Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระราชประวัติ พระอัจฉริยะภาพ พระเกียรติคุณ รัชกาลที่9

พระราชประวัติ พระอัจฉริยะภาพ พระเกียรติคุณ รัชกาลที่9

Published by mong453079, 2017-11-18 10:33:04

Description: พระราชประวัติ พระอัจฉริยะภาพ พระเกียรติคุณ รัชกาลที่9

Search

Read the Text Version

การศกึ ษาพระราชประวัติ พระอจั ฉรยิ ภาพ และพระเกียรติคุณของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดชStudy the biography information, remarkable aptitude and prestige of His Majesty King Bhumibol Adulyadej (King Rama 9)นางสาวคนษิ ตา สมเนตร รหัส 60460217นายคุณานพ ธนศกั ดิ์เดชา รหสั 60460224นางสาวจริ าพชั ร ครฑุ เมอื ง รหัส 60460231นางสาวจุฬาลักษณ์ เอกสุวรรณเจรญิ รหัส 60460248นายชญานนท์ พงษ์พานชิ รหัส 60460255นางสาวชนิภา อดุ มสิน รหัส 60460262นางสาวชลดา อรญั เจรญิ วัฒน์ รหสั 60460279นายฐปนนิ ทร์ บรรณาธรรม รหสั 60460286นายณตะวนั ล้ิมรวิกลุ รหัส 60460293นางสาวณฐั ชยา อินพล รหสั 60460309โครงงานนเ้ี ป็นส่วนหนงึ่ ของการศึกษาในวชิ าสารสนเทศาสตรเ์ พื่อการศึกษาคน้ ควา้ รายวชิ าศึกษาท่วั ไป กลมุ่ วิชามนุษยศาสตร์มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ปกี ารศึกษา 2560

กชือ่ หัวขอ้ โครงงาน การศึกษาพระราชประวัติ พระอัจฉริยภาพ และพระเกียรติคุณของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดชผูด้ าเนินโครงงาน นางสาวคนษิ ตา สมเนตร รหัส 60460217 นายคุณานพ ธนศักด์เิ ดชา รหัส 60460224 นางสาวจริ าพชั ร ครฑุ เมือง รหสั 60460231 นางสาวจุฬาลกั ษณ์ เอกสุวรรณเจรญิ รหัส 60460248 นายชญานนท์ พงษพ์ านิช รหัส 60460255 นางสาวชนภิ า อุดมสนิ รหัส 60460262 นางสาวชลดา อรญั เจริญวฒั น์ รหสั 60460279 นายฐปนินทร์ บรรณาธรรม รหัส 60460286 นายณตะวัน ล้ิมรวิกุล รหสั 60460293 นางสาวณัฐชยา อินพล รหสั 60460309ทีป่ รึกษาโครงงาน คณะอาจารย์ในรายวิชา 001221 สารสนเทศศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษาค้นควา้ภาควชิ า รายวิชาศึกษาท่วั ไปกล่มุ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ปีการศกึ ษา 2560.......................................................................................................................................................................... บทคัดย่อ โครงงานนเ้ี ป็นโครงงานเก่ยี วกบั การศกึ ษาคน้ ควา้ ข้อมลู พระราชประวัติ พระอัจฉรยิ ภาพ และพระเกียรติคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ในหลวงรัชกาลที่9 โดยมุง่ เน้นในการรวบรวมข้อมูลจากแหลง่ ต่างๆ ทม่ี คี วามหลากหลายและน่าเชือ่ ถือเพอ่ื นาเสนอเป็นความรใู้ ห้แกอ่ าจารย์ นสิ ติ และผูส้ นใจ เพื่อเทดิ พระเกยี รติและนอ้ มราลกึ ในพระมหากรณุ าธิคณุ หาที่สดุ มไิ ด้

ขProject title Study the biography information, remarkable aptitude and prestige of His Majesty King Bhumibol Adulyadej (King Rama 9)Name Miss. Kanitta Somnet ID. 60460217Mr. Kunanop Thanasakdecha ID. 60460224Miss. Jiraphat Khrutmuang ID. 60460231Miss. Julaluck Eksuwancharoen ID. 60460248Mr. Chayanon Pongpanich ID. 60460255Miss. Chanipa Udomsin ID. 60460262Miss. Chonlada Arancharoenwat ID. 60460279Mr. Thapanin Bannatharm ID. 60460286Mr. Natawan Limrawikul ID. 60460293Miss. Natchaya Inpon ID. 60460309Project advisor Instructors of Information Science subject(GE001221)Department General education HumanitiesAcademic year 2017……………………………………………………………………………………………………….……… Abstract The research project is about biography information, remarkable aptitude and prestigeof His Majesty King Bhumibol Adulyadej ( King Rama 9) .The project was focused on gatheringinformation from various and credible source to present to every guests who are interested,including to honour andto commemorate the Royal grace of the late king.

คกิตติกรรมประกาศ โครงงานเกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าข้อมูลพระราชประวัติ พระอัจฉริยภาพ และพระเกียรติคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลท่ี9 โครงงานน้ี สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากคณะอาจารย์ในรายวิชา 001221 สารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาค้นคว้า ที่ได้แนะนาแนวทางในการทาโครงงาน คณะผูท้ าจงึ ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสงู ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา และผู้ปกครอง ทีไ่ ด้เป็นกาลงั ใจท่ดี ีในการทางาน ขอขอบคุณสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร และกองกิจการนิสิตแพทย์ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ห้องศกึ ษาคน้ คว้า เพ่อื เป็นสถานทปี่ ระชมุ ของกลุ่ม 3 สุดท้ายน้ีขอขอบคุณสมาชิกในกลุ่มท่ี 3 ที่ได้ร่วมกันระดมสมอง ค้นคว้าหาความรู้ จัดทารายงานและการนาเสนอ อกี ทัง้ ยงั คอยชว่ ยเหลอื และให้กาลงั ใจซง่ึ กนั และกนั โดยตลอด จนทาให้โครงงานนสี้ าเร็จลุล่วง คณะผ้จู ัดทา นสิ ิตแพทย์ชัน้ ปที ี่ 1 กลมุ่ ที่ 3

ง สารบญัเรอ่ื งหน้าบทคดั ยอ่ ……………………………………………………………………………………………………………….…...………...………. กAbstracts .……………..…………………………………………………………………...………………………………………………… ขกติ ติกรรมประกาศ……………………………………………………………………………………………..……………………….....….คสารบัญเนอื้ หา.....…………………………………………………………………………………………………………...………………….งสารบญั รูปภาพ....………………………………………………………………………...…………………………………………………….ฉบทท่ี 1 บทนา……………...…………………………………………………………………….……………………………………………. 1 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา…..………..……………………………………..…….………………….1 1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน ..……………………………………………………………….……………………………..1 1.3 ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รบั …..…………………………………………………………….………..………..………...1 1.4 ขอบเขตการทาโครงงาน …………………..………………................................…………………………………1 1.5 ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน ………………..…………………………………………………………………………………..1 1.6 รายระเอียดงบประมาณของรายงาน ………………..………………………..………….…………………………..2 1.7 แผนการดาเนินงานตลอดโครงการ …………………................................……………………………...…….2บทที่ 2 หลักการและทฤษฎเี บอ้ื งตน้ ………………….…………………….………………………………………………..………….3 2.1 การสืบค้นสารสนเทศ ………………....……………………………….……………………………………………….…3 2.2 เครือ่ งมอื สบื คน้ สารสนเทศระบบคอมพิวเตอร์ ……………………………...………...………………………...3บทท่ี 3 วิธีการดาเนินโครงงาน ………………...……………………………………………...………………………………………….5 3.1 วธิ ที ่ใี ชใ้ นการสืบค้นขอ้ มลู …….………………………………………..………………………………………………..5 3.2 ลักษณะของขอ้ มูล การเลอื กข้อมลู และเหตผุ ลในการเลอื ก ………….………...………………….…………5บทที่ 4 วิเคราะหข์ ้อมลู …………………………………...…………………………………………………………………………………9 พระราชประวตั ิ.....................................................................................................................................9 ทรงพระราชสมภพและทรงพระเยาว์........................................................................ 9 ทรงศกึ ษา................................................................................................................11 ทรงประสบอบุ ตั ิเหตุ................................................................................................12 พระราชพิธรี าชาภเิ ษกสมรส ...................................................................................13 พระบรมราชาภิเษก ................................................................................................13 ทรงพระผนวก.........................................................................................................14

จ สารบญัเร่อื งหนา้สถานะพระมหากษตั ริย์ ....................................................................................................................................15 บทบาททางการเมือง ..............................................................................................16 พระอัจรยิ ะภาพ..................................................................................................................................16 ดา้ นประตมิ ากรรม ..................................................................................................16 ดา้ นดุรยิ างคศิลป์ ....................................................................................................17 ด้านภาษาและวรรณกรรม ......................................................................................17 ด้านการประดษิ ฐ์ ....................................................................................................18 ด้านการช่าง ............................................................................................................33 ด้านดนตรี ...............................................................................................................38 ด้านการถ่ายภาพ ....................................................................................................65 ด้านการจติ รกรรม...................................................................................................69 พระเกยี รติคุณ ....................................................................................................................................77บทที่ 5 อภิปรายผล………………………….………………………………………………….…………………………………...………83บทสรปุ ………………………………………………………………………….………………...……………………………………………..84เอกสารอ้างอิง...................................................................................................................................................85ประวัตผิ ู้ดาเนินงาน...........................................................................................................................................87

ฉ สารบญั รูปภาพรปู ที่ 1 ภาพบรมฉายาลกั ษณ์ตอนทรงพระเยาว์........................................................................................................................................................ 9รูปที่ 2 ภาพพระบรมชายาลักษณ์ตอนทรงพระเยาว์กับครอบครวั ................................................................................................................. 10รปู ที่ 3 ภาพบรมชายาลักษณ์กับพระเชษฐภคนแี ละพระอนุชา.......................................................................................................................... 10รปู ท่ี 4 พระบรมชายาลกั ษณ์กบั พระอนุชา................................................................................................................................................................ 11รปู ท่ี 5 ภาพพระบรมชายาลกั ษณ์ของพระบามสมเดจ็ พระบรมราชนิ ีนาถ .................................................................................................... 12รปู ท่ี 6 ภาพพระบรมชายาลักษณก์ ับพระราชินี....................................................................................................................................................... 13รปู ที่ 7 ภาพพระบรมราชาภิเษก.................................................................................................................................................................................... 13รปู ท่ี 8 ภาพเมอื่ คร้งั ทรงครองราชยค์ รบ 60 ชรรษา................................................................................................................................................ 15รปู ที่ 9 ภาพเมอื่ คร้งั ทรงครองราชยค์ รบ 60 ชรรษาคูก่ บั สมเด็จพระราชนิ ี..................................................................................................... 16รปู ท่ี 10 ภาพทรงพระดนตรกี บั พระสหาย................................................................................................................................................................. 17รปู ท่ี 11 ภาพกังหันชยั พัฒนา ......................................................................................................................................................................................... 20รปู ที่ 12 ภาพสทิ ธบิ ัตรในพระปรมาภิไธย เลขที่ : ๓๑๒๗ .................................................................................................................................... 20รปู ที่ 13 ภาพฝพี ระหัตถ์ เคร่อื งกลเติมอากาศ ท่พี ระราชทานทางโทรสาร ................................................................................................... 21รปู ที่ 14 เคร่อื งกลเตมิ อากาศแบบอัดอากาศและดดู น้า “ชยั พฒั นาแอรเ์ จท”.............................................................................................. 21รปู ท่ี 15 สทิ ธิบตั รในพระปรมาภไิ ธย เลขที่ : ๑๐๓๐๔ ......................................................................................................................................... 21รปู ที่ 16 ภาพเครอื่ งกล่นั น้ามนั บริสุทธิ์ ...................................................................................................................................................................... 22รปู ที่ 17 ภาพสทิ ธบิ ตั รในพระปรมาภิไธย : เลขที่ ๑๐๗๖๔................................................................................................................................ 23รปู ท่ี 18 ภาพทรงใชน้ ้ามนั ปาลม์ บรสิ ทุ ธ์ิแทนนา้ มันหล่อลื่นในเครื่องยนต์..................................................................................................... 23รปู ที่ 19 อนุสิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย เลขที:่ ๘๔๑............................................................................................................................................ 24รปู ที่ 20 ภาพสิทธบิ ัตรในพระปรมาภิไธย เลขท่:ี ๑๓๘๙๘.................................................................................................................................. 25รปู ที่ 21 ภาพเครอื่ งบินทาฝนหลวง .............................................................................................................................................................................. 25รปู ท่ี 22 ภาพภาชนะรองรับของเสยี ทข่ี ับออกจากรา่ งกาย.................................................................................................................................. 26รปู ที่ 23 สิทธบิ ัตรในพระปรมาภไิ ธย เลขที่ : ๑๔๘๕๙........................................................................................................................................ 26รปู ท่ี 24 อุปกรณ์ควบคุมการผลักดนั ของเหลว......................................................................................................................................................... 27รปู ท่ี 25 สิทธิบัตรในพระปรมาภไิ ธย เลขที่ : ๑๖๑๐๐......................................................................................................................................... 27รปู ท่ี 26 ภาพแปลงดินทดลองโครงการปรับปรงุ สภาพดนิ เปร้ยี ว...................................................................................................................... 28รปู ท่ี 27 สิทธิบตั รในพระปรมาภไิ ธย :เลขที่ ๒๒๖๓๗........................................................................................................................................... 28รปู ที่ 28 ภาพเคร่อื งเตมิ อากาศให้น้า ........................................................................................................................................................................... 29รปู ท่ี 29 ภาพแสดงสิทธิบตั รการประดิษฐ์................................................................................................................................................................ 29รปู ที่ 30 ภาพสิทธิบัตรเคร่อื งกาเนิดไฟฟ้าพลงั งานจลน์........................................................................................................................................ 30รปู ที่ 31 ภาพทรงปลกู หญ้าแฝก .................................................................................................................................................................................... 31รปู ที่ 32 ภาพขณะทรงพระเยาว์.................................................................................................................................................................................... 32รปู ที่ 33 ภาพทรงจาลองเรอื รบหลวงศรีอยุธยา เรือใบมด และเรือบิน........................................................................................................... 32

ชรปู ท่ี 34 ภาพทรงวางกระดกู งูเรือ ต.๙๑ ณ กรมอ่ทู หารเรอื .................................................................................................. 33รปู ที่ 35 ภาพทรงเป็นประทานเปิดโครงการ“ทางคขู่ นานลอยฟา้ ” ถนนบรมราชชนนี ............................................................................. 33รปู ท่ี 36 ภาพทรงทอดพระเนตรกังหันชัยพฒั นา .................................................................................................................................................... 33รปู ท่ี 37 ภาพทรงประดิษฐเ์ รือใบด้วยพระองค์เอง.................................................................................................................................................. 34รปู ท่ี 38 ภาพขณะทรงประดษิ ฐ์เรอื ใบประเภทม็อธ............................................................................................................................................. 34รปู ที่ 39 ภาพขณะทรงวิทยุ ............................................................................................................................................................................................. 36รปู ที่ 40 ภาพขณะทรงแซกโซโฟน.............................................................................................................................................................................. 37รปู ที่ 41 ภาพขณะทรงดนตรี ........................................................................................................................................................................................... 37รปู ที่ 42 ภาพขณะร่วมทรงดนตรกี ับนักดนตรีในงาน............................................................................................................................................. 38รปู ที่ 43 ภาพขณะทรงแซกโซโฟนกับนกั ดนตรีคนอ่นื ๆ..................................................................................................................................... 39รปู ท่ี 44 ภาพสถานบันดนตรแี ละศลิ ปะแหง่ กรุงเวยี นนาได้ถวายพระเกยี รตใิ ห้ดารงตาแหนง่ สมาชิกกติ ตมิ ศักดิ์........................... 39รปู ที่ 45 ภาพทรงพระดนตรีกบั พระบรมราชินี......................................................................................................................................................... 40รปู ท่ี 46 ภาพขณะทรงแซกโซโฟนด้วยชุดลาลอง .................................................................................................................................................. 43รปู ท่ี 47 ภาพบรมฉายาลักษณท์ ี่สโมสรนสิ ิตจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ........................................................................................................... 45รปู ท่ี 48 ภาพเอกสารท่ศี ูนยก์ ลางแห่งการดนตรใี นทวปี ยโุ รปถวายพระเกียรติให้ดารงตาแหน่งสมาชกิ กิตตมิ ศกั ด์ิ....................... 46รปู ที่ 49 ภาพทรงแซกโซโฟนในอิรยิ าบถนง่ั .............................................................................................................................................................. 50รปู ที่ 50 ภาพเน้อื เพลงพรปีใหม่................................................................................................................................................................................... 52รปู ที่ 51 ภาพขณะทรงหนงั สือ ....................................................................................................................................................................................... 53รปู ที่ 52 ภาพหนังนายอินทร์ผปู้ ดิ ทองหลังพระ ....................................................................................................................................................... 54รปู ท่ี 53 ภาพหนังสอื ตโิ ต ................................................................................................................................................................................................. 55รปู ท่ี 54 ภาพนาย Josip Broz ตโิ ต Tito 1892 – 1980 ............................................................................................................................................ 56รปู ที่ 55 ภาพประธานาธิบดีซกู าร์โนของอินโดนีเซีย.............................................................................................................................................. 57รปู ที่ 56 ภาพหน้าปกหนงั สอื พระมหาชนก ............................................................................................................................................................... 58รปู ที่ 57 ภาพโปสเตอรพ์ ระมหาชนก ........................................................................................................................................................................... 60รปู ท่ี 58 ภาพหน้าปกหนังสอื เรอ่ื งทองแดง................................................................................................................................................................ 61รปู ที่ 59 ภาพพระบรมชายาลักษณ์กับสนุ ัขทรงเลี้ยงช่อื คุณทองแดง .............................................................................................................. 62รปู ท่ี 60 พระบรมชายาลกั ษณข์ ณะทรงห้อยกล้องไว้ทพ่ี ระศอ......................................................................................................................... 63รปู ที่ 61 ภาพขณะฉายพระรูปใหส้ มเด็จพระราชนิ ี................................................................................................................................................. 64รปู ท่ี 62 ภาพขณะกาลังฉายพระรูปใหส้ มเดจ็ พระราชินีและพระราชธิดาทง้ั สองพระองค์ ..................................................................... 65รปู ที่ 63 ภาพขณะกาลงั ฉายรปู พระบรมราชนิ นี าถรมิ ชายหาด ......................................................................................................................... 65รปู ที่ 64 ภาพสมเดจ็ พระบรมราชินีในพระอริ ยิ าบถต่างๆ.................................................................................................................................... 66รปู ท่ี 65 ภาพถ่ายมมุ เสยโดยพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั รชั กาลที่ 9........................................................................................................ 66รปู ท่ี 66 พระบรมชายาลกั ษณค์ กู่ บั ภาพวาดฝีพระหตั ถ์........................................................................................................................................ 67รปู ที่ 67 พระบรมชายาลักษณ์ขณะทรงวาดรูปสมเดจ็ พระบรมราชนิ นี าถ .................................................................................................... 68รปู ที่ 68 มอื นผู้ใกลช้ ิดเบอื้ งพระยุคลบาท .................................................................................................................................................................. 69

ซรปู ท่ี 69 ภาพแบบลทั ธเิ อก็ ซ์เพรสชนั่ นสิ ม์................................................................................................................................................................. 69รปู ท่ี 70 ภาพนามธรรม..................................................................................................................................................................................................... 70รปู ท่ี 71 ภาพภาพสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ สนี า้ มนั บนผ้าใบ.............................................................................................. 71รปู ที่ 72 สมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินนี าถ เทคนคิ สีนา้ มันแบบลทั ธิ Expressionism..................................................................... 71รปู ที่ 73 ภาพสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ......................................................................................................................................... 71รปู ที่ 74ภาพสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินนี าถ เทคนิคภาพสนี ้ามันบนผ้าใบ ขนาด ๖๔ x ๖๑ เซนติเมตร........................ 72รปู ที่ 75 Portrait of Her Majesty the Queen ภาพสีนา้ มันบนผา้ ใบ......................................................................................................................... 72รปู ที่ 76 ภาพสมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถภาพสนี ้ามันบนผา้ ใบ ตดิ บนกระดาษแข็ง ขนาด ๒๑ x ๓๐.๕ เซนตเิ มตร.................................................................................................................................................................................................................................................... 72รปู ท่ี 77 ภาพกหุ ลาบไทย (Thai rose) เทคนคิ สีนา้ มัน ............................................................................................................................................. 73รปู ที่ 78 พระสาทิสลกั ษณ์สมเดจ็ พระมหิตลาธิเบศอดลุ ยเดชวิกรม พระบรมราชชนก............................................................................. 73รปู ท่ี 79 ครอบครัว (Family), ๒๕๐๗ สีน้ามันบนผา้ ใบ ขนาด ๖๐ x ๙๐.๕ เซนติเมตร'............................................................................. 74รปู ท่ี 80 สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ครั้งทรงพระเยาว์ ภาพสนี า้ มันบนผ้าใบ.................................................. 74รปู ที่ 81 ภาพพระพุทธเจ้าสนี ้ามัน ................................................................................................................................................................................ 74รปู ท่ี 82 ภาพแบบลทั ธเิ อ็กซเ์ พรสชัน่ นสิ ต์และนามธรรม ..................................................................................................................................... 75รปู ท่ี 83 ดิน น้า ลม ไฟ เทคนิคสีนา้ มัน ...................................................................................................................................................................... 75รปู ที่ 84 ภาพแบบลทั ธเิ อ็กซ์เพรสชัน่ นิสต์และนามธรรม ..................................................................................................................................... 76รปู ท่ี 85 เหรียญสมาชิกกติ ติมศกั ดิแ์ หล่งสมาคมสหพนั ธศ์ ิลปะการถ่ายภาพนานาชาติ (FIAP)................................................................ 76รปู ที่ 86 ภาพถวาย \"เหรยี ญรางวัลเทิดพระเกยี รติในการสงวนรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ\"................................................... 77รปู ที่ 87 ภาพเครือ่ งบนิ ทาฝนหลวงและขณะกาลังรับรางวัลด้านสง่ิ ประดษิ ฐ์............................................................................................... 79รปู ท่ี 88 รางวลั นักวิทยาศาสตรด์ ินเพ่ือมนษุ ยธรรม ............................................................................................................................................... 80รปู ที่ 89 คาประกาศราชสดดุ เี ฉลมิ พระเกียรติ.......................................................................................................................................................... 80

1บทที่ 1บทนา1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา เนื่องจากปจั จุบนั อยู่ในช่วงของการถวายเพลิงพระบรมศพ หลังจากที่ได้หัวข้อเร่ืองพระราชประวัติพระอัจฉริยะภาพ และพระเกียรติคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ทางกลุ่มมีความสนใจและกระตอื รือร้นเป็นอยา่ งหย่ิงท่ีจะจัดทารายงานเร่อื งนขี้ น้ึ1.2 วตั ถุประสงค์ของการดาเนินโครงงาน 1.2.1 สืบค้นข้อมูลพระราชประวัติ พระอัจฉริยะภาพและพระเกียรติคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช 1.2.2 สามารถนาเสนอพระราชประวัติ พระอัจฉริยะภาพและพระเกียรตคิ ุณของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ให้เพื่อนรว่ มชนั้ เรียนได้ทราบถึงสงิ่ ทีเ่ ราจดั ทาข้นึ อย่างเข้าใจและน่าสนใจ1.3 ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั 1.3.1 ทราบพระราชประวัติ พระอัจฉริยะภาพและพระเกียรติคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช 1.3.2 ให้เพ่ือนร่วมชนั้ เรียนได้ทราบถึงส่ิงท่ีเราจัดทาขึ้นอย่างเข้าใจ และนาเสนอพระราชประวัติ พระอจั ฉรยิ ะภาพและพระเกียรติคณุ ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ไดอ้ ย่างน่าสนใจ1.4 ขอบเขตการดาเนนิ โครงงานเป็นการระบวุ า่ การศึกษา 1.4.1 การศึกษาของรายงานเล่มน้ีมุ่งศึกษา พระราชประวัติ อัจฉริยะภาพและพระเกียรติคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ต้ังแต่ทรงพระราชสมภพถึงเสดจ็ สวรรคต1.5 ข้ันตอนของการดาเนนิ โครงงาน 1.5.1 การดาเนินในสัปดาห์แรกหลังจากมอบหมายงาน ทางกลุ่มได้นัดประชุมคร้ังที่ 1 และแบ่งสัดส่วนของงานเพื่อมอบหมายงานโดยแบ่งสัดส่วนออกเป็น 3 ฝ่าย ดังนี้ ฝ่ายจัดทาวิดีโอ ฝ่ายจัดทาPowerPoint ฝ่ายจดั ทารายงาน 1.5.2 กาหนดระยะเวลารวบรวมงานและซ้อมนาเสนอกอ่ นการนาเสนอจริง 1 สปั ดาห์

21.6 รายละเอยี ดงบประมาณของรายงาน ไม่มีงบประมาณในการจดั ทาโครงการ1.7 แผนการดาเนนิ งานตลอดโครงงานขน้ั ตอน/สัปดาห์ กนั ยายน ตลุ าคม พฤศจกิ ายน 123412341234ไดร้ ับหัวข้อรายงานประชมุ แบ่งสัดสว่ นการดาเนนิ งานครั้งท่ี 1นาเสนอความคบื หนา้ รายงานประชุมแบ่งหนา้ ท่ีการทาตามคร้ังท่ี 2- จัดทารายงาน- จัดทา powerpoint presentation- จัดทาวดิ ีโอซอ้ มนาเสนอนาเสนอและสง่ รปู เล่มรายงาน

3 บทท่ี 2หลักการและทฤษฎเี บอื้ งตน้2.1 การสืบค้นสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการค้นเอกสาร ข้อมูล สารสนเทศ เพื่อให้ได้เอกสารสารสนเทศท่ีเกี่ยวข้องเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยใช้กลยุทธ์ เทคนิคการสืบค้นต่างๆ ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้ได้สารสนเทศที่ตรงกับความต้องการ และนาส่งผู้ใชอ้ ยา่ งรวดเร็วทนั ใจ2.2 เคร่อื งมอื สืบค้นสารสนเทศระบบคอมพิวเตอร์ ทรัพยากรสารสนเทศในระบบคอมพิวเตอร์เพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว ทั้งด้านปริมาณ วัตถุประสงค์ เนื้อสาระ และหลากหลายลักษณะ รวมทั้งแพร่กระจายข้อมูลอย่างรวดเร็ว ดังนั้นจะมีวิธกี ารใดในการเข้าถึง และการคน้ ขอ้ มลู ออกมาใช้ไดส้ ะดวก ความสาเร็จในการได้รับผลการสืบค้นน้ันผู้สืบค้นควรศึกษาวิธีใช้ เคร่ืองมือ เทคนิค กลยุทธ์ ในการสบื ค้นให้ถกู ต้อง จึงจะไดร้ บั ผลลพั ธ์การสืบค้นทต่ี อ้ งการ เครื่องมือช่วยค้นในระบบคอมพิวเตอร์มีหลากหลายลักษณะซึ่งมีความเหมาะสมกับแต่ละสถาบันบรกิ ารสารสนเทศ และทรัพยากรสารสนเทศแตล่ ะประเภท ทรัพยากรสารสนเทศในระบบคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ผู้ใชบ้ ริการจะตอ้ งปรับตัวในการใช้เทคนิควิธีสมัยใหม่เข้ามาใชใ้ นกระบวนการสืบค้น ซ่ึงสอดคล้องกับลักษณะและระบบของทรพั ยากรสารสนเทศอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 2.2.1 การสืบคน้ สารสนเทศผา่ น WebOPAC ยอ่ มาจาก Web Online Public Access Catalog เปน็ รายการสาหรับคน้ ซงึ่ มลี กั ษณะข้อมลูเช่นเดียวกับบัตรรายการ โดยมีระบบสืบค้นสารสนเทศโดยใช้ตรรกะบูลลีน หรือเรียกว่า “การเข้าถึงรายการสาธารณะโดยวิธอี อนไลน์”

4 2.2.2 การสบื คน้ สารสนเทศผ่าน Union Catalog เป็นการสืบค้นฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม ซ่ึงสนับสนุนการดาเนินงานเก่ียวกับการจัดการระเบยี นบรรณานุกรม และการใชร้ ายการร่วมกัน เพ่ือช่วยรองรับการใชท้ รัพยากรร่วมกัน ลดความซ้าซ้อน ในการจดั ทารายการบรรณานกุ รม และใชป้ ระโยชนใ์ นการยมื ระหว่างห้องสมดุ ของสถาบนั อดุ มศกึ ษา 2.2.3 การสบื คน้ สารสนเทศผ่าน ThaiLIS Digital Collection: TDC คือการสืบค้นผ่านฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ซึ่งเป็นเอกสารฉบับเต็มของวิทยานิพนธ์บทความ รายงานการวิจัยรวบรวมจากมหาวิทยาลัยต่างๆ ท่ัวประเทศ การเข้าใช้บริการนั้นจะต้องเข้าใช้งานจากคอมพิวเตอร์ ภายในห้องสมุดสมาชิก 2.2.4 การสืบคน้ สารสนเทศผ่าน One Search เปน็ เครอ่ื งมอื ใช้สาหรบั สืบค้นทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภทของหอ้ งสมดุ จาก WebOPACเช่น หนังสือ บทความ วารสาร เป็นต้น รวมถึงทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ที่ห้องสมุดบอกรับเป็นสมาชิกจากฐานข้อมูลออนไลน์ตา่ งๆ เช่น วารสารอิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Journal)เปน็ ต้น 2.2.5 การสืบคน้ สารสนเทศผ่าน Internet: Search Engine การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีอยู่จานวนมาก การท่ีเราจะค้นหาข้อมูลให้พบอย่างรวดเร็วจะต้องใช้เว็บไซต์สาหรับการค้นหาข้อมูลที่เรียกว่า Search Engine ซึ่งทาหน้าที่รวบรวมรายชอ่ื เว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเปน็ หมวดหมู่

5 บทท่ี 3วธิ กี ารดาเนินโครงงาน3.1 วิธที ีใ่ ช้ในการสืบค้นข้อมลู 3.1.1 การสืบค้นสารสนเทศผา่ น WebOPAC WebOPAC เป็นฐานข้อมูลรายการบรรณานุกรมท่ีหน่วยงาน สถาบัน หรือแหล่งบริการสารสนเทศน้ันๆ จัดทาขึ้น ในที่นี้คือ สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร มีความสะดวก รวดเร็วและค้นหาได้ตลอด 24 ช่วั โมง เนือ่ งจากใชร้ ะบบออนไลน์บนอนิ เทอร์เนต็ 3.1.2 การสบื ค้นสารสนเทศผ่าน Internet: Search Engine 3.1.2.1 Keyword Index สะดวก รวดเร็วและประหยัดเวลา สามารถค้นหาข้อมูลที่ต้องการจากหัวข้อหลักได้อย่างรวดเร็ว จึงเหมาะสาหรับผู้ต้องการหา Keyword หรือเรื่องท่ัวๆ ไป ไม่ตอ้ งการข้อมูลเฉพาะเจาะจง อาจทาให้เราไม่ได้ข้อมูลที่ดีที่สุด ไม่ต้องตรงกับสิ่งที่เราค้นหา หรือบางทีอาจหาส่ิงที่ต้องการไม่ได้ ถ้า Keywordนน้ั ไมม่ ฐี านขอ้ มลู ของเว็บไซตบ์ รกิ ารเช่น Google 3.1.2.2 Directory Search เป็นการวิเคราะห์เนื้อหา รายละเอียดของแต่ละเว็บเพจว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไรการจดั หมวดหมู่ข้ึนอยู่กบั วจิ ารณญาณของผู้จดั หมวดหม่แู ต่ละคน เชน่ Yahoo! 3.1.2.3 Metasearch Engine เป็นการส่งคาค้นไปค้นหาท่ีโปรแกรมค้นหาอื่นหลายๆ โปรแกรมพร้อมกัน รับผลที่ได้จากโปรแกรมค้นหาอน่ื ๆ กลั่นกรองเว็บไซต์ท่ีซ้ากันออก เรียงลาดบั เว็บไซต์ที่ตรงกับคาค้นหาหลักแล้วแสดงรายการทัง้ หมด เช่น Search.com

63.2 ลักษณะของขอ้ มลู การเลือกข้อมลู และเหตุผลในการเลือก ลักษณะขอ้ มูลทไ่ี ด้มีท้งั ขอ้ มลู แบบตวั เลข ขอ้ มูลแบบตวั อกั ษร และข้อมลู ทเ่ี ป็นรูปภาพ จากท้งั เว็บไซต์และจากหนังสอื ซึ่งหาจาก WebOPAC เหตุผลในการเลือกขอ้ มลู เพราะ มีแหลง่ อ้างองิ เชื่อถอื ได้ งา่ ยแก่การเรยี บเรยี งจัดทาเปน็ รูปเลม่ และ PowerPoint เพอ่ื นาเสนอ 3.2.1 เครื่องมอื และวธิ ีการดาเนนิ โครงงาน 3.2.1.1 เครื่องมือที่ใช้ดาเนินโครงงาน เคร่ืองมือท่ีใช้ได้แก่ WebOPAC ของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร และSearch Engine เช่น Google 3.2.1.2 วิธีการดาเนินโครงงาน มีการประชุมปรึกษาเพ่ือแบ่งหัวข้อในการสืบค้นของสมาชิกแต่ละคนแล้วนาข้อมูลมารวมกัน สมาชิกในกลุ่มร่วมกันคัดกรองข้อมูลที่มีความน่าเช่ือถือเมื่อไดข้ ้อมูลที่ต้องการแล้วจึงมีการแบง่ งานในการนาข้อมูลเพ่ือมานาเสนอ โดยได้แก่ ฝ่ายจัดทารูปเล่มรายงาน ฝ่ายจัดทา PowerPoint และฝ่ายจัดทาวิดโี อ 3.2.2 ข้นั ตอนในการรวบรวมข้อมลู 3.2.2.1 ประชุมปรึกษากันในกลุ่ม เพื่อแบ่งหัวข้อในการสืบค้น มีการแบ่งกลุ่มเป็นสามกลุ่มตามหัวข้อ พระราชประวัติ พระอัจฉริยภาพและพระเกียรติคุณ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยมีสมาชิก 3 คนในการสืบค้นพระราชประวัติ มีสมาชกิ 3 คนในการสืบค้นพระอัจฉริยภาพ และมสี มาชิก 4 คนในการสบื ค้นพระเกยี รติคุณ 3.2.2.2 สบื ค้นสารสนเทศผา่ น WebOPAC การสืบค้นใช้วิธีการพิมพ์ข้อความ เช่น ชื่อเรื่อง (Title)ช่ือผู้แต่ง(Author)คาสาคัญ(Keyword) เลขเรียกหนังสือ(Call no.) เป็นต้น นอกจากนั้นยังสามารถใช้เทคนิคในการสืบค้นแบบตรรกะบูลิน(Boolean Logic) การตัดคา(Truncation) การจากัดขอบเขตข้อมูลการสืบค้น(FiledSearching) การสบื ค้นดว้ ยปที ีพ่ มิ พ์(Date Searching) ภาษา(Language) ช่อื สานกั พมิ พ์(Publisher) ประเภทของสารสนเทศ(Type Of Information)

7 3.2.2.3 สืบคน้ สารสนเทศผา่ นอนิ เทอร์เนต็ สมาชิกในกลุ่มทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อนคาค้น หรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องท่ีกาหนด คลิกปุ่มค้นหา จากน้ันจะปรากฏข้อมูลอย่างย่อและรายช่ือเว็บไซต์ที่เก่ยี วข้องจะปรากฏใหเ้ ขา้ ไปศึกษาเพิ่มเตมิ 3.2.2.4 รวบรวมข้อมูล สมาชิกนาข้อมูลท่ีได้มาคัดกรองร่วมกันและวิเคราะห์คัดเลือกข้อมูลท่ีจะนาไปเรยี บเรยี งตอ่ ไป3.2.3 วธิ ีการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ในการวเิ คราะห์และประเมินข้อมูลสารสนเทศจะพจิ ารณาโดยหลัก AAOCC ไดแ้ ก่ 3.2.3.1 Authority ผ้แู ต่ง พิจารณาแยกระหว่างผู้เขียนกับ Web Master ท่ีทาหน้าที่ Upload กรณีเป็นเน้ือหาจากเว็บไซต์ขององค์กรต่างๆต้องพิจารณาว่าเน้ือหาที่นาเสนอเป็นข้อเท็จจริงไม่มีความเอนเอียงใ นการนาเสนอ 3.2.3.2 Accuracy ความถกู ต้อง นาเสนอเนอื้ หาทมี่ คี วามเฉพาะเจาะจงหรือไม่งานดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีตอ้ งนาเสนอข้อมูลที่ไดจ้ ากการสังเกตการวดั การวเิ คราะห์แปลผลและการสรุปผลโดยไม่มี biasงานด้านศิลปะมนุษยศาสตร์และศาสนาต้องให้ข้อมูลด้านช่ือวันท่ีสถานที่ท่ีสร้างสรรค์ผลงานน้ันรวมถึงความคิดเหน็ เกี่ยวกับผลงานนั้น และมกี ารอา้ งอิงถงึ แหล่งทีม่ าของขอ้ มลู 3.2.3.3 Objective วตั ถุประสงค์ พิ จ า ร ณ า วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ก า ร น า เ ส น อ ว่ า เ ป็ น ก า ร น า เ ส น อข้อเท็จจริงหรือการแสดงความคิดเห็นวัตถุประสงค์ของการทาเว็บไซต์คืออะไร (ดูจาก About Us) กรณีนาเสนอความคดิ เห็นจะต้องปราศจากอคตมิ ีการแทรกโฆษณารวมถงึ การขอรับบริจาคด้วยหรือไม่ 3.2.3.4 Currency ความทันสมัย ด้านวิทยาศาสตร์ต้องการข้อมูลท่ีมีความทันสมัยเป็นปัจจุบันด้านศิลปะและมนุษยศาสตร์ให้พิจารณาความทันสมัยตามความเหมาะสมบางกรณีสารสนเทศที่ผลิตออกมานาน

8หลายปีแล้วยังมีความสาคัญอยู่ต้องดูว่าข้อมูลถูกจัดทาขึ้นเม่ือใด (Created Date) มีการปรับปรุงข้อมูลคร้ังสดุ ท้ายเม่อื ใด (Last Updated) รวมถึงมี Dead Links หรือไม่ 3.2.3.5 Coverage ขอบเขตของเนอ้ื หา เนือ้ หารอบคลุมเรื่องท่ีต้องการหรอื ไม่ระดับความลึกของเนื้อหาเพียงพอกับความตอ้ งการหรอื ไม่

9 บทท่ี 4วเิ คราะห์ขอ้ มลู4.1 พระราชประวตั ิพระราชสมภพและทรงพระเยาว์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งในราชวงศ์จักรี ณ โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น เมืองเคมบริดจ์ มลรัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา เมื่อวันจันทร์ เดือนอา้ ย ขึ้น 12 คา่ ปีเถาะ นพศก จุลศักราช 1289 ตรงกับวนั ที่ 5 ธนั วาคม พ.ศ. 2470 ซึ่งเหตุท่ีพระราชสมภพในสหรัฐอเมริกา เนื่องจากพระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกาลงั ทรงศกึ ษาวิชาการที่น่นั รูปที่ 1 ภาพบรมฉายาลกั ษณต์ อนทรงพระเยาว์ ทม่ี า https://www.pinterest.co.kr/pk9club/king-bhumibol-adulyadej/ สบื คน้ เมื่อวนั ท่ี 15 พ.ย. 2560 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระโอรสองค์ท่ีสามใน สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลตอ่ มา) และหมอ่ มสังวาล ตะละภฎั (ชกู ระมล) (สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลตอ่ มา) ทรงมีพระนามขณะนั้นว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช ทรงมีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ซ่ึงสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลาลองว่า \"เล็ก\"

10 รูปท่ี 2 ภาพพระบรมชายาลกั ษณ์ตอนทรงพระเยาว์กบั ครอบครัว ที่มา http://www.wrp.or.th/ สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 16 พ.ย. 2560 รูป 3 ภาพบรมชายาลกั ษณ์กับพระเชษฐภคนีและพระอนชุ า ท่มี า http://www.photoontour.com/SpecialPhotos_สบื คน้ เมอ่ื วนั ที่ 6 พ.ย. 2560 พระนาม \"ภูมพิ ลอดุลเดช\" นน้ั พระบรมราชชนนีไดร้ บั พระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอย่หู วั เม่อื วันท่ี 14 ธนั วาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกากับตัวสะกดเปน็ อักษรโรมนั ว่า \"BhumibalaAduladeja\" ทาให้สมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนีทรงเข้าพระทัยวา่ ได้รับพระราชทานนามพระโอรสวา่ \"ภูมบิ าล\" ในระยะแรกพระนามของพระองคส์ ะกดเปน็ ภาษาไทยว่า \"ภูมิพลอดุเดช\" ตอ่ มา พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชเองทรงเขยี นวา่ \"ภมู ิพลอดลุ ยเดช\" โดยทรงเขยี นทง้ั สอง-แบบสลบั กนั ไป จนมาทรงนิยมใชแ้ บบหลังซึ่งมตี วั \"ย\" สะกดตราบปัจจบุ ันพระนามของพระองคม์ ีความหมายว่า \"ภูมิพล\" ภูมิ หมายความว่า \"แผ่นดนิ \" และ พล หมายความว่า \"พลัง\" รวมกันแล้วหมายถึง \"พลังแห่งแผ่นดนิ \" \"อดุลยเดช\" อดุลย หมายความว่า \"ไม่อาจเทียบได้\" และ เดช หมายความว่า \"อานาจ\" รวมกันแล้วหมายถึง \"ผมู้ อี านาจที่ไมอ่ าจเทยี บได้\" เมื่อ พ.ศ. 2471 ได้เสด็จกลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซ่ึงทรงสาเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วารด์ สหรัฐอเมรกิ า พร้อมด้วยสมเดจ็ พระบรมราช-ชนนีสมเดจ็ พระเจ้าพน่ี างเธอ และสมเด็จพระเชษฐาธริ าช โดยประทบั ณ วังสระปทุม ต่อมาวนั ท่ี 24 กนั ยายน พ.ศ.2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวทรงมพี ระชนมายุไม่ถึงสองพรรษา

11ทรงศกึ ษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้สี่พรรษา เสด็จเข้าศึกษาท่ีโรงเรียนมาแตร์เดอี จนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสด็จพระราชดาเนินไปประทับ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรม-ราชชนนี พระเชษฐภคินี และสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระ-บรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อช้ันประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝร่ังเศส ภาษาเยอรมัน และภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าช้ันมัธยมศึกษา ณ \"โรงเรียนแห่งใหม่ของซืออีสโรมองด์\" (ฝร่ังเศส: ?cole Nouvelle de la Suisse Romande,เอกอล นแู วล เดอ ลา ซอื อีส โรมองด)์ เมอื งแชลลี-ซูร์-โลซาน (ฝร่ังเศส: Chailly-sur-Lausanne) รปู ท่ี 4 พระบรมชายาลักษณ์กับพระอนุชา ที่มา https://www.pinterest.at/pin/512214157594175929/ สบื ค้นเมอื่ วันที่ 16 พ.ย. 2560 เมื่อพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักด์ิเป็น \"สมเด็จพระเจา้ น้องยาเธอ เจา้ ฟ้าภมู ิพลอดลุ เดช\" เมอ่ื วนั ท่ี 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2478 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2481 ได้โดยเสด็จฯ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จนิวัตประเทศไทย เป็นเวลา 2 เดือน โดยประทับท่ีพระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต จากนั้นเสด็จกลับไปศึกษาตอ่ ท่สี วิตเซอร์แลนดจ์ นถึงปี พ.ศ. 2488 ทรงรบั ประกาศนียบตั รทางอกั ษรศาสตร์ จากโรงเรียนยมิ นาส คลาซีคกงั โตนาล แล้วทรงเข้าศกึ ษาตอ่ ณ มหาวิทยาลัยโลซาน แผนกวทิ ยาศาสตร์ โดยเสดจ็ นิวัตประเทศไทยเปน็ คร้ังท่ีสอง ประทับ ณ พระทนี่ ่งั บรมพมิ าน ในพระบรมมหาราชวงั

12ทรงประสบอุบัตเิ หตุ หลงั จากท่ีจบการศึกษาจากสวติ เซอร์แลนด์ พระองคเ์ สด็จไปเยือนกรุงปารสี ทรงพบกับหมอ่ มราชวงศ์สิริกิต์ิ กิติยากร ซึ่งเป็นลูกสาวของเอกอัครราชทูตไทยประจาฝรั่งเศส เป็นครั้งแรก ในขณะนี้ ทั้งสองพระองค์มีพระชนมายุ 21 พรรษาและ 15 พรรษาตามพระลาดับ เมอื่ วนั ท่ี 3 ตุลาคม พ.ศ. 2491 ในระหว่างเสด็จประทบั ยังต่างประเทศ ขณะที่พระองค์ทรงขบั รถยนต์พระที่น่ังเฟียส ทอปอลิโน จากเจนีวาไปยังโลซาน ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ กล่าวคือ รถยนต์พระท่ีน่ังชนกับรถบรรทุกอย่างแรง ทาให้เศษกระจกกระเด็นเข้าพระเนตรขวา พระอาการสาหัส หลังการถวายการรักษา พระองค์ทรงมีพระอาการแทรกซ้อนบริเวณพระเนตรขวา แพทย์จึงถวายการรักษาอย่างต่อเนื่องหลายคร้ัง หากแตพ่ ระอาการยังคงไม่ดีข้นึ กระท่ังวินจิ ฉัยแล้วว่าพระองค์ไม่สามารถทอดพระเนตรผ่านทางพระเนตรขวาของพระองคเ์ องได้ตอ่ ไปแล้ว จึงได้ถวายการแนะนาให้พระองคท์ รงพระเนตรปลอมในทส่ี ุด รูปท่ี 5 ภาพพระบรมชายาลกั ษณ์ของพระบามสมเดจ็ พระบรมราชินีนาถ ที่มา http://ployyoo-ziz.exteen.com/page/2 สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 16 พ.ย. 2560 ทั้งนี้ ม.ร.ว. สิริกิต์ิ ได้มีโอกาสเข้าเฝ้าเย่ียมพระอาการเป็นประจาจนกระท่ังหายจากอาการประชวรอนั เปน็ เหตุท่ีทาให้ท้งั สองพระองค์มคี วามสัมพันธก์ ันอยา่ งใกล้ชิดนับต้งั แตน่ ้ันเป็นตน้ มาพระราชพธิ ีราชาภิเษกสมรส รูป 6 ภาพพระบรมชายาลกั ษณ์กบั พระราชนิ ี

13 ท่มี า http://www.wrp.or.th/ สืบคน้ เมอ่ื วนั ท่ี 16 พ.ย. 2560 เมือ่ วันที่ 27 กุมภาพนั ธ์ 2493 สมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดาเนนิ กลบั ประเทศไทย โปรดเกล้าให้ต้ังการพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันท-มหิดลระหว่างวันท่ี 28-30 มีนาคม 2493 และเมื่อวันท่ี 28 เมษายน 2493 ทรงประกอบพิธีราชาภิเษกสมรส กับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ท่ีวังสระปทุม โดยสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวีพระพันวสา-อัยยิกาเจ้าพระราชทานหล่ังน้าพระมหาสังข์ ทรงจดทะเบียนสมรสตามกฎหมายเช่นเดียวกับประชาชน และได้ทรงสถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ ข้ึนเป็น สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ หลังจากนั้น ได้เสด็จไปประทับพักผ่อน ณพระราชวังไกลกังวล หัวหิน และที่น่ีเป็นแหล่งเกิดโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริโครงการแรกคือพระราชทาน “ถนนสายห้วยมงคล” ให้แก่ “ลุงรวย” และชาวบา้ นที่มาช่วยกันเข็นรถพระท่ีน่ังข้ึนจากหล่มดินท้ังนี้เพราะแม้ “ห้วยมงคล” จะอยู่ห่างอาเภอหัวหิน เพียง 20 กิโลเมตร แต่ไม่มีถนนหนทางชาวบ้านได้รับความเดือดร้อนในการดารงชีวิตมากถนนสายห้วยมงคลนี้จึงเป็นถนนสายสาคัญ ท่ีนาไปสู่โครงการในพระราชดาริ เพือ่ บาบัดทุกข์ บารงุ สุขแก่พสกนกิ รอีกจานวนมากกวา่ 2,000 โครงการในปัจจบุ นัพระบรมราชาภิเษก รปู ท่ี 7 ภาพพระบรมราชาภิเษก ทีม่ า http://www.wrp.or.th/ สบื คน้ เมอ่ื วันท่ี 16 พ.ย. 2560 วันที่ 5 พฤษภาคม 2493 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงประกอบพระราชพิธีบรม-ราชาภิเษกตามโบราณขัตติยราชประเพณี ณ พระที่น่ังไพศาลทักษิณ ในพระมหาราชวัง เฉลิมพระ-ปรมาภิไธยตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหิตลาธิเบศร รามาธิบดีจักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร” และได้พระราชทาน พระปฐมบรมราชโองการเป็นสัจวาจาว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาว-สยาม” ในการนี้ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศ สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ พระอคั รมเหสีเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี วันท่ี 5 มิถุนายน 2493 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพร้อมดว้ ย สมเดจ็ พระนางเจ้าพระบรมราชินี ไปยังสวิตเซอร์แลนด์อีกครั้ง เพ่ือทรงรักษา พระสุขภาพและเสด็จพระราชดาเนินนิวัติพระนคร เมื่อ 2 ธันวาคม 2494 ประทับ ณ พระตาหนักจิตรลดา-รโหฐาน และพระท่ีน่งั อัมพรสถานทง้ั สองพระองค์มพี ระราชธดิ า และพระราชโอรส 4 พระองค์ดังน้ี

14 1. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟา้ อบุ ลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ประสูติเมื่อ 5 เมษายน 2494 ณ โรงพยาบาลมองซัวนี่ โลซานน์ 2. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ์ฯ ประสูติเมื่อ 28 กรกฏคม 2495 ณ พระท่ีน่ังอัมพร- สถาน ต่อมา ทรงได้รับสถาปนาเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณฯ สยาม มกุฎราชกุมาร เมื่อ 28 กรกฏคม 2515 3. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลนโสภาคย์ ประสูติเมื่อ 2 เมษายน 2498 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ภายหลังทรงได้รับสถาปนาเป็น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้า มหาจกั รสี ริ ินธร รฐั สีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี เม่ือวันท่ี 5 ธนั วาคม 2520 4. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูติเม่ือ 4 กรกฏคม 2500 ณ พระที่นั่งอัมพรสถานทรงพระผนวช เมื่อวนั ท่ี 22 ตลุ าคม 2499 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวไดท้ รงพระผนวช ณ วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม ทรงจาพรรษา ณ พระตาหนักป้ันหย่า วดั บวรนเิ วศวิหาร ปฏบิ ตั พิ ระศาสนกจิ เปน็ เวลา 15 วนั ระหวา่ งนี้สมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ติ ์ิพระบรมราชินีนาถ ทรงปฏบิ ัตพิ ระราชกรณยี กจิ แทนพระองค์ ต่อมาจึงทรงพระ-กรณุ าโปรดเกล้าฯ สถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถในรัชกาลน้ไี ดท้ รงพระกรณุ าสถาปนาพระอสิ รยิ ยศสมเดจ็ พระบรมชนกนาถขึน้ เป็น สมเดจ็ พระมหติ ลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรมพระบรม-ราชชนก ทรงสถาปนา สมเดจ็ พระราชชนนี เป็น สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงสถาปนาสมเด็จพระเจา้ พี่นางเธอ เจ้าฟา้ กลั ยาณิวฒั นา เปน็ สมเด็จพระเจ้าพ่นี างเธอ เจ้าฟ้ากัลปน์ าณวิ ัฒนากรมหลวงนราธวาสราชนครินทร์ และทรงประกอบพระราชพิธีเฉลมิ พระปรมาภิไธย สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวอานันทมหดิ ลใหม่ เมอ่ื วันท่ี 8 มิถุนายน 2539เพอ่ื ให้สมพระเกยี รตติ ามโบราณขัตตยิ ราชประเพณี ท้ังนี้ด้วยพระจริยวตั ร อนั เปยี่ มด้วยพระกตญั ญูกตเวทิตาธรรมอนั เปน็ ทแ่ี ซ่ซอ้ งสรรเสริญพระปรมาภิไธยใหมท่ ่ีทรงสถาปนาคอื “พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหา-อานันทมหดิ ล อดลุ ยเดชวมิ ลรามาธิบดี จุฬาลงกรณราชปรยี วรนดั ดา มหติ ลานเรศวรางกูรไอศูรยสนั ตตวิ งศนวิ ิฐ ทศพิศราชธรรมอกุ ษฏนบิ ุณ อดลุ ยกฤษฏาภินิหารรงั สฤษฏ์ สสุ าธติ บรู พาธิการ ไพศาลเกยี รติคุณอดลุ พเิ ศษ สรรพเทเวศรานรุ กั ษ์ ธญัอรรคลักษณวจิ ติ ร โสภาคยส์ รรพางค์ มหาชโนตมางคประณตบาทบงกชยคุ ล อเนกนกิ รชนสโมสรสมมต ประสทิ ธิวรยศมโหดมบรมราชสมบัติ นพปฏลเศวตฉัตราดิฉตั ร สรรพรัฐทศทิศวชิ ิตไชย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร มเหศวรมหินทรมหารามาธราชวโรดม บรมนาถชาตอิ าชาวไศรย พุทธาทิไตรรัตนสรณารกั ษ์ วิศษิ ฏศักตอคั รนเรษราธิบดี เมตตากรุณา สีตลหฤทยั อโนปมยั บญุ การ สกลไพศาลมหารษั ฏาธบิ ดี พระอัฐมรามาธบิ ดินทรสยามนิ ทราธริ าช บรมนาถบพิตร”

15สถานะพระมหากษตั ริย์ รปู ที่ 8 ภาพเมอื่ ครง้ั ทรงครองราชย์ครบ 60 ชรรษา ท่มี า http://164.115.23.80/FullListPage. สบื ค้นเมือ่ วนั ท่ี 6 พ.ย. 2560 ตามกฎหมายไทย พระองค์ทรงดารงอยู่ในสถานะท่ี \"ผู้ใดจะละเมิดมิได้\" การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็น \"ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์\" และระวางโทษจาคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปี ท้ังน้ี พระองค์เคยมีพระราชดารสั ในวนั เฉลิมพระชนมพรรษาเม่อื ปี 2548 วา่\"...ถ้าบอกว่าพระเจ้าอยู่หัวไปวิจารณ์ท่านไม่ได้ ก็หมายความว่า พระเจ้าอยู่หัวไม่เป็นคน...ฝรั่งเขาบอกว่า ในเมืองไทยน่ี พระมหากษัตริยถ์ กู ด่า ตอ้ งเข้าคกุ ...ท่จี รงิ พระมหากษตั ริย์ไมเ่ คยบอกให้เข้าคกุ ...\"พระองค์ทรงได้รับการถวายพระราชสมัญญาว่า \"สมเด็จพระภัทรมหาราช\" หมายความว่า\"พระมหากษัตริย์ผู้ประเสริฐย่ิง\" ต่อมาในปี 2539 มีการถวายใหม่ว่า \"พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช\" และ \"พระภูมิพลมหาราช\" อนุโลมตามธรรมเนียมเช่นเดียวกับพระบาทสมเด็จ-พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่ีทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า \"พระปิยมหาราช\" พระองค์ทรงเปน็ ที่สักการบชู าของชาวไทยจานวนมาก แตถ่ ึงกระนน้ั อภิสทิ ธ์ิ เวชชาชวี ะ นายกรฐั มนตรี เคยแสดงทศั นะว่า มีขบวนการอันเปน็ ภัยคุกคามร้ายแรงที่พยายามล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ ประชาชนทั่วไปนิยมเรียกพระองค์ว่า \"ในหลวง\" คาดังกล่าวคาดว่าย่อมาจาก \"ใน (พระบรมมหาราชวัง) หลวง\" บ้างก็ว่าเพี้ยนมาจากคาว่า \"นายหลวง\" ซึ่งแปลว่าเจ้านายผู้เป็นใหญ่ บทบาททางการเมอื ง

16 ตามรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พระองคท์ รงเป็นประมุขแห่งรฐั จอมทัพไทย และอคั รศาสนูปถมั ภก และทรงเป็นพระมหากษัตริยภ์ ายใต้รฐั ธรรมนญู แต่พระองค์ทรงมีบทบาทในการเมอื งไทยหลายครงั้ โดยเฉพาะในช่วงปี 2530-2540 เป็นทท่ี ราบกันว่า พระองคท์ รงมีบทบาทสาคญั ในการเปล่ยี นผันประเทศไทยจากระบอบทหารไปสรู่ ะบอบประชาธิปไตย และทรงใช้พระราชอานาจทางศีลธรรมยบั ยัง้ การปฏิวัตแิ ละการกบฏหลายช่วงด้วยกันทว่า พระองคก์ ็ทรงสนบั สนนุ ระบอบทหารเปน็ หลายคราซึ่งในจานวนนอ้ี าทิสฤษดิ์ธนะรัชต์ ในช่วงปี 2500-2510 ในรัชสมยั ของพระองค์ เกิดการรัฐประหารกวา่ สิบห้าครัง้ รฐั ธรรมนูญกวา่ สิบแปดฉบับ และการเปล่ยี นแปลงนายกรฐั มนตรีเกือบสามสบิ คน รูปท่ี 9 ภาพเมือ่ คร้ังทรงครองราชยค์ รบ 60 ชรรษาคกู่ บั สมเดจ็ พระราชนิ ี ทมี่ า http://www.wvo.thaigov.net/king9/index.php สืบคน้ เมือวนั ที่ 16 พ.ย. 25604.2 พระอจั ฉริยภาพ ด้านประติมากรรม ผลงานประติมากรรมฝีพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่สาคัญคือ ประติมากรรมลอยตัว (RoundRelief) สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถคร่ึงพระองค์ สูง ๑๒ นิ้ว และประติมากรรมหญิงเปลือยน่ังคุกเข่าสูง ๙ นิ้ว ท่ีทรงปั้นด้วยดินน้ามัน และยังโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สร้างพระพุทธรูปและพระพิมพ์ในโอกาสต่างๆ เช่น พระพุทธรูปปางประทานพร ภปร. พระพุทธนิรโรคันตรายชัยวัฒน์จตุรทิศพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ประจารัชกาล และทรงแกะแบบแม่พิมพ์ พระพิมพ์ท่ีเรียกกันว่าสมเด็จจิตรลดา หรือพระกาลังแผ่นดิน ทรงบรรจุผงศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ด้วยพระองค์เอง โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานผู้ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาท และเม่ือพุทธศักราช ๒๕๐๓ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สร้าง พระพุทธนวราชบพิตร พระราชทานแก่ผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวดั ทั่วประเทศ เชญิ ไปประดิษฐานเพื่อความเปน็ สริ มิ งคล ด้านดรุ ยิ างคศลิ ป์ ทรงได้รับการยกย่องจากคณะกรรมการสานักงานวัฒนธรรมแห่งชาติ ประจาปีพุทธศักราช๒๕๒๙ ให้เป็นองค์อัครศิลปินแห่งชาติ ทรงแสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพทางดนตรีมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์โดยทรงไดร้ ับการฝึกหัดดนตรีตงั้ แตพ่ ระชนมายุ ๑๐ พรรษา ทรงนาพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ที่ทรงสะสมไว้ไปซอ้ื คลาริเนตมาทรงฝกึ เปา่ นอกจากน้ันยังสามารถทรงดนตรีอื่นๆไดอ้ ีกหลายชนิด หลังจากเสดจ็ ขึ้นครองราชสมบัติแล้วเม่ือมีเวลาว่างจะทรงดนตรีกับนักดนตรีและข้าราชบริพารซ่ึงต่อมาได้ทรงรวบรวมนักดนตรีแล้วจัดต้ังวงอ.ส.วันศุกร์ โดยทรงร่วมบรรเลงบทเพลงร่วมกับนักดนตรีออกอากาศผ่านทางสถานีวิทยุ อ.ส.ในพระตาหนักจิตรลดารโหฐานเป็นประจาในตอนเย็นวันศุกร์แตต่ ่อมาทรงวา่ งเว้นการทรงดนตรีลงเนื่องด้วยพระราชกจิ นอกจากน้ี ยงั ทรงจดั ตงั้ วงดนตรี สหายพัฒนา โดยมีสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ ทรงเปน็ หัวหน้าวง

17 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์เพลงด้วยพระองค์เองมาต้ังแต่ปีพุทธศักราช๒๔๘๙ จนถงึ ปจั จบุ ันนับได้เกือบ ๕๐ เพลง ซึง่ ลว้ นเปน็ บทเพลงทไ่ี พเราะและมีความหมายลกึ ซ้งึ ในพ.ศ.๒๕๐๗วงดุริยางค์ เอ็นคิวโทนคุนสเลอร์ (N.Q.Tonkunstler Orchestra) แห่งกรุงเวียนนา ได้คัดเลือกบทเพลงพระราชนิพนธ์ไปบรรเลง มีการถ่ายทอดสดไปทั่วประเทศออสเตรีย ปรากฏว่าได้รับความนิยมอย่างสูง จนสองวันต่อมาสถาบันการดนตรี และศิลปะแห่งกรุงเวียนนา (InstituteofMusic and ArtsofCityofVienna) โดยรัฐบาลออสเตรียได้ทูลเกล้าฯถวายสมาชิกภาพกิตติมศักด์ิลาดับที่๒๓ของสถาบัน มีการจารึกพระนามลงบนแผ่นหินสลกั ของสถาบัน นับเปน็ ผู้ประพนั ธเ์ พลงชาวเอเชียคนแรกทไ่ี ด้รับเกียรตเิ ช่นน้ี รปู ที่ 10 ภาพทรงพระดนตรีกบั พระสหาย ที่มา https://sites.google.com/site/faiiiyosita39/phra-rach-krniykic สบื ค้นเมือ่ วันท่ี 6 พ.ย. 2560 ดา้ นภาษาและวรรณกรรม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภมู ิพลอดุลยเดช เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงพระปรีชาสามารถโดดเด่นในด้านภาษา พระองค์ทรงเจริญวยั ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์จึงทรงภาษาฝร่ังเศสและเยอรมันได้เป็นอย่างดี ตอ่ มาทรงตระหนักว่าประเทศตา่ งๆทั่วโลกนิยมใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร จึงสนพระราชหฤทัยหันมาทรงศึกษาภาษาอังกฤษ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวยังทรงเข้าถึงพื้นฐานของภาษาและทรงคุ้นเคยในการใชภ้ าษาน้ีถึงระดับที่ทรงไดด้ ีเป็นพเิ ศษและยังทรงสนพระราชหฤทัยในการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องตามหลักนิรุติศาสตร์ เมอ่ื ทรงมีเวลาว่างจะทรงพระอกั ษรและทรงพระราชนิพนธ์แปลบทความจากวารสารภาษาตา่ งประเทศเม่ือพุทธศักราช๒๕๓๗ ทรงแปลหนังสือเร่ืองนายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ (A Man Called Intrepid) ของวิลเลียม สตเี วนสัน เป็นภาษาไทย ในปีต่อมาทรงแปลหนังสือเร่ืองติโต (Tito) ซึ่งเปน็ ชีวประวัติของนายพลติโตประพันธ์โดยฟิลลิส ออติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเลือกแปลผลงานของวิลเลียม สตีเวนสัน เพราะเป็นเรื่องที่ได้อรรถรสเกี่ยวกับกระบวนการความคิดเห็นและการตัดสินใจของคนโดยละเอียดรวมท้ังแสดงให้เห็นความกล้าหาญและความมุ่งมนั่ ของพวกสายลับฝ่ายพันธมิตร ระหว่างสงครามโลกคร้ังทส่ี องที่ไมเ่ ปิดเผยตัวหรือมองอีกแง่มุมหน่ึงจะเห็นพลังของความสามัคคีความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกันของฝ่ายพันธมิตรและความเสียสละอัตตาของตนเพ่ือให้บรรลุผล คือความเป็นเอกภาพให้จงได้ นอกจากน้ีในบทพระราชนิพนธ์เรื่องBuddhist Economics พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงนาสาระบางตอนจากเร่ือง Smallis Beautiful

18ประพันธโ์ ดยอีเอฟ ชูมคั เคอร์ มาประกอบพระราชนพิ นธ์แปลเรื่องพระมหาชนก เสร็จสมบูรณ์ เมือ่ พทุ ธศกั ราช๒๕๓๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์ให้จัดพิมพ์ในโอกาสพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปีพุทธศักราช๒๕๓๙ เพ่ือเป็นเคร่ืองเตือนใจประชาชนผู้มีจิตกุศล ให้เกิดความคิดในทางสร้างสรรค์นอกจากนั้น ผู้อ่านยังได้รับอานิสงส์ มีความพากเพียรที่บริสุทธ์ิมีปัญญาเฉียบแหลม และพลานามัยสมบูรณ์พระปรีชาสามารถท่ีทรงใช้ภาษาต่างๆได้อย่างเชี่ยวชาญเป็นเรื่องน่าอัศจรรย์ใจมาก แม้แต่ภาษาสันสกฤตซ่ึงเป็นภาษาโบราณและศกั ด์ิสิทธ์ขิ องชาวอินเดยี ท่นี ับถอื ศาสนาฮินดูก็ทรงศกึ ษารอบรูอ้ ย่างลึกซง้ึ ด้านการประดิษฐ์ การขจัดความยากจนของประชาชนให้ทุเลาเบาบางและหมดส้ินไป สามารถประกอบอาชีพและดารงชีวิตอยู่บนพน้ื ฐานของความพอเพียงได้อย่างมั่นคงนนั้ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั พระราชทานแนวพระราชดาริในหลากหลายโครงการท่ีนาไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน อันสะท้อนให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพอันรอบดา้ นของพระองค์ซง่ึ เป็นที่ประจกั ษแ์ กม่ วลประชาทั่วโลก พะอัจฉริยภาพด้านหน่ึงท่ีพระองค์ทรงนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้เพื่อให้การพัฒนาประเทศสัมฤทธผิ ลและมีประสิทธิภาพมากก็คอื ด้านการสร้างสรรคง์ านประดิษฐ์ ซง่ึ พระองค์ทรงสนพระราชหฤทัยศึกษา ค้นคว้า และทดลองด้วยพระองค์เองมาตลอดตัง้ แต่ทรงพระเยาว์พระองค์ทรงเป็นแบบอย่างของการนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสภาพพ้ืนทนี่ ัน้ ๆและทกุ คนสามารถนาไปประดษิ ฐ์ใช้งานไดอ้ ย่างไม่ยุง่ ยาก ผลงานการสร้างสรรค์สิ่งประดษิ ฐ์และนวตั กรรมใหม่ๆของพระองค์ล้วนมีรูปแบบท่ีสอดคล้องกับพระราชดาริเพื่อการพัฒนาคนและประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้า ดังพระราชดารัสที่พระราชทานแก่นายกรัฐมนตรีและคณะในโอกาสเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาททูลเกล้าฯถวายรางวัล “Glory to theGreatest Inventor: His Majesty King Bhumibol Adulyadej in the year of Creativity& Innovation๒ ๐ ๐ ๙ ”ข อ ง ส ห พั น ธ ส ม า ค ม นั ก ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ น า น า ช า ติ (The International Federation ofInventors’Associations:IFIA) สาธารณรัฐฮังการี รางวัล “Special Prize”ของสมาคมส่งเสริมการปะดิษฐ์แห่งสาธารณรัฐเกาหลี(Korea Invention Promotion Association:KIPA) และเหรียญทอง”SpecialCommemorative Medal”ขององค์กรการประดิษฐ์ของสหพันธรัฐรัสเซีย ณ พระตาหนักเปี่ยมสุข วังไกลกงั วล วันที่ ๙ กันยายน พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ ตอนหน่งึ ความว่า “...คนทีม่ คี วามสนใจในการประดิษฐ์น้นั มีความสาคญั มาก เพราะว่าแตละคนต้องคดิ ใหม่ๆอย่เู สมอ ถ้าไมค่ ดิ ใหมๆ่ โลกก็ไมเ่ จรญิ ก้าวหน้า...”

19“...การประดิษฐ์น้ันเป็นของสาคัญที่สุดของโลก คนที่สนใจความก้าวหน้า แล้วถ้าไม่มีความสนใจในการประดษิ ฐ์ ก็เป็นสงิ่ ท่ีให้ไม่มคี วามก้าวหน้า การประดิษฐ์ในดา้ นต่างๆเป็นของสาคัญของโลก เพอ่ื ที่จะให้โลกกา้ วหนา้ ได้ เพราะถ้าไม่มกี ารประดิษฐก์ ็ไม่มคี วามกา้ วหนา้ โลกกไ็ มก่ า้ วหน้า”โดยทางคณะผู้จดั ทาใคร่จะยกตัวอยา่ งส่งิ ประดิษฐ์ของพระองค์ท่านที่ทรงประดิษฐ์คดิ ค้นเคร่ืองมือและอปุ กรณ์ต่างๆขึ้นใช้ในโครงการพระราชดาริมากมายหลายโครงการ ซึ่งในปัจจุบันทรงได้รับการถวายการจดทะเบียนสิทธิบตั รและอนสุ ทิ ธบิ ตั รรวมท้ังส้ิน ๑๑ ฉบับ ดงั นี้๑. เครอ่ื งกลเตมิ อากาศทผี่ วิ นา้ หมุดชา้ แบบทนุ่ ลอย (กังหันนา้ ชัยพัฒนา)สทิ ธบิ ตั รในพระปรมาภไิ ธย เลขที่ : ๓๑๒๗วนั ที่ออกสทิ ธบิ ัตร : ๒ กุมภาพนั ธ์ พทุ ธศักราช๒๕๓๖วิทยาการทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง : วศิ วกรรมส่ิงแวดล้อม วิศวกรรมเครื่องกลวิศวกรรมไฟฟ้าท่ีเกย่ี วข้องกับการออกแบบคานวณและประดิษฐเ์ คร่ืองกล ใช้เตมิ อากาศแก่นา้กังหันชัยพัฒนาเป็นเคร่ืองกลเติมอากาศท่ีใช้ในการเติมออกซ้ิจนลงในน้าที่ระดับผิวน้า โดยพระองค์ทรงนาภูมิปัญญาท้องถ่ินที่ชาวบ้านเรียกว่า “หลุก”มาเป็นต้นแบบในการพัฒนาเป็นเคร่ืองกลเติมอากาศทเ่ี รียบง่าย เต็มเปี่ยมไปด้วยประสิทธิภาพสามารถนามาใชใ้ นการบาบัดนา้ เสียในแม่น้าลาคลองทีร่ าษฎรได้รับความเดือดร้อนมานานปีซ่ึงได้ผลเป็นท่ีน่าพอใจซ่ึงรู้จักกันดีในนา “กังหันน้าชัยพัฒนา”และได้ทรงจดทะเบียนสิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย นับเป็นส่ิงประดิษฐ์ ประเภทเครื่องกลเติมอากาศเครื่องที่ ๙ของโลกที่ได้รับสิทธิบัตร เมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๖ การจดทะเบียนสิทธิบัตรนี้ ทรงทาเพ่ือเป็นแบบอย่างแก่พสกนิกรให้เห็นถึงความสาคัญของการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา และให้รู้จักการใชค้ วามคิดทางปัญญาใหเ้ กิดประโยชนอ์ กี ด้วยสมรรถนะในการปรับปรุงน้าให้มีคุณภาพดีข้ึนของกังหันนา้ ชยั พฒั นา เป็นท่ียอมรับทั้งในและต่างประเทศ ดังเช่น สารักคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติทูลเกล้าฯถวายรางวัลที่ ๑ ประเภทรางวัลคิดค้น หรือส่ิงประดิษฐ์ท่ีเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติประจาปี ๒๕๓๖ และองค์กรนักประดิษฐ์ของยุโรป หรือ TheBelgian Chamber of Inventors ไ ด้ จั ด ง า น Brussels Eureka ๒ ๐ ๐ ๐ ค รั้ ง ท่ี ๔ ๙ ใ น ปี ๒ ๕ ๔ ๓ ณราชอาณาจกั รเบลเยยี ม ไดป้ ระกาศรางวัลถงึ เหตผุ ลของการพจิ ารณาใหร้ างวลั กงั หันน้าชัยพฒั นาว่า“รางวัลต่างๆท่ีประกาศในวันน้ี ไม่ใช่ว่าเขาพิจารณามอบให้กันง่ายๆส่ิงประดิษฐ์ทุกสาขาจะต้องสามารถนาไปใช้งานได้กว้างขวาง เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมทั่วโลกดงั น้นั กังหันนา้ ชัยพัฒนาเปน็ ที่น่าสรรเสรญิ ใหเ้ ป็นส่ิงประดษิ ฐด์ เี ดน่ ในคร้งั นี้”

20 รปู ที่ 11 ภาพกังหนั ชัยพัฒนาท่มี า http://www.wegointer.com/๒๐๑๖/๑๐/๖๒๓๔๘ftgyu/สืบคน้ เมื่อวนั ที่ ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๖๐ รูปที่ 12 ภาพสิทธบิ ัตรในพระปรมาภไิ ธย เลขท่ี : ๓๑๒๗ท่ีมา http://www.chaipat.or.th/site_content/๘๙๘--๕c.htmlสืบค้นเม่อื วนั ท่ี ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๖๐๒. เครอ่ื งกลเตมิ อากาศแบบอัดอากาศและดูดน้า “ชัยพฒั นาแอร์เจท”สิทธบิ ตั รในพระปรมาภไิ ธย เลขที่ : ๑๐๓๐๔วันท่อี อกสทิ ธบิ ัตร : ๑๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๔วทิ ยาการ่ีเก่ียวข้อง : วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมเคร่ืองกล วศิ วกรรมไฟฟ้าทเ่ี กยี่ วข้องกบั การออกแบบคานวณและประดิษฐเ์ คร่ืองกล ใชเ้ ติมอากาศแกน่ ้าชัยพัฒนาแอร์เจ็ทเป็นเคร่ืองกลเติมอากาศ ท่ีสืบเน่ืองจากการที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดชมหาราช(รัชกาลท่ี ๙) ได้พระราชทานพระราชดาริในการแก้ไขปัญหาน้าเสียด้วยการใช้เครื่องกลเติมอากาศท่ีผิวน้าหมุนช้าแบบทุ่นลอย ซ่ึงเป็นท่ีรู้จักกันดีในช่ือ “RX-2”ในปีพุทธศักราช๒๕๓๑ ต่อมาในปี พุทธศักราช๒๕๓๓ พระองค์ทรงคิดค้นประดิษฐ์เครื่องบาบัดน้าเสียเพ่ิงเติมได้ทรงออกแบบโดยใช้คอมพิวเตอร์และพระราชทานรูปแบบทางโทรสารแก่กรมชลประทาน ๓ รูปแบบ เม่ือวันท่ี ๓ พฤษภาคม พุทธศักราช๒๕๓๓โดยพระราชทานพระราชดาริให้มีการจดั สรา้ งเครอื่ งกลเติมอากาศแบบ RX-5 ซ่งึ หมายถงึ Royal Experimentแบบท่ี ๕ กรมชลประทานรับสนองพระราชดาริในการศึกษาและสร้างต้นแบบตามภาพฝีพระหัตถ์ แต่การพัฒนาเครื่องต้นแบบ RX-5C ต้องหยุดชะงัก เนื่องจากมีการติดต้ังกังหันน้าชัยพัฒนาตามสถานที่ต่างๆเป็นจานวนมาก และตอ้ งวิจัยแก้ไขปรับปรุงระบบส่งกาลังของกังหันน้าชัยพฒั นา การพฒั นาเคร่ืองตน้ แบบ Rx-5C

21ไดเ้ รมิ่ ดาเนินการอกี คร้ังในปพี ทุ ธศกั ราช๒๕๔๑ และสาเรจ็ เมื่อปีพทุ ธศักราช๒๕๔๒ ลักษณะการทางานของชยัพัฒนาแอร์เจ็ท คือ ใช้ใบพดั หมุนอยู่ใต้น้าสาหรับขับเคลื่อนน้าให้หมุนและมีความเร็วสูงสามารถดึงอากาศจากดา้ นบนลงมาสัมผัสกับน้าด่านล่างไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ เทียบเท่าการใชเ้ ครื่องกังหันน้าชัยพัฒนา แต่มีขนาดเล็กกะทัดรัด สามารถนาไปใช้ในพ้ืนท่ีที่ไม่สามารถติดต้ังกังหันน้าชัยพัฒนาได้ หรือสามารถนาไปใช้ร่วมกับกงั หนั น้าชยั พฒั นากไ็ ด้ รปู ท่ี 13 ภาพฝพี ระหตั ถ์ เครื่องกลเตมิ อากาศ ทีพ่ ระราชทานทางโทรสาร ที่มา https://technology.thaiza.com สบื คน้ เมือ่ วันท่ี ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๖๐ รปู ที่ 14 เครอ่ื งกลเตมิ อากาศแบบอดั อากาศและดูดน้า “ชัยพัฒนาแอร์เจท” ทมี่ า http://www.wegointer.comสบื ค้นเมื่อวนั ที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๐ รูปที่ 15 สิทธบิ ตั รในพระปรมาภไิ ธย เลขท่ี : ๑๐๓๐๔ ทม่ี า http://www.wegointer.com สืบคน้ เมอื่ วันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๐๓. การใชน้ า้ มนั ปาล์มกลน่ั บรสิ ุทธิ์เป็นนา้ มนั เช้อื เพลงิ เครือ่ งยนต์ดีเซล (น้ามันไบโอดเี ซล)สิทธิบตั รในพระปรมาภิไธย : เลขที่ ๑๐๗๖๔วันทอ่ี อกสทิ ธิบตั ร : ๒๖ กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช๒๕๔๔วิทยาการที่เกีย่ วข้อง : วศิ วกรรมเคร่อื งยนต์

22 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดชมหาราช(รัชกาลที่ ๙) มีพระราชปรารภต้ังแต่พุทธศักราช๒๕๐๔ ถึงอนาคตของน้ามันเช้ือเพลิงว่าต่อไปน้ามันเชื้อเพลิงจะมีราคาแพง จึงมีพระราชดาริเกี่ยวกับการพัฒนาพลังงานทดแทน มีพระราชประสงค์หาน้ามันเชื้อเพลิงท่ีได้จากแหล่งอ่นื จากกรรมวิธีอ่ืนมาทดแทนเพื่อแก้ไขปัญหา ผลท่ีได้ก็คือพลังงานทางเลือกหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นแก็สโซฮอล์ ดีโซฮอล์ และน้ามนั ปาลม์ บรสิ ทุ ธิส์ าหรบั เครือ่ งยนตด์ เี ซล น้ามันปาล์มกลั่นบริสุทธิ์หรือที่เรียกกันว่า อาร์ บี ปาล์ม โอลีน( Refined Bleached andDeodorized Palm Olein or R.B.D Palm Olein) เป็นน้ามันที่สกัดจากผลปาล์มตามกรรมวธิ ีสะอาด ใช้ปรุงอาหารได้ การใชน้ า้ มันปาล์มบริสุทธ์ิผสมกบั น้ามันดเี ซลสามารถใช้กับเคร่ืองยนต์ดเี ซลทกุ อัตรา ต้งั แต่ ๐.๐๑ –๙๙.๙๙%โดยปริมาตร หรอื ใช้เป็นนา้ มันเชื้อเพลิงของเครอ่ื งยนตด์ ีเซลได้ ๑๐๐ % โดยปรมิ าตรโดยไม่ต้องผสมกบั นา้ มันดเี ซล ผลจากการทดลองใช้น้ามันปาล์มกลั่นบริสุทธิ์กับเครื่องยนต์ดีเซลท่ีใช้ในการเกษตร เคร่ืองยนต์รถกระบะและรถตู้ และทดลองเปรียบเทียบกับการใช้น้ามันดีเซลธรรมดา รวมท้ังการใช้น้ามันปาล์มบริสุทธ์ิ๑๐๐% ในงานปกติ พบว่า ระยะทาง ๑๐,๐๐๐ กิโลเมตร พบวา่ น้ามันปาล์มกล่ันบริสุทธ์ิสามารถลดเขม่าและสารพษิ ในไอเสียของเครือ่ งยนตด์ ีเซลได้ถงึ ๘ เท่า เมื่อเปรยี บเทียบกับการใช้งานน้ามันดเี ซลธรรมดา เน่อื งจากสารชวี ภาพสลายตัวได้ง่าย ไม่เปน็ สารไวไฟอันตราย (จุดวาบไฟอยู่ที่ประมาณ ๑๗๐ องศาเซลเซยี ส)นอกจากน้ีน้ามันปาล์มบริสุทธิ์ยังมีคุณสมบัติหล่อล่ืนสูง ไม่ต้องใช้เคร่ืองกรองและกาจัดไอเสีย ไม่ต้องเปลี่ยนอุปกรณ์ของเคร่ืองยนต์และระบบฉีดน้ามันเชื้อเพลิง เพิ่มกาลังให้กับเคร่ืองยนต์โดยไม่ต้องติดต้ังเครื่องอัดอากาศ จึงเป็นทางเลือกหน่ึงในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมช่วยเหลือเกษตรกรเมื้อราคาพืชผลทางเกษตรตกต่า และทดแทนการน้าเข้านา้ มันเชอ้ื เพลงิ รูปท่ี 166 ภาพเครือ่ งกลั่นนา้ มันบรสิ ทุ ธิ์ ทม่ี า http://www.wegointer.comสืบค้นเมือ่ วนั ท่ี ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๐

23 รูปที่ 17 ภาพสิทธบิ ตั รในพระปรมาภไิ ธย : เลขที่ ๑๐๗๖๔ ทีม่ า http://www.wegointer.com สืบคน้ เมอ่ื วันท่ี ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๖๐๔. การใช้น้ามนั ปาลม์ กล่ันบรสิ ุทธิเ์ ปน็ น้ามนั หลอ่ ลน่ื สาหรับเคร่อื งยนต์ ๒จังหวะอนุสิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย เลขท่ี: ๘๔๑วันท่อี อกสิทธิบตั ร : ๑๑ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๔๕วิทยาการท่ีเก่ยี วขอ้ ง : วิศวกรรมเครื่องยนต์การคิดค้นน้ีเป็นการนาน้ามันปาล์มกลั่นบริสุทธิ์(Refined Bleached and DeodoriZed PalmOlein or R.B.R Palm Olein)ชนิด ๑๐๐ % โดยปริมาตรมาใช้เป็นน้ามันหล่อลื่นเคร่ืองยนต์ ๒ จังหวะทุกขนาดซีซี แทนนา้ มนั หลอ่ ลื่นมว่ั ไปทมี่ ีจาหน่ายอยู่ในทอ้ งตลาดผลจากการทดลองใช้กับจักรยานยนต์ท่ีถ่ายน้ามันเครื่อง(ออโต้ลูบ)ออกแล้วเติมน้ามันปาล์มกล่ันบริสุทธช์ิ นิด ๑๐๐% ลงไปพบว่าเคร่ืองยนต์สามารถใช้งานได้ดไี ม่ติดขดั ไมก่ อ่ ให้เกดิ มลพิษต่อสิ่งแวดล้อมและท่ีสาคญั คอื ประหยัดกว่าการใชผ้ ลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเลยี มจากต่างประเทศ รปู ที่ 18 ภาพทรงใช้น้ามันปาลม์ บรสิ ทุ ธแิ์ ทนน้ามันหลอ่ ลื่นในเครื่องยนต์ ทม่ี า หนังสอื อัจฉรยิ ราชาผ้สู ร้างสรรคภ์ ูมปิ ญั ญาแหง่ แผน่ ดิน

24 รปู ท่ี 19 อนสุ ทิ ธบิ ตั รในพระปรมาภิไธย เลขที่: ๘๔๑ ท่มี า http://www.wegointer.com สบื คน้ เมอื่ วันที่ ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๖๐๕. การดดั แปรสภาพอากาศเพ่ือให้เกดิ ฝน เปน็ สง่ิ ประดษิ ฐ์ช่ือ “ฝนหลวง”สทิ ธิบตั รในพระปรมาภไิ ธย เลขที่: ๑๓๘๙๘วนั ท่อี อกสทิ ธิบตั ร :๒๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ.๒๕๔๕วิทยาการทเ่ี ก่ียวขอ้ ง : วิทยาศาสตรบ์ รรยากาศ ฟสิ กิ ส์ เคมี และวศิ วกรรมประยุกต์พระราชดาริเร่ืองการดัดแปรสภาพอากาศเพ่ือให้เกิดฝนตามธรรมชาติ หรือท่ีรู้จักกันในช่ือ “ฝนหลวง” เกิดจากการท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดชมหาราช(รัชกาลท่ี ๙) เสด็จพระราชดาเนินเย่ียมพสกนิกรในทุกภูมิภาคอย่างต่อเนื่อง ทาให้ทรงเล็งเห็นถึงปัญหาการขาดแคลนน้าเพ่ือการอุปโภค บริโภคและการเกษตร กระท่ังทรงทุ่มเทศึกษาค้นคว้าความรู้ทั้งด้านอุตุนิยมวิทยาและการดัดแปรสภาพอากาศจนมั่นพระทัยในปีพุทธศักราช๒๔๙๘ จึงพระราชทานแนวพระราชดาริให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการทาฝนหลวงให้บรรลุวัตถุประสงค์โดยทรงติดตามการปฏิบัติการทดบอวอย่างใกล้ชิดพร้อมทั้งได้พระราชทานพระราชดาริเพิ่มเติมเพ่ือปรับปรุงการทาฝนหลายประการและทรงแนะนาฝกึ ฝนนักวชิ าการใหส้ ามารถวางแผนปฏิบตั ไิ ดอ้ ย่างเหมาะสมกับสภาพภมู อิ ากาศของแต่ละพื้นที่ปพี ทุ ธศักราช๒๕๑๔ มีการทดลองปฏิบัติการทาฝนหลวงเพื่อช่วยเหลือราษฎรท่ีประสบภาวะแห้งแล้งสาเร็จเป็นคร้ังแรกจากน้ัน วันท่ี ๑๙ ตุลาคม พุทธศักราช๒๕๑๕ พระองค์ทรงวางแผนและบัญชาการควบคุมการปฏบิ ัติการทาฝนหลวงสาธติ แก่ผู้แทนรัฐบาลสิงค์โปร์ โดยทรงกาหนดให้ฝนตกสู่เป้าหมายอ่างเก็บน้าเขื่อนแก่งกระจานได้อย่างแม่นยา สร้างความประทับใจและช่ืนชมแก่ผู้แทนจากสิงค์โปร์และข้าราชบริพารท่ีอยู่เหตกุ ารณ์การดัดแปลงสภาพอากาศเป็นงานด้านอุตุนิยมสิทยาประยุกต์ท่ีมีหลายประเภท เช่น การทาฝนเพ่ือเพิ่มปริมาณน้าฝน การทาฝนเพื่อลดปริมาณน้าฝน การเพิ่มปริมาณหิมะ การทาลายหมอกและการลดความรุนแรงของพายุลูกเห็บ พระองค์ทรงใช้เทคโนโลยีที่เกิดจากการประยุกต์วิทยาการ ๔ แขนง ในการดัดแปลงสภาพอากาศทาให้เกิดฝน คอื วทิ ยาศาสตรบ์ รรยากาศ ฟิสกิ ส์ เคมแี ละวศิ วกรรมประยุกต์ ทาให้เกดิ ทั้งจากเมฆ

25อุ่นและเมฆเย็น โดยทรงหวังผลให้เกิดฝนตกลงสู่พ้ืนท่ีเป้าหมายแผ่เป็นบริเวณกว้างเพ่ิมความถ่ีของฝนและปรมิ าณนา้ ฝนให้มากข้ึนกว่าฝนท่เี กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ ด้วยสายพระเนตรที่กว้างไกลโครงการฝนหลวงอันเนื่องพระราชดาริจึงก่อกาเนิดขึ้น เพื่อเป็นกลไกสาคัญในกระบวนการจัดการทรัพยากรแหล่งน้าอย่างมีกลยุทธ์แบะมีแผนการปฏิบัติงานอย่างเป็นรูปธรรม มีการจัดตั้งสานักงานปฏิบัติดารฝนหลวงในปีพุทธศักราช๒๕๑๘ สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อเป็นหน่วยงานรองรับโครงการพระราชดาริฝนหลวงจนถงึ ปัจจุบนั รูปที่ 20 ภาพสิทธบิ ตั รในพระปรมาภิไธย เลขท:ี่ ๑๓๘๙๘ท่ีมา http://www.wegointer.com สบื คน้ เมอ่ื วันท่ี ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๐ รปู ที่ 21 ภาพเครื่องบินทาฝนหลวงที่มา http://www.wegointer.com สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 16พ.ย. 2560๖. ภาชนะรองรบั ของเสยี ท่ขี ับออกจากร่างกายสิทธบิ ตั รในพระปรมาภไิ ธย เลขที่ : ๑๔๘๕๙วันท่อี อกสิทธิบตั ร : ๑๐ มถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๔๖วทิ ยาการที่เก่ยี วข้อง : หลกั การยศาสตร์ และสขุ อนามัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดชมหาราช(รัชกาลที่ ๙) ทรงคดิ ค้นและออกแบบประดิษฐ์ภาชนะรองรับของเสียที่ขับออกจากร่างกาย ด้วยเหตุท่ีอุปกรณ์ทางการแพทย์ส่วนมากเป็นผลิตภัณฑ์นาเข้าจากตา่ งประเทศ มีราคาสูง และไม่ไดอ้ อกแบบใหเ้ หมาะสมกับสรรี ะของผู้ปว่ ยหรือผู้ใช้โดยอุปกรณ์ทางการแพทย์ท่ีใช้เป็นภาชนะรองรับของเสียที่ขับออกจากร่างกายท่ีทรงคิดค้นและออกแบบประดษิ ฐข์ น้ึ นี้ พระองค์ทรงออกแบบตามหลกั การยศาสตร์ (Ergonomics)และสุขอนามัย ใหม้ รี ูปทรงหลักตามหน้าที่การใช้งาน สะดวก ทาความสะอาดง่ายอีกทั้งยังมีรูปทรงที่ทันสมัย จึงสามารถประยุกต์ใช้ไม่

26เพียงแต่เฉพาะกับผู้ป่วยเท่านั้น แต่ยังสามารถเป็นอุปกรณ์ระหว่างเดินทางของบุคคลทั่วไป นับว่าเป็นการออกแบบผลิตภณั ฑท์ ่ีทรงคณุ คา่ ทงั้ ต่อการใช้งานในชีวติ ประจาวันรวมไปถงึ วงการแพทย์ รปู ท่ี 22 ภาพภาชนะรองรบั ของเสียที่ขบั ออกจากรา่ งกาย ท่ีมา หนังสอื อัจฉริยราชาผสู้ รา้ งสรรคภ์ มู ิปัญญาแหง่ แผ่นดิน = The lngenious king : the wisdom of the land รูปท่ี 23 สิทธบิ ัตรในพระปรมาภิไธย เลขที่ : ๑๔๘๕๙ ทม่ี า http://www.wegointer.com สบื ค้นเม่ือวนั ท่ี ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๐๗. อปุ กรณค์ วบคมุ การผลกั ดันของเหลวสทิ ธิบตั รในพระปรมาภิไธย เลขท่ี : ๑๖๑๐๐วนั ที่ออกสทิ ธิบตั ร :๒๗ มกราคม พุทธศกั ราช๒๕๔๗วิทยาการที่เก่ียวข้อง : วิศวกรรมที่เก่ียวข้องกับอุปกรณ์ควบคุมการผลักดันของเหลวทใี่ ช้กบั เรือขนาดเลก็พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดชมหาราช(รัชกาลที่ ๙) ทรงศึกษาและใช้ประโยชน์จากธรรมชาตดิ ้วยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทรงคิดค้นพฒั นาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเร่ืองการบริหารจัดการน้า โดยทรงออกแบบอุปกรณ์ควบคุมการผลักดันของเหลว เป็นอุปกรณ์ท่ีติดตั้งไว้ท้ายเรือ โดยต่อเข้ากับท่าผ้าใบหรือทอ่ ออ่ น เพอื่ ใชผ้ ลักดนั นา้ ใหข้ ับเคลอื่ นเรือหรือเพือ่ ใชส้ ูบนา้อปุ กรณ์ควบคุมการผลักดันของเหลวประกอบด้วยตวั เรือนหลักที่มีใบพัดติดตงั้ อยู่ภายใน ซ่ึงจะดูดน้าเข้าทางช่องน้าเข้าและผลักดันน้าออกทางช่องน้าออก เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการผลักดันน้า นอกจากนี้ยัง

27ติดต้ังอุปกรณ์เป่าลมให้ผ่านท่อเข้าสู่ภายในตัวเรือนหลักเพื่อผลักดันน้าออกทางช่องน้าออก และติดตั้งล้ินปิดเปิดไวท้ ี่ชอ่ งนา้ ออกเพ่ือควบคมุ น้าทไี่ หลออก รปู ที่ 247 อุปกรณค์ วบคมุ การผลักดนั ของเหลว ที่มา http://magazine.dtac.co.th/lifestyle/๒๐๑๖/๑๑/๐๔/k๐๖/ สบื ค้นเม่ือ 25 ตุลาคม 2560 รปู ท่ี 25 สทิ ธบิ ตั รในพระปรมาภิไธย เลขที่ : ๑๖๑๐๐ทมี่ า http://www.wegointer.com สืบคน้ เมอ่ื วันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๐๘. กระบวนการปรบั ปรงุ สภาพดนิ เปรี้ยวเพ่ือใหเ้ หมาะแกก่ ารเพาะปลูก (โครงการแกลง้ ดนิ )สทิ ธบิ ตั รในพระปรมาภิไธย :เลขที่ ๒๒๖๓๗วนั ทอ่ี อกสิทธิบตั ร : ๕ ตุลาคม พทุ ธศกั ราช๒๕๕๐วิทยาการทีเ่ กี่ยวขอ้ ง : วิทยาศาสตร์สงิ่ แวดลอ้ ม พฤกษศาสตร์ นิเวศวทิ ยาโครงการแกล้งดินเป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดชมหาราช(รัชกาลที่ ๙)เก่ียวกับการแก้ปญั หาดินเปรี้ยวหรือดินเป็นกรด จนไม่สามารถทาการเพาะปลูกได้ ซ่ึงในประเทศไทยมพี ้นื ทด่ี นิ พรทุ ีมคี วามเปน็ กรดสูงไมต่ า่ กว่า ๘ ล้านไร่หลังจากท่ีพระองค์เสด็จพระราชดาเนินเย่ียมราษฎรในเขตจังหวัดนราธิวาสในปีพุทธศักราช ๒๕๒๔ทรงพบวา่ ดินในพ้ืนที่พรุท่ีมีการชักน้าออกเพ่ือจะนาดินมาใช้ทาการเกษตรน้ัน แปรสภาพไปเป็นดินเปรี้ยวจัดทาให้เพาะปลูกไม่ได้ผล จึงมีพระราชดาริให้ส่วนราชการต่างๆพิจารณาหาแนวทางในการปรับปรุงพ้ืนที่พรุที่มี

28การแช่ชังตลอดปีให้เกิดประโยชน์ในทางเกษตรมากท่ีสุด และคานึงผลกระทบต่อระบบนิเวศดว้ ย โดยพ้นื ท่ีดินพรุในศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกลุ ทองอันเนื่องมาจากพระราชดารเิ ป็นพืน้ ท่ีทดลองและทาการวจิ ัย การศกึ ษาการเปล่ยี นแปลงความเปน็ กรดของดิน เร่ิมจากวิธีการ “แกล้งดินใหเ้ ปรี้ยว”คอื ทาใหด้ ินแห้งและเปียกลับกันไป เพื่อเร่งปฏิกิริยาทางเคมีของดินซึ่งจะไปกระตุ้นสารไพไรท์ทาปฏิกิริยากับกาซออกซิเจนในอากาศ ปลดปลอ่ ยกรดกามะถันออกมา ทาใหด้ นิ เป็นกรดจดั จนถึงข้ัน “แกล้งดินใหเ้ ปรีย้ วสุดขีด” จนกระทง่ั ถงึจดุ ทพี่ ชื ไมส่ ามารถเจริญงอกงามได้ จากน้ันจงึ หาวธิ ีปรับปรุงดินดงั กล่าวใหส้ ามารถปลกู พืชได้ วิธีการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวจัดตามแนวพระราชดาริ คือ ควบคุมระดับน้าใต้ดิน เพ่ือป้องกันการเกิดกรดกามะถัน จึงต้องควบคุมน้าใต้ดินให้อยู่เหนือช้ันดินเลนท่ีมีสารไพไรท์อยู่ เพ่ือให้สารไพไรท์ทาปฏิกิริยากับก๊าซออกซิเจนหรือถูกออกซิไดซ์ จากการทดลองพบว่า วิธีการปรับปรุงดินตามสภาพของดินและมีความเหมาะสมมีอยู่ ๓ วธิ ีการดว้ ยกนั คอื ๑) ใช้น้าชะล้างความเป็นกรดเพราะเมื่อดินหายเปร้ียว จะมีค่า pH เพ่ิมข้ึน หากใช้ปุ๋ยไนโตรเจนและฟอสเฟตก็จะทาให้พืชให้ผลผลติ ได้ ๒)ใช้ปูนมารล์ ผสมคลุกเคลา้ กบั หนา้ ดิน ๓)ใชท้ ง้ั สองวธิ ีผสมกันนวตั กรรมใหมเ่ พื่อประชาชนชาวไทย รูปที่ 268 ภาพแปลงดินทดลองโครงการปรับปรงุ สภาพดนิ เปรย้ี ว ทมี่ า http://www.wegointer.comสบื คน้ เมอ่ื วันท่ี ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๐ รปู ท่ี 27 สิทธบิ ัตรในพระปรมาภไิ ธย :เลขท่ี ๒๒๖๓๗ ท่ีมา http://www.wegointer.com สืบค้นเม่อื วันท่ี ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปรมินทรภูมิพลอุดลยเดชมหาราช(รัชกาลท่ี ๙)ทรงไม่เคยพักหรือหยุดคดิ พฒั นานวตั กรรมใหม่ๆเพ่ือพัฒนาความเป็นอยทู่ ี่ของประชาชนให้มคี วามเปน้ อย่ทู ีด่ ขี น้ึ ดงั ตอ่ ไปนี้๑. ระบบปรับปรุงคุณภาพนา้ ดว้ ยรางพืชรว่ มกบั เครือ่ งกลเตมิ อากาศ

29 ปญั หานา้ เสียในชุมชนส่วนใหญ่เกิดจากสาหร่ายช้ันต่า ซึ่งเป็นสาเหตุทาใหน้ ้ามีสีเขียวและกลิ่น รวมท้ังมีการแพร่ขยายอย่างรวดเร็ว และสามารถแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการเติมอากาศ ส่วนการใช้ระบบพืชแก้ไขปัญหาน้าเสียจะตอ้ งใช้พน้ื ทีจ่ านวนมาก ซง่ึ ในชมุ ชนเมืองทด่ี นิ มีราคาค่อนข้างสงู จึงไมส่ ามารถใช้ระบบดงั กลา่ วได้ การใช้เครื่องกลเติมอากาศร่วมกับระบบพืชจึงลดทั้งจานวนการใช้เครื่องกลเติมอากาศและลดขนาดพื้นที่ที่จะต้องใชใ้ นการปรับปรงุ คณุ ภาพนา้ ด้วยพืช ระบบปรับปรุงคณุ ภาพน้าดว้ ยรางพชื ร่วมกับเครื่องกลเติมอากาศ เกิดจากการเรียนรู้ธรรมชาตขิ องพืชที่ใชแ้ สงอาทิตย์ในการสังเคราะห์แสง ซ่ึงพืชจะต้องดูดซึมแร่ธาตุสารอาหารเพ่อื ใชใ้ นการเจริญเติบโต จึงนาพืชมาดูดซับแร่ธาตุสารอาหารที่ปนมากับน้าและแย่งอาหารสาหร่ายชั้นต่า ซ่ึงจาให้ปริมาณสาหร่ายช้ันต่าลดลงคุณภาพของนา้ จะคอ่ ยๆดขี ้นึ แต่ท้ังกรณีที่มีน้าเสียมีค่าออกซิเจนต่ามาก พืชไม่สามารถรับภาระได้จาเป็นต้องมีปริมาณออกซิเจนเพียงพอจานวนหนึ่ง พืชจึงสามารถอยู่รอดได้ จึงเพ่ิมการติดต้ังเครื่องกลเติมอากาศ เพ่ือทาหน้าท่ีถ่ายเทออกซิเจนลงในน้า ทาให้น้ามีการไหลเวียน และอณูของเสียเกิดการแตกตัว ความหนาแน่นของต้นพืชจะช่วยกรองของเสีย จุลินทรีย์ในน้าจะยึดเกาะตามรากและหน่อของพืชทาการย่อยสลายของเสีย โดยกาหนดให้น้าเสียถูกส่งเข้ารางพืชด้วยระบบแรงโน้มถ่วง หรือสูบน้าด้วยเครื่องสูบน้าและมีทางให้รางพืชกลับลงสาแหล่งน้าต่อไป ซง่ึ พืชท่ใี ช้ในระบบรางพชื สามารถใช้ไดท้ ง้ั พชื แช่นา้ และพืชลอยนา้ รูปท่ี 28 ภาพเครือ่ งเตมิ อากาศใหน้ ้า ทีม่ า http://magazine.dtac.co.th/lifestyle/๒๐๑๖/๑๑/๐๔/k๐๖/สบื คน้ เมื่อวันที่ ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๖๐ รูป 29 ภาพแสดงสิทธบิ ตั รการประดษิ ฐ์ ท่ีมา http://www.wegointer.com สืบค้นเมือ่ วนั ท่ี ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๖๐๒. เคร่ืองกาเนดิ ไฟฟ้าพลงั งานจลน์ โครงการคลองลัดโพธ์ิอันเนื่องมาจากพระราชดาริเป็นโครงการป้องกันน้า ท่วมพื้นที่ช้ันในของกรุงเทพมหานครด้วยการเบ่ียงน้า ผา่ นประตูนา้ ทท่ี าหน้าที่ปิดเปิดซึง่ จากโครงการดงั กลา่ ว พระบาทสมเด็จพระ

30ปรมินทรภูมิพลอดุลยเดชมหาราช(รัชกาลที่ ๙) มีพระราชดาริเพ่ิมเติมให้ตดิ ตง้ั คณะทาวานเพ่ือศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพคลองลัดโพธิ์ด้านไฟฟา้ พลังงานน้าเมื่อปพี .ศ.๒๕๔๙ เนื่องจากทรงเห็นวา่ มีการระบายนา้ มหาศาลผ่านประตูระบายนา้ น้ี การนาพลังงานจลน์ของน้ามาผลิตไฟฟ้ามีอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะการสร้างกระแสไฟฟ้าโดยใช้ใบพัดกังหันน้าแต่มีประสิทธิภาพในการผลิตน้อย และมีข้อจากัดและไม่คุ้มค่ากับการลงทุนเนื่องจากการออกแบบอุปกรณ์ไม่ได้คานึงถึงตัวแปรต่างๆ เช่น ความเร็วของกระแสน้า ลักษณะของใบพัดและชุดเกียร์ ซึ่งลว้ นมผี ลทาใหเ้ กิดการผลติ กระแสไฟฟ้ามปี ระสิทธภิ าพสงู ด้วยเหตุนี้ คณะทางานศึกษาศักยภาพคลองวัดโพธ์ิอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ด้านไฟฟ้าและปรับปรุงคุณภาพน้า จึงได้ดาเนินการบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับพลังงานน้า(Hydro Power)ศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพคลองลัดโพธ์ิ และประดิษฐ์เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าพลังงานจลน์รูปแบบท่ีแตกต่างกันออกไปเพ่ือแก้ไขปญั หาข้างต้น โดยประดิษฐ์เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าพลังงานจลน์ที่สามารถติดต้ังใช้งานได้ดีในระดับเหนือน้าและใต้นา้ รวมถึงการใช้พลงั งานจากความเรว็ ของกระแสน้ามาเปน็ ต้นกาลงั ของใบพัดกังหัน เพ่ือผลิตพลังงานไฟฟา้ ได้เต็มท่ีและมีประสิทธิภาพและคุ้มค่าต่อการลงทุน ซึ่งเป็นอีกทางเลือกหน่ึงของการพัฒนาพลังงานทดแทนในอนาคต เครื่องกาเนิดไฟฟ้าพลังงานจลน์ดังกล่าวประกอบด้วย เครื่องกาเนิดไฟฟ้าหรือไดนาโมที่ประกอบร่วมกับชุดใบพัดกังหันชนิดหมุนรอบแกนการไหล หรือชนิดหมุนขวางการไหลอย่างหน่ึงอย่างใด เปล่ียนพลังงานจากความเร็วของกระแสน้าให้เป็นพลังงานกลในการหมุนแกนเพลาโลหะที่ต่อเข้ากับชุดเกียร์เพิ่มรอบและเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า ซ่ึงทาให้ผลิตไฟฟ้าได้มากขึ้น โดยมีข้อต่อเพลาเป็นตัวยึดเข้าด้วยกัน โดยทั้งชุดเกียร์เพ่ิมรอบและเครื่องกาเนิดเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าได้รับการออกแบบให้อุปกรณ์แต่ละส่วนมีความสัมพันธ์กัน โดยคานึงถงึ ความเร็วของกระแสน้า ลักษณะของใบพัดและชดุ เกยี ร์เพ่ิมความเร็ว โดยประกอบอยู่ภายในห้องตดิ ตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากันน้าท่ีติดต้ังอยู่ใต้น้าท่ีติดต้ังอยู่ใต้น้า ภายใต้ความดันไม่ต่ากว่า ๓ บาร์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดชมหาราช(รัชกาลที่ ๙) พระราชทานนามสิทธิบัตรสิ่งระดิษฐ์เครื่องกาเนิดไฟฟ้าพลังงานจลน์และโครงสร้างเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าพลังงานจลน์ว่า “อุทกพลวัติ”มีความหมายว่า กังหันผลิตไฟฟ้าด้วยพลงั นา้ ไหล รปู ที่ 29 ภาพแบบจาลองเคร่ืองกาเนดิ ไฟฟ้าพลงั งานจลนแ์ ละภาพสทิ ธิบัตรเคร่ืองกาเนดิ ไฟฟา้ พลังงานจลน์ ที่มา http://www.wegointer.com สบื คน้ เม่ือวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๐

31สิทธบิ ตั รการประดษิ ฐอ์ ่ืนๆ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดชมหาราช(รัชกาลที่ ๙) ทรงให้ความสาคัญกับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาจึงพระราชทานพระราชดาริแก่มูลนิธิโครงการหลวงในการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์ทเ่ี ก่ยี วกบั หญา้ แฝกจานวน ๙ ฉบับ ดังนี้ ๑. เสน้ และวัสดหุ ญ้าแฝก ๒. องคป์ ระกอบวัสดอุ ัดข้ึนรูปทมี่ หี ญ้าแฝกเปน็ ส่วนผสม ๓. กรรมวิธกี ารผลิตหญ้าแฝกเพอ่ื เปน็ วัตถดุ ิบในการอุตสาหกรรม ๔. ภาชนะบรรจุทาจากหญ้าแฝก ๕. เคร่อื งผลิตเสน้ วัสดหุ ญ้าแฝก ๖. ยุ้งฉางทาจากหญ้าแฝกและดนิ เหนียว ๗. กรรมวธิ กี ารผลิตเถ้าหญา้ แฝก ๘. แผน่ วัสดหุ ญ้าแฝกซีเมนต์และองคป์ ระกอบ ๙. การใชเ้ ถ้าแฝกทดแทนซเี มนต์ รูปที่ 319 ภาพทรงปลกู หญา้ แฝก ทมี่ า http://www.weloveroyalty.com/main/.jpg สบื ค้นเมื่อวันที่ ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๖๐และสงิ่ ประดิษฐท์ ีก่ าลังอยู่ในระหวา่ งยน่ื คาขอ มี ๒ช้ิน ไดแ้ ก่ วุ้นชมุ่ ปากกลิ่นม้ินท์-มะนาว และ วุน้ ชุ่มปากกล่ินสตรอเบอร์รี โดย มูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หน่วยทันตกรรมพระราชทาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว ยน่ื คาขอวนั ที่ ๑๖ตุลาคม ๒๕๕๖ พระอจั ฉรยิ ภาพด้านการประดิษฐ์ของในหลวงรัชกาลท่ี ๙นี้ ยงั ทาให้เมื่อวนั ท่ี ๑๐พฤษภาคม ๒๕๓๗ท่ีผ่านมา คณะรัฐมนตรีในขณะน้ันมีมติกาหนดให้วันท่ี ๒กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็น “วันนักประดิษฐ์โลก” (International inventor’s day convention: IIDC) ต่อมาเม่ือวันที่ ๒๑พฤศจิกายน ๒๕๔๙ทางคณะรัฐบาลเห็นชอบทูลเกล้าฯ ถวายพระราชสมัญญา “พระบิดาแห่งการประดิษฐ์ไทย” เพื่อเฉลิมพระเกียรติและเผยแพร่พระเกียรติคุณ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี ๙) เนอ่ื งในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๘๐พรรษา ในวันท่ี ๕ธนั วาคม ๒๕๕๐ ในปเี ดียวกันน้ันเอง องค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (WIPO) ได้ทูลเกล้าฯ รางวัล “Global LeaderAward” พระอัจฉริยภาพด้านการประดิษฐ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นสิ่งท่ีประชาชนขาวไทยควรภาคภูมิใจ เพราะส่ิงที่ทรงคิดล้วนแล้วแต่นามาซ่ึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของพสกนิกร จนได้รับการแซ่

32ซ้องสรรเสริญจากนานาอารยประเทศในพระปรีชาสามารถและความรักความเมตตาที่มีต่อพสกนิกรของพระมหากษตั ริยไ์ ทยผู้ยิ่งใหญ่พระองคน์ ี้พระอจั ฉริยภาพด้านช่าง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช(รัชกาลที่ ๙) ทรงเปน็ ด่งั นายชา่ งของแผ่นดนิ ทรงโปรดงานด้านการช่างพิเศษ ต้ังแต่ในสมัยทรงพระเยาว์ทรงนาส่ิงของท่ีเหลือใช้ภายในพระตาหนักท่ีประทับเท่าท่ีจะหาได้ เช่น ไม้แขวนเส้ือมาสร้างรถไฟฟ้าแล่น มอเตอร์ไฟฟ้าสาหรับทาให้รถไฟแล่นก็ทรงประดิษฐ์เองโดยเอาลวดทองแดงมาพันเข้าเป็นแกนกลางของเครื่องมอเตอร์ ในพระตาหนักจะเต็มไปด้วยเคร่ืองมือช่างไม้เคร่ืองช่างกล และส่ิงของท่ีทรงสนพระทัย ทรงเป็นนักประดิษฐ์คิดค้นชั้นเลิศ เห็นได้จากส่ิงต่าง ๆ ท่ีพระองค์ทรงประดิษฐ์ หรอื มพี ระราชดาริให้จัดทาขน้ึพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช(รัชกาลที่ ๙) ได้ทรงฉายแววแห่งพระปรีชาสามารถในเทคโนโลยีด้านชา่ งกล ต้งั แต่ทรงพระเยาว์วยั โดยทรงสามารถแก้ไขจักรเย็บผ้าที่ชารุดของพระพ่ีเลี้ยงให้กลับใช้การได้ดงั เดมิ คณะผู้จัดทาจงึ ได้รวบรวมข้อมลู เก่ียวกบั พระอจั ฉรยิ ภาพดา้ นการชา่ งของพระองค์ดังนี้ ๑. ทรงทดลองระบบไฟฟา้ สายเดียว รปู ท่ี 32 ภาพขณะทรงพระเยาว์ ท่มี า https://www.builk.com/th/king-9/สืบค้นเมื่อวนั ท่ี ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๐ ขณะทรงพระเยาว์ พระชนมพรรษา ๑๐ พรรษา ทรงพระปรีชาสามารถประกอบเคร่ืองรับวิทยุขึ้นใช้เองและเมื่อพระชนมพรรษาเพียง ๑๑ พรรษา ทรงพระปรีชาสามารถทดลองระบบไฟฟ้าสายเดียว โดยทรงใช้ลวดทองแดงเส้นเลก็ ๆสายเดียวเสียบเต้ารบั ไฟฟ้าบนพระตาหนกั โยงสายลงมาที่สนาม และทรงตอ่ กบั รถไฟฟา้ของเล่นรถไฟฟา้ ของพระองค์ก็วิ่งในสนามได้โดยไม่ต้องใชส้ ายไฟฟา้ 2 สาย แต่ทรงใชพ้ นื้ ดนิ เป็นสายทีส่ องครบวงจรไฟฟา้ ๑. ทรงจาลองเรือรบหลวงศรีอยุธยา เรือใบมด และเรอื บนิ รูปที่ 3310 ภาพทรงจาลองเรือรบหลวงศรีอยธุ ยา เรอื ใบมด และเรือบิน ทีม่ า https://www.builk.com/th/king-9/ สบื ค้นเม่ือวันท่ี ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๐

33ทรงพระปรีชาสามารถมาต้งั แตท่ รงพระเยาว์เช่นกัน ดังปรากฏว่าทรงจาลองหรือรบหลวงศรีอยุธยา เรือใบมดและเรือบิน ท้ังยังได้พระราชทานเรือรบหลวงศรีอยุธยาจาลองและเรือบินจาลองให้นาไปประมูลนารายได้มาเป็นทุนการกุศล ๑. ทรงวางกระดูกงูเรอื ต.๙๑ ณ กรมอู่ทหารเรือ รปู ท่ี 3411 ทรงวางกระดูกงเู รือ ต.๙๑ ณ กรมอ่ทู หารเรือ ทม่ี า https://www.builk.com/th/king-9/ สบื ค้นเม่ือวนั ที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๐จากการที่ทรงเล่นเรือกระดาษ เป็นการฉายแววพระอัจฉริยภาพด้านงานช่าง ซ่ึงเป็นที่ประจักษ์ให้เห็นเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั เสด็จพระราชดาเนนิ ไปทรงวางกระดกู งเู รือ ต.๙๑ ณ กรมอทู่ หารเรอื สาหรบั เรือรักษาฝ่ัง ต. ๙๑ เป็นเรือท่ีกองทัพเรือต่อข้ึนตามแนวพระราชดาริ เท่ือปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ที่จะให้กองทัพเรือสามารถออกแบบและต่อเรือรบคณุ ภาพไดเ้ อง ๒. “ทางคขู่ นานลอยฟา้ ” ถนนบรมราชชนนี รูปท่ี 35 ภาพทรงเปน็ ประทานเปิดโครงการ“ทางคู่ขนานลอยฟา้ ” ถนนบรมราชชนนี ทีม่ า https://www.builk.com/th/king-9/ สืบค้นเม่ือันท่ี ๒๕ ตลุ าคม ๒๕๖๐จากการท่ีทรงเล่นรถไฟจาลอง เมื่อครั้งประทับอยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ แสดงให้เห็นแววพระอัจฉริยภาพด้านการคมนาคมในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพราะในเวลาต่อมาทรงเสดจ็ พระราชดาเนินไปทรงวางศิลาฤกษ์ “ทางค่ขู นานลอยฟา้ ” ถนนบรมราชชนนี เมื่อวนั ท่ี ๑๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๓๙ ซึ่งสร้างข้ึนตามแนวพระราชดาริอกี เช่นกันในการบรรเทาปัญหาการจราจรในกรุงเทพมหานครฝั่งธนบุรี ๓. กงั หันชัยพัฒนา รปู ที่ 36 ภาพทรงทอดพระเนตรกงั หนั ชัยพฒั นา ทมี่ า https://www.builk.com/th/king-9/ สบื คน้ เมือ่ วนั ท่ี ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๐

34ตอนเด็กทรงเลน่ ของเลน่ ต่างๆ ฉายแววพระอจั ฉริยภาพด้านงานประดิษฐ์ พระองค์ทรงมีความคดิ สร้างสรรค์มาตัง้ แต่ทรงพระเยาว์เมื่อเจริญพระชนมพรรษาทรงประดิษฐ์ “กังหนั ชัยพัฒนา” ท่ีทรงออกแบบคิดคน้ วธิ ีการของพระองคเ์ องวธิ กี ารของกังหันกค็ อื การหมุนน้าใหน้ ้าได้รับออกซิเจนทาให้เนา่ เสียคืนสสู่ ภาพเดิมและสามารถนากลับมาใช้งานได้ ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากต่อประเทศไทย ทรงได้รับสิทธิบัตรจาการประดิษฐ์กังหันน้าชัยพัฒนา อันเป็นเครื่องมือในการเติมออกซิเจนลงในน้า เม่ือวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๓๖ ซ่ึงเป็นสิ่งประดิษฐ์เครื่องกลเติมอากาศเครือ่ งท่ี ๙ ของโลกทไี่ ดร้ บั สิทธบิ ตั ร ๔. เรอื ใบ รปู ท่ี 3712 ภาพทรงประดิษฐเ์ รอื ใบดว้ ยพระองคเ์ อง ทม่ี า https://www.builk.com/th/king-9/ สบื ค้นเมอื่ วนั ท่ี ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๐อกี หนึ่งสิง่ ประดิษฐท์ ่ีทรงประดษิ ฐ์ขึ้นให้คนท้ังโลกประจักษ์ถงึ พระอัจฉรยิ ภาพในด้านการชา่ งที่อดกลา่ วถึงไม่ได้คือ “การประดิษฐ์เรือใบ” เนื่องจากโปรดกีฬาเรือใบเป็นอย่างยิ่ง จึงได้ทรงศึกษาค้นคว้ารูปแบบการสร้างเรอื ใบดว้ ยพระองค์เองไวถ้ งึ ๓ ประเภท ดงั น้ี๑. เรือใบประเภทเอ็นเตอร์ไพรซ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงต่อเรือใบสาเร็จเป็นวันแรก เมื่อวันท่ี ๗ธนั วาคม ๒๕๐๗ พระราชทานช่ือว่า “ราชประแตน” หลงั จากนน้ั ทรงต่อเรือใบประเภทน้ีอกี พระราชทานชื่อว่า“เอจ”ี เปน็ เรอื ท่พี ระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชทรงตอ่ แบบสากล๒. เรือใบโอเค พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงต่อเรือใบประเภทโอเคลาแรก ในปี ๒๕๐๘ พระราชทานชื่อว่า “นวฤกษ์” เรือใบประเภทโอเคเป็นเรือใบท่ีพระองค์ทรงต่อไว้หลายลาและพระราชทานช่ือไว้เช่น เวคา ๑. เวคา ๒. เวคา ๓. เรือใบประเภทม็อธ เรือใบที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงออกแบบและทรงต่อด้วยพระองค์เองในระหว่าง พ.ศ. ๒๕๐๙ – ๒๕๑๐ มีอยู่ ๓ แบบ ซ่ึงได้พระราชทานช่ือดังน้ี เรือใบมดเรือใบซูเปอร์มด และเรือใบไมโครมด ซ่ึงในขณะทรงดารงสิริราชสมบัติ ทรงต่อเรือใบมดข้ึนเอง และทรงใช้ในการแขง่ ขันกฬี าซเี กมส์ ทรงชนะเลศิ ไดร้ ับรางวลั เหรียญทอง รูปที่ 3813 ภาพขณะทรงประดษิ ฐ์เรอื ใบประเภทม็อธ ทีม่ า https://www.builk.com/th/king-9/ สืบค้นเมอื่ วนั ที่ 10 ตุลาคม 2560

35 ๗. วทิ ยสุ อื่ สาร นอกจากงานช่างไม้และช่างต่อเรือแล้วพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงสนพระราชหฤทัยในวิชาการช่างไฟฟ้า และช่างวิทยุท่ีเก่ียวข้องกับการส่ือสาร ด้วยทรงตระหนักในประโยชน์และความสาคัญทางด้านการสื่อสารตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ได้ทรงศึกษาเพ่ิมเติมจากการอ่านตาราและทดลองทา เมื่อเสด็จครองสิริราชสมบัตแิ ล้ว มีพระราชประสงค์จะทรงทราบข่าวคราวความทุกข์สุขของราษฎรท่ีอยู่ตามที่ต่างๆ ท่ัวประเทศ ให้รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ สามารถพระราชทานคาแนะนา และความช่วยเหลือได้แม้จะอยู่ห่างไกลได้ทรงศึกษาหาความรู้จากผู้เช่ียวชาญในการส่ือสารทางวิทยุและโทรศัพท์ทรงสามารถตรวจซ่อมปรับแต่งเคร่ืองวิทยดุ ว้ ยพระองค์เองได้ ดังทพี่ ลตารวจตรี สุชาตเิ ผอื กสกนธ์ อดีตอธบิ ดกี รมไปรษณีย์โทรเลขผู้เคยดารงตาแหนง่ หวั หน้ากองการสอ่ื สารกรมตารวจ และไดเ้ ขา้ ปฏิบตั ิหน้าทน่ี ายตารวจสานกั เวรเมือ่ พุทธศักราช ๒๕๑๑ปัจจุบัน เป็นผู้อานวยการโครงการพระดาบสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เขียนเล่าไว้ในเร่ือง “พระอัจฉริยภาพของสมเด็จพระกูมิพลอดุลยเดชมหาราช ในด้านการสื่อสารในวารสารสุโขทัยธรรมาธิราช ปีท่ี๙ ฉบับที่ ๓ เดือนกันยายน - ธันวาคม ๒๕๓๙ หน้า ๑๑ - ๒๗ ว่า “...พระองค์ท่านทรงห่วงใย และมีพระราชประสงค์จะทรงทราบข่าวคราวทุกข์สุขของพสกนิกรอย่าง ราดเร็วและตรงกับความเป็นจริงเพื่อจะได้ทรงชว่ ยเหลือบาบัดทุกข์บารุงสุขให้ได้ทันการณ์ และทรงตระหนักดวี ่า การสื่อสารทางวิทยุเป็นสื่ออย่างดีที่จะช่วยให้บรรลุพระราชประสงค์ในเร่ืองนี้...” ไดท้ รงใช้เคร่ืองวิทยุตดิ ตอ่ ในข่ายวทิ ยตุ ารวจแห่งชาติ ซ่ึงมีศนู ย์ควบคุมขา่ ยใชส้ ญั ญาณเรียกว่า “ปทุมวัน” ในการใช้เคร่ืองวิทยุเพ่ือสื่อสารน้ัน ได้ทรงทดลองและตรวจสอบสายอากาศทุกชนิดเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการรับสง่ สัญญาณจากทห่ี ่างไกล โดยปราศจากเสียงรบกวน ไม่ว่าจะเสดจ็ พระราชดาเนิน ณ ท่ีใด โปรดเกล้าฯ ให้ผู้มีความรู้ และสนใจในเรื่องสายอากาศเป็นพิเศษเข้าเฝ้าฯ ถวายคาอธิบาย และพระราชทานกระแสพระราชดาริให้ไปทดลองค้นคว้าพัฒนาสายอากาศชนิดที่มีทิศทาง และอัตราขยายกาลังสัญญาณสูงเป็นพิเศษ แล้วโปรดเกล้าฯ พระราชทานแบบให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจนาไปผลิตใชง้ าน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ระบบการสื่อสารของหน่วยงานหนึ่งๆ ด้วย ในพุทธศักราช ๒๕๑๒ สมัยท่ียังไม่มีตาราเก่ยี วกับการพัฒนาสายอากาศใช้ในการติดตอ่ ทางวิทยุระบบ VHF/FM ทางไกลไดพ้ ระราชทานพระราชกระแสให้พลตารวจตรี สุชาติ เผือกสกนธ์ ศึกษาหาความรู้และพัฒนาสายอากาศเพือ่ การน้ี ได้ทรงทดลองการตดิ ต่อด้วยพระองค์เอง... อาจกล่าวได้ว่าในปัจจุบันนี้ ข่ายการส่ือสารระหว่างเครื่องบินพระท่ีนั่งกับผู้เกี่ยวข้องท้ังบนอากาศและภาคพื้นดินท่ีเกิดจากแนวกระแสพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีประสิทธภิ าพสูงมากเมื่อเคร่ืองบิน Take - off จะทรงติดต่อได้ทันทีและสามารถตดิ ตอ่ กับผู้เกี่ยวข้องได้ตลอดเส้นทางเสด็จ ไมเ่ กดิ ชอ่ งว่างขาดการตดิ ตอ่ เลย...” นอกจากพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวจะทรงสนพระราชหฤทัยในด้านปฏิบัติการส่อื สารแล้วยงั ทรงสนพระราชหฤทัยดา้ นงานช่าง เนื่องจากเคร่ืองรับ-ส่งวิทยุที่ทรงใชง้ านเกิดขัดข้องเป็นบางครั้ง เชน่ ส่งไม่ออกบ้างรับฟังได้ไม่ดีบ้าง มีเสียงรบกวนบ้าง ได้ทรงศึกษาสาเหตุของปัญหาขัดข้อง อุปกรณ์และเครื่องมือในการแก้ไข้

36จนทรงสามารถตรวจซ่อมปรับแตง่ เคร่ืองวิทยุให้ใช้การได้ดี ทรงปฏบิ ัตงิ านนี้ในตอนกลางคืน หลังเสร็จส้ินพระราชภารกิจประจาวันแล้ว “... บางครั้งผลเกิดข้ึนไม่เป็นไปตามตาราคู่มือ หรือเป็นสิ่งใหม่ท่ีตารามิได้กล่าวไว้พระองค์ท่านก็มิได้ย่อท้อยังคงทรงปฏิบัติการต่อไป จนกว่าจะประสบความสาเร็จ ซึ่งมีบางคร้ังได้ทรงพบตัวปัญหาเอาเมือ่ ตอนใกลส้ วา่ ง รปู ที่ 3914 ภาพขณะทรงวทิ ยุ ทม่ี า https://www.motorexpo.co.th/data/content/640_2016101813400456.jpg สบื คน้ เม่อื วนั ท่ี ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๖๐ พระราชกรณียกิจนานัปการที่ทรงบาเพ็ญตลอดระยะเวลากว่า ๗๐ ปี นับแต่เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบตั ิตราบจนปจั จุบัน แสดงให้เหน็ ถึงพระอัจฉริยภาพด้านการช่างและการวิศวกรรมของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เห็นได้จากผลงานจากฝีพระหัตถ์ ท่ีทรงไว้ต้ังแต่ทรงพระเยาว์ และพระราชกรณียกิจตา่ งๆ ท่ีเก้อื หนุนการสร้างสรรค์การช่าง แสดงให้เหน็ อย่างชดั เจนถงึ ความสนพระราชหฤทัย และพระอัจฉริยภาพในงานช่างและการวิศวกรรม จนได้กลายเป็นโครงการและสิ่งประดิษฐ์ต่างๆมากมายที่สร้างประโยชน์อยา่ งยง่ิ แกป่ ระเทศชาติและประชาชนชาวไทยอย่างแท้จรงิพระอัจฉริยภาพดา้ นดนตรี

37 รปู ที่ 40 ภาพขณะทรงแซกโซโฟน ท่มี า https://sites.google.com/site/myking014/phra-xacch-riy-phaph สบื ค้นเมื่อวนั ท่ี 16 พ.ย. 2560 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเปน็ คีตกวแี ละนักดนตรีท่ีชาวโลกยกย่อง ทรงพระปรีชาสามารถในการทรงดนตรี พระราชนิพนธ์เพลง และเรียบเรียงเสียงประสาน ทรงเป็นครูสอนดนตรีแก่ข้าราชบริพารใกล้ชิด และทรงซ่อมเครื่องดนตรีได้ด้วยพระองค์เอง รวมทั้งทรงเชี่ยวชาญในศิลปะแขนงต่างๆอย่างแทจ้ ริง สมกับท่ีพสกนกิ รชาวไทยน้อมเกลา้ น้อมกระหมอ่ มถวายพระราชสมญั ญาวา่ \"อัครศลิ ปนิ \" พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเริ่มเรียนดนตรีเม่ือพระชนมายุ ๑๓ พรรษา ขณะประทับอยู่ท่ีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ กับครูชาวอัลซาส ชื่อ นายเวย์เบรชท์ (Wey-brecht) โดยทรงเรียนเป่าแซกโซโฟนวชิ าการดนตรี การเขยี นโนต้ และสเกลตา่ ง ๆ ในแนวดนตรีคลาสสคิ ตอ่ มา จงึ เรมิ่ ฝึกดนตรีแจส๊ และทรงดนตรีสากล โดยทรงหัดเปา่ แซกโซโฟนกบั เพลงจากแผ่นเสียงของวงดนตรีท่ีมีฝีมือ เชน่ John Hodges และ SidneyBechet เปน็ ต้น จนทรงมคี วามชานาญจึงทรงเป่าสอดแทรกกบั แผ่นเสียงของนักดนตรที ่ีมีช่ือเสียง ได้เป็นอยา่ งดี ทรงโปรดดนตรีประเภท Dixieland Jazz มาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเครื่องดนตรีได้ดี หลายชนิด ทั้งประเภทเครื่องลม เช่น แซกโซโฟน คลาริเนต และประเภทเครื่องทองเหลือง เช่น ทรัมเปต รวมท้ังเปียโนและกีตาร์ท่ีทรงฝึกเพิ่มเติมในภายหลัง เพ่ือประกอบการพระราชนิพนธ์เพลงและเพื่อทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรสี ว่ นพระองค์ รูปที่ 41 ภาพขณะทรงดนตรี ทมี่ า http://www.thailandband.com/istory/views_story.php?I สืบคน้ เมือ่ วนั ท่ี 16 พ.ย. 2560 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเริ่มพระราชนิพนธ์เพลง เม่ือมีพระชนมพรรษาได้ ๑๘ พรรษา ในพ.ศ. ๒๔๘๙ ทรงพระราชนิพนธเ์ พลง \"แสงเทียน\" เปน็ เพลงพระราชนิพนธเ์ พลงแรกและจนถึงปัจจุบนั มีเพลงพระราชนิพนธ์ท้ังสิ้น ๔๘ เพลง ทุกเพลงล้วนมีทานองไพเราะ ประทับใจผู้ฟัง สอดคล้องกับเนื้อร้อง ซ่ึงมีคติ

38นานัปการ และเปน็ ส่วนสาคัญส่วนหน่ึงของชีวิตคนไทย ในยามท่ีบา้ นเมืองไม่สงบสุข ก็พระราชทานเพลงปลุกใจเพ่อื เป็นกาลังใจแก่ ข้าราชการ ทหาร พลเรือน และประชาชนผู้ปฏิบัติหน้าที่เพ่ือประเทศชาติมิให้เกิดความยอ่ ทอ้ ในการทาความดีต่อชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ตอ่ ตนเองและตอ่ สังคม ทรงต้ังสถานีวิทยุ อ.ส. ขน้ึ (อัมพรสถาน)เม่ือปี พ.ศ.๒๔๙๕ เพื่อเป็นส่ือกลางในการให้ความบันเทิง สารประโยชน์ และข่าวสารต่าง ๆ แก่ประชาชน ต่อมาได้โปรดเกล้าฯ ให้นักดนตรีรุ่นหนุ่ม ๆ มาเล่นปนกับรุ่นลายคราม ซึ่งเล่นดนตรีไม่ค่อยไหวตามอายุ ด้วยเหตุนี้จึงเกิดวงดนตรี \"อ.ส.วันศุกร์\" ขึ้น ปัจจุบันสถานีวิทยุ อ.ส. ได้ย้ายมาต้ังอยู่ในบริเวณ สวนจิตรลดา รูปท่ี 42 ภาพขณะร่วมทรงดนตรีกับนกั ดนตรใี นงาน ท่มี า https://weloverta.wordpress.com/tag สบื คน้ เมอ่ื วนั ท่ี 6 พ.ย 2560 ลักษณะพิเศษของ \"วงดนตรี อ.ส. วันศุกร์\" น้ีคือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงร่วมบรรเลงกับสมาชกิ ของวง ออกกระจายเสียงทางสถานีวิทยุเป็นประจาทุกวนั ศุกร์ เป็นการเปิดโอกาสให้พสกนิกรได้ติดต่อกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ง่ายขึ้น ทรงจัดรายการเพลงและทรงเลือกแผ่นเสียงเองในระยะแรกบางคร้ังกโ็ ปรดเกลา้ ฯ ให้มกี ารขอเพลงด้วยและจะทรงรบั โทรศพั ท์ดว้ ยพระองคเ์ อง ในช่วงเวลาเมื่อ ๒๐ ปีก่อนขณะท่ีสถานโี ทรทศั น์ยังไม่มีบทบาททางการบนั เทงิ มากเช่นในปัจจบุ นั นี้ \"วงดนตรี อ.ส. วันศุกร์\" จึงมสี ว่ นสรา้ งความรื่นเริงในหมู่ประชาชนผู้สนใจในยุคน้ันเป็นอย่างย่ิง นอกจากน้ีเม่ือเกิดเหตุการณ์มหาวาตภัย แหลมตะลุมพุก ได้อาศัยวงดนตรี อ.ส. ประกาศชักชวนประชาชนบริจาคทรัพย์ สิ่งของ ฯลฯ ช่วยผู้ประสบภัยทา้ ยสดุ จงึ กาเนิดมูลนธิ ิราชประชานเุ คราะห์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้เคร่ืองดนตรีเป็นสื่อผูกพันสถาบันพระมหากษัตริย์กับนิสิตนกั ศึกษา โดยเสด็จฯ ไปทรงดนตรีรว่ มกับนิสติ นักศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ตา่ ง ๆ รวมท้ังเป็นสือ่ กระชับสมั พันธไมตรีระหว่างประเทศกับนานาประเทศได้อย่างแน่น แฟ้นย่ิงขึ้น เช่นเม่ือคร้ังท่ีเสด็จฯ เยือนกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งมชี อ่ื ว่าเป็นแหล่งกาเนดิ ของนักดนตรีทีส่ าคญั และคีตกวีเอกของโลก ได้ยกย่องพระปรีชาสามารถด้านการดนตรีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโดยเฉพาะ คือ เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯเยือนประเทศสาธารณรัฐออสเตรีย อยา่ งเป็นทางการในเดอื นตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๗ วงดุรยิ างคซ์ ิมโฟนี ออเคสตร้า แห่งกรุงเวียนนาได้อัญเชิญเพลงพระราชนิพนธ์ชุด \" มโนราห์ \" \" สายฝน \" \" ยามเย็น \" \" มาร์ชราชนาวิก

39โยธิน \" และ \" มาร์ชราชวัลลภ \" ไปบรรเลง ณ คอนเสิร์ตฮอลล์ กรุงเวยี นนา เมื่อวันท่ี ๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๐๗พร้อมกันน้ีสถานีวิทยุกระจายเสียงของรัฐบาลออสเตรียไดส้ ่งกระจายเสียงเพลง และเสนอข่าวน้ีไปทั่วประเทศหลังจากน้นั อกี ๒ วนั คอื วันท่ี ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๗ รปู ที่ 43 ภาพขณะทรงแซกโซโฟนกับนักดนตรคี นอืน่ ๆ ทีม่ า https://weloverta.wordpress.com/tag/ สบื ค้นเม่อื วันที่ 6 พ.ย. 2560 นักดนตรีแจ๊สท่ีมีช่ือเสียงหลายคนของอเมริกา ช่ืนชมในพระปรีชาสามารถทางการดนตรีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นอย่างสูง เพราะทรงใช้เครื่องเป่าได้อย่างคล่องแคล่วทุกชนิด เมื่อวันท่ี ๗กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๓ พระองค์ได้เสด็จฯ ไปที่บ้านเทศมนตรีมหานครนิวยอร์ค ทรงดนตรีที่น่ัน หลังจากนน้ั “เบ็นนี กู๊ดแมน” ยอดนกั ดนตรีแจ๊สของอเมริกา ได้กราบบังคมทลู เชิญไปท่ีบา้ นของเขา นักดนตรที ่ีร่วมวงอยู่ดว้ ยกล่าวว่า “ทรงพระสาราญมากในคืนน้ัน ทรงเป็นกันเองกับพวกเรามาก เป็นวาระท่ีพวกเราจะจดจาไปชว่ั ชีวิต” รปู ท่ี 44 ภาพสถานบันดนตรแี ละศิลปะแหง่ กรงุ เวียนนาได้ถวายพระเกยี รตใิ หด้ ารงตาแหน่งสมาชกิ กติ ตมิ ศักดิ์ ที่มา http://goldpix.co/tag/thegreatestKingofThailand สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ 6 พ.ย. 2560 สถาบันดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนา(ปัจจุบันเปล่ียนญานะเป็นมหาวิทยาลัยการ ดนตรีและศิลปะการแสดง)ได้ถวายพระเกียรติ ให้ดารงตาแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ หมายเลขท่ี ๒๓ ดังปรากฏพระ

40ปรมาภิไธย \"ภูมพิ ลอดลุ ยเดช\" จารกึ บน แผน่ หนิ ออ่ นของสถาบนั อนั เกา่ แกข่ องยุโรปแหง่ นี้ โดยประธานสถาบันได้กล่าวสดุดีพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวในฐานะท่ีทรงเป็นผู้สร้างสัมพันธ์อันดียิ่งระหว่างดนตรีตะวัน ออกกับดนตรีตะวันตก และทรง พระราชนิพนธ์เพลงด้วยพระปรีชาสามารถ นับเปน็ คร้ังแรกท่ีพระมหากษัตริย์แห่งทวีปเอเชีย ทรงมีบทบาทสาคัญย่ิง ณ ศูนย์กลางแห่งการดนตรีในทวีปยุโรป ทรงเป็นชาวเอเชียพระองค์แรกท่ีทรงได้รับการถวาย พระเกียรติให้ดารงตาแหน่งสมาชิกกิตติมศักด์ิขณะที่ทรงมีพระชนมพรรษาเพียง ๓๗พรรษา พสกนิกรชาวไทยทุกคนไม่เพียงแต่ชื่นชมในพระเกียรติยศทางดนตรีที่ทรงได้รับจาก นานาประเทศเท่าน้ัน แต่ยังภาคภมู ใิ จ ในความสาเร็จจากการเสดจ็ พระราชดาเนินกระชับสัมพันธไมตรรี ะหว่างประเทศด้วย นอกจากทรงพระปรีชาสามารถในการพระราชนิพนธ์เพลง และทรงดนตรีแล้ว พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ยังทรงเป็น \"ครูใหญ่\" สอนดนตรีแก่แพทย์ ราชองครักษ์ และข้าราชบริพารใกล้ชิดซึ่งเล่นดนตรี ไม่เป็นเลย จนเลน่ ดนตรเี ปน็ สามารถบรรเลงในโอกาสพเิ ศษต่าง ๆ ได้ ตอ่ มา จงึ ได้เกดิ \"วงสหายพฒั นา\" มีสมเดจ็พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เป็นองคห์ วั หน้าวง ทางดนตรีไทยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเห็นว่าวิชาดนตรีไทยเป็นศิลปะที่ สาคัญของชาติสมควรที่จะได้รวบรวมเพลงไทยเดิมต่างๆ ไว้มิให้เสื่อมสูญและผันแปรไปจากหลักเดิม โดยมีการบันทึกโนต้ เพลงให้ถูกต้องละจัดพิมพ์ข้นึ ไว้เปน็ หลกั ฐาน เพราะในการบันทึกแนวเพลงเป็นโนต้ สากลแต่เดมิ นน้ั ยังมิได้มีการบนั ทึกไวอ้ ยา่ งครบถว้ นและจัดพิมพ์ให้เปน็ การสมบูรณ์ จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ กรมศลิ ปากรรับเรอ่ื งน้ไี ปดาเนินการ ทรงสละพระราชทรัพยส์ ่วนพระองค์ในการจัดพมิ พ์โนต้ เพลงไทยชดุ น้ี เป็นการรักษาศิลปะดนตรีอันสาคัญของไทยไว้มิให้เส่ือมสูญ และยังเป็นการเผยแพร่วิชาดนตรีของไทยออกไปในหมู่ประชาชนผู้สนใจใหเ้ ป็นท่ี รูจ้ กั แพรห่ ลายยงิ่ ข้นึ อกี ด้วย รปู ท่ี 4515 ภาพทรงพระดนตรีกับพระบรมราชนิ ี ท่ีมา https://www.pinterest.com/pin/315885361354881233/ สืบคน้ เมอื่ วันท่ี 6 พ.ย. 2560 จากบันทกึ การพระราชทานสัมภาษณ์แก่ส่ือมวลชนอเมริกันในรายการวิทยุ เสียงอเมริกา เม่ือวันท่ี 21มิถุนายน พ.ศ. 2503 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดารัสว่า ดนตรีนั้นเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตจิตใจของมวลมนษุ ย์ “...ดนตรีเป็นส่วนหน่ึงของข้าพเจ้า จะเป็นแจ๊สหรือไม่ใช่แจ๊สก็ตาม ดนตรีล้วนอยู่ในตัวทุกคน เป็นสว่ นท่ีย่ิงใหญ่ในชวี ติ คนเรา สาหรับข้าพเจ้า ดนตรีคือส่ิงประณีตงดงาม และทุกคนควรนิยมในคุณคา่ ของดนตรีทุกประเภท เพราะวา่ ดนตรีแต่ละประเภทตา่ งกม็ คี วามเหมาะสมตามแต่โอกาสและอารมณท์ ี่ตา่ ง ๆ กนั ไป...”

41พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเป็นสังคีตกวแี ละนักดนตรีท่ีชาวโลกยกย่อง ทรงพระปรีชาสามารถในการทรงดนตรี ทรงพระราชนิพนธ์เพลง แยกและเรียบเรียงเสียงประสาน ทรงเปน็ ครูสอนดนตรีแก่ข้าราชบริพารใกล้ชิดและทรงซ่อมเคร่ืองดนตรีได้ด้วย ตลอดจนทรงเชี่ยวชาญในศิลปะแขนงต่าง ๆ อย่างแท้จรงิ สมกับทีพ่ สกนิกรชาวไทยนอ้ มเกล้าฯ ถวายพระราชสมญั ญา “อคั รศิลปิน” “ดนตรีเป็นส่วนหนึง่ ของข้าพเจ้า จะเปน็ แจ๊สหรือไม่ใชแ่ จ๊สก็ตาม ดนตรีล้วนอยู่ในตวั ทุกคนเป็นส่วนที่ย่ิงใหญ่ในชีวิตคนเรา สาหรับข้าพเจ้าดนตรีคือส่ิงประณีตงดงามและทุกคนควรนิยมในคุณค่าของดนตรีทุกประเภทเพราะวา่ ดนตรีแตล่ ะประเภทตา่ งกม็ คี วามเหมาะสมตามแต่โอกาสและอารมณท์ ต่ี า่ งๆกนั ออกไป” ทรงเห็นวา่ ดนตรี นอกจากจะให้ความบันเทิงแล้ว ควรจะเปน็ ส่ือสร้างสรรค์ชักนาให้คนเปน็ คนดีของประเทศชาติและสังคมดังพระราชดารัสที่พระราชทานแก่คณะกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ณศาลาดสุ ิดาลยั เม่ือวนั ที่ ๑๖ ธนั วาคม พทุ ธศักราช ๒๕๒๔ มคี วามตอนหนึง่ ดงั นี้ “...การดนตรีจึงมีความหมายสาคัญสาหรับประเทศชาติสาหรับสังคม ถ้าทาดี ๆ ก็ทาให้คนเขามีกาลังใจจะปฏิบัตงิ านการก็เปน็ หนา้ ที่สว่ นหนึง่ ที่ใหค้ วามบันเทงิ ทาให้คนที่กาลังท้อใจมกี าลงั ใจขึ้นมาได้ คือเรา้ใจได้ คนกาลังไปทางหน่ึงทางที่ไม่ถูกต้องก็อาจจะดึงกลับมาในทางท่ีถูกต้องได้ ฉะนั้น ดนตรีก็มีความสาคัญอย่างหนง่ึ จึงพูดได้กับท่านท้ังหลายที่เกี่ยวข้องกับการดนตรีในรูปการณ์ต่าง ๆ ว่า มีความสาคัญและต้องทาให้ถูกต้องต้องทาให้ดี ถูกต้องในทางหลักวิชาการดนตรีอย่างหน่ึง และก็ถูกต้องตามหลักวิชาของผู้ท่ีมีศีลธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตก็จะทาให้เป็นประโยชน์อย่างมาก เป็นประโยชน์ท้ังต่อส่วนรวมท้ังส่วนตัวเพราะก็อย่างท่ีกล่าวว่าเพลงนี้มันเกิดความปีติภายในของตัวเองได้ความปีติในผู้อื่นได้ ก็เกิดความดีได้ความเสียก็ได้ ฉะน้ันก็ตอ้ งมีความระมดั ระวงั ใหด้ ี...” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเริ่มเรียนดนตรีเมื่อมีพระชนมายุ 13 พรรษา ขณะที่ประทับอยู่ท่ีประเทศสวติ เซอร์แลนด์ กับครูชาวอัลซาส ชอื่ นายเวย์เบรชท์ โดยทรงเรียนการเป่าแซกโซโฟน วชิ าการดนตรีการเขียนโน้ต และการบรรเลงดนตรสี ากลต่าง ๆ ในแนวดนตรีคลาสสคิ เปน็ เบื้องต้น ตอ่ มาจึงเริ่มฝึกดนตรีแจ๊สโดยทรงหัดเป่าแซกโซโฟนสอดแทรกกับแผ่นเสียงของนักดนตรีที่มีช่ือเสียงได้เป็นอย่างดี เช่น JohnnyHodges และ Sidney Berchet เป็นต้น จนทรงมีความชานาญ และทรงโปรดดนตรีประเภท Dixieland Jazzเปน็ อย่างมาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเคร่ืองดนตรีได้ดีหลายชนิด ท้ังประเภทเคร่ืองลม เช่น แซกโซโฟนคลาริเนต และประเภทเครื่องทองเหลือง เช่น ทรัมเป็ต รวมทั้งเปยี โน และกีตาร์ ท่ีทรงฝึกเพ่ิมเติมในภายหลังเพือ่ ประกอบการพระราชนพิ นธเ์ พลง และเพ่ือทรงดนตรรี ่วมกับวงดนตรีสว่ นพระองค์เพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ส่วนใหญ่ขณะประทับอยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และเม่ือเสด็จฯ นิวัติพระนครใหม่ ๆ น้ันเป็นเพลงในแนว \"บลูส์\" (Blues) ซ่ึงเปน็ สไตล์หน่ึงของดนตรีแจ๊ส ท่ีเริ่มเป็นทน่ี ิยมในสหรัฐต้ังแต่ราวปี พ.ศ. 2443 เสยี งโน้ตที่แปร่งหใู นแนวบลูส์ และช่วงจังหวะท่ีขดั ธรรมชาติของเพลงในบางคร้ัง ได้สร้างมติ ใิ หม่ใหแ้ ก่วงการเพลงในยคุ นน้ั เพลงบลู ส์ทีร่ าพนั ถงึ ความโศกเศรา้ และคับแค้นใจจึงแฝงไว้ด้วยคตธิ รรมของชวี ิตจริงอยดู่ ้วยเสมอ ดังเช่น บทพระราชนิพนธ์ \"ชะตาชีวติ \" ทรงพระราชนพิ นธ์เพลงนีข้ ณะท่ีเสดจ็ ฯ ไปทรงศึกษาต่อที่