปน เจตนาในการทาํ กรรม ๑. กายทวาร ทวารคอื กาย ๒. วจีทวาร ทวารคือวาจา ๓. มโนทวาร ทวารคือใจ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 25

2๒๖6 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท ทวาร แปลวา ประตู หรือชองทาง ในท่ีนี้หมายถึงชองทางที่เปนที่ผานไปมาของความดี และความช่ัว มีลักษณะใกลเคียงกันกับกรรม แปลกกันเพียงวา กรรมเปนกิริยาของการกระทํา แตทวารเปนทางผานไปมาของการกระทํา หรือเรียกวา ทางทํากรรม ซ่ึงมี ๓ ทางเหมือนกันกับ กรรม ๓ คอื ๑. กายทวาร ทวารคือกาย หมายถึง สิ่งท่ีผานไปมาทางกายของคนเราทั้งชั่วและดี ไดแก กายทจุ ริตและกายสุจริต กายกรรมนี้หากทําเอง จัดเปนกายทวาร แตสั่งใหเขาทํา จัดเปน วจีกรรม ๒. วจีทวาร ทวารคือวาจา หมายถึง ส่ิงที่ผานไปมาทางวาจาของคนเราทั้งชั่วและดี ไดแก วจีทุจริต และวจีสุจริต วจีทวารน้ี หากเปนวจีทุจริต และวจีสุจริต ออกจากปากโดยตรง จัดเปน วจที วาร หากแสดงกริ ยิ าทางกาย เชน รบั คํา พยกั หนาเปน ตน จดั เปน กายทวาร ๓. มโนทวาร ทวารคอื ใจ หมายถงึ สิ่งทผ่ี า นไปมาทางใจคอื ความนึกคิดของคนเราทั้ง ชั่วและดี ไดแก มโนทจุ รติ และมโนสจุ รติ ๑. อตีตังสญาณ ญาณในสว นอดีต ๒. อนาคตงั สญาณ ญาณในสว นอนาคต ๓. ปจ จปุ น นงั สญาณ ญาณในปจ จุบนั ญาณ แปลวา ความรู ความหยั่งรู ปรีชาหยั่งรู หมายถึง ปญญาเปนเครื่องพิจารณารูเหตุ และผลอันแจม แจง ตามสภาพความเปนจริงโดยไมมีสิ่งใดขัดขวางหรือปดบัง ในที่น้ี ไดแกความรู เปน ไปในเหตุและผลของการกระทาํ จําแนกตามกาล ได ๓ อยาง คอื ๑. อตตี งั สญาณ ญาณในสว นอดตี หมายถงึ ปญญารูจักสาวหาเหตุการณในหนหลัง ที่บันดาลใหเกิดขึ้นในปจจุบัน เชน เมื่อไดรับผลที่ไมดีอันเปนเหตุใหไดรับทุกขในปจจุบัน ก็รูจัก สาวหาเหตุอันเปน ท่ีมา ดังนเี้ รยี กวา ญาณในสวนอดีต หรือเรียกวา ความรูจักเหตุ ๒. อนาคตังสญาณ ญาณในสวนอนาคต หมายถึง ปญญาอันรูจักคาดเห็นผลอันจะ เกิดในอนาคตวา มไี ดดว ยเหตุทีต่ นกระทําในปจ จบุ ัน เชน มีปญญารูเหตุการณในอนาคตวาดีหรือ ชั่วท่ีบุคคลจะไดรับผลภายหนา ก็เพราะความดีและความช่ัวท่ีเขาทําในปจจุบัน ดังนี้ เรียกวา เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 26

 2๒7๗ วชิ า ธรรมวภิ าค ญาณในสว นอนาคต หรือเรยี กส้นั ๆ วา ความรจู กั ผล ๓. ปจจุปนนงั สญาณ ญาณในปจจุบัน หมายถึง ปญญาอันหย่ังรูปจจุบัน คือกําหนด รูไดถ งึ องคประกอบและเหตปุ จจยั ของเรอ่ื งทเี่ ปนไปอยู รกู ิจวา ควรจะทาํ อยางไรในเมื่อมีเหตุ หรือ ผลเกดิ ในทันใด เชน นเี้ รียกวา ญาณในปจ จุบัน ๑. สัจจญาณ ปรชี าหยั่งรอู ริยสัจ ๒. กิจจญาณ ปรชี าหย่ังรกู ิจอันควรทํา ๓. กตญาณ ปรชี าหยงั่ รูกจิ อนั ทาํ แลว ญาณ ๓ ในที่นท้ี านหมายเฉพาะความรูแจงเหน็ จริงทห่ี ยงั่ ลงในอริยสัจ ๔ ดังนี้ ๑. สจั จญาณ ปรีชาหย่ังรูอรยิ สจั หมายถงึ ความหย่ังรใู นอริยสัจ ๔ แตละอยางตามที่ เปนจริงวา น้ที กุ ข น้ีเหตเุ กิดทกุ ข น้ีความดับทุกข นข้ี อ ปฏิบตั ใิ หถึงความดับทุกข ๒. กิจญาณ ปรชี าหย่งั รกู จิ ทค่ี วรทาํ หมายถึง ความหย่งั รกู ิจอนั จะตองทําในอริยสัจ ๔ แตละอยางวา ทุกขเปนธรรมชาติที่ควรกําหนดรู ทุกขสมุทัยเปนสภาวะท่ีควรละเสีย ทุกขนิโรธ เปนสภาพท่ีควรทาํ ใหแ จง ทุกขนิโรธคามินปี ฏิปทาเปนธรรมชาติที่ควรทําใหเกิด ๓. กตญาณ ปรีชาหยั่งรูกิจอันทําแลว หมายถึง ความหย่ังรูวากิจอันจะตองทําใน อริยสัจ ๔ แตละอยางนี้ไดทําเสร็จแลว กลาวคือปญญาอันหยั่งรูวา ทุกขเปนธรรมชาติที่ควร กําหนดรู เรากําหนดรแู ลว ทกุ ขสมทุ ัยเปนสภาพท่ีควรละเราไดละเสียแลว ทุกขนิโรธ เปนสภาพ ควรทาํ ใหแ จง เราไดทําใหแจงแลว ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เปนธรรมชาติท่ีควรทําใหเกิดเราได ทาํ ใหเกิดแลว ญาณท้ัง ๓ นี้ เนื่องดวยอริยสัจ ๔ โดยเฉพาะ เรียกช่ือเต็มตามที่มาวา ญาณทัสสนะ อันมีปริวัฏ ๓ คือญาณทัสสนะมีรอบ ๓ หรือปญญารูเห็นครบ ๓ รอบ กวาวคือ สัจจญาณ กิจจญาณ และกตญาณวนรอบไปในอริยสัจ ๔ แตละขอๆ ดังกลาวมา และเมื่อนําญาณ ๓ คูณ ดวยอริยสัจ ๔ รวมเปน ญาณทสั สนะ ๑๒ จงึ ชื่อวา ญาณทสั สนะมีรอบ ๓ มอี าการ ๑๒ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 27

2๒๘8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ๑. กามตณั หา ตัณหาในกาม ๒. ภวตัณหา ตัณหาในภพ ๓. วิภวตัณหา ตณั หาในปราศจากภพ ตัณหา แปลวา ความอยาก หมายถึง ความทะยานอยากอันเปนอาการท่ีมีอยูในจิตใจ ของปุถชุ นทวั่ ไป (หรอื ภาวะจติ ท่ดี ิ้นรนไปสอู ารมณม รี ูปเปน ตน) แยกเปน ๓ ประเภท คือ ๑. กามตัณหา ตัณหาในกาม หมายถึง ความอยากไดในวัตถุกาม หรือกามคุณ อันไดแก รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันนาใคร นาปรารถนา ท่ีเรียกวาอิฏฐารมณ ที่ตน ยังไมไดและความหมกมนุ อยูในวตั ถุกามท่ีไดแ ลวจนไมสามารถสละได ๒. ภวตัณหา ตัณหาในภพ หมายถึง ความอยากเปนอยากอยูในภพที่ตนเกิดแลวดวย อํานาจความหวงอาลัย และความอยากเกิดในภพทีป่ รารถนาตอไป รวมถึงความอยากเปนนั่นเปน น่ี ๓. วิภวตัณหา ตัณหาในปราศจากภพ หรือตัณหาในวิภพ หมายถึง ความอยากไม เปน อยูใ นภพท่ีเกดิ คอื ความอยากตายไปเสียดวยอํานาจความเบื่อหนาย และความอยากดับสูญ ไมเกิดในภพนั้นๆ อีก ไดแก ความอยากในความพรากพนไปแหงตัวตนจากความเปนอยางใด อยางหนึ่งอันไมนาปรารถนา ๑. อกิริยทฏิ ฐิ ความเห็นวา ไมเ ปน อันทาํ ๒. อเหตกุ ทฏิ ฐิ ความเหน็ วา หาเหตมุ ไิ ด ๓. นัตถกิ ทิฏฐิ ความเหน็ วา ไมม ี ทฏิ ฐิ แปลวา ความเหน็ เปนความรเู ห็นหรือคิดเห็นทางใจ ในท่ีน้ีหมายถึง ความเห็นผิด ท่ีเรียกวา นิตยมิจฉาทิฏฐิ คือความเห็นผิดที่จมด่ิงลงยากท่ีจะถอนออกไดจัดเปนความเห็นผิดอยาง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 28

 2๒9๙ วชิ า ธรรมวิภาค รายแรง จาํ แนกเปน ๓ อยา ง คือ ๑. อกิริยทิฏฐิ ความเห็นวาไมเปนอันทํา หมายถึง ความเห็นวาการกระทําไมมีผล ไดแ ก ความเห็นวา การกระทําของบคุ คลจะดี หรอื ช่ัวก็ตามตอ เม่อื มคี นรูเห็นเทาน้ัน จึงจะเปนคุณ หรือโทษ ถาไมมีคนรูเห็น ไมมีใครจับได ก็ไมเปนคุณเปนโทษ ความเห็นชนิดนี้ปฏิเสธกรรมคือ การกระทํา และผลแหงกรรม (ในสมยั พุทธกาลปูรณกัสสปะ เปนเจา ลัทธินี)้ ๒. อเหตกุ ทิฏฐิ ความเห็นวา หาเหตุมิได หมายถึง เห็นวาส่ิงท้ังหลายไมมีเหตุปจจัย ไดแก ความเหน็ วา บคุ คลจะไดรบั ผลดีหรือช่วั ไมไดเ ก่ียวกับการกระทํา การจะไดรับผลดีหรือชั่วนั้น อยูที่โชคลางคือเคราะหดีหรือเคราะหรายเปน เกณฑ อเหตุกทิฏฐิน้ีเปนความเห็นท่ีถือวาไมมีเหตุไมมีปจจัยที่ทําใหสัตวบริสุทธิ์ หรือเศราหมอง เปน ลทั ธิที่ปฏเิ สธท้งั กรรมและผลแหงกรรม (ในสมยั พทุ ธกาล มกั ขลโิ คศาล เปนเจาลทั ธ)ิ ๓. นัตถิกทฏิ ฐิ ความเห็นวาไมมี หมายถงึ ความเหน็ วา ไมม กี ารกระทํา ไดแ ก ความเห็นวา สัตวหรือบุคคลไมมี บุญหรือบาปไมมี คน และสัตวเปนเพียงแตธาตุท่ีประชุมกัน ถึงจะเกื้อกูลกัน หรือทํารายกัน ก็ไมเปนความดีและความชั่ว ไมเปนบุญและเปนบาป การเก้ือกูลกันและกัน ทํารา ยกันเปนไปตามธรรมชาติ คอื ธาตุชนิดใดเปนของเก้ือกูลแกธาตุใดก็เก้ือกูลกันเอง ธาตุชนิดใด เปน ขาศกึ แกกันกท็ ําลายกนั เอง อาการของจติ ท่มี คี วามคดิ เห็นเชน นี้ เรียกวา นัตถกิ ทฏิ ฐิ นัตถิกทฏิ ฐิน้ี เปน ความเหน็ ทีป่ ฏิเสธทัง้ สมมติสัจจะและคติแหงธรรมดาอันเนื่องดวยเหตุ และผล เปนลทั ธทิ ถี่ ือวา สรรพส่ิงคือสภาวะทัง้ ๗ กอง ไมม ีผสู ราง ไมมีผูบันดาล เปนตน (ในสมัย พทุ ธกาล ปกุธกจั จายนะ เปนเจาลัทธิ) ซึ่งขัดกับหลักการของพุทธศาสนาท่ีถือวาสัตวหรือบุคคล โดยสมมตนิ ้ันเปนแตธาตปุ ระชุมกันก็จริง แตก็ตกอยูในคติแหงธรรมดาท่ีเรียกวากัมมัสสกตา คือ ความทสี่ ตั วม กี รรมเปนของของตน แตละคนเปนเจาของแหงกรรม จะตองรับผิดชอบเสวยวิบาก เปน ไปตามกรรมของตน ๑. สมมติเทพ เทวดาโดยสมมติ ๒. อปุ ปต ติเทพ เทวดาโดยกาํ เนดิ ๓. วสิ ุทธเิ ทพ เทวดาโดยความบรสิ ทุ ธิ์ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 29

3๓0๐ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 คาํ วา เทพ เปนคําที่ใชเรยี กผูท่ีมีความพิเศษเหนือกวาคนธรรมดาโดยท่ัวไป เพราะเปน ผมู คี ุณงามความดสี งู กวา บุคคลท้ังหลาย โดยชาติ ตระกูล หรือภพท่ีอยูอาศัยของตน จําแนกเปน ๓ ประเภท คอื ๑. สมมติเทพ เทวดาโดยสมมติ ไดแก พระราชามหากษัตริย พระอัครมเหสี พระราชกุมาร พระราชกุมารี เพราะเปนผูทรงคุณความดีเหนือคนทั่วไป และเปนผูสูงสงโดยชาติ ตระกูล และจรรยาสวนพระองค ๒. อุปปตติเทพ เทวดาโดยกําเนิด ไดแก เทวดาท่ีเปนเทพจริงๆ ซึ่งอุบัติอยูใน กามาวจรสวรรค ๖ ช้ัน และพรหมโลก ๒๐ ชั้น (รปู พรหม ๑๖ อรปู พรหม ๔) นอกจากนย้ี ังรวมถงึ พวกเทวดาทีส่ ิงอยตู ามตน ไมบ าง ตามวตั ถอุ นื่ ๆ บา ง ซงึ่ เรียกวาพระภมู ิหรือวตั ถุเทวดาดว ย ๓. วสิ ทุ ธเิ ทพ เทวดาโดยความบริสุทธ์ิ ไดแก พระพุทธเจา พระปจเจกพุทธเจาและ พระอรหันตสาวกทั้งหลาย เพราะเปนผูมีความบริสุทธ์ิปราศจากกิเลสทั้งปวงดวยการบรรลุ โลกุตตรธรรมแลว มคี วามเมตตากรณุ าตอ สรรพสตั วอยา งนับประมาณมไิ ด ๑. สงั ขารทั้งปวง ไมเ ทีย่ ง ๒. สังขารทง้ั ปวง เปนทกุ ข ๓. ธรรมทงั้ ปวง เปน อนัตตา ธรรมนิยาม (ธัมมนิยาม) แปลวา ขอกําหนดแหงธรรมดา หมายถึง ความเปนไปอัน แนนอนโดยธรรมดา หรือสรรพส่ิงท้ังปวงที่มีภาวะเสมอกัน บางคร้ังใชคําเรียกวา ธรรมฐิติ คือ สภาวะที่สังขารทั้งปวงดํารงอยูและจะเปนอยางน้ันโดยธรรมดาตลอดไป เปนคติธรรมดาของ สังขาร จะเรียกวา ไตรลกั ษณ หรอื สามัญญลักขณะ ก็ได มี ๓ อยา ง ดังนี้ ๑. สังขารท้ังปวง ไมเท่ียง (สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา) คําวา สังขาร ในท่ีนี้หมายเอา สังขาร คือสิ่งที่มีปจจัยปรุงแตงข้ึนทั้งหมด ทั้งท่ีเปนอุปาทินนกะ มีใจครอง คือคนและสัตว และ อนุปาทินนกะ ไมมีใจครอง คือตนไม รถ เรือ ภูเขา เปนตน ท้ังหมดนี้ลวนเปนของไมเที่ยง มีความเปลี่ยนแปลงไป ไมคงทอี่ ยไู ด เปน อยา งน้ีแลว ก็เปล่ียนแปลงอยางอน่ื ไดอ กี 30

 3๓1๑ วชิ า ธรรมวภิ าค ๒. สังขารท้ังปวง เปนทุกข (สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา) คําวา ทุกข ในที่นี้มิไดหมายเอา ทกุ ขเวทนา คือความทุกขท่ีเกิดขึ้นเพราะความหิว กระหาย รอน หนาว หรือเกิดข้ึนเพราะความ อาพาธเพียงอยางเดียว แตหมายเอาความทุกขอันหน่ึงที่ทําใหสิ่งตางๆ คงทนอยูไมได เชน ความเปลี่ยนแปลงของรางกาย ซ่ึงเราไมสามารถจะหยุดเอาไวได ลักษณะท่ีทนอยูในสภาพเดิม ไมไดเชน นี้ เรียกวา ทกุ ข ๓. ธรรมท้ังปวง เปนอนัตตา (สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา) คําวา ธรรม ในที่นี้ทานหมายเอา สิ่งทง้ั หมดทง้ั ท่ีเปนสังขารหรอื สังขตธรรม คือมีปจจัยปรุงแตง และที่เปนวิสังขาร คืออสังขตธรรม คือไมม ีปจจัยปรุงแตง ลว นเปนอนัตตา ไมใ ชต วั ตนท้งั สิ้น หลักธรรมนิยาม ๓ น้ี พระสัมมาสัมพุทธเจาจะทรงอุบัติหรือไมทรงอุบัติก็ตาม ก็คงมีอยู เปน ธรรมดา พระพุทธองคเปนแตทรงคนพบและนาํ มาเปด เผยแสดงแกเวไนยสัตวเ ทาน้นั ๑. ปรกิ ัมมนิมติ นมิ ิตในบริกรรม ๒. อุคคหนมิ ติ นิมิตติดตา ๓. ปฏิภาคนิมติ นิมิตเทียบเคยี ง นิมิต แปลวา เครื่องหมาย หมายถึง เคร่ืองกําหนดเพื่อใหรูเฉพาะขอบเขตตามท่ีเรา ตองการ ในท่ีนี้ หมายถึง เคร่ืองหมายสําหรับใหจิตกําหนดในการเจริญกัมมัฏฐาน เปน เครอื่ งหมายทางนามธรรมทผี่ ูบ าํ เพญ็ กัมมัฏฐานกําหนดขึ้นเปนส่ิงยึดจิตหรืออารมณไมใหสายไป ในทางอนื่ แลว เพงดใู นขณะภาวนาจนจาํ ไดต ดิ ตาแลวเทียบเคียงนิมิตนั้นไดโดยเปนภาพท่ีเห็นใน ใจอันเปนตัวแทนของสิ่งของที่ใชเปนอารมณกัมมัฏฐาน แบงเปน ๓ อยาง ตามลําดับการเจริญ กัมมัฏฐาน ดงั น้ี ๑. ปริกัมมนิมิต นิมิตในบริกรรม หมายถึง นิมิตข้ันตระเตรียมหรือนิมิตแรกเริ่ม คือ กําหนดเขตของนิมติ เพอื่ กนั้ จิตไมใ หกวัดแกวง ไปในทางอ่ืน โดยสงจติ มุงไปท่นี มิ ิตอยางเดยี ว เชน ดวงกสิณท่เี พง ดู ลมหายใจเขา - ออก เปนตน ๒. อุคคหนิมิต นิมิตติดตา หมายถึง นิมิตที่ใจเรียน คือการท่ีพระโยคาวจร หรือ ผูบาํ เพ็ญกัมมัฏฐานเพงดนู ิมิตนัน้ จนจิตสงบ สามารถจาํ รูปนิมติ นั้นไดติดตา ถึงแมจะหลับตาแลว กย็ ังอาจเหน็ ไดห รอื จําไดเหมอื นในเวลาลมื ตาดูนมิ ิตนั้นโดยปกติ ทัง้ ขนาด สี และสณั ฐาน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 31

3๓2๒ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท ๓. ปฏิภาคนิมิต นิมิตเทียบเคียง หมายถึง นิมิตเสมือนนิมิตคูเปรียบ คือนิมิตท่ีเกิด ถัดจากอุคคหนิมิต เม่ือพระโยคาวจรไดอุคคหนิมิตแลว ตอแตน้ันจึงบริกรรมอุคคหนิมิตเร่ือยไป ปฏิภาคนิมิตก็จะเกิดขึ้น และพระโยคาวจรก็สามารถจะขยายสวนหรือยนสวนของนิมิตซ่ึงเปน วัตถุนั้นๆ ไดโดยไมต องดูนิมติ เดิมอกี นิมิตท้ัง ๓ น้ีจะเกิดติดตอสืบเน่ืองกันไป กลาวคือ เมื่อพระโยคาวจรกระทําบริกรรมในนิมิต อยูจนแคลวคลองชํานาญ จากนั้น อุคคหนิมิตก็จะปรากฏเกิดขึ้น ตอจากอุคคห-นิมิตเกิดขึ้น ปฏภิ าคนมิ ิตกจ็ ะเกิดขึ้นตามลาํ ดบั นมิ ิต ๒ อยา งแรก คือบรกิ รรมและอุคคหนิมิตปรากฏท่ัวไปได ในอารมณกัมมัฏฐานท้ังหมด (อารมณกัมมัฏฐาน ๔๐) แตปฏิภาคนิมิตปรากฏเฉพาะในอารมณ กมั มฏั ฐาน ๒๒ อยาง ทีม่ วี ตั ถสุ ําหรับเพง คอื กสณิ ๑๐ อสภุ ะ ๑๐ กายคตาสติ ๑ อานาปานสติ ๑ ๑. ปริกมั มภาวนา ภาวนาในบริกรรม ๒. อุปจารภาวนา ภาวนาเปนอุปจาร ๓. อปั ปนาภาวนา ภาวนาเปนอปั ปนา ภาวนา แปลวา การทําใหมีข้ึน หรือ การอบรม การเจริญ ไดแก การกระทําทางใจ ที่รูกันวา การเจริญจิตตภาวนา ซึ่งเปนการบําเพ็ญทางจิตหรือการเจริญกัมมัฏฐาน โดยทาน จดั ลาํ ดับข้ันของการเจรญิ ไว ๓ ขนั้ ดงั นี้ ๑. ปริกัมมภาวนา ภาวนาในบริกรรม หรือบริกรรมภาวนา หมายถึง ภาวนาข้ัน บริกรรม หรือการเจริญสมาธิขั้นเริ่มตน ไดแก การกําหนดเอานิมิตในส่ิงที่ใชเปนอารมณ กัมมัฏฐาน คือการกาํ หนดบริกรรมนิมิตน่ันเอง เม่ือกําหนดอารมณกัมมัฏฐาน (คือบริกรรมนิมิต) นั้นไป จนมองเห็นภาพส่ิงน้ันติดตาติดใจแมนยํา ก็เกิดเปนอุคคหนิมิตจิตก็เปนสมาธิขั้นตนที่ เรียกวาบรกิ รรมสมาธิหรอื ขณกิ สมาธิ บริกรรมภาวนากับบริกรรมนิมิตมีลักษณะใกลเคียงกัน คือในขณะที่พระโยคาวจรใชตา เพงดูวัตถุท่ีเปนนิมิตแลวกําหนดจิตที่นิมิตนั้น เรียกวา บริกรรมนิมิต แตในขณะท่ีทําบริกรรมไว ในใจถงึ นิมติ นัน้ จดั เปน บริกรรมภาวนา ๒. อุปจารภาวนา ภาวนาเปนอุปจาร หมายถึง การเจริญสมาธิข้ันอุปจาร ภาวนา ขนั้ จวนเจยี น ไดแก การอาศัยบริกรรมสมาธิเอาจิตกําหนดอุคคหนิมิตตอไปจนแนวแนแนบสนิท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 32

 3๓3๓ วชิ า ธรรมวภิ าค ในใจเกิดเปนปฏิภาคนิมิตขึ้น นิวรณก็สงบระงับ จิตก็ตั้งมั่นเปนอุปจารสมาธิเปนขั้นสูงสุดของ กามาวจรสมาธิคอื สมาธใิ นระดบั จติ ทย่ี งั ทองเท่ยี วอยใู นกามภพ หรือสมาธขิ องผูเกิดอยูในกามภูมิ อปุ จารภาวนาน้ีใชใ นการเจรญิ กัมมัฏฐานไดท้ังหมด ๓. อัปปนาภาวนา ภาวนาเปนอัปปนา หมายถึง การเจริญสมาธิขั้นอัปปนา หรือ ภาวนาข้ันแนวแน ไดแก ความกําหนดปฏิภาคนิมิตท่ีเกิดขึ้นแลวนั้นสม่ําเสมอดวยอุปจารสมาธิ โดยพยายามรักษาไวไมใหเสื่อมหายไปเสียดวยการหลีกเวนสถานที่ บุคคล หรืออาหาร เปนตน ที่ไมเปนสัปปายะ เสพแตส่ิงท่ีเปนสัปปายะ และรูจักปฏิบัติตามวิธีท่ีจะชวยใหเกิดอัปปานา จนในที่สุดภาวะจิตกเ็ กดิ อปั ปนาสมาธิ บรรลุปฐมฌานเปนข้นั เร่มิ แรกของรูปาวจรสมาธิ คือสมาธิ ในระดับจิตท่ที อ งเทยี่ วอยใู นรูปภพ หรือสมาธขิ องผูไ ดฌ านอัปปนาภาวนานี้เปนอารมณข้ันสูงสุด ของสมถกัมมัฏฐาน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๑. ญาตปรญิ ญา กําหนดรดู วยการรู ๒. ตีรณปริญญา กาํ หนดรูดวยการพจิ ารณา ๓. ปหานปรญิ ญา กําหนดรดู ว ยการละเสีย ปริญญา แปลวา ความรอบรู หมายถึง การกําหนดรู อันเปนลักษณะของปญญา เคร่ืองกําหนดรสู ังขาร คอื ปญญาเคร่อื งพิจารณาอนั เปนเหตใุ หรแู จง สังขารตามความเปน จริง และ ละความยดึ มัน่ ถอื ม่นั ในสงั ขารนน้ั เสยี ได มี ๓ ลกั ษณะ คือ ๑. ญาตปริญญา กําหนดรูดวยการรู คือกําหนดรูเหมือนเปนสิ่งที่รูแลว หรือกําหนดรู ตามสภาวะลักษณะ หมายถึง การทําความรูจักจําเพาะตัวของสิ่งน้ันโดยตรง เชน การรูจัก กําหนดรูในเบญจขันธแยกออกเปนสวนๆ โดยการกําหนดรูตัวเองวา ตัวเรานี้ประกอบดวยขันธ ๕ คือรปู เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ การรจู กั แยกแยะ กําหนดอยางนี้ เรียกวา ญาตปริญญา ๒. ตีรณปริญญา กําหนดรูดวยการพิจารณา คือกําหนดรูข้ันพิจารณา กําหนดรู โดยสามัญญลักษณะ หมายถึง การทําความรูจักส่ิงน้ันพิจารณาเห็นโดยความเปนของไมเที่ยง เปนทกุ ข เปนอนัตตา กลา วงา ยๆ วา การกาํ หนดรดู วยการพิจารณาใหเ ห็นโดยไตรลักษณ ๓. ปหานปริญญา กําหนดรูดวยการละ คือกําหนดรูถึงข้ันละไดโดยตัดทางมิให ฉนั ทราคะ (ความกาํ หนดั ดว ยอาํ นาจความพอใจ หรอื ความพอใจยินดี) เกิดมีในส่ิงนั้นๆ หมายถึง 33

3๓4๔ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท การรูวาสิ่งนั้นไมเท่ียง เปนทุกข เปนอนัตตา และละความสําคัญวาเที่ยงเปนตน ในส่ิงนั้นๆ เสียได การกําหนดรูแลว ละความพอใจในเบญจขันธอยา งนี้ เรยี กวา ปหานปริญญา ปริญญา ๓ น้ีเปนโลกิยะ มีขันธ ๕ เปนอารมณ เปนกิจในอริยสัจ ๔ ขอท่ี ๑ คือทุกขสัจ ในทางปฏิบัตจิ ัดเขาในวสิ ทุ ธิ ๗ ขอ ๓ ถึงขอ ๖ (ดูอธบิ ายใน วสิ ุทธิ ๗ ประกอบ) ๑. ตทังคปหาน การละชว่ั คราว ๒. วิกขัมภนปหาน การละดว ยการสะกดไว ๓. สมุจเฉทปหาน การละดวยตดั ขาด ปหาน แปลวา การละ ในท่ีนี้หมายถึง การละกิเลสและบาปธรรมท่ีมีอยูในจิตสันดาน ของคนเรา แบง ตามชัน้ ภมู ิของบุคคลเปน ๓ ประเภท คอื ๑. ตทงั คปหาน การละชั่วคราว หมายถงึ การละกิเลส และบาปธรรมของปุถุชนที่ละ ไดเปนบางครัง้ ดวยอํานาจธรรมท่ีเปนคูปรับ หรือท่ีตรงกันขาม เชน ในบางครั้งจิตเกิดเมตตาข้ึน หายโกรธ เปน ตน แตไมเปนการคงทนถาวร กิเลสท่ีละไดเปนบางคร้ังน้ันกลับเกิดข้ึนอีกได หรือ แมก ารละกเิ ลส และบาปธรรมไดเพยี งบางอยาง กจ็ ัดวา เปน ตทงั คปหานเหมอื นกนั ๒. วิกขัมภนปหาน การละดวยการสะกดไว ไดแก การละกิเลสและบาปธรรมของ ผูไดฌาน โดยผูที่ไดฌานในขณะท่ีเขาฌานอยูนั้น จะสามารถละกิเลสที่เรียกวานิวรณไดดวยกําลัง แหง องคฌานนั้นๆ ขมไวซึ่งนิวรณกิเลส ๕ อยาง จะไมเกิดข้ึนแกผูท่ีเขาฌานอยูแตเมื่อออกจากฌาน แลวถาไมสํารวมระวังใหดี นิวรณกิเลสก็อาจเกิดขึ้นไดอีก ทานเปรียบเหมือนอาการท่ีหินทับหญา ในขณะท่ีตนหญาถูกหินทับไวน้ัน หญาจะไมอาจงอกข้ึนได แตเมื่อยกหินออกแลว ตนหญาก็กลับ เกิดขึน้ ไดอ กี ฉะน้นั ๓. สมุจเฉทปหาน การละดวยตัดขาด หมายถึง การละกิเลสและบาปธรรมของ พระอริยบุคคล โดยผูไดบรรลุอริยมรรคต้ังแตโสดาปตติมรรคข้ึนไปจนถึงอรหัตตมรรค ยอมตัด กิเลสทั้งหลายไดเด็ดขาด ดวยโลกุตตรมรรคในขณะแหงมรรคน้ันๆ ซ่ึงกิเลสท่ีพระอริยบุคคลได ละแลวจะไมกลับมากําเริบเกิดขึ้นไดอีก เปรียบเหมือนตนหญาที่ถูกถอนออกโดยส้ินเชิง พรอมราก ไมอาจงอกขึน้ ไดอีกฉะน้ัน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 34

 3๓5๕ วชิ า ธรรมวภิ าค ๑. อทิ ธปิ าฏิหาริยะ ฤทธิ์เปนอศั จรรย ๒. อาเทสนาปาฏหิ ารยิ ะ ดกั ใจเปนอศั จรรย ๓. อนสุ าสนีปาฏิหาริยะ คาํ สอนเปนอัศจรรย ปาฏิหารยิ ะ หรอื ปาฏิหารยิ  แปลวา ความอศั จรรย หมายถึง การกระทําที่ใหเห็นเปน อัศจรรย คือ การกระทําที่ใหบังเกิดผลเปนอัศจรรย ในท่ีนี้หมายเอาความอัศจรรยที่มีอยูใน พระพุทธศาสนาครบถว น ๓ ประการ คือ ๑. อิทธิปาฏิหาริยะ ฤทธิ์เปนอัศจรรย ปาฏิหาริยคือฤทธ์ิ หมายถึง การแสดงฤทธิ์ได เปนอัศจรรย ไดแก การแสดงกิริยาอยางใดอยางหนึ่งซึ่งพนวิสัยของสามัญมนุษยได เชน การหายตัวได ดําดนิ ได เดินบนน้ําได เหาะไปในอากาศได เปนตน เปนความอัศจรรยอยางหน่ึง ทเ่ี กดิ จากอภิญญาจติ หรอื ฤทธ์ิของผบู ําเพญ็ สมาธขิ นั้ ฌานสมาบตั ิ ๒. อาเทสนาปาฏิหาริยะ ดักใจเปนอัศจรรย ปาฏิหาริยคือการทายใจ หมายถึง ความรอบรูกระบวนการของจิตจนสามารถรูความรูสึกนึกคิดของบุคคลอื่น และบอกไดวาเขาคิด และตองการอะไร รูจ ริตและอปุ นิสัยของคนอ่นื ไดว า ชอบสิง่ ใด หรือธรรมขอใดที่ถูกอุปนิสัยของเขา ปาฏิหาริยขอน้ีเปนเหตุใหพระพุทธองคและพระอรหันตพุทธสาวก ผูไดอภิญญาจิตสามารถเผยแผ พระพทุ ธศาสนาไดอ ยางประสบผลสาํ เรจ็ ๓. อนุสาสนีปาฏิหาริยะ คําสอนเปนอัศจรรย ปาฏิหาริยคืออนุศาสนี หมายถึง คําสอนเปนจริง สอนใหเห็นจริง นําไปปฏิบัติไดผลสมจริงเปนอัศจรรย ไดแก คําสอนที่จูงใจ ทําใหผูฟงไดฟงคําส่ังสอนแลวไดแสดงตนเปนสาวก และรับคําสอนไปปฏิบัติตามจนไดบรรลุ ประโยชนตามสมควรแกการปฏิบัติอนุสาสนีปาฏิหาริยนี้พระพุทธองคทรงยกยองวาเปนเยี่ยม กวาปาฏหิ าริยทงั้ ๒ ขอ ขางตน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 35

3๓6๖ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ๑. พระวินยั ปฎ ก หมวดพระวนิ ยั ๒. พระสุตตนั ตปฎก หมวดพระสตู ร ๓. พระอภิธรรมปฎก หมวดพระอภิธรรม ปฎก แปลตามศัพทวา กระจาดหรือตะกรา ในที่นี้นํามาใชในความหมายวา เปนท่ี รวบรวมคําสอนในพระพุทธศาสนาท่ีไดรับการจัดเปนหมวดหมูแลว โดยนัยน้ี ปฎก ๓ หรือ พระไตรปฎก จึงหมายถึง พระคัมภีรท่ีบรรจุพระพุทธพจน และเร่ืองราวช้ันเดิมของ พระพทุ ธศาสนา ๓ หมวด คือ ๑. พระวินัยปฎก หมวดพระวินัย หมายถึง ประมวลสิกขาบทสําหรับพระภิกษุ และ พระภิกษุณีท่ีมีลักษณะเปนขอบังคับอันเปนกฎ หรือระเบียบสําหรับปฏิบัติ เพื่อความอยูรวมกัน อยางเปนสุขของหมูคณะ มีการจัดแบงเปน ๓ หมวดใหญ คือวิภังค ขันธกะ และปริวาร (พระไตรปฎกเลม ที่ ๑-๘) ในสวนพระวินัยน้ีรวบรวมพระธรรมขนั ธได ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขนั ธ ๒. พระสตุ ตันตปฎก หมวดพระสูตร หมายถึง ประมวลพระธรรมเทศนา คําบรรยายและ เรอ่ื งเลา ตา งๆ ที่พระพุทธองคตรัสยักเยื้องตามบุคคลและโอกาส ซ่ึงไดรับการจัดแบงเน้ือหาตาม ขนาดของพระสูตรเปน ๕ นิกาย (คําวานิกาย มีความหมายวาประมวลหรือชุมนุม หรือเทียบได กับคาํ วาคัมภรี ) (พระไตรปฎ กเลม ท่ี ๙ - ๓๓) พระสตู รน้ีรวบรวมพระธรรมขันธ คือกองแหงธรรม หนึ่งๆ ได ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขนั ธ ๓. พระอภธิ รรมปฎ ก หมวดพระอภิธรรม หมายถึง ประมวลพระพุทธพจนท่ีวาดวยเรื่อง สภาวธรรมท่ีมีอยูโดยปรมัตถ ซึ่งเปนธรรมอันยิ่ง อันละเอียดลุมลึก และประเสริฐย่ิงกวาธรรมทั้งปวง เปนคําอธบิ ายทเ่ี ปน หลกั วิชาพระพุทธศาสนาลวนๆ ไมเก่ียวดวยบุคคล สถานท่ี หรือเหตุการณตางๆ แบง ออกเปน ๗ คัมภรี  (พระไตรปฎ กเลมที่ ๓๔ - ๔๕) พระอภิธรรมปฎกนี้ รวบรวมพระธรรมขันธ มากท่ีสุดถงึ ๔๒,๐๐๐ ธรรมขนั ธ รวม ๓ ปฎก นบั พระธรรมขันธได ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 36

 3๓7๗ วชิ า ธรรมวิภาค ๑. โลกัตถจริยา ทรงประพฤติเปนประโยชนแ กโลก ๒. ญาตตั ถจริยา ทรงประพฤตเิ ปนประโยชนแกพ ระญาติหรือโดยฐานเปน พระญาติ ๓. พุทธัตถจริยา ทรงประพฤติเปนประโยชนโดยฐานเปน พระพทุ ธเจา พุทธจริยา แปลวา พระจริยาของพระพุทธเจา หมายถึง การทรงบําเพ็ญประโยชน ของพระพุทธเจา ในลักษณะตางๆ ทา นจดั ไว ๓ ลกั ษณะ คือ ๑. โลกัตถจริยา ทรงประพฤติเปนประโยชนแกโลก ไดแก พระพุทธจริยาเพ่ือ ประโยชนแกชาวโลก เปนพระพุทธจริยาที่ทรงบําเพ็ญประโยชนแกมหาชนที่นับวาเปนสัตวโลก ท่วั ๆ ไป ซงึ่ เห็นเดนชัดตลอดการบาํ เพ็ญพุทธกิจ ๔๕ พรรษาของพระองค ๒. ญาตัตถจริยา ทรงประพฤติเปนประโยชนแกพระญาติ หรือโดยฐานเปนพระญาติ ไดแ ก พระพทุ ธจริยาเพอื่ ประโยชนแกพระญาติ กลาวคือ ทรงสงเคราะหพระญาติตามฐานะ เชน การเสด็จกรุงกบลิ พัสดเุ พอื่ ทรงแสดงธรรมโปรดพระประยรู ญาตมิ ีพระพทุ ธบิดา เปนตน ใหบรรลุธรรม ตามภูมธิ รรมของแตล ะบุคคล ๓. พุทธัตถจริยา ทรงประพฤติเปนพระโยชนโดยฐานเปนพระพุทธเจา ไดแก พระพุทธจริยาท่ีทรงบําเพ็ญประโยชนตามหนาท่ีของพระพุทธเจา เชน ทรงบัญญัติสิกขาบท อันเปนอาทิพรหมจรรย (ศีลหรือพระวินัยของพระภิกษุ และพระภิกษุณีอันเปนพื้นฐานแหง การประพฤติพรหมจรรย) บาง อันเปนอภิสมาจาร (มารยาทพรอมท้ังระเบียบปฏิบัติเฉพาะ ของพระภิกษุ และพระภิกษุณี) บาง เพ่ือขมพวกภิกษุผูหนาดานไมละอาย และเพื่อวางระเบียบ นําความประพฤติแหง พวกภิกษุผูรกั ดีรักงามเครงครัดในศีล (เปสละ) และทรงแสดงหลักธรรมให พทุ ธบริษัททั้งบรรพชติ และคฤหสั ถรูท่ัวถึงธรรมประดษิ ฐานพระพุทธศาสนาใหด าํ รงยัง่ ยืนสบื มา เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 37

3๓8๘ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท ๑. กามภพ ภพที่เปน กามาวจร ๒. รูปภพ ภพที่เปน รูปาวจร ๓. อรปู ภพ ภพทเี่ ปน อรปู าวจร ภพ แปลวา สภาพความเปนอยู หมายถึง ภาวะชีวิตของสัตว หรือโลกเปนที่อยูของ สัตวท่ียังตองเกิด แก เจ็บ ตาย ในภพนั้นๆ ดวยผลแหงบาปหรือบุญท่ีแตละคนไดกระทําเอาไว จําแนกเปน ๓ ภพ คอื ๑. กามภพ ภพท่ีเปนกามาวจร หมายถึง ภาวะแหงชีวิตของสัตวผูยังเสวยกามคุณ คืออารมณท างอินทรียท ้ัง ๕ มี ๑๑ ช้นั คือ อบาย ๔ คอื ภพของสตั วนรก สตั วด ิรัจฉาน เปรต และ อสรุ กาย มนษุ ยโลก ๑ คอื โลกเปนท่ีอยูอ าศัยของพวกมนุษย และกามาจรสวรรค ๖ ชั้น คือช้ัน จาตุมหาราชกิ า ดาวดงึ ส ยามา ดุสิต นิมมานรดี และปรนิมมติ วสวตั ดี ๒. รูปภพ ภพท่ีเปนรูปาวจร หมายถึง ภาวะของชีวิตสัตวผูประเสริฐและบริสุทธ์ิ ดวยคณุ ธรรมที่เรียกวา พรหม เพราะเขาถงึ รปู ฌานหรือบรรลอุ นาคามิผล คือบําเพ็ญสมาธิจนได บรรลุฌานสมาบัติหรือสําเร็จเปนพระอนาคามีในโลกมนุษย จึงไปบังเกิดในพรหมโลกตามลําดับ ชั้นแหงคณุ ธรรมที่ไดบรรลุเปนภพที่ไมเก่ียวของดวยกามคุณ แตจะอยูดวยปติสุขอันเปนผลแหง ความสงบขม ระงับกเิ ลสไวดวยกาํ ลังแหงองคฌ านหรอื มรรคผลท่ีบรรลุ ไดแ ก รปู พรหม ๑๖ ชั้น ๓. อรูปภพ ภพท่ีเปนอรูปาวจร หมายถึง ภาวะชีวิตของสัตวผูประเสริฐท่ีเขาถึงอรูป ฌานในโลกมนุษย เมอ่ื ส้ินชีวิตแลว จะไปอุบัติบังเกิดอยูในสถานท่ีที่เรียกวา อรูปพรหม คือพรหม ท่ีไมมีรูปขันธ หรือพรหมผูไดอรูปฌานเพราะไดสํารอกคือหมดความพอใจยินดีในรูปฌาน หรือสิ่งท่ี เปน รปู ธรรมแลว ดงั นนั้ เมอ่ื ไปเกิดภพนั้นจงึ ไมม รี ูปรา ง มีเฉพาะนามขันธ ๔ คือเวทนา สญั ญา สังขาร และวญิ ญาณ จดั เปน ๔ ชัน้ ตามชอ่ื ของอรปู ฌาน คอื (๑) อากาสานัญจายตนภูมิ (๒) วิญญาณัญ- จายตนภูมิ (๓) อากิญจัญญายตนภูมิ (๔) เนวสัญญานาสญั ญายตนภูมิ ภพท้ัง ๓ น้ี เมื่อจัดเปนชั้นแหงจิต ระดับจิตใจ หรือระดับชีวิต ก็เรียกอีกอยางวา ภูมิ ๔ หรือ ภูมิ ๓๑ คือ (๑) อบายภูมิ ๔ (๒) กามสุคติภูมิ ๗ (มนุษยโลก ๑ เทวโลกสวรรค ๖) รวม อบายภูมิ ๔ เขากับกามสุคติภูมิ ๗ เรียกวา กามาวจรภูมิ ๑๑ (๓) รูปาวจรภูมิ ๑๖ หรือ รปู พรหม ๑๖ (๔) อรปู าวจรภูมิ ๔ หรอื อรปู พรหม ๔ ภพ ภูมิท้ังหมดน้ีจัดเปนโลกิยภูมิ พนจากน้ี ไปเปนโลกุตตรภมู ิ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 38

 3๓9๙ วชิ า ธรรมวิภาค ๑. สงั ขารโลก โลกคือสังขาร ๒. สตั วโลก โลกคือหมูสัตว ๓. โอกาสโลก โลกคือแผน ดนิ คําวา โลก แปลวา สภาพที่เคล่ือนสลาย ในท่ีน้ีหมายถึง ประดาสภาวธรรม หรือ หมูสตั วท ่ีกาํ หนดโดยขอบเขตบาง ไมกําหนดโดยขอบเขตบาง จดั เปน ๓ ประเภท ๑. สังขารโลก โลกคือสังขาร หมายถึง สภาวธรรมอันเปนไปตามคติแหงธรรมดาท่ี ตกอยภู ายใตเ งื่อนไขของธรรมชาติ หรอื ภายใตเ งื่อนไขของเหตุปจจัย เชน ขันธ ๕ คือรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวญิ ญาณ แตล ะอยางๆ น้ันก็ช่ือวา โลก ๒. สัตวโลก โลกคือหมูสัตว หมายถึง ส่ิงที่มีวิญญาณครองทั้งหลาย จะเปนคน สัตว หรืออมนุษยก็ตาม สรุปรวมเรียกวาเปนสัตวโลกทั้งหมด เพราะยังตองตกอยูภายใตเงื่อนไขของ ธรรมชาติ โดยมีความเกดิ ขึ้น ตัง้ อยู และแตกสลายไปในที่สุด ๓. โอกาสโลก โลกคอื แผน ดิน หมายถงึ โลกทกี่ ําหนดดวยโอกาส โลกอันมีในอวกาศ หรือจักรวาล โดยปริยาย ไดแ กแผนดนิ หรือดวงจกั รดารา (ระบบสรุ ิยะจกั รวาล) อนั เปนทีอ่ ยอู าศัย ของเหลา สัตวใ นภพภมู ินัน้ ๆ ๑. มนุษยโลก โลกท่ีเราอาศัยอยูน้ี ๒. เทวโลก สวรรคกามาพจร ๖ ชนั้ ๓. พรหมโลก สวรรคช ั้นพรหม เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 39

4๔0๐ คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท คําวา โลก ในที่น้ี หมายถึง ภพภูมิอันเปนสถานท่ีอยูของสัตวท้ังหลายดังท่ีกลาวมาแลว ในภพ ๓ คอื ๑. มนษุ ยโลก โลกทเ่ี ราอาศยั อยนู ี้ ไดแ ก โลกมนุษย ๒. เทวโลก สวรรคกามาพวจร ๖ ขน้ั ไดแก โลกคือหมเู ทพ หรอื โลกสวรรค ๓. พรหมโลก สวรรคชน้ั พรหม ไดแก โลกคอื หมูพรหม มนษุ ยโลกและเทวโลก รวมกันเรียกวา กามโลก โลกของผูเกี่ยวของในกาม หรือเรียกวา กามสคุ ติ คือ มนษุ ยโลก ๑ และสวรรค ๖ ช้ัน พรหมโลก จําแนกเปน ๒ คอื (๑) รปู โลก โลกของผูยินดใี นรูปฌาน หรือติดใจในรูปภพ ไดแก พรหมโลก ๑๖ ช้ัน (๒) อรูปโลก โลกของผูยินดีในอรูปฌาน หรือติดใจในอรูปภพ ไดแก โลกพรหมทไ่ี มม ีรปู ขันธ ๔ ชั้น ๑. กเิ ลสวฏั ฏะ วนคือกเิ ลส ๒. กมั มวฏั ฏะ วนคือกรรม ๓. วปิ ากวฏั ฏะ วนคอื วิบาก วฏั ฏะ แปลวา วน หรือ วนเวียน หมายถึง การหมุนวนแหงการเวียนวายตายเกิดในภพภูมิ ตา งๆ มี ๓ อยาง คอื ๑. กิเลสวัฏฏะ วนคือกิเลส วงจรกิเลสประกอบดวยกระบวนการท่ีทําใหจิตเศราหมอง ผลักดันใหทํากรรม ๓ อยาง คือ (๑) อวิชชา ความไมรูสภาพจริง (๒) ตัณหา ความทะยานอยากใน กาม ในภพ และภาวะทป่ี ราศจากภพ (๓) อุปาทาน ความทีจ่ ติ ยึดมน่ั ถือมัน่ ๒. กัมมวัฏฏะ วนคือกรรม วงจรกรรมประกอบดวยกระบวนการท่ีเปนตัวกรรม ๒ อยาง คือสังขาร สภาพปรุงแตงการกระทําใหเปน บุญ บาป และฌาน และกรรมภพ ภพที่เกิด ตามกรรม คอื กรรมนาํ ไปเกิดในภพ ๓ ๓. วปิ ากวัฏฏะ วนคอื วบิ าก วงจรวิบากประกอบดว ยกระบวนการทท่ี ําใหคนเราไดรับ ผลจากกรรมวัฏ ๕ อยา ง คือ วญิ ญาณ นามรูป สฬายตนะ ผสั สะ และเวทนา ซึง่ แสดงออกในสิ่งท่ี เรียกวา อุปปตตภิ พ (ภพคือสถานทอี่ ยทู ี่เกดิ ) มีชาติ ชรา มรณะ เปน ตน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 40

 4๔1๑ วชิ า ธรรมวิภาค กิเลส กรรม และวิบากทั้ง ๓ นี้ไดช่ือวา วัฏฏะ ๓ หรือ ไตรวัฏฏ คือสภาพท่ีวนเพราะ หมุนเวียนกันไป กลาวคือ กิเลสเกิดข้ึนแลวใหทํากรรม คร้ันทํากรรมแลว ยอมไดรับวิบากแหง กรรม เมื่อไดรับวิบาก กิเลสเกิดข้ึนอีก วนกันไปอยางนี้ จนกวาจะตัดขาดไดดวยอรหัตตมรรค เรียกอีกอยางหนึ่งวา ภวจักร ความหมุนเวียนแหงภาวะชีวิต หรือ สังสารจักร ความหมุนวนแหง การเวียนวายตายเกิดในภพภูมิ ตา งๆ ตามหลกั ปฏจิ จสมปุ บาท (ดูรายละเอยี ดใน ปจ จยาการ ๑๑) ๑. ปุพเพนวิ าสานสุ สตญิ าณ รูจักระลึกชาติได ๒. จุตปู ปาตญาณ รจู กั กําหนดจุติและเกิด ๓. อาสวกั ขยญาณ รจู กั ทาํ อาสวะใหส น้ิ วชิ ชา แปลวา ความรแู จง หรือ ความรวู ิเศษ หมายถึง ญาณหย่ังรูอยางลึกซึ้งและแจมแจง เปนองคธรรมแหงสัมโพธิญาณของพระพุทธเจา และเปนองคคุณของพระอรหันตผูเตวิชชะ เรียกอีกอยา งหน่งึ วา ญาณ ๓ คือ ๑. ปพุ เพนวิ าสานุสสตญิ าณ รูจกั ระลกึ ชาตไิ ด หมายถงึ ญาณที่ทาํ ใหร ะลึกชาติกอน ไดเปนอันมาก โดยระลึกชาติถอยหลังเขาไปไดตั้งแตหน่ึงชาติไปจนถึงรอยชาติ พันชาติ แสน ชาติ ตลอดสังวัฏฏกัปเปนอนั มาก ๒. จุตูปปาตญาณ รูจักกําหนดจุติและเกิด หมายถึง ญาณที่สามารถเห็นการเวียน วา ยตายเกิดของสัตวทง้ั หลาย สามารถรูช ดั หมสู ัตวผ ูเ ปนไปตามกรรม ๓. อาสวักขยญาณ รูจักทําอาสวะใหส้ิน หมายถึง ญาณหย่ังรูท่ีทําใหส้ินอาสวกิเลส หรอื ความตรสั รู โดยประจกั ษตามความเปนจริงวา นี้ทุกข นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธ คามนิ ีปฏิปทา เปนตน เมื่อรูเห็นอยางน้ี จติ ก็หลดุ พน จากอาสวะทัง้ หลาย มีญาณหยง่ั รวู า หลุดพน แลว รูชัดวาชาติสิ้นแลว พรหมจรรยอยูจบแลว กิจที่ควรทําไดทําเสร็จแลว กิจอ่ืนเพื่อความเปน อยา งนี้มไิ ดม อี กี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 41

4๔๒2 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท ๑. สุญญตวิโมกข หลุดพนดวยเห็นความวา ง ๒. อนิมิตตวิโมกข หลดุ พน ดว ยไมถือนิมติ ๓. อปั ปณิหติ วิโมกข หลุดพน ดว ยไมท าํ ความปรารถนา วิโมกข แปลวา ความพนวิเศษ หรือ ความหลุดพน หมายถึง ความหลุดพนโดยส้ินเชิง คอื เดด็ ขาดจากกิเลสท้งั หลาย ไดแ ก อรหตั ตมรรค จัดตามลักษณะความเหน็ ไตรลักษณเปน ๓ คอื ๑. สุญญตวิโมกข หลุดพนดวยเห็นความวาง หมายถึง ความหลุดพนดวยภาวะจิต ทวี่ างจากราคะ โทสะ โมหะ โดยมองเห็นความวางหมดความยึดมั่น คือพิจารณาเห็นนามรูปโดย ความเปนอนตั ตาแลว ถอนความยึดม่ันเสียได กลา วงายๆ วา หลดุ พนเพราะเห็นอนัตตลกั ขณะ ๒. อนิมิตตวิโมกข หลุดพนดวยไมถือนิมิต หมายถึง ความหลุดพนดวยภาวะจิตท่ี ไมถือนิมิตคือราคะ โทสะ โมหะ เพราะพิจารณาเห็นนามรูปโดยความไมเท่ียงแลวถอนนิมิตเสียได กลาวงายๆ วาหลุดพนเพราะเห็นอนจิ จลกั ขณะ ๓. อัปปณิหิตวิโมกข หลุดพนดวยไมทําความปรารถนา หมายถึง ความหลุดพน ดวยภาวะจิตท่ีไมมีกิเลสเปนเหตุใหปรารถนาคือราคะ โทสะ โมหะ เพราะพิจารณาเห็นนามรูป เปนทกุ ข แลวถอนความปรารถนาเสยี ได กลา วงา ยๆ วาหลุดพนเพราะเห็นทุกขลักขณะ ๑. สุญญตสมาธิ สมาธิอนั พิจารณาเห็นความวา ง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๒. อนิมิตตสมาธิ สมาธอิ นั พิจารณาธรรมไมม นี ิมิต ๓. อปั ปณิหติ สมาธิ สมาธอิ ันพจิ ารณาธรรมไมม คี วามตั้งปรารถนา สมาธิ แปลวา ความต้ังมั่นแหงจิต หมายถึง ภาวะที่จิตตั้งม่ันสมํ่าเสมอในอารมณใด อารมณหนึง่ ในทน่ี ีห้ มายถึงสมาธิในวิปส สนา จดั เปน ๓ ประเภท คอื 42

 4๔3๓ วชิ า ธรรมวภิ าค ๑. สุญญตสมาธิ สมาธิอันพิจารณาเห็นความวาง คือ ภาวะที่จิตตั้งม่ันเพราะ พิจารณาเห็นความวางจากราคะ โทสะ โมหะเปนอารมณ ไดแก วิปสสนาท่ีใหถึงความหลุดพน ดว ยกาํ หนดอนตั ตลักขณะ ๒. อนิมิตตสมาธิ สมาธิอันพิจารณาธรรมไมมีนิมิต คือ ภาวะที่จิตต้ังม่ันเพราะ พิจารณาเห็นธรรมไมมีนิมิตคือราคะ โทสะ โมหะเปนอารมณ ไดแก วิปสสนาท่ีใหถึงความหลุดพน ดว ยอาํ นาจอนิจจลักขณะ ๓. อัปปณิหิตสมาธิ สมาธิอันพิจารณาธรรมไมมีความต้ังปรารถนา คือ ภาวะที่ จิตตั้งม่ัน เพราะพิจารณาเห็นธรรมไมมีความต้ังปรารถนาดวยกิเลสคือราคะ โทสะ โมหะเปน อารมณ ไดแ ก วิปส สนาทีใ่ หถ งึ ความหลดุ พน ดวยกําหนดทกุ ขลกั ขณะ ๑. กายวเิ วก สงดั กาย ๒. จติ ตวเิ วก สงัดจิต ๓. อปุ ธิวเิ วก สงัดกเิ ลส วิเวก แปลวา ความสงัด หมายถึง ความปลีกตนคือกายและจิตออกจากส่ิงรบกวน ๓ ลักษณะ คอื ๑. กายวิเวก สงัดกาย คือการอยูในที่สงัด ดํารงอิริยาบถและเที่ยวไปผูเดียวดวยการ ปลีกออกจากหมูคณะโดยเขาไปอาศัยอยูในสถานที่ไมมีสิ่งใดๆ รบกวนแมบุคคลที่อยูในชุมชนก็ สามารถทํากายใหวิเวกไดดวยการไมคลุกคลี หรือสนทนาหาความสนุกสนานจนเกินไป รวมถึง การรกั ษาศลี อยา งเครง ครดั ซึ่งสามารถสงบกเิ ลสอยา งหยาบได ก็จดั เปนกายวิเวก ๒. จติ ตวิเวก สงัดจิต คอื การทําจิตใหสงบผอ งใสดว ยสมถภาวนา โดยสงัดจากกิเลสท่ี เรียกวานวิ รณ ๕ ไดแ กภาวะจิตของทา นผบู รรลฌุ านและสําเร็จอรยิ มรรคอริยผลเปนบางสว น ๓. อุปธิวิเวก สงัดกิเลส คือการเจริญวิปสสนาภาวนาเพ่ือทําจิตใหสงัดจากกิเลส ที่ เรียกวา อุปธิ ซ่ึงเปนที่ตั้งท่ีทรงไวแหงทุกข พระอรหันตทานสามารถละกรรมกิเลสไดโดยส้ินเชิง บรรลุพระนิพพานอันเปนความสงบจากอุปธกิ เิ ลสอยางแทจริง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 43

4๔4๔ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท สงั ขตลักษณะ แปลวา ลักษณะแหงสังขตธรรม หมายถึง ขอกําหนดเดนชัดเกี่ยวกับ สิ่งท่ีปจจยั ปรงุ แตง ข้นึ ๓ ประการ คือ ๑. ความเกิดข้ึนปรากฏ (อุปฺปาโท ปฺญายติ) คือเม่ือปจจัยตางๆ ประชุมพรอมกัน สงั ขารทงั้ หลายทง้ั ท่เี ปน อุปาทินนกะ (มใี จครอง) และอนุปาทนิ นกะ (ไมม ีใจครอง) ก็มีการเกดิ ข้ึน ๒. ความดับปรากฏ (วโย ปฺญายติ) ไดแก สังขารท่ีเปนอุปาทินนกะ และอุปาทินนกะ เหลานนั้ เมอ่ื ขาดปจจยั ปรุงแตง เสียแลว ก็ตัง้ อยูไมได ความดับสลายจงึ ปรากฏ ๓. เมอื่ ตั้งอยู ความแปรปรากฏ (ฐิตสฺส อฺญถตฺตํ ปฺญายติ) ไดแก ความแปรของ สังขารในขณะท่ียังดํารงอยู ตัวอยาง เชน วงจรชีวิตของคนจากเปนเด็ก แลวแปรเปลี่ยนสภาพ (เติบโต) เปน หนุม แลว แปรเปล่ยี น (เสอื่ มสภาพ) เปนคนแก เปนตน ๑. กายสงั ขาร สภาพอันแตงกาย ๒. วจีสังขาร สภาพอนั แตง วาจา ๓. จิตตสังขาร สภาพอันแตงจติ สังขาร แปลวา สภาพปรุงแตง ในที่น้ีหมายถึง สภาพท่ีปรุงคือเสริมแตงใหมนุษยเกิด มามชี วี ิตรางกายดาํ รงอยไู ด พูดได และคดิ ไดอ ยางเปน ระบบ จดั ตามทวารเปน ๓ ประเภท คอื ๑. กายสังขาร สภาพอันแตงกาย ไดแก ลมอัสสาสปสสาสะ คือลมหายใจเขา – ออก ซึ่งปนปรือพยุงรางกายของคนเราใหด ํารงคงชีวิตอยไู ด ๒. วจสี งั ขาร สภาพอันแตงวาจา ไดแก วิตกและวิจาร ซ่ึงทําหนาท่ีปรุงแตงคําพูดโดย ตรแิ ลวตรองแลว จึงเปลงวาจาคือพดู ออกมา มิฉะน้นั วาจาท่ีพูดนัน้ จะไมเปน ภาษา เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 44

 4๔5๕ วชิ า ธรรมวภิ าค ๓. จิตตสังขาร สภาพอันแตงจิต ไดแกสัญญา ความจําไดหมายรู และเวทนา ความรสู กึ สุขทุกข ซ่ึงทําหนา ทปี่ รุงแตงยอมจติ ใหม ปี ระการตางๆ ดจุ น้าํ ยอ มท่จี บั ผา ฉะนั้น ๑. ปรยิ ตั ตสิ ัทธรรม ไดแกคาํ สัง่ สอน ๒. ปฏปิ ต ตสิ ทั ธรรม ไดแ กความปฏบิ ัติ ๓. ปฏเิ วธสัทธรรม ไดแกมรรค ผล นพิ พาน สัทธรรม แปลวา ธรรมอันดี ธรรมทแ่ี ท หรือธรรมของสัตบรุ ุษ หมายถึง ธรรมที่เปน หลกั หรือแกนแทแหง คาํ สอนในพระพุทธศาสนา ซ่งึ จดั เปน ๓ ประเภท คอื ๑. ปริยัตติสัทธรรม ไดแก คําส่ังสอน หมายถึง สัทธรรมคือคําสั่งสอนอันตองศึกษา เลา เรียน ไดแกพระบาลพี ทุ ธพจนใ นพระไตรปฎกทง้ั ส้ิน ๒. ปฏิปตติสัทธรรม ไดแก ความปฏิบัติ หมายถึง สัทธรรมคือปฏิปทาอันจะตอง ปฏิบัติ คืออริยมรรคมีองค ๘ ซึ่งเปนกระบวนการปฏิบัติ หรือหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปญ ญา ๓. ปฏเิ วธสทั ธรรม ไดแ ก มรรค ผล นพิ พาน หมายถึง สัทธรรมคือผลอันจะพึงเขาถึง หรอื บรรลดุ ว ยการปฏบิ ัติ (บางแหง เรียกวา อธคิ มสัทธรรม สทั ธรรมที่พึงบรรลุ) สัทธรรมทั้ง ๓ น้ี เรียกสั้นๆ วา ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ มีความเก่ียวเน่ืองกัน คือปริยัติ เปนแนวทางแหงการปฏิบัติ ในขณะท่ีปฏิบัติก็เปนเหตุใหไดบรรลุถึงปฏิเวธ สัทธรรมท้ัง ๓ น้ี เปนหลักช้ีวัดความดํารงอยูของพระพุทธศาสนา เพราะเม่ือสัทธรรมทั้ง ๓ นี้ยังมีอยูเพียงใด พระพทุ ธศาสนาก็ดํารงอยเู พียงน้นั เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 45

4๔6๖ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท ๑. มนษุ ยสมบัติ สมบตั ใิ นมนษุ ย ๒. สวรรคสมบัติ สมบัติในสวรรค ๓. นพิ พานสมบัติ สมบตั ิคือพระนพิ พาน สมบตั ิ แปลวา ความถึงพรอม หมายถึง ความพรั่งพรอมสมบูรณของสิ่งที่ทําใหสําเร็จ ความปรารถนา หรือผลสาํ เรจ็ ที่ใหสมความปรารถนา มี ๓ ประการ คอื ๑. มนุษยสมบัติ สมบัติในมนุษย หมายถึง ความพร่ังพรอมสมบูรณในฐานะของ มนษุ ย เชน สมบูรณดวยปจ จยั ๔ มที รพั ย ยศ ตาํ แหนง เปนตน ประสบความอยูดีมีสุข ตามสมควร แกฐานะของตน ๒. สวรรคสมบตั ิ สมบัตใิ นสวรรค หรือเรยี กวา เทวสมบตั ิ สมบัตชิ ัน้ สวรรค หมายถึง ผลของการปฏิบัติที่จะสงผลใหบุคคลผูปฏิบัติไดเสวยทิพยสมบัติในสุคติโลกสวรรค เชน การให การรักษาศลี และเจรญิ ภาวนาทเี่ ปน โลกยิ ะ ยอมไดผ ลทเี่ ปนสวรรคสมบตั ิ ๓. นพิ พานสมบัติ สมบัติคือพระนิพพาน จัดเปนสมบัติช้ันสูงสุดในพระพุทธศาสนา ซง่ึ ไดเฉพาะพระสัมมาสมั พุทธเจา และพระอรหนั ตขณี าสพเทาน้ัน ๑. อธิสลี สิกขา สกิ ขาคอื ศีลอนั ย่งิ ๒. อธจิ ติ ตสกิ ขา สิกขาคือจิตอนั ยง่ิ ๓. อธิปญ ญาสกิ ขา สิกขาคอื ปญญาอนั ยิ่ง สิกขา แปลวา การศึกษา หรือขอที่จะตองศึกษา ในที่นี้หมายถึง ขอปฏิบัติที่เปนหลัก สาํ หรับศกึ ษา คอื การฝกหัดอบรมกาย วาจา จิตใจ และปญญาใหย่ิงข้ึนไปจนบรรลุจุดหมายสูงสุด คือ พระนิพพาน จดั ตามลําดบั เปน ๓ ข้ัน โดยทัว่ ไปเรียกวาศลี สมาธิ ปญ ญา คอื ๑. อธิสีลสิกขา สิกขาคือศีลอันยิ่ง หมายถึง ขอปฏิบัติสําหรับฝกอบรมในทาง ความประพฤติชั้นสูง โดยความมุงหมายสูงสุด ไดแก ปาติโมกขสังวรศีล ศีลคือความสํารวมใน พระปาติโมกข โดยเวนขอท่ีพระพุทธเจาทรงหาม ทําตามขอที่ทรงอนุญาต จัดเปนศีลท่ียิ่งกวาศีล ทั่วไป เพราะนอกจากพระพุทธเจาแลว ไมมใี ครสามารถบัญญัติได เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 46

 4๔7๗ วชิ า ธรรมวิภาค ๒. อธิจิตตสิกขา สิกขาคือจิตอันยิ่ง หมายถึง ขอปฏิบัติสําหรับฝกอบรมจิตเพ่ือใหเกิด สมาธิชั้นสูง ไดแก กระบวนการฝกอบรมจิตจนถึงข้ันฌานสมาบัติ ๘ อันเปนบาทฐานใหเกิด วิปสสนา จัดเปนสมาธิที่ย่ิงกวาสมาธิทั่วไป เพราะเกิดมีเฉพาะกาลท่ีพระพุทธเจาอุบัติเทาน้ัน อธิจิตหรือสมาธิ วาโดยระดับสูงสุด ไดแก สมถภาวนา สมถกัมมัฏฐาน สมถวิธี หรือวิธีเจริญสมาธิ บําเพญ็ เพียรทางจิตใหสงบโดยรปู แบบตา งๆ ๓. อธิปญญาสิกขา สิกขาคือปญญาอันยิ่ง หมายถึง ขอปฏิบัติสําหรับฝกอบรมปญญา เพอ่ื ใหเกิดความรแู จงอยา งสงู มองเหน็ สภาพของส่ิงทั้งหลายตามความเปนจริง โดยความหมายสูงสุด ไดแก วิปสสนาญาณ คือปญญาท่ีกําหนดรูอาการของไตรลักษณ หรือวิปสสนาปญญา ซึ่งจัดเปน ปญญาข้นั สูงยิ่งเพราะมีเฉพาะกาลท่ีพระพุทธเจาอุบัติเทา น้ัน ๑. เอกพีชี ผูมพี ืชคืออัตภาพเดียว ๒. โกลังโกละ ผูไปจากตระกลู สตู ระกูล ๓. สัตตักขตั ตุปรมะ ผูมี ๗ คร้งั เปนอยา งย่ิง โสดาบัน แปลวา ผูเขาถึงกระแสพระนิพพาน หมายถึง ผูเขาถึงกระแสแหงอริยมรรคที่จะ นําไปสูพระนิพพาน เปนผูแนตอการตรัสรูขางหนา ไดแก ทานผูบรรลุโสดาปตติผลแลว จัดเปน พระอริยบุคคลช้ันตน หรือช้ันแรกสุดในพระพุทธศาสนา จําแนกเปน ๓ ประเภท แบงตามเกณฑท่ี กําหนดดว ยวปิ สสนาและอนิ ทรียธรรม (คือสทั ธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญ ญา) ดังน้ี ๑. เอกพีชี ผูมีพืชคืออัตภาพเดียว หมายถึง โสดาบันบุคคลผูเกิดอีกคร้ังเดียว ก็จักบรรลุ อรหัตตผลแลว ปรนิ ิพพานไปในทส่ี ุด ๒. โกลังโกละ ผูไปจากตระกลู สตู ระกูล หมายถงึ โสดาบนั บุคคลผูเกิดเปนมนุษยตระกูลสูง อกี ๒ - ๓ ชาติ หรอื เกดิ ในสุคติภพอีก ๒ - ๓ ภพ ก็จกั บรรลอุ รหัตตผลแลวปรนิ พิ พานไปในท่ีสุด ๓. สัตตักขัตตุปรมะ ผูมี ๗ ครั้ง เปนอยางยิ่ง หมายถึง โสดาบันบุคคลผูเวียนวายตาย เกดิ ในสุคติภพอกี อยางมากเพียง ๗ ชาตกิ ็จักบรรลุอรหตั ตผลแลว ปรนิ ิพพานไปในทสี่ ุด เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 47

4๔8๘ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท จตุกกะ : หมวด ๔ อบาย ๔ ๑. นริ ยะ นรก ๒. ตริ จั ฉานโยนิ กําเนิดดริ ัจฉาน ๓. ปต ติวสิ ัย ภูมิแหงเปรต ๔. อสุรกาย พวกอสุระ พวกอสูร คาํ วา อบาย แปลวา ภาวะหรอื สถานที่อันปราศจากความเจรญิ หมายถึง ภูมิกาํ เนิดหรอื ภพทห่ี าความเจริญมิได มีแตความเส่ือมถายเดียว เรียกอีกอยางวา ทุคติ คือภาวะหรือที่ซ่ึงมีแต ความทุกข หรือสถานท่ีท่ีบังเกิดเพราะกรรมชั่วอันเน่ืองจากการประพฤติทุจริต นับเปนภูมิหรือ กําเนดิ ท่ีตํ่าชา ๑. นิรยะ นรก คือโลกอันหาความเจริญมิได หมายถึง สภาวะหรือที่อันไมมีความสุข ความเจริญ มแี ตภาวะเรารอ นกระวนกระวาย และทกุ ขทรมาน เปน ภูมิหรอื สถานท่ีสําหรับลงโทษ ผปู ระกอบกรรมชั่ว หรือประพฤตทิ ุจรติ ๒. ติรัจฉานโยนิ กําเนินดิรัจฉาน คือพวกมืดมัวโงเขลา หมายถึง เหลาสัตวท่ีมี การเคล่ือนไหวอิริยาบถในลักษณะขวาง หรือกระเสือกกระสนคลานไปโดยสวนมาก เชน สัตว จําพวกงู ตะขาบ แมว หรือพวกสัตวท่ีเห็นมนุษยแลวยอมกระเสือกกระสน ซึ่งไมมีภพภูมิเปนท่ี อยูอ าศัยตางหาก แตอ าศยั อยูในมนุษยโลกนี้ จาํ แนกเปนทง้ั สัตวน า้ํ และสตั วบ ก ซึ่งปรากฏใหเห็น ทัว่ ไป ในคัมภรี ช ั้นหลังๆ ทานยงั จัด พวกครฑุ และพวกนาค วาเปนสตั วด ิรัจฉานชั้นสูง โดยมี ภูมิเปนที่อยูอาศัยตางหาก มีการสถาปนาเปนพระราชาในพรรคพวกกันเอง มีความสมบูรณ พูนสุขดวยสมบัตินานาชนิด แตก็ยังนับวาเปนอบายอยูนั่นเอง เพราะเปนอภัพพบุคคลที่ไม เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 48

 4๔9๙ วชิ า ธรรมวิภาค สามารถบรรลุธรรมได หรอื ไมม ีความสามารถทาํ ความเจริญใหเกิดข้นึ แกต นไดเ หมอื นพวกมนษุ ย ๓. ปตติวิสัย ภูมิแหงเปรต (เปรตวิสัย แดนแหงเปรต ก็ใช) หมายถึง ภูมิแหงผูหิว กระหาย ไรสขุ ทานจาํ แนกความหมายเปนไดทงั้ สตั วจําพวกผีผซู ่ึงเปน มนุษยมากอน และยังมิได ถือกําเนิดเกดิ ในภพภมู ิอ่นื ก็มี เปนไดท งั้ จําพวกสัตวที่กระทําบาปกรรม หากแตวามีโทษยังไมถึง ตกนรกก็มี และเปนไดท้ังจําพวกสัตวผูพนจากนรกขึ้นมาแลวแตยังมิไดไปถือกําเนิดอ่ืนก็มี นอกจากนี้ยังหมายถึงเปรตอีกพวกหน่ึงซึ่งเสวยผลแหงกรรมดี และกรรมชั่วในอัตภาพชาติ เดียวกันสลับกันไป ซึ่งเรียกวา เวมานิกเปรต คือเปรตท่ีมีวิมานอยูเปนของตนเอง มีความสุข เหมือนพวกเทวดาในเวลาหน่ึง แตในอกี เวลาหน่ึงก็ไดรับทุกขเวทนาแสนสาหัสเหมือนพวกเปรต อืน่ และสตั วน รกทัว่ ไป ๔. อสุรกาย พวกอสุระ หรืออสูร ไดแก สัตวจําพวกผีท่ีเปนอทิสสมานกาย หรือไมมี ตัวตนปรากฏ ชอบเทย่ี วหลอกพวกมนุษยใหตระหนกตกใจกลัว ซึ่งตางจากพวกเปรตที่ไมมีนิสัย หลอก อนึง่ เฉพาะคําวา อสรู ในคัมภีรอรรถกถาทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ทานไดใหความหมายวา ไดแก พวกสัตวเกิดในอบายพวกหนึ่ง ซึ่งเปนพวกสะดุงหวาดหวั่นไรความร่ืนเริง สวนในคัมภีร อรรถกถาขุททกนิกาย อุทาน ทานไดใหความหมายวา ไดแก พวกเทพชั้นต่ําพวกหน่ึงซ่ึงมี ทาวเวปจิตตแิ ละทาวปหาราทะเปน ตน เปนหัวหนาปกครองมีภพอยูภายใตเขาพระสุเมรุ ท่ีช่ือวา อสูร เพราะหมายถึงวาเปนผูไมมีความอาจหาญ ไมเปนอิสระ และไมรุงเรืองเฉกเชน พวกเทพ ทว่ั ไป เปน คสู งครามกับพวกเทวดาช้ันดาวดึงส อปสเสนธรรม ๔ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 อปสเสนธรรม แปลวา ธรรมดุจพนักพิง หมายถึง ธรรมเปนที่พ่ึงพิงหรืออาศัยของ ภิกษุหรือบุคคลผูมีปญญารูจักพิจารณาปฏิบัติตอส่ิงตางๆ ใหถูกตองดวยปญญา เพ่ือไมใหเกิด ทุกข และโทษแกตน เปนทางปองกันไมใหอกุศลเกิดข้ึน และเจริญกุศลใหเกิดขึ้น จําแนกเปน 49

5๕0๐ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ๔ ประการ คือ ๑. พิจารณาแลวเสพของอยา งหนง่ึ (สงขฺ าเยกํ ปฏเิ สวติ) ไดแก สง่ิ ของมีปจจยั ๔ คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานเภสัช เปนตนก็ดี บุคคลและธรรมเปนตนก็ดี ที่จําเปนจะตอง เกย่ี วของและมปี ระโยชน พงึ พิจารณาแลวจงึ ใชสอยและเสวนาใหเ ปนประโยชน ๒. พิจารณาแลวอดกลั้นของอยางหน่ึง (สงฺขาเยกํ อธิวาเสติ) ไดแก อนิฏฐารมณ ตา งๆ มหี นาว รอน และทกุ ขเวทนาเปน ตน พงึ รูจักพิจารณาแลวอดกลน้ั ๓. พิจารณาแลวบรรเทาของอยางหนึ่ง (สงฺขาเยกํ ปฏิโนเทติ) ไดแก ส่ิงท่ีเปนโทษ กออันตรายเกิดข้ึนแลว เชน อกุศลวิตกและความชั่วรายทั้งหลาย เม่ือเกิดข้ึนแลว พึงรูจัก พิจารณาแกไ ขบําบดั หรอื ขจัดใหส ้ินไป ๔. พิจารณาแลวเวนของอยางหนึ่ง (สงฺขาเยกํ ปริวชฺเชติ) ไดแก สิ่งท่ีเปนโทษกอ อนั ตรายแกร า งกาย หรอื จิตใจ เชน คนพาล การพนนั สุราเมรัย เปนตน พึงรูจักพจิ ารณาหลีกเวน เสีย อปสเสนธรรมทั้ง ๔ นี้ เรียกวา อุปนิสัย ๔ หมายถึง ธรรมเปนท่ีพ่ึงพิง หรือธรรมชวย อุดหนุนใหต ัง้ ม่ันอยูกุศลธรรมอนื่ ๆ กลาวสาํ หรับภกิ ษุผูพรอ มดวยธรรม ๔ ประการนี้ และดาํ รงอยู ในธรรม ๕ ประการ คือศรัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ และปญญา ทานเรียกวา นิสฺสยสมฺปนฺโน (นิสสยสมั บนั ) ผถู ึงพรอมดวยท่พี ง่ึ อาศัย ๑. เมตตา ความรกั ๒. กรณุ า ความสงสาร ๓. มทุ ิตา ความพลอยยนิ ดี ๔. อเุ บกขา ความวางเฉย อัปปมัญญา แปลวา ภาวะท่ีจิตแผไปโดยไมมีประมาณ หมายถึง การแผคุณธรรม ทั้ง ๔ คือเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา สมํ่าเสมอโดยทั่วไปในมนุษย และสัตวทั้งหลาย ไมมี ประมาณ ไมจํากัดขอบเขต ถาแผคุณธรรมท้ัง ๔ นี้ ไปโดยเจาะจงตัวบุคคลหรือจํากัดมุงเอาหมู นัน้ หมูน้ี จัดเปน พรหมวหิ าร เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook