หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เร่ือง ไฟฟ้า ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัส ว 16101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครผู ู้สอน นางสาวสวุ ดี กาญจนาภา โรงเรยี นวดั พชื นมิ ติ (คาสวัสดริ์ าษฎรบ์ ารุง) สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 สานักานคณะกรรมการการศกึ ษาขนึ้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
การจัดการเรียนรู้ ด้วยการสอนแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้(5ES) (Inquiry Method: 5Es) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ าวิทยาศาสตร์ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5 เรอื่ ง ไฟฟ้า รหัส ว 16101 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 เวลา 16 ชั่วโมง นางสาวสุวดี กาญจนาภา โรงเรยี นวัดพชื นิมิต (คาสวัสดิ์ราษฎร์บารุง) สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 สานักานคณะกรรมการการศึกษาข้ึนพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
คานา การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้องพัฒนาผู้เรยี นให้มีทักษะแห่งอนาคต เป็นทักษะที่จาเป็นตอ้ งใช้ ในการดาเนนิ ชวี ิต เพ่อื เตรียมความของผู้เรยี นให้ใชช้ ีวิตในโลกที่เปน็ จรงิ เน้นการศกึ ษาตลอดชวี ิต ให้ผเู้ รยี นรู้จัก การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การนาทฤษฎีการเรียนรู้ที่ได้รับไปสู่การปฏิบัติ ส่ิงสาคัญคือผู้เรียนจะต้องเกิด กระบวนการเรยี นรู้ ซง่ึ ถอื เปน็ จดุ สาคญั การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5Es เน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้ค้นคว้าหาความรู้ ด้วยตนเองหรือสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ผู้สอนเป็นผู้อานวยความสะดวก เพ่ือให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมาย วิธีสืบสอบความรู้จะเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของการเรียน หรือเป็นวิธีสอนที่ฝึกให้ ผู้เรียนรู้จักค้นคว้าหาความรู้โดยใช้กระบวนการทางความคิดหาเหตุผล จะค้นพบความรู้หรือแนวทางท่ีถูกต้อง ด้วยตนเอง โดยผู้สอนตั้งคาถามประเภทกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้ความคิดหาวิธีการแก้ปัญหาได้เอง และสามารถนา การแก้ปัญหามาใช้ในชีวิตประจาวันได้ หรือเป็นการสอนที่เน้นกระบวนการแสวงหาความรู้ท่ีช่วยให้ผู้เรียนได้ ค้นพบความจรงิ ต่างๆ ด้วยตนเองให้ผู้เรียนมปี ระสบการณ์ตรงในการเรียนรูเ้ นื้อหา อีกท้ังการจดั การเรยี นรู้แบบ สืบเสาะหาความรู้เป็นยุทธวิธีในการจัดการเรียนการสอนสืบเสาะที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางให้ผู้เรียนได้สร้าง องค์ความรดู้ ้วยตนเอง ผู้เรยี นได้เรียนรรู้ ่วมกันและประเมินผลการเรียนรดู้ ว้ ยตวั ของผู้เรียนเองด้วย นอกจากนั้น การสืบเสาะหาความรู้ ยังเก่ียวข้องกับกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย คือ การถามคาถาม ออกแบบการ สารวจขอ้ มลู การสารวจข้อมูล การวเิ คราะห์ การสรุปผล การคิดค้นประดษิ ฐ์ การแลกเปล่ยี นความคิดเห็นและ สือ่ สารคาอธิบายดว้ ย ผู้สอนมหี น้าที่เป็นผ้สู นับสนุน ชี้แนะ ช่วยเหลือ ตลอดจนแก้ปัญหาท่ีอาจเกิดขึ้นระหว่าง การเรียนการสอน หวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้ ค้นพบ เพ่อื พฒั นาผูเ้ รยี นต่อไป สุวดี กาญจนาภา
แผนผงั มโนทศั นเ์ ป้าหมายการเรยี นรู้/ หลักฐานการเรยี นรู้ ความรู้ (Knowledge : K) ทักษะ/กระบวนการ (Process : P) คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย 1. การสืบค้นข้อมูล 1. ซ่ือสัตยส์ จุ รติ 2. การตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบอนุกรม 2. การสงั เกต 2. มีวนิ ยั และแบบขนาน 3. การอธิบาย 3. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. การต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนุกรมและ 4. การทดลอง 4. มุ่งมน่ั ในการทางาน แบบขนาน 5. การนาความรู้ไปใชใ้ น 4. ตัวนาไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า ชวี ิตประจาวัน 5. แม่เหลก็ ไฟฟ้าและการใช้ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ เป้าหมายการเรยี น ไฟฟา้ หลักฐานการเรียนรู้ 1. ภาพวาดแผนภาพแสดงการต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายท่ีถูกวธิ ี วงจรปิด และวงจรเปดิ 2. การเปรยี บเทียบการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รมและแบบขนาน 3. การเปรียบเทยี บการตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนาน 4. แผนภาพความคดิ การจาแนกประเภทวัตถตุ ามความสามารถในการนาไฟฟ้า 5. แผนภาพความคิดส่ิงประดิษฐ์ทีใ่ ชแ้ ม่เหล็กไฟฟา้ จากวัสดใุ นท้องถิน่ หรอื วัสดุเหลือใช้ 6. สงิ่ ประดิษฐ์ท่ีใชแ้ ม่เหลก็ ไฟฟา้ จากวัสดใุ นท้องถนิ่ หรือวสั ดเุ หลือใช้ 7. แบบทดสอบกอ่ น – หลงั เรียน
แผนผงั มโนทศั น์ขัน้ ตอนการทากิจกรรมประกอบการจัดการเรียนรู้ด้วย การสอนแบบกระบวนการสืบเสาะหาความร(ู้ 5Es) ศกึ ษามาตรฐานการรเรียนรู้ / ตวั ชีว้ ดั และจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น ทากิจกรรมโดยใช้กระบวนการจดั การเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E ขน้ั ท่ี 1 สร้างความสนใจ (engagement) ขนั้ ที่ 2 สารวจและค้นหา (exploration) ขนั้ ที่ 3 อธบิ ายและลงข้อสรปุ (explanation) ข้ันที่ 4 ขยายความรู้ (elaboration) ขน้ั ที่ 5 ประเมิน (evaluation) ทโคอรสงอสบรห้าลงหังเนรว่ยี ยนก(าผร่าเรนียเกนณรู้ ฑร์ อ้ ยละ 60)
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 5 ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 เรื่อง ไฟฟา้ วิชาวิทยาศาสตร์ เวลา 16 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวช้ีวดั มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งพลังงานกับการดารงชวี ิตการเปลย่ี นแปลงรปู พลงั งาน ปฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ งสารและพลงั งาน ผลการใชพ้ ลังงานต่อชีวิตและส่ิงแวดล้อม มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ส่ือสารสิง่ ท่เี รยี นรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชวี้ ัด ป 6/1 ทดลองและอธบิ ายการต่อวงจรไฟฟา้ อยา่ งง่าย ป 6/2 ทดลองและอธิบายตวั นาไฟฟา้ และฉนวนไฟฟ้า ป 6/3 ทดลองและอธบิ ายการตอ่ เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมและนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ป 6/4 ทดลองและอธิบายการต่อหลอดไฟฟ้าทั้งแบบอนุกรม แบบขนานและนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ป.6/5 ทดลองและอธิบายการเกิดสนามแม่เหล็กรอบสายไฟที่มีกระแสไฟฟ้าผา่ นและนา ความรไู้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละจิตวทิ ยาศาสตรใ์ นการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ร้วู ่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูแบบ ทแี่ นน่ อน สามารถอธบิ าย และ ตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมลู และเครื่องมือทมี่ ีอยู่ในช่วงเวลานน้ั ๆ เขา้ ใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ สงิ่ แวดล้อมมีความเกย่ี วข้องสัมพันธ์กนั ตัวชวี้ ดั ป.6/1 ตัง้ คาถามเก่ียวกับประเดน็ หรือเรื่อง หรือสถานการณ์ ทจี่ ะศึกษาตามท่กี าหนดให้ และ ตามความสนใจ ป.6/2 วางแผนการสงั เกต เสนอการสารวจตรวจสอบ หรอื ศึกษาค้นควา้ และ คาดการณ์ สิ่งท่จี ะ พบจากการสารวจตรวจสอบ ป.6/3 เลอื กอปุ กรณ์ทถ่ี ูกตอ้ งเหมาะสมในการสารวจตรวจสอบให้ไดข้ ้อมูลท่เี ชื่อถอื ได้ ป.6/4 บนั ทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและคณุ ภาพ และตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้ นาเสนอผลและข้อสรุป ป.6/5 สร้างคาถามใหม่เพ่ือการสารวจตรวจสอบต่อไป ป.6/6 แสดงความคดิ เห็นอยา่ งอิสระ อธบิ าย และสรุปสิง่ ที่ได้เรียนรู้ ป.6/7 บันทกึ และอธิบายผลการสารวจตรวจสอบตามความเปน็ จริง มีการอ้างอิง ป.6/8 นาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธบิ ายดว้ ยวาจา หรอื เขยี นอธิบายแสดง กระบวนการและผลของงานใหผ้ ู้อนื่ เข้าใจ
2. สาระสาคัญ วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วย แหล่งกาเนิดไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า วัสดุที่กระแสไฟฟ้าผ่านได้เป็นตัวนา ไฟฟ้า ถ้ากระแสไฟฟ้าผ่านไม่ได้เป็นฉนวนไฟฟ้าเซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์ต่อเรียงกัน โดยขั้วบวกของเซลล์ไฟฟ้า เซลล์หน่ึงต่อกับขั้วลบของอีกเซลล์หน่ึงเป็นการต่อแบบอนุกรม ทาให้มีกระแสไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้าในวงจร เพ่ิมข้ึน การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวนั เช่น การต่อเซลล์ไฟฟ้าในไฟฉาย การ ต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รม จะมีกระแสไฟฟา้ ปรมิ าณเดียวกันผา่ นหลอดไฟฟ้าแตล่ ะหลอด การต่อหลอด ไฟฟ้าแบบขนาน กระแสไฟฟ้าจะแยกผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละหลอด สามารถนาไปใช้ประโยชน์ เช่น การต่อ หลอดไฟฟา้ หลายดวงในบ้าน สายไฟที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านจะเกิดสนามแม่เหล็กรอบสายไฟ สามารถ นาไปใช้ประโยชน์ เชน่ การทาแม่เหลก็ ไฟฟ้า 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย 3.2 การต่อถา่ นไฟฉายแบบอนกุ รมและแบบขนาน 3.3 การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน 3.4 ตัวนาและฉนวนไฟฟ้า 3.5 แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 3.6 ประโยชนข์ องแม่เหล็กไฟฟา้ 4. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในใช้ทักษะชีวติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 5. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ซื่อสัตย์สจุ ริต 2. มวี นิ ัย 3. ใฝเ่ รียนรู้ 4. มงุ่ ม่นั ในการทางาน 6. ชนิ้ งาน/ภาระงาน 1. ภาพวาดแผนภาพแสดงการต่อวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่ายที่ถูกวิธี วงจรปิด และวงจรเปดิ 2. การเปรยี บเทียบการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน 3. การเปรยี บเทยี บการตอ่ เซลล์ไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนาน 4. แผนภาพความคิด การจาแนกประเภทวัตถตุ ามความสามารถในการนาไฟฟา้
5. แผนภาพความคดิ ส่ิงประดิษฐ์ทใ่ี ชแ้ มเ่ หลก็ ไฟฟา้ จากวสั ดุในท้องถ่ินหรือวัสดุเหลอื ใช้ 6. สิง่ ประดษิ ฐ์ที่ใช้แม่เหลก็ ไฟฟ้าจากวัสดใุ นท้องถิ่นหรอื วสั ดเุ หลอื ใช้ 7. แบบทดสอบก่อน – หลงั เรียน 7. การวดั และประเมินผล 1. ประเมินพฤตกิ รรมขณะเข้ารว่ มกจิ กรรม เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมนิ การปฏิบตั ิการทดลอง/ทากิจกรรมของนักเรียน ตัวช้วี ดั 4 ระดบั คะแนน 1 32 1. การทดลอง/ ทดลอง/ทากจิ กรรม ทดลอง/ทากิจกรรม ทดลอง/ทากจิ กรรม ทดลอง/ทากิจกรรม ทากจิ กรรม ตามวิธกี ารและ ตามวธิ ีการและ ตามวิธีการและ ไมถ่ ูกต้องตาม ตามแผนท่ี ขน้ั ตอนท่ีกาหนดไว้ ขั้นตอนที่กาหนดไว้ ขน้ั ตอนท่ีกาหนดไว้ วิธีการและขั้นตอน กาหนด อยา่ งถูกต้องด้วย ด้วยตนเอง มกี าร โดยมีครหู รือผู้อนื่ ทีก่ าหนดไว้ ไมม่ ี ตนเอง มีการปรับปรงุ ปรับปรงุ แกไ้ ขบา้ ง เป็นผแู้ นะนา การปรับปรงุ แก้ไข แกไ้ ขเปน็ ระยะ 2. การใช้ ใชอ้ ปุ กรณ์และ/หรือ ใช้อุปกรณ์และ/หรือ ใชอ้ ปุ กรณ์และ/หรือ ใช้อุปกรณ์และ/หรือ อปุ กรณ์และ/ เครื่องมือในการ เคร่ืองมือในการ เคร่อื งมือในการ เครือ่ งมอื ในการ หรือเครอ่ื งมือ ทดลอง/ทากิจกรรมได้ ทดลอง/ทากิจกรรม ทดลอง/ทากจิ กรรม ทดลอง/ทากจิ กรรม อยา่ งถูกต้องตาม ได้อย่างถกู ต้องตาม ไดอ้ ย่างถูกต้อง โดย ไมถ่ ูกต้อง หลักการปฏิบัตแิ ละ หลกั การปฏิบัติ แต่ มีครู หรือผ้อู นื่ เป็นผู้ คลอ่ งแคล่ว ไมค่ ล่องแคลว่ แนะนา 3. การบันทกึ บันทึกผลเป็นระยะ บนั ทกึ ผลเป็นระยะ บันทึกผลเป็นระยะ บันทึกผลไม่ครบ ไม่ ผลการทดลอง/ อยา่ งถูกต้องมีระเบยี บ อยา่ งถูกต้อง มี แต่ไมเ่ ป็นระเบียบ มีการระบุหน่วย ทากิจกรรม มีการระบุหนว่ ย มีการ ระเบียบ มกี ารระบุ ไมม่ ีการระบหุ น่วย และไมเ่ ป็นไปตาม อธิบายข้อมลู ใหเ้ ห็น หนว่ ย มกี ารอธบิ าย และไม่มีการอธิบาย การทดลอง/ทา ความเชอื่ มโยงเป็น ข้อมลู ให้เหน็ ถึง ขอ้ มลู ให้เห็นถงึ กจิ กรรม ภาพรวม เป็นเหตุ ความสัมพันธ์เปน็ ไป ความสัมพันธ์ของ เปน็ ผล และเป็นไป ตามการทดลอง/ทา การทดลอง/ทา ตามการทดลอง/ทา กจิ กรรม กจิ กรรม กิจกรรม 4. การจัดกระทา จดั กระทาข้อมูลอย่าง จัดกระทาข้อมูล จัดกระทาข้อมลู จดั กระทาข้อมลู ข้อมลู เปน็ ระบบ มีการ อยา่ งเปน็ ระบบ มี อย่างเป็นระบบ มี อย่างไมเ่ ปน็ ระบบ และการนาเสนอ เชื่อมโยงใหเ้ หน็ เป็น การจาแนกข้อมลู ให้ การยกตวั อย่าง และมีการนาเสนอ ภาพรวม และนาเสนอ เหน็ ความสัมพนั ธ์ เพม่ิ เติมใหเ้ ขา้ ใจง่าย ไมส่ ่ือความหมาย ด้วยแบบต่าง ๆ อยา่ ง เสนอดว้ ยแบบตา่ งๆ และนาเสนอด้วย และไมช่ ัดเจน ชดั เจน ถูกตอ้ ง ได้ แตย่ ังไมช่ ัดเจน แบบต่าง ๆ แต่ยงั ไม่ ชัดเจน และไม่ ถกู ต้อง
ตัวชี้วดั ระดบั คะแนน 5. การสรปุ ผล 4 321 การทดลอง/ ทากิจกรรม สรปุ ผลการทดลอง/ สรปุ ผลการทดลอง/ สรปุ ผลการทดลอง/ สรุปผลการทดลอง/ ทากิจกรรมได้อย่าง ถกู ต้อง กระชับ ทากิจกรรมได้ ทากิจกรรมได้ โดยมี ทากิจกรรมตาม ชดั เจน และ ครอบคลุมข้อมูลจาก ถูกต้อง ครหู รือผอู้ ืน่ แนะนา ความรู้ทีพ่ อมีอยู่โดย การวิเคราะห์ทัง้ หมด แตย่ ังไม่ครอบคลุม บ้าง จงึ สามารถสรุป ไม่ใชข้ ้อมูลจากการ ขอ้ มูลจากการ ไดถ้ ูกต้อง ทากจิ กรรม วเิ คราะห์ท้งั หมด 2. ประเมนิ ผลผลิต/ชิน้ งาน เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินผลงานการออกแบบสงิ่ ประดิษฐด์ ว้ ยวัสดุเหลือใช้ในบ้าน ตัวช้วี ัด 4 ระดับคะแนน 1 32 1. การ วางแผนในการ วางแผนทีจ่ ะออก วางแผนท่จี ะออกแบบ วางแผนทจ่ี ะ วางแผนใน ออกแบบอยา่ งคิด แบบอย่างคดิ ริเริ่ม และ อย่างเหมาะสม แต่ไม่ ออกแบบตาม การ สรา้ งสรรค์เหมาะสม เหมาะสม มีความ มีความคิดสรา้ งสรรค์ แบบอยา่ ง โดยไม่มี ออกแบบ มีความละเอียดและมี ละเอยี ดแตไ่ ม่มีการ ไม่มีความละเอยี ด ความคิดสร้างสรรค์ การเช่ือมโยงใหเ้ ห็น เชื่อมโยงใหเ้ ห็นเป็น และไม่มกี ารเชื่อมโยง หรอื ออกแบบตามที่ เป็นภาพรวม แสดงให้ ภาพรวม และไมแ่ สดง ให้เห็นเป็นภาพรวม ครูแนะนา เหน็ ถงึ ความสมั พันธ์ ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ ของวิธีการท้ังหมด ของวธิ ีการ 2. การ เลือกใชว้ สั ดใุ นท้องถ่นิ เลอื กใช้วสั ดใุ นท้องถิ่น เลอื กใชว้ ัสดุในท้องถน่ิ ไม่ใชว้ ัสดใุ นท้องถ่ิน เลอื กใช้ ไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ ไดอ้ ยา่ งคิดรเิ ริ่ม ราคา ไดร้ าคาถูก และ แตใ่ ชว้ ัสดุที่มีราคา วสั ดุเหลอื ด้วยตนเอง ราคาถูก ถูก และสามารถใช้งาน สามารถใช้งานได้ แพง ใช้ และสามารถใช้งานได้ ได้ อย่างทนทาน 3. การ ประดิษฐต์ ามแผนท่ี ประดิษฐ์ตามแผนท่ี ประดษิ ฐต์ ามแผนท่ี ประดิษฐ์ข้าม ประดิษฐ์ ออกแบบอย่างเป็น ออกแบบอยา่ งเปน็ ออกแบบอยา่ งเป็น ขัน้ ตอนและไม่มีการ ตามแผนที่ ขนั้ ตอน ดว้ ยความ ขน้ั ตอน ดว้ ยความ ข้นั ตอน แต่มีการแก้ไข ปรบั ปรงุ ออกแบบ คลอ่ งแคลว่ มกี าร คลอ่ งแคล่ว มีการ ปรับปรงุ เป็นระยะบ้าง ปรับปรุงเป็นระยะ ๆ ปรับปรุงบ้าง 4. การ นาเสนอสิง่ ประดิษฐ์ นาเสนอสิ่งประดิษฐ์โดย นาเสนอส่ิงประดิษฐ์ได้ นาเสนอสง่ิ ประดิษฐ์ นาเสนอ โดยนาไปใชไ้ ดจ้ รงิ นาไปใช้ได้จริง ถูกต้อง แต่ไมช่ ัดเจน ต้องมี ทไี่ ม่สามารถนาไปใช้ สิง่ ประดิษฐ์ ถกู ต้องน่าสนใจ และ นา่ สนใจ และชัดเจน การยกตวั อย่าง ได้ไม่สือ่ ความหมาย ชดั เจนมกี ารเชื่อมโยง แตไ่ ม่มีการเชื่อมโยงให้ เพมิ่ เติม ไมช่ ดั เจน ให้เหน็ เป็นภาพรวม เหน็ เปน็ ภาพรวม ให้เขา้ ใจง่าย
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบประเมนิ การจดั กระทาและนาเสนอแผนผังความคดิ ตัวช้ีวัด 4 ระดับคะแนน 1 32 การจัดกระทา จัดกระทาแผนผงั จัดกระทาแผนผัง จดั กระทาแผนผัง จัดกระทาแผนผัง และนาเสนอ ความคิดอยา่ งเป็น ความคิดอย่างเป็น ความคิดได้ มกี าร ความคดิ อยา่ งไม่ แผนผงั ความคดิ ระบบ และนาเสนอ ระบบ มีการจาแนก ยกตวั อยา่ งเพิม่ เติม เปน็ ระบบ และ ด้วยแบบทช่ี ัดเจน ขอ้ มูลให้เหน็ และนาเสนอด้วย นาเสนอ ถูกต้อง ครอบคลมุ ความสัมพันธแ์ ละ แบบตา่ ง ๆ แต่ยัง ไมส่ อื่ ความหมาย และมีการเชอื่ มโยงให้ นาเสนอด้วยแบบที่ ไมค่ รอบคลมุ และไม่ชดั เจน เห็นเป็นภาพรวม ครอบคลุม 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมท่ี 1 เร่ือง วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย (3 ช่วั โมง) ครูให้นักเรียนทากิจกรรมต่อไปนี้ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มทากิจกรรมเร่ือง จะทาให้หลอดไฟสว่างได้ อย่างไร แต่ละกลุ่มร่วมกันตรวจสอบวิธีการต่อวงจรไฟฟ้าให้หลอดไฟสว่างโดยใช้ถ่านไฟฉาย สายไฟ และ หลอดไฟ และเขียนภาพแสดงการต่อวงจรไฟฟ้าทั้งที่ทาให้หลอดไฟสว่างและที่ทาให้หลอดไฟไม่สว่าง นาเสนอต่อช้ันเรียน และร่วมกันสรุปผลการต่อวงจรไฟฟ้า เพื่อนาไปสู่การสรุปความหมายของวงจรปิดและ วงจรเปิด และส่วนประกอบพ้ืนฐานของวงจรไฟฟ้า ครูเสนอสัญลักษณ์แทนถ่านไฟฉาย สายไฟ และหลอดไฟ และการเขียนแผนภาพแสดงการต่อวงจร ให้นักเรียนวาดภาพและระบายสีแผนภาพแสดงการต่อวงจรไฟฟ้า อย่างง่ายท่ีถูกวิธี วงจรปิด และวงจรเปิด จากนั้นครูประเมินตามสภาพจริง จากการสังเกตพฤติกรรมขณะเข้า ร่วมกิจกรรมกลุ่ม จากแบบประเมินตนเองด้วยการเขียนบันทึกหลังการเรียน ประเมินภาพวาดแผนภาพ และ ประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยใช้เกณฑ์การให้คะแนนแบบการประเมนิ ตามสภาพจรงิ กจิ กรรมท่ี 2 การนาไฟฟา้ ของวตั ถชุ นิดตา่ ง ๆ (2 ชัว่ โมง) ครูใหน้ ักเรยี นทากิจกรรมตอ่ ไปนี้ ให้นกั เรียนแบ่งกลุ่มทากจิ กรรมเร่อื ง การนาไฟฟา้ ของวัตถุชนิดต่าง ๆ นักเรียนแต่ละกล่มุ ต้ังสมมุติฐานเกี่ยวกบั ชนดิ ของวัตถุที่นาไฟฟา้ จากตวั อยา่ งวัตถุที่กาหนดให้หรือวัตถุทีน่ ักเรียน สนใจทดสอบเสนอวิธีการทดสอบการนาไฟฟ้าของวัตถุชนิดต่าง ๆ ทาการทดสอบ บันทึกผล และสรุปผล เพื่อ นาไปสู่การจาแนกวัตถุที่นาไฟฟ้าได้ และไม่นาไฟฟ้า รวมทั้งความหมายของตัวนาและฉนวนโดยเขียนเป็น แผนภาพความคิด จากน้ันครูประเมินตามสภาพจริง จากการสังเกตพฤติกรรมขณะเข้าร่วมกิจกรรม จากการ ประเมินตนเองด้วยการเขียนแสดงความรู้สกึ หลังการเรียน ประเมินแผนภาพความคดิ และประเมินคณุ ลักษณะ อันพงึ ประสงค์ โดยใช้เกณฑ์การให้คะแนนแบบการประเมนิ ตามสภาพจรงิ กิจกรรมท่ี 3 การต่อเซลลไ์ ฟฟา้ (2 ช่วั โมง) ครูให้นักเรียนทากิจกรรมต่อไปนี้ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มทากิจกรรมเร่ือง การต่อเซลล์ไฟฟ้า บันทึกผล การทากิจกรรม นาเสนอผลการทากิจกรรม ร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการทากิจกรรม จากน้ันเขียนผังมโน ทัศน์ การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนานในวงจรไฟฟ้า จากน้ันครูประเมินตามสภาพจริง จากการ สังเกตพฤติกรรมขณะเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม จากการประเมินตนเองด้วยการเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียน ประเมินผังมโนทัศน์ และประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยใช้เกณฑ์การให้คะแนนแบบการประเมินตาม สภาพจรงิ
กจิ กรรมที่ 4 การต่อหลอดไฟฟา้ (2 ชวั่ โมง) ครูให้นักเรียนทากิจกรรมตอ่ ไปน้ี ให้นักเรียนแบ่งกลมุ่ ทากิจกรรมเร่ือง การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รม และแบบขนาน นักเรียนแต่ละกลุ่มระบุปัญหา คาดคะเนคาตอบหรือต้ังสมมุติฐานของการทดลองต่อหลอด ไฟฟ้า 2 แบบ ทาการทดลองเพ่ือตรวจสอบสมมุติฐาน บันทึกผล สรปุ ผลการทดลอง และอธิบายสาเหตุของผล การทดลอง แลกเปลี่ยนความคิดกับเพ่อื นในชนั้ เรยี น ครใู หค้ วามรู้เกีย่ วกับช่ือของการต่อหลอดไฟฟา้ ทั้ง 2 แบบ นั ก เรี ย น บ อ ก ค า จ า กั ด ค ว า ม ข อ ง ก า ร ต่ อ ห ล อ ด ไ ฟ ฟ้ า แ ต่ ล ะ แ บ บ ผ ล ที่ เกิ ด ขึ้ น แ ล ะ การนาไปใช้ประโยชน์ของการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้านแบบอนุกรมและแบบขนาน ให้นกั เรยี นเขียนสรุปความรู้ เป็นแผนผังความคิดเก่ียวกับการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน จากนั้นครูประเมินตามสภาพจริง จากการสังเกตพฤติกรรมขณะเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม จากแบบประเมินตนเองด้วยการเขียนบันทึกหลังการเรยี น ประเมินแผนผังความคิด และประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยใช้เกณฑ์การให้คะแนนแบบการประเมิน ตามสภาพจริง กิจกรรมที่ 5 แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ (2 ชวั่ โมง) ครูให้นักเรียนทากิจกรรมต่อไปนี้ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มทากิจกรรมเร่ือง แม่เหล็กและไฟฟ้า ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระบุปัญหาการทดลอง คาดคะเนคาตอบหรือต้ังสมมุติฐาน ทาการทดลอง บันทึกผล สรุปผลการทดลอง และอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดข้ึน นาเสนอผลการทดลองและร่วมกันสรุปความสัมพันธ์ ระหว่างแม่เหล็กกับไฟฟ้า จากนั้นครูประเมินตามสภาพจริง จากการสังเกตพฤติกรรม ขณะเข้าร่วมกิจกรรม กลุ่ม จากแบบประเมนิ ตนเองด้วยการเขียนบนั ทึกหลงั การเรียน และประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยใช้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบการประเมินตามสภาพจริง กจิ กรรมที่ 6 ประโยชน์ของแม่เหล็กไฟฟ้า 1 (2 ช่วั โมง) ครูให้นักเรียนทากิจกรรมต่อไปน้ี ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม สืบค้นเกี่ยวกับประโยชน์ของแม่เหล็กไฟฟ้า ยกตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีมีแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นส่วนประกอบตามที่นักเรียนรู้จักและช่วยกัน อธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการทางานของแม่เหล็กไฟฟ้าในเคร่ืองใช้ไฟฟ้าเหล่านั้น จากนั้นรวบรวม ข้อมูลเก่ียวกับประโยชน์ของแม่เหล็กไฟฟ้ามาจัดช้ินงานจากนั้นครูประเมินตามสภาพจริง จากการสังเกต พฤติกรรมขณะเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม จากแบบประเมินตนเองด้วยการเขียนบันทึกหลังการเรียน ประเมินการ สืบคน้ ประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยใชเ้ กณฑก์ ารให้คะแนนแบบการประเมินตามสภาพจริง กิจกรรมที่ 7 ประโยชน์ของแม่เหล็กไฟฟ้า 2 (3 ชัว่ โมง) ครใู ห้นักเรยี นทากิจกรรมตอ่ ไปนี้ ใหน้ ักเรียนแบ่งกล่มุ แต่ละกลุ่มวางแผนการสืบคน้ ขอ้ มูลเกีย่ วกับ สิ่งประดิษฐ์ท่ใี ช้มอเตอรไ์ ฟฟ้าอยา่ งงา่ ย ด้วยวัสดุในท้องถ่ินหรือวัสดเุ หลอื ใชใ้ นบ้าน ใหน้ ักเรียนเขียนผังความคดิ หรอื ผงั มโนทศั นเ์ ก่ยี วกบั ส่ิงประดิษฐท์ ีน่ ักเรียนจะทาโดยมีหัวข้อ ดงั นี้ ชอื่ ส่ิงประดษิ ฐ์ ท่ีมา วสั ดุอปุ กรณ์ ข้นั ตอนการทา การใชง้ าน ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั แตล่ ะกลมุ่ ช่วยกนั สืบค้นระดมความคิดตามหวั ขอ้ ทกี่ าหนดสภาพ จริง นกั เรียนออกแบบและประดิษฐส์ ง่ิ ประดษิ ฐใ์ ชม้ อเตอร์ไฟฟ้าอย่างง่ายได้ ดว้ ยวสั ดใุ นท้องถ่นิ หรือวสั ดุเหลือ ใช้ในบา้ นจดั ทาเป็นช้นิ งาน นาเสนอผลงานส่ิงประดิษฐ์ สงั เกตพฤติกรรมขณะเข้ารว่ มกิจกรรม
9. ส่อื / แหล่งเรยี นรู้ 1. ส่ือการเรยี นรู้ • ถา่ นไฟฉาย • สายไฟทมี่ ีฉนวนห้มุ • เทปกาว • เชอื ก • ถ่านไฟฉายพรอ้ มกระบะใส่ถ่านไฟฉาย • หลอดไฟขนาดเล็กพรอ้ มทีย่ ึดหลอดไฟ • สายไฟยาว 20 เซนติเมตร พรอ้ มปากจระเข้ • วัตถุที่ต้องการทดสอบการนาไฟฟ้า เช่น ช้อนโลหะ ช้อนพลาสติก ชอลก์ เหรียญทองแดง ตะปู แกว้ หลอดกาแฟ แผ่นอะลูมเิ นยี มห่ออาหาร ดนิ สอ ยางลบ แทง่ คาร์บอน • แทง่ แมเ่ หลก็ • เขม็ ทศิ • ลวดเสยี บกระดาษ 2. แหลง่ การเรียนรู้ 2.1 ห้องเรยี น 2.2 หอ้ งสมุด 2.3 อินเตอรเ์ น็ต
แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-Test) หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 เรอื่ ง ไฟฟา้ ใหน้ ักเรยี นระบายคาตอบทถ่ี ูกต้องท่ีสุดลงในวงกลมตวั เลือกให้เตม็ วง (หา้ มระบายนอกวง) แบตเตอร่ี ลวดสายไฟ เขม็ ทิศ ก ตะปู เขม็ ทิศ ข 1. จากภาพเมื่อวางเข็มทิศท่ีตัวตะปู ขว้ั ใตข้ องเขม็ ช้เี ข้าหาหวั ตะปู ถา้ เอาเข็มทิศ ข เขา้ ใกล้ปลายตะปู จะเกิดอะไรขน้ึ 1 ข้วั ใต้ของเข็มทิศ ข หันเขา้ หาปลายตะปู 2 ขั้วเหนอื ของเข็มทศิ ข หันเขา้ หาปลายตะปู 3 ขวั้ ใต้และข้วั เหนอื ของเขม็ ทศิ ข หมนุ สลับกันเข้าหาปลายตะปู 4 ไมม่ อี ะไรเกิดข้ึน 2. เครื่องกาเนดิ ไฟฟ้าเปลย่ี นพลังงานรูปใดเป็นพลงั งานไฟฟ้า 1 พลังงานความร้อน 2 พลงั งานกล 3 พลงั งานแสง 4 พลังงานเสียง 3. เครือ่ งใช้ไฟฟา้ ใดที่เปลยี่ นรปู พลังงานจากไฟฟ้าเปน็ ความร้อน 1 หลอดไฟ 2 โทรศพั ท์ 3 เตารีดไฟฟ้า 4 วิทยุ 4. มอเตอร์ไฟฟ้าเปน็ อุปกรณเ์ ปลยี่ นรปู พลงั งานอย่างไร 1 แรงแมเ่ หล็กเปน็ พลงั งานไฟฟ้า 2 พลงั งานกลเปน็ พลงั งานไฟฟา้ 3 พลังงานไฟฟา้ เปน็ แรงแมเ่ หลก็ 4 พลังงานไฟฟา้ เปน็ พลังงานกล
5. แม่เหลก็ ไฟฟ้ามขี ้อดกี วา่ แม่เหลก็ ธรรมดาอย่างไร 1 สามารถดดู สารตา่ ง ๆ ได้มากชนดิ กวา่ 2 สามารถควบคุมการเป็นแม่เหลก็ ได้ 3 ขว้ั เหมือนกนั ดดู กัน 4 มีแรงดงึ ดดู มากกว่า ใหใ้ ชข้ อ้ มลู จากภาพตอบคาถามข้อ 6-10 1 2 1 24 43 3 ภาพท่ี 1 ภาพท่ี 2 6. จากภาพ อุปกรณ์หมายเลขใดทาหนา้ ท่เี ปิดและปดิ วงจรไฟฟ้า 1 หมายเลข 1 2 หมายเลข 2 3 หมายเลข 3 4 หมายเลข 4 7. อุปกรณห์ มายเลข 1 เปรียบได้กับอุปกรณใ์ ดในโรงไฟฟา้ พลังไอน้า 1 แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 2 เครื่องกาเนิดไฟฟา้ 3 หม้อตม้ น้า 4 เช้อื เพลงิ 8. จากภาพ หมายเลขใดเปน็ แหล่งพลงั งานไฟฟา้ 2 หมายเลข 2 1 หมายเลข 1 4 หมายเลข 4 3 หมายเลข 3 9. จากภาพท่ี 2 ถ้านาหลอดไฟออก 1 หลอด หลอดไฟอีก 2 หลอดท่เี หลือจะเป็นอยา่ งไร 1 หลอดไฟอกี 2 หลอดจะดบั หมด 2 หลอดไฟอีก 2 หลอดจะยงั สว่าง 3 หลอดไฟหลอดหนง่ึ ดับ อีกหลอดหน่ึงจะสวา่ ง 4 หลอดไฟอกี 2 หลอดจะหรีล่ งเรอื่ ย ๆ จนดับ 10. การตอ่ วงจรไฟฟ้าในภาพ เป็นการต่อแบบใด 1 ภาพที่ 1 แบบอนกุ รม ภาพที่ 2 แบบขนาน 2 ภาพที่ 1 แบบขนาน ภาพท่ี 2 แบบอนกุ รม 3 ภาพที่ 1 แบบอนกุ รม ภาพที่ 2 แบบผสม อนกุ รมและขนาน 4 ภาพท่ี 1 แบบขนาน ภาพที่ 2 แบบผสม อนกุ รมและขนาน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre -Test) 1. 2 2. 1 3. 3 4. 4 5. 2 6. 2 7. 2 8. 1 9. 4 10. 1
แบบทดสอบก่อนเรียน (Post-Test) หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 เร่ือง ไฟฟา้ ให้นกั เรียนระบายคาตอบที่ถกู ต้องทสี่ ดุ ลงในวงกลมตัวเลอื กใหเ้ ต็มวง (หา้ มระบายนอกวง) ให้ใช้ขอ้ มูลจากภาพตอบคาถามข้อ 1-5 4 11 2 1 3 2 4 3 ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 1. จากภาพ หมายเลขใดเป็นแหลง่ พลังงานไฟฟา้ 2 หมายเลข 2 1 หมายเลข 1 4 หมายเลข 4 3 หมายเลข 3 2. จากภาพ อุปกรณ์หมายเลขใดทาหนา้ ที่เปดิ และปดิ วงจรไฟฟา้ 1 หมายเลข 1 2 หมายเลข 2 3 หมายเลข 3 4 หมายเลข 4 3. การตอ่ วงจรไฟฟา้ ในภาพ เปน็ การต่อแบบใด 1 ภาพท่ี 1 แบบอนกุ รม ภาพที่ 2 แบบขนาน 2 ภาพท่ี 1 แบบขนาน ภาพท่ี 2 แบบอนุกรม 3 ภาพที่ 1 แบบอนกุ รม ภาพที่ 2 แบบผสม อนกุ รมและขนาน 4 ภาพท่ี 1 แบบขนาน ภาพที่ 2 แบบผสม อนุกรมและขนาน 4. อุปกรณ์หมายเลข 1 เทยี บไดก้ ับอปุ กรณใ์ ดในโรงไฟฟา้ พลงั ไอนา้ 1 แม่เหล็กไฟฟา้ 2 เครื่องกาเนิดไฟฟ้า 3 หมอ้ ต้มนา้ 4 เช้อื เพลงิ 5. จากภาพที่ 2 ถ้านาหลอดไฟออก 1 หลอด หลอดไฟอกี 2 หลอดทีเ่ หลอื จะเป็นอยา่ งไร 1 หลอดไฟอีก 2 หลอดจะดับหมด 2 หลอดไฟอกี 2 หลอดจะยังสวา่ ง 3 หลอดไฟหลอดหนึ่งดบั อีกหลอดหนงึ่ จะสวา่ ง 4 หลอดไฟอีก 2 หลอดจะหร่ีลงเรอื่ ย ๆ จนดับ
6. แมเ่ หล็กไฟฟ้ามีขอ้ ดีกว่าแมเ่ หล็กธรรมดาอย่างไร 1 สามารถดูดสารต่าง ๆ ได้มากชนิดกว่า 2 สามารถควบคมุ การเปน็ แมเ่ หล็กได้ 3 ขวั้ เหมอื นกนั ดูดกัน 4 มีแรงดึงดดู มากกว่า 7. เครือ่ งกาเนิดไฟฟา้ เปล่ียนพลงั งานรปู ใดเปน็ พลังงานไฟฟา้ 1 พลงั งานความร้อน 2 พลงั งานกล 3 พลงั งานแสง 4 พลังงานเสียง 8. มอเตอรไ์ ฟฟา้ เป็นอปุ กรณเ์ ปลย่ี นรปู พลงั งานอยา่ งไร 1 แรงแม่เหลก็ เป็นพลงั งานไฟฟ้า 2 พลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า 3 พลงั งานไฟฟา้ เป็นแรงแม่เหล็ก 4 พลังงานไฟฟ้าเปน็ พลังงานกล 9. เครื่องใชไ้ ฟฟา้ ใดที่เปล่ยี นรปู พลังงานจากไฟฟา้ เป็นความรอ้ น 1 หลอดไฟ 2 โทรศัพท์ 3 เตารีดไฟฟา้ 4 วิทยุ แบตเตอร่ี ลวดสายไฟ เขม็ ทิศ ก ตะปู เขม็ ทิศ ข 10. จากภาพเมื่อวางเข็มทิศที่ตัวตะปู ขว้ั ใตข้ องเข็มช้ีเขา้ หาหัวตะปู ถ้าเอาเข็มทิศ ข เข้าใกล็ปลายตะปู จะเกิดอะไรขนึ้ 1 ขั้วใตข้ องเข็มทศิ ข หนั เข้าหาปลายตะปู 2 ขว้ั เหนือของเขม็ ทิศ ข หันเข้าหาปลายตะปู 3 ขวั้ ใตแ้ ละข้ัวเหนอื ของเขม็ ทศิ ข หมุนสลับกนั เข้าหาปลายตะปู 4 ไม่มอี ะไรเกิดขึ้น เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น (Post -Test) 1. 1 2. 2 3. 1 4. 2 5. 2 6. 2 7. 1 8. 4 9. 3 10. 2
บันทึกผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ สรุปผลหลังการจดั การเรียนรู้ 1. นกั เรยี นจานวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนร.ู้ .....................คน คิดเปน็ ร้อยละ.................. ไม่ผา่ นจุดประสงคก์ ารเรยี นรู.้ .................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. นกั เรยี นน่ีไม่ผา่ น มีดังน้ี 1....................................................... 2........................................................ 3....................................................... 4........................................................ แนวทางแก้ไขนักเรยี นที่ไม่ผา่ นจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ....................................................................................... .................................................................... . ....................................................................................................................................................... ..... 2. นกั เรยี นมีความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) ............................................................................................................................................................ 3. นกั เรยี นมคี วามรเู้ กดิ ทกั ษะ (P) ............................................................................................................................................................ 4. นักเรียนมเี จตคติ ค่านยิ ม คุณธรรมจริยธรรม (A) ....................................................................................... ..................................................................... ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ.................................................. (.................................................) ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ไดท้ าการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ..............................................................แลว้ มีความเห็นดงั น้ี 1. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง 2. การจดั กิจกรรมไดน้ าเอากระบวนการเรยี นรู้ เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ยงั ไมเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี นาไปใช้ไดจ้ ริง ควรปรบั ปรุงก่อนนาไปใช้ 4. ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ลงชื่อ……………………………………… (นางสาวกนั ยาภัทร ภทั รโสตถ)ิ โรงเรียนวัดพืชนมิ ติ (คาสวสั ด์ิราษฎรบ์ ารุง)
แบบประเมินแบบประเมินการปฏิบตั กิ ารทดลอง/ทากจิ กรรมของนักเรียน วิชา วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ .............. หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ..................... เรื่อง ..................................................................................... คาชีแ้ จง : ให้ครูผู้สอน สังเกตการปฏิบัตกิ ารทดลอง/ทากจิ กรรมของนักเรียน โดยเขียนระดบั คะแนนลงในตาราง ให้ ตรงกับความสามารถของผู้เรียน เกณฑ์การให้คะแนน 4 = ดมี าก 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรุง เลขที่ ชอ่ื -สกุล การทดลอง/ทา ิกจกรรม ตาม เต็ม 20 สรุปผล แผนท่ีกาหนด คะแนน การใ ้ช ุอปกร ์ณและ/ห ืรอ เค ่ืรองมือ การ ับนทึกผลการทดลอง/ทา ิกจกรรม การ ัจดกระทา ้ขอ ูมล และการนาเสนอ การส ุรปผล การทดลอง/ทา ิกจกรรม ผ่าน ไม่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ลงชอ่ื ..................................................................... ผปู้ ระเมนิ (นางสาวสุวดี กาญจนาภา) การประเมนิ : นกั เรยี นท่ีได้คะแนน 10 คะแนนขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑก์ ารประเมิน (คะแนนเต็ม 20)
แบบประเมินช้ินงาน วิชา วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 เร่ือง ไฟฟา้ คาช้แี จง : ให้ครูผสู้ อนประเมนิ ผลช้ินงาน โดยเขียนระดบั คะแนนลงในตาราง ให้ตรงกบั ความสามารถของผเู้ รียน เกณฑ์การให้คะแนน 4 = ดมี าก 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรุง เลขท่ี ช่ือ-สกลุ การนาเสนอผลงาน (ในภาพรวม) รวม สรปุ ผลการประเมิน การเต ีรยมความพ ้รอม ่กอนนาเสนอ (ห ืรอความ คะแนน 1 สามัค ีคในการทางาน) 2 ความ ูถก ้ตองของ ิ้ชนงาน 20 3 ความเ ีรยบ ้รอยสวยงาม คะแนน 4 ความ ิคด ิรเ ่ิรมส ้รางสรร ์ค 5 ผ่าน ไม่ผ่าน 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ลงชอ่ื ..................................................................... ผปู้ ระเมนิ (นางสาวสุวดี กาญจนาภา) การประเมนิ : นกั เรยี นท่ีได้คะแนน 10 คะแนนข้ึนไป ถือว่าผ่านเกณฑก์ ารประเมิน (คะแนนเต็ม 20)
แบบประเมินผลงานการออกแบบสงิ่ ประดษิ ฐด์ ว้ ยวัสดเุ หลอื ใช้ในบา้ น วิชา วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ไฟฟา้ คาชแ้ี จง : ให้ครูผสู้ อน สงั เกตผลงานการออกแบบสิง่ ประดษิ ฐด์ ว้ ยวัสดเุ หลอื ใช้ในบ้านโดยเขียนระดบั คะแนนลงในตาราง ให้ตรง กบั ความสามารถของผเู้ รียน เกณฑ์การให้คะแนน 4 = ดมี าก 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ควรปรับปรุง เลขที่ ช่ือ-สกลุ การวางแผนในการออกแบบ รวม สรุปผลการประเมิน การเ ืลอกใช้ ัวส ุดเห ืลอใ ้ช คะแนน ผ่าน ไม่ผ่าน การประ ิดษ ์ฐตามแผน ่ีทออกแบบ การนาเสนอ ่ิสงประ ิดษ ์ฐ 20 ความ ิคด ิรเ ิ่รมส ้รางสรร ์ค คะแนน ลงชอื่ ..................................................................... ผปู้ ระเมนิ (นางสาวสุวดี กาญจนาภา) การประเมนิ : นกั เรยี นท่ีได้คะแนน 10 คะแนนขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑก์ ารประเมิน (คะแนนเต็ม 20)
แบบบนั ทึกผลคะแนนตวั ชี้วัด กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัส ว 16101 ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ไฟฟา้ เวลา 16 ชั่วโมง ตัวช้ีวดั สรปุ เต็ม ตัดสิน เลข ่ีทชื่อ-สกลุ ว 5.1 ป.6/1 ว 5.1 ป.6/2 13 ผ/มผ ว 5.1 ป.6/3 ว 5.1 ป.6/4 ว 5.1 ป.6/5 ว 8.1 ป.6/1 ว 8.1 ป.6/2 ว 8.1 ป.6/3 ว 8.1 ป.6/4 ว 8.1 ป.6/5 ว 8.1 ป.6/6 ว 8.1 ป.6/6 ว 8.1 ป.6/8 ลงชอ่ื ..................................................................... ผปู้ ระเมนิ (นางสาวสุวดี กาญจนาภา)
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรื่อง ไฟฟ้า วชิ าวทิ ยาศาสตร์ เวลา 3 ชัว่ โมง เร่อื ง วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย 1. สาระสาคัญ วงจรไฟฟ้ามสี ว่ นประกอบพื้นฐาน 3 สว่ น คอื แหล่งพลังงานไฟฟา้ อุปกรณ์ไฟฟา้ และสายไฟต่อกนั เป็นวงจร ทาใหม้ กี ระแสไฟฟ้าในวงจร วงจรปดิ จะมีกระแสในวงจร สว่ นวงจรเปดิ จะไมม่ ีกระแสในวงจร สวิตช์ ทาหน้าทีค่ วบคุมการปิดและเปิดวงจรไฟฟ้า 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปล่ียนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้ ส่อื สารส่งิ ทเ่ี รียนร้แู ละนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้การ แก้ปัญหา รู้วา่ ปรากฏการณท์ างธรรมชาติทีเ่ กดิ ขึ้นส่วนใหญ่มรี ูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเคร่ืองมือท่ีมีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มี ความเกย่ี วข้องสมั พนั ธก์ ัน 3. ตัวชีว้ ดั ทดลองและอธิบายการต่อวงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ย ว 5.1 ป.6/1 ตงั้ คาถามเกี่ยวกับประเด็น หรอื เร่ือง หรอื สถานการณ์ ท่ีจะศกึ ษา ตามที่ ว 8.1 ป.6/1 กาหนดให้และตามความสนใจ วางแผนการสังเกต เสนอการสารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้า และคาดการณ์สิ่ง ว 8.1 ป.6/2 ทจี่ ะพบจากการสารวจตรวจสอบ เลอื กอุปกรณ์ และวิธีการสารวจตรวจสอบทถ่ี ูกต้องเหมาะสมใหไ้ ด้ผลที่ครอบคลุม ว 8.1 ป.6/3 และเช่อื ถือได้ บันทกึ ขอ้ มูลในเชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ วเิ คราะห์ และตรวจสอบผลกับส่ิงท่ี ว 8.1 ป.6/4 คาดการณ์ไว้ นาเสนอผลและข้อสรุป สร้างคาถามใหมเ่ พ่ือการสารวจตรวจสอบต่อไป ว 8.1 ป.6/5 แสดงความคิดเหน็ อย่างอิสระ อธิบาย ลงความเห็นและสรุปสิง่ ทีไ่ ด้เรยี นรู้ ว 8.1 ป.6/6 บันทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบตามความเป็นจริง เหตผุ ล และมปี ระจักษ์ ว 8.1 ป.6/7 พยานอ้างอิง นาเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธบิ ายด้วยวาจา และเขียนรายงานแสดงกระบวนการ ว 8.1 ป.6/8 และผลของงานให้ผู้อน่ื เขา้ ใจ
4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เขียนแผนภาพแสดงการตอ่ อุปกรณ์ไฟฟ้าให้ครบวงจร โดยใชส้ ญั ลักษณ์ทีก่ าหนดให้ได้ (P) 2. บอกความหมายของวงจรไฟฟ้า วงจรเปดิ วงจรปดิ แบตเตอรี่ อปุ กรณ์ไฟฟ้า และสวติ ช์ได้ (K) 3. เปน็ คนช่างสงั เกต ช่างคดิ ช่างสงสัย และเป็นผูท้ ี่มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาความรู้ (A) 5. คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ 6. สมรรถนะท่ีสาคัญ 1. ความสามารถในการสื่อสาร การอธบิ าย การเขยี น การพดู หนา้ ชัน้ เรียน 2. ความสามารถในการคดิ การสงั เกต การคดิ วิเคราะห์ การสร้างคาอธบิ าย การส่อื ความหมายการทากจิ กรรมทดลอง โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา การแก้ปญั หาขณะปฏิบัติกิจกรรม 4. ความสามารถในใชท้ กั ษะชวี ติ กระบวนการกลุม่ 7. สาระการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ • วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5E ขน้ั ที่ 1 สร้างความสนใจ (engagement) (60 นาที) 1.ครูนาไฟฉายที่แยกช้นิ ส่วนแสดงใหเ้ ห็นสว่ นประกอบภายในหรอื แผนภาพภายในของ ไฟฉายมาให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย โดยครูต้ังประเดน็ การอภปิ ราย ดงั น้ี - ภาพน้ีแสดงให้เห็นส่วนประกอบของอะไร - ไฟฉายจะใหแ้ สงสวา่ งไดน้ ักเรียนตอ้ งทาอย่างไร - หน้าทข่ี องสวิตชแ์ ละเซลล์ไฟฟ้าคอื อะไร 2. นักเรยี นร่วมกันตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั คาตอบของคาถาม เพ่ือ เช่อื มโยงไปสู่การเรียนรูเ้ รื่อง วงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย 3. ครนู าแผนภาพของวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่ายติดบนกระดานดาใหน้ ักเรียนดู แลว้ ใชค้ าถาม กระตุ้นให้นักเรยี นตอบดงั นี้ - ภาพนี้แทนสิง่ ใด (วงจรไฟฟ้า) - สญั ลกั ษณท์ ี่ปรากฏอยู่ในภาพนม้ี ีอะไรบา้ ง (หลอดไฟฟ้า เซลลไ์ ฟฟา้ สวิตช์ หรือ อปุ กรณ์อนื่ ๆ ที่ครนู ามาใชเ้ ขียนในวงจรไฟฟา้ )
- วงจรไฟฟ้าคอื อะไร (วงจรไฟฟ้า คือ การตอ่ สายไฟจากแหลง่ กาเนดิ เข้าเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ทาใหเ้ กดิ เสน้ ทางการไหลของกระแสไฟฟา้ ) - วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยอะไรบ้าง (วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ประกอบด้วย แหลง่ พลงั งานไฟฟ้า อปุ กรณ์ไฟฟา้ และสายไฟ) - นักเรียนจะทาอย่างไรใหห้ ลอดไฟสว่าง (ตวั อยา่ งคาตอบ เมอ่ื ต่อถ่านไฟฉาย สายไฟ และหลอดไฟใหค้ รบวงจร ทาให้มกี ระแสในวงจร ทาใหห้ ลอดไฟสว่างได้) 4. นกั เรียนรว่ มกันอภิปรายถึงความหมายของสัญลกั ษณ์และความสาคัญของอุปกรณ์แต่ละ ชนดิ ตามความคิดเหน็ ของแต่ละคน ขั้นที่ 2 สารวจและคน้ หา (exploration) (30 นาที) 1. ให้นักเรียนศึกษาวงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ยจากใบความรู้และในหนงั สอื เรยี น โดยครูชว่ ยอธบิ ายให้ นกั เรยี นได้เหน็ วา่ ความรู้เร่ืองวงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ยที่นักเรียนศึกษานี้ เปน็ สง่ิ ท่นี กั เรียนได้เรียนรมู้ าบ้างแลว้ 2. ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละ 5 คน รว่ มกันศึกษาวธิ ที ากิจกรรม เรื่อง จะทาให้หลอดไฟสวา่ ง ไดอ้ ย่างไร ให้เขา้ ใจ 3. ให้นกั เรียนร่วมกันอภิปรายและแสดงความคดิ เห็นก่อนทากจิ กรรม โดยครูถามคาถาม กอ่ นทากิจกรรมดังนี้ 3.1 นักเรยี นคดิ ว่าจะต่อถ่านไฟฉาย สายไฟ และหลอดไฟ เพื่อทาหลอดไฟสวา่ งได้อย่างไร เขยี นภาพแสดงการต่ออุปกรณ์ดังกลา่ วในรูปแบบต่าง ๆ ใหม้ ากท่สี ุด ก่อนทาการทดลองจรงิ (ยอมรับคาตอบของนกั เรยี น ตัวอยา่ งคาตอบ) 3. ให้นกั เรียนทากจิ กรรมเรื่อง จะทาใหห้ ลอดไฟสวา่ งอย่างไร เพอ่ื บง่ ชก้ี ารต่อวงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ย และบนั ทึกผลการทากจิ กรรม โดยครูคอยดูแลแนะนาอยา่ งใกล้ชิด ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายและลงข้อสรุป (explanation) (30 นาท)ี 1. ใหผ้ ู้แทนนักเรยี นแตล่ ะกลุ่ม นาเสนอผลการทากิจกรรมหนา้ ชัน้ เรียน เพื่อเปรยี บเทียบและ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 2. ให้นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายและแสดงความคดิ เห็นหลังทากจิ กรรม โดยครูถามคาถามหลัง ทากจิ กรรมดงั น้ี 2.1 ต่อถ่านไฟฉาย สายไฟ และหลอดไฟอยา่ งไร ทท่ี าให้หลอดไฟสวา่ ง (ต่ออุปกรณ์ ทุกชนิดเขา้ ดว้ ยกันจนครบวงจร โดยต่อสายไฟจากขว้ั ทัง้ สองของถ่านไฟฉายไปยงั ข้ัวทั้งสองของหลอดไฟ) 2.2 ต่อถ่านไฟฉาย สายไฟ และหลอดไฟอยา่ งไร ไมท่ าใหห้ ลอดไฟสว่าง (ตอ่ ไม่ครบ วงจร) 2.3 เมอื่ นาเชือกใส่แทนสายไฟ หลอดไฟสว่างหรือไม่ เหตใุ ดจงึ เป็นเช่นน้นั (ไมส่ วา่ ง เพราะประจไุ ฟฟ้าไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านเชือกได้ จึงไม่ครบวงจร)
2.4 สรุปผลการทดลองน้ีได้อย่างไร (หลอดไฟสวา่ งเม่อื ต่อถ่านไฟฉาย สายไฟ และ ลอดไฟให้ครบวงจร โดยต่อสายไฟจากข้วั ท้งั สองของถา่ นไฟฉายไปยังข้วั ท้ังสองของหลอดไฟ) จากนัน้ ใหน้ กั เรียนตอบคาถามหลังทากิจกรรม และฝึกนักเรยี นถามคาถามทสี่ งสัย ด้วยการถามเพ่อื นโดยไมจ่ าเป็นต้องถามครูอย่างเดยี ว 3. ให้นกั เรียนร่วมกันสรปุ ผลการทากิจกรรมและสรปุ ความรู้เกีย่ วกับ จะทาให้หลอดไฟสว่าง ได้อยา่ งไร ให้ตรงตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 4. ครใู หค้ วามร้เู พิ่มเติมเก่ียวกับสญั ลกั ษณแ์ ทนถ่านไฟฉาย สายไฟ หลอดไฟ และการเขียน แผนภาพแสดงการต่อวงจร 5. ครูนานกั เรียนอภิปรายเพมิ่ เตมิ เกย่ี วกับการเขยี นสญั ลักษณแ์ ทนอุปกรณไ์ ฟฟ้า วงจรปิด และวงจรเปดิ โดยครถู ามคาถามกระตุ้นความคิดของนกั เรียน โดยใชค้ าถามท้าทายดังน้ี 5.1 หลอดไฟฟ้ามีสัญลกั ษณ์เป็นอยา่ งไร 5.2 ถา่ นไฟฉายมสี ญั ลักษณ์เป็นอย่างไร 5.3 แบตเตอรีม่ สี ัญลักษณเ์ ป็นอย่างไร 5.4 สายไฟมีสัญลักษณ์เป็นอยา่ งไร 5.5 สวิตชม์ สี ัญลกั ษณเ์ ป็นอย่างไร 5.6 มอเตอร์มสี ัญลกั ษณเ์ ป็นอย่างไร 5.7 วงจรปิด และวงจรเปิดคืออะไร (วงจรปิด คอื วงจรไฟฟ้าทีม่ ีกระแสไฟฟ้าไหล ผา่ นครบวงจร วงจรเปดิ คือ วงจรไฟฟ้าทไี่ มม่ ีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นไมค่ รบวงจร) แผนภาพ วงจรปดิ แผนภาพ วงจรเปิด ขั้นที่ 4 ขยายความรู้ (elaboration) (50 นาท)ี ให้นักเรียนวาดภาพและระบายสีแผนภาพแสดงการต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายที่ถูกวิธี วงจรปิด และวงจรเปิด จัดทาเป็นชิ้นงาน ขั้นที่ 5 ประเมนิ (evaluation) (10 นาที) 1. ให้นักเรียนเขยี นแสดงความรสู้ ึกหลังการเรยี น ในประเด็นตอ่ ไปนี้ สง่ิ ท่นี ักเรียนไดเ้ รยี นรู้ในวันนี้คอื อะไร นกั เรยี นเขา้ ใจเรื่องใดมากที่สุด นักเรียนมีปญั หาหรอื ข้อสงสยั ในเรอื่ งใดบ้าง นักเรยี นพึงพอใจกบั การเรียนในวันนหี้ รอื ไม่ นกั เรียนต้องการใหค้ รูปรบั ปรุงการสอนในเรื่องใด
9. สอื่ การเรยี นรู้ 1. สอื่ การเรียนรู้ 1 กอ้ น ▪ ถ่านไฟฉาย 1-2 เส้น 1 หลอด ▪ สายไฟท่ีมีฉนวนหมุ้ 1 มว้ น ▪ หลอดไฟขนาดเล็ก 1 เสน้ ▪ เทปกาว ▪ เชือก 2. แหล่งการเรียนรู้ 2.1 ห้องเรยี น 2.2 อนิ เตอร์เนต็ 10. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการจดั กระทาและนาเสนอภาพวาดแผนภาพ ตัวชว้ี ัด 4 ระดับคะแนน 1 32 การจัด วาดภาพแผนภาพได้ วาดภาพแผนภาพได้ วาดภาพแผนภาพได้ วาดภาพแผนภาพได้แต่ กระทาและ สัมพนั ธก์ นั และถกู ต้อง สมั พนั ธก์ ับหัวข้อเรอื่ ง ตามหวั ข้อเรื่อง ไมส่ อดคล้องกบั นาเสนอ ตามหัวข้อเรื่องท่ี ทีก่ าหนด โดยมคี รูหรอื ผอู้ ื่นให้ หัวขอ้ เรอ่ื งทีก่ าหนด ภาพวาด กาหนด มี มีความคิดริเร่ิม คาแนะนา แผนภาพ ความคิดสรา้ งสรรค์ แตไ่ ม่มกี ารเชื่อมโยงให้ มกี ารเชื่อมโยงให้ เห็นเป็นภาพรวม เห็นเปน็ ภาพรวม เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมนิ การปฏิบัตกิ ารทดลองของนกั เรยี น ตัวชีว้ ดั ระดบั คะแนน 1. การทดลอง 4 32 1 ตาม แผนท่กี าหนด ทดลองตามวธิ ีการ ทดลองตามวิธีการ ทดลองตามวธิ กี าร ทดลองไมถ่ ูกต้องตาม และข้นั ตอนท่ีกาหนด วิธกี ารและข้นั ตอนท่ี 2. การใชอ้ ปุ กรณ์ ไวอ้ ยา่ งถกู ต้องด้วย และขัน้ ตอนที่กาหนด และขั้นตอนที่ กาหนดไว้ ไมม่ ีการ และ/หรอื ตนเอง มีการปรบั ปรงุ ปรับปรุงแก้ไข เครื่องมือ แก้ไขเป็นระยะ ไว้ดว้ ยตนเอง มีการ กาหนดไวโ้ ดยมคี รู ใช้อปุ กรณ์และ/หรือ ใช้อุปกรณ์และ/หรือ ปรับปรุง แก้ไขบ้าง หรือผู้อื่นเป็นผู้ เครอื่ งมือในการ เคร่อื งมอื ในการ ทดลองไมถ่ ูกต้อง และ ทดลองไดอ้ ยา่ งถูกต้อง แนะนา ไม่มีความคล่องแคลว่ ตามหลกั การปฏิบตั ิ ในการใช้ และคล่องแคล่ว ใช้อปุ กรณ์และ/หรือ ใช้อปุ กรณ์และ/หรือ เครื่องมอื ในการ เครอื่ งมอื ในการ ทดลองได้อยา่ ง ทดลองได้อยา่ ง ถูกต้องตามหลักการ ถูกต้อง โดยมคี รู ปฏบิ ัติ แตไ่ ม่ หรอื ผู้อ่นื เป็นผู้ คล่องแคล่ว แนะนา
ตวั ชี้วดั ระดบั คะแนน 4. การจัดกระทา 4 3 21 ขอ้ มูล และการ จัดกระทาข้อมูลอยา่ ง จดั กระทาข้อมลู จัดกระทาข้อมลู อย่าง จดั กระทาข้อมูล นาเสนอ เป็นระบบ มีการ อย่างเป็นระบบ มี เป็นระบบ มกี าร อย่างไม่เป็นระบบ 5. การสรุปผล การทดลอง เช่อื มโยงใหเ้ ห็นเป็น การจาแนกขอ้ มลู ให้ ยกตัวอย่างเพม่ิ เติม และมกี ารนาเสนอ ภาพรวม และเสนอ เห็นความสมั พันธ์ ใหเ้ ข้าใจงา่ ยและ ไม่ส่ือความหมาย ดว้ ยแบบต่าง ๆ นาเสนอด้วยแบบ นาเสนอดว้ ยแบบตา่ ง และไมช่ ดั เจน อยา่ งชัดเจน ถกู ต้อง ตา่ ง ๆ ได้ แต่ยงั ไม่ ๆ แตย่ งั ไมช่ ัดเจน ชัดเจน และไมถ่ กู ตอ้ ง สรุปผลการทดลองได้ สรปุ ผลการทดลอง สรปุ ผลการทดลองได้ สรปุ ผลการ อย่างถูกต้อง กระชบั ไดถ้ ูกตอ้ ง แต่ยัง โดยมคี รูหรอื ผู้อืน่ ทดลอง ชดั เจน และ ไมค่ รอบคลุมขอ้ มลู แนะนาบ้าง จึง ตามความรทู้ ่ีพอมี ครอบคลุมข้อมูลจาก จากการวเิ คราะห์ สามารถสรุปได้ อยโู่ ดยไมใ่ ช้ขอ้ มูล การวิเคราะห์ทั้งหมด ทงั้ หมด ถกู ต้อง จากการทา กจิ กรรม
เรอ่ื ง การต่อวงจรไฟฟา้ อยา่ งถกู วิธี วงจรปดิ และวงจรเปิด ชอื่ ________________________________________ ชนั้ __________ เลขที่ _______ คาส่งั ใหน้ ักเรยี นวาดภาพและระบายสแี ผนภาพแสดงการต่อวงจรไฟฟา้ อย่างถกู วิธี วงจรปิด และวงจรเปิด
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 2 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 เรื่อง ไฟฟา้ วิชาวิทยาศาสตร์ เวลา 2 ชว่ั โมง เรื่อง การนาไฟฟา้ ของวตั ถุชนดิ ตา่ ง ๆ 1. สาระสาคัญ วสั ดทุ ่ีใหป้ ระจุไฟฟ้าไหลผ่านได้ เรยี กวา่ ตัวนา วัสดทุ ี่ไมใ่ ห้ประจุไฟฟ้าไหลผ่าน เรียกวา่ ฉนวนตัวนามี ความตา้ นทานการไหลของประจไุ ฟฟา้ น้อย วสั ดทุ ีม่ คี วามต้านทานการไหลของประจไุ ฟฟา้ แตย่ อมให้ประจุ ไฟฟ้าไหลผา่ นได้ เรียกวา่ ตัวตา้ นทาน ไฟฟา้ ลัดวงจรเกิดจากการทล่ี วดสายไฟสมั ผัสกนั กอ่ นที่ประจุไฟฟา้ จะ ไหลไปผา่ น-เคร่ืองใช้ไฟฟา้ ทาใหเ้ กดิ ความรอ้ นสูงมาก อาจเป็นสาเหตุของไฟไหม้ได้ ฉนวนชว่ ยป้องกนั การเกดิ ไฟฟา้ ลัดวงจร 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้ สอ่ื สารส่งิ ท่ีเรียนรแู้ ละนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้การ แก้ปัญหา รู้วา่ ปรากฏการณท์ างธรรมชาติทีเ่ กดิ ขึ้นส่วนใหญ่มรี ูปแบบท่ีแน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลาน้ัน ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มี ความเกย่ี วข้องสมั พันธ์กนั 3. ตัวชว้ี ัด ทดลองและอธบิ ายตวั นาไฟฟ้าและฉนวนไฟฟา้ ว 5.1 ป.6/2 ตัง้ คาถามเก่ียวกับประเด็น หรือเร่ือง หรือสถานการณ์ ทจี่ ะศกึ ษา ตามที่ ว 8.1 ป.6/1 กาหนดให้และตามความสนใจ วางแผนการสังเกต เสนอการสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นควา้ และคาดการณ์ส่งิ ว 8.1 ป.6/2 ที่จะพบจากการสารวจตรวจสอบ เลอื กอปุ กรณ์ และวิธกี ารสารวจตรวจสอบที่ถูกต้องเหมาะสมให้ได้ผลที่ครอบคลุม ว 8.1 ป.6/3 และเช่อื ถือได้ บนั ทกึ ข้อมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ วเิ คราะห์ และตรวจสอบผลกับส่ิงท่ี ว 8.1 ป.6/4 คาดการณ์ไว้ นาเสนอผลและข้อสรปุ สรา้ งคาถามใหม่เพื่อการสารวจตรวจสอบต่อไป ว 8.1 ป.6/5 แสดงความคิดเห็นอยา่ งอสิ ระ อธิบาย ลงความเหน็ และสรปุ ส่งิ ที่ได้เรียนรู้ ว 8.1 ป.6/6 บนั ทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบตามความเปน็ จรงิ เหตุผล และมี ว 8.1 ป.6/7 ประจักษพ์ ยานอา้ งอิง นาเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธบิ ายดว้ ยวาจา และเขียนรายงานแสดง ว 8.1 ป.6/8 กระบวนการและผลของงานให้ผูอ้ ืน่ เขา้ ใจ
4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ทดสอบการนาไฟฟ้าของวัตถุต่าง ๆได้ (P) 2. จาแนกวตั ถตุ ามความสามารถในการนาไฟฟ้าได้ (P) 3. ระบสุ มบัติของวตั ถทุ นี่ าไฟฟ้าได้ (K) 4. เปน็ คนชา่ งสังเกต ชา่ งคดิ ช่างสงสยั และเปน็ ผ้ทู มี่ ีความกระตือรือรน้ ในการเสาะ แสวงหาความรู้ (A) 5. คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ 6. สมรรถนะท่ีสาคัญ 1. ความสามารถในการส่ือสาร การอธิบาย การเขยี น การพดู หน้าชนั้ เรยี น 2. ความสามารถในการคิด การสังเกต การคดิ วิเคราะห์ การสร้างคาอธิบาย การสื่อความหมายการทากิจกรรมทดลอง โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา การแกป้ ัญหาขณะปฏิบตั กิ จิ กรรม 4. ความสามารถในใช้ทกั ษะชีวติ กระบวนการกลุ่ม 7. สาระการเรยี นรู้ ตัวนาและฉนวนไฟฟ้า 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ • วิธสี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ขัน้ ท่ี 1 สร้างความสนใจ (engagement) (20 นาที) 1. ครนู าเขา้ สูบ่ ทเรยี นเกย่ี วกับตวั นาและฉนวนไฟฟ้า โดยใหน้ กั เรยี นสังเกตภาพวตั ถตุ ่างๆ ดังน้ี จากน้ันครตู ัง้ ประเด็นปญั หาเพือ่ ใหน้ ักเรียนเกิดความสงสัยและต้องการหาคาตอบดว้ ยกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ โดยครูใชค้ าถามดงั น้ี
- วัตถชุ นิดใดบ้างนาไฟฟ้า และชนิดใดบ้างไมน่ าไฟฟ้า (ตัวอย่างคาตอบ ลวดเสยี บ กระดาษ เขม็ หมดุ และตะปู เป็นวตั ถทุ ี่นาไฟฟ้า ส่วนกระดาษโนต้ และหลอดกาแฟ เปน็ วัตถทุ ไี่ ม่นาไฟฟา้ ) 2. ครูนาภาพคนถูกไฟฟ้าดดู หรือเล่าเหตกุ ารณเ์ ม่ือพบคนถูกไฟฟา้ ดดู ใหน้ ักเรียนฟัง และใหน้ กั เรยี นร่วมกนั อภิปรายวา่ นักเรียนจะชว่ ยเหลือคนเหลา่ น้ีได้ดว้ ยวิธีใด โดยครใู ชค้ าถามกระตุ้นดงั น้ี – ถ้าใชผ้ ้าแห้งหรอื เขม็ ขัดหนังที่ไม่มหี วั เป็นโลหะคลอ้ งแลว้ ดงึ ออก ผลจะเป็นอย่างไร – ถา้ ใช้ลวดแทนผา้ ผลจะเป็นอยา่ งไร 2. ครนู าภาพเครื่องใชไ้ ฟฟ้าและอุปกรณไ์ ฟฟา้ เช่น หมอ้ หงุ ข้าวไฟฟ้า เตารดี ไฟฟ้า สวา่ น ไฟฟ้า ไขควงคีมตดั ลวดมาให้นกั เรยี นดู แลว้ ใชค้ าถามกระตุ้นดังน้ี – ถา้ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ และอปุ กรณเ์ หลา่ น้ีไม่มยี างหรือพลาสติกห้มุ จะเกิดผลเช่นไร 3. นักเรยี นร่วมกันอภิปรายคาตอบตามความคิดเหน็ ของแตล่ ะคน โดยที่ครยู ังไม่เฉลยคาตอบ ข้ันที่ 2 สารวจและคน้ หา (exploration) (40 นาท)ี 1. ให้นกั เรยี นศกึ ษาตวั นาไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้าจากใบความรหู้ รอื ในหนังสอื เรยี น โดยครูช่วย อธบิ ายให้นกั เรียนไดเ้ ห็นว่าความรเู้ รอ่ื งท่นี ักเรยี นศึกษานเี้ ป็นส่ิงทน่ี ักเรยี นได้เรียนรู้มาบ้างแล้ว 2. แบ่งนักเรยี นกล่มุ ละ 5–6 คน ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม สังเกตทดสอบการนาไฟฟา้ ตามขนั้ ตอน ทางวทิ ยาศาสตร์ โดยใชท้ ักษะ/กระบวนการสังเกตดงั น้ี – นาถ่านไฟฉายใส่ลงในกลอ่ ง ตอ่ สายไฟฟ้า กล่องถา่ นไฟฉาย และหลอดไฟฟา้ เข้า ด้วยกัน – ทดสอบวงจรทีท่ าข้ึนโดยนาปลายสายไฟฟา้ ทั้ง 2 เส้นสมั ผสั กัน ถา้ หลอดไฟฟ้า สว่างแสดงวา่ วงจรไฟฟ้าสมบูรณ์หรือเปน็ วงจรปดิ จากนน้ั จงึ แยกสายไฟฟ้าออกจากกนั – นาไม้จม้ิ ฟนั วางลงบนโต๊ะเรียน ทานายวา่ ไม้จ้ิมฟันจะทาใหว้ งจรสมบูรณ์ และทา ให้หลอดไฟฟ้าสว่างหรือไม่ พร้อมท้ังเขยี นผลการทานายลงในตารางบันทึกผล จากน้นั นาปลายสายไฟฟา้ ท้งั 2 เสน้ สัมผัสกบั ปลายของไมจ้ ิ้มฟันท้ัง 2 ด้าน สงั เกตผลท่เี กดิ ขน้ึ และบนั ทึกผลลงในตารางบนั ทึกผล – ดาเนนิ การเช่นเดียวกบั ข้อ 3 แต่ใช้เงินเหรียญ หลอดพลาสตกิ ลวดเสยี บกระดาษ ยางรดั แผน่ กระดาษแข็ง อะลูมเิ นียมฟอยล์ เศษผา้ ชอ้ นโลหะ และทองแดงจากปลายสายไฟฟ้า 3. ให้นักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายและแสดงความคดิ เหน็ ก่อนทากิจกรรม โดยครูถามคาถามก่อน ทากจิ กรรมดังนี้ 2.1 จะทราบไดอ้ ย่างไรว่า ตอ่ ไฟฟา้ ครบวงจรหรือวงจรปิด (เมื่อหลอดไฟสวา่ ง) 2.2 นกั เรยี นคดิ วา่ วัตถุใดบ้างนาไฟฟ้าได้ (ยอมรับคาตอบของนกั เรยี น ตัวอย่างเชน่ โลหะต่าง ๆ) 2.3 นกั เรียนคดิ ว่า วัตถใุ ดบา้ งไม่นาไฟฟา้ (ยอมรับคาตอบของนักเรียน ตวั อย่างเช่น ไม้ พลาสติก แกว้ ) จากนนั้ ให้นักเรียนตอบคาถามก่อนทากจิ กรรมในใบงานท่ี 31 4. ให้นกั เรียนทากิจกรรม เรื่อง การนาไฟฟ้าของวัตถชุ นิดต่าง ๆ และบันทึกผลการทากจิ กรรม โดยครคู อยดูแลแนะนาอย่างใกล้ชิด ขัน้ ที่ 3 อธบิ ายและลงข้อสรุป (explanation) (40 นาที) 1. ให้ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่ม นาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าช้ันเรียน เพ่ือเปรียบเทียบ และตรวจสอบความถูกต้อง
2. ใหน้ ักเรยี นร่วมกันอภปิ รายและแสดงความคิดเหน็ หลังทากจิ กรรม โดยครูถามคาถาม หลงั ทากิจกรรมดังนี้ 2.1 วัตถุใดนาไฟฟ้าได้ ทราบได้อย่างไร (ช้อนโลหะ เหรียญทองแดง ตะปู แผ่น อะลูมเิ นียมหอ่ อาหาร แท่งคาร์บอน ทราบได้เนือ่ งจากเมอื่ ตอ่ ไฟฟ้าครบวงจร หลอดไฟสว่าง) 2.2 วัตถุใดไม่นาไฟฟ้า ทราบได้อย่างไร (ช้อนพลาสติก ชอล์ก แก้ว หลอดกาแฟ ดนิ สอ และยางลบ ทราบได้เน่ืองจากเมือ่ ต่อไฟฟ้าครบวงจร หลอดไฟไม่สว่าง) 2.3 วตั ถุท่ีนาไฟฟา้ ไดม้ ีสมบัติอย่างไร (ในประจไุ ฟฟ้าไหลผ่านได้งา่ ย ส่วนใหญ่ทาด้วย โลหะ ไดแ้ ก่ ทองแดง เหลก็ อะลูมิเนียม) 2.4 สรุปผลการทดลองน้ีได้อย่างไร (วัตถุต่างชนิดกันนาไฟฟ้าได้ต่างกัน วัตถุท่ีนา ไฟฟ้าได้สว่ นใหญเ่ ป็นโลหะ สว่ นวัตถุทน่ี าไฟฟ้าไม่ได้ ไดแ้ ก่ ไม้ แก้ว และพลาสติก) จากนั้นให้นักเรียนตอบคาถามหลังทากิจกรรม และฝึกนักเรียนถามคาถามที่สงสัย ดว้ ยการถามเพือ่ นโดยไมจ่ าเปน็ ต้องถามครูอยา่ งเดยี ว 3. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปผลการทากิจกรรมเก่ียวกับ การนาไฟฟ้าของวัตถุชนิดต่าง ๆ ให้ ตรงตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เพอ่ื นาไปสกู่ ารจาแนกวตั ถทุ ี่นาไฟฟ้าได้ และไมน่ าไฟฟ้า รวมทงั้ ความหมาย ของตวั นาและฉนวนไฟฟา้ 4. ครูใชค้ าถามเพิ่มเติม เพื่อให้นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปราย เพื่อเสรมิ สรา้ งสมรรถนะสาคญั ของ นกั เรียนในการคิดและการใช้ทักษะชีวิต ดงั น้ี 4.1 ไฟฟ้าลัดวงจรคืออะไร (การทล่ี วดสายไฟในวงจรไฟฟ้าสัมผสั กนั ในกรณีท่ีฉนวน ห้มุ สายไฟชารดุ ทาใหไ้ ฟฟ้าครบวงจรก่อนท่ีประจุไฟฟ้าไหลผา่ นเคร่อื งใช้ไฟฟ้า) 4.2 เหตใุ ดจึงควรตรวจสอบสายไฟในบา้ นอย่างสมา่ เสมอ (เพราะถา้ สายไฟร่วั หรอื ชารดุ จะทาให้เกดิ ไฟฟา้ ลัดวงจร ซ่งึ เป็นสาเหตใุ ห้ไฟไหม้ได)้ ขน้ั ที่ 4 ขยายความรู้ (elaboration) (15 นาที) ใหน้ ักเรยี นออกแบบและเขียนแผนภาพความคิดเกี่ยวกบั การจาแนกประเภทวตั ถุตาม ความสามารถในการนาไฟฟ้า จดั ทาเป็นชิ้นงาน ขั้นที่ 5 ประเมิน (evaluation) (5 นาที) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพจิ ารณาว่าจากหวั ข้อทเี่ รยี นมาและการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม มจี ุดใดบา้ ง ท่ียงั ไม่เข้าใจหรือยังมีข้อสงสัย ถา้ มีครูชว่ ยอธบิ ายเพิม่ เตมิ ให้นกั เรยี นเขา้ ใจ 2. นักเรียนรว่ มกนั ประเมนิ การปฏิบัตกิ จิ กรรมกลุ่มวา่ มปี ัญหาหรอื อปุ สรรคใด และได้มีการ แก้ไขอย่างไรบ้าง 3. ครูและนักเรียนรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั จากการปฏิบตั กิ จิ กรรม และการนาความรทู้ ี่ได้ไปใช้ประโยชน์ 4. ครทู ดสอบความเข้าใจของนักเรยี นโดยการใหต้ อบคาถาม เช่น – ตวั นาไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้าแตกต่างกันในเรื่องใด – ตัวนาไฟฟ้ามีความสมั พันธ์กบั การต่อเคร่ืองใช้ไฟฟ้าในวงจรไฟฟา้ ในลักษณะใด – สายไฟที่ใชใ้ นงานชา่ งไฟฟ้าปัจจุบันนีใ้ ช้ส่งิ ใดเป็นตวั นาไฟฟา้ เพราะอะไร
9. สือ่ การเรยี นรู้ 1. ส่ือการเรยี นรู้ ▪ ถา่ นไฟฉายพรอ้ มกระบะใสถ่ า่ นไฟฉาย 1 ชุด ▪ หลอดไฟขนาดเล็กพร้อมทยี่ ึดหลอดไฟ 1 ชุด ▪ สายไฟยาว 20 เซนติเมตร พร้อมปากจระเข้ 3 เสน้ ▪ วัตถทุ ตี่ ้องการทดสอบการนาไฟฟ้า เช่น ชอ้ นโลหะ ช้อนพลาสติก ชอล์ก เหรียญทองแดง ▪ ตะปู แก้ว หลอดกาแฟ แผน่ อะลูมิเนยี มห่ออาหาร ดินสอ ยางลบ แท่งคารบ์ อน ชนิดละ 1 อนั ▪ ใบงาน เร่ือง การนาไฟฟ้าของวตั ถชุ นิดตา่ ง ๆ 2. แหล่งการเรยี นรู้ 2.1 ห้องเรียน 2.2 อินเตอรเ์ นต็ 10. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมนิ การจัดกระทาและนาเสนอแผนภาพความคดิ ตวั ชีว้ ดั ระดับคะแนน การจดั 43 2 1 กระทาและ นาเสนอ จดั กระทาแผนภาพ จัดกระทาแผนภาพ จัดกระทาแผนภาพ จัดกระทาแผนภาพ แผนภาพ ความคดิ ความคดิ อย่างเป็น ความคิดอยา่ งเป็น ความคิดได้ มกี าร ความคิดอยา่ งไมเ่ ป็น ระบบ และนาเสนอ ระบบ มกี ารจาแนก ยกตวั อยา่ งเพมิ่ เติม ระบบและนาเสนอ ด้วยแบบทช่ี ัดเจน ข้อมลู ใหเ้ ห็น และนาเสนอด้วย ไม่สื่อความหมาย และ ถูกต้อง ครอบคลุม ความสมั พันธ์และ แบบต่าง ๆ แตย่ ัง ไมช่ ดั เจน และมกี ารเช่ือมโยง นาเสนอด้วยแบบท่ี ไม่ครอบคลมุ ใหเ้ ห็นเปน็ ภาพรวม ครอบคลุม
ชิน้ งาน เรอ่ื ง การจาแนกประเภทของวตั ถตุ ามความสามารถในการนาไฟฟ้า ชอ่ื ..........................................................................................ช้นั ..........................เลขท่.ี ................ คาส่ัง ใหน้ กั เรียนออกแบบและเขยี นแผนภาพความคิดเกี่ยวกบั การจาแนกประเภทของวตั ถุ ตาม ความสามารถในการนาไฟฟ้า
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119