Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมาย-ภาค-ก

กฎหมาย-ภาค-ก

Published by sarunphat.meth, 2021-07-25 13:12:33

Description: กฎหมาย-ภาค-ก

Search

Read the Text Version

101 ข้อสอบเคยให้มกี ารวเิ คราะห์รายได้ รายจ่ายขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ 1. มหาเศรษฐีบริจาคเงินจานวน 100 ล้านบาทแก่องค์การบริหารสว่ นตาบล ถือว่าเปน็ รายไดข้ อง อบต น้ันๆหรือไม่ ก. ไมจ่ ัดเปน็ รายได้ขององค์การบรหิ ารส่วนตาบลนนั้ เพราะเงนิ บริจาคไม่นับเป็นรายได้ ข. ไมจ่ ดั เป็นรายไดข้ ององคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลนั้น เพราะต้องนาเงนิ ไปดาเนินการ แบบมลู นิธิ ค. เปน็ รายได้ขององค์การบรหิ ารสว่ นตาบลน้นั ตามกฎหมายว่าดว้ ยเรอ่ื งรายได้ของ อบต ง. เปน็ รายได้ขององค์การบรหิ ารสว่ นตาบลน้นั แต่ตอ้ งไมเ่ กินจานวนหนง่ึ ลา้ นบาท ส่วนท่ีเหลือนาเงินดังกลา่ วไปสนบั สนนุ มลู นิธกิ ารกุศลภายในเขตอานาจขององค์การ บรหิ ารสว่ นตาบล คาตอบคอื ค จัดเปน็ รายไดต้ ามกฎหมาย คือเข้าลกั ษณะในข้อ 5 ไดแ้ ก่ เงินหรอื ทรพั ย์สินทม่ี ี ผอู้ ทุ ิศใหเ้ พยี งแต่เอาเขาจานวนเงนิ มากมายเกนิ ความร้สู ึกของคนทั่วไปมาหลอกเพื่อใหส้ ับสน หรอื พะวง และใช้ข้อ ก. มาหลอกหลายคน โดยใช้คาวา่ เงินบริจาคให้มคี นสับสน เพราะมีคน จานวนหนง่ึ กไ็ มเ่ ขา้ ใจว่าเงนิ บรจิ าค กบั เงนิ อุทศิ ให้ แตกตา่ งกันตรงไหน ทั้งท่ีในความเป็นจริง เหมอื นกนั คือเงนิ ท่ีคนอนื่ ให้มานน่ั เอง อุทิศให้ บริจาคให้ หยบิ ยน่ื ให้ แบ่งให้ ปนั ให้ = เอาให้

102 องค์การบริหารสว่ นตาบล (อบต) องค์การบรหิ ารส่วนตาบลมฐี านะเป็นนิตบิ คุ คลและเป็นราชการบรหิ ารส่วนทอ้ งถิ่น พ.ร.บ.ตวั น้ีเองเปน็ อกี ตัว ท่มี กี ารแก้ไขใหม่ ประกาศใช้ ในวนั ที่ 16 เมษายน 2562 สภาองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล สภาองค์การบริหารสว่ นตาบล ประกอบดว้ ย อายไุ มต่ ่ากว่าสามสิบหา้ ปีนับถึงวันเลือกต้งั สมาชกิ องคก์ ารบริหารสว่ นตาบล หมบู่ า้ นละ สาเรจ็ การศึกษาไมต่ า่ กวา่ ระดับ ม.ปลายหรอื 2 คน เลอื กต้ังจากราษฎรผูม้ ีสิทธิเลอื กต้ังใน เทยี บเท่า หรือเคยเปน็ สมาชกิ สภาตาบล แตล่ ะหมบู่ ้านของเขตองคก์ ารบรหิ ารสว่ น สมาชกิ สภาท้องถ่ิน ผบู้ ริหารท้องถ่นิ หรอื ตาบลนัน้ ๆ (น่ีคือเนอ้ื หา พ.ร.บ. เกา่ ) สมาชกิ รฐั สภา (อายุ 30 ปี นต้ี วั เดิม ยกเลิก) กรณีที่ตาบลใด มีหมูบ่ า้ นเดยี ว ใหม้ ี ไม่เป็นผมู้ ีพฤตกิ รรมในทางทจุ ริตหรือพน้ จาก สมาชกิ สภา อบต จานวน 6 คน ตาแหนง่ สมาชกิ สภาท้องถ่นิ หรือคณะผู้บรหิ าร กรณที ตี่ าบลใด มีสองหมู่บ้าน ใหม้ สี มาชกิ เพราะเหตมุ ีสว่ นได้เสีย ไม่ว่าโดยตรงและออ้ ม สภา อบต หมูบ่ ้านละ 3 คน (รวม 6 คน) ในสัญญาไม่ถงึ 5 ปีนับถึงวนั รบั สมัครเลอื กตงั้ กาหนดอายคุ ราวละ 4 ปี นบั แต่วนั เลือกตงั้ มีวาระคราวๆละ 4 ปี นับตง้ั แต่วนั เลือกต้ัง นายก อบต อาจแต่งต้งั รองนายก อบต ได้ไมเ่ กิน 2 คน และเลขานุการนายก อบต ได้ 1 คน เนื้อหาทอี่ ่านดา้ นบนนี้ เป็นตัวเดิมก่อนการแก้ไข ซง่ึ ไดย้ กเลกิ ไปแลว้ ในปี 2562 ใหศ้ กึ ษาเปรียบเทยี บตัวใหม่ ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2562 ดังตอ่ ไปน้ี พระราชบญั ญตั ติ ัวอ่นื ๆ หรอื อปท อ่นื ๆ เขาไมม่ ีการแกไ้ ขจานวนสมาชกิ สภาฯ ในปี 2562 ไมม่ ีเลย ใช้จานวนเท่าเดิม ยกเวน้ สภา อบต เทา่ น้ัน ท่เี ปลีย่ นจาก เคยใหโ้ ควตาหมู่บา้ นละ 2 คน ปจั จบุ นั ปรบั แก้ลดลงเหลือหมู่บา้ นละคนเท่านั้น เรามาดูภาษาทางการ และอธบิ ายเพ่มิ เตมิ เปน็ ภาษางา่ ยๆให้เขา้ ใจในหนา้ ถัดไป

103 แก้ไขจานวนสมาชกิ สภา อบต ตามกฎหมายใหม่ พ.ศ. 2562 ทไ่ี ด้ศึกษามาหน้าก่อนๆนัน้ ในชว่ งแรกๆ นน่ั เปน็ ตัวเดมิ ท่ใี ช้กันมานานแลว้ และมีการ แก้ไขใหม่ในปี 2562 ดังทีไ่ ด้กลา่ วไปน้ัน ในวันท่ี 16 เมษายน 2562 ควรศึกษาตัวเดมิ ใหร้ ู้ไว้ และศกึ ษาตัวใหมน่ ี้ เปรียบเทยี บกนั เพ่อื ให้มคี วามรู้จริง ท้ังสองรูปแบบ เก่า และ ใหมน่ นั่ เอง สภาองค์การบริหารส่วนตาบลประกอบด้วยสมาชิกสภาองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล จานวนเขตเลือกตง้ั ละหน่ึงคน ซงึ่ เลือกตัง้ ข้นึ โดยราษฎรผูม้ สี ิทธเิ ลอื กตง้ั ในแตล่ ะเขตเลือกตงั้ ในเขตองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลนนั้ ให้ถือเขตหมบู่ ้านเปน็ เขตเลอื กตงั้ เว้นแตห่ มูบ่ ้านใดมีราษฎรตามหลกั ฐานการทะเบียนราษฎร ไม่ถงึ ยีส่ บิ หา้ คน ใหร้ วมหมูบ่ า้ นน้ันกบั หมูบ่ า้ นท่มี พี ้นื ทตี่ ิดตอ่ กันและเมื่อรวมกันแล้วจะมรี าษฎร ถึงย่สี บิ หา้ คนเปน็ เขตเลือกตง้ั เดยี วกนั อธบิ ายให้เข้าใจภาษากฎหมาย : ภาษากฏหมายน้ีแปลวา่ อะไร ใหถ้ อื เขตหมบู่ ้าน เป็นเขตเลือกต้งั ก็แปลว่า หมู่บา้ นละ 1 เขตไง หรอื ใหเ้ ลือกสมาชิกสภาได้หม่บู ้านละคนนนั่ เอง ยกเว้นหม่บู ้านใดทม่ี ไี มถ่ งึ 25 คน จึงจะใหไ้ ปรวมกบั หมู่บ้านอื่นๆทม่ี เี ขต ตดิ กนั ให้รวมกันมรี าษฏรถึง 25 คน ก็จะนับเปน็ หนึง่ เขตเลอื กตั้งนน่ั เอง การนับจานวนราษฎรดังกลา่ วให้นบั ณ วนั ท่ี ๑ มกราคม ของปที ม่ี ีการเลือกตงั้ การรวมหมูบ่ ้านเป็นเขตเลือกต้งั ใหน้ ายอาเภอเปน็ ผดู้ าเนนิ การและประกาศให้ ประชาชนทราบภายในวันที่ ๓๑ มกราคม ของปีที่มกี ารเลือกตั้ง เวน้ แต่เปน็ กรณี ทีเ่ ป็นการเลือกต้งั แทน ตาแหน่งทว่ี ่าง หรือมีการเลอื กต้งั ภายในเดือนมกราคม ใหถ้ ือเขตเลือกตงั้ ที่ได้ประกาศไว้ในการเลือกตง้ั ครั้งสดุ ท้าย

104 องคก์ ารบริหารส่วนตาบลใดมีเขตเลือกตัง้ ไม่ถึงหกเขตเลอื กต้งั ใหส้ ภาองคก์ ารบริหาร ส่วนตาบลน้นั ประกอบดว้ ยสมาชกิ จานวนหกคน ตามหลักเกณฑด์ ังตอ่ ไปนี้ (๑) อบต ทีม่ ีหนงึ่ เขตเลอื กตั้ง ให้มสี มาชิกสภา อบต 6 คน (๒) อบต ที่มสี องเขตเลอื กตงั้ ให้มสี มาชิกสภา อบต เขตละ 3 คน (๓) อบต ทม่ี ีสามเขตเลอื กตัง้ ให้มสี มาชิกสภา อบต เขตละ 2 คน (๔) อบต ทมี่ ีส่ีเขตเลอื กต้ัง ให้มีสมาชสิ ภา อบต เขตละ 1 คน สองเขตเลือกที่มีจานวน ราษฎรมากที่สดุ ให้มสี มาชกิ เพิม่ ข้นึ อีกเขตละ 1 คน (๕) อบต ทม่ี ีหา้ เขตเลอื กตง้ั ให้มสี มาชิกสภา อบต เขตเลือกตั้งละ 1 คน เขตเลือกตง้ั ทีม่ ีจานวนราษฎรมากทีส่ ดุ ให้มสี มาชกิ เพ่มิ ข้ึนอกี 1 คน เกรด็ ความรู้เปรยี บเทยี บความแตกตา่ ง ถ้าเปน็ พ.ร.บ. ตัวเดิม ใช้สอบทอ้ งถน่ิ ปี 2557 และ 2560 1. อบต นัน้ มี 1 หมูบ่ า้ น จะได้ หมบู่ ้านละ 6 คน รวมมีสมาชกิ สภา อบต 6 คน 2. อบต น้ัน มี 2 หมู่บ้าน จะได้ หมบู่ า้ นละ 3 คน รวมมสี มาชกิ สภา อบต 6 คน 3. อบต นัน้ มี 3 หมบู่ ้าน จะได้ หมบู่ า้ นละ 2 คน รวมมสี มาชกิ สภา อบต 6 คน 4. อบต นั้น มี 4 หมูบ่ า้ น จะได้ หมู่บา้ นละ 2 คน รวมมสี มาชิกสภา อบต 8 คน 5. อบต นนั้ มี 5 หม่บู า้ น จะได้ หมูบ่ า้ นละ 2 คน รวมมีสมาชกิ สภา อบต 10 คน 6. อบต นัน้ มี 6 หม่บู า้ น จะได้ หมู่บ้านละ 2 คน รวมมีสมาชกิ สภา อบต 12 คน ถา้ เปน็ พ.ร.บ. ตัวปัจจุบนั ใชส้ อบทอ้ งถน่ิ ปี 2562 - 2564 1. อบต นัน้ มี 1 หมบู่ ้าน จะได้ หมู่บา้ นละ 6 คน รวมมสี มาชิกสภา อบต 6 คน 2. อบต นั้น มี 2 หมู่บ้าน จะได้ หมูบ่ า้ นละ 3 คน รวมมีสมาชิกสภา อบต 6 คน 3. อบต นัน้ มี 3 หมบู่ ้าน จะได้ หม่บู ้านละ 2 คน รวมมสี มาชกิ สภา อบต 6 คน 4. อบต นัน้ มี 4 หมู่บ้าน จะได้ หมู่บ้านละ 1 คน รวมมีสมาชิกสภา อบต 6 คน (สองมีหมู่บ้านท่มี ีราษฏรเยอะกวา่ ได้ 2 คน อีกสองหมูบ่ ้านก็ได้ 1 คน) 5. อบต นั้น มี 5 หม่บู ้าน จะได้ หมู่บ้านละ 1 คน รวมมสี มาชิกสภา อบต 6 คน (หมูบ่ า้ นท่ีมรี าษฏรเยอะทีส่ ุด ได้ 2 คน อีกสหี่ มูบ่ า้ น ก็จะได้ 1 คน) 6. อบต นั้น มี 6 หมู่บ้าน จะได้ หมูบ่ ้านละ 1 คน รวมมสี มาชกิ สภา อบต 6 คน

105 แนวขอ้ สอบทน่ี ่าสนใจ สาหรบั การอัพเดตข้อมลู กฎหมายใหม่ พ.ศ. 2562 1. ข้อใดกลา่ วถกู ตอ้ งเกี่ยวกบั การแบง่ เขตเลือกต้งั สมาชิกสภาองค์การบรหิ ารส่วนตาบล ก. ใหถ้ ือเขตหม่บู า้ นเปน็ เขตเลอื กต้ัง ข. ใหน้ บั จานวนราษฏรแบง่ เขตเลือกตง้ั ค. ใหน้ บั จานวนหมบู่ ้านเพ่อื แบง่ เขตเลือตั้ง ง. ถูกทกุ ขอ้ 2. สภาองคก์ ารบริหารส่วนตาบลใดมหี นง่ึ หม่บู า้ นใหม้ สี มาชกิ สภาฯ จานวนเทา่ ใด ก. หมูบ่ ้านละ 1 คน ข. จานวนหมบู่ า้ นละ 2 คน ค. หม่บู า้ นละ 3 คน ง. หม่บู า้ นละ 6 คน 3. สภาองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลใดมสี องหมูบ่ า้ นให้มีสมาชิกสภาฯ จานวนเท่าใด ก. หมบู่ า้ นละ 1 คน ข. หมู่บา้ นละ 2 คน ค. หม่บู า้ นละ3 คน ง. หมู่บา้ นละ 6 คน 4. หมบู่ ้านทมี่ ีราษฏรไม่ถึง 25 คน ให้ดาเนนิ การแบง่ เขตเลอื กตั้งสภาท้องถิ่นอย่างไร ก. ไม่นับหมบู่ า้ นนน้ั เป็นเขตเลือกตง้ั ข. ใหถ้ ือหมู่บ้านน้นั เป็นหนงึ่ เขตเลอื กต้งั ค. นาไปรวมกบั หมบู่ า้ นอื่นทมี่ ีไม่ถึง 25 คน เพอ่ื ให้ถึงจานวนไม่น้อยกวา่ 25 คน ง. รวมกบั หมู่บา้ นทีม่ พี ้ืนท่ตี ิดต่อกนั ให้ถงึ จานวน 25 คน ถือเป็นหนง่ึ เขตเลอื กตงั้ 5. ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ งเก่ียวกับจานวนสมาชิกสภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลทปี่ ระกอบ ด้วยหา้ หมบู่ า้ น ก. มีสมาชิกสภาฯ ได้ 5 คน ข. มีสมาชิกสภาฯ ไดไ้ มน่ ้อยกว่า 6 คน ค. มีสมาชกิ สภาฯ ได้หมบู่ า้ นละ 1 คน ง. มสี มาชิกสภาฯ หม่บู ้านละ 1 คน โดยหม่บู า้ นทม่ี รี าษฏรเยอะทส่ี ดุ มีเพิม่ อีก 1 คน เฉลย 1. ก 2. ง 3. ค 4. ง 5. ง

106 6. สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลทปี่ ระกอบด้วยสีห่ ม่บู ้านจะมีสมาชิกสภาฯ ไดก้ ค่ี น ก. หมู่บ้านละ 1 คน รวม 4 คน ข. หมู่บ้านละ 2 คน รวม 8 คน ค. หมู่บา้ นละ 1 คน โดยใหส้ องหม่บู ้านทีม่ ีราษฏรเยอะที่สดุ ได้เพมิ่ อกี หมบู่ า้ นละคน ง. หมู่บา้ นละ 1 คน โดยใหห้ นง่ึ หมู่บ้านทม่ี ีราษฏรเยอะทสี่ ุดได้เพ่ิมอกี สองคนรวม 6 คน 7. สภาองคก์ ารบริหารส่วนตาบลท่ีประกอบด้วยแปดหมบู่ ้านจะมีสมาชิกสภาองค์การ บรหิ ารสว่ นตาบลได้รวมกค่ี น ก. 6 คน ข. 8 คน ค. 10 คน ง. 12 คน เฉลย 6. ค 7. ข ยา้ ! อายุของผทู้ จี่ ะเป็นนายก อบต ได้ ปัจจุบนั ปรบั แกเ้ ปน็ 35 ปี แลว้ นะ ให้มีผลบังคบั ใชต้ ั้งแต่ 17 เมษายน 2562 ไม่ใช่ 30 ปี ดังหนา้ กอ่ นน้แี ล้ว หนา้ ทขี่ องสภาองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล 1. เหน็ ชอบแผนพัฒนาองค์การบรหิ ารส่วนตาบล เพอื่ เปน็ แนวทางในการบริหารกจิ การของ องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล 2. พจิ ารณาและให้ความเห็นชอบรา่ งขอ้ บญั ญัติองค์การบริหารส่วนตาบล รา่ งข้อบัญญตั ิ งบประมาณรายจ่ายประจาปี และรา่ งข้อบญั ญัติงบประมาณรายจา่ ยเพมิ่ เตมิ 3. ควบคุมการปฏิบตั ิงานของนายกองค์การบรหิ ารส่วนตาบลใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย นโยบาย แผนพฒั นาองค์การบริหารสว่ นตาบล ขอ้ บัญญัติ ระเบยี บ และ ข้อบงั คับของทางราชการ ประธานสภาและรองประธานสภาองคก์ ารบริหารส่วนตาบล เลอื กมาจากสมาชิกสภาองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล โดยให้นายอาเภอเป็นผู้แต่งตัง้ ประธานและรองประธาน ตามมติของสภาฯ

107 การประชมุ สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล ในปีหนึ่งให้มสี มัยประชุมสามญั สองสมัยหรอื หลายสมยั แล้วแต่สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ น ตาบลจะกาหนด แตต่ อ้ งไมเ่ กนิ สส่ี มัย วนั เร่มิ สมยั ประชุมสามัญประจาปใี ห้สภาองค์การบรหิ ารส่วนตาบลกาหนด นายอาเภอตอ้ ง กาหนดให้มกี ารประชมุ ครั้งแรกภายใน 15 วัน นับตง้ั แต่วันประกาศผลการเลอื กต้ัง และให้ท่ี ประชมุ เลอื กประธานสภาและรองประธานสภา ในกรณที ี่ไม่อาจจัดไดต้ ามกาหนดหรือไมอ่ าจเลอื ก ประธานได้ ให้นายอาเภอเสนอผ้วู า่ ราชการจังหวัดใหม้ คี าสงั่ ยบุ สภาองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล ในสมัยประชุมหนึ่งมีกาหนดไม่เกินสิบห้าวัน ถ้าจะขยายเวลาออกไปอีกจะต้องได้รับ อนญุ าตจากนายอาเภอ นอกจากสมัยประชมุ สามญั แล้ว เม่ือเหน็ วา่ เป็นการจาเป็น สมาชกิ ไม่น้อย กว่าก่ึงหนง่ึ อาจทาคาร้องยื่นตอ่ นายอาเภอขอเปิดประชุมวิสามัญได้ไมเ่ กนิ สบิ ห้าวัน องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลอาจทากจิ การเหลา่ นไี้ ด้ (1) ใหม้ นี ้าเพ่ือการอุปโภค บริโภค และการเกษตร (2) ใหม้ ีและบารงุ การไฟฟา้ หรือแสงสว่างโดยวธิ ีอืน่ (3) ใหม้ ีและบารงุ รักษาทางระบายน้า (4) ใหม้ แี ละบารงุ สถานทีป่ ระชุม การกีฬา การพกั ผอ่ นหย่อนใจและสวนสาธารณะ (5) ใหม้ ีและส่งเสรมิ กลมุ่ เกษตรกรและกจิ การสหกรณ์ (6) ส่งเสรมิ ให้มอี ุตสาหกรรมในครอบครวั (7) บารุงและส่งเสรมิ การประกอบอาชีพของราษฎร (8) การค้มุ ครองดแู ลรักษาทรพั ยส์ ินอนั เป็นสาธารณะสมบตั ิของแผน่ ดนิ (9) หาผลประโยชน์จากทรพั ยส์ ินขององค์การบริหารส่วนตาบล (10) ให้มตี ลาด ทา่ เทียบเรอื และทา่ ข้าม (11) กจิ การเกยี่ วกบั การพาณชิ ย์ (12) การท่องเท่ยี ว (13) การผังเมือง

108 อานาจหน้าท่ีขององค์การบรหิ ารสว่ นตาบล 1. จัดให้มแี ละบารุงรกั ษาทางนา้ และทางบก “(๑/๑) รกั ษาความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย การดแู ลการจราจร และส่งเสริมสนับสนนุ หนว่ ยงานอ่นื ในการปฏิบัตหิ นา้ ทดี่ งั กล่าว ” 2. รักษาความสะอาดของถนน ทางน้า ทางเดนิ และที่สาธารณะ รวมทั้งกาจดั มลู ฝอยและ ส่ิงปฏกิ ลู 3. ป้องกันโรคและระงบั โรคตดิ ตอ่ 4. ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั 5. จดั การ ส่งเสริมและสนบั สนุนการจดั การศกึ ษา ศาสนา วฒั นธรรมและการฝึกอบรม ให้ แก่ประชาชน รวมท้งั การจัดการหรอื สนับสนนุ การดูแลและพฒั นาเดก็ เล็กตามแนวทางท่ี เสนอแนะจากกองทนุ เพื่อความเสมอภาคทางการศกึ ษา 6. สง่ เสริมการพัฒนาสตรี เดก็ เยาวชน ผูส้ ูงอายุ และผพู้ กิ าร 7. คมุ้ ครอง ดแู ล และบารุงรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม 8. บารุงรกั ษาศิลปะ จารีตประเพณี ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ และ วัฒนธรรมอันดีของท้องถิน่ 9. ปฏิบตั ิตามหน้าทอ่ี นื่ ตามทีท่ างราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรือบคุ ลากร ใหต้ ามความจาเปน็ และสมควร ข้อมลู ควรรู้ พ.ร.บ. ใหม่ ปี 2562 มีการเพมิ่ 1/1 เขา้ มาและมีเปล่ียน ข้อ 5 เพราะของเกา่ ระบุหนา้ ทีไ่ ว้แคว่ ่า 5. ส่งเสรมิ การศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม แตส่ งั เกตวา่ ขอ้ 5 ตัวใหมน่ ี้ มกี ารเพ่ิมรายละเอยี ดท่ีมากข้นึ โดยเฉพาะมีคาว่า “กองทนุ เพื่อความเสมอภาคทางการศกึ ษา” เพราะกองทนุ นี้ เพ่ิงต้ังขนึ้ มาในปี 2561 นน่ั เอง และมีบทบาทตอ่ การทางานของ อบต ด้วย ขอ้ มลู สาคญั ควรรูน้ ะ สอบขา้ ราชการต้องรู้ โดยเฉพาะสายการศกึ ษา (ครผู ู้ช่วย / นกั วิชาการศกึ ษา) กองทนุ เพอ่ื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา จัดตง้ั ขึ้นมาและประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ลงวนั ท่ี 13 พฤษภาคม 2561 โดยให้มาสนับสนุนการจดั การศกึ ษาของหน่วยงานต่างๆ ทัง้ รัฐ เอกชน ประชาสงั คม ซึง่ จะมกี องทุนในการดาเนินงานเหล่านน้ั ด้วยนน่ั เอง มกี ารต้ังคณะกรรมการกองทุนด้วย โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิ เปน็ ประธานกรรมการ

109 รายไดข้ ององค์การบริหารส่วนตาบล 1. รายไดจ้ ากทรัพยส์ นิ ขององคก์ ารบริหารสว่ นตาบล 2. รายได้จากสาธารณปู โภคขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล 3. รายไดจ้ ากกจิ การเก่ยี วกับการพาณิชยข์ ององค์การบริหารส่วนตาบล 4. ค่าธรรมเนียม คา่ ใบอนญุ าต และคา่ ปรับตามที่มีกฎหมายบญั ญัตไิ ว้ 5. เงนิ และทรัพย์สนิ อ่ืนทีม่ ผี ูอ้ ทุ ิศให้ 6. รายได้อื่นตามท่ีรฐั บาลหรอื หนว่ ยงานของรฐั จัดสรรให้ 7. เงินอุดหนนุ จากรัฐบาล 8. รายได้อ่นื ตามที่จะมกี ฎหมายกาหนดให้เปน็ ขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลอาจกู้เงนิ จาก กระทรวง ทบวง กรม องค์การ หรอื นิตบิ คุ คลตา่ งๆเมือ่ ไดร้ บั อนุญาตจากสภาองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล รายไดข้ ององคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล ใหไ้ ด้รบั ยกเวน้ ไมต่ อ้ งเสียภาษโี ดยการ ตราเปน็ พระราชกฤษฎกี าตามประมวลรัษฎากร รายจา่ ยขององค์การบริหารส่วนตาบล 1. เงินเดอื น 2. ค่าจ้าง 3. เงินค่าตอบแทนอ่นื ๆ 4. คา่ ใชส้ อย 5. ค่าวสั ดุ 6. คา่ ครุภัณฑ์ ขอ้ 10 นกี่ ็ปรับแกใ้ หม่ ในปี 2562 7. ค่าท่ดี นิ สงิ่ กอ่ สรา้ ง และทรพั ยส์ นิ อืน่ ๆ 8. คา่ สาธารณปู โภค 9. เงินอุดหนุนหนว่ ยงานอน่ื 10. รายจ่ายอื่นใดตามทจี่ าเป็นต้องจ่ายในการปฏบิ ัติหน้าท่หี รอื ตามขอ้ ผกู พนั หรือรายจา่ ย ตามทีม่ กี ฎหมายหรือระเบยี บของกระทรวงมหาดไทยกาหนดไว้

110 เนื้อหาอีกหนงึ่ ตวั สาคญั ท่เี ปลี่ยนแปลงและมโี อกาสเปน็ ข้อสอบ สมาชิกสภา อบต อายุ 25 ปี ขึน้ ไป / นายก อบต ตอ้ งมอี ายุ 35 ปี ขน้ึ ไป ถ้ามีขอ้ สงสยั เก่ียวกับสมาชกิ สภาฯ หรือ นายก อบต วา่ ขาดคุณสมบัติหรือ แกไ้ ขใหม่ อาจมลี กั ษณะฝา่ ฝืนต่างๆ ไมส่ ามารถเปน็ ไดแ้ ลว้ (ขอ้ สงสยั ) ใหน้ ายอาเภอ พ.ศ. 2562 สอบสวนใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายใน 60 วัน เมือ่ ไดร้ ับแจง้ เก่ยี วกับข้อสงสัยดังกล่าว และให้นายอาเภอวนิ จิ ฉัยแล้วเสร็จภายใน 30 วนั นบั แต่วันทสี่ อบสวนแลว้ เสรจ็ หากไมส่ ามารถสอบสวนให้แลว้ เสรจ็ ในเวลาทีก่ าหนดไว้ ใหข้ ยายไดอ้ ีกไมเ่ กิน 30 วนั น่ันคอื ตัวใหม่ มีกาหนดเวลาชัด ถ้าเปน็ ตัวเกา่ จะไม่กาหนดวันเวลา แต่จะบอกประมาณวา่ “ให้นายอาเภอสอบสวนและวินิจฉัยโดยเรว็ ” ตัวอย่างแนวข้อสอบ กรณีท่มี ีขอ้ สงสัยวา่ สมาชิกสภาองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลขาดคุณสมบัติ ให้เปน็ อานาจหนา้ ทข่ี องใครในการสอบสวน ก. นายกองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล ข. ประธานสภาองค์การบรหิ ารส่วนตาบล ค. นายอาเภอ ง. ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ตอบ ค. นายอาเภอ (เพราะนายอาเภอเป็นผู้กากับดูแล สภา อบต) กรณีมขี อ้ สงสยั สมาชกิ สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลขาดคุณสมบตั ผิ มู้ ีอานาจต้องดาเนินการ สอบสวนอย่างไร ก. สอบสวนโดยเรว็ ข. สอบสวนโดยทนั ที ค. สอบสวนภายใน 30 วนั ง. สอบสวนภายใน 60 วัน ตอบ ง. สอบสวนภายใน 60 วัน นับแตว่ ันมีข้อสงสัยหรือได้รับข้อรอ้ งเรยี นสงสัยน้ัน

111 พระราชบัญญตั ิเทศบาล พระราชบัญญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496 ให้ไว้ ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2496 และทแ่ี กไ้ ข เพิ่มเติมถึงฉบับที่ 14 ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา 16 เมษายน 2562 ใหร้ ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยรกั ษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้ จอมพล ป.พิบูลสงคราม ผูร้ บั สนองพระบรมราชโองการฉบับแรก พลเอกประยุทธ์ จนั ทร์โอชา ผรู้ บั สนองพระบรมราชโองการฉบับที่ 14 พ.ศ.2562 การจัดตง้ั เทศบาล เมอื่ ทอ้ งถน่ิ ใดมสี ภาพอันสมควรยกฐานะเป็นเทศบาลให้จดั ตง้ั ท้องถนิ่ น้ันๆเป็นเทศบาลตาบล เทศบาลเมอื ง หรือเทศบาลนคร ให้เทศบาลเปน็ ทบวงการเมือง **ทบวงการเมอื ง หมายถึง หนว่ ยราชการทม่ี ฐี านะเปน็ นติ ิบุคคลของราชการสว่ นกลาง ราชการสว่ นภูมภิ าค หรือราชการสว่ นท้องถน่ิ ** เม่ือมีการจดั ตัง้ เทศบาล ให้เลือกตั้งสมาชกิ สภาเทศบาลและนายกเทศมนตรีตามกฎหมาย ภายใน สีส่ บิ หา้ วนั นบั แตว่ นั ท่ไี ดจ้ ัดตั้งเปน็ เทศบาล การเปลย่ี นชื่อเทศบาลหรอื การเปล่ยี นแปลงเขตเทศบาล กระทาได้โดยประกาศกระทรวง มหาดไทย รู้จกั กบั เทศบาล 3 ประเภท เทศบาลนคร ไดแ้ ก่ ท้องถน่ิ ชมุ นุมชนทม่ี รี าษฎรตั้งแต่ 50,000 คนขน้ึ ไปทั้งมรี ายได้พอควร แกก่ ารท่ีจะปฏิบตั หิ น้าท่อี นั ต้องทาตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี เทศบาลเมอื ง ได้แก่ ท้องถน่ิ อนั เปน็ ทีต่ ั้งศาลากลางจงั หวดั หรอื ท้องถ่ินชมุ นมุ ชนท่มี รี าษฎร ตง้ั แต่ 10,000 คนข้นึ ไป ท้งั มรี ายไดพ้ อควรแก่การที่จะปฏิบตั หิ นา้ ทีอ่ นั ตอ้ งทาตามพระราชบัญญตั นิ ้ี เทศบาลตาบล ได้แก่ ทอ้ งถิน่ ซ่ึงมีการประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเปน็ เทศบาล ตาบล ประกาศกระทรวงมหาดไทยน้ันให้ระบุช่อื และเขตเทศบาลไวด้ ้วย

112 องค์การเทศบาล ประกอบด้วยสองส่วน คือ สภาเทศบาล และ นายกเทศมนตรี สภาเทศบาล นายกเทศมนตรี - สมาชกิ สภาเทศบาลมาจากการเลือกตง้ั - นายกเทศมนตรมี าจากการเลือกตงั้ - สภาเทศบาลตาบล มสี มาชิก 12 คน - มีอายไุ ม่ตา่ กว่า 35 ปี นบั ถงึ วนั เลอื กตง้ั - สภาเทศบาลเมอื ง มีสมาชิก 18 คน (ส่วนอายุไมต่ า่ กวา่ 30 ปีบรบิ รู ณใ์ นวัน - สภาเทศบาลนคร สมาชิก 24 คน เลือกตั้ง น่ีเป็นกฎหมายเกา่ ยกเลิกแล้ว) - สภาเทศบาล อายุ 4 ปี นบั แตว่ ันเลือกต้ัง - ประธานสภา และ รองประธานสภา ผ้วู ่า - สาเรจ็ การศกึ ษาไมต่ ่ากวา่ ปรญิ ญาตรหี รือ เทียบเทา่ หรอื เคยเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น ราชการจังหวดั แตง่ ต้งั จากสมาชกิ สภา ผบู้ ริหารท้องถิน่ หรือ สมาชิกรัฐสภา เทศบาลตามมตสิ ภา ใน 1 ปี มีสมยั ประชมุ สามญั 4 สมยั - วาระ 4 ปี นับต้งั แตว่ ันเลอื กตั้ง - สมัยประชมุ หนึง่ สมัย กาหนดไม่เกินสามสบิ วนั - สามารถขอเปิดสมยั ประชมุ วสิ ามัญถา้ เห็นควร สมยั ประชมุ วิสามญั มไี ดไ้ ม่เกนิ 15 วัน **คณะเทศมนตรี ถูกยกเลิกโดย พรบ.ฉบบั ท่ี 12 พ.ศ.2546** พ.ร.บ. ใหมล่ า่ สุด ปี พ.ศ. 2562 ยกเลกิ อายนุ ายกเทศมนตรจี าก 30 ปี ปรบั แกเ้ ป็น 35 ปี สว่ นอายสุ มาชิกสภาเทศบาล เทา่ เดิม ไม่นอ้ ยกวา่ 25 ปี รองนายกเทศมนตรี เทศบาลตาบล มีได้ไมเ่ กิน 2 คน รองนายกเทศมนตรี เทศบาลเมอื ง มไี ดไ้ ม่เกิน 3 คน รองนายกเทศมนตรี เทศบาลนคร มไี ด้ไม่เกิน 4 คน ท่ปี รึกษานายกเทศมนตรี เทศบาลตาบลรวมกันไม่เกนิ 2 คน และเลขานกุ ารนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองรวมกันไมเ่ กิน 3 คน แตง่ ตงั้ ไดด้ ังต่อไปนี้ เทศบาลนครรวมกันไมเ่ กนิ 5 คน

113 สภาเทศบาล สภาชิกสภาเทศบาล เป็นผ้แู ทนของปวงชนในเทศบาลนนั้ ๆ ต้องมีคุณสมบัติตามกฎหมาย ว่าด้วยการเลือกตงั้ สมาชกิ สภาท้องถน่ิ หรอื ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาเทศบาลให้อยู่ในตาแหน่งไดค้ ราวละสี่ปนี บั แตว่ นั เลือกตงั้ ถ้าตาแหนง่ สมาชกิ สภาเทศบาลว่างลงเพราะเหตุอน่ื นอกจากถึงคราวออกตามวาระหรอื มี การยุบสภาใหเ้ ลอื กต้ังสมาชกิ สภาเทศบาลข้นึ แทนตามกฎหมายวา่ ด้วยการเลือกตง้ั สมาชกิ สภา ท้องถ่นิ หรอื ผ้บู รหิ ารท้องถิ่น เข้าแทนได้เฉพาะเทา่ วาระของผซู้ งึ่ มาแทน กรณีที่ตาแหน่งสมาชิกสภาเทศบาลว่างลงไม่ว่าด้วยเหตุใดและยังมิได้มีการเลือกตั้ง สมาชกิ สภาฯขน้ึ แทนตาแหน่งทว่ี า่ ง ใหส้ ภาเทศบาลประกอบดว้ ยสมาชกิ สภาเทศบาลเทา่ ทม่ี ีอยู่ เมื่อมขี ้อสงสัยว่าสมาชิกภาพของสมาชกิ สภาเทศบาลผ้ใู ดสิ้นสดุ ลงให้ - ผวู้ า่ ราชชารจงั หวดั สอบสวนใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายใน 60 วนั นับแตว่ ันทีม่ ขี ้อสงสยั - ดาเนินการวนิ จิ ฉัยใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายใน 30 วนั นับแตว่ นั สอบสวนแล้วเสร็จ - อาจขยายเวลาการสอบสวนออกไปได้อกี ไม่เกนิ 30 วัน ประธานสภาและรองประธานสภา สภาเทศบาลมีประธานสภาคนหน่ึง รองประธานสภาคนหนึง่ ผู้ว่าราชการจงั หวดั แต่งต้ังจากสมาชกิ สภาเทศบาลตามมติของสภาเทศบาล ประธานและรองประธานสภาเทศบาลดารงตาแหนง่ จนครบอายุของสภาเทศบาล ผู้ซึง่ พน้ จากตาแหน่งประธานสภาเทศบาลหรือรองประธานสภาเทศบาลจะดารงตาแหน่ง ประธานสภาเทศบาลหรอื รองประธานสภาเทศบาลอีกไม่ไดต้ ลอดอายุของสภาเทศบาลนน้ั

114 ในกรณีทีต่ าแหน่งประธานสภาเทศบาลหรือรองประธานสภาเทศบาลว่างลงเพราะเหตใุ ด เหตุหนงึ่ ใหส้ ภาเทศบาลเลือกสมาชกิ สภาเทศบาลข้ึนแทนตาแหน่งท่ีวา่ งภายใน สิบห้าวนั นับแต่ วนั ท่ีตาแหนง่ ว่างลง สมาชกิ ภาพของสมาชิกสภาเทศบาลส้นิ สดุ ลงเมอื่ (๑) ถึงคราวออกตามวาระ หรือมกี ารยบุ สภาเทศบาล (๒) ตาย (๓) ลาออก โดยยนื่ หนงั สอื ลาออกตอ่ ผวู้ ่าราชการจงั หวัด (๔) ขาดคุณสมบัตหิ รือมีลักษณะต้องหา้ ม (๕) ขาดประชมุ สภาเทศบาลสามคร้งั ตดิ ตอ่ กนั โดยไมม่ เี หตอุ นั สมควร (๖) กระทาการอันต้องหา้ ม (๗) สภาเทศบาลมีมตใิ ห้พน้ จากตาแหน่ง โดยเหน็ ว่ามคี วามประพฤตใิ นทางทีจ่ ะนามาซ่ึง ความเสือ่ มเสยี หรือก่อความไมส่ งบเรียบร้อยแก่เทศบาลหรอื กระทาการอันเส่อื มเสียประโยชน์ของ สภาเทศบาล โดยมีสมาชกิ สภาเทศบาลไม่น้อยกวา่ หน่งึ ในสามของจานวนสมาชิกสภาเทศบาล ทั้งหมดเทา่ ท่ีมีอย่เู ขา้ ช่ือเสนอให้สภาเทศบาลพิจารณา และมติดังกลา่ วต้องมีคะแนนเสยี งไมน่ ้อย กว่าสามในสี่ ให้สมาชิกภาพสิน้ สดุ ลงนบั แต่วนั ทสี่ ภาเทศบาลมีมติ (๘) ราษฎรผ้มู ีสทิ ธเิ ลือกต้งั ในเขตเทศบาลมีจานวนไมน่ อ้ ยกวา่ สามในส่ขี องจานวนผู้ มีสทิ ธเิ ลือกตั้งท่ีมาลงคะแนนเสยี ง เห็นวา่ สมาชกิ สภาเทศบาลผู้ใดไม่สมควรดารงตาแหน่งตอ่ ไป ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชกิ สภาท้องถิน่ หรอื ผบู้ ริหารท้องถิน่ การประชมุ ของสภาเทศบาล ผู้วา่ ราชการจงั หวดั ต้องกาหนดให้สมาชิกสภาเทศบาลมาประชุมครั้งแรกภายใน 15 วัน นับต้งั แต่วันประกาศผลการเลือกตงั้ สมาชิกสภาเทศบาล และใหท้ ่ีประชมุ เลือกประธานสภาและ รองประธานสภา (กรณปี ระชุมไม่ได้หรือไมส่ ามารถเลอื กประธานและรองประธานไดผ้ ู้วา่ ราชการ จงั หวัดอาจเสนอรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยใหย้ ุบสภา) ในปหี นึ่งใหม้ สี มยั ประชุมสามัญ 4 สมยั สมัยประชุมสามัญสมัยหนึ่งๆ ให้มีกาหนด ไม่เกิน 30 วนั แต่ถ้าจะขยายเวลาออกไปอกี จะต้องไดร้ ับอนุญาตจากผวู้ ่าราชการจังหวดั

115 นอกจากสมัยประชุมสามัญแลว้ เมื่อเห็นว่าเป็นการจาเปน็ เพื่อประโยชน์แห่งเทศบาล ประธานสภาเทศบาลก็ดี หรือนายกเทศมนตรีก็ดี หรือสมาชิกสภาเทศบาลมีจานวนไม่ตา่ กว่าก่ึง หน่ึงของจานวนสมาชกิ ท่ีอยู่ในตาแหน่งก็ดี อาจทาคาร้องยื่นตอ่ ผู้วา่ ราชการจังหวดั ขอใหเ้ ปิด ประชมุ วสิ ามัญให้ผูว้ า่ ราชการจังหวัดพจิ ารณา ถ้าเห็นสมควรเปดิ สมยั ประชมุ วิสามญั ก็ใหผ้ ู้ว่าราชการจังหวัดเรยี กประชมุ วิสามญั ได้ สมยั ประชุมวิสามญั ให้มกี าหนดไม่เกิน 15 วัน แต่ถ้าจะขยายเวลาออกไปอีกจะต้องได้รับอนญุ าตจากผวู้ ่าราชการจงั หวดั การประชมุ สภาเทศบาล ต้องมสี มาชกิ สภาเทศบาลมาประชมุ ไม่น้อยกว่ากง่ึ หนึ่งของ จานวนสมาชกิ เทา่ ทม่ี ีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชมุ เมือ่ นายกเทศมนตรี หรือสมาชิกสภาเทศบาลรวมกันไมน่ ้อยกวา่ หน่ึงในสามของจานวน สมาชกิ ท่มี าประชมุ ร้องขอใหท้ าการประชมุ ลบั ก็ใหป้ ระธานสภาเทศบาลดาเนินการประชมุ ลับได้ โดยไม่ต้องขอมติท่ปี ระชมุ คณุ สมบตั ขิ องนายกเทศมนตรี (1) อายุไม่ต่ากว่า 35 ปี นับถงึ วนั เลอื กตัง้ (๒) สาเรจ็ การศกึ ษาไมต่ า่ กวา่ ปริญญาตรีหรือเทียบเทา่ หรอื เคยเปน็ สมาชกิ สภา ท้องถนิ่ ผบู้ ริหารทอ้ งถ่นิ หรือสมาชิกรฐั สภา คุณสมบัติหนา้ นีเ้ ป็นตัวใหม่ ทีม่ ีการแก้กฏหมายเลอื กต้งั ใหม่ในปี พ.ศ. 2562 ดารงตาแหนง่ สองวาระติดต่อกนั แลว้ จะดารงตาแหน่ง ได้อกี เม่ือพ้นระยะเวลาสปี่ ีนบั แตว่ นั พ้นจากตาแหนง่

116 นายกเทศมนตรีพ้นจากตาแหนง่ เม่อื (1) ถึงคราวออกตามวาระ (๒) ตาย (๓) ลาออก โดยยน่ื หนังสอื ลาออกตอ่ ผู้ว่าราชการจังหวดั (๔) ขาดคณุ สมบตั ิหรอื มีลกั ษณะตอ้ งหา้ ม (๕) กระทาการฝ่าฝืน - ดารงตาแหน่งหรอื ปฏิบัตหิ น้าที่อนื่ ใดในส่วนราชการ หนว่ ยงานของรฐั หรือ รฐั วิสาหกจิ เวน้ แตต่ าแหนง่ ทีด่ ารงตามบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมาย - รับเงินหรือประโยชนใ์ ดๆ เป็นพเิ ศษจากสว่ นราชการ หน่วยงานของรฐั หรอื รัฐวิสาหกิจนอกเหนือไปจากทส่ี ่วนราชการหน่วยงานของรัฐ หรอื รัฐวสิ าหกิจปฏิบัติกบั บคุ คลใน ธรุ กิจการงานตามปกติ - เป็นผู้มสี ่วนไดเ้ สียไม่วา่ โดยทางตรงหรอื ทางอ้อมในสัญญาทเี่ ทศบาลนัน้ เป็น คสู่ ัญญา หรอื ในกจิ การท่กี ระทาให้แก่เทศบาลนนั้ หรือทเี่ ทศบาลนัน้ จะกระทา (๖) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยสง่ั ใหพ้ น้ จากตาแหนง่ (๗) ถูกจาคุกโดยคาพพิ ากษาถงึ ท่สี ุดให้จาคุก (8) ราษฎรผ้มู ีสิทธเิ ลอื กตง้ั ในเขตเทศบาลมีจานวนไมน่ อ้ ยกว่าสามในส่ีของจานวนผู้ มีสิทธิเลือกตั้งท่มี าลงคะแนนเสียง เห็นวา่ นายกเทศมนตรไี ม่สมควรดารงตาแหนง่ ต่อไปตาม กฎหมายวา่ ดว้ ยการลงคะแนนเสยี งเพ่ือถอดถอนสมาชิกสภาท้องถนิ่ หรือผ้บู ริหารท้องถ่นิ การออกตรงนี้เปน็ ข้อมูลพื้นฐานก่อนการเปลีย่ นแปลงใหล้ องนาไปเปรยี บเทยี บ กับตวั ใหมข่ องกฎหมาย พ.ศ. 2562 ได้ เกย่ี วกับลกั ษณะตอ้ งห้ามของนายกฯ นายกเทศมนตรีสามารถแตง่ ตัง้ รองนายก ทป่ี รึกษานายก และเลขานุการ ได้ ดงั นี้ เทศบาล รองนายกเทศมนตรี ทป่ี รึกษานายกและเลขานกุ าร 1.เทศบาลตาบล ไมเ่ กนิ 2 คน ไมเ่ กิน 2 คน 2.เทศบาลเมือง ไมเ่ กิน 3 คน ไม่เกนิ 3 คน 3.เทศบาลนคร ไมเ่ กนิ 4 คน ไมเ่ กิน 5 คน คณุ สมบตั ิของรองนายกเทศมนตรี เชน่ เดยี วกบั นายกเทศมนตรี

117 รองนายกเทศมนตรีพน้ จากตาแหน่งเม่ือ (๑) นายกเทศมนตรีพน้ จากตาแหนง่ (๒) นายกเทศมนตรมี คี าสงั่ ให้พน้ จากตาแหน่ง (๓) ตาย (๔) ลาออก โดยยืน่ หนงั สอื ลาออกต่อนายกเทศมนตรี (๕) ขาดคุณสมบตั ิหรอื มีลักษณะตอ้ งห้าม (๖) กระทาการฝา่ ฝนื (๗) ถกู จาคุกโดยคาพิพากษาถงึ ทสี่ ดุ ให้จาคกุ (๘) รฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยพจิ ารณาสอบสวนและสัง่ ให้ออกจาก ปลัดเทศบาล ให้มปี ลดั เทศบาลคนหนึ่งเปน็ ผู้บังคับบญั ชาพนักงานเทศบาลและลูกจา้ งเทศบาลรองจาก นายกเทศมนตรี และรับผิดชอบควบคมุ ดแู ลราชการประจาของเทศบาลให้เป็นไปตามนโยบาย และมอี านาจหนา้ ท่ีอน่ื ตามทมี่ กี ฎหมายกาหนดหรอื ตามทีน่ ายกเทศมนตรมี อบหมาย ระหวา่ งทีไ่ ม่มนี ายกเทศมนตรี ใหป้ ลัดเทศบาลปฏิบัติหน้าท่ีของนายกเทศมนตรี เท่าทจี่ าเปน็ ไดเ้ ป็นการชัว่ คราวจนถึงวนั ประกาศผลการเลอื กตง้ั นายกเทศมนตรี กรณีทนี่ ายกเทศมนตรไี ม่อาจปฏิบัติราชการได้ใหร้ องนายกเทศมนตรีท่นี ายกเทศมนตรีจดั ไว้ ตามลาดับเปน็ ผรู้ ักษาราชการแทน ถา้ ไม่มรี องนายกเทศมนตรีหรอื มแี ต่ไมอ่ าจปฏบิ ตั ริ าชการได้ ใหป้ ลัดเทศบาลเปน็ ผู้รกั ษาราชการแทน พ.ร.บ. เทศบาล ฉบับที่ 14 พ.ศ. 2562 ระบุเกยี่ วกบั ปลดั เทศบาลทสี่ าคญั ได้แก่ “ในระหว่างท่ไี ม่มนี ายกเทศมนตรี ให้ปลดั เทศบาลปฏิบตั หิ นา้ ท่ีของนายกเทศมนตรี เท่าทจี่ าเปน็ ได้เปน็ การชว่ั คราวจนถงึ วันประกาศผลการเลือกตั้งนายกเทศมนตรี” สอดคลอ้ งกับกฎหมายเดมิ ทใ่ี ช้กนั มาตลอดในกรอบส่เี หล่ียมดา้ นบนเลยนะ

118 สหการ คอื กจิ การใดท่อี ยู่ภายใตอ้ านาจของเทศบาลต้ังแตส่ องแห่งข้ึนไปที่จะร่วมกัน ทาเพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งย่ิง ก็ใหจ้ ัดต้งั เปน็ องค์การ เรียกว่า สหการ มีสภาพเปน็ ทบวง การเมอื ง และมคี ณะกรรมการบริหาร ประกอบดว้ ยผแู้ ทนของเทศบาลทเ่ี กีย่ วขอ้ งอยู่ดว้ ย การจัดตง้ั สหการ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา สหการอาจไดร้ บั เงนิ อุดหนนุ จากรัฐบาล และอาจกเู้ งินได้ ========================================================= เทศบัญญตั ิ คอื บญั ญัตขิ องเทศบาลที่ได้ตราข้ึนมาเพื่อปฏิบตั ิการให้เปน็ ไปตามหน้าทข่ี องเทศบาล โดยในการกาหนดโทษปรับผูล้ ะเมดิ เทศบัญญตั ิไว้ด้วยกไ็ ด้ แตห่ ้ามมิให้เกนิ กว่าหน่ึงพันบาท รา่ งเทศบญั ญัติจะเสนอได้ก็แต่โดย (1) นายกเทศมนตรี (๒) สมาชกิ สภาเทศบาล ซึง่ สมาชกิ ลงนามรับรองไม่น้อยกว่าสองคน (๓) ราษฎรผ้มู สี ทิ ธเิ ลือกตง้ั ในเขตเทศบาลตามกฎหมายวา่ ด้วยการเขา้ ชื่อเสนอข้อบัญญตั ทิ ้องถิ่น ภายในเจด็ วนั นับแต่วันท่สี ภาเทศบาลได้มีมติเหน็ ชอบดว้ ยกับรา่ งเทศบญั ญัติเทศบาลตาบล ให้ประธานสภาเทศบาลสง่ รา่ งเทศบญั ญัตไิ ปยงั นายอาเภอเพื่อส่งไปยังผ้วู ่าราชการจังหวัดพิจารณา กรณีเทศบาลเมอื งและเทศบาลนคร ให้สง่ ไปยงั ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั พจิ ารณา ผู้ว่าราชการจงั หวดั ตอ้ งพจิ ารณาร่างเทศบญั ญตั ใิ ห้เสรจ็ และส่งคืน ประธานสภาเทศบาลภายในสิบห้าวันนบั แตว่ นั ทไ่ี ด้รับรา่ งเทศบัญญัตนิ ัน้ ถา้ ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั ไม่พิจารณาให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาท่ีกาหนด ให้ถือวา่ ผวู้ า่ ราชการจังหวดั เห็นชอบดว้ ย ในกรณีท่ีผู้วา่ ราชการจังหวดั เห็นชอบด้วยกบั รา่ งเทศบญั ญตั ิใหส้ ง่ นายกเทศมนตรี ลงนามใชบ้ งั คับเป็นเทศบญั ญตั ติ อ่ ไป

119 แตถ่ า้ ผู้ว่าราชการจังหวัดไมเ่ ห็นชอบดว้ ย ให้สง่ ร่างเทศบญั ญตั ิน้ันพร้อมดว้ ยเหตผุ ล คืนไปยงั สภาเทศบาล และใหส้ ภาเทศบาลพิจารณาใหม่ภายในสามสิบวนั นบั แตว่ ันท่ี ได้รบั รา่ งเทศบญั ญตั คิ ืนมา ถา้ สภาเทศบาลมีมติยนื ยันตามร่างเทศบญั ญัตเิ ดมิ ด้วยคะแนนเสยี งไมน่ ้อยกวา่ สองในสามของสมาชกิ สภาเทศบาลเทา่ ท่มี อี ยู่ใหป้ ระธานสภาเทศบาลส่งรา่ งเทศบญั ญัติ นั้นใหน้ ายกเทศมนตรลี งนามใช้บงั คบั เปน็ เทศบญั ญัติ และแจ้งใหผ้ ู้วา่ ราชการจังหวัดทราบ ตอ่ ไป แต่ถ้าสภาเทศบาลไม่ยืนยันใหร้ า่ งเทศบญั ญตั นิ ้ันเปน็ อันตกไป อานาจหนา้ ทขี่ องเทศบาล อานาจหน้าทขี่ องเทศบาลตาบล 1. รกั ษาความสงบเรียบรอ้ ยของประชาชน 2. ใหม้ แี ละบารงุ รกั ษาทางบกและทางน้า “(๒/๑) รกั ษาความเป็นระเบียบเรยี บร้อย การดแู ลการจราจร และสง่ เสรมิ สนับสนุน หน่วยงานอืน่ ในการปฏบิ ัติหนา้ ที่ดงั กล่าว 3. รกั ษาความสะอาดของถนน หรอื ทางเดิน และทีส่ าธารณะ รวมท้งั กาจัดมูลฝอยและ ส่งิ ปฏิกลู 4. ปอ้ งกันโรคและระงับโรคตดิ ต่อ 5. ใหม้ เี คร่ืองใช้ในการดบั เพลงิ 6. จัดการ ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการศึกษา ศาสนา และการฝกึ อบรม ให้แก่ ประชาชน รวมทง้ั การจัดการหรือสนบั สนุนการดแู ลและพัฒนาเด็กเลก็ ” 7. สง่ เสรมิ การพฒั นาสตรี เดก็ เยาวชน ผสู้ ูงอายุ และผ้พู ิการ 8. บารุงศลิ ปะ จารีตประเพณี ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ และ วัฒนธรรมอนั ดีของท้องถน่ิ 9. ปฏิบตั ิตามหนา้ ทีอ่ ่นื ตามทก่ี ฎหมายบัญญัตใิ หเ้ ปน็ หน้าทีข่ องเทศบาล ตวั ใหมเ่ พิม่ 2/1 เข้ามา ยกเลกิ ตวั ขอ้ 6. เดิม เขยี นไว้วา่ ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม แต่ตอนนี้ ตวั ใหม่ สงั เกต ขอ้ 6 มขี ้อความทยี่ าวกว่าเดิม แก้ไขข้อความใหมต่ ามด้านบน

120 อานาจหน้าท่ขี องเทศบาลเมอื ง 1. กจิ การตามทรี่ ะไวใ้ นมาตรา 50 (หมายถงึ อานาจหนา้ ทข่ี องเทศบาลตาบลทง้ั หมด คือ มาตรา 50) 2. ให้มีนา้ สะอาดหรอื การประปา 3. ใหม้ โี รงฆา่ สัตว์ 4. ให้มบี ารงุ สถานท่ีทาการพทิ กั ษแ์ ละรักษาคนเจบ็ ไข้ 5. ให้มแี ละบารงุ ทางระบายนา้ 6. ให้มแี ละบารงุ สว้ มสาธารณะ 7. ใหม้ แี ละบารงุ การไฟฟา้ หรอื แสงสวา่ งโดยวิธอี ืน่ 8. ให้มกี ารดาเนินกจิ การโรงรบั จานาหรอื สถานสนิ เชื่อท้องถนิ่ 9. จัดระเบียบการจราจร หรือร่วมมอื กบั หน่วยงานอน่ื ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี ังกลา่ ว ตัวใหม่ ปี 2562 ไดเ้ พ่ิมข้อ 9 เขา้ มา เพราะเดมิ ที อานาจของเทศบาลเมอื งมแี ค่ 8 ข้อ อานาจหน้าทข่ี องเทศบาลนคร 1. กจิ การตามทร่ี ะบไุ วใ้ นมาตรา 53 (หมายถงึ อานาจหนา้ ทข่ี องเทศบาลเมอื งทง้ั หมด) 2. ใหม้ ีบารุงการสงเคราะหม์ ารดาและเดก็ 3. กิจการอย่างอืน่ ซ่งึ จาเป็นเพอื่ การสาธารสขุ 4. การควบคมุ สุขลักษณะและอนามยั ในรา้ นจาหน่ายอาหาร โรงมหรสพและสถานบรกิ ารอ่นื 5. จัดการเก่ยี วกบั ที่อยู่อาศยั และการปรบั ปรุงแหล่งเส่อื มโทรม 6. จดั ให้มีและควบคมุ ตลาด ทา่ เทยี บเรอื ท่าขา้ ม และท่ีจอดรด 7. การวางผังเมอื งและการควบคุมการกอ่ สรา้ ง 8. การสง่ เสรมิ กจิ การการทอ่ งเทยี่ ว หมายเหตุ ข้อสอบประเภทนี้ตอ้ งระวังใหด้ ี เพราะเขาจะถามยิบย่อย เชน่ ใหม้ ีโรงฆ่าสตั ว์ถือเป็นอานาจหนา้ ท่ขี องส่วนราชการใด ตอบ เทศบาลเมอื ง หรอื ให้มีบารุงการสงเคราะหม์ ารดาและเด็ก คือข้อใด ตอบ เทศบาลนคร

121 รายไดข้ องเทศบาล 1. ภาษีอากรตามแต่ท่จี ะมีกฎหมายกาหนดไว้ 2. ค่าธรรมเนียม ค่าใบอนุญาต และค่าปรับตามแตจ่ ะมีกฎหมายบญั ญตั ไิ ว้ 3. รายได้จากทรพั ยส์ นิ ของเทศบาล 4. รายไดจ้ ากสาธารณูปโภคและเทศพาณชิ ย์ 5. พันธบตั รหรือเงินกู้ ตามแตจ่ ะมกี ฎหมายกาหนดไว้ 6. เงนิ กู้จากกระทรวง ทบวง กรม องค์การ หรือนติ ิบคุ คลตา่ งๆ 7. เงนิ อดุ หนนุ จากรัฐบาลหรือองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั 8. เงนิ และทรัพย์สนิ อยา่ งอืน่ ที่มผี ูอ้ ทุ ศิ ให้ 9. รายได้อ่นื ตามแต่ทีจ่ ะมีกฎหมายกาหนดไว้ เทศบาลจะกู้เงินจากกระทรวง ทบวง กรม องคก์ าร หรอื นติ ิบคุ คลต่างๆไดต้ ่อเม่ือไดร้ บั อนุญาตจากสภาเทศบาลและไดร้ ับอนมุ ัตจิ ากรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยแลว้ รายจา่ ยของเทศบาล 1. เงินเดอื น 5. ค่าวสั ดุ 2. คา่ จา้ ง 6. คา่ ครภุ ณั ฑ์ 3. เงินค่าตอบแทนอ่ืนๆ 7. ค่าท่ดี ิน สงิ่ กอ่ สรา้ ง และทรพั ย์สินอื่นๆ 4. คา่ ใช้สอย 8. เงนิ อดุ หนุน 9. รายจา่ ยอื่นใดทีจ่ าเปน็ ตอ้ งจ่ายในการปฏบิ ัติหนา้ ท่ี หรือตามขอ้ ผกู พนั หรือรายจ่าย ตามที่มีกฎหมาย หรือระเบยี บของกระทรวงมหาดไทยกาหนดไว้ ข้อ 9 น้ีกเ็ ปน็ การแกไ้ ขใหมด่ ้วย เพราะตวั เดมิ เขยี นเอาไว้ว่า รายจา่ ยอ่ืนใดตามทีม่ ี ขอ้ ผูกพนั หรือตามทมี่ กี ฎหมายหรอื ระเบียบของกระทรวงมหาดไทยกาหนดไว้ โดยปกติใหร้ ฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยจัดใหม้ กี ารตรวจสอบ การคลงั การบัญชี หรอื การเงินอื่นๆของเทศบาลปลี ะครั้ง

122 คณะกรรมการทป่ี รกึ ษาการเทศบาล ปลดั กระทรวงมหาดไทย เป็นประธาน อธบิ ดกี รมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถ่นิ กรรมการ อธิบดีกรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กรรมการ อธบิ ดีกรมตารวจ กรรมการ อธิบดีกรมสามญั ศกึ ษา กรรมการ อธิบดกี รมวสิ ามัญศึกษา กรรมการ อธบิ ดกี รมการแพทย์ กรรมการ อธิบดกี รมอนามยั กรรมการ ผอู้ านวยการสานักงบประมาณ กรรมการ ผู้อานวยการสว่ นการปกครองท้องถิ่นกรมสง่ เสริมการปกครองท้องถ่นิ กรรมการและเลขานกุ าร กรรมการอนื่ ท่ีกระทรวงมหาดไทยตงั้ อกี ไมเ่ กนิ 5 คน หน้าทข่ี องคณะกรรมการท่ปี รึกษาการเทศบาล : ใหค้ าปรกึ ษาและเสนอข้อแนะนาแกร่ ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยเก่ียวกับกิจการ เทศบาลโดยทวั่ ไป กรรมการอ่ืนๆซึง่ รัฐมนตรีแต่งตัง้ ใหม้ ีวาระอยู่ในตาแหนง่ คราวละ 4 ปี ข้อมลู เปลี่ยนแปลงเกย่ี วกับการกากับเทศบาล ให้ผู้วา่ ราชการจงั หวดั มอี านาจหน้าทก่ี ากับดแู ลเทศบาลในจังหวดั น้ันใหป้ ฏิบัติการตาม อานาจหนา้ ท่ีโดยถกู ตอ้ งตามกฎหมาย กฎ และระเบยี บข้อบังคับของทางราชการ ผู้วา่ ราชการจังหวัดกากบั ดแู ลเทศบาล ให้มีอานาจหนา้ ท่ชี ้ีแจง แนะนา หรอื ตักเตือนเทศบาล และตรวจสอบกจิ การ เรยี กรายงาน และเอกสาร หรือสถิตใิ ดๆ จากเทศบาลมาตรวจ ตลอดจนเรียกสมาชิกสภาเทศบาลหรือพนกั งาน เทศบาลมาช้ีแจง หรอื สอบสวนกไ็ ด้ สาหรบั เทศบาลเมืองและเทศบาลตาบล ผวู้ า่ ราชการจังหวดั จะมอบหมายใหน้ ายอาเภอปฏิบัติการแทนสาหรับเทศบาลทอี่ ยู่ในอาเภอนัน้ โดยจะกาหนด เง่ือนไขในการใชอ้ านาจหนา้ ที่ไวด้ ว้ ยหรอื ไม่ก็ได้ กฏหมายตวั เก่า : ผู้ว่าฯ กากับ เทศบาล โดย เทศบาลตาบล ใหน้ ายอาเภอชว่ ยกากับ

123 พระราชบญั ญตั ิเก่ียวกบั สว่ นท้องถิน่ เมืองพัทยา นายชวน หลีกภยั เปน็ ผสู้ นองพระบรมราชโองการ ฉบบั แรกสุด พ.ศ. 2542 พลเอกประยทุ ธ์ จันทร์โอชา ผู้รบั สนองพระบรมราชโองการ ฉบับท่ี 3 พ.ศ.2562 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี เมอื งพัทยาเปน็ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ มีอาณาเขตตามเขตเมืองมฐี านะเป็นนิติบคุ คล การแกไ้ ขเปล่ียนแปลงเขตเมืองพัทยาใหต้ ราเปน็ พระราชกฤษฎกี า การบรหิ ารเมอื งพัทยาประกอบดว้ ย 1. สภาเมืองพัทยา 2. นายกเมืองพัทยา สภาเมอื งพัทยา นายกเมอื งพัทยา - สมาชกิ 24 คน เลอื กตัง้ โดยราษฎรเมอื งพทั ยา - เลือกต้ังโดยการลงคะแนนโดยตรงและลับ - สภาฯ มอี ายุ 4 ปี นับแตว่ ันเลือกตง้ั - สญั ชาติไทยโดยการเกิด - สภาฯ จะเลือกบุคคลในสมาชกิ สภา เพื่อเป็น - อายุไมต่ ่ากว่า 35 ปี บริบูรณ์ (เดมิ 30 ป)ี ประธานฯ 1 คน และรองฯ 2 คน ผวู้ ่าแต่งตง้ั - สาเรจ็ การศึกษาไมต่ ่ากว่าปรญิ ญาตรี - อาจมีเลขานกุ ารประธานสภาเมอื งพทั ยาและ - มีชอื่ ในทะเบียนบา้ นพทั ยาไม่ตา่ กว่า 1 ปี ผู้ช่วยเลขานกุ ารประธานสภาเมอื งพทั ยาไมเ่ กนิ - มีอายวุ าระตามตาแหน่ง 4 ปี จานวนรองประธานสภาเมืองพัทยา - พ้นวาระแล้วให้เลอื กใหม่ภายใน 45 วัน - ประชุมสมัยสามญั ของสภาเมืองพัทยา - แตง่ ตั้งรองนายกเมอื งพัทยาไมเ่ กนิ 4 คน ไมน่ ้อยกว่าสองสมยั แต่ไมเ่ กนิ ส่ีสมัยตอ่ ปี - แต่งตั้งเลขานุการนายกเมืองพัทยาและ - สมัยประชุมกาหนดไมเ่ กนิ 30 วัน ผชู้ ่วยเลขานกุ ารนายกเมอื งพทั ยาจานวน - หากเห็นควร สมาชิก 1 ใน 3 สามารถขอเปิด ไมเ่ กินจานวนรองนายกเมืองพัทยา สมยั ประชุมวสิ ามัญได้ (กาหนดไมเ่ กนิ 15 วัน) - ต้ังคณะทป่ี รกึ ษาไดไ้ ม่เกนิ 5 คน ฉบับล่าสุด ยกเลกิ นายกเมืองพัทยา อายุ 30 ปี (อนั นี้ของเก่ากอ่ นน)้ี เปลย่ี นเป็น อายุ 35 ปี ตามกฎหมายใหม่ใหส้ อดคลอ้ งกับ อปท อนื่ ๆ ภาษาทางการคอื “มีอายุไม่ตา่ กวา่ สามสบิ หา้ ปนี บั ถึงวนั เลือกต้ัง” ให้ยดึ ตวั เลข 35 ปีนี้ เพราะมผี ลบังคับใช้ ต้งั แต่ 17 เมษายน 2562

124 ดภู าษากฎหมายและอธบิ ายภาษาธรรมดา ใหค้ นธรรมดาเขา้ ใจได้ ภาษากฎหมายเขาเขยี นเอาไว้วา่ มาตรา 9 สภาเมอื งพัทยาประกอบไปดว้ ยสมาชิกจานวนย่ีสิบสค่ี น ซ่งึ เลือกต้งั โดยราษฏร ผู้มีสิทธิเลือกต้งั ในเขตเมืองพทั ยา ในกรณีท่ตี าแหน่งสมาชกิ วา่ งลงไม่วา่ ดว้ ยเหตใุ ดและยังมิได้มีการเลือกตงั้ สมาชกิ ขนึ้ แทน ตาแหนง่ ทว่ี ่าง ใหส้ ภาเมอื งพัทยาประกอบดว้ ยสมาชิกเท่าท่มี อี ยู่ ข้างบนตัวเก่าท่ใี ชม้ าตลอด มีสองวรรคอยู่ในมาตรา 9 ต่อมาตัวฉบบั ปี 2562 เขาแกไ้ ขว่าใหเ้ พ่ิมวรรคสามเขา้ มา โดยข้อความใหมท่ ่ีเพ่ิมมาอีกหน่งึ วรรค คอื “ความในวรรคหนึ่งมใิ ห้นามาใชบ้ งั คับแกก่ รณีทีไ่ ด้จดั ให้มีการเลอื กตัง้ ใหม่ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการเลือกต้งั สมาชิกสภาทอ้ งถิน่ หรอื ผ้บู ริหารท้องถิน่ เพราะเหตทุ ีม่ ีผู้ได้รบั เลือกตัง้ ไม่ครบจานวน ถ้าในการจัดใหม้ ีการเลือกตง้ั ใหม่นัน้ ยงั ไดไ้ มค่ รบจานวนอกี ให้ถือว่าสภาเมืองพทั ยานนั้ ประกอบดว้ ย จานวนสมาชกิ เทา่ ท่ีมีอยู่จนกว่าจะครบอายุของสภาเมืองพัทยาเวน้ แต่จะ มีจานวนสมาชิกไมถ่ งึ สองในสามของจานวนตามวรรคหน่ึง” เชอ่ื เหลอื เกินวา่ ผอู้ า่ นส่วนใหญ่ ไปอ่านกฎหมาย อา่ นไป อ่านมา กง็ ง ไมเ่ ขา้ ใจ สรปุ ไม่อ่านดกี ว่า อ่านไป กไ็ มช่ ่วยอะไร เพราะไมเ่ ข้าใจ ในการนี้เรา จะมาอธบิ ายให้ เขา้ ใจ เน้อื ความภาษากฎหมายนนั้ แปลงเปน็ ภาษาปกติเขาว่าอะไร ยังไง ดงั ตอ่ ไปนี้

125 วรรคสามทเ่ี พมิ่ เขา้ มา ทม่ี ขี อ้ ความว่า มิให้นาวรรคหนึ่งมาบงั คบั ใชแ้ กก่ รณที ่ีเลอื กตัง้ ใหม่ ขอ้ ความนี้ คือ วรรคหนง่ึ เขากาหนดใหม้ ี 24 คน ทไ่ี ม่ให้นามาบงั คบั ใช้ก็หมายความวา่ ตัวเลข 24 คน น้ันไม่ต้องยึดถือนะ ไม่ได้บังคบั ตามนัน้ เฉพาะเลือกตงั ใหม่นะ (เพราะการเลือกต้ังใหม่ ที่กาลงั จะมาถึง อาจได้จานวนคนไม่ครบไง) แปลว่า ถา้ ได้ไม่ครบ ก็ไม่ได้บังคับว่าต้องหาครบ - ในการเลอื กตัง้ ครง้ั แรก ไม่จาเปน็ วา่ ต้องมี 24 คน แม้กฎหมายวรรคหนึ่ง จะกาหนดไวว้ ่าให้มีสมาชกิ สภาเมืองพัทยา 24 คน ก็ตาม - ถา้ ยังได้ไม่ครบ ให้เลือกต้งั ใหม่ เพ่อื หาให้ครบ ถ้ายงั ไมค่ รบอีก กพ็ อละ คือให้มี เท่านั้นแหล่ะ ก่คี น ก็เท่านั้น พอเลย ไม่ตอ้ ง 24 คน กไ็ ด้ อยไู่ ปจนครบวาระเลย - ยกเว้นแต่ว่า ยังมไี มถ่ ึง 2 ใน 3 กล่าวคือ เวน้ แตม่ ไี มถ่ งึ 16 คน กห็ าให้ถงึ 16 คน (แตถ่ า้ มี 17 , 18 , 22 , 23 คน อะไรกต็ าม ไม่ครบ 24 คน กพ็ อละ ไมต่ ้องหาเพ่ิม) สาหรบั การเลือกตงั้ คร้งั แรก … ทนี เ้ี ขา้ ใจหรือยัง วรรคใหมท่ เ่ี พ่ิมมาใน พ.ศ. 2562 ตัวอยา่ งแนวข้อสอบ ในการเลือกตั้งใหมส่ มาชกิ สภาเมืองพัทยาทเี่ ลอื กตั้งไม่ครบจานวน เลือกตั้งใหม่ แล้วยังไมค่ รบจานวน ใหด้ าเนินการตามขอ้ ใด ก. ใหเ้ ลอื กตั้งจนไดค้ รบ 24 คน ข. ให้มีเทา่ ท่ีมีอยู่จนครบวาระ ค. ให้ยุบสภาเมอื งพทั ยา ง. ใหเ้ ลือกต้ังซอ่ มจนไดต้ ามจานวน สภาเมืองพทั ยา มอี านาจ ตราขอ้ บังคับเกีย่ วกับจรรยาบรรณของสมาชิก ขอ้ บงั คับการ ประชมุ เกย่ี วกบั การเลือกและการปฏิบัติหน้าทข่ี องประธานสภาเมืองพทั ยา รองประธานสภาเมอื ง พัทยา คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการของสภาเมืองพัทยา วิธกี ารประชุม การเสนอและ พจิ ารณารา่ งข้อบญั ญตั ิ การเสนอญตั ติ การปรกึ ษา การอภิปราย การลงมติ การตง้ั และตอบกระทู้ ถาม การเปดิ อภิปรายท่ัวไป การรกั ษาระเบยี บและความเรยี บร้อย และกิจการอ่ืนอนั เป็นหนา้ ท่ี ของสภาเมอื งพทั ยา

126 คณุ สมบัตขิ องผมู้ ีสิทธิสมัครรบั เลือกต้ังเปน็ สมาชิกสภาเมืองพทั ยา 1. มสี ญั ชาตไิ ทยโดยการเกิด 2. มอี ายไุ มต่ ่ากว่า 25 ปี นับถึงวันเลือกต้งั 3. มีชอ่ื อยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเมืองพัทยาเปน็ เวลาตดิ ต่อกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปี นับถึงวนั สมคั รรบั เลือกตง้ั 4. คุณสมบตั อิ นื่ ตามทีก่ ฏหมายว่าดว้ ยการจัดต้ังองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ กาหนด ดูใหด้ วี า่ ตรงน้ี กาลงั พูดถึง สมาชิกสภาฯ (ยนื พนื้ 25 ปี ไม่มีการเปลีย่ นนะ) แยกแยะให้ออก กฏหมายเปลยี่ นคือ นายกฯ ทเ่ี ปลี่ยนจาก 30 ปี เปน็ 35 ปี ทจ่ี ริงแลว้ ในพระราชบัญญัติตัวใหม่ เขาไมไ่ ด้มกี ารกาหนดไว้เป็นข้อๆ แต่เขาใชภ้ าษา รวบเดียวกนั เลย โดยระบุวา่ “มาตรา 10 ผู้มีสทิ ธเิ ลอื กต้ังสมาชิกและผู้มสี ทิ ธิรับสมัครเลอื กตง้ั เป็นสมาชกิ ต้องมคี ณุ สมบัตแิ ละไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตง้ั สมาชกิ สภาท้องถน่ิ หรือผู้บรหิ ารทอ้ งถิ่น” (ซงึ่ ขอ้ ความนี้ถา้ กลา่ วถงึ สมาชิกสภาเมอื งพทั ยาก็หมายถงึ มี คุณสมบัตติ รงตามขอ้ 1 – 4 ด้านบนนี้) --------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระวงั ข้อสอบให้ดีๆ ปี 2564 มโี อกาสตดิ กับดักขอ้ สอบง่ายๆ เพราะเขาเพิง่ เปลี่ยนกฎหมายใหม่ อาจวางกับดักเอาไว้ อาทิเชน่ ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้องเก่ยี วกับคุณสมบตั ผิ ู้มีสทิ ธริ ับสมคั ร พ.ร.บ. ใหมป่ ี 2562 เลอื กตั้งเปน็ สมาชิกสภาเมอื งพทั ยา จะมีคำตอบที่ต่ำงจำก ก. มีอายไุ ม่ตา่ กวา่ 25 ปี นับถงึ วนั เลือกตั้ง พ.ร.บ. ตัวเดมิ ทีใ่ ช้กนั ข. มอี ายไุ ม่ต่ากวา่ 25 ปี บรบิ ูรณ์ ในวันเลอื กตั้ง มำตลอดช่วงหลำยปนี ะ ค. มีอายุไม่ต่ากวา่ 35 ปี นับถึงวนั เลอื กตงั้ ตอ้ งพึงระวงั ข้อมลู ด้วย ง. มอี ายุไม่ตา่ กวา่ 35 ปี บริบรู ณ์ ในวนั เลือกต้งั ข้อนีจ้ ะต้องตอบ ก ตามกฏหมายใหม่ แต่ถา้ หลายคนไปจากฎหมายตัวเดิมๆหรือ การเฉลยขอ้ สอบชุดเก่าๆในปีก่อนๆ ทม่ี ีการเผยแพรก่ นั มานนั้ อาจเลือกตอบ ข ซึง่ ผดิ

127 หนา้ กอ่ นนั้นเปน็ การกลา่ วถงึ คุณสมบัตคิ นท่จี ะไปสมคั รเป็นสมาชิกสภาเมอื งพัทยา สว่ นคนทจ่ี ะไปเลือกตั้ง (ภาษากฏหมายทอ้ งถิ่นเขาจะเรียกประชาชนวา่ “ราษฏร”) แตเ่ ราก็อธบิ ายใหเ้ ข้าใจง่ายๆ ก็หมายถึง ประชาชนเราๆท่วั ไป แทนคาว่า ราษฏร คณุ สมบตั ขิ องผมู้ สี ิทธิ์เลือกตง้ั สภาเมืองพัทยา นี่คอื คณุ สมบตั ขิ องประชาชนที่จะไปเลอื กตั้ง ภาษาจริงๆ ปจั จุบนั เขาไม่ได้ระบุเป็นขอ้ ๆไว้ แตใ่ ช้วิธีเขยี นกฎหมายรวบเลยว่า “มาตรา 10 ผู้มสี ิทธิเลอื กตัง้ สมาชิกและผมู้ ีสิทธริ บั สมัครเลอื กตงั้ เป็นสมาชิก ต้องมคี ณุ สมบัตแิ ละไมม่ ลี ักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชกิ สภา ทอ้ งถิ่นหรอื ผบู้ รหิ ารท้องถ่ิน” (ขอ้ ความนี้หมายถงึ มคี ุณสมบตั ิตามขอ้ 1 – 4 ดา้ นล่าง) 1. มสี ัญชาตไิ ทย บคุ คลทมี่ ีสญั ชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติมาแลว้ ไม่น้อยกวา่ 5 ปี 2. อายไุ มต่ า่ กว่า 18 ปี ในวันเลอื กต้ัง 3. มีช่ือทะเบียนบ้านเขตเมืองพทั ยาตดิ ตอ่ กันเป็นเวลาไม่น้อยกวา่ 1 ปี นับถึงวันเลอื กตง้ั 4. มคี ุณสมบัตอิ นื่ ตามทก่ี ฏหมายว่าดว้ ยการจัดตัง้ องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ กาหนด *** ข้อควรระวัง กฎหมายเก่า ก่อนการเปลยี่ นแปลงวนั ท่ี 16 เมษายน 2562 ระบไุ ว้ว่า อายไุ ม่ต่ากวา่ 18 ปี บริบูรณใ์ นวันที่ 1 มกราคม ของปที ี่มกี ารเลอื กตั้ง *** ข้อควรระวัง กฎหมายเก่า ก่อนวันท่ี 16 เมษายน 2562 จะระบุไว้วา่ มชี อ่ื ในทะเบยี นบา้ นเขตเมอื งพทั ยาตดิ ตอ่ กันไม่น้อยกวา่ 180 วัน นบั ถึงวนั เลอื กตั้ง ดงั นน้ั หากผู้อา่ นไปเจอขอ้ สอบตามตาราเล่มไหน เฉลยแบบเก่า ขอ้ มลู เกา่ ๆก็ขอใหร้ ู้ ตามน้ี ของเกา่ ใชม้ าจนถงึ 16 เมษายน 2562 ใหม่ 17 เมษายนเปน็ ต้นไป

128 ในการสอบ ปี 2564 ผเู้ ตรยี มสอบมคี วามเสี่ยงสูงมากท่จี ะได้รับขอ้ มูลคลาดเคลื่อน เนอ่ื งจากกลุม่ ตวิ เพจตวิ มากมายหรอื หนงั สือหลายเล่มเป็นขอ้ มูลเก่าท่ใี ช้กนั มาตลอดชว่ งหลายปี เพราะขอ้ มูลใหม่เปลีย่ นแปลงในปี 2562 (ประกาศ 16 เมษายน พ.ศ. 2562) ดงั นน้ั ผสู้ อบตอ้ งพยายามตามขอ้ มลู ใหมๆ่ ใหร้ ู้และเปรียบเทยี บด้วยวา่ ตวั เกา่ ตัวใหม่ แตกตา่ งกนั อย่างไรบา้ งที่แก้ไข และหากเป็นเนือ้ หาใหมๆ่ จะตอ้ งตอบคาถามข้อสอบอยา่ งไร เพราะ การนาขอ้ มูลเกา่ มาตอบ อาจพลาดท่า เสยี คะแนนได้งา่ ยๆ โดยไม่รู้ตัว เชน่ ผู้มีสิทธิเลือกต้ังสมาชกิ สภาเมอื งพัทยาตอ้ งมีอายุเท่าใด ก. อายไุ ม่ตา่ กวา่ 18 ปี บริบรู ณ์ ข. อายุไม่ต่ากว่า 18 ปี ในวันเลือกตั้ง ค. อายุไม่ต่ากว่า 18 ปี ในวันท่ี 1 มกราคม ของปีทมี่ กี ารเลือกตั้ง ง. อายุไมต่ า่ กวา่ 18 ปี บรบิ ูรณ์ ในวนั ท่ี 1 มกราคม ของปีทมี่ ีการเลือกตง้ั ขอ้ นตี้ อ้ งตอบ ข. ตามกฎหมายใหม่ พ.ศ. 2562 เชอ่ื เหลอื เกนิ วา่ ต้องมีหลายคนท่ถี กู เนน้ ถกู ตวิ มา โดยการไปดใู นคลิปติวหรอื หนังสอื ติวปกี อ่ นๆ หรือชว่ งตวิ ต้นปี 2562 แล้ว ตอบ ง. (ซงึ่ ผิด) แตค่ ิดว่าตัวเองถูก หากเกดิ เหตกุ ารณแ์ บบนข้ี ึน้ ก็คงไมม่ ใี ครชว่ ยได้ ผู้อา่ นจงึ ควรสามารถแยกแยะได้วา่ อะไรเกา่ อะไรไหม และติดตามขอ้ มลู ใหม่ๆ ทอี่ พั เดตแล้ว มาตอบขอ้ สอบในปนี ี้เอง ดงั น้ัน ตาราของเรา จึงเปน็ ตารา เตรยี มสอบที่มกี ารอธบิ ายไดล้ ะเอียด เพ่ือชว่ ยเหลือ ใหผ้ ้เู ตรียมสอบเกิดกระบวนความรูท้ ชี่ ัดเจนเป็นความรจู้ รงิ และร้ทู นั วา่ ตอบแบบไหน คอื การตอบแบบเกา่ ท่ีใช้ไมไ่ ด้แลว้ และแบบไหนจงึ เปน็ การตอบแบบใหม่ท่ีถกู ต้องจรงิ

129 การประชุมสภาเมืองพัทยา 1. ให้ผู้ว่าราชการจงั หวัดเรยี กประชุมครัง้ แรกภายใน 15 วัน นับตัง้ แตว่ นั เลอื กตงั้ 2. สมัยประชุมสามญั ไม่น้อยกว่า 2 สมยั ไม่เกิน 4 สมยั สมยั ละไม่เกนิ 30 วนั กรณมี ีความจาเปน็ สามารถขยายอกี ไมเ่ กนิ 30 วนั 3. นายกเมืองพัทยา หรือ สมาชิกไม่นอ้ ยกวา่ หน่ึงในสามอาจทาเรือ่ งเสนอตอ่ ประธานสภาให้มีการเปดิ ประชมุ วสิ ามญั สมัยละ 15 วัน 4. การประชุมสภาเทศบาลตอ้ งมีสมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหน่ึง 5. การประชุมตอ้ งกระทาโดยเปดิ เผย เว้นแต่นายกหรือสมาชิกไม่นอ้ ยกว่า 1 ใน 4 รอ้ งขอใหป้ ระชมุ ลบั ก็สามารถประชมุ ลับได้ เก่ียวกับนายกเมืองพัทยา นายกเมืองพัทยา มอี านาจหน้าท่ี กาหนดนโยบายและรบั ผิดชอบในการบรหิ ารเป็นไป ตามกฎหมาย ข้อบัญญัติ และนโยบาย ส่ัง อนญุ าต และอนุมัติเก่ียวกับราชการของเมืองพัทยา แต่งตงั้ และถอดถอนรองนายกเมอื งพทั ยา เลขานุการนายกเมืองพทั ยา ผชู้ ว่ ยเลขานุการนายกเมือง พัทยา ประธานที่ปรึกษา ที่ปรกึ ษาหรือคณะที่ปรึกษา วางระเบียบเพ่ือให้งานของเมืองพัทยา เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย นายกเมืองพทั ยา แตง่ ต้งั รองนายกฯไดไ้ ม่เกนิ 4 คน คุณสมบตั ิของผูม้ ีสิทธสิ มัครรับเลอื กตง้ั เป็นนายกเมอื งพทั ยา 1. มีอายไุ มต่ า่ กวา่ 35 ปบี ริบรู ณ์นับถงึ วันเลอื กตั้ง 2. สาเร็จการศึกษาไม่ตา่ กวา่ ปริญญาตรหี รอื เทยี บเท่า ลกั ษณะตอ้ งหา้ มของการรับสมัครเลอื กตง้ั เป็นนายกเมอื งพทั ยากใ็ ชเ้ กณฑ์เดยี วกันกับ ลักษณะตอ้ งหา้ ม (ท่หี า้ มใช้สิทธิลงเลอื กตง้ั ) ของการสมัครเป็นสมาชกิ สภาเมอื งพัทยา

130 ระเบยี บบรหิ ารราชการเมืองพทั ยา เมืองพัทยาแบ่งส่วนราชการดงั ต่อไปน้ี 1. สานกั ปลัดเมอื งพทั ยา 2. ส่วนราชการอน่ื ตามทนี่ ายกเมืองพัทยาประกาศกาหนดโดยความเห็นชอบของ กระทรวงมหาดไทย ปลัดเมืองพทั ยา เปน็ ผู้บังคับบญั ชาพนกั งานเมืองพัทยาและลูกจ้างเมอื งพัทยารองจาก นายกเมืองพทั ยา และรับผิดชอบควบคมุ ดูแลราชการประจาของเมืองพัทยาให้เป็นไปตามนโยบาย และมอี านาจหนา้ ท่อี ่ืนตามทม่ี ีกฎหมายกาหนดหรอื ตามที่นายกเมืองพทั ยามอบหมาย ในกรณีทีน่ ายกเมืองพัทยาไม่อาจปฏิบตั ริ าชการได้ ให้รองนายกเมอื งพัทยาตามลาดับที่ นายก เมืองพทั ยาจดั ไวเ้ ป็นผู้รักษาราชการแทน ถา้ ไม่มรี องนายกเมืองพทั ยาหรอื มแี ต่ไม่อาจ ปฏิบัติราชการได้ ใหป้ ลัดเมอื งพทั ยาเป็นผู้รักษาราชการแทน ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจา้ หนา้ ท่ีให้มีอานาจดังตอ่ ไปน้ี 1. เขา้ ไปในอาคารหรือบริเวณทต่ี ง้ั อาคารทม่ี ีเหตุอันควรสงสยั ว่ามีการฝา่ ฝืนหรอื ไม่ ปฏิบัตติ ามกฎหมายหรือข้อบัญญัติ ในเวลาระหวา่ งพระอาทติ ยข์ น้ึ ถึงพระอาทิตย์ตกหรือในเวลา ทาการของสถานทีน่ ั้น 2. มหี นงั สือสอบถามหรอื เรียกบุคคลใดมาช้ีแจงข้อเทจ็ จรงิ หรือส่ังใหแ้ สดงเอกสารหรอื หลักฐานอืน่ ทเ่ี กี่ยวข้องกบั การกระทาทีม่ ีเหตุอนั ควรสงสัยว่ามีการฝา่ ฝนื หรือไม่ปฏิบตั ติ าม กฎหมายหรือข้อบญั ญัติ 3. ยดึ หรืออายัดเอกสาร หลักฐาน ยานพาหนะหรือส่ิงใด เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการ ดาเนนิ คดี 4. จับกมุ ผ้กู ระทาความผิดตามกฎหมาย หรือข้อบญั ญตั เิ พื่อดาเนนิ คดี ให้ผูว้ ่าราชการจังหวดั มอี านาจหนา้ ทกี่ ากับดูแลการปฏิบัติราชการของเมอื งพัทยา

131 อานาจหนา้ ทข่ี องเมอื งพัทยา 1. การรกั ษาความสงบเรียบร้อย 2. การสง่ เสริมและรักษาคณุ ภาพส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 3. การคุ้มครองและดแู ลรกั ษาทรพั ยส์ นิ อนั เปน็ สาธารณสมบัตขิ องแผ่นดิน 4. การวางผงั เมอื งและการควบคมุ การกอ่ สร้าง 5. การจัดการเกย่ี วกับทอี่ ยู่อาศยั และการปรบั ปรุงแหล่งเสื่อมโทรม 6. การจดั การจราจร 6/1 การส่งเสรมิ และสนับสนุนสถานตี ารวจ และหน่วยงานอ่ืนในการปฏบิ ตั หิ น้าท่ตี าม (1) และ (6) 7. การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ยของบา้ นเมอื ง 8. การกาจดั ขยะมลู ฝอยและสิ่งปฏิกลู และการบาบัดน้าเสีย 9. การจดั ให้มนี า้ สะอาดหรอื การประปา 10.การจดั ให้มกี ารควบคุมตลาด ทา่ เทยี บเรอื และทจ่ี อดรด 11.การควบคุมอนามัยและความปลอดภยั ในรา้ นจาหน่ายอาหาร โรงมหรสพและสถานบริการอื่นๆ 12.การควบคุมและส่งเสริมกจิ การท่องเทย่ี ว 13.การบารุงรกั ษาศลิ ปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ และวัฒนธรรมอันดีของทอ้ งถนิ่ 14.อานาจหน้าทอี่ ื่นตามที่กฎหมายกาหนดใหเ้ ปน็ ของเทศบาลนครหรือของเมอื งพัทยา ข้อสังเกต กฎหมายใหม่ ในปี 2562 ได้มีการเพม่ิ ข้อ 6/1 เข้ามานนั่ เอง รายได้ของเมอื งพทั ยา 1. ภาษีอากร คา่ ธรรมเนียม ค่าใบอนญุ าต และค่าปรบั ใด ตามที่มีกฎหมายบัญญตั ไิ ว้ 2. รายได้จากทรพั ย์สินของเมอื งพัทยา 3. รายได้จากสาธารณปู โภคของเมอื งพัทยา 4. รายได้จากการพาณิชย์ของเมอื งพทั ยา 5. รายไดจ้ ากการจาหนา่ ยพันธบัตรเมอ่ื ไดร้ บั ความเห็นชอบจากกระทรวงมหาดไทยและ กระทรวงการคลังร่วมกัน และตราเป็นข้อบัญญัติแลว้

132 6. เงินกู้ เมือ่ ได้รบั ความเห็นชอบจากกระทรวงมหาดไทย และตราเปน็ ข้อบญั ญตั แิ ล้ว ถา้ เปน็ เงินกู้จากตา่ งประเทศตอ้ งได้รับความเหน็ ชอบจากกระทรวงการคลงั ด้วย 7. เงินอดุ หนุนหรือรายได้อืน่ ตามท่ีรัฐบาลหรอื หน่วยงานของรัฐจัดสรรให้ 8. เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ องค์การต่างประเทศ หรอื องค์กรระหวา่ งประเทศ ถ้าเปน็ กรณที เี่ งนิ ช่วยเหลือดงั กลา่ วมีเงอ่ื นไขหรอื ข้อผูกพนั ใดๆตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบจาก กระทรวงมหาดไทยและกระทรวงการคลงั รว่ มกันกอ่ น ถา้ กรณไี มม่ ีเงอื่ นไขหรือข้อผกู พนั ใดๆให้รายงานใหก้ ระทรวงฯทราบ 9. เงินชว่ ยเหลือและค่าตอ่ แทน 10.เงนิ และทรัพย์สนิ อยา่ งอ่นื ที่มผี ้อู ุทิศให้ 11.รายได้อ่ืนตามทมี่ กี ฎหมายบญั ญัติให้เปน็ ของเมอื งพัทยา รายจ่ายของเมอื งพัทยา 1. เงนิ เดือน 2. ค่าจ้าง 3. ค่าตอบแทน 6. ค่าครุภัณฑ์ 4. ค่าใชส้ อย 5. คา่ วัสดุ 9. รายจ่ายตามข้อผูกพัน 7. ค่าทด่ี ิน และส่งิ กอ่ สรา้ ง 8. เงินอุดหนนุ 10. รายจา่ ยอื่นตามทกี่ ฎหมายบญั ญตั ิหรอื ข้อบญั ญตั กิ าหนด เมื่อส้ินปงี บประมาณ ให้นายกเมอื งพทั ยาประกาศรายการรับจ่ายเงินประจาปี งบประมาณทีส่ ิ้นสุดลงพรอ้ มทงั้ รายการผกู พันที่เบิกตัดปีงบประมาณไว้เผยแพร่ให้ ประชาชนทราบภายใน 30 วนั นบั แตว่ นั ทส่ี ้ินสดุ ปีงบประมาณ ให้สานกั งานตรวจเงินแผน่ ดนิ เป็นผตู้ รวจสอบการรบั เงิน การจา่ ยเงนิ การบญั ชี การเงนิ และทรัพย์สินอื่นๆของเมอื งพทั ยาและทารายงานผลการตรวจสอบเสนอ นายกเมอื งพัทยาเพื่อเสนอสภาเมืองพัทยาต่อไป

133 ความรู้เกี่ยวกบั ภาษี อากรและค่าธรรมเนียมขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ตามพระราชบัญญัตกิ าหนดแผนและขนั้ ตอนการกระจายอานาจใหแ้ ก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ ระบใุ หส้ ามารถเก็บภาษเี ป็นรายไดต้ ามทีก่ าหนดในกฎหมายได้ องค์การบริหารสว่ นจังหวดั สามารถเกบ็ ภาษตี ่อไปนไี้ ด้ ภาษีบารุงทอ้ งท่ี ภาษีโรงเรอื น และท่ีดนิ ภาษีป้าย อากรการฆ่าสตั ว์และผลประโยชน์อ่นื อันเกดิ จากการฆ่าสตั ว์ ภาษีและคา่ ธรรมเนียมรถยนตแ์ ละล้อเลอื่ นที่จัดเก็บได้ในจงั หวัดใดใหจ้ ดั สรรใหแ้ กอ่ งคก์ าร บริหารส่วนจงั หวดั นั้นด้วย / ภาษมี ูลคา่ เพิ่มที่จดั เก็บตามประมวลรษั ฎากร จดั เกบ็ ไดใ้ นจงั หวัดใด ให้ส่งมอบใหอ้ งค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดรอ้ ยละหา้ ของภาษที จ่ี ัดเก็บได้ / คา่ ภาคหลวงแร่ คา่ ภาคหลวงปโิ ตรเลยี มทีไ่ ดม้ ีการจดั เกบ็ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการนน้ั ในเขตองคก์ ารบริหารส่วน จังหวดั ใด ใหจ้ ดั สรรใหแ้ ก่องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั นั้นดว้ ย องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั มอี านาจออกขอ้ บญั ญัติเกบ็ ภาษบี ารุงองคก์ ารบรหิ ารส่วน จังหวดั จากการค้าในเขตจังหวดั ดังตอ่ ไปนี้ 1. นา้ มนั เบนซินและนา้ มนั ท่คี ล้ายกัน น้ามนั ดเี ซลและน้ามันทค่ี ล้ายกนั หรอื ก๊าซ ปโิ ตรเลยี มที่ใชเ้ ป็นเชื้อเพลงิ สาหรับรถยนต์ โดยจดั เกบ็ เพม่ิ ขึ้นได้ไมเ่ กินลติ รละ 10 สตางคส์ าหรับนา้ มนั และกิโลกรมั ละไม่เกิน 10 สตางคส์ าหรับกา๊ ซปิโตรเลยี ม 2. ยาสูบ โดยจัดเกบ็ เพม่ิ ข้นึ ไดไ้ ม่เกินมวนละ 10 สตางค์ องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั มีอานาจออกขอ้ บัญญัตเิ รยี กเก็บคา่ ธรรมเนียมจากผ้พู ักในโรงแรม องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั มีอานาจออกข้อบัญญตั เิ ก็บภาษอี ากรและคา่ ธรรมเนียม เพม่ิ ขึ้นไม่เกินร้อยละ 10 ของภาษอี ากรและคา่ ธรรมเนยี ม ดังตอ่ ไปน้ี 1. ภาษีธรุ กจิ เฉพาะ 2. ค่าธรรมเนยี มใบอนุญาตขายสุรา 3. ค่าธรรมเนียมใบอนญุ าตในการเล่นการพนัน ในการเสยี ภาษีอากรตามดังกลา่ วนี้ ถ้ามีเศษของหน่ึงบาทใหต้ ัดทง้ิ ไป

134 ในการบังคับเรยี กเก็บภาษอี ากรคา้ งชาระ ใหป้ ลดั องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั หรอื หวั หน้าสว่ นราชการขององคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั มีอานาจส่ังยึดและส่ังขายทอดตลาดทรพั ยส์ ิน ของผู้ต้องรบั ผดิ ชอบเสยี ภาษีอากรได้ โดยมิต้องขอใหศ้ าลออกหมายยึดหรอื มีคาสง่ั (ไดร้ บั ความ เห็นชอบจากนายก อบจ แล้ว) เงนิ ไดจ้ ากการขายทอดตลาด เม่อื หักค่าธรรมเนยี มและคา่ ใช้จ่ายในการยึดและขาย ทอดตลาดและเงนิ ภาษอี ากรค้างชาระแล้ว ถา้ มเี งนิ เหลอื ให้คนื แก่เจ้าของทรัพยส์ นิ ทกุ ปีงบประมาณ ใหร้ ัฐบาลจดั สรรเงนิ ให้แก่องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั เปน็ เงินอุดหนุน องคก์ ารบริหารส่วนตาบล เทศบาล และ เมืองพทั ยา สามารถเกบ็ ภาษีตอ่ ไปน้ีได้ ภาษีบารงุ ท้องที่ ภาษีโรงเรือนและท่ดี ิน ภาษีป้าย อากรการฆา่ สตั ว์และผลประโยชนอ์ ืน่ อนั เกดิ จากการฆ่าสตั ว์อากรรังนกอแี อน่ ภาษีและคา่ ธรรมเนยี มรถยนตแ์ ละล้อเลอื่ นทีจ่ ัดเกบ็ ได้ในจงั หวดั ใดใหจ้ ัดสรรให้แก่องค์การ บริหารส่วนตาบล หรือเทศบาลนั้นดว้ ย องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล และเทศบาล มีอานาจออกขอ้ บญั ญัตเิ ก็บภาษอี ากรและ คา่ ธรรมเนียมเพม่ิ ขึ้นไม่เกินรอ้ ยละ 10 ของภาษีอากรและคา่ ธรรมเนียม ดงั ต่อไปน้ี 1. ภาษธี ุรกิจเฉพาะ 2. คา่ ธรรมเนียมใบอนญุ าตขายสรุ า 3. ค่าธรรมเนยี มใบอนญุ าตในการเลน่ การพนนั ในการเสียภาษอี ากรตามดังกลา่ วนี้ ถา้ มเี ศษของหน่งึ บาทใหต้ ดั ท้งิ ไป คา่ ธรรมเนยี มตามกฎหมายว่าดว้ ยนา้ บาดาล เงินอากรประทานบัตร ใบอนุญาตและ อาชญาบตั รตามกฎหมายวา่ ด้วยการประมง คา่ ภาคหลวง และคา่ ธรรมเนยี มตามกฎหมายวา่ ด้วย ป่าไม้ และค่าธรรม- เนยี มจดทะเบยี นสิทธแิ ละนติ ิกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดนิ ทเี่ ก็บได้ใหเ้ ปน็ รายได้ของ อบต น้นั ค่าภาคหลวงแรแ่ ละคา่ ภาคหลวงปโิ ตรเลียม เมอ่ื มีการจัดเก็บใหจ้ ดั สรรแก่ อบต หรือ เทศบาลนั้น เงินเกบ็ ตามกฎหมายว่าด้วยอทุ ยานแห่งชาติ ให้แบง่ ให้ อบต หรือเทศบาล นั้นดว้ ย

135 คุณสมบตั ิของผู้สมคั รเป็นนายก อบจ. นายกเทศมนตร,ี นายก อบต. นายกเมืองพทั ยา (1) อายไุ ม่ต่ากว่า 35 ปี นับถึงวันเลือกต้งั (๒) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีหรือเทียบเทา่ (ยกเว้นนายก อบต.ระดบั ช้ัน มัธยมศึกษาตอนปลาย) หรอื เคยเปน็ สมาชกิ สภาทอ้ งถ่ิน ผบู้ รหิ ารทอ้ งถิน่ หรอื สมาชิกรัฐสภา ดารงตาแหนง่ นบั ตั้งแตว่ นั เลอื กตั้ง มรี ะยะเวลาการดารงตาแหนง่ คราวละ 4 ปี การพ้นตาแหน่งของนายก (๑) ถงึ คราวออกตามวาระ (๒) ตาย (๓) ลาออก โดยย่นื หนงั สือลาออกตอ่ ผูว้ ่าราชการจงั หวัด (ยกเว้นนายก อบต.ยืน่ ตอ่ นายอาเภอ) (๔) ขาดคุณสมบตั ิหรือมีลกั ษณะตอ้ งห้าม (5) กระทาการฝา่ ฝนื ตามขอ้ บัญญัติของกฎหมายสว่ นทอ้ งถิน่ (6) รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทยสั่งใหพ้ ้นจากตาแหนง่ (7) ถกู พิพากษาถึงทีส่ ุดใหจ้ าคุก (8) ราษฎร์ผมู้ สี ิทธเิ ลอื กตัง้ ไมน่ อ้ ยกว่าสามในสี่ของผมู้ ีสิทธ์เิ ลือกต้ังทีม่ าลงคะแนนร่วมกัน ถอดถอน รองนายกพ้นจากตาแหนง่ เมือ่ (1) นายกพ้นจากตาแหนง่ (๒) นายกมีคาสง่ั ให้พน้ จากตาแหนง่ (๓) ตาย (๔) ลาออก โดยยืน่ หนังสือลาออกตอ่ นายก (๕) ขาดคุณสมบตั ิหรือมีลกั ษณะต้องหา้ ม (๖) กระทาการฝา่ ฝนื ตามกฎหมายกาหนด (๗) ถกู จาคุกโดยคาพพิ ากษาถึงท่สี ุดใหจ้ าคุก (๘) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทยพิจารณาสอบสวนและสง่ั ให้ออกจากตาแหนง่

136 การประชุมสามญั ของสภาทอ้ งถน่ิ 1. การประชุมคร้งั แรกสุด จะเกดิ ขึ้นหลังจากการเลอื กตั้ง ภายใน 15 วัน นับต้ังแตว่ ัน ประกาศผลการเลือกตัง้ ครบตามจานวน โดยผู้ว่าราชการจังหวดั เป็นผู้เรียกประชุม ยกเวน้ สมาชกิ สภา อบต. นายอาเภอเป็นผเู้ รียกประชุมครงั้ แรก 2. การประชมุ คร้ังแรกสดุ จะมจี ุดมงุ่ หมายเพ่ือเลือกประธานและรองประธานสภา กรณี ประชุมไม่ได้ หรือ ไมส่ ามารถเลอื กประธานและรองประธานไดผ้ ูว้ ่าราชการจงั หวัด อาจเสนอรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทยให้ยุบสภา (ยกเว้น อบต. คือจะให้นายอาเภอเป็นผเู้ สนอผู้ว่าราชการจังหวัดให้ยุบสภา อบต.) 3. การประชุมสภา ตอ้ งมีสมาชกิ สภามาประชุมไม่น้อยกวา่ ก่งึ หน่ึงของจานวนสมาชิก เท่าทม่ี ีอยู่จึงจะเป็นองคป์ ระชมุ 4. การประชมุ สามญั จะมีการกาหนดจานวนครัง้ และสมัยการประชุม ดังนี้ อบจ เทศบาล อบต พทั ยา 2 สมัย 4 สมยั ไมน่ อ้ ยกว่า 2 ไม่นอ้ ยกวา่ 2 สมัยละ 45 วนั สมยั ละ 30 วัน แตไ่ ม่เกนิ 4 สมัย แตไ่ มเ่ กิน 4 สมยั ขยายได้ 15 วัน สมัยละ 15 วัน สมัยละ 30 วนั 5. นอกจากการประชุมสามัญแล้ว กรณีมคี วามจาเปน็ สามารถจัดประชุมวสิ ามัญได้ ดงั นี้ อบจ เทศบาล อบต พทั ยา 7 วนั 15 วัน 15 วนั 15 วนั การปฏบิ ตั ิหน้าท่ีและรักษาราชการแทน 1. ในระหว่างท่ีไม่มีนายกฯ ให้ปลัดขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ปฏิบัติหน้าทข่ี อง นายกฯเท่าที่จาเปน็ ได้เปน็ การชั่วคราวจนถึงวนั ประกาศผลการเลอื กต้งั 2. กรณีท่ีมีนายกองคก์ ารบริหารน้ันๆ แต่ไม่อาจปฏบิ ัติราชการไดใ้ หร้ องนายกที่นายกฯ จัดไวต้ ามลาดับเป็นผูร้ ักษาราชการแทน ถ้าไม่มรี องนายกฯหรอื มีแต่ไมอ่ าจปฏิบตั ิราชการได้ ให้ปลัดฯเป็นผ้รู ักษาราชการแทน

137 คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสว่ นท้องถ่ิน (ก.ถ.) คณะกรรมการชุดนี้เป็นทมี ชุดใหญ่ของประเทศ ผหู้ ลักผู้ใหญท่ ้ังส้นิ ทเ่ี ป็นกรรมการเพราะตอ้ งเปน็ ทีมหลกั หรือกลุ่มคนทกี่ ากับดูแลการบรหิ ารงานบุคคลของพนักงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ทุกรูปแบบของประเทศไทย มหี นา้ ทีใ่ นการกาหนดมาตรฐานกลางและแนวทางในการรกั ษาระบบ คณุ ธรรมเก่ยี วกบั งานบุคคล ในการแต่งต้ัง การใหพ้ ้นจากตาแหนง่ การกาหนดอัตราเงินเดอื นและ ประโยชน์ตอบแทนอืน่ ๆให้เหมาะสมแก่การพัฒนาทอ้ งถิ่น กาหนดหลักเกณฑก์ ารคัดเลอื กบุคคล ใหค้ าปรกึ ษา เสนอแนะ สง่ เสริม แนะนา ศึกษา วิเคราะห์งานดา้ นบุคคลในการทางานกบั องค์กร ปกครองสว่ นท้องถ่ิน ประสานงานกับคณะรัฐมนตรแี ละหน่วยงานของรฐั (คอื คุมงานดา้ นบุคคล) โดยใหม้ สี านกั งานคณะกรรมการมาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคลส่วนทอ้ งถน่ิ ในสังกดั สานักปลดั กระทรวง กระทรวงมหาดไทย มีหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบงานในราชการของ ก.ถ. 1. ประธาน ก.ถ. ต้องมาจากการคดั เลอื ก ดกู ารคดั เลอื กในตอนทา้ ยของกลุ่มกรรมการชุดนี้ 2. กรรมการโดยตาแหน่ง 6 คน - เลขาธิการคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน - เลขาธกิ ารคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ - ผอู้ านวยการสานกั งบประมาณ - ปลดั กระทรวงการคลัง - ปลดั กระทรวงมหาดไทย - อธิบดกี รมการปกครอง 3. กรรมการ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ จานวน 5 คน คณะรัฐมนตรแี ตง่ ตง้ั จากผู้มีความร้คู วามเช่ยี วชาญ ในดา้ นการบริหารงานท้องถิน่ ดา้ นการบริหารงานบุคคลดา้ นระบบราชการ ด้านบริหาร และการจดั การหรือด้านกฎหมายซง่ึ มผี ลงานทางวิชาการหรือมคี วามรเู้ ปน็ ท่ยี อมรับ 4. กรรมการ ผู้แทน จากข้าราชการหรอื พนักงาน อปท ต่างๆ อนั ได้แก่ - ผู้แทนคณะกรรมการกลางขา้ ราชการองค์การบริหารส่วนจงั หวัด 1 คน - ผ้แู ทนคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล 1 คน - ผแู้ ทนคณะกรรมการกลางพนกั งานสว่ นตาบล 1 คน - ผแู้ ทนคณะกรรมการข้าราชการกรงุ เทพมหานคร 1 คน - ผู้แทนคณะกรรมการพนกั งานเมืองพทั ยา 1 คน 5. หวั หนา้ สานกั งานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบคุ คลสว่ นท้องถนิ่ เปน็ เลขานกุ าร

138 ใหก้ รรมการตามข้อ 2 (กรรมการโดยตาแหนง่ ) ข้อ 3 (กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ )ิ และ ขอ้ 4 (กรรมการท่เี ปน็ ผู้แทนจากฝ่ายตา่ งๆ) เสนอรายชื่อบุคคลฝ่ายละ 3 คน รวมแลว้ จะได้มา 9 คน จากนนั้ ใหท้ ัง้ เกา้ คนดังกล่าวประชมุ เพอ่ื คัดเลือกกนั เองผูไ้ ด้รบั คะแนนสูงสดุ จะไดเ้ ปน็ ประธาน ประธานฯมีวาระการดารงตาแหน่ง 6 ปนี ับตัง้ แต่วนั ท่ไี ด้รับการแต่งตงั้ อยู่ไดเ้ พียงวาระเดียว นอกจากการพ้นตาแหน่งตามวาระแล้ว ประธานคณะกรรมการฯ จะพน้ จากตาแหน่งเมอื่ 1. ตาย 2. ลาออก (ยืน่ หนังสอื ลาออกตอ่ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย) 3. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยสงั่ ให้ออก โดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี เนือ่ งจากมีความประพฤตเิ สื่อเสีย บกพร่อง หรอื ไมส่ ุจรติ ต่อหนา้ ท่ี 4. ขาดคณุ สมบัติ 5. เป็นบุคคลล้มละลาย 6. เป็นคนไรค้ วามสามารถหรือเสมอื นไรค้ วามสามารถ 7. ไดร้ ับโทษจาคุกโดยพิพากษาถงึ ทสี่ ดุ ใหจ้ าคุก คณุ สมบัตขิ อง กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ ท้ัง 5 คน (คนที่จะมาเปน็ กรรมการในขอ้ 3) - สญั ชาติไทย - อายุไม่ต่ากว่า 40 ปบี ริบรู ณ์ - ไม่เปน็ ข้าราชการซ่ึงมีตาแหนง่ หรือเงนิ เดือนประจา - ไมเ่ ปน็ พนักงานหรอื ลูกจา้ งของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รฐั วสิ าหกิจหรอื องค์กร ปกครองสว่ นท้องถ่ิน - ไม่เปน็ ผู้ดารงตาแหนง่ ทางการเมือง - ไมเ่ ปน็ สมาชิกสภาท้องถ่ินหรอื ผู้บรหิ ารทอ้ งถิ่น - ไม่เป็นเจ้าหนา้ ท่ีหรอื ผู้มีตาแหนง่ ใดๆในพรรคการเมอื ง ถ้าตาแหนง่ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิหรอื กรรมการผแู้ ทนวา่ งลงใหด้ าเนินการคดั เลือกกรรมการ มาแทนตาแหน่งทีว่ า่ งนนั้ โดยเร็ว คนทีม่ าทาหน้าที่แทนจะมีวาระเทา่ กับระยะเวลาที่เหลืออยู่ ของผทู้ ่ีตนแทน

139 นอกจากการพ้นตาแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ จะพ้นจากตาแหนง่ เมื่อ 1. ตาย 2. ลาออก (ย่ืนหนงั สอื ลาออกต่อประธานกรรมการ) 3. เป็นบคุ คลล้มละลาย 4. เปน็ คนไร้ความสามารถหรอื เสมอื นไร้ความสามารถ 5. ขาดคุณสมบตั หิ รอื มีลักษณะต้องหา้ ม 6. ได้รับโทษจาคุกโดยพิพากษาถงึ ทส่ี ดุ ใหจ้ าคุก ขอ้ สงั เกตทน่ี ่าสนใจ ประธานฯ จะมวี าระการดา่ รงต่าแหน่ง 6 ปี และเป็นประธานไดแ้ ค่เพยี งวาระเดยี ว กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ และ กรรมการผู้แทนมวี าระคราวละ 4 ปี และอาจได้รับการ คัดเลอื กอกี ได้ การประชุมคณะกรรมการฯ - ต้องมีกรรมการมาประชมุ ไมน่ อ้ ยกวา่ ก่งึ หนึ่งของจานวนกรรมการจงึ จะเป็นองคป์ ระชมุ - ประธานไม่อยูใ่ นท่ีประชุมใหท้ ่ปี ระชมุ เลือกกรรมการคนหนงึ่ ทาหนา้ ท่เี ปน็ ประธาน - มีคะแนนคนละเสยี ง ถ้าคะแนนเท่ากนั ใหป้ ระธานออกเสียงเพม่ิ อกี หน่งึ เปน็ เสียงช้ขี าด คณะกรรมการฯอาจแตง่ ต้ังคณะอนุกรรมการเพอ่ื ดาเนนิ การใดๆ ตามทีค่ ณะกรรมการฯมอบหมายได้

140 คณะกรรมการกลางขา้ ราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด ประกอบด้วย 1. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย หรอื รัฐมนตรชี ่วยฯ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ประธาน 2. กรรมการโดยตาแหนง่ 2.1 ปลัดกระทรวงมหาดไทย 2.2 เลขาธกิ ารคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น 2.3 ผู้อานวยการสานกั งบประมาณ 2.4 อธิบดีกรมบญั ชีกลาง 2.5 อธิบดกี รมการปกครอง 3. ผู้แทนองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั 6 คน 3.1 คดั เลือกจากนายกองค์การบริหารสว่ นจงั หวัด 3 คน 3.2 คดั เลอื กจากปลัดองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด 3 คน 4. ผูท้ รงคุณวุฒจิ านวน 6 คน คัดเลือกจากบุคคลซงึ่ มคี วามรู้ ความเชย่ี วชาญในดา้ นการบรหิ ารงานทอ้ งถน่ิ ด้านการบรหิ ารงานบคุ คล ดา้ นระบบราชการ ด้านการบริหารและการจัดการ หรือดา้ นอ่ืนๆท่เี ปน็ ประโยชน์ 5. ข้าราชการในกรมการปกครองซึ่งดารงตาแหน่งไมต่ ่ากว่ารองอธิบดี เปน็ เลขานุการ โดยขอ้ 5 นใ้ี ห้อธบิ ดกี รมการปกครองแต่งตั้งมาคนหนึง่ ใหเ้ ปน็ เลขานกุ าร การไดม้ าของกรรมการข้อ 3 ไดม้ าอย่างไร ให้ปลดั กระทรวงมหาดไทยมหี นา้ ท่ีดาเนินการจัด ใหม้ ีการคดั เลอื กนายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด หรือ ปลดั องคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั ในข้อ 3 การได้มาของกรรมการข้อ 4 ไดม้ าอยา่ งไร กรรมการข้อท่ี 1 และ 2 เสนอรายชื่อบุคคลมา 9 คน กรรมการขอ้ 3 เสนอชือ่ บคุ คลมาอีก 9 คน รวมกนั จะได้ 18 คน แลว้ ให้ 18 คนนี้ ประชมุ เพอ่ื คดั เลือกกันเองให้เหลือ 6 คนได้มาเป็นขอ้ 4 คณะกรรมการกลางขา้ ราชการองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด (คอื กรรมการหนง่ึ ชุดดงั กล่าวนี้ เป็นกรรมการระดับประเทศ ดูแลครอบคลมุ วางกฎเกณฑต์ ่างๆเกี่ยวกับ อบจ ทง้ั ประเทศ) สรุปหน้าท่ขี องกรรมการชดุ ดงั กลา่ วน้ี คอื ออกกฎเกณฑ์ กาหนดมาตรฐาน เกี่ยวกับงาน บคุ คลต่างๆใหก้ บั องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั (หรอื อบจ) เช่น เรื่องระเบียบ วนิ ยั อัตรา ตาแหน่ง การแต่งต้งั การโยกย้าย เงินเดอื น ค่าตอบแทนอ่ืนๆ การให้ออกจากราชการ การอุทธรณ์ การร้อง ทุกข์ คณุ สมบัตขิ องบคุ คลท่จี ะเปน็ ข้าราชการ กากบั แนะนา ชีแ้ จง สง่ เสรมิ ด้านงานบุคคลของ อบจ ในจงั หวัดตา่ งๆ

141 รู้จักคณะกรรมการชดุ ใหญข่ องประเทศหนึง่ ชดุ ซ่ึงเป็นกรรมการกลางแลว้ ตอ่ ไปก็รูจ้ ักกรรมการ ทีป่ ระจาแตล่ ะจงั หวัด ซงึ่ รบั งานมาจากกรรมการชุดใหญ่ (กระจายออกมาทางานแต่ละ อบจ) การบรหิ ารงานบุคคลในองค์การบริหารส่วนจงั หวดั คณะกรรมการข้าราชการองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัด ประกอบด้วย 1. ผู้ว่าราชการจังหวดั เป็นประธาน 2. หัวหน้าสว่ นราชการในจังหวัด 3 คน 3. ผ้แู ทนองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั 4 คน กรรมการในข้อ 3.4 และ ขอ้ 4 มวี าระดารงตาแหน่ง 4 ปี และ 3.1 นายกองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั ถ้าหากกรรมการดงั กลา่ ววา่ งลง 3.2 สมาชิกสภาองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัด ใหม้ ีการคดั เลอื กผู้ที่จะมาแทน 3.3 ปลัดองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั ตาแหนง่ ท่วี า่ งโดยเร็ว โดยให้ผู้ 3.4 ผ้แู ทนข้าราชการองค์การบริหารสว่ นจงั หวัด ท่มี าแทนมอี ายวุ าระเทา่ ที่เหลือ 4. ผทู้ รงคุณวฒุ ิ 4 คน คดั เลือกจากผมู้ คี วามเชย่ี วชาญ เปน็ เลขานกุ าร ในด้านการบริหารงานทอ้ งถิ่น บรหิ ารงานบุคคล ระบบข้าราชการ หรอื ดา้ นอน่ื ๆทเ่ี ป็นประโยชน์ 5. ปลัดองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัด โดยผวู้ ่าราชการจงั หวดั จะเป็นผูม้ ีหนา้ ที่ดาเนินการจดั ใหม้ กี ารคัดเลอื กผูแ้ ทน ขา้ ราชการองค์การบริหารสว่ นจงั หวัด (คือ ข้อ 3.4 ต้องมกี ารจัดเลือกต้งั หรือคัดเลือกมา 1 คน จากขา้ ราชการ อบจ ทั้งจังหวัด) ดูรายละเอยี ดท่ีข้อ 4 ซึ่งกล่าวถึงผทู้ รงคุณวุฒจิ านวน 4 คน ที่จะมาเป็นคณะกรรมการนี้ คดั เลือกโดยให้ ผู้วา่ ราชการจังหวดั และหัวหน้าสว่ นราชการในจงั หวัด 3 คน (ข้อ 1 , 2) เสนอชือ่ บคุ คลมา 6 คน และใหผ้ ู้แทน 4 คน (ข้อ 3) เสนอชือ่ มาอกี 6 คน รวม 12 คน จากน้ันให้ทั้ง 12 คนทไี่ ดร้ บั การเสนอชอื่ มานี้ ประชุมเพ่ือคดั เลอื กกันเองให้เหลือ 4 คน

142 คณุ สมบตั ขิ องกรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ท้ัง 4 คน (คนที่จะมาเปน็ กรรมการในข้อ 4) - สัญชาตไิ ทย (มชี อ่ื อยใู่ นทะเบียนบ้านจังหวดั นัน้ ไม่น้อยกวา่ 1 ปี นบั ถึงวนั เลอื กต้ัง) - อายุไมต่ ่ากว่า 40 ปบี รบิ ูรณ์ - ไม่เปน็ ขา้ ราชการซึง่ มตี าแหนง่ หรือเงินเดอื นประจา - ไม่เปน็ พนักงานหรือลกู จ้างของหนว่ ยราชการ หนว่ ยงานของรฐั รฐั วิสาหกิจหรือองคก์ ร ปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ - ไมเ่ ปน็ ผดู้ ารงตาแหนง่ ทางการเมือง - ไมเ่ ปน็ สมาชกิ สภาทอ้ งถน่ิ หรือผู้บรหิ ารท้องถิ่น - ไม่เปน็ เจา้ หน้าทห่ี รอื ผู้มตี าแหนง่ ใดๆในพรรคการเมือง หลักเกณฑ์ตอ่ ไปนี้ ใหใ้ ช้เหมือนกันทั้งคณะกรรมการขา้ ราชการองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัด คณะกรรมการพนกั งานเทศบาล คณะกรรมการพนกั งานส่วนตาบล คณะกรรมการพนกั งานเมอื งพัทยา 1. การประชมุ ของคณะกรรมการฯ ตอ้ งมกี รรมการประชมุ ไมน่ อ้ ยกวา่ กง่ึ หนง่ึ ของกรรมการ ทั้งหมด ถา้ ประธานไมอ่ ย่ใู นท่ปี ระชมุ หรอื อยู่แต่ไม่สามารถปฏิบตั ิหน้าท่ไี ดใ้ หเ้ ลือกกรรมการคนใด คนหนงึ่ ทาหนา้ ท่ีประธานในทป่ี ระชมุ การวินจิ ฉยั ชข้ี าดใหถ้ อื เสยี งข้างมาก กรรมการคนหนง่ึ มหี น่ึงเสยี ง ถ้าคะแนนเท่ากัน ให้ ประธานในทปี่ ระชุมออกเสียงเพิ่มขนึ้ อกี เสียงเป็นเสยี งชขี้ าด ** ถ้ามกี ารพิจารณาเรอ่ื งเกย่ี วกบั กรรมการผู้ใดโดยเฉพาะ กรรมการผ้นู น้ั ไมม่ สี ิทธิเข้าประชุม 2. คณะกรรมการฯ อาจแต่งต้ังคณะอนุกรรมการฯ เพ่อื ดาเนินการใดๆตามทมี่ อบหมายได้ 3. คา่ ตอบแทนของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการให้เป็นไปตามระเบียบท่ี คณะกรรมการกลางฯ กาหนด โดยการกาหนดคา่ ตอบแทนตอ้ งคานึงถึงปริมาณงาน รายได้ และ รายจา่ ยของแตล่ ะแหง่ สามารถปรบั ลดหรอื เพม่ิ ขึน้ ได้ตามความเหมาะสมของปรมิ าณงานและ สภาพทางการเงนิ 4. หนา้ ทข่ี องคณะกรรมการฯ คอื กาหนดหลักเกณฑแ์ ละดาเนนิ งานเก่ียวกับการ บรหิ ารงานบุคคล

143 5. การกาหนดหลักเกณฑแ์ ละการดาเนนิ การต่างๆเก่ยี วกบั การบริหารงานบคุ คลให้ คณะกรรมการกาหนดให้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและความเหมาะสมของหน่วยงานแหง่ น้ัน ภายใต้กรอบมาตรฐานที่คณะกรรมการกลางฯ กาหนด 6. การออกคาส่ังเกี่ยวกบั การบรรจุ แตง่ ต้ัง การย้าย การโอน การรับโอน การเลอื่ นระดับ การเล่อื นขน้ั เงนิ เดือน การสอบสวน การลงโทษทางวนิ ยั การให้ออกจากราชการ การอทุ ธรณแ์ ละ การร้องทุกข์หรือการอืน่ ใดเกี่ยวกบั การบรหิ ารงานบคุ คล ใหเ้ ป็นอานาจของผู้บังคบั บัญชาของ องค์การบริหารน้นั ๆ ได้แก่ นายกองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด นายกเทศมนตรี นายกองค์การ บริหารส่วนตาบล นายกเมอื งพทั ยา ขอ้ ความเหล่านี้ ใชก้ ับการบริหารงานบคุ คลสว่ นทอ้ งถิ่นอ่นื ๆ ไดแ้ ก่ อบต เทศบาล เมืองพัทยา โดยอนโุ ลม ผ้ศู ึกษาพระราชบญั ญตั ิและระเบียบบรหิ ารจะได้ไม่ต้องจาเยอะแยกยอ่ ยเปน็ ส่วนๆ คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล ประกอบด้วย 1. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยหรือรัฐมนตรีช่วยวา่ การฯท่ีได้รับมอบหมาย ประธาน 2. ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ผูอ้ านวยการสานักงบประมาณ อธบิ ดีกรมบัญชีกลาง อธิบดี กร ม การ ปก คร อง 3. ผ้แู ทนเทศบาล 6 คน คัดเลือกจากนายกเทศมนตรี 3 คน คดั เลือกจากปลัดเทศบาล 3 คน 4. ผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 6 คน ซ่งึ คัดเลือกจากบุคคลซึ่งมีความรู้ความเช่ียวชาญในด้านการ บรหิ ารงานท้องถ่ิน ด้านการบริหารงานบุคคล ดา้ นการบริหารและการจัดการ หรือดา้ นอ่ืนที่จะ เปน็ ประโยชน์ 5. อธบิ ดีกรมการปกครองแต่งตั้งข้าราชการในกรมการปกครองคนหนึ่ง ซ่งึ ดารงตาแหน่งไม่ตา่ กว่า รองอธิบดี มาเป็นเลขานุการคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล การคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 6 คนให้กรรมการข้อ 1 และ ขอ้ 2 เสนอรายชื่อบุคคลมา 9 คน และกรรมการข้อ 3 เสนอรายชื่อ 9 คน แล้วให้ 18 คนนน้ั เลือกกันเองให้เหลือ 6 คน กรรมการผู้แทนเทศบาล (ขอ้ 3) และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (ข้อ 4) มวี าระในตาแหน่ง 4 ปี

144 คณะกรรมการพนกั งานเทศบาล 1. ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน 2. หัวหน้าส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องจานวน 5 คน 3. ผู้แทน 6 คน ประกอบด้วย ประธานสภาเทศบาล ซงึ่ คัดเลือกกันเอง 2 คน นายกเทศมนตรี ซึง่ คดั เลือกกันเอง 2 คน ผู้แทนพนักงานเทศบาล ซึ่งปลัดเทศบาลในเขตจังหวัดน้ัน คัดเลือกกันเอง 2 คน 4. ผูท้ รงคุณวุฒิ 6 คน ซึ่งคัดเลือกจากบุคคลซ่ึงมีความรู้ความเชี่ยวชาญในด้านการ บรหิ ารงานท้องถ่ิน ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านระบบราชการ ดา้ นการบริหารและการ จัดการหรือด้า น อ่ืน ท่ีเป็ น ปร ะโยชน์ 5. ผวู้ ่าราชการแต่งต้ังขา้ ราชการหรือพนักงานคนหน่ึงในจังหวัด เป็นเลขานุการคณะ กรรมการฯ การคดั เลือกผู้ทรงคุณวุฒิข้อ 4 ให้กรรมการข้อ 1 และ 2 เสนอรายชื่อคนมา 9 คน ใหข้ อ้ 3 เสนอชื่อคนมา 9 คน แลว้ ให้คนทั้ง 18 คน ประชุมเพื่อคัดเลือกกันเองให้เหลือ 6 คน กรรมการผู้แทนข้อ 3 และผู้ทรงคุณวุฒิข้อ 4 มวี าระคราวละ 4 ปี และอาจได้รับเลือกอีกได้ คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตาบล ประกอบด้วย 1. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยหรือรัฐมนตรีช่วยว่ฯ ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย เปน็ ประธาน 1. ปลดั กระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน ผูอ้ านวยการสานักงบประมาณ อธบิ ดีกรมบัญชีกลาง อธบิ ดีกรมการปกครอง 2. ผู้แทนองค์การบริหารส่วนตาบล 6 คน คัดเลือกจากประธานกรรมการบริหารองค์การบริหาร ส่วนตาบล 3 คน คดั เลือกจากปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลจานวน 3 คน 3. ผทู้ รงคุณวุฒิจานวน 6 คน ซง่ึ คัดเลือกจากบุคคลซ่ึงมีความรู้ความเชี่ยวชาญในด้านการ บริหารงานท้องถ่ิน ดา้ นการบริหารงานบุคคล ดา้ นการบริหารและการจัดการ หรือด้านอ่ืนท่ีจะ เปน็ ประโยชน์ 4. อธิบดีกรมการปกครองแต่งต้ังข้าราชการในกรมการปกครองคนหนึ่ง ซึ่งดารงตาแหน่งไม่ต่ากวา่ รองอธิบดี มาเปน็ เลขานุการคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตาบล

145 การคดั เลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 6 คนนัน้ ให้กรรมการข้อ 1 และ ข้อ 2 เสนอรายช่ือบุคคล 9 คน และกรรมการข้อ 3 เสนอรายชื่อ 9 คน แล้วให้ 18 คนนนั้ คักเลือกกันเองให้เหลือ 6 คน กรรมการผู้แทน (ข้อ 3) และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (ข้อ 4) มวี าระในตาแหน่ง 4 ปี คณะกรรมการพนกั งานสว่ นตาบล 1. ผ้วู า่ ราชการจังหวัด หรอื รองผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งได้รับมอบหมาย เป็นประธาน 2. นายอาเภอหรือหัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัดในส่วนที่เกี่ยวข้อง จานวน 8 คน 3. ผู้แทนองค์การบริหารส่วนตาบล จานวน 9 คน ประกอบด้วย ก. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตาบล เลือกกันมาเองจานวน 3 คน ข. ประธานกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตาบล ซ่ึงเลือกกันเอง จานวน 3 คน ค. ผแู้ ทนพนักงานส่วนตาบล ซง่ึ ปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลเลือกกันเองจานวน 3 คน 4. ผทู้ รงคุณวุฒิ 9 คน ซึ่งคัดเลือกจากบุคคลซ่ึงมีความรู้ความเช่ียวชาญในดา้ นการ บริหารงานท้องถิ่น ดา้ นการบริหารงานบุคคล ด้านระบบราชการ ดา้ นการบริหารและการ จัดการหรือด้านอ่ืนๆท่ีเป็นประโยชน์ 5. ให้ผูว้ ่าราชการจังหวัดแต่งต้ังขา้ ราชการหรือพนักงานส่วนตาบลคนหนึ่ง เป็นเลขานุการ การคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิข้อ 4 ให้กรรมการข้อ 1 และ 2 เสนอรายชื่อคนมา 15 คน ให้ กรรมการข้อ 3 เสนอชื่อคนมา 15 คน แลว้ ให้คนทั้ง 30 คน ประชุมเพื่อคัดเลือกกันเองให้ เหลือ 9 คน กรรมการผู้แทนข้อ 3 และผู้ทรงคุณวุฒิข้อ 4 มวี าระคราวละ 4 ปี และอาจได้รับเลือกอีกได้ ขอ้ สังเกต คณะกรรมการทมี่ ีชื่อคาวา่ กลาง อยูด่ ว้ ยจะดูแลแตล่ ะสว่ น อปท คมุ ทั้งประเทศ โดยประธานจะเป็น รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยหมด ส่วนคณะกรรมการในระดบั จงั หวดั จะมปี ระธานเป็นผ้วู ่าราชการจงั หวัดนน้ั ๆ เดยี๋ วอ่านศึกษาไปอกี สกั 2 หนา้ จะเรม่ิ เข้าใจได้ เปรียบเทียบกรรมการต่างๆ สว่ นคณ

146 คณะกรรมการพนกั งานเมืองพัทยา ทาหนา้ ท่ีกาหนดหลักเกณฑ์และดาเนินการเก่ียวกับการบริหารงานบุคคลขอ งพนักงานเมืองพัทยา 1. ผวู้ า่ ราชการจังหวัดชลบุรี เปน็ ประธาน 2. นายอาเภอหรือหัวหน้าส่วนราชการในจังหวัดชลบุรีที่เก่ียวข้อง จานวน 3 คน 3. ผแู้ ทนเมืองพัทยาจานวน 4 คน - นายกเมืองพัทยา - สมาชิกสภาเมืองพัทยา ซึง่ สภาเมืองพัทยาคัดเลือก 1 คน - ปลัดเมืองพัทยา - ผแู้ ทนพนักงานเมืองพัทยาซึ่งคัดเลือกกันเองจานวน 1 คน 4. ผู้ทรงคุณวุฒิ 4 คน ซง่ึ คดั เลือกจากบุคคลผู้ซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญในดา้ นการ บริหารงานท้องถ่ิน ดา้ นการบริหารงานบุคคล ด้านระบบราชการ ด้านการบริหารและการ จัดการหรือด้านอ่ืนๆที่จะเป็นประโยชน์แก่การบริหารงานบุค คลของเมืองพัทยา 5. ปลัดเมืองพัทยาเป็นเลขานุการและคณะกรรมการเมืองพัทยา การคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ขอ้ 4 ใหก้ รรมการข้อ 1 และ 2 เสนอรายช่ือบุคคลมา 6 คน กรรมการตามข้อ 3 เสนอรายชื่อบุคคลจานวน 6 คน ได้ 12 คน แล้วให้คัดเลือกกันเองเหลือ 4 คน กรรมการผูแ้ ทนขอ้ 3 และผู้ทรงคณุ วุฒขิ อ้ 4 มีวาระคราวละ 4 ปี และอาจไดร้ ับเลอื กอีกได้ สรุป รู้จักกับคณะกรรมการที่ทางานเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล อปท คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน [ก.ถ.] (ใหญ่ที่สุดมีคณะเดียวคุมทั้งหมด ทง้ั เทศบาล อบจ อบต พทั ยา) - คณะกรรมการกลางขา้ ราชการองค์การบริหารสว่ นจงั หวดั (คณะเดียว ดูแล อบจ ทัง้ ประเทศ) - คณะกรรมการข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด (ประจาอยู่แต่ละจังหวัด ดูแล อบจ ในจงั หวัด) - คณะกรรมการกลางพนกั งานเทศบาล (มคี ณะเดียว ดูแล เทศบาล ท้งั ประเทศ) - คณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ประจาอยู่แต่ละจังหวัด ดูแล เทศบาล ในจังหวัด) - คณะกรรมการกลางพนกั งานสว่ นตาบล (มีคณะเดียว ดูแล อบต ทัง้ ประเทศ) - คณะกรรมการพนักงานส่วนตาบล (ประจาอยู่แต่ละจังหวัด ดแู ล อบต ในจงั หวัด) - คณะกรรมการพนักงานเมืองพทั ยา (มคี ณะเดียว ดูแล พนักงานเมืองพัทยา) ข้อสังเกตช่ือคณะกรรมกำร ดทู ่ีคำว่ำ “กลำง” ซึง่ แทรกเข้ำมำ กลำง ก็หมำยถงึ กองกลำง ดูแลงำนทง้ั ประเทศ

147 ผงั สรุปคณะกรรมการเกย่ี วกบั งานบุคคลของราชการสว่ นทอ้ งถน่ิ คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนทอ้ งถนิ่ [ก.ถ.] ก.จ. ก.ท. ก.อบต. ก.ก. ก.จ.จ. ก.ท.จ. ก.อบต.จงั หวัด ก.พัทยา เฉพาะ กทม อบจ แตล่ ะจังหวัด เทศบาลแต่ละจังหวัด อบต แต่ละจังหวัด เมืองพัทยา ก.ถ. ชื่อเตม็ “คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบคุ คลสว่ นทอ้ งถนิ่ ” (ใหญ่ท่ีสุด วางเกณฑ์คมุ ได้ทุก อปท ประธานจะมาจากกระบวนการเสาะหา มีวาระ 6 ป)ี - คณะกรรมการกลางขา้ ราชการองค์การบริหารสว่ นจังหวดั ก.จ. คุมระดบั ประเทศ เฉพาะ อบจ - คณะกรรมการข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด ก.จ.จ. ดูแลกลุ่ม อบจ ในจังหวัดนั้นๆ - คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล ก.ท. ดูแลกลมุ่ เทศบาลทั้งประเทศ (คมุ เฉพาะเทศบาล) - คณะกรรมการพนักงานเทศบาล ก.ท.จ. (ประจาอยู่แต่ละจังหวัด ดูแลเทศบาล ในจงั หวัดนั้นๆ) - คณะกรรมการกลางพนักงานสว่ นตาบล ก.อบต ( ดแู ลเฉพาะ อบต แต่คุม อบต ทั้งประเทศ) - คณะกรรมการพนักงานส่วนตาบล ก.อบต.จงั หวัด (ดแู ล อบต เฉพาะในจังหวัดน้ันๆ) - คณะกรรมการพนักงานเมืองพัทยา (ดแู ลพนักงานเมืองพัทยา) - คณะกรรมการข้าราชการกรงุ เทพมหานครและบคุ ลากรกรงุ เทพมหานคร ก.ก. (ดแู ล กทม) ผู้อ่ำนคงเขำ้ ใจแลว้ วำ่ ขอ้ ควำมท่อี ำจปรำกฏเห็นตำมประกำศรับสมคั ร เช่น คุณสมบตั ิ เป็นไปตำมท่ี ก.จ ก.ท. ก.อบต ก.จ.จ. ก.ท.จ. ก.อบต.จงั หวัด กำหนดไว้ และไมข่ ัดตอ่ ก.ถ. อะไรประมำณนี้ หมำยควำมว่ำอย่ำงไร

148 การดาเนินการทางวนิ ัยข้าราชการสว่ นท้องถิ่น ข้อมูลควรรเู้ กยี่ วกบั วนิ ยั ขา้ ราชการ ก.พ. หรือ คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน จะเปน็ ทีมตน้ แบบท่ีวางเกณฑ์หรอื เง่ือนไขเกีย่ วกบั วนิ ยั ขา้ ราชการและพนักงานตา่ งๆของประเทศไทย เปน็ แม่แบบวางไวซ้ ึง่ สว่ นราชการตา่ งๆก็จะนาเน้อื หาหรือแนวทางจาก ก.พ. ไปกาหนดเปน็ แบบแผนทางวนิ ยั หรือกฏเกณฑ์ของขา้ ราชการและพนกั งานในสังกัดของตน ดงั นั้น โดยภาพรวมๆเก่ยี วกับ ของวินยั ขา้ ราชการและพนกั งาน จงึ มีความใกล้เคยี งกนั หรอื คลา้ ยกันในทุกสังกัด จะมีที่ แตกตา่ งบ้างนดิ ๆหนอ่ ยๆ แลว้ แต่ความเหมาะสมซ่งึ คณะกรรมการฝ่ายบุคคลของส่วน ราชการนนั้ ๆนาไปใชต้ ามแบบของสังกัดตนเอง แต่ภาพรวมคือใกลเ้ คยี งกนั เหมือนๆกนั ความหมายของวินัย พนกั งานสว่ นท้องถิน่ ต้องรกั ษาวินัยตามทีบ่ ัญญตั ิเปน็ ขอ้ หา้ มและข้อปฏิบัตไิ ว้ในหมวดน้ี โดยเคร่งครัดอยู่เสมอ ความหมายของคาวา่ วินยั แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะ 1. ระเบียบ กฎเกณฑ์ แบบแผนความประพฤติทกี่ าหนดให้ขา้ ราชการต้องยึดถือปฏบิ ตั ิ 2. ลกั ษณะเชิงพฤติกรรมทแ่ี สดงออกมาว่าสามารถควบคุมตนเองใหอ้ ยใู่ นกรอบของวนิ ยั ได้ สถานโทษทางวินัยมี 5 สถาน การอุทธรณต์ ้องทาเป็นหนังสอื ถึงประธาน คณะกรรมการส่วนทอ้ งถน่ิ นนั้ ๆ พร้อม 1. ภาคทัณฑ์ ลายมือชื่อและทอี่ ยู่ของผูอ้ ุทธรณ์ หรอื จะ สง่ ผ่าน นายก อปท. ทอี่ อกคาสงั่ น้ันกไ็ ด้ 2. ตัดเงินเดือน อยา่ งไม่รา้ ยแรง การส่งหนังสอื อทุ ธรณ์ ผอู้ ุทธรณ์อาจ นามายน่ื เองหรือส่งทางไปรษณยี ์ก็ได้ 3. ลดข้นั เงินเดือน ตอ้ งอุทธรณ์ ภายใน 30 วัน 4. ปลดออก 5. ไล่ออก อยา่ งรา้ ยแรง เกรด็ พึงรู้ ถ้าเปน็ ลกู จา้ งหรือพนักงานจา้ ง มโี ทษทางวินัย 4 สถาน (ไมใ่ ช่ 5 สถาน) คือ ภาคทณั ฑ์ ตัดคา่ ตอบแทน ลดค่าตอบแทน ไลอ่ อก

149 การดาเนินการทางวินัย การดาเนนิ การทั้งหลายท่กี ระทาเป็นพธิ ีการตามกฎหมายเมือ่ มีกรณถี ูกกล่าวหาวา่ กระทา ผดิ วินยั โดยมีกระบวนการ ดังน้ี 1.การตง้ั เรอื่ งกลา่ วหา 2.การสบื สวนหรือสอบสวน 3.การพจิ ารณาความผดิ และโทษ 4.การสัง่ ลงโทษหรอื งดโทษ 5.การดาเนนิ การต่างๆระหว่างการสอบสวนและพจิ ารณาความผิด เช่น การส่งั พกั ราชการ การสัง่ ให้ออกจากราชการไว้กอ่ น การลงโทษทางวนิ ัย - วินยั อยา่ งไม่รา้ ยแรง ใหน้ ายกองค์การบริหารส่วนท้องถิน่ หรือ ผบู้ ังคบั บัญชาท่ีไดร้ ับมอบหมาย ส่ังลงโทษ - วนิ ยั อยา่ งร้ายแรง ให้นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นทอ้ งถิน่ สั่งลงโทษ การลงโทษทางวนิ ยั ของข้าราชการองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด กรณีวินัยอยา่ งไมร่ า้ ยแรง (๑) นายกองค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั สั่งลงโทษภาคทณั ฑ์ หรือตัดเงินเดอื นครั้งหน่งึ ไม่เกนิ 5%และเปน็ เวลาไม่เกนิ สามเดอื น หรือลดขน้ั เงนิ เดอื นคร้ังหน่งึ ไม่เกินหนง่ึ ข้นั (2) ปลัดองค์การบริหารสว่ นจงั หวัด สงั่ ลงโทษภาคทณั ฑ์ หรอื ตัดเงินเดอื นครั้งหนึง่ ไมเ่ กนิ 5% และเป็นเวลาไมเ่ กนิ สองเดือน (3) หวั หนา้ สานกั ปลดั องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด ผอู้ านวยการกอง สงั่ ลงโทษภาคทัณฑ์ หรอื ตดั เงินเดือนคร้ังหน่ึงไมเ่ กนิ 5% และเปน็ เวลาไม่เกินหนง่ึ เดอื น กรณีวินัยอยา่ งร้ายแรง ให้นายกองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั ส่ังลงโทษปลดออกหรือไลอ่ อกตามความร้ายแรงแห่ง กรณีถ้ามเี หตุอนั ควรลดหยอ่ นจะนามาประกอบการพจิ ารณาลดโทษก็ได้ แต่ห้ามมิให้ลดโทษลงต่า กว่าปลดออก

150 การลงโทษทางวินยั ของข้าราชการเทศบาล กรณีวินัยอยา่ งไม่ร้ายแรง นายกเทศมนตรีมอี านาจลงโทษตัดเงนิ เดือนครั้งหน่ึงไมเ่ กิน 5 % และเป็นเวลาไมเ่ กินสาม เดือนและลดขั้นเงินเดือนครัง้ หน่งึ ไม่เกินหน่งึ ขั้น กรณีวนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรง ใหน้ ายกเทศมนตรีสั่งลงโทษปลดออกหรือไล่ออกตามความรา้ ยแรงแห่งกรณีถ้ามีเหตุอัน ควรลดหยอ่ นจะนามาประกอบการพิจารณาลดโทษกไ็ ด้ แตห่ า้ มมิใหล้ ดโทษลงต่ากวา่ ปลดออก การลงโทษทางวนิ ยั ของข้าราชการองค์การบรหิ ารส่วนตาบล กรณีวนิ ยั อย่างไมร่ ้ายแรง นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล มีอานาจลงโทษตัดเงินเดอื นครัง้ หนง่ึ ไม่เกิน 5 % และ เป็นเวลาไมเ่ กินสามเดอื น และ ลดขั้นเงินเดอื นคร้งั หนง่ึ ไมเ่ กนิ หนึ่งข้ัน กรณีวนิ ัยรา้ ยแรง ให้นายกองค์การบริหารส่วนตาบลสั่งลงโทษปลดออกหรอื ไลอ่ อกตามความร้ายแรงแห่ง กรณถี ้ามีเหตุอนั ควรลดหย่อนจะนามาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได้ แต่ห้ามมิให้ลดโทษลงต่า กว่าปลดออก อานาจหนา้ ทใี่ นการดาเนินการทางวนิ ัย เปน็ อานาจของนายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนทอ้ งถน่ิ น้นั ๆ ผู้บงั คบั บญั ชาอนื่ ๆ มอี านาจทาเรือ่ งดังกลา่ วได้ โดยตอ้ งไดร้ บั หนังสอื มอบอานาจจาก นายกฯ การดาเนินการทางวินยั ไม่มีอายคุ วาม กล่าวคือ นายกองค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถ่ินสามารถดาเนินการทางวนิ ัยไดต้ ลอดเวลาทย่ี งั รับราชการอยู่ ฐานความผดิ ทางวนิ ัย มี ๑๘ ฐาน คอื ๑. ฐานไม่สนบั สนุนการปกครองระบบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข ด้วยความบริสุทธ์ใิ จ ๒. ฐานไม่ซ่อื สตั ย์ สุจรติ และเที่ยงธรรมในการปฏิบัตหิ น้าที่ ๓. ฐานไม่ตง้ั ใจปฏิบตั ิหน้าทใี่ ห้เกิดผลดแี ละความกา้ วหนา้ ทางราชการ ๔. ฐานไมป่ ฏบฺ ตั หิ นา้ ท่รี าชการดว้ ยความอุตสาหะ ไม่เอาใจใส่ ไม่ระมัดระวังรักษาประโยชน์ ของทางราชการ ประมาทเลินเลอ่ ในหนา้ ท่รี าชการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook