51 ในกรณีที่ไม่มีผดู้ ารงตาแหน่งนายอาเภอ ใหผ้ วู้ า่ ราชการจังหวัดแตง่ ตั้งปลัดอาเภอ หรือหัวหนา้ ส่วนราชการประจาอาเภอผู้มีอาวุโส เปน็ ผรู้ ักษาราชการแทน ถา้ มีผดู้ ารงตาแหนง่ นายอาเภอ แตไ่ ม่อาจปฏบิ ัตริ าชการได้ ให้นายอาเภอแต่งต้ัง ปลดั อาเภอ หรอื หวั หน้าสว่ นราชการประจาอาเภอผมู้ ีอาวุโส เปน็ ผรู้ กั ษาราชการแทน ในกรณที ่ผี ูว้ า่ ราชการจงั หวดั หรอื นายอาเภอมิได้แตง่ ต้งั ผรู้ ักษาราชการแทนไว้ ใหป้ ลัดอาเภอหรอื หวั หน้าส่วนราชการประจาอาเภอผู้มอี าวุโสเป็นผ้รู ักษาราชการแทน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (อนั นท้ี างานภาพรวมทั้งประเทศ) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เป็นส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรี เลขาธิการ ก.พ.ร. (เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและ ลูกจ้างของสำนักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการรับผดิ ชอบการปฏบิ ัติราชการข้ึนตรงต่อ นายกรฐั มนตรี คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เรียกโดยย่อวา่ “ก.พ.ร.” ประกอบดว้ ย - นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรฐั มนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย ประธาน (คนปจั จบุ นั คอื นายวษิ ณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี) รองประธาน - รฐั มนตรหี นึ่งคนท่ีนายกรฐั มนตรกี าหนด - ผูซ้ ่ึงคณะกรรมการการกระจายอำนาจใหแ้ กอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ มอบหมาย - กรรมการผูท้ รงคณุ วุฒไิ มเ่ กนิ สบิ คน ซึ่งคณะรัฐมนตรแี ตง่ ต้ังจากผูม้ คี วามรู้ ความเชีย่ วชาญ ในทางดา้ นนิตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์รฐั ศาสตร์ การบริหารรฐั กจิ ผู้ทรงคุณวุฒิ การบริหารธุรกจิ การเงินการคลัง จิตวทิ ยาองค์การ และสังคมวิทยา - เลขาธิการ ก.พ.ร. เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร ** ขอ้ สอบมักถามชื่อ เลขาธิการ ก.พ.ร. ปจั จุบนั คือ นางสาวออ้ นฟา้ เวชชาชีวะ
52 การแต่งตง้ั กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ใิ ห้คณะรฐั มนตรีพจิ ารณาจากรายชือ่ บุคคลท่ีได้รับการ เสนอโดยวธิ ีการสรรหา ทัง้ นี้ ตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารสรรหาทคี่ ณะรัฐมนตรีกาหนด กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิมวี าระการดารงตาแหน่งคราวละ 4 ปี ผู้ซ่ึงพ้นจากตาแหนง่ แล้วอาจได้รบั แตง่ ตั้งอกี ได้แต่ไมเ่ กนิ สองวาระติดต่อกัน การประชม ก.พ.ร. ต้องมีกรรมการมาประชมุ ไม่นอ้ ยกวา่ ก่งึ หนึ่งของจานวนกรรมการ ท้ังหมดเท่าที่มีอยู่ การวินิจฉัยช้ขี าดใหถ้ ือเสยี งขา้ งมาก กรรมการคนหนง่ึ ให้มีเสยี งหนง่ึ ในการลงคะแนน ถา้ มีคะแนนเสยี งเทา่ กนั ให้ประธานในทปี่ ระชุมออกเสยี งเพ่ิมข้ึนอกี เสยี งหนึ่งเปน็ เสียงชีข้ าด อานาจหนา้ ท่ีของ ก.พ.ร. ก.พ.ร. มีอานาจหนา้ ท่ีหลกั ในการเสนอแนะ ใหค้ าปรึกษาแกค่ ณะรฐั มนตรีเกีย่ วกบั การ พฒั นาระบบราชการและงานของรัฐรวมถึงโครงสร้างระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบ บุคลากร มาตรฐานทางคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม คา่ ตอบแทนและวิธปี ฏิบัติราชการ ให้ข้อมูลตา่ งๆ ซึ่งเกีย่ วกับการทางานภายใต้พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน รวมถงึ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล แนะนาเพ่ือใหม้ กี ารปฏบิ ตั ติ ามพระราชบัญญัตนิ ้ี และรายงาน ต่อ คณะรฐั มนตรี อีกทั้งตคี วามและวินจิ ฉยั ปัญหาทเ่ี กิดขึน้ จากการใช้บังคับพระราชบัญญัตนิ ี้หรือ กฎหมายวา่ ด้วยการ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม สานักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ ย่อวา่ สานักงาน ก.พ.ร. คณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ ย่อวา่ ก.พ.ร.
53 พระราชบัญญัตกิ าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ เราไดศ้ กึ ษาแนวทางการรวมอานาจ แบ่งอานาจ และกระจายอานาจ มาแลว้ ในบทแรก รฐั บาลช่วงย่สี บิ ปีก่อนโดยประมาณ ยุคนนั้ กม็ ีแนวคิดกระจายอานาจใหช้ ัดเจน โดยจรงิ ๆแล้วได้ มีการกระจายอานาจอยแู่ ล้ว แตไ่ มจ่ ริงจงั (ไม่โดดเด่น ไม่บมู นัก ไมช่ ดั เจน) เพราะเรามเี ทศบาล มาตัง้ นานแลว้ สังเกตจาก พระราชบัญญตั ิเทศบาล มตี งั้ แต่ปี พ.ศ. 2496 หรอื พ.ร.บ. สภาตาบล และองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล ทต่ี ราขึน้ มาตั้งแต่ พ.ศ.2537 (แกไ้ ขครัง้ ท่ี 6 พ.ศ.2542) เปน็ ต้น ซึ่งในปี พ.ศ.2542 โดยนายชวน หลกั ภยั อดตี นายกรัฐมนตรี เป็นผ้นู ารฐั บาลในยคุ นน้ั ไดต้ รากฎหมายเพอื่ กระจายอานาจข้ึนมา (ทาใหเ้ ปน็ เรอื่ ง เป็นราว เอาจรงิ เอาจัง ชัดเจน) เพ่ือให้ ท้องถ่ินตา่ งๆ ซง่ึ มคี วามพรอ้ มจะดูแลตัวเอง ไดม้ ีโอกาสยกฐานะหรอื แปรเปลยี่ นสภาพตัวเองเปน็ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ดแู ลตวั เอง หารายได้ ทาอะไรกนั ไป ภายใต้การสนบั สนนุ ของรฐั บาล โดยเชื่อวา่ แนวคดิ นี้จะชว่ ยลดภาระค่าใชจ้ ่ายรัฐบาลได้ เพราะท้องถ่นิ สามารถหารายไดเ้ องไดแ้ ล้ว ดแู ลตวั เองและบริหารจดั การพฒั นาองคก์ รหรอื ชมุ ชนของตนได้อย่างดี เพราะเข้าใจในพืน้ ท่ตี นได้ ดีกวา่ ส่วนกลาง ทั้งให้คนในทอ้ งถิ่นเปน็ ผู้เลือกตัง้ ผู้บริหารกันมาคงดกี วา่ แนวคดิ เป็นแบบนีน้ ัน่ เอง แกน่ หลกั ของ พ.ร.บ. กระจายอานาจนีค้ ือ การตัง้ คณะกรรมการกระจายอานาจฯ ข้ึนมา (เราต้องทาความรจู้ ักกรรมการน)้ี และการบอกว่า ใหม้ อี งคก์ รอะไรไดบ้ า้ ง แลว้ ให้องคก์ รแต่ละประเภทนนั้ สามารถทาอะไรได้ มรี ายจา่ ยยังไง รายได้อย่างไร ใครบริหารองคก์ รฯ เกบ็ ภาษอี ะไรได้บ้าง อยา่ งไร ใครเปน็ ผู้ คอยกากบั ดแู ล องค์กร ใครเป็นผ้บู ริหารองค์การ ไดม้ าอย่างไร คือ เปน็ กฎหมายทร่ี ะบใุ ห้ ตง้ั อปท ได้ และ อปท แต่ละประเภทมีสิทธิทาอะไร อย่างไร น่เี อง คอื แก่นของกฏหมายน้ี เมือ่ กฎหมายฉบบั น้ี ไดต้ ราขึ้นมาและประกาศใช้ ปี พ.ศ. 2542 (เป็นเรอื่ งเปน็ ราว) จากนน้ั ทอ้ งถิน่ ต่างๆทีม่ ีความพร้อม ไดเ้ ร่มิ มแี นวคดิ พยายามที่จะดึงศกั ยภาพตวั เองข้นึ แล้วแปร สภาพการบริหารใหก้ ลายเปน็ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ มากขึ้น ส่วนองคก์ รใดซึ่งเป็นอยแู่ ล้วก็ พยายามยกระดบั ตัวเองให้เป็นองค์กรท่ดี ีกวา่ เชน่ เปลี่ยนจาก อบต เปน็ เทศบาลตา่ งๆ หรือการ ทีต่ าบล (แบบปกติซ่ึงผนู้ าหลักจะเป็นกานนั ) ไดเ้ ปลีย่ นมาเป็นองค์การบริหารส่วนตาบลกนั หมด (ผูน้ าหลกั กไ็ ม่ใชก่ านันแลว้ แต่เปน็ นายกองค์การบรหิ ารส่วนตาบลแทน) เหลา่ นท้ี าให้ อปท ใดๆ ขยายกันอยา่ งรวดเร็ว จนกลายเป็น อปท รวมๆเจด็ พันกวา่ แหง่ ปจั จบุ ัน
54 พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจใหแ้ ก่ อปท นายกรฐั มนตรี รักษาการตามพระราชบัญญตั ิน้ี รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลงั รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย ในสว่ นท่ีเก่ยี วกบั อานาจและหน้าท่ีของตน และมอี านาจออกกฎกระทรวงและระเบยี บเพอื่ ปฏิบตั กิ ารตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี นายชวน หลกี ภัย เป็นผรู้ บั สนองพระบรมราชโองการพระราชบญั ญัตินี้ --------------------------------------------------------------------------------------------------------- สานกั งานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แกอ่ งคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน [ สังกัดในสานกั งานปลดั สานักนายกรฐั มนตรี ] หวั หนา้ สานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจใหแ้ กอ่ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน เปน็ ผ้บู งั คับบญั ชา สานกั งานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น มีหนา้ ท่ี ดงั น้ี 1. รับผดิ ชอบงานธุรการของกรรมการ 2. รวบรวมข้อมูล ศกึ ษา และวเิ คราะห์เกย่ี วกับการกระจายอานาจให้แก่องคก์ รปกครองส่วน ทอ้ งถน่ิ และข้อมูลตา่ งๆเก่ยี วกับงานของคณะกรรมการ 3. ร่วมมือและประสานงานกบั ราชการสว่ นกลาง ราชการสว่ นภูมิภาค องค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถนิ่ และรัฐวสิ าหกิจ เพื่อดาเนนิ การให้เปน็ ไปตามพระราชบัญญตั นิ ้ี 4. ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏิบตั ิตามแผนตามท่ีคณะกรรมการมอบหมาย 5. ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่อืน่ ตามท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็นหน้าที่ของสานักงานคณะกรรมการการ กระจายอานาจใหแ้ กอ่ งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน หรือตามทคี่ ณะกรรมการมอบหมาย
55 คณะกรรมการการกระจายอานาจให้แกอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ - นายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรซี ง่ึ นายกรัฐมนตรมี อบหมาย เปน็ ประธาน - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย - ปลดั กระทรวงมหาดไทย - ปลัดกระทรวงการคลัง - ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร - ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ - เลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎีกา - เลขาธกิ ารคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น - เลขาธิการคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ - ผู้อานายการสานักงบประมาณ - อธิบดกี รมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถิน่ - ผู้แทนองคก์ รปกครองทอ้ งถนิ่ จานวน 12 คน ประกอบด้วย ผูบ้ ริหารองค์การบริหารสว่ นจังหวัด 2 คน - ผ้บู ริหารเทศบาล 3 คน ผ้บู รหิ ารองค์การบริหารส่วนตาบล 5 คน - ผบู้ ริหารกรงุ เทพมหานคร 1 คน ผูบ้ รหิ ารเมอื งพัทยา 1 คน - ผทู้ รงคุณวฒุ จิ านวน 12 คน ผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในดา้ นการบริหารราชการแผน่ ดิน ดา้ นการพฒั นาทอ้ งถ่ิน ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านการปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ในสาขารัฐศาสตรห์ รอื ศาสนศาสตร์ และด้านกฎหมาย - หัวหน้าสานักงานคณะกรรมการกระจายอานาจให้แกอ่ งคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน เปน็ เลขานกุ ารและคณะกรรมการ คุณสมบัตขิ องกรรมการผทู้ รงคุณวุฒมิ คี ุณสมบตั ิและลกั ษณะตอ้ งห้าม 1. สญั ชาติไทย 2. อายุไมต่ ่ากวา่ 35 ปี บรบิ รู ณ์ 3. ไมเ่ ป็นข้าราชการท่มี ีเงินเดอื นประจา พนักงาน หรอื ลูกจ้างหนว่ ยงานราชการ หรอื อปท 4. ไมเ่ ป็นผ้ดู ารงตาแหนง่ ทางการเมือง 5. ไม่เป็นสมาชกิ สภาทอ้ งถิน่ หรอื ผ้บู รหิ ารท้องถ่ิน 6. ไม่เปน็ เจา้ หนา้ ทีห่ รือผ้มู ีตาแหนง่ ใดๆในพรรคการเมือง
56 นอกจากพ้นตาแหนง่ ตามวาระแล้ว กรรมการผทู้ รงคุณวุฒพิ ้นตาแหน่งเมอ่ื 1. ตาย 2. ลาออกโดยยน่ื หนงั สือลาออกตอ่ ประธานกรรมการ 3. เปน็ บคุ คลลม้ ละลาย 4. เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไรค้ วามสามารถ 5. ขาดคณุ สมบตั ิหรือมลี ักษณะตอ้ งหา้ ม 6. ไดร้ ับโทษจาคุกโดยพิพากษาถงึ ที่สดุ ใหจ้ าคกุ การประชมุ ของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่นอ้ ยกวา่ ก่ึงหนึง่ ของจานวน กรรมการทั้งหมดจงึ จะเป็นองคป์ ระชุม ถ้าประธานไม่อยู่ ใหท้ ่ีประชมุ เลือกกรรมการคนหนง่ึ ทา หนา้ ทเี่ ปน็ ประธานในท่ปี ระชมุ การวนิ ิจฉัยช้ีขาดใหถ้ ือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึง่ ใหม้ ีเสยี งหนงึ่ ในการลงคะแนน ถ้าเสียงเทา่ กันให้ประธานในทป่ี ระชมุ ออกเสยี งเพมิ่ ขนึ้ อีกเสียงหนึ่งเปน็ เสยี งช้ีขาด ขอ้ สอบมักออกเก่ียวกับคณะกรรมการชุดดงั กล่าวนี้เยอะมากๆ ซ่งึ ไมย่ ากเท่าไร เชน่ คณะกรรมการมกี ี่คน ตอบ 36 คน แบง่ เปน็ โดยตาแหน่ง 12 ผ้แู ทน 12 ผ้ทู รงคุณวุฒิ 12 ข้อใดไมใ่ ช่คณะกรรมการการกระจายอานาจใหแ้ กอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ตอบ ปลัดสานกั นายกรัฐมนตรี ข้อใดกลา่ วไม่ถูกตอ้ งเกีย่ วกับคณุ สมบัตขิ องผ้ทู รงคณุ วุฒใิ นคณะกรรมการฯ ตอบ อายตุ ้ังแต่ 40 ปีขึ้นไป (เพราะความจริง กาหนดอายุ 35 ปีข้ึนไป) ผู้แทนองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด ในคณะกรรมการฯ มีกี่คน ตอบ 2 คน และมีขอ้ สอบอื่นๆท่ถี ามเกี่ยวกับคณะกรรมการนอ้ี ีกหลายขอ้ ซง่ึ เป็นข้อสอบจริง
57 กรงุ เทพมหานคร อบจ เทศบาล เมืองพทั ยา และ อบต มีอานาจและการจดั ระบบบริการ สาธารณะ เพอ่ื ประโยชน์ตอ่ ประชาชนของตนเอง และมีรายไดข้ องตนเองจากการเกบ็ ภาษี คา่ ธรรมเนียม รายไดจ้ ากทรพั ย์ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน รวมถงึ เงินอดุ หนุนจากรฐั และรายไดอ้ น่ื ๆตามท่ีกฎหมายบัญญัติ เรามาดกู นั ว่าพระราชบญั ญัตกิ าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แกอ่ งค์กร ปกครองส่วนท้องถน่ิ ไดก้ าหนด ให้ อปท ตา่ งๆ สามารถทาอะรได้บ้าง อยา่ งไร เทา่ ไร การกาหนดอานาจและหน้าทีใ่ นการจัดระบบการบริการสาธารณะ เทศบาล เมอื งพทั ยา และองค์การบรหิ ารส่วนตาบล ให้จัดบรกิ ารอะไรบ้าง ไดแ้ ก่ (๑) การจดั ทาแผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ ของตนเอง (๒) การจัดให้มแี ละบารงุ รกั ษาทางบก ทางน้า และทางระบายน้า (๓) การจดั ให้มแี ละควบคมุ ตลาด ท่าเทยี บเรือ ท่าขา้ ม และท่ีจอดรถ (๔) การสาธารณูปโภคและการกอ่ สรา้ งอนื่ ๆ (๕) การสาธารณปู การ (๖) การสง่ เสรมิ การฝึก และประกอบอาชีพ (๗) การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน (๘) การสง่ เสริมการทอ่ งเทย่ี ว (๙) การจดั การศึกษา (๑๐) การสงั คมสงเคราะห์ และการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ เด็ก สตรี คนชรา และผูด้ ้อยโอกาส (๑๑) การบารุงรักษาศิลปะ จารตี ประเพณี ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ และวัฒนธรรมอนั ดขี องท้องถิน่ (๑๒) การปรับปรุงแหลง่ ชมุ ชนแออดั และการจัดการเก่ยี วกับทีอ่ ยู่อาศัย (๑๓) การจดั ให้มแี ละบารุงรกั ษาสถานท่พี กั ผอ่ นหยอ่ นใจ (๑๔) การสง่ เสรมิ กีฬา (๑๕) การส่งเสรมิ ประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธเิ สรภี าพของประชาชน
58 (๑๖) ส่งเสริมการมสี ่วนร่วมของราษฎรในการพฒั นาทอ้ งถิ่น (๑๗) การรกั ษาความสะอาดและความเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อยของบ้านเมอื ง (๑๘) การกาจัดมูลฝอย สิง่ ปฏกิ ลู และนา้ เสยี (๑๙) การสาธารณสขุ การอนามยั ครอบครัว และการรักษาพยาบาล (๒๐) การจดั ให้มแี ละควบคุมสสุ านและฌาปนสถาน (๒๑) การควบคมุ การเลี้ยงสตั ว์ (๒๒) การจดั ให้มีและควบคมุ การฆา่ สตั ว์ (๒๓) การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามยั โรงมหรสพ และ สาธารณสถานอืน่ ๆ (๒๔) การจดั การ การบารงุ รกั ษา และการใชป้ ระโยชน์จากปา่ ไม้ ทดี่ นิ ทรพั ยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ ม (๒๕) การผงั เมือง (๒๖) การขนสง่ และการวิศวกรรมจราจร (๒๗) การดูแลรักษาทสี่ าธารณะ (๒๘) การควบคมุ อาคาร (๒๙) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (๓๐) การรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย การสง่ เสริมและสนบั สนุนการปอ้ งกันและรักษาความ ปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส์ นิ (๓๑) กิจการอน่ื ใดท่ีเป็นผลประโยชนข์ องประชาชนในทอ้ งถน่ิ ตามท่คี ณะกรรมการประกาศกาหนด องค์การบริหารส่วนจังหวัดมอี านาจและหนา้ ท่ีในการจดั ระบบบริการสาธารณะอะไรบา้ ง (๑) การจัดทาแผนพฒั นาท้องถิ่นของตนเอง และประสานการจดั ทาแผนพัฒนาจังหวัด ตามระเบียบทค่ี ณะรฐั มนตรกี าหนด (๒) การสนบั สนนุ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อนื่ ในการพฒั นาทอ้ งถนิ่ (๓) การประสานและใหค้ วามรว่ มมือในการปฏิบตั ิหน้าท่ขี ององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินอ่ืน (๔) การแบ่งสรรเงินซงึ่ ตามกฎหมายจะต้องแบง่ ใหแ้ กอ่ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินอื่น (๕) การคุม้ ครอง ดแู ล และบารงุ รกั ษาปา่ ไม้ ทดี่ ิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (๖) การจัดการศกึ ษา
59 (๗) การสง่ เสรมิ ประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธเิ สรภี าพของประชาชน (๘) การส่งเสรมิ การมสี ่วนร่วมของราษฎรในการพฒั นาท้องถิน่ (๙) การสง่ เสรมิ การพัฒนาเทคโนโลยที ี่เหมาะสม (๑๐) การจัดตัง้ และดูแลระบบบาบัดน้าเสียรวม (๑๑) การกาจดั มูลฝอยและสิ่งปฏิกลู รวม (๑๒) การจดั การสง่ิ แวดล้อมและมลพษิ ต่างๆ (๑๓) การจัดการและดแู ลสถานีขนส่งทงั้ ทางบกและทางนา้ (๑๔) การสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี ว (๑๕) การพาณิชย์ การส่งเสรมิ การลงทุน และการทากิจการไม่วา่ จะดาเนนิ การเองหรือรว่ มกบั บคุ คลอน่ื หรอื จากสหการ (๑๖) การสรา้ งและบารงุ รักษาทางบกและทางน้าทเ่ี ช่อื มต่อระหวา่ งองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ อนื่ (๑๗) การจัดตั้งและดูแลตลาดกลาง (๑๘) การสง่ เสริมการกีฬา จารีตประเพณี และวฒั นธรรมอนั ดีงามของทอ้ งถิน่ (๑๙) การจัดใหม้ โี รงพยาบาลจังหวัด การรกั ษาพยาบาล การปอ้ งกันและควบคมุ โรคติดตอ่ (๒๐) การจดั ใหม้ ีพพิ ิธภณั ฑ์และหอจดหมายเหตุ (๒๑) การขนสง่ มวลชนและการวศิ วกรรมจราจร (๒๒) การปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย (๒๓) การจดั ให้มรี ะบบรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยในจงั หวัด (๒๔) จดั ทากิจการใดอนั เป็นอานาจและหนา้ ทข่ี ององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ อืน่ ท่อี ยใู่ นเขต และ กจิ การนน้ั เป็นการสมควรให้องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ อืน่ ร่วมกันดาเนนิ การหรือใหอ้ งค์การ บริหารส่วนจงั หวัดจัดทา ท้งั นี้ ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด (๒๕) สนบั สนนุ หรอื ชว่ ยเหลอื สว่ นราชการ หรือองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ อนื่ ในการพัฒนาทอ้ งถ่นิ (๒๖) การให้บรกิ ารแก่เอกชน สว่ นราชการ หนว่ ยงานของรฐั รัฐวิสาหกิจหรือ องค์กรปกครองสว่ น ทอ้ งถิน่ อ่นื (๒๗) การสงั คมสงเคราะห์ และการพฒั นาคุณภาพชีวิตเดก็ สตรี คนชรา และผดู้ ้อยโอกาส (๒๘) จดั ทากจิ การอน่ื ใดตามท่กี าหนดไวใ้ นพระราชบัญญตั นิ ้ีหรอื กฎหมายอน่ื กาหนดใหเ้ ป็น อานาจและหนา้ ท่ีขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัด (๒๙) กิจการอืน่ ใดทีเ่ ป็นผลประโยชนข์ องประชาชนในทอ้ งถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
60 1. ใหถ้ า่ ยโอนภารกิจการให้บรกิ ารสาธารณะท่รี ฐั ดาเนินการอยู่ใน พรบ นีใ้ หบ้ ังคับแก่ อปท - ภารกิจท่เี ปน็ การดาเนินการซ้าซ้อนระหวา่ งรัฐและอปท ใหด้ าเนนิ การใหเ้ สร็จภายใน 4 ปี - ภารกิจทรี่ ัฐให้บรกิ ารในเขต อปท และกระทบ อปท อน่ื ๆใหด้ าเนินการใหเ้ สรจ็ ภายใน 4 ปี - ภารกิจที่เป็นการดาเนินการตามนโยบายของรฐั บาลใหด้ าเนนิ การใหภ้ ายใน 4 ปี 2. กาหนดขอบเขตความรับผดิ ชอบในการให้บริการสาธารณะของรัฐและของ อปท และ ระหวา่ ง อปท ด้วยกันเองตามอานาจและกาหนดไว้ใน พรบ นใ้ี หช้ ัดเจน อยา่ งเหมาะสมกับ อปท แต่ละทอ้ งถนิ่ พิจารณาทัง้ เรอื่ งประชากร คา่ ใชจ้ า่ ย ตลอดจนคณุ ภาพการใหบ้ ริการ ประชาชนจะได้รบั ท้งั น้ี ตอ้ งไมเ่ กินระยะเวลา 10 ปี 3. กาหนดแนวทางและหลกั เกณฑ์ให้รฐั ทาหนา้ ที่ประสานความร่วมมือและช่วยเหลอื การ ดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ใหม้ ีประสิทธิภาพ คณะกรรมการจดั ทาแผนปฏิบัตกิ าร โดยอย่างนอ้ ยต้องมีสาระสาคัญ ดังนี้ 1. กาหนดรายละเอียดของอานาจหน้าทีใ่ นการให้บรกิ ารสาธารณะท่จี ะตอ้ งกระทา 2. กาหนดหลักเกณฑแ์ ละวิธดี าเนนิ การในการจดั สรรสดั ส่วนภาษแี ละภาษอี ากร 3. รายละเอียดเกี่ยวกับการเสนอให้แกไ้ ขหรือจดั ใหม้ ีกฎหมายทีจ่ าเป็น 4. จัดระบบการบรหิ ารงานบุคคลขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ แผนปฏบิ ตั ิการดังกลา่ วนตี้ อ้ งกาหนดรายละเอยี ด วธิ ีปฏิบัติ กาหนดหนว่ ยงานทีม่ ีหนา้ ที่รับผิดชอบ รวมทงั้ ระยะเวลาในการดาเนนิ การให้ชดั เจนดว้ ย คณะกรรมการพิจารณาทบทวนการกาหนด อานาจและหน้าท่ีและการจัดสรรรายได้ของ อปท ภายหลังทไี่ ดด้ าเนินการตามแผนการกระจายอานาจใหแ้ ก่ อปท ไปแลว้ โดยต้องพจิ ารณาทบทวนใหมท่ กุ ระยะเวลาไมเ่ กนิ 5 ปี นบั ต้งั แต่วนั ทีม่ กี ารกาหนดอานาจ และหนา้ ทห่ี รือวันท่มี กี ารจัดสรรรายได้ ต้องพิจารณาถงึ ความเหมาะสมของการกาหนดอานาจและหน้าท่ีและการจดั สรรรายได้ เพอ่ื กระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่
61 แนวขอ้ สอบ 1. การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดนิ แบง่ เป็นกส่ี ่วน 1. 2 สว่ น 2. 3 สว่ น 3. 4 สว่ น 4. 5 ส่วน 2. ข้อใดไมใ่ ช่ราชการสว่ นกลาง 4. ทบวง 1. กระทรวง 2. สานักนายกรัฐมนตรี 3. เทศบาล 3. บคุ คลใดรักษาการตามพระราชบัญญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดนิ พ.ศ.2534 1. รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย 2. ประธานรฐั สภา 3. ประธานสภาผ้แู ทนราษฎร 4. นายกรัฐมนตรี 4. ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ งเกย่ี วกบั สานักนายกรัฐมนตรี 2. มฐี านะเปน็ นิตบิ ุคคล 1. มฐี านะเป็นกระทรวง 4. ถกู ทกุ ขอ้ 3. มีนายกรฐั มนตรเี ป็นผู้บงั คับบัญชา 5. การจัดต้ังกระทรวงให้ทาในลักษณะใด 2. ตราเปน็ พระราชบญั ญตั ิ 1. เขียนบทบัญญตั ใิ นรัฐธรรมนญู 4. ออกเป็นกฎกระทรวง 3. ตราเป็นพระราชกฤษฎกี า 6. การเปลย่ี นช่อื กระทรวงหรือทบวงให้ทาในลักษณะใด 1. เขยี นบทบญั ญตั ใิ นรัฐธรรมนญู 2. ตราเป็นพระราชบัญญตั ิ 3. ตราเปน็ พระราชกฤษฎีกา 4. ออกเป็นกฎกระทรวง 1. 2 2. 3 3. 4 4. 4 5. 2 6. 3
62 7. การยบุ กระทรวงและกรมให้ทาในลกั ษณะใด 2. ตราเปน็ พระราชบัญญตั ิ 1. เขยี นบทบญั ญัติในรฐั ธรรมนูญ 4. ออกเป็นกฎกระทรวง 3. ตราเป็นพระราชกฤษฎกี า 8. การแบ่งสว่ นราชการภายในกรมหรอื หน่วยงานท่มี ีชอ่ื อย่างอน่ื ในระดับกรมให้ทาลักษณะใด 1. เขียนบทบญั ญัตใิ นรัฐธรรมนูญ 2. ตราเป็นพระราชบญั ญตั ิ 3. ตราเปน็ พระราชกฤษฎกี า 4. ออกเป็นกฎกระทรวง 9. สานักใดมหี น้าที่เกี่ยวกับราชการทางการเมอื ง 2. สานกั เลขาธิการคณะรฐั มนตรี 1. สานกั เลขาธิการนายกรัฐมนตรี 4. สานักนายกรฐั มนตรี 3. สานกั ปลดั นายกรฐั มนตรี 10. บุคคลใดต่อไปนไ้ี ม่ใช่ขา้ ราชการพลเรอื นสามัญ 1. เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี 2. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี 3. ผชู้ ว่ ยเลขาธิการนายกรฐั มนตรี 4. ผู้ช่วยเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี 11. ราชการทว่ั ไปทม่ี ไิ ด้กาหนดไวเ้ ปน็ หนา้ ท่ีประจาของสานกั นายกรัฐมนตรี ให้เป็นหน้าที่ ของส่วนใด 1. สานักเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี 2. สานกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี 3. สานักงานปลดั สานักนายกรัฐมนตรี 4. สานักงานรฐั มนตรี 12. การจัดระเบยี บราชการของกระทรวงตอ้ งประกอบดว้ ยสว่ นใดเป็นอย่างนอ้ ย 1. สานักงานรฐั มนตรแี ละสานักงานปลัดกระทรวง 2. สานกั งานรฐั มนตรีและกรม 3. กรม และสานกั งานปลดั กระทรวง 4. ทบวงและกรม 7.3 8.4 9. 1 10. 2 11. 3 12. 1
63 13. สานักนโยบายและแผน ในกระทรวงตา่ งๆ ข้ึนตรงต่อผ้ใู ด 1. รฐั มนตรี 2. ผูอ้ านวยการสานัก 3. ปลัดกระทรวง 4. อธบิ ดี 14. ผู้ท่ีรบั ผดิ ชอบในการกาหนดนโยบาย เปา้ หมาย และผลสัมฤทธิข์ องงานในกระทรวง คือข้อใด 1. นายกรัฐมนตรี 2. รัฐมนตรี 3. ปลดั กระทรวง 4. อธบิ ดี 15. ผบู้ งั คับบัญชาขา้ ราชการของส่วนราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี คอื ข้อใด 1. เลขาธิการ 2. รฐั มนตรชี ว่ ย 3. ปลดั กระทรวง 4. อธบิ ดี 16. ผ้ใู ดเป็นผบู้ ังคับบญั ชาข้าราชการในสานกั งานรัฐมนตรี 1. รัฐมนตรวี ่าการกระทรวง 2. เลขานุการรัฐมนตรี 3. เลขาธิการสานักงานรัฐมนตรี 4. ปลัดกระทรวง 17. บคุ คลใดต่อไปนีไ้ มไ่ ด้เปน็ ขา้ ราชการการเมือง 1. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง 2. ปลดั กระทรวง 3. เลขานุการรฐั มนตรี 4. ผชู้ ่วยเลขานุการรัฐมนตรี 18. สานักงานปลัดทบวง มฐี านะเปน็ อะไร 1. กรม 2. ทบวง 3. กระทรวง 4. สานักงาน 19. การแบง่ สว่ นราชการแรกสุดของกรม คือ ขอ้ ใด 1. กอง 2. สานกั 3. หมวด 4. สานักงานเลขานุการกรม 20. ข้อใดเปน็ ผบู้ ังคับบัญชาขา้ ราชการในกรม 1. เลขาธิการ 2. อธิบดี 3. ผูอ้ านวยการ 4. เลขานุการรฐั มนตรี 13. 1 14. 2 15. 3 16. 2 17. 2 18. 1 19. 4 20. 2
64 21. ข้อใดกลา่ วถกู ตอ้ งเกยี่ วกับการมอบอานาจให้ปฏิบตั ิราชการแทน 1. ผู้ดารงตาแหน่งยังคงปฏบิ ัตหิ น้าท่ี แตเ่ พอื่ ความสะดวกรวดเร็วจงึ ใหผ้ อู้ น่ื ปฏบิ ตั ริ าชการแทน 2. ผู้ดารงตาแหน่งมภี าระงานอยา่ งอ่นื ไม่สามารถปฏบิ ตั ิหน้าท่ีไดจ้ งึ ใหผ้ ้อู น่ื ปฏิบัติราชการแทน 3. ผูด้ ารงตาแหนง่ ไมอ่ ยู่กรณีฉกุ เฉิน แตจ่ าเป็นตอ้ งดาเนนิ งานนัน้ จงึ ให้ผอู้ นื่ ปฏบิ ตั ิราชการแทน 4. ผ้ดู ารงตาแหน่งไม่อยหู่ รืออยแู่ ตไ่ มอ่ าจปฏบิ ตั ิราชการได้ จงึ ให้ผูอ้ นื่ ปฏบิ ตั ริ าชการแทน 22. กรณที ่นี ายกรฐั มนตรไี มอ่ าจปฏิบัติราชการได้ ให้รองนายกรัฐมนตรีดาเนินการแทน คอื ขอ้ ใด 1. ปฏบิ ตั ริ าชการแทน 2. รกั ษาราชการแทน 3. ทาหน้าท่แี ทน 4. รักษาการ 23. ระเบยี บรกั ษาราชการแทนในระเบยี บบริหารราชการแผน่ ดิน ไม่สามารถใชก้ ับกระทรวงใด 1. กระทรวงทางดา้ นวิทยาศาสตร์ 2. กระทรวงเกีย่ วกบั งานตา่ งประเทศ 3. กระทรวงทเี่ ก่ยี วกับทหาร 4. กระทรวงทส่ี าคญั ต่อการขา่ ว 24. ผรู้ ับนโยบายและคาส่งั จากนายกรัฐมนตรี มาปฏบิ ตั ิการใหเ้ หมาะสมกบั การปฏิบัตริ าชการใน ต่างประเทศ รวมถงึ เปน็ ผบู้ งั คับบัญชาบคุ คลในคณะผแู้ ทนและขา้ ราชการฝ่ายพลเรอื นซ่ึง ประจาอยใู่ นประเทศอน่ื ๆ คือข้อใด 1. เอกอคั รราชทตู 2. รัฐมนตรี 3. หัวหน้าคณะผู้แทน 4. กงสลุ 25. ข้อใดคือการบรหิ ารราชการส่วนภูมิภาค 2. ภาค และ จังหวดั 1. จังหวดั และ อาเภอ 4. เทศบาล และ เมืองพทั ยา 3. จงั หวดั อาเภอ และ ตาบล 26. การยบุ และเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดใหก้ ระทาไดแ้ บบใด 1. เขยี นบทบญั ญัตใิ นรฐั ธรรมนูญ 2. ตราเป็นพระราชบญั ญัติ 3. ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา 4. ออกเปน็ ประกาศกระทรวงมหาดไทย 21. 1 22. 2 23. 3 24. 3 25. 1 26. 2
65 27. ผ้ใู ดเปน็ ประธานคณะกรมการจงั หวดั 2. ผไู้ ดร้ ับการแต่งตัง้ จากสภาจงั หวัด 1. ผู้ว่าราชการจังหวัด 4. อธิบดีกรมการปกครองทอ้ งถิน่ 3. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย 28. ผวู้ ่าราชการจงั หวดั รองผวู้ า่ ราชการจงั หวัด และผชู้ ่วยผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สงั กดั ใด 1. กรมการปกครองท้องถ่ิน 2. สานกั นายกรัฐมนตรี 3. สานกั งานสว่ นภูมิภาค 4. กระทรวงมหาดไทย 29. ก.ธ.จ. ยอ่ มาจากอะไร 2. คณะกรรมการธรรมาภบิ าลจังหวัด 1. คณะกรรมการธารงคณุ ธรรมจังหวัด 4. คณะกรรมการคณุ ธรรมจังหวัด 3. คณะกรรมการธุรการจงั หวดั 30. การตัง้ ยุบ เปล่ียนแปลง เขตอาเภอให้กระทาไดล้ กั ษณะใด 1. เขียนบทบญั ญตั ใิ นรัฐธรรมนญู 2. ตราเปน็ พระราชบญั ญัติ 3. ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา 4. ออกเป็นประกาศกระทรวงมหาดไทย 31. การจัดระเบียบราชการส่วนท้องถิน่ ตาม พ.ร.บ. ใด ที่ไม่มีแลว้ ในปจั จบุ นั 1. องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั 2. เทศบาล 3. สขุ าภบิ าล 4. องค์การบริหารสว่ นตาบล 32. ก.พ.ร. ยอ่ มาจากอะไร 1. คณะกรรมการพฒั นาคุณธรรมข้าราชการ 2. คณะกรรมการพัฒนาสวัสดกิ ารข้าราชการ 3. คณะกรรมการพิทักษ์คณุ ธรรมข้าราชการ 4. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 27. 1 28. 4 29. 2 30. 3 31. 3 32. 4
66 33. ประธาน ก.พ.ร. คือ 1. นายกรัฐมนตรี 2. รัฐมนตรคี นหนงึ่ 3. ผทู้ รงคุณวุฒิ 4. เลขาธกิ าร ก.พ.ร. 34. กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ใน ก.พ.ร. ซึ่งคณะรัฐมนตรแี ตง่ ตั้ง มีกีค่ น 1. ไม่เกนิ 5 คน 2. ไมเ่ กนิ 9 คน 3. ไม่เกิน 10 คน 4. ไมเ่ กนิ 12 คน 35. ข้อใดกลา่ วไม่ถูกตอ้ งเก่ยี วกับกรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ใิ น ก.พ.ร. 1. มสี ัญชาติไทย และไมเ่ ปน็ บุคคลล้มละลาย 2. ไม่เป็นผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมือง 3. พ้นจากตาแหน่งแลว้ ได้รับแตง่ ต้ังได้อกี 4. ดารงตาแหน่งและมสี ่วนไดเ้ สียรฐั วิสาหกิจ 36. กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิใน ก.พ.ร. มวี าระคราวละกีป่ ี 1. 2 ปี 2. 4 ปี 3. 5 ปี 4. 6 ปี 37. การประชุม ก.พ.ร. ตอ้ งมคี ณะกรรมการมารว่ มประชมุ เทา่ ไร จงึ ถือเปน็ องคป์ ระชุม 1. ไม่นอ้ ยกวา่ กง่ึ หน่ึง 2. สามในส่ี 3. หน่ึงในสาม 4. สองในสาม 38. การบรหิ ารกจิ การบ้านเมอื งทีด่ ี เพ่อื ใหบ้ รรลุเปา้ หมายใด 1. เกดิ ประโยชนส์ ุขของประชาชน 2. เกิดผลสมั ฤทธ์ิต่อภารกจิ ของรัฐ 3. ไมม่ ีขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงานเกนิ จาเปน็ 4. ถกู ทุกขอ้ 39. ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ งเกี่ยวกบั การบรหิ ารราชการเพื่อใหเ้ กดิ ประโยชน์สขุ ของประชาชน 1. ใหถ้ อื ว่าประชาชนเป็นศูนย์กลางที่จะไดร้ บั บรกิ ารจากรัฐ 2. ประชาชนทกุ คนต้องได้รบั สทิ ธิ์ทกุ ประการทีร่ ัฐสามารถจดั หาให้ได้ 3. การกาหนดแผนปฏบิ ตั ริ าชการใหส้ ว่ นราชการมีรายละเอียดชดั เจน 4. การจัดซอ้ื จัดจ้างให้วเิ คราะหผ์ ลเสยี ทจี่ ะเกดิ สงั คม 33. 1 34. 3 35. 4 36. 2 37. 1 38. 4 39. 1
67 40. สว่ นราชการทาแผนปฏิบัติราชการไว้ลว่ งหน้า จดั เปน็ การบริหารราชการลักษณะใด 1. เพื่อประโยชน์สขุ ของประชาชน 2. เพ่อื ให้เกดิ ผลสัมฤทธติ์ อ่ ภารกิจของรัฐ 3. เพื่อให้มีประสิทธภิ าพและเกิดความคมุ้ คา่ ในเชงิ ภารกิจของรัฐ 4. เพื่อใหม้ กี ารปรับปรงุ ภารกิจของสว่ นราชการให้ทนั ตอ่ สถานการณ์ 41. แผนบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ตลอดระยะเวลาการทางานของคณะรฐั มนตรี เปน็ แผนระยะก่ีปี 1. 2 ปี 2. 4 ปี 3. 5 ปี 4. 8 ปี 42. สว่ นราชการจดั ทารายงานแสดงผลสมั ฤทธขิ์ องแผนปฏิบัติราชการประจาปเี สนอตอ่ คณะรัฐมนตรีเมอ่ื ใด 1. ระหวา่ งการเร่มิ ตน้ ปฏิบัตงิ านประจาปี 2. เมื่อมกี ารจัดทาโครงการแต่ละแผนเสรจ็ 3. เมอ่ื สน้ิ ปีงบประมาณ 4. เม่ือคณะรฐั มนตรีรอ้ งขอให้จัดสง่ แผนงาน 43. หน่วยงานใดต้องรว่ มกบั สานกั งบประมาณเพ่อื ประเมนิ ความค้มุ ค่าในการปฏบิ ัตภิ ารกจิ ของรัฐ 1. สานกั งานเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี 2. สานักงานคณะกรรมการพฒั นาข้าราชการ 3. สานักงานประเมนิ การใชจ้ ่ายภาครฐั และรัฐวิสาหกจิ 4. สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ 38. 4 39. 1 40. 2 41. 2 42. 3 43. 4 ขอ้ มูลควรรู้ ข้อ 41 นี้เป็นเน้ือหาของพระราชบัญญตั แิ รกเรม่ิ และของพระราชกฤษฎีกา ว่าดว้ ยหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมอื งทด่ี ี ฉบบั แรกเริม่ ในปี พ.ศ. 2546 แต่ว่าใน ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2562 ได้มีการยกเลิกขอ้ ความน้ันแล้ว ยกเลิกทาแผนการบริหารราชการ แผ่นดินตลอดระยะเวลาของคณะรัฐมนตรี วาระ 4 ปี ยกเลิกไปและให้ทาเปน็ แผนปฎบิ ตั ิ ราชการของสว่ นราชการน้นั ๆ โดยให้เป็นแผนปฎิบัติราชการของสว่ นราชการ ระยะ 5 ปี
68 44. โดยปกตกิ ารสั่งราชการกระทาลักษณะใด 2. กระทาโดยวาจา 1. ทาคาสัง่ เปน็ ลายลักษณอ์ ักษร 4. ทาโดยการใชบ้ ันทกึ 3. แล้วแต่ความเหมาะสม 45. สว่ นราชการที่ได้รบั การติดตอ่ สอบถามเปน็ หนังสอื จากประชาชนต้องตอบคาถามภายในกีว่ นั 1. 7 วนั 2. 10 วนั 3. 15 วัน 4. 30 วัน 46. ศนู ย์บริการร่วมระดบั อาเภอใหจ้ ัดไว้ที่ใด 2. ส่วนราชการใดก็ได้ตามความเหมาะสม 1. ทว่ี า่ การอาเภอ 4. หอประชมุ ราชการประจาอาเภอ 3. สานักงานปลัดอาเภอ 47. การทบทวนภารกิจของส่วนราชการต้องคานึงถึงส่ิงใด 1. แผนการบริหารราชการแผน่ ดิน 2. นโยบายของคณะรัฐมนตรี 3. กาลงั เงนิ งบประมาณของประเทศ 4. ถกู ทกุ ข้อ 48. เป็นหนา้ ทข่ี องผู้ใดท่ีต้องจัดใหส้ ่วนราชการภายในกระทรวงรบั ผดิ ชอบเกี่ยวกบั การบริการ ประชาชนรว่ มกันจดั ต้งั ศนู ยบ์ รกิ ารรว่ ม เพอ่ื อานวยความสะดวกแก่ประชาชน 1. รัฐมนตรวี ่าการกระทรวง 2. เลขานุการรัฐมนตรี 3. ปลัดกระทรวง 4. ผูอ้ านวยการสานักงานบรกิ ารรว่ ม 49. ระบบเครือขา่ ยสาระสนเทศกลางมีไว้เพ่ือจดุ ประสงค์ใด 1. อานวยความสะดวกและความรวดเร็ว 2. ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางติดต่อราชการ 3. สรา้ งฐานข้อมูลสาหรบั เผยแพร่สว่ นงาน 4. แจง้ ข่าวสารแก่ประชาชนให้รบั ทราบกนั 44. 1 45. 3 46. 1 47. 4 48. 3 49. 1
69 50. สว่ นราชการใดดาเนินการใหบ้ ริการทีม่ ีคณุ ภาพและเปน็ ไปตามเปา้ หมายสง่ ผลใหเ้ กิดสง่ิ ใดได้ 1. การเลื่อนข้นั เงนิ เดือนของข้าราชการเปน็ ไปอย่างรวดเรว็ 2. หวั หน้าส่วนราชการจะไดร้ ับการเลือ่ นวิทยฐานะหรือตาแหน่งทางราชการ 3. ขา้ ราชการจะได้รับเงนิ โบนสั ประจาปีเพิ่มเติม เปน็ เงินเดอื นให้เปลา่ 1 – 3 เดือน 4. ก.พ.ร. เสนอคณะรัฐมนตรีจัดสรรเงนิ พเิ ศษเพม่ิ เติมเป็นบาเหน็จความชอบแก่ส่วนราชการ 51. ผู้ใดเปน็ ประธานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แกอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ 1. นายกรฐั มนตรี 2. รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย 3. ปลัดกระทรวงมหาดไทย 4. อธิบดกี รมการปกครองท้องถิ่น 52. ผแู้ ทนองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ในคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่ อปท มจี านวนกีค่ น 1. 9 คน 2. 10 คน 3. 12 คน 4. 15 คน 53. ผูท้ รงคณุ วุฒใิ นคณะกรรมการการกระจายอานาจใหแ้ ก่ อปท มจี านวนกี่คน 1. 9 คน 2. 10 คน 3. 12 คน 4. 15 คน 54. กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ นคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่ อปท มอี ายุก่ีปี 1. ไมต่ า่ กว่า 20 ปี 2. ไม่ตา่ กวา่ 30 ปี 3. ไมต่ า่ กวา่ 35 ปี 4. ไมต่ า่ กวา่ 40 ปี 55. กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ใิ นคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่ อปท ย่ืนหนังสอื ลาออกทีใ่ คร 1. นายกรฐั มนตรี 2. ประธานกรรมการ 3. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย 4. เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี 56. สานกั งานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่ อปท สังกัดใด 1. สานกั งานรฐั มนตรี 2. สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี 3. สานกั งานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี 4. สานักงานเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี
70 57. องค์กรปกครองใดมหี น้าท่ีสนับสนนุ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ อื่นๆ 1. เทศบาล 2. องคก์ ารบริหารสว่ นตาบล 3. องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั 4. เมืองพัทยา 58. องคก์ รปกครองใดสามารถมรี ายไดจ้ ากอากรรงั นกอแี อ่นตามกฎหมายวา่ ดว้ ยอากร รงั นกอแี อ่น 1. เทศบาล 2. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัด 3. องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล 4. ถกู ทุกข้อ 59. ข้อใดเป็นรายรบั ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินได้ 1. รายไดจ้ ากทรพั ย์สิน 2. รายได้จากสาธารณูปโภค 3. รายได้จากคา่ บริการ 4. ถกู ทกุ ขอ้ 60. การออกพันธบัตรเป็นรายไดข้ ององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นต้องได้รับความเหน็ ชอบ จากขอ้ ใด 1. คณะรัฐมนตรี 2. คณะกรรมการการกระจายอานาจ 3. คณะกรรมการพฒั นาข้าราชการ 4. สภาองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น 50. 4 51. 1 52. 3 53. 3 54. 3 55. 2 56. 2 57. 3 58. 4 59. 4 60. 1
71 มารค์ สาคัญ ตอ้ งระวัง จะสอบปี 2564 ควรร้วู ่าช่วงปี 2562 มกี ารประกาศใช้ พระราชบัญญัติฉบบั ใหม่หลายฉบบั ของทอ้ งถนิ่ และมผี ลบงั คบั ใชแ้ ล้ว โดยเน้นมาท่เี ร่อื งของการเลือกต้งั ท้องถิน่ คุณสมบตั ิของ ผูท้ ีเ่ กี่ยวข้องกับการเลือกตงั้ มเี นือ้ หาบางสว่ นท่ีมีการประกาศยกเลกิ ตวั เดิม และประกาศใช้ ตวั ใหม่ (ปี 2562) ดังน้นั เน้อื หาในตาราเล่มนจ้ี ะยังคงรกั ษาเนือ้ หาส่วนเดมิ ที่ใช้กันมาตลอด รวมถึงแนวขอ้ สอบ ใหผ้ อู้ ่านไดศ้ กึ ษากนั เพือ่ เปรียบเทยี บกับตัวใหมท่ ปี่ ระกาศใช้ จะชว่ ยให้ แยกแยะความแตกตา่ งระหวา่ งตัวเกา่ ตวั ใหม่ได้ โดยพยายามดหู มายเหตุ สาคญั ของตัวใหม่ ในช่วงทา้ ยๆ หลงั จากที่ศกึ ษาและฝึกทาขอ้ สอบแนวของตวั เดมิ ทีใ่ ชก้ นั มาตลอดหลายปีแลว้ รายละเอียดของตัวใหม่ท่ปี ระกาศใช้ และมีผลบังคบั ใช้ มีดังตอ่ ไปนี้ - พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการเมืองพัทยา (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2562 - พระราชบัญญัตอิ งค์การบริหารส่วนจังหวัด (ฉบบั ท่ี 5) พ.ศ. 2562 - พระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562 - พระราชบัญญตั ิสภาตาบลและองคก์ ารบริหารส่วนตาบล (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2562 - พระราชบัญญตั เิ ทศบาล (ฉบบั ที่ 14) พ.ศ. 2562 - พระราชบญั ญัตกิ ารเลือกตงั้ สมาชกิ สภาท้องถน่ิ หรือผูบ้ ริหารท้องถิน่ พ.ศ. 2562 พระราชบัญญตั ทิ ้ัง 6 ฉบับน้ี ประกาศลงในราชกจิ จานุเบกษาวนั เดียวกนั คือ 16 เมษายน 2562 ให้มผี ลบงั คบั ใชว้ นั ถดั ไป ก็คือ มผี ลวนั ท่ี 17 เมษายน 2562 ให้ผูอ้ ่านศึกษาความแตกตา่ ง (ความใหม่) ของเนือ้ หาแบบใหม่ ทางดา้ นหลงั เม่ือได้ลองศกึ ษาตัวเดิมท่ใี ช้กนั มานานตลอดแลว้ ก็สามารถเปรยี บเทยี บ แยกแยะ ความเขา้ ใจของเน้ือหาสองยุค คอื ยคุ เน้อื หาท่ใี ช้สอบกนั มาตลอดหลายปี กบั ยุคใหมป่ ี 62 - 64
72 จดุ เนน้ เนอื้ หาสาคัญ ประเดน็ พระราชบญั ญัติ 6 ฉบบั ใหม่ พ.ศ. 2562 มีผลบงั คบั ใช้ 17 เมษายน 2562 ตัวใหม่นี้ มคี วามมุ่งเนน้ มาแก้ไขเรอ่ื งการทุจริต และกระบวนการเลอื กตัง้ ของทอ้ งถิ่นเพอ่ื ให้มปี ระสทิ ธิภาพมากกวา่ เดมิ จึงมงุ่ แก้ไขเกยี่ วกับคณุ สมบัตขิ องการเลือกตงั้ ตา่ งๆนน่ั เอง เกีย่ วกับการเลอื กตงั้ ให้ผมู้ ีสิทธิเลอื กตงั้ มสี ทิ ธอิ อกเสยี งลงคะแนนโดยตรงและลับ จัดการเลือกต้ังภายใน ส่ีสิบห้าวันนับแต่วันที่สมาชกิ สภาท้องถิ่นหรือผบู้ ริหาร ทอ้ งถ่ินดารงตาแหน่งครบวาระ หรอื ภายในหกสิบวันนบั แต่วนั ท่ีสมาชิกสภาทอ้ งถิน่ หรอื ผบู้ รหิ าร ท้องถนิ่ พน้ จากตาแหนง่ เพราะเหตอุ ื่นใดนอกจากครบวาระ ยกเว้น กรณขี องสมาชกิ สภาทอ้ งถิ่นถ้าวาระการดารงตาแหน่งเหลอื ไม่ถึง 180 วัน จะไมจ่ ัดเลือกตงั้ ก็ได้ อธบิ ายภาษาปกตใิ หเ้ ข้าใจคือ : ถา้ ครบกาหนดหมดวาระแบบปกติ ใครๆกร็ ้วู า่ จะหมดวาระวนั นนั้ วันนี้ ก็เตรียมตวั ทัน กใ็ ห้เลือกตั้งใน 45 วัน ถา้ หมดวาระแบบไมป่ กติ เช่น ตาย หรือ โดนปลด อะไรกต็ ามแต่เถอะ อนั นคี้ ือ ไมม่ ีใครต้ังตวั ทัน ไม่คิด ฯลฯ กใ็ ห้เลอื กตง้ั ภายใน 60 วนั นน่ั เอง แกน่ สาคญั ท่ีมีการเปลยี่ นแปลง คือ อายขุ องผ้ทู ี่มีสทิ ธิสมัครเป็นผ้บู ริหารท้องถิ่น คือ ผวู้ า่ กทม , นายก อบจ , นายกเทศมนตรี , นายก อบต , นายกเมอื งพัทยา ปรับแกใ้ ห้เป็นอายุ 35 ปีข้ึนไป ในวันเลอื กต้งั (เมื่อก่อนตวั เดมิ ให้มอี ายุ 30 ป)ี และใหด้ ารงตาแหน่งคราวละ 4 ปี ไม่เกินสองวาระติดตอ่ กนั
73 ข้อควรระวงั : เร่มิ มีการเผยแพร่ในกลมุ่ ตา่ งๆทีผ่ ดิ ๆ เพราะอา่ นกฎหมายไมเ่ ข้าใจใน ภาษากฏหมาย โดยมกี ารพยายามจะบอกคนอ่นื วา่ “เป็นได้วาระเดยี ว” ผิดนะ ไมใ่ ชแ่ บบนั้นแนน่ อน ไม่ใช่ใหเ้ ป็นได้แคว่ าระเดยี ว แต่ขอ้ กฎหมายระบไุ ว้ว่าเป็นสองวาระก็ได้ ตดิ ต่อกัน แตไ่ มใ่ ห้เกนิ กวา่ สองวาระตดิ ตอ่ กนั ดภู าษากฎหมายที่แทจ้ รงิ เขียนไวว้ า่ นายก … มีวาระอยใู่ นตาแหนง่ คราวละสป่ี ี นบั แตว่ นั เลอื กตั้งแต่จะดารงตาแหน่งตดิ ตอ่ กันเกนิ สองวาระไมไ่ ด้ อ่านภาษาให้ดๆี จะเหน็ วา่ ไม่มีขอ้ ความไหนทบี่ อกว่า “เปน็ ได้แค่วาระเดยี ว” ไมม่ นี ะ แตใ่ นกลุ่มหลายๆกล่มุ กย็ งั มกี ารพยายามบอกคนอ่นื ๆว่าเป็นไดว้ าระเดียว ผู้อ่านต้องรู้ ทจ่ี รงิ เป็นหลายวาระก็ได้ ไมใ่ ชไ่ ด้แคส่ องวาระ เพราะกฎหมายระบไุ วด้ ว้ ย เพยี งแต่เขาไม่ให้เปน็ สองวาระติดตอ่ กนั สมมตวิ า่ เปน็ สองวาระแลว้ ตดิ กนั ก็ให้หยดุ ก่อน เว้นไวส้ ่ปี ี เลอื กตง้ั ใหม่ ก็มาเปน็ ได้ กไ็ ด้เปน็ ถึงสามวาระเห็นไหม และถา้ ยงั ไดร้ บั เลือกอกี กจ็ ะไดเ้ ป็นถึงส่วี าระ แบ่งเป็น สองกบั สอง นั่นเอง เช่น ปี 2562 – 2565 วาระแรก ปี 2565 – 2568 เป็นวาระท่ีสอง หมดสิทธิ แลว้ เป็นต่อไมไ่ ด้แล้ว ต้องเวน้ ไปส่ีปี คอื ช่วงปี 2568 – 2571 เลอื กตง้ั อีกที 2571 – 2574 แล้วไดเ้ ป็นอีก เห็นไหมวา่ จะไดเ้ ป็นวาระที่ 3 เลอื กตงั้ อกี 2574 – 2577 ยังได้เป็นอีก ตดิ ต่อกนั เห็นไหมว่าจะได้วาระที่ 4 จากน้ันตอ้ งเว้นไปอีกส่ีปจี ึงมีสิทธวิ นกลับมาเปน็ อกี ครง้ั พอจะนกึ ภาพออกหรอื ยัง ดูภาษากฎหมายทแ่ี ทจ้ ริง : กรณที ่นี ายก … ดารงตาแหนง่ ไมค่ รบระยะเวลาสี่ปีก็ให้ถอื เป็นหนึง่ วาระ และ เมือ่ ไดด้ ารงตาแหนง่ สองวาระตดิ ตอ่ กันแล้วจะดารง ตาแหน่งได้อีกเม่อื พ้นระยะเวลาสี่ปนี ับแต่วันพน้ จากตาแหนง่ อา่ นดใู ห้ดี จะเหน็ เลยว่า ไม่มภี าษาข้อความไหนเลยทีบ่ อกวา่ ใหเ้ ป็นวาระเดยี ว ไมม่ ีนะ
74 จุดกาเนิดการเปลี่ยนแปลงใหป้ ระกาศใช้กฎหมายฉบับใหม่ ในปี 2562 นั่นคอื พระราชบัญญัติท่เี กี่ยวกับการเลือกต้งั ของท้องถน่ิ ซ่งึ มชี ่ืออย่างเปน็ ทางการว่า “พระราชบัญญตั ิการเลือกต้ังสมาชกิ สภาท้องถิ่นหรอื ผู้บริหารทอ้ งถ่ิน พ.ศ.2562” พระราชบัญญัติฉบับน้ี ได้กาหนดคุณสมบตั ขิ องผมู้ สี ทิ ธิลงสมคั รรับเลอื กตั้งไว้ใหมแ่ ละกาหนด เง่อื นไขท่เี กีย่ วกับการเลือกตงั้ ไว้ เลยตอ้ งมีการประกาศใชห้ รือให้ตรากฎหมายอื่นๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง เช่น พ.ร.บ. อบจ พ.ร.บ. เทศบาล อบต อะไรตา่ งๆนั้นให้สอดคล้องกบั กฎหมายตัวดังกลา่ วนี้ แกน่ สาคญั โดยสรุป คอื ประเด็น การบัญญัตคิ วามหมายของคาต่างๆ อนั ได้แก่ “องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ” หมายความวา่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั เทศบาล องค์การ บริหารส่วนตาบล กรงุ เทพมหานคร เมอื งพัทยา และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินอน่ื ท่ีมีกฎหมาย จดั ตง้ั “สภาท้องถนิ่ ” หมายความว่า สภาองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัด สภาเทศบาล สภาองค์การ บริหารสว่ นตาบล สภากรุงเทพมหานคร สภาเมืองพัทยา และสภาองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นอื่น ทม่ี ีกฎหมายจัดตั้ง “ผบู้ ริหารท้องถ่ิน” หมายความวา่ นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั นายกเทศมนตรี นายกองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล ผวู้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร นายกเมอื งพทั ยา และผูบ้ ริหาร ทอ้ งถ่นิ หรอื คณะผบู้ รหิ ารองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ อื่นทมี่ กี ฎหมายจดั ต้ัง “หวั หน้าพนกั งานส่วนทอ้ งถิ่น” หมายความว่า ปลัดองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด ปลดั เทศบาล ปลดั องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล ปลดั กรุงเทพมหานคร ปลดั เมืองพทั ยา และหัวหนา้ พนกั งานหรอื หัวหนา้ ข้าราชการขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ อนื่ ทม่ี กี ฎหมายจดั ตงั้
75 “คณะกรรมการการเลอื กตงั้ ” หมายความว่า คณะกรรมการการเลอื กตั้งตามกฎหมาย ประกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ดว้ ยคณะกรรมการการเลอื กตงั้ “ผ้ตู รวจการเลือกตัง้ ” หมายความว่า ผตู้ รวจการเลอื กตั้งตามกฎหมายประกอบ รฐั ธรรมนูญว่าดว้ ยคณะกรรมการการเลอื กต้ัง “ผูอ้ านวยการการเลอื กตง้ั ประจาจังหวัด” หมายความว่า ผู้อานวยการการเลอื กตั้ง ประจาจงั หวดั ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าดว้ ยคณะกรรมการการเลอื กต้ัง “นายอาเภอ” หมายความรวมถงึ ผอู้ านวยการเขตและปลดั อาเภอผ้เู ปน็ หัวหน้าประจา กง่ิ อาเภอด้วย “เจ้าหน้าที่รกั ษาความปลอดภัยประจาท่เี ลอื กต้ัง” หมายความวา่ บคุ คลท่ไี ด้รับแตง่ ต้ัง ใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทร่ี กั ษาความปลอดภัยประจาที่เลือกต้ังตามพระราชบัญญตั ิน้ี “ผู้มีสิทธิเลือกตง้ั ” หมายความวา่ ผมู้ ีสทิ ธิเลอื กต้ังสมาชิกสภาทอ้ งถน่ิ หรือผบู้ รหิ าร ทอ้ งถิ่น “ผสู้ มคั ร” หมายความวา่ ผสู้ มคั รรบั เลอื กต้ังเป็นสมาชกิ สภาทอ้ งถิ่นหรอื ผูบ้ ริหารทอ้ งถิ่น “ผไู้ ด้รับเลือกตัง้ ” หมายความวา่ ผูไ้ ดร้ บั เลอื กตงั้ เป็นสมาชิกสภาทอ้ งถน่ิ หรอื ผูบ้ รหิ าร ท้องถ่ิน “การเลือกต้งั ” หมายความว่า การเลอื กต้งั สมาชกิ สภาทอ้ งถ่ินหรือผบู้ รหิ ารทอ้ งถ่ิน “วันเลอื กต้ัง” หมายความว่า วนั ทก่ี าหนดใหเ้ ป็นวนั เลือกตั้งสมาชกิ สภาท้องถน่ิ หรอื ผู้บรหิ ารท้องถิน่ “เขตเลอื กตง้ั ” หมายความวา่ ท้องท่ีทก่ี าหนดเปน็ เขตเลือกตัง้ สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือ ผบู้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ “หนว่ ยเลือกต้ัง” หมายความว่า ทอ้ งท่ที ี่กาหนดให้ผู้มีสิทธเิ ลือกตั้งทาการออกเสยี ง ลงคะแนน ณ ทีเ่ ลอื กตั้งใดที่เลอื กตั้งหน่งึ
76 “ท่เี ลอื กตง้ั ” หมายความว่า สถานที่ท่ีกาหนดให้ทาการออกเสยี งลงคะแนน และให้ หมายความรวมถงึ บรเิ วณท่ีก าหนดขึ้นโดยรอบทีเ่ ลือกต้งั ด้วย “จังหวัด” หมายความรวมถงึ กรุงเทพมหานครด้วย “อาเภอ” หมายความรวมถึงเขต และกงิ่ อาเภอดว้ ย “ตาบล” หมายความรวมถึงแขวงดว้ ย “ศาลากลางจงั หวดั ” หมายความรวมถึงศาลาวา่ การกรุงเทพมหานครดว้ ย “ทว่ี า่ การอาเภอ” หมายความรวมถงึ สานักงานเขต และท่ีวา่ การก่งิ อาเภอดว้ ย ลองพยายามศกึ ษา จดจานิยามของคาพวกนี้ไว้ ตัวอย่างข้อสอบเช่น ข้อใดไม่ไดห้ มายถงึ หวั หนา้ พนักงานสว่ นท้องถ่ิน ตาม พระราชบัญญตั กิ ารจัดการ เลือกต้ังทอ้ งถ่ินหรือผู้บริหารทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2562 ก. ปลดั องค์การบริหารสว่ นจังหวัด ข. ปลัดเทศบาล ค. ปลดั จงั หวดั ง. ปลดั กรุงเทพมหานคร ประเด็นอน่ื ๆทนี่ ่าสนใจ ให้ผูม้ ีสทิ ธเิ ลอื กต้ังมีสทิ ธิออกเสยี งลงคะแนนเลือกตั้งผู้สมคั รได้ไมเ่ กนิ จานวนสมาชกิ สภา ท้องถิน่ หรือผ้บู รหิ ารทอ้ งถ่ินท่จี ะพงึ มใี นเขตเลอื กต้ัง การเลือกต้งั ให้ใชว้ ธิ อี อกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลบั จัดการเลอื กตง้ั ภายใน สี่สิบหา้ วนั นบั แตว่ ันทส่ี มาชกิ สภาท้องถิ่นหรือผู้บรหิ าร ท้องถนิ่ ดารงตาแหน่งครบวาระ หรือภายใน หกสบิ วนั นับแต่วนั ที่สมาชกิ สภาทอ้ งถนิ่ หรอื ผูบ้ รหิ ารท้องถิน่ พน้ จากตาแหนง่ เพราะเหตอุ ่ืนใดนอกจากครบวาระ เวน้ แตใ่ นกรณีของสมาชกิ สภาทอ้ งถ่ินถา้ วาระ การดารงตาแหนง่ เหลอื อยไู่ ม่ถึงหนง่ึ ร้อย แปดสบิ วันจะไมจ่ ดั การเลือกต้งั กไ็ ด้
77 บุคคลผมู้ ีคุณสมบัตดิ ังตอ่ ไปน้ี เป็นผมู้ สี ทิ ธิเลอื กต้ัง (๑) มสี ัญชาตไิ ทย แต่บุคคลผมู้ สี ญั ชาตไิ ทยโดยการแปลงสญั ชาติ ต้องได้สญั ชาติไทยมาแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ ห้าปี (๒) มอี ายุไม่ตา่ กวา่ สิบแปดปใี นวนั เลอื กตัง้ (๓) มชี อ่ื อยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลอื กตัง้ มาแลว้ เป็นเวลาตดิ ตอ่ กันไมน่ ้อยกวา่ หนึง่ ปีนบั ถึง วนั เลอื กต้ัง (๔) คณุ สมบตั อิ ื่นตามทีก่ ฎหมายวา่ ดว้ ยการจัดต้ังองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นกาหนด ในกรณที มี่ กี ารย้ายทะเบยี นบา้ นออกจากเขตเลอื กต้ังหนงึ่ ไปยงั อกี เขตเลือกตั้งหน่ึง ภายในองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นเดียวกนั อนั ทาใหบ้ ุคคลมีชือ่ อยู่ในทะเบยี นบ้านในเขต เลอื กต้งั เป็นเวลาติดต่อกนั น้อยกวา่ หนง่ึ ปีนบั ถึงวนั เลอื กตั้ง ให้บคุ คลน้ันมีสทิ ธิออกเสียง ลงคะแนนเลอื กตง้ั ในเขตเลอื กตง้ั ทีต่ นมีชือ่ อยู่ ในทะเบยี นบ้านคร้ังสุดท้ายเป็นเวลาติดต่อ กนั ไมน่ ้อยกว่าหน่งึ ปี จานิยามหนา้ นี้ไวใ้ ห้ดี เพราะนาไปใชก้ ับกฎหมายใหมก่ บั อปท ทุกฉบบั ทแ่ี กไ้ ขในปี 1562 บุคคลผูม้ ีลกั ษณะดังต่อไปน้ใี นวันเลอื กตง้ั เปน็ บุคคลต้องห้ามมิให้ใชส้ ิทธิเลอื กต้ัง (คอื คนทไ่ี ม่มีสทิ ธเิ ลอื กตัง้ นั่นเอง) (๑) เป็นภกิ ษุ สามเณร นกั พรตหรอื นักบวช (๒) อยใู่ นระหว่างถูกเพกิ ถอนสทิ ธิเลือกตง้ั ไม่ว่าคดีนน้ั จะถงึ ท่ีสุดแล้วหรือไม่ (๓) ตอ้ งคมุ ขังอยู่โดยหมายของศาลหรือโดยค าส่งั ท่ีชอบด้วยกฎหมาย (๔) วิกลจริตหรือจติ ฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ (๕) มลี ักษณะอนื่ ตามท่กี ฎหมายว่าดว้ ยการจดั ตงั้ องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นกาหนด
78 บคุ คลท่มี สี ทิ ธิสมัครเปน็ สมาชิกสภาฯ หรือ ผบู้ รหิ ารท้องถน่ิ บคุ คลผู้มีคุณสมบัตดิ ังตอ่ ไปน้เี ป็นผู้มีสทิ ธิสมัครรับเลือกต้ัง (๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกดิ (๒) ผู้มสี ทิ ธสิ มคั รเปน็ สมาชกิ สภาท้องถน่ิ ต้องมีอายุไม่ตา่ กวา่ ยส่ี บิ หา้ ปีนับถึงวันเลือกตัง้ สาหรับผูม้ สี ทิ ธิสมคั รรับเลือกตงั้ เป็นผบู้ ริหารทอ้ งถิ่นใหม้ อี ายตุ ามทีก่ ฎหมายวา่ ด้วยการ จัดตั้งองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ กาหนด (ซึ่งเราไดอ้ ธิบายไปแลว้ ก่อนหนา้ นที้ เี่ ขากาหนด ใหเ้ ปน็ คนไทยทม่ี ีอายุไม่ตา่ กวา่ 35 ปี ของทกุ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ) (๓) มีชอื่ อยใู่ นทะเบยี นบ้านในเขตองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ทีส่ มัครรบั เลือกต้ังในวันสมคั ร รับเลอื กตง้ั เป็นเวลาตดิ ต่อกนั ไมน่ ้อยกวา่ หนึ่งปีนบั ถงึ วนั สมคั รรบั เลือกตงั้ (๔) คุณสมบตั อิ ่นื ตามทีก่ ฎหมายวา่ ด้วยการจดั ตัง้ องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ กาหนด บุคคลผู้มลี ักษณะดังต่อไปน้เี ปน็ บุคคลต้องห้ามมใิ ห้ใช้สิทธสิ มัครรับเลือกต้งั (๑) ตดิ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (๒) เป็นบคุ คลลม้ ละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทจุ รติ (๓) เป็นเจ้าของหรอื ผ้ถู อื หุน้ ในกจิ การหนงั สือพมิ พ์หรอื ส่ือมวลชนใดๆ (๔) เปน็ บุคคลผ้มู ีลักษณะต้องห้ามมใิ ห้ใช้สิทธิเลือกต้งั (๕) อยรู่ ะหวา่ งถกู ระงับการใชส้ ทิ ธสิ มัครรบั เลอื กตง้ั เป็นการช่วั คราวหรือถกู เพกิ ถอนสิทธิ (๖) ต้องคาพิพากษาให้จาคกุ และถูกคมุ ขงั อย่โู ดยหมายของศาล (๗) เคยไดร้ ับโทษจาคุกโดยไดพ้ ้นโทษมายงั ไมถ่ ึงห้าปนี บั ถึงวันเลือกตงั้ เว้นแตใ่ นความผิด อันไดก้ ระทาโดยประมาทหรอื ความผิดลหโุ ทษ (๘) เคยถกู สั่งใหพ้ ้นจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรฐั วิสาหกจิ เพราะทจุ รติ ตอ่ หน้าที่ หรือถือวา่ กระทาการทจุ รติ หรือประพฤติมชิ อบในวงราชการ (๙) เคยตอ้ งคาพพิ ากษาหรอื คาสง่ั ของศาลอันถงึ ท่ีสุดใหท้ รพั ย์สินตกเปน็ ของแผน่ ดินเพราะรา่ รวย ผดิ ปกติ หรอื เคยต้องคาพพิ ากษาอันถงึ ที่สุดให้ลงโทษจาคกุ เพราะกระทาความผิดตาม กฎหมายว่าด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ
79 (๑๐) เคยตอ้ งคาพิพากษาอนั ถึงทส่ี ดุ วา่ กระทาความผดิ ตอ่ ตาแหนง่ หน้าท่รี าชการหรอื ต่อตาแหน่ง หนา้ ที่ในการยุติธรรม หรอื กระทาความผดิ ตามกฎหมายว่าด้วยความผดิ ของพนักงานใน องค์การหรอื หนว่ ยงานของรัฐ หรอื ความผิดเกี่ยวกบั ทรัพยท์ ี่กระทาโดยทุจรติ ตามประมวล กฎหมายอาญา ความผดิ ตามกฎหมายว่าดว้ ยการกยู้ มื เงินทเ่ี ปน็ การฉ้อโกงประชาชน กฎหมายว่าดว้ ยยาเสพติดในความผดิ ฐานเปน็ ผู้ผลติ นาเข้า สง่ ออก หรอื ผ้คู า้ กฎหมาย วา่ ดว้ ยการพนันในความผิดฐานเปน็ เจา้ มือหรือเจา้ สานกั กฎหมายวา่ ด้วยการปอ้ งกันและ ปราบปรามการค้ามนุษย์ หรอื กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินใน ความผิดฐานฟอกเงนิ (๑๑) เคยตอ้ งคาพพิ ากษาอนั ถึงท่ีสุดว่ากระทาการอันเป็นการทุจริตในการเลอื กตั้ง (๑๒) เปน็ ขา้ ราชการซง่ึ มีตาแหน่งหรอื เงินเดือนประจา (๑๓) เป็นสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร สมาชกิ วุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถน่ิ หรือผู้บรหิ ารทอ้ งถน่ิ (๑๔) เปน็ พนักงานหรือลกู จา้ งของหนว่ ยราชการ หนว่ ยงานของรัฐ รฐั วิสาหกจิ หรือราชการ สว่ นทอ้ งถน่ิ หรือเป็นเจา้ หน้าที่อน่ื ของรฐั (๑๕) เป็นตลุ าการศาลรัฐธรรมนูญ หรือผู้ดารงตาแหน่งในองคก์ รอิสระ (๑๖) อยู่ในระหว่างต้องห้ามมิใหด้ ารงตาแหนง่ ทางการเมือง (๑๗) เคยพน้ จากตาแหน่งเพราะศาลฎกี าหรอื ศาลฎีกาแผนกคดอี าญาของผ้ดู ารงตาแหน่ง ทางการเมอื งมคี าพพิ ากษาว่าเป็นผู้มพี ฤตกิ ารณ์ร่ารวยผดิ ปกติ หรือกระทาความผดิ ฐาน ทุจริตต่อหนา้ ที่หรอื จงใจปฏิบตั ิหน้าทหี่ รอื ใช้อานาจขดั ตอ่ บทบัญญัติแหง่ รฐั ธรรมนูญหรอื กฎหมาย หรือฝา่ ฝืนหรอื ไมป่ ฏิบัตติ ามมาตรฐานทางจริยธรรมอยา่ งร้ายแรง (๑๘) ตอ้ งคาพิพากษาถงึ ท่สี ดุ ว่ากระทาความผิดตามพระราชบญั ญัติน้ี ไมว่ ่าจะไดร้ ับโทษหรอื ไม่ โดยได้พน้ โทษหรอื ตอ้ งคาพพิ ากษามายงั ไมถ่ งึ ห้าปีนับถึงวันเลือกต้ัง แลว้ แตก่ รณี (๑๙) เคยถกู ถอดถอนออกจากตาแหน่งสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร สมาชกิ วฒุ สิ ภา สมาชิก สภาท้องถิน่ หรือผู้บรหิ ารท้องถ่นิ ตามบทบัญญัตขิ องรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย หรอื กฎหมายว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชกิ สภาท้องถน่ิ หรือผู้บริหาร ทอ้ งถิ่น แล้วแต่กรณี มายังไม่ถึงห้าปนี ับถึงวนั เลอื กตง้ั (๒๐) อยู่ในระหวา่ งถูกจากดั สทิ ธิสมคั รรับเลือกต้งั เป็นสมาชิกสภาทอ้ งถิน่ หรือผูบ้ รหิ ารทอ้ งถ่ิน หรอื ตามกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยการเลือกตัง้ สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร
80 (๒๑) เคยถูกเพกิ ถอนสทิ ธิเลอื กต้ังและยงั ไม่พน้ ห้าปีนบั แต่วนั ท่ีพน้ จากการถกู เพิกถอนสทิ ธิเลอื กตั้ง จนถงึ วันเลือกต้ัง (๒๒) เป็นผสู้ มคั รรับเลือกตัง้ เป็นสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรหรือรบั เลอื กเป็นสมาชิกวุฒิสภา หรือ เป็นผ้สู มัครรบั เลอื กตัง้ เป็นสมาชิกสภาทอ้ งถน่ิ หรอื ผู้บรหิ ารทอ้ งถ่ินขององคก์ รปกครองส่วน ท้องถิ่นเดยี วกันหรอื องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ อนื่ (๒๓) เคยพ้นจากตาแหน่งใดๆ ในองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น เพราะเหตุมีสว่ นไดเ้ สียไม่ว่า โดยทางตรงหรอื ทางออ้ มในสญั ญาหรอื กิจการท่กี ระทาหรือจะกระทากับหรอื ใหแ้ กอ่ งค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินน้นั หรอื มีส่วนไดเ้ สยี ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางออ้ มในสญั ญาหรือ กจิ การท่กี ระทากบั หรอื จะกระทากับหรือให้แกอ่ งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นอนื่ โดยมี พฤตกิ ารณแ์ สดงให้เห็นวา่ เปน็ การตา่ งตอบแทนหรือเออื้ ประโยชนส์ ว่ นตนระหวา่ งกนั และยังไมพ่ น้ หา้ ปีนบั แต่วันทพ่ี น้ จากตาแหนง่ จนถึงวนั เลอื กต้ัง (๒๔) เคยถกู สง่ั ให้พ้นจากตาแหน่งใด ๆ ในองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ เพราะจงใจไมป่ ฏบิ ตั ิ ตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บของทางราชการ หรือมตคิ ณะรัฐมนตรี อนั เปน็ เหตุให้เสียหาย แกร่ าชการอยา่ งร้ายแรง และยงั ไม่พ้นหา้ ปีนับแตว่ ันท่พี น้ จากตาแหนง่ จนถงึ วนั เลอื กตงั้ (๒๕) เคยถกู สง่ั ให้พน้ จากตาแหนง่ ใดๆ ในองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินเพราะทอดท้ิงหรือ ละเลยไม่ปฏบิ ตั กิ ารตามหน้าท่แี ละอ านาจ หรอื ปฏิบัติการไม่ชอบด้วยหน้าท่ีและอานาจ หรอื ประพฤติตนฝ่าฝนื ต่อความสงบเรียบร้อยหรอื สวัสดิภาพของประชาชน หรือมีความ ประพฤติในทางที่จะนามาซ่งึ ความเสื่อมเสยี แกศ่ กั ดต์ิ าแหนง่ หรอื แกอ่ งค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถิน่ หรอื แก่ราชการ และยงั ไมพ่ น้ ห้าปีนบั แตว่ นั ทีพ่ น้ จากตาแหน่งจนถงึ วันเลอื กตงั้ (๒๖) ลกั ษณะอน่ื ตามท่กี ฎหมายวา่ ดว้ ยการจัดตง้ั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ กาหนด อธิบายให้เข้าใจ กฎหมายใหม่ ทัง้ พ.ร.บ. อบจ / เทศบาล / เมืองพัทยา / อบต / กทม ทเี่ ขาแก้ไข ก็เพราะเหตนุ แ้ี หล่ะ ตอ่ ไปน้ี หากเจอใน พ.ร.บ. ตวั ไหนทร่ี ะบขุ ้อความไว้วา่ “ผ้มู สี ิทธิเลือกตั้งสมาชกิ และผู้มีสิทธิรับสมัครเลอื กตงั้ เปน็ สมาชิกตอ้ งมีคณุ สมบตั ิและไม่มี ลกั ษณะตอ้ งห้ามตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการเลอื กตัง้ สมาชกิ สภาทอ้ งถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น” นั่นแหล่ะเขาหมายถึงตอ้ งเปน็ ไปตาม 4 ขอ้ และ 26 ขอ้ ดงั ท่ไี ดอ้ ่านมานนี้ ัน่ เอง
81 พระราชบญั ญตั อิ งค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั (อบจ) พระราชบัญญัติองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัด พ.ศ.2540 ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา วนั ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2540 แกไ้ ขถงึ ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2562) 16 เมษายน พ.ศ. 2562 พลเอกชวลติ ยงใจยุทธ นายกรฐั มนตรี ผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการ ฉบับแรก พลเอกประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี ผ้รู บั สนองพระบรมราชโองการ ฉบบั ท่ี 5 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั (อบจ) ประกอบดว้ ยสภาองค์การบริหารสว่ นจังหวดั และนายกองค์การบริหารสว่ นจังหวัด องค์การบริหารสว่ นจงั หวัด (อบจ) เป็น นิตบิ ุคคล และเป็น ราชการสว่ นทอ้ งถิน่ องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด + นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั - ประกอบด้วยสมาชิกสภา อบจ - นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัดไดม้ าจาก ซึ่งมาจากการเลือกต้ังของประชาชน ประชาชนในจงั หวดั เป็นผู้เลือกต้ัง - ราษฎร ในจังหวัดไมเ่ กนิ 500,000 คน - มรี องนายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั ซง่ึ มีสมาชกิ สภา อบจ ได้ 24 คน ไม่ได้เปน็ สมาชกิ สภา อบจ - ราษฎรเกินหา้ แสน แตไ่ ม่เกนิ หนึ่งล้าน - ถา้ สภา อบจ มีสมาชกิ 48 คน มีสมาชกิ สภา อบจ ได้ 30 คน ให้มีรองนายก อบจ ไม่เกิน 4 คน - ราษฎรเกนิ หนงึ่ ลา้ นแต่ไม่เกนิ ลา้ นหา้ แสน - ถา้ สภา อบจ มีสมาชกิ 36 หรอื 42 คน มสี มาชิกสภา อบจ ได้ 36 คน ให้มรี องนายก อบจ ไม่เกิน 3 คน - มีราษฎรเกินหนงึ่ ลา้ นหา้ แสนคนแต่ไมเ่ กนิ - ถ้าสภา อบจ มีสมาชิก 24 หรอื 30 คน สองลา้ นคน มสี มาชกิ สภา อบจ ได้ 42 คน ให้มรี องนายก อบจ ไมเ่ กิน 2 คน - มรี าษฎรเกินสองลา้ นคนใหม้ ีสมาชิกสภา - นายก อบจ สามารถแต่งตง้ั เลขานุการ อบจ ได้ 48 คน และทีป่ รกึ ษานายก รวมกันไม่เกนิ 5 คน สภาฯ มอี ายุ 4 ปี นบั แต่วนั เลอื กตัง้ - ให้มีปลัดองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัด
82 ผูว้ า่ ราชการจังหวดั เป็นผูก้ ากับ ดูแล ตรวจสอบ การปฏิบตั หิ น้าทข่ี อง องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดและนายกองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด อธิบายเพ่ิมเตมิ เกย่ี วกับเรอื่ งการกากบั ดแู ล หมายถึง องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ทกุ แห่งถอื เปน็ นติ ิบคุ คล (คลา้ ยๆเปน็ บรษิ ัท ประมาณน้ัน) การบริหารงาน การจัดการต่างๆ จึงข้นึ อย่กู ับตัวเองว่าจะบริหารจัดการอย่างไร แลว้ แตเ่ ขาเลย โดยมีผู้นาสงู สุดของแตล่ ะส่วนคือ นายกองค์กรปกครองนนั้ ๆทางานร่วมกับสภาขององค์กรนั้นๆ ประเดน็ คอื ถ้าปลอ่ ยไว้แบบนน้ั เฉยๆ ก็สามารถทาอะไรได้หมด แลว้ ถา้ เกดิ การทุจริตหรอื ทาส่ิง ทีผ่ ิดกฎหมาย ผิดพระราชบญั ญัติใครจะทาอะไรได้ นนั่ เอง เขาจงึ ให้มีบุคคลจากทางราชการอกี สว่ นหน่ึงมาเป็นผกู้ ากับ ดูแล (คอยตรวจสอบ คอยดูว่าองคก์ รไหนทาผิดอะไรอย่างไรหรือเปล่า) ถา้ ไม่ผิดอะไรกอ็ ย่กู นั ไปตามปกติ หากทาผิดหรอื ไมถ่ กู ตอ้ ง ผ้กู ากับดูแลน้ันกจ็ ะดาเนนิ การตอ่ ไป ผ้วู ่าราชการจงั หวัด จะเป็นผู้กากับ ดแู ล องค์การบริหารส่วนจังหวัดและเทศบาล ส่วน นายอาเภอ จะเป็นผู้กากับ ดูแล องค์การบรหิ ารส่วนตาบล ซึง่ กำรกำกับ ดแู ล ไมไ่ ด้เปน็ ผู้บริหำรหรอื มหี นำ้ ท่ไี ปจดั กำรในองคก์ รน้นั ๆนะ ไม่ใชเ่ ลย เปน็ เพียงลักษณะที่คอยดู คอยบอกกลำ่ ว คอยสอดสอ่ งวำ่ ทำผดิ ไหม ดงั นั้น ผูว้ ำ่ ฯ เป็นผกู้ ำกับ ดแู ล อบจ แต่ นำยก อบจ คือผ้นู ำสงู สดุ ใน อบจ ================================================ ขอ้ สอบก็มักจะถามงา่ ยๆ เช่น ใครเป็นผกู้ ากับ ดแู ล องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั เพ่อื ใหค้ นจานวนมาก พลาดไปตอบว่า นายกองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั เพราะ จริงๆต้องตอบ ผวู้ า่ ราชการจังหวัด (นี่คือ ลกั ษณะขอ้ สอบที่ออกอย่เู ปน็ ประจา) ================================================
83 การประชมุ สภาองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัด ในปีหนึง่ ใหม้ ีสมัยประชมุ สามัญสองสมัย (สมัยละ 45 วัน) ผ้วู ่าราชการจงั หวัดต้องกาหนดให้สมาชิกสภาองค์การบริหารสว่ นจังหวัดไดม้ าประชุม สภาองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั ครงั้ แรกภายในสบิ ห้าวันนับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้งสมาชิก สภาองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัด ข้อสอบจะถำมถึงสมยั ประชมุ ของแต่ละองค์กร และถำมเก่ียวกับกำรเรียกประชมุ คร้งั แรก เช่น สภำ อบจ มสี มัยประชมุ กส่ี มยั ต่อปี (ตอบ 2 สมัย) สภำ อบจ มสี มัยประชุมสำมญั ครงั้ ละกวี่ นั (ตอบ 45 วัน) ใครเป็นผู้เรยี กประชมุ ครั้งแรก (ตอบ ผ้วู ่ำรำชกำรจังหวดั ) กำรเรยี กประชมุ คร้ังแรกภำยในกวี่ นั (ตอบ ภำยใน 15 วนั ) สภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล หรือ สภาเทศบาล ก็คลา้ ยๆกัน เปน็ ลักษณะนี้ คือ จดจาวา่ มสี มัยประชุมสามัญกสี่ มยั สมยั ละกว่ี ัน ใครเรียกประชมุ ครั้งแรก ในก่วี ัน การประชุมคร้ังแรก คอื อะไร? ก็คือ เมื่อมกี ารเลอื กตัง้ ได้สมาชิกสภาฯ แล้ว คงต้องมีการเจอกนั ครัง้ แรกสดุ น่ันเอง เขาใหผ้ ู้วา่ ราชการจังหวัดเป็นผูเ้ รียกประชุมนัดแรก (ภายใน 15 วันเมอื่ ประกาศผล การเลอื กต้งั ) พอมาประชุมในนดั แรก กจ็ ะมีสมาชกิ สภาฯ มารวมกัน โดยผ้วู า่ ฯเปน็ คนกลาง ประมาณน้นั ประเด็นสาคัญของนัดแรก คอื วันนสี้ มาชกิ ตอ้ งลงมตกิ นั เพ่ือ เลอื กว่าหน่งึ ในสมาชิกสภาฯนัน้ ใครทีจ่ ะไดเ้ ป็นประธานสภาฯ ของตน และก็วันนัน้ จะมกี ารประชุมกันกาหนดวา่ จะใหว้ นั ไหนบ้างท่ีเปน็ สมยั ประชุมสามญั ของสภาฯเรา วนั เริ่มสมัยประชุมสามัญประจาปี ใหส้ ภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั กาหนดสมยั ประชุม สามัญให้มกี าหนดสส่ี ิบห้าวัน แตถ่ ้ามีกรณีจาเปน็ ให้ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดส่ัง ขยายสมัยประชุมสามัญออกไปอกี ได้ตามความจาเป็นครง้ั ละไมเ่ กนิ สิบหา้ วนั การปดิ สมัยประชุมสามญั ก่อนครบกาหนดเวลาส่ีสิบหา้ วันจะกระทามิได้
84 กร ณี ที่สภ า องค์กา ร บ ริหา ร ส่ วนจังห วัดไม่อา จ จัดให้มี กา ร ปร ะ ชุม ค รั้งแร กได้ตา ม กาหนดเวลาในวรรคสอง หรอื มีการประชมุ แตไ่ ม่อาจเลือกประธานสภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด ได้ ผ้วู า่ ราชการจังหวัดอาจเสนอรัฐมนตรีให้มคี าสง่ั ยุบสภาองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั นก่ี ็ประเด็นข้อสอบเช่นกัน ประชุมครง้ั แรกไมไ่ ด้ หรอื ประชมุ ได้ แตเ่ ลือกประธำนไมไ่ ด้ กล่ำวคือ โผล่มำปบุ๊ มีปัญหำเลย ยังไม่ทนั ทำอะไร ผู้ว่ำฯทนไม่ไหวละ ท่ำนก็สำมำรถ เสนอให้ท่ำนรฐั มนตรี มคี ำสง่ั ยุบสภำฯ ไปเลยก็แลว้ กัน อะไรประมำณนนั้ ประธานสภาองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัด 1 คน รองประธานสภา 2 คน ถ้าประธานสภาฯ และ รองประธานสภาฯ ทั้ง 2 ไมอ่ ยูใ่ นที่ประชมุ ใหส้ มาชิก เลอื กสมาชิกสภาฯ คนใดคนหนึง่ ทาหน้าท่ีเปน็ ประธานในการประชมุ คร้ังนน้ั เม่ือเปน็ การจาเป็นเพ่ือประโยชนแ์ ห่งองค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั ประธานสภาองค์การ บริหารส่วนจังหวัดอาจเรยี กประชุมสภาองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดเปน็ สมัยวสิ ามัญก็ได้ หรอื นายก องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัด หรอื สมาชิกสภาองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั จานวนไมน่ อ้ ยกว่าหนงึ่ ใน สามของจานวนสมาชิกสภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดเท่าทม่ี อี ยู่ อาจทาคารอ้ งยนื่ ต่อประธานสภา องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั ขอให้เปดิ การประชมุ สมยั วสิ ามญั ได้ ประชุมสมัยวิสามญั คือ ประชมุ พเิ ศษ นอกรอบ นอกเหนือจากตารางปกติ (สมยั สามัญ) ขอ้ สอบกม็ กั ถามในประเดน็ เกีย่ วกับการประชุมสมัยวสิ ามญั เช่น - สมาชกิ สภาองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดจานวนเท่าไรอาจทาคาร้อง ขอใหเ้ ปดิ ประชุมสมัยวิสามญั ได้ (ตอบ ไมน่ อ้ ยกว่า 1 ใน 3) - การประชมุ สมยั วสิ ามญั มกี าหนดกี่วนั (ตอบ 7 วัน : หนา้ ถัดไป) กรณีที่มีการขอให้เปิดประชมุ สมัยวิสามัญ ใหป้ ระธานสภาองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัด เรียกประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจงั หวดั สมยั วสิ ามัญภายในสบิ ห้าวนั นับแต่วนั ทีไ่ ด้รับคารอ้ ง
85 การประชมุ สภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดสมยั วสิ ามัญให้มกี าหนดเจ็ดวัน แต่ถา้ จะขยายเวลาออกไปอกี ตอ้ งไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากสภาองคก์ ารบรหิ าร ส่วนจงั หวดั ด้วยคะแนนเสียงไม่นอ้ ยกวา่ หน่ึงในสามของจานวนสมาชิกสภา องคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั เท่าทมี่ อี ยู่ และใหข้ ยายออกไปไดอ้ ีกไม่เกนิ เจด็ วนั การประชมุ สภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดทุกคราว ต้องมีสมาชกิ สภาองค์การบริหารส่วน จงั หวัดมาประชุมไม่นอ้ ยกว่าก่ึงหน่งึ ของจานวนสมาชกิ สภาองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั เทา่ ทม่ี อี ยู่ จึงจะเปน็ องค์ประชมุ การประชุมสภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดยอ่ มเปน็ การเปดิ เผยตามลกั ษณะทจ่ี ะได้กาหนด ไวใ้ นระเบียบขอ้ บังคับการประชุมสภาองค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั แต่การประชุมลับย่อมมีไดเ้ มื่อนายกองค์การบริหารส่วนจังหวดั ร้องขอ หรือสมาชิกสภา องคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั รวมกันมีจานวนไม่น้อยกว่าหนึง่ ในสามของจานวนสมาชิกสภาองค์การ บรหิ ารสว่ นจงั หวัดซึง่ มาประชุมร้องขอ ============================================================ ทบทวนเกย่ี วกับแนวทางการประชมุ ของสภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัด เช่น - การประชมุ ใหถ้ ือเสียงขา้ งมากเปน็ เกณฑ์ สมาชิก 1 คน มี 1 เสียง - ถา้ ในทปี่ ระชุมคะแนนเสียงเท่ากนั ให้ประธานในที่ประชมุ มสี ทิ ธิออกเสยี งสุดท้าย ชี้ขาด - ในทปี่ ระชุมสภา อบจ สมาชิกสภาฯ มีสิทธิตั้งกระทู้ถามนายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัด หรอื รองนายก อบจ ในเรอ่ื งใดเกยี่ วกบั งานในหนา้ ทไี่ ด้ แต่นายกฯ หรอื รองฯ มีสิทธิที่จะ ไม่ตอบ เมอื่ เหน็ ว่าเร่ืองน้นั ยงั ไมค่ วรเปิดเผยเพราะเก่ียวกับความปลอดภัยหรอื ประโยชน์ สาคัญขององคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั ลกั ษณะขอ้ สอบเก่ยี วกบั การประชมุ สภาฯ อ่ืนๆ เช่น สภาเทศบาล สภา อบต กจ็ ะคลา้ ยๆกนั โดยใหไ้ ปดรู ายละเอียดของแตล่ ะสภาฯ ว่ามีลักษณะอย่างไรบา้ ง แตส่ ่วนใหญ่จะไม่ต่างกันมาก ปกตกิ ต็ า่ งกนั ท่ีจานวนสมัยประชุม วาระการประชมุ เป็นตน้ มรี ายละเอียดของแตล่ ะสภาฯ อยู่
86 นายกองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั (๑) มอี ายุไมต่ ่ากว่า 35 ปี นบั ถึงวนั เลือกตั้ง เนอ้ื หาฉบบั เกา่ กอ่ นหนา้ นจ้ี ะเปน็ 30 ปบี รบิ รู ณใ์ นวันเลอื กตง้ั (ยกเลกิ ไปแล้ว) (๒) สาเร็จการศกึ ษาไม่ตา่ กว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภาจงั หวัด สมาชิกสภาองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด ผู้บรหิ ารท้องถ่ิน หรอื สมาชิกรฐั สภา นายกองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั พ้นจากตาแหน่ง เมื่อ (1) ถงึ คราวออกตามวาระ (๒) ตาย (๓) ลาออก โดยย่ืนหนังสอื ลาออกต่อผู้ว่าราชการจังหวดั (๔) ขาดคุณสมบตั หิ รอื มลี กั ษณะตอ้ งห้ามตาม (5) กระทาการฝ่าฝนื (๖) รัฐมนตรสี งั่ ให้พ้นจากตาแหน่ง (๗) ถูกจาคุกโดยคาพพิ ากษาถงึ ทสี่ ดุ ใหจ้ าคกุ (๘) ราษฎรผมู้ สี ิทธิเลือกต้งั ในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวดั มีจานวนไม่นอ้ ยกว่าสามในส่ี ของจานวนผูม้ สี ิทธิเลอื กตั้งทีม่ าลงคะแนนเสียง เห็นวา่ นายกองค์การบริหารส่วนจงั หวดั ไมส่ มควร ดารงตาแหน่งตอ่ ไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชกิ สภาทอ้ งถน่ิ หรือ ผบู้ ริหารท้องถ่ิน เม่อื มีข้อสงสัยเกย่ี วกบั ความเป็นนายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั สน้ิ สดุ ลงตาม (๔) หรือ (๕) หรอื เม่อื ได้รบั แจ้งจากคณะกรรมการการเลือกตง้ั ว่าความเป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวดั ผูใ้ ดส้นิ สุดลงตาม (4) ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดสอบสวนให้แล้วเสร็จภายใน 60 วนั นับแตว่ ันทีม่ ขี ้อ สงสัยหรือไดร้ ับแจ้งจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง และดาเนนิ การให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับตงั้ แตผ่ ู้วา่ ราชการจังหวัดสอบสวนแลว้ เสรจ็ หรือวันที่ได้รับผลการสอบสวนจากคณะกรรมการ สอบสวน กรณที ่ีไม่สามารถดาเนนิ การสอบสวนให้แลว้ เสร็จในเวลาดังกล่าว ผูว้ า่ ราชการจังหวัด อาจขยายเวลาการสอบสวนออกไปได้อีกไม่เกิน 30 วัน 4 คอื มลี ักษณะตอ้ งห้าม หรอื อาจพบลักษณะตอ้ งห้ามในภายหลังจากที่ได้เปน็ นายกฯแลว้ 5 คือ กระทาการฝา่ ฝืน (ท่หี ้ามไมใ่ หท้ าน่นั เอง) เหล่านี้ ผู้วา่ ฯ จะเปน็ ผสู้ อบสวน พจิ ารณา
87 ข้อความกอ่ นหน้านี้น้นั นา่ สนใจนะ เพราะมนั เปน็ ข้อความทมี่ กี ารแกไ้ ข คร้งั ลา่ สุด ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2562 จึงอาจมีโอกาสถูกนามาออกขอ้ สอบได้ ตั้งใจลวงลอ่ ผเู้ ข้าสอบให้พลาด เพราะขอ้ ความเนอื้ หานัน้ ฉบบั ก่อนนี้ (ทใ่ี ชก้ นั มาตลอด) เขาระบไุ วว้ า่ ถา้ มขี อ้ สงสยั ดังกลา่ ว ซงึ่ หมายถงึ สงสัยว่าขาดคุณสมบตั ิหรอื กระทาการฝ่าฝืนใหผ้ ู้วา่ ราชการจงั หวัดสอบสวนและวนิ ิจฉยั โดยเร็ว คาวินจิ ฉยั ของผวู้ ่าราชการจงั หวัดให้ถอื เป็นทสี่ ุด เหน็ ไหมวา่ ของเก่าเขาให้ สอบสวนและวนิ จิ ฉยั โดยเร็ว ซงึ่ ยกเลกิ ไม่ใช้ละ ในปี พ.ศ. 2562 ของใหม่ มกี ารกาหนดตวั เลขไว้ด้วยวา่ “ภายใน 60 วนั ” และของใหม่ยงั มีการระบุวา่ ให้ดาเนนิ การให้แลว้ เสร็จในอีก 30 วนั นับจาก วนั ท่ผี วู้ ่าราชการจงั หวดั สอบสวนแลว้ เสร็จ ใหจ้ ดจาแบบตวั ใหม่นีไ้ ปใช้สอบ สมมตขิ อ้ สอบถามวา่ เม่ือมขี อ้ สงสยั ว่านายกองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั ขาดคณุ สมบตั ิ ใครเปน็ ผูด้ าเนนิ การสอบสวน ตอบ ผูว้ า่ ราชการจงั หวดั สอบสวนให้แลว้ เสร็จเมือ่ ใด ตอบ ภายใน 60 วัน นบั แต่วันทมี่ ีข้อสงสัย ถา้ เปน็ ของเก่าจะตอบวา่ สอบสวนและวินิจฉยั โดยเรว็ ในระหวา่ งที่ไม่มีนายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั ใหป้ ลดั องค์การบรหิ าร ส่วนจังหวดั ปฏบิ ัตหิ นา้ ทข่ี องนายกองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั เท่าทจี่ าเป็นได้เป็น การชั่วคราว จนถงึ วันประกาศผลการเลอื กตง้ั นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั
88 รองนายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั พ้นจากตาแหนง่ (1) นายกองค์การบริหารสว่ นจังหวดั พ้นจากตาแหน่ง (๒) นายกองค์การบริหารสว่ นจงั หวดั มีคาสงั่ ให้พ้นจากตาแหน่ง (๓) ตาย (๔) ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกตอ่ นายกองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด (๕) ขาดคุณสมบัตหิ รือมลี ักษณะต้องหา้ ม (๖) กระทาการฝา่ ฝนื (๗) ถกู จาคกุ โดยคาพิพากษาถงึ ท่สี ดุ ใหจ้ าคุก (๘) รัฐมนตรีส่งั ใหพ้ น้ จากตาแหนง่ อานาจหน้าทีข่ ององค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั 1. ตราขอ้ บญั ญตั โิ ดยไม่ขัดหรอื แย้งต่อกฎหมาย 2. จดั ทาแผนพัฒนาองคก์ รบรหิ ารส่วนจงั หวดั และประสานการจัดทาแผนพฒั นาจังหวดั ตาม ระเบยี บท่คี ณะรัฐมนตรกี าหนด 3. สนับสนนุ สภาตาบลและราชการสว่ นทอ้ งถ่นิ อื่นในการพัฒนาทอ้ งถน่ิ 4. ประสานและใหค้ วามร่วมมือในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีของสภาตาบลและราชการส่วนทอ้ งถน่ิ อื่น 5. แบง่ สรรเงนิ ซง่ึ ตามกฎหมายจะต้องแบ่งให้แกส่ ภาตาบลและราชการสว่ นท้องถ่นิ อ่นื 6. อานาจหน้าทข่ี องจังหวดั ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการสว่ นจงั หวดั พ.ศ.๒๔๙๖ เฉพาะภายในเขตสภาตาบล 7. ค้มุ ครอง ดแู ล และบารงุ รกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม บารงุ รกั ษาศิลปะ จารตี ประเพณี ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน และ วฒั นธรรมอนั ดีของท้องถิ่น 8. จดั ทากิจการใดๆอันเปน็ อานาจหน้าทข่ี องราชการส่วนท้องถิ่นอ่ืนท่ีอยใู่ นเขต อบจ. และ กจิ การนนั้ เป็นการสมควรใหร้ าชการส่วนท้องถน่ิ อ่ืนรว่ มกันดาเนนิ การหรอื ให้ อบจ.จัดทา 9. จดั ทากิจการอ่ืนใดตามทีก่ าหนดไวใ้ น พ.ร.บ. นีห้ รอื ท่ีกฎหมายอื่นกาหนดให้เปน็ อานาจ ของ อบจ.
89 รายไดข้ ององคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัด 1. ภาษอี ากรตามทมี่ ีกฎหมายบญั ญตั ไิ ว้ 2. ค่าธรรมเนียม คา่ ใบอนญุ าต และค่าปรับตามทมี่ ีกฎหมายบัญญัติไว้ 3. รายได้จากทรัพยส์ ินขององค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด 4. รายไดจ้ ากสาธารณูปโภคขององค์การบริหารสว่ นจังหวดั 5. รายไดจ้ ากการพาณิชย์ขององค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด 6. พันธบตั รหรอื เงินกตู้ ามทม่ี กี ฎหมายบัญญตั ิไว้ 7. เงินก้จู ากกระทรวง ทบวง กรม องค์การ หรอื นิติบคุ คลตา่ งๆ ซึง่ ได้รับความเห็นชอบ จากรัฐมนตรี 8. เงนิ อดุ หนุนหรือรายไดอ้ น่ื ตามท่รี ัฐบาลหรือหนว่ ยงานของรฐั จัดสรรให้ 9. เงินและทรพั ย์สนิ อย่างอ่นื ท่ีมผี ู้อุทิศให้ 10.รายได้อ่นื ตามท่มี ีกฎหมายบัญญตั ใิ ห้เป็นขององค์การบริหารส่วนจังหวดั ข้อสอบกม็ กั จะถามวา่ ข้อใดเป็นรายได้-รายจ่าย ขอ้ ใดไมใ่ ชร่ ายได้-รายจ่าย ของ อบจ รายจ่ายขององค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด 1. เงินเดอื น 2. ค่าจา้ ง 3. คา่ ตอบแทนอื่นๆ ขอ้ สอบจรงิ : ขอ้ ใดไมใ่ ช่รำยได้ 4. คา่ ใช้สอย ขององคก์ ำรบริหำรส่วนจงั หวัด 5. คา่ วสั ดุ เฉลยคำตอบ คือ ง. ภำษมี รดก 6. คา่ ครุภัณฑ์ 7. ค่าทดี่ ิน ส่ิงก่อสรา้ ง และทรัพยส์ ินอ่ืนๆ 8. เงินอดุ หนุน 9. รายจ่ายอนื่ ใดตามที่มีขอ้ ผูกพันหรือตามที่มีกฎหมายหรอื ระเบียบของกระทรวงมหาดไทย กาหนดไว้
90 ขอ้ บัญญตั ิขององค์การบริหารส่วนจงั หวัด การดาเนินกิจการขององคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั ทม่ี ีลักษณะเป็นการพาณิชย์อาจทาได้ โดยการตราเป็นขอ้ บัญญัติ ข้อบัญญตั ิจะตราขน้ึ ได้ในกรณี ดังต่อไปนี้ (1) เพ่ือปฏิบัติการให้เป็นไปตามหนา้ ที่ขององค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดที่กาหนดไว้ใน พระราชบัญญัตินี้ (๑) เม่อื มีกฎหมายบญั ญตั ิให้องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัดตราขอ้ บญั ญัติ หรือให้มอี านาจ ตราขอ้ บัญญตั ิ (๓) การดาเนนิ การพาณชิ ย์ขององคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัด ในข้อบญั ญตั ิจะกาหนดโทษผ้ลู ะเมิดขอ้ บัญญตั ิไวด้ ว้ ยก็ได้ แตห่ ้ามมิให้กาหนดโทษ จาคกุ เกนิ หกเดือนและหรือปรบั เกนิ หนงึ่ หมืน่ บาท เวน้ แตจ่ ะมีกฎหมายบญั ญัติไวเ้ ปน็ อย่างอืน่ ร่างขอ้ บญั ญัติจะเสนอไดก้ ็แต่โดย - นายกองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั - สมาชกิ สภาองค์การบริหารส่วนจงั หวดั - ราษฎรผู้มีสิทธิเลอื กตัง้ ในเขตองค์การบริหารส่วนจงั หวัดตามกฎหมายเก่ียวกับการ เข้าช่ือใหส้ ภาทอ้ งถิน่ พิจารณาออกข้อบัญญัติทอ้ งถ่ิน การเสนอร่างขอ้ บัญญัตเิ กี่ยวกบั การเงนิ จะต้องมคี ารับรองของนายกองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ขอ้ บัญญตั ิ คืออะไร กค็ ลา้ ยๆวา่ เปน็ กฎหมายของทอ้ งถน่ิ นัน้ ๆทไี่ ด้ทา ขึน้ มาเพอื่ ใชส้ าหรบั เป็นบญั ญัติ เป็นกฎเกณฑ์เง่อื นไขขององค์กรนั้นๆ ตามท่ีเหมาะสม ดังนัน้ จงึ มสี ิทธิเสนอเป็นร่างฯไปใหพ้ ิจารณาต่อไปว่า จะอนมุ ัตใิ หข้ ้อบญั ญตั นิ น้ั ใชไ้ ด้ไหม หรือใช้เปน็ กฎหมายท้องถ่นิ น้ไี หม *** องค์การบริหารสว่ นจังหวัด เรียกว่า ขอ้ บญั ญตั ิ แตถ่ ้าเปน็ เทศบาล จะเรยี กวา่ เทศบญั ญัติ
91 ภายในเจ็ดวันนับแต่วันท่ีสภาองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดได้มมี ติเห็นชอบด้วยกับร่าง ขอ้ บัญญัติใด ให้ประธานสภาองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดส่งรา่ งข้อบัญญตั ินน้ั ใหผ้ ้วู ่าราชการจังหวัด พิจารณาใหเ้ สร็จและส่งคนื ประธานสภาองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดภายในสิบห้าวนั นับแต่วันที่ ได้รบั รา่ งขอ้ บัญญัตินั้น ถา้ ผู้ว่าราชการจังหวัดไม่พจิ ารณาให้แลว้ เสร็จภายในระยะเวลาท่ีกาหนด ใหถ้ อื วา่ ผู้วา่ ราชการจังหวัดเหน็ ชอบด้วยกับร่างข้อบญั ญัตนิ ัน้ ในกรณีที่ผ้วู ่าราชการจงั หวัดเห็นชอบด้วยกับรา่ งขอ้ บัญญัติตามวรรคหน่ึง ให้ส่งนายก องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั ลงนามใชบ้ งั คับเปน็ ขอ้ บญั ญัตติ อ่ ไป แต่ถา้ ผู้ว่าราชการจังหวัด ไมเ่ ห็นชอบด้วยให้ส่งร่างข้อบญั ญัติน้นั พร้อมด้วยเหตผุ ลไปยัง สภาองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดเพื่อพจิ ารณาใหม่ ถ้าสภาองค์การบริหารสว่ นจังหวัดมีมติยืนยัน ตามร่างข้อบญั ญัตเิ ดมิ ดว้ ยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจานวนสมาชิกสภาองค์การ บรหิ ารส่วนจังหวัดทั้งหมดเท่าทมี่ ีอยู่ให้ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจงั หวัดส่งรา่ งขอ้ บัญญัติ นน้ั ให้นายกองค์การบริหารส่วนจังหวดั ลงนามใช้บังคบั เป็นข้อบัญญัติและแจ้งให้ผ้วู ่าราชการ จังหวดั ทราบต่อไป แต่ถ้าสภาองค์การบริหารส่วนจงั หวดั ไม่ยนื ยันภายในสามสบิ วนั นับแต่วนั ที่ ได้รบั ร่างข้อบัญญัติหรือยนื ยันรา่ งข้อบัญญัตเิ ดิมด้วยคะแนนเสียงน้อยกว่าสองในสาม ให้ร่าง ข้อบญั ญตั ินน้ั ตกไป เม่ือสภาองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดได้พิจารณาและเห็นชอบด้วยกับร่างข้อบัญญตั ิใดให้ ประธานสภาองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดสง่ ร่างขอ้ บญั ญัตินั้นไปยงั นายกองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด เพอื่ ลงนามแลว้ ส่งไปยังผู้ว่าราชการจังหวัดเพอื่ พิจารณาภายในเจด็ วันนับแตว่ นั ท่สี ภาองคก์ าร บริหารส่วนจงั หวัดให้ความเห็นชอบ ผเู้ ตรียมสอบตอ้ งระวงั ให้ดี เกยี่ วกับกฎหมายเหลา่ น้ี เพราะเขาสามารถหยบิ จับ เอาท่อนไหนมาทาเป็นขอ้ สอบได้หมด ซ่งึ ขอ้ มลู เยอะมากๆ เช่น อาจถามว่า - ประธานสภา อบจ ส่งรา่ งขอ้ บญั ญตั ใิ หผ้ ูว้ ่าราชการจังหวัดภายในก่วี ัน (ตอบ 7 วัน) - ใครเป็นผลู้ งนามบังคับใช้ ขอ้ บญั ญัติองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัด (ตอบ นายก อบจ) - ผู้ว่าราชการจังหวัด พจิ ารณาแล้วส่งข้อบัญญัติ คนื ประธานสภาฯ ภายในกีว่ ัน (ตอบ ภายใน 15 วันหลังจากไดร้ บั ขอ้ บญั ญัต)ิ เป็นตน้ หรือคาถามอ่นื ๆ ตามขอ้ ความในกฎหมายนัน้ เลือกตรงไหนมาออกข้อสอบก็ไดห้ มด
92 แนวข้อสอบองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด 1. ใครเป็นผูร้ ักษาการตามพระราชบัญญตั ิองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั 1. นายกรฐั มนตรี 2. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย 3. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน 4. นายกเทศมนตรี 2. องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัดประกอบดว้ ยอะไรบ้าง 1. สภาจงั หวัดและนายกองค์การบริหารสว่ นจังหวดั 2. สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั และนายกองค์การบริหารสว่ นจังหวัด 3. คณะกรรมการบริหารองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดและสภาองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด 4. นายกองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั และคณะกรรมการบรหิ ารองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัด 3. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ กู ตอ้ งเกย่ี วกบั สภาองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัด 1. สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั มอี ายุคราวละ 4 ปี 2. สมาชกิ ภาพของสมาชกิ สภาองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั เร่ิมตั้งแต่วันเลือกตง้ั 3. สมาชกิ สภาองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัดในอาเภอหนึ่งมไี ดเ้ พียงหน่งึ คนเทา่ น้นั 4. สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัดมสี มัยประชมุ สามญั สองสมยั ในหน่ึงปี 4. จังหวัดทม่ี ีราษฎรไม่เกินหา้ แสนคนให้มสี มาชกิ สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั ได้จานวนเทา่ ใด 1. 24 คน 2. 30 คน 3. 36 คน 4. 42 คน 5. จงั หวดั ทีม่ รี าษฎรเกนิ หา้ แสนคนแตไ่ มเ่ กนิ หนึง่ ลา้ นคนใหม้ สี มาชิกสภาองคก์ ารบริหารส่วน จงั หวัดได้จานวนเท่าใด 1. 24 คน 2. 30 คน 3. 36 คน 4. 42 คน 6. จังหวัดทมี่ รี าษฎรเกินหนง่ึ ลา้ นคนแตไ่ ม่เกนิ หน่ึงล้านห้าแสนคนให้มีสมาชิกสภาองคก์ ารบรหิ าร ส่วนจงั หวดั ไดจ้ านวนเทา่ ใด 1. 30 คน 2. 36 คน 3. 42 คน 4. 48 คน 1. 2 2. 2 3. 3 4. 1 5. 2 6. 2
93 7. จงั หวัดทีม่ รี าษฎรเกินหนึ่งลา้ นห้าแสนคนแต่ไม่เกนิ สองลา้ นคนใหม้ สี มาชิกสภาองคก์ ารบริหาร สว่ นจงั หวัดไดจ้ านวนเท่าใด 1. 30 คน 2. 36 คน 3. 42 คน 4. 48 คน 8. จงั หวัดที่มีราษฎรเกนิ สองล้านคนใหม้ สี มาชกิ สภาองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั ได้จานวนเท่าใด 1. 30 คน 2. 36 คน 3. 42 คน 4. 48 คน 9. ข้อใดกล่าวถูกต้องเก่ยี วกบั ประธานสภาองค์การบริหารสว่ นจังหวัด 1. ประธานสภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดไดร้ ับการแตง่ ต้ังโดยผวู้ ่าราชการจังหวัด 2. นายกองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั ทาหนา้ ท่ปี ระธานสภาองค์การบริหารสว่ นจังหวดั 3. เลือกประธานสภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัดจากสมาชกิ สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั 4. ประธานสภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั มาจากราษฎรในจังหวัดเป็นผู้เลอื กต้งั ประธานสภาฯ 10. รองประธานสภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั มไี ด้กี่คน 1. 1 คน 2. 2 คน 3. 3 คน 4. 4 คน 11. สมยั ประชุมสามัญของสภาองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั มกี ีส่ มัย 1. 1 สมยั 2. 2 สมัย 3. 3 สมัย 4. 4 สมยั 12. สมัยประชุมสามญั ของสภาองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั มีกาหนดกีว่ นั 1. 15 วัน 2. 30 วัน 3. 45 วนั 4. 60 วนั 13. สมยั ประชุมวิสามญั ของสภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดมกี าหนดก่วี นั 1. 7 วนั 2. 10 วนั 3. 15 วนั 4. 30 วนั 14. สมาชิกสภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั จานวนเท่าใด มสี ทิ ธริ ้องขอให้เปิดประชมุ สมยั วสิ ามญั 1. ไม่นอ้ ยกว่าก่ึงหนง่ึ 2. จานวนหนึ่งในสาม 3. จานวนสองในสาม 4. จานวนสามในสี่ 7. 3 8. 4 9. 3 10. 2 11. 2 12. 3 13. 1 14. 2
94 15. เมอ่ื ได้รบั คาร้องขอใหม้ ีการประชุมสภาองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดสมัยวสิ ามัญให้ประธาน สภาองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดเรยี กประชมุ ภายในก่ีวัน นบั ตง้ั แตไ่ ดร้ ับคาร้อง 1. 7 วัน 2. 10 วัน 3. 15 วนั 4. 30 วัน 16. การประชุมสภาองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั ต้องมีผู้เขา้ ร่วมประชุมจานวนเทา่ ใด 1. ไม่น้อยกวา่ กง่ึ หน่งึ ของสมาชกิ สภา 2. ไมน่ อ้ ยกวา่ หนึ่งในสามของสมาชกิ สภา 3. ไม่น้อยกวา่ สองในสามของสมาชิกสภา 4. ไม่น้อยกว่าสามในสีข่ องสมาชกิ สภา 17. ขอ้ ใดกลา่ วถูกตอ้ งเกีย่ วกบั การประชุมสภาองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัด 1. สมาชิกสภา อบจ ไมม่ สี ทิ ธติ ง้ั กระท้ถู ามเกี่ยวกับนายกองค์การบริหารส่วนจงั หวดั 2. นายกองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั มีสิทธิทจี่ ะไม่ตอบคาถามสมาชิกสภาฯ 3. นายกองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดตอ้ งตอบทุกคาถามเกยี่ วกบั งานในการประชุมสภาฯ 4. สมาชกิ สภา อบจ รอ้ งขอให้มีการตรวจสอบความโปร่งใสในการทางานของนายก อบจ ได้ 18. สมาชิกสภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั ลาออกได้โดยย่ืนใบลาออกที่ใคร 1. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนจงั หวัด 2. นายกองค์การบริหารสว่ นจงั หวดั 3. ผ้วู ่าราชการจงั หวดั 4. ปลดั จงั หวัด 19. บุคคลใดทาหน้าทคี่ วบคมุ และรบั ผิดชอบราชการในองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั 1. นายกเทศมนตรี 2. นายกองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั 3. ปลดั จงั หวัด 4. ผวู้ ่าราชการจงั หวดั 20. ข้อใดกล่าวไมถ่ ูกต้องเกีย่ วกับคุณสมบัติของนายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั พ.ศ. 2562 1. มีสญั ชาตไิ ทย และมอี ายุ 35 ปี บริบูรณข์ ึ้นไป 2. สาเร็จการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี เปน็ อยา่ งนอ้ ย 3. ไมม่ ีสว่ นได้เสียกบั กิจการทท่ี ากบั องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั 4. ถ้าเปน็ ประธานบริษทั เอกชนให้ลาออกกอ่ นเขา้ รบั ตาแหนง่ นายกองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด 15. 3 16. 1 17. 2 18. 3 19. 2 20. 4
95 21. ถ้าสภาองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดใดที่มีสมาชกิ สภา 48 คน ให้มีรองนายกองคก์ ารบรหิ าร ส่วนจงั หวัดไดไ้ ม่เกินกคี่ น 1. ไมเ่ กนิ 2 คน 2. ไม่เกิน 3 คน 3. ไมเ่ กนิ 4 คน 4. ไมเ่ กิน 5 คน 22. สภาองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดทม่ี ีสมาชิกสภา 36 หรอื 42 คน ใหม้ รี องนายกองคก์ าร บรหิ ารส่วนจังหวัดไดไ้ มเ่ กนิ กี่คน 1. ไม่เกนิ 2 คน 2. ไม่เกิน 3 คน 3. ไมเ่ กนิ 4 คน 4. ไม่เกนิ 5 คน 23. สภาองค์การบริหารสว่ นจังหวัดท่มี สี มาชกิ สภา 24 หรือ 30 คน ใหม้ รี องนายกองคก์ าร บรหิ ารส่วนจงั หวัดได้ไม่เกินก่คี น 1. ไมเ่ กิน 2 คน 2. ไม่เกนิ 3 คน 3. ไมเ่ กนิ 4 คน 4. ไม่เกิน 5 คน 24. นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั สามารถแตง่ ตั้งเลขานกุ ารนายกองค์การบริหารส่วนจังหวดั และทปี่ รึกษานายกองค์การบริหารส่วนจงั หวัดไดไ้ ม่เกินกี่คน 1. ไมเ่ กิน 4 คน 2. ไมเ่ กิน 5 คน 3. ไม่เกิน 7 คน 4. ไมเ่ กิน 9 คน 25. บุคคลใดทาหน้าทีบ่ งั คบั บญั ชาข้าราชการ พนักงาน และลกู จา้ งในองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด รองจากนายกองค์การบริหารส่วนจังหวดั 1. นายกเทศมนตรี 2. ผวู้ ่าราชการจงั หวดั 3. รองนายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัด 4. ปลัดองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด 26. ข้อใดกล่าวไมถ่ ูกต้องเก่ียวกับรองนายกองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั 1. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดมคี าสงั่ ให้พ้นจากตาแหนง่ ได้ 2. ผ้วู ่าราชการจงั หวัดมคี าสั่งให้พน้ จากตาแหนง่ ไดต้ ามมาตรา 79 3. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยส่ังให้พ้นจากตาแหนง่ ไดต้ ามมาตรา 79 4. พน้ จากตาแหนง่ โดยอตั โนมตั หิ ากนายกองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัดพ้นตาแหนง่ 21. 3 22. 2 23. 1 24. 2 25. 4 26. 2
96 27. นายกองค์การบริหารสว่ นจังหวดั สามารถลาออกไดโ้ ดยย่ืนใบลาออกทีใ่ คร 1. ปลัดจังหวดั 2. ประธานสภาองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั 3. ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั 4. รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย 28. องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั มีอานาจออกข้อบญั ญัติเก็บภาษบี ารุงองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัด จากการคา้ ใดในเขตจังหวดั ได้ 1. นา้ มันดเี ซล และ ผลผลิตทางการเกษตร 2. นา้ มันเบนซนิ นา้ มันดีเซล หรือกา๊ ซปโิ ตรเลียมทใี่ ช้เป็นเชอ้ื เพลงสาหรบั รถยนต์ 3. สินคา้ จากบรษิ ทั ตา่ งชาติทเี่ ข้ามาประกอบกจิ การภายในจงั หวดั เกินกวา่ สบิ สองเดือน 4. สินค้าอุปโภค บริโภค จากภาคเกษตรกรรมที่ผลติ และจัดจาหนา่ ยใหก้ บั ชาวตา่ งชาติ 29. ข้อใดกล่าวไมถ่ กู ตอ้ งเกีย่ วกบั การเรยี กเกบ็ ภาษอี ากรเพิ่มข้ึนขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั 1. ยาสบู จดั เก็บเพิ่มขึ้นไดไ้ มเ่ กินมวนละ 10 สตางค์ 2. ก๊าซปโิ ตรเลียม จดั เกบ็ เพิ่มขึน้ ไดไ้ ม่เกนิ ลติ รละสบิ สตางค์ 3. นามันเบนซิน และนา้ มนั ดเี ซล จดั เก็บเพ่ิมขึ้นไดไ้ ม่เกนิ ลติ รละสบิ สตางค์ 4. คา่ ธรรมเนียมใบอนุญาตขายสุรา จัดเก็บเพม่ิ ข้ึนไดไ้ มเ่ กินรอ้ ยละสบิ ของค่าธรรมเนียม 30. องค์การบริหารส่วนจังหวดั สามารถกาหนดบทลงโทษผู้ละเมิดข้อบญั ญัตไิ ด้อย่างไร 1. กาหนดบทลงโทษได้ตามทีเ่ หน็ สมควร 2. จาคุกไดไ้ ม่เกิน 1 เดือน ปรบั ไมเ่ กนิ 1,000 บาท 3. จาคุกได้ไมเ่ กิน 6 เดอื น ปรบั ไมเ่ กิน 10,000 บาท 4. กาหนดได้ตามพระราชบัญญัติการกาหนดโทษของราชการสว่ นทอ้ งถนิ่ 27. 3 28. 2 29. 2 30. 3
97 สภาตาบลและองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล พระราชบญั ญตั สิ ภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ ประกาศราชกจิ จา นุเบกษา ลงวันที่ 2 ธันวาคม 2537 แกไ้ ขเพิม่ เตมิ ถงึ ฉบับท่ี 7 พ.ศ.2562 ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ฉบบั แรก นายบัญญัติ บรรทัดฐาน รองนายกรฐั มนตรี ผู้รบั สนองพระบรมราชโองการ ฉบบั ท่ี 7 พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ สภาตาบล ในตาบลหนงึ่ ใหม้ ีสภาตาบลมีฐานะเปน็ นิตบิ ุคคล ประกอบดว้ ย 1. กานนั 2. ผู้ใหญ่บ้านของทุกหมบู่ า้ น 3. แพทย์ประจาตาบล 4. สมาชกิ ซงึ่ ได้รบั เลอื กตั้งจากราษฎรใ์ นแต่ละหมบู่ า้ น หมู่บา้ นละ 1 คน อธบิ ายเพิ่มเติมเก่ยี วกบั สภาตาบล ขอ้ สงั เกตเรอื่ งสภาตาบลเกีย่ วข้องกบั กานนั ผู้ใหญบ่ ้าน แพทย์ประจาตาบลในสมยั ก่อนๆ ซง่ึ เราอาจคุ้นเคยว่ากานนั เป็นใหญ่ท่ีสดุ ในตาบล ประมาณน้นั คือแนวทางการบริหารเดมิ แตป่ จั จุบันไดม้ กี ฎหมายให้ยุบสภาตาบลไปหมดแลว้ ตาแหน่งกานนั จงึ ไม่ค่อยมีบทบาท ในเชงิ บริหารหรอื ยงิ่ ใหญเ่ หมือนเชน่ อดตี แต่อย่างไรกด็ ียงั มตี าแหน่งกานนั ของตาบลอยู่ เพราะแปรสภาพสภาตาบลเป็นองค์การบริหารสว่ นตาบล หรอื เทศบาลตาบลหมดแลว้ เพียงแต่สภาตาบล ยงั ปรากฏในพระราชบญั ญัตอิ งค์การบริหารส่วนตาบล และเปน็ ข้อสอบในการสอบเข้ารับราชการขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ
98 สภาตาบล สภาตาบล อานาจหนา้ ที่ของสภาตาบล - สภาตาบลมฐี านะเป็นนิตบิ คุ คล พัฒนาตาบลตามแผนงานโครงการและ - มสี มาชิกสภาตาบล ประกอบด้วย กานัน งบประมาณของสภาตาบล เสนอแนะ ส่วนราชการในการบริหารราชการและ ผู้ใหญบ่ ้านของทกุ หมู่บ้านในตาบล แพทย์ พฒั นาตาบล ปฏิบตั หิ น้าท่ีของคณะ ประจาตาบล และสมาชกิ ซ่ึงไดร้ บั การเลือก กรรมการตาบลตามกฎหมายวา่ ด้วย ตั้งจากราษฎรในหมูบ่ ้านนั้น หมู่บ้านละคน ลักษณะปกครองทอ้ งท่ี และหนา้ ทอ่ี ่ืนๆ ตามทกี่ ฎหมายกาหนด - สมาชิกสภาตาบลท่มี าจากการเลอื กตัง้ ให้มี วาระ 4 ปี นับตง้ั แต่วนั เลอื กตัง้ รายได้ จะมาจากทีอ่ งค์การบรหิ ารส่วน จงั หวดั จัดสรรให้ตามหลกั เกณฑ์กระทรวง - กานนั จะทาหน้าทเี่ ปน็ ประธานสภาตาบล มหาดไทย โดยทุกปีงบประมาณให้รฐั บาล - การประชมุ สภาตาบลต้องมีไมน่ ้อยกว่า จดั สรรเงนิ ให้แก่สภาตาบลเป็นเงินอดุ หนนุ เดอื นละ 1 ครง้ั และมสี มาชกิ สภาตาบล มาประชุมไม่นอ้ ยกวา่ ก่ึงหน่ึงของสภาฯ - นายอาเภอ เป็นผู้ดูแล กากบั สภาตาบล นอกจากน้ี สภาตาบลอาจมรี ายได้อื่นๆ เช่น จากทรัพย์ จากสาธารณปู โภค เงินท่ผี ูอ้ ืน่ อุทศิ ให้ รายได้ของสภาตาบลใหไ้ ด้รบั ยกเว้นไมต่ ้องเสยี ภาษี โดยตราเป็นพระราชกฤษฎกี า ให้นายอาเภอจดั ให้มีการเลอื กตั้งสมาชกิ สภาตาบลซง่ึ ไดร้ บั เลอื กตงั้ ตามหลกั เกณฑ์และ วธิ ีการทก่ี าหนดในระเบยี บของกระทรวงมหาดไทย ในกรณที ่ีสมาชกิ สภาตาบลซ่ึงไดร้ ับการเลอื กต้งั ดารงตาแหน่งครบวาระแล้ว แต่ยังมิได้ มีการเลอื กตัง้ ใหม่ ให้สมาชิกสถาตาบลโดยตาแหน่งปฏบิ ัติหน้าทตี่ ่อไป สภาตาบลมีกานนั เปน็ ประธานสภาตาบล และมีรองประธานสภาตาบลคนหนง่ึ ซงึ่ นายอาเภอแต่งตั้งจากสมาชกิ สภาตาบลตามมติของสภาตาบล ใหม้ ีการประชมุ สภาตาบลไมน่ ้อยกว่าเดอื นละ 1 คร้งั การประชุมตอ้ งมสี มาชิก สภาตาบลมาประชมุ ไม่นอ้ ยกว่าก่งึ หนงึ่ ของจานวนสมาชิกสภาตาบลทั้งหมด
99 สภาตาบลอาจดาเนนิ กจิ การภายในตาบล (1) จดั ให้มีนา้ เพือ่ การอปุ โภค บรโิ ภค และการเกษตร (๒) จัดให้มีและบารุงรักษาทางนา้ และทางบก (๓) จดั ให้มแี ละรักษาทางระบายนา้ และรกั ษาความสะอาดของถนน ทางนา้ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทง้ั การกาจัดมูลฝอยและส่งิ ปฏิกูล (๔) คุ้มครองดแู ลและบารงุ รักษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม (๕) บารุงและส่งเสริมการประกอบอาชพี ของราษฎร (๖) สง่ เสรมิ การพฒั นาสตรี เดก็ เยาวชน ผูส้ งู อายุ และผ้พู ิการ การกากบั ดแู ลสภาตาบล นายอาเภอมีอานาจกากับดแู ลการปฏบิ ัติหน้าทีข่ องสภาตาบล สภาตาบลใดทมี่ รี ายไดโ้ ดยไม่รวมเงินอุดหนุนในปงี บประมาณท่ลี ่วงมาตดิ ต่อกันสามปเี ฉลย่ี ไม่ตา่ กว่าปลี ะหนึง่ แสนห้าหมื่นบาท อาจจัดตั้งเปน็ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล (อบต) ได้โดยทาเป็น ประกาศของกระทรวงมหาดไทย และใหป้ ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา ให้ระบุชอ่ื และเขตของ องค์การบริหารสว่ นตาบลไว้ดว้ ย การเปลีย่ นแปลงรายได้เฉลยี่ ของสภาตาบลให้ทาเป็นประกาศ ของกระทรวงมหาดไทยและประกาศในราชกจิ จานุเบกษา สภาตาบลใดท่ีจดั ตง้ั เป็นองค์การบรหิ ารส่วนตาบล (อบต) แล้ว ให้พ้นจากสภาพของ การเปน็ สภาตาบลนบั แตว่ ันทป่ี ระกาศจัดต้งั ขึน้ เป็นองค์การบริหารสว่ นตาบล เปน็ ต้นไป กลา่ วคือในปจั จบุ ันนไี้ ม่มสี ภาตาบลอยู่แล้วเพราะแปรเปลี่ยนเป็นองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลหมด เพยี งแตว่ ่าเรื่องราวของสภาตาบลยังปรากฏอยู่ใน พระราชบัญญัติ และอาจปรากฏในข้อสอบจึง ควรร้จู กั ไวว้ า่ แตกต่างจากสภาองค์การบรหิ ารส่วนตาบล สภาตาบลจะเป็นแนวยุคเกา่ คอื กานนั มบี ทบาทในการขบั เคล่อื นหลัก แต่เมอ่ื เปลย่ี นเป็น อบต กนั แลว้ บทบาทจึงไปอย่ทู ่ี นายก อบต
100 ** ข้อควรระวัง คือ ผ้เู ขยี นเนน้ เสมอว่า คาทีป่ รากฏใน พ.ร.บ. และในข้อสอบ เกยี่ วกบั ตาบลจะมอี ยู่สามคาทค่ี วรแยกแยะได้ คาแรก คือ เทศบาลตาบล (โอเค คานก้ี ค็ อื เทศบาล แยกออกไป คงไม่สบั สนเท่าไร) แตส่ องคาทคี่ วร ระวัง ปรากฏทบั ซ้อนกันอยู่คือคาวา่ สภาตาบล (คาน้เี ปน็ การบริหารยคุ กอ่ น จะเปลย่ี นมาเป็นองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล) นน่ั ก็หมายความว่า ณ ตอนนี้ ปัจจบุ ัน ไม่มีสภาตาบลอย่แู ลว้ ในประเทศไทย แต่ยังมีอย่ใู น พ.ร.บ. และพบ ในข้อสอบ ระวังอยา่ สบสนกับ สภาองค์การบริหารสว่ นตาบลอยู่ในปัจจุบัน - สภาตาบลมีรายไดซ้ ึง่ องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดจัดสรรให้ตามหลักเกณฑ์ท่ี กระทรวงมหาดไทยกาหนด ดังตอ่ ไปน้ี 1. ภาษีบารุงทอ้ งที่ ภาษีโรงเรอื นและทดี่ ิน ภาษปี า้ ย อากรการฆา่ สตั ว์และผลประโยชน์ อ่ืนอันเกดิ จากการฆ่าสตั วท์ ่จี ดั เกบ็ ได้ในตาบลนนั้ 2. คา่ ธรรมเนยี ม ค่าใบอนญุ าต และค่าปรบั ตามทีจ่ ะมกี ฎหมายกาหนดไว้ท่จี ดั เก็บได้ใน ตาบลนั้น 3. คา่ ธรรมเนียมใบอนุญาตการพนันตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการพนนั ทเ่ี กบ็ เพม่ิ ขึน้ ตาม ขอ้ บญั ญัติจังหวดั ในเขตตาบลนัน้ 4. ภาษมี ลู คา่ เพ่ิม และภาษธี รุ กิจเฉพาะท่ีองค์การบริหารสว่ นจังหวัดไดร้ ับจดั สรร 5. ภาษสี รุ าและภาษีสรรพสามติ ที่องคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั ได้รับจัดสรร 6. ภาษแี ละค่าธรรมเนียมรถยนตแ์ ละล้อเลอ่ื นทอ่ี งค์การบริหารส่วนจงั หวัดได้รับจดั สรร - ทกุ ปีงบประมาณรัฐบาลจัดสรรเงินอดุ หนนุ ให้แก่สภาตาบล
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231