Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมาย-ภาค-ก

กฎหมาย-ภาค-ก

Published by sarunphat.meth, 2021-07-25 13:12:33

Description: กฎหมาย-ภาค-ก

Search

Read the Text Version

151 5. ฐานไมป่ ฏบิ ตั ิตามระเบยี บ กฎหมาย มติ ค.ร.ม. นโยบายรฐั บาล 6. ฐานไม่สนใจ รับทราบเหตุการณ์เคล่ือนไหว ภัยอันตรายตอ่ ประเทศ และไม่ป้องกนั อันตรายจนเต็มความสามารถ 7. ฐานไมร่ ักษาความลับของทางราชการ 8. ฐานขดั คาส่ังผู้บังคบั บัญชาซง่ึ ส่งั การชอบ 9. ฐานกระทาการขา้ มขัน้ ผบู้ ังคับบัญชาเหนือตน 10. ฐานรายงานเทจ็ ต่อผูบ้ ังคบั บัญชา 11. ฐานไม่ปฏิบัตติ ามแบบธรรมเนยี มราชการ 12. ฐานขาดราชการละท้ิงหรอื ทอดทิง้ หนา้ ท่ี 13. ฐานไมส่ ุภาพเรียบรอ้ ย ไมร่ กั ษาความสามัคคี ไม่ชว่ ยเหลอื กนั ในการปฏบิ ัติราชการ 14. ฐานไมใ่ หก้ ารต้อนรับ ไมใ่ ห้ความสะดวก ดหู มิ่น กดขี่ ข่มเหงประชาชนผตู้ ิดตอ่ 15. ฐานกระทาการให้ผอู้ น่ื หาประโยชนจ์ ากตาแหน่งหนา้ ทร่ี าชการ อันอาจทาใหเ้ สยี ความเทย่ี งธรรม เสอื่ มเสียเกยี รติขา้ ราชการ 16. ฐานเปน็ กรรมการผู้จดั การในห้างหุ้นสว่ นหรอื บรษิ ัท 17. ฐานวางตนไมเ่ ป็นกลางทางการเมือง 18. ฐานไม่รักษาชื่อเสียงของตนเอง ประพฤติช่วั ( ถ้าเอาผดิ ฐานอ่นื ไม่ได้ใหใ้ ชฐ้ านน้ี ) ความผดิ ที่ปรากฏชัดแจ้ง (จะไมต่ ้ังกรรมการสอบสวนกไ็ ด้) กรณีอย่างไม่รา้ ยแรง (1) กระทาความผิดอาญาจนตอ้ งคาพพิ ากษาถงึ ทสี่ ุดวา่ ผนู้ ้นั กระทาผิด (2) กระทาผิดวนิ ัยอย่างไม่ร้ายแรงและไดร้ ับสารภาพในเรอ่ื งทถี่ ูกกล่าวหาเปน็ หนังสือ กรณีอย่างรา้ ยแรง (1) กระทาความผดิ อาญาจนไดร้ บั โทษจาคุก หรอื โทษที่หนกั กวา่ จาคุก เว้นแต่เปน็ โทษ สาหรับความผดิ ทไ่ี ดก้ ระทาโดยประมาทหรอื ความผิดลหุโทษ (2) ละทง้ิ หนา้ ทรี่ าชการตดิ ตอ่ ในคราวเดียวกนั เป็นเวลาเกนิ กว่าสิบหา้ วัน (3) กระทาผดิ วินยั อย่างรา้ ยแรง และได้รบั สารภาพในเรอ่ื งท่ีถูกกล่าวหาเปน็ หนังสือ

152 หลักธรรมาภิบาล หรือ การบริหารกจิ การบ้านเมอื งทีด่ ี (Good Governance) 1.นิตธิ รรม 2.คุณธรรม 3.หลักความโปร่งใส 4.การมสี ว่ นรว่ ม 5.ความรับผดิ ชอบ 6.ความคุ้มคา่ ตามพระราชกฤษฏีกา หลักเกณฑ์และวธิ กี ารบรหิ ารบ้านเมืองที่ดี 2546 สว่ นราชการ หมายความวา่ ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรบั ปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐทอี่ ยใู่ นกากับของราชการฝ่ายบรหิ าร แต่ไมร่ วมถึงองค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ข้าราชการ หมายความถงึ พนักงาน ลกู จ้าง หรือ ผปู้ ฏบิ ัติงานในส่วนราชการ ใหน้ ายกรฐั มนตรี รักษาการตามพระราชกฤษฏีกาน้ี การบริหารกิจการบา้ นเมืองที่ดี ได้แก่ การบรหิ ารราชการเพือ่ บรรลเุ ปา้ หมาย ดังตอ่ ไปน้ี 1. เกดิ ประโยชนส์ ขุ ของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิต์ ่อภารกิจของรัฐ 3. มีประสทิ ธภิ าพและเกิดความค้มุ ค่าในเชิงภารกจิ ของรัฐ 4. ไม่มขี ้ันตอนการปฏิบัติงานเกินความจาเป็น 5. มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ 6. ประชาชนได้รบั การอานวยความสะดวกและไดร้ ับการตอบสนองความต้องการ 7. มีการประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการอย่างสม่าเสมอ การบรหิ ารราชการเพ่ือประโยชน์สขุ ของประชาชน หมายถงึ การปฏิบตั ิราชการทมี่ ี เปา้ หมายเพอื่ ให้เกิดความผาสุกและความเป็นอยทู่ ดี่ ีของประชาชน ความสงบ และปลอดภยั ของสว่ นรวม ตลอดจนประโยชนส์ งู สุดของประเทศ - ประชาชนเป็นศูนย์กลางทีจ่ ะไดร้ บั บรกิ ารจากรัฐ - การปฏิบตั ภิ ารกจิ ของสว่ นราชการต้องเป็นไปโดยซอ่ื สัตย์ สจุ รติ สามารถตรวจสอบได้ - ก่อนดาเนนิ การ ส่วนราชการต้องวเิ คราะห์ ผลดี ผลเสียให้ครบถ้วนทกุ ดา้ น - รบั ฟังความเห็นประชาชนและความพงึ พอใจของสงั คมโดยรวมและประชาชน ผรู้ ับบริการ

153 การสัง่ ราชการโดยปกติให้กระทาเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร เวน้ แตใ่ นกรณีทีผ่ ูบ้ ังคบั บัญชามี ความจาเป็นทไ่ี ม่อาจส่งั เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรในขณะน้นั จะสงั่ ราชการดว้ ยวาจาก็ได้ แต่ให้ ผ้รู บั คาสง่ั นัน้ บนั ทึกคาส่ังด้วยวาจาไวเ้ ป็นลายลกั ษณอ์ ักษรและเมือ่ ได้ปฏิบตั ิราชการตาม คาสัง่ แลว้ ใหบ้ ันทึกรายงานใหผ้ สู้ ่งั ราชการทราบ ใบบันทกึ ให้อ้างองิ คาส่งดว้ ยวาจาไว้ดว้ ย สว่ นราชการให้มีการกระจายอานาจการตัดสนิ ใจเก่ียวกับการสง่ั การอนญุ าต การอนมุ ัติ การปฏบิ ัตริ าชการ หรือการดาเนนิ การอ่ืนใด เพือ่ ให้เกดิ ความรวดเร็วและ ลดขั้นตอนการปฏบิ ตั ริ าชการ มุ่งเกิดความสะดวกรวดเรว็ ในการบริการประชาชน ให้เปน็ หนา้ ที่ของปลัดกระทรวง ท่ีจะตอ้ งจดั ให้ส่วนราชการภายในกระทรวงที่ รับผดิ ชอบงานการบริการประชาชนรว่ มกนั จัดต้งั ศนู ยบ์ ริการรว่ มเพือ่ อานวยความสะดวก แกป่ ระชาชนและประชาชนสามารถติดตอ่ สอบถาม ขอทราบข้อมลู ขออนุญาต หรอื ขอ อนมุ ัติในเรอื่ งใด โดยประชาชนจะได้ตดิ ต่อเจ้าหน้าท่ี ณ ศูนยบ์ ริการร่วมเพียงแห่งเดยี ว - ผวู้ ่าราชการจงั หวัดร่วมกับส่วนราชการทเ่ี กีย่ วข้อง จัดตง้ั ศนู ย์บริการร่วมไว้ ณ ศาลากลาง จังหวดั - นายอาเภอ รว่ มกบั ส่วนราชการที่เกย่ี วขอ้ ง จดั ตัง้ ศนู ยบ์ ริการรว่ มไว้ ณ ทวี่ า่ การอาเภอ - ปลัดอาเภอ ท่ีเปน็ หัวหนา้ ประจากง่ิ อาเภอ ใหร้ ว่ มกบั ส่วนราชการที่เกย่ี วขอ้ งจดั ตัง้ ศนู ย์บรกิ าร รว่ มไว้ ณ ที่ว่าการกิ่งอาเภอ เมื่อได้รบั การติดต่อสอบถามเป็นหนงั สอื จากประชาชน หรือจากส่วนราชการ เก่ียวกับ งานที่ทา สวนราชการน้นั ตอบคาถามหรอื ชแ้ี จงการดาเนินงานใหท้ ราบภายใน 15 วัน ใหส้ ว่ นราชการจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของตน เพ่ืออานวยความสะดวกให้ ประชาชน ในการตดิ ตอ่ สอบถาม แสดงความคิดเหน็ ต้องจัดให้มกี ารเปิดเผยขอ้ มูลเกีย่ วกับงบประมาณ รายจ่ายแต่ละปี การจดั ซื้อ จัดจ้างท่ี ดาเนนิ การในปีงบประมาณนั้นๆ

154 องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน จัดทาหลกั เกณฑก์ ารบริหารกิจการบ้านเมืองทดี่ ตี าม แนวทางของพระราชกฤษฎีกานี้ โดยอยา่ งนอ้ ยต้องมหี ลกั เกณฑเ์ ก่ยี วกับการลดขนั้ ตอนการ ปฏบิ ัติงานและการอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน โดย เปน็ หน้าทข่ี องกระทรวงมหาดไทยดูแลและให้ความช่วยเหลือองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินใน การจดั ทาหลักเกณฑด์ งั กลา่ ว กาหนดใหม้ ีแนวทางบริหารราชการ ดงั นี้ 1. กาหนดภารกิจของสว่ นราชการต้องทาไปเพ่อื ความผาสขุ ของประชาชนและ สอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐ และแนวนโยบายของรัฐบาล 2. ตอ้ งปฏบิ ตั ิไปโดยความซอื่ สตั ย์สุจริต สามารถตรวจสอบได้ 3. ก่อนเรมิ่ ดาเนนิ การ ต้องศึกษาวิเคราะห์ผลดี และผลเสียใหค้ รบถว้ นดว้ ยความ โปรง่ ใส ภารกจิ ใดมผี ลกระทบต่อประชาชน ตง้ั รับฟังความคิดเห็นของประชาชนตระหนกั ถงึ ประโยชน์สว่ นรวมท่จี ะได้รบั 4. เปน็ หน้าทีต่ ้องรับฟังความคดิ เห็น ความพงึ พอใจของสังคม และประชาชน ทไ่ี ดร้ บั บริการเพอ่ื นามาปรับปรงุ เสนอแนะผู้มีอานาจปรับปรุงใหเ้ หมาะสม 5. พบปัญหาอุปสรรคการดาเนินการ ใหร้ ีบแกไ้ ขปญั หาอปุ สรรคโดยเร็ว หากพบว่า ปญั หาอปุ สรรคเกดิ จากสว่ นราชการ ระเบียบ ขอ้ บงั คับ รีบแจง้ ให้สว่ นราชการเกี่ยวข้องทราบ เพอื่ ปรบั ปรุงโดยเร็ว และแจง้ ให้ ก.พ.ร.ทราบด้วย เพ่ือใหเ้ กิดผลสมั ฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐให้สว่ นราชการปฏิบัติ ดังน้ี 1. ก่อนดาเนินการ ตอ้ งจดั ทาแผนปฏบิ ตั ริ าชการไวเ้ ปน็ การล่วงหนา้ 2. ในแผนปฏบิ ตั ิราชการ ตอ้ งมรี ายละเอียดของขัน้ ตอน ระยะเวลาและงบประมาณ ท่ีตอ้ งใชเ้ ป้าหมายของภารกิจ ผลสมั ฤทธิ์ และตวั ชว้ี ดั ความสาเร็จ 3. ต้องจัดใหม้ กี ารติดตาม และประเมนิ ผลการปฏบิ ัติตามแผนปฏิบตั ิราชการ 4. การปฏบิ ตั ิตามแผนปฏิบัติราชการเกิดผลกระทบตอ่ ประชาชน ต้องรบี แก้ไขหรือ บรรเทาหรอื เปลีย่ นแปลงแผนปฏิบัตริ าชการให้เหมาะสม

155 ในกรณีท่สี ่วนราชการใดดาเนินการให้บรกิ ารท่ีมคี ุณภาพและเป็นไปตามเปา้ หมายท่ี กาหนด รวมทัง้ เป็นที่พงึ พอใจแก่ประชาชน ให้ ก.พ.ร.เสนอคณะรัฐมนตรจี ดั สรรเงนิ เพมิ่ พเิ ศษเป็น บาเหนจ็ ความชอบแกส่ ว่ นราชการหรือให้ส่วนราชการใช้เงนิ งบประมาณเหลอื จ่ายของส่วนราชการ น้ัน เพ่ือนาไปใชใ้ นการปรับปรุงการปฏบิ ัติงานของสว่ นราชการหรือจัดสรรเป็นรางวลั ให้ขา้ ราชการ ในสังกัด ทง้ั นี้ ตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการท่ี ก.พ.ร. กาหนดโดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรี เมือ่ สว่ นราชการใดได้ดาเนนิ งานไปตามเปา้ หมาย สามารถเพม่ิ ผลงาน และผลสมั ฤทธโ์ิ ดย ไม่เป็นการเพิ่มค่าใช้จา่ ยและคุ้มค่าต่อภารกิจของรฐั หรอื สามารถดาเนินการตามแผนการลด คา่ ใช้จ่ายต่อหนว่ ยไดต้ ามหลกั เกณฑ์ที่ ก.พ.ร. กาหนด ให้ ก.พ.ร. เสนอคณะรัฐมนตรจี ัดสรรเงิน รางวลั การเพ่มิ ประสิทธภิ าพให้แกส่ ่วนราชการน้นั หรอื ให้สว่ นราชการใชเ้ งินงบประมาณเหลือจ่าย ของส่วนราชการนัน้ เพื่อนาไปใช้ในการปรับปรุงการปฏิบัตงิ านของสว่ นราชการหรือจัดสรรเป็น รางวัลให้ขา้ ราชการในสังกดั ท้งั น้ี ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารที่ ก.พ.ร. กาหนดโดยความเห็นชอบ ของคณะรฐั มนตรี ============================================================ นน่ั คือเร่ืองราวของพระราชบัญญัตกิ ิจการบริหารบ้านเมืองท่ีดี แต่ในยคุ ปจั จบุ นั ต้ังแต่ปี 2555 เป็นต้นมา คณะรัฐมนตรี และ ก.พ.ร. มีการกาหนดเก่ียวกบั หลกั ธรรมมาภิบาลใหม่ โดยสรปุ ได้เป็น 4 หลกั การใหญ่ 10 หลกั การย่อย ดังต่อไปน้ี หลกั การสาคญั 4 ประการ (แบง่ ยอ่ ยเป็น 3 / 4 / 2 / 1)ไดแ้ ก่ 1) การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) : มหี ลกั การย่อย 3 ประการ หลกั ประสทิ ธภิ าพ (Efficiency) หลกั ประสทิ ธิผล (Effectiveness) และหลักการตอบสนอง (Responsiveness) : มีหลักการยอ่ ย 3 ประการ 2) คา่ นิยมประชาธิปไตย (Democratic Value) : มีหลกั การย่อย 4 ประการ หลกั ภาระรบั ผดิ ชอบ/ สามารถตรวจสอบได้ (Accountability) หลกั ความเปดิ เผย/โปรง่ ใส (Transparency) หลกั นติ ธิ รรม (Rule of Law) และหลกั ความเสมอภาค (Equity)

156 3) ประชารัฐ (Participatory State) : มีหลกั การยอ่ ย 2 ประการ หลกั การกระจายอานาจ (Decentralization) และ หลักการมสี ่วนร่วม/การมุง่ เนน้ ฉันทามติ (Participation/Consensus Oriented) 4) ความรบั ผิดชอบทางการบรหิ าร (Administrative Responsibility): มีหลกั การย่อย 1 ประการ หลักคณุ ธรรม/จรยิ ธรรม (Morality/Ethics) ก.พ.ร. คอื คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการมหี นา้ ที่หลักเกี่ยวกับการพัฒนาระบบ ราชการและงานของรฐั อยา่ งอ่ืน เพื่อใหเ้ ป็นไปตามเจตนารมณ์แหง่ กฎหมายระเบยี บ บริหารราชการแผน่ ดนิ ปจั จุบนั นายวิษณุ เครืองาม (รองนายกรฐั มนตรี) เปน็ ประธาน ก.พ.ร. มีการเปลีย่ นจาก 6 หลักธรรมาภิบาล ใหก้ ลายมาเปน็ หลกั ธรรมาภบิ าล 10 ประการ หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกจิ การบา้ นเมืองที่ดี หลกั การย่อย 10 ประการ ไดแ้ ก่ 1) ประสทิ ธิภาพ (Efficiency) 2) ประสิทธผิ ล (Effectiveness) 3) การตอบสนอง (Responsiveness) 4) ภาระรับผิดชอบ/สามารถตรวจสอบได้ (Accountability) 5) เปิดเผย/โปร่งใส (Transparency) 6) หลกั นติ ธิ รรม (Rule of Law) 7) ความเสมอภาค (Equity) 8) การมสี ่วนร่วม/การพยายามแสวงหาฉันทามติ (Participation/ Consensus Oriented) 9) การกระจายอานาจ (Decentralization) 10) คณุ ธรรม/จริยธรรม (Morality/ Ethic)

157 1) ประสทิ ธิภาพ (Efficiency) หมายถึง ในการปฏบิ ัติราชการต้องใชท้ รพั ยากรอย่างประหยัด เกิดผลติ ภาพทคี่ ุ้มค่าต่อ การลงทุนและบังเกิดประโยชนส์ ูงสดุ ตอ่ ส่วนรวม ทงั้ นี้ ต้องมกี ารลดขน้ั ตอนและระยะเวลาในการ ปฏบิ ตั ิงานเพื่ออานวยความสะดวกและลดภาระค่าใช้จา่ ย ตลอดจนยกเลิกภารกจิ ทล่ี ้าสมยั และไม่ มีความจาเป็น 2) ประสิทธผิ ล (Effectiveness) หมายถึง ในการปฏบิ ัตริ าชการต้องมวี ิสยั ทัศนเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์เพื่อตอบสนองความต้องการ ของประชาชนและผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ทุกฝา่ ย ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีตามพันธกิจใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงค์ของ องค์การ มีการวางเป้าหมายการปฏิบัตงิ านทช่ี ดั เจนและอยใู่ นระดบั ทต่ี อบสนองตอ่ ความคาดหวงั ของประชาชน สรา้ งกระบวนการปฏบิ ัตงิ านอย่างเป็นระบบและมีมาตรฐาน มกี ารจดั การความ เสยี่ งและม่งุ เนน้ ผลการปฏิบตั ิงานเป็นเลศิ รวมถงึ มีการติดตามประเมนิ ผลและพฒั นาปรบั ปรงุ การ ปฏิบัติงานใหด้ ีขนึ้ อย่างต่อเนอื่ ง 3) การตอบสนอง (Responsiveness) หมายถึง ในการปฏิบัตริ าชการต้องสามารถให้บรกิ ารไดอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ สามารถดาเนนิ การแล้วเสร็จภายในระยะเวลาทีก่ าหนด สร้างความเชอื่ ม่นั ไว้วางใจ รวมถึงตอบสนองตามความ คาดหวัง/ความตอ้ งการของประชาชนผรู้ ับบรกิ าร และผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียที่มคี วามหลากหลายและ มคี วามแตกต่างกนั ได้อยา่ งเหมาะสม 4) ภาระรบั ผดิ ชอบ/สามารถตรวจสอบได้ (Accountability) หมายถงึ ในการปฏิบัตริ าชการตอ้ งสามารถตอบคาถามและช้แี จงได้เมื่อมีขอ้ สงสยั รวมทัง้ ต้องมีการจัดวางระบบการรายงานความกา้ วหน้าและผลสัมฤทธต์ิ ามเปา้ หมายทก่ี าหนดไว้ ต่อสาธารณะเพือ่ ประโยชน์ในการตรวจสอบและการให้คุณใหโ้ ทษ ตลอดจนมีการจดั เตรียมระบบ การแกไ้ ขหรือบรรเทาปญั หาและผลกระทบใด ๆ ทอ่ี าจจะเกดิ ข้ึน 5) เปิดเผย/โปร่งใส (Transparency) หมายถึง ในการปฏบิ ตั ิราชการตอ้ งปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความซ่ือสตั ยส์ ุจรติ ตรงไปตรงมา รวมทั้งต้องมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารท่จี าเปน็ และเชือ่ ถอื ได้ใหป้ ระชาชนไดร้ บั ทราบอย่าง สม่าเสมอ ตลอดจนวางระบบให้การเข้าถึงขอ้ มลู ข่าวสารดังกลา่ วเปน็ ไปโดยง่าย

158 6) หลกั นิติธรรม (Rule of Law) หมายถึง ในการปฏิบัติราชการต้องใช้อานาจของกฎหมาย กฎระเบยี บ ขอ้ บงั คับในการ ปฏิบัตงิ านอยา่ งเคร่งครัด ดว้ ยความเป็นธรรม ไมเ่ ลอื กปฏบิ ัติ และคานึงถึงสทิ ธเิ สรีภาพของ ประชาชนและผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี ฝ่ายตา่ ง ๆ 7) ความเสมอภาค (Equity) หมายถงึ ในการปฏิบัติราชการต้องให้บรกิ ารอย่างเทา่ เทยี มกนั ไม่มี การแบ่งแยกด้านชาย หญิง ถ่นิ กาเนิด เช้อื ชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรอื สุขภาพ สถานะของบคุ คล ฐานะทาง เศรษฐกจิ และสังคม ความเช่อื ทางศาสนา การศกึ ษาอบรม และอ่ืน ๆ อีกทง้ั ยงั ตอ้ งคานึงถงึ โอกาส ความเท่าเทยี มกนั ของการเข้าถงึ บรกิ ารสาธารณะของกลมุ่ บคุ คลผู้ด้อยโอกาสในสงั คมดว้ ย 8) การมีส่วนร่วม/การพยายามแสวงหาฉันทามติ (Participation/ Consensus Oriented) หมายถึง ในการปฏบิ ัตริ าชการตอ้ งรับังความคิดเหน็ ของประชาชน รวมทั้งเปิดให้ประชาชน มสี ่วนรว่ มในการรับรู้ เรยี นรู้ ทาความเข้าใจ รว่ มแสดงทศั นะ รว่ มเสนอปัญหา/ประเดน็ ที่สาคญั ที่ เกีย่ วขอ้ งร่วมคดิ แก้ไขปัญหา ร่วมในกระบวนการตัดสนิ ใจและการดาเนนิ งานและร่วมตรวจสอบ ผลการปฏิบัตงิ าน ท้งั นี้ ตอ้ งมคี วามพยายามในการแสวงหาฉนั ทามตหิ รือข้อตกลงร่วมกันระหวา่ ง กลุ่มผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสยี ท่เี กีย่ วข้อง โดยเฉพาะกลมุ่ ท่ไี ดร้ บั ผลกระทบโดยตรงจะตอ้ งไมม่ ีขอ้ คัดคา้ น ที่หาข้อยตุ ไิ มไ่ ด้ในประเดน็ ท่ีสาคญั 9) การกระจายอานาจ (Decentralization) หมายถึง ในการปฏิบตั ริ าชการควรมีการมอบอานาจและกระจายความรบั ผิดชอบในการ ตัดสินใจและการดาเนินการให้แก่ผ้ปู ฏิบตั ิงานในระดับต่าง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม รวมทงั้ มีการโอน ถ่ายบทบาทและภารกิจใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นหรอื ภาคส่วนอ่นื ๆ ในสังคม 10) คณุ ธรรม/จริยธรรม (Morality/ Ethic) หมายถึง ในการปฏิบตั ิราชการตอ้ งมจี ติ สานกึ ความรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั หิ น้าที่ให้เปน็ ไป อย่างมีศีลธรรม คุณธรรม และตรงตามความคาดหวงั ของสังคม รวมท้งั ยดึ ม่นั ในคา่ นิยมหลกั ของ มาตรฐานจรยิ ธรรมสาหรับผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองและเจ้าหนา้ ที่ของรฐั ประมวลจริยธรรม ข้าราชการพลเรือนและจรรยาบรรณวชิ าชพี ตลอดจนคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ของระบบราชการ

159 สรุปสาระสาคญั และอธิบายขอ้ มลู ควรร้ใู นเร่อื ง พระราชกฤษฏีกาวา่ ด้วยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการบริหารกจิ การบ้านเมอื งทีด่ ี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 วนั ที่ 1 พ.ค. 2562 พระราชกฤษฏีกาดงั กลา่ ว (บรหิ ารกจิ การบ้านเมืองทด่ี )ี มผี ลบังคบั ใช้ เพราะว่าประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาวันท่ี 30 เมษายน 2562 มผี ลบงั คับใช้วนั ถดั ไป สาเหตุการใช้กฎหมายตัวนี้ เกิดจากกฎหมายเกา่ ๆตวั น้นั ใชม้ านานแล้ว กาหนดบทบาท ของเดมิ ในแบบหลายปกี อ่ น แตต่ ัวใหม่นี้ ได้ต้องปรบั ให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ 2560 หรือพูด แบบบา้ นๆคือ กฎหมายรัฐธรรมนญู เปลี่ยนแลว้ เรากต็ อ้ งเปลีย่ นตามให้สอดรบั กนั นนั่ เอง ภาษาทางการมนั ยาวมากๆ ในสาเหตกุ ารแก้กฏหมายใหม่ ถ้าก๊อบมาเต็มๆ ก็อ่านไม่รูเ้ รอ่ื งอยู่ดี มันยาว อา่ นน่าเบ่อื ผู้อา่ นไม่อ่านแน่ เราจงึ ขอสรุปคยี ์เวิรด์ ที่นา่ สนใจเป็นภาษาทางการในการประกาศใช้ ดงั นี้ เหตผุ ลในการประกาศใช้ - หลกั เกณฑ์เดมิ กาหนดใหค้ ณะรฐั มนตรีและหน่วยงานทเี่ กี่ยวข้องจัดใหม้ ีแผนการ บริหารราชการแผน่ ดนิ และแผนนิตบิ ญั ญตั อิ ่นื ๆ เพ่อื เปน็ กรอบในการบริหารราชการ แผ่นดนิ ให้มคี วามชัดเจน แตเ่ น่ืองจากรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 ไดก้ าหนดใหร้ ฐั จดั ให้มยี ทุ ธศาสตร์ชาติเปน็ เปา้ หมายการพัฒนาประเทศอยา่ ง ย่งั ยนื และจดั ใหม้ แี ผนปฏิรปู ประเทศ จึงไม่มคี วามจาเปน็ ท่จี ะต้องจดั ทาแผนการ บริหารราชการแผ่นดนิ และแผนนติ บิ ัญญตั ิใหซ้ ้าซ้อนกันอกี ควรยกเลิกท้ังสองนน้ั และปรับปรงุ การจดั ทาแผนปฏิบตั ริ าชการให้สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์ แผนแมบ่ ท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ นโยบาย ฯลฯ โดยใช้แพลตฟอร์มดิจทิ ลั กลางเพอื่ ใหส้ อดคล้อง ฯลฯ อนั นี้ พยายามสรุปๆแลว้ นะ และไม่ทิ้งภาษาทางการมากเกนิ ไป จะประมาณน้ี กลา่ วแบบอธบิ ายให้เข้าใจ คือ ตวั เดิมๆ มันมคี าวา่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั - แผนบริหารราชการแผ่นดนิ และแผนนิตบิ ัญญัติ มสี องคานีอ้ ยู่ แต่ว่าปจั จุบันเขาไม่ ต้องทาแผนทั้งสองน้ีแล้ว (หรอื ในประเทศไทย ไมม่ ีแผนสองแผนนีแ้ ลว้ มีแต่คาใหมๆ่ เขาจงึ ยกเลิกข้อความพวกนี้ แลว้ ใหใ้ ชข้ ้อความใหมแ่ ทน แคน่ ้ันเอง ผ้อู ่านนึกออกไหม

160 เช่น มาตราเดิมกล่าวไวว้ า่ ใหค้ ณะรฐั มนตรีจดั ให้มแี ผนการบริหารราชการแผ่นดินตลอดระยะเวลาการบรารราชการ แผน่ ดนิ ในการจัดทาแผนการบริหารราชการแผน่ ดิน ให้จดั ทาเป็นแผนสปี่ ี เมอ่ื ประกาศใชแ้ ผน บรหิ ารราชการแผ่นดนิ แล้ว ให้รว่ มกันจดั ทาแผนนิติบญั ญตั ิ … อนั น้ี สรปุ ๆภาษากฎหมายให้ดนู ะ มนั จะประมาณน้ี แตต่ ัวจริงๆมันยาว อา่ นกไ็ ม่ร้เู ร่อื ง แต่จะอธบิ ายให้ทราบว่า เม่อื กอ่ นเขาพูดถงึ การใหท้ าแผนพวกนี้ บรหิ ารประเทศ แตป่ จั จบุ นั น้ี มนั ไมม่ แี ลว้ นนั่ เอง จึงยกเลกิ มาตราพวกนนั้ ท่ี มีคาสองคานั้นอยู่ และก็ตราใหม่ อาทเชน่ ของใหมค่ อื มาตรา 16 ใหส้ ว่ นราชการจัดทาแผนปฏบิ ัติราชการของสว่ นราชการน้ัน โดยจดั ทาเป็น แผนหา้ ปี ซงึ่ ตอ้ งสอดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าติ แผนแมบ่ ท แผนการปฏริ ูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ นโยบาย ของคณะรฐั มนตรีทีแ่ ถลงตอ่ รัฐสภา และแผนอ่นื ท่เี กี่ยวข้อง นีค่ ือกฎหมายใหม่ คดั มาตรา 16 มาให้อา่ นเต็มๆ ตามนเ้ี ลย ดังนั้น โดยสรุป ตวั ใหม่กค็ ือ - ยกเลกิ หรอื ไม่มีคาว่า “แผนบริหารราชการแผน่ ดนิ และ แผนนิตบิ ญั ญตั ิ” - มีคาวา่ ใหส้ อดคลอ้ งกับ “ยุทธศาสตร์ชาติ” แผนแม่บท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ นโยบายคณะรฐั มนตรี และแผนอน่ื ๆ และเพิม่ เนื้อหากฎหมายทสี่ าคัญในปี 2562 คือ “การบริการประชาชนและการตดิ ต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน ต้องกระทาโดยใชแ้ พลตฟอรม์ ดิจิตอลกลางท่ีสานกั งานพัฒนาระบบรัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) กาหนดดว้ ย” เห็นไหมวา่ มันมีคาว่า แพลตฟอรม์ ดจิ ิตลั กลางฯ ปรากฏในกฏหมายปี 2562 แลว้ ด้วย

161 ถาม 1. ให้เป็นหน้าท่ีของส่วนราชการใดจัดให้มีแพลตฟอรม์ ดจิ ทิ ัลกลาง ตอบ สานักงานพัฒนารัฐบาลดจิ ิตัล (องค์การมหาชน) ถาม 2. ใหจ้ ัดทาแพลตฟอรม์ ดจิ ิตัลกลาง เพอ่ื ใหส้ ว่ นราชการกลางในการบริการประชาชน และติดตอ่ ประสานงานระหว่างกันภายในกวี่ ัน ตอบ ภายใน 90 วนั (หมายถงึ ตอ้ งจดั ทาแพลตฟอรม์ น้ันให้เสรจ็ ) ถาม 3. หัวหน้าสว่ นราชการตอ้ งดาเนินการให้ประชาชนและการติดต่อประสานงาน ระหว่างส่วนราชการ โดยการใช้แพลตฟอร์มดจิ ิทัลกลางใหแ้ ล้วเสร็จภายในเทา่ ใด ตอบ ภายใน 2 ปี อธิบายเพ่ิมเตมิ : กล่าวคอื ให้ทมี งานระดับประเทศ ทาแพลตฟอร์มดจิ ติ อลกลาง ภายใน 90 วนั ซ่ึงทมี งานระดับประเทศนั้น ก็คอื สานกั งานพฒั นารฐั บาลดจิ ิตลั (องคก์ ารมหาชน) คือให้รบี ทาแพลตฟอรม์ ระดับชาตไิ ว้เป็นตน้ แบบ ให้งานอื่นๆมาใช้ตามน้ี (ตัวกลาง) จากนน้ั สว่ นราชการอื่นๆ สมมตวิ ่าพน้ 90 วันแลว้ หัวหน้าสว่ นราชการอืน่ ๆในประเทศนี้ ต้องรบี ทาแพลตฟอรม์ กลางของตวั เอง เพอ่ื ให้ประชาชนมาตดิ ตอ่ หรือเพ่อื ใชต้ ดิ ตอ่ งานระหวา่ งกนั ระหวา่ งราชการด้วยกนั ภายใน 2 ปี หลังจาก 90 วนั ท่ที ีมระดับชาติสร้างโมเดลตน้ แบบไวน้ ่ันเอง สมมตเิ จอขอ้ สอบแบบนี้นะ เชน่ ส่วนราชการตอ้ งใช้รปู แบบใดในการให้ประชาชนตดิ ต่อประสานงานหรือ ประสานงานกบั สว่ นราชการดว้ ยกัน ก. ระบบเทคโนโลยสี าระสนเทศ ข. แพลตฟอรม์ ดจิ ิตอลกลาง ค. การจัดทาศูนย์ประสานงานกลาง ง. บริการร่วม one stop service เจอข้อสอบถามประมาณนี้ โปะ๊ เชะ๊ เลยนะ ยม้ิ เลย ตอบ ข. ตามกฎหมายใหม่

162 วันท่ี 16 เมษายน 2562 มีการประกาศมาตรฐานทางจรยิ ธรรม พ.ศ. 2562 ชื่ออยา่ งเปน็ ทางการคอื “พระราชบัญญัตมิ าตรฐานทางจรยิ ธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ ” มาตรฐานทางจรยิ ธรรม คอื หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบตั อิ ย่างมคี ณุ ธรรมของ เจา้ หนา้ ทข่ี องรัฐ ซง่ึ จะตอ้ งประกอบด้วย (๑) ยึดม่นั ในสถาบันหลักของประเทศ อันไดแ้ ก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ (๒) ซ่อื สัตยส์ จุ รติ มจี ิตสานึกทด่ี ี และรับผิดชอบต่อหนา้ ที่ (๓) กลา้ ตดั สินใจและกระทาในสง่ิ ท่ถี ูกต้องชอบธรรม (๔) คดิ ถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตวั และมีจติ สาธารณะ (๕) ม่งุ ผลสัมฤทธิ์ของงาน (๖) ปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเปน็ ธรรมและไม่เลือกปฏบิ ัติ (๗) ดารงตนเป็นแบบอยา่ งท่ีดีและรกั ษาภาพลกั ษณ์ของทางราชการ “มาตรฐานทางจรยิ ธรรม” ใหใ้ ช้เปน็ หลักสาคัญในการจัดทาประมวลจรยิ ธรรมของหนว่ ยงาน ของรฐั ท่ีจะกาหนดเป็นหลักเกณฑใ์ นการปฏบิ ัตติ นของเจ้าหนา้ ทีข่ องรฐั เก่ียวกบั สภาพคณุ งาม ความดีทเี่ จา้ หน้าท่ขี องรฐั ต้องยดึ ถอื สาหรับการปฏบิ ตั ิงาน การตดั สินความถูกผิด การปฏิบัติที่ ควรกระทาหรอื ไม่ควรกระทา ตลอดจนการดารงตนในการกระทาความดแี ละละเว้นความชว่ั ให้มี คณะกรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรมคณะหน่งึ เรียกโดยยอ่ วา่ “ก.ม.จ.” นายกรัฐมนตรหี รอื รองนายกรฐั มนตรีซึ่งนายกรฐั มนตรมี อบหมาย เปน็ ประธานกรรมการ

163 คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ของระบบราชการไทย 8 ประการ (I AM READY) หรอื คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องข้าราชการและเจ้าหนา้ ที่ภาครฐั ยคุ ใหม่ ได้แก่ I - Integrity - ซ่ือสัตย์และกลา้ ยืนหยัดในสิ่งท่ีถกู ต้อง A - Activeness - ทางานเชิงรกุ คิดเชิงบวกและมจี ิตบริการ M - Morality - มีศีลธรรม คุณธรรมและจรยิ ธรรม R - Responsiveness - คานึงถึงประโยชนส์ ขุ ของประชาชนเป็นท่ีตง้ั E - Efficiency - ม่งุ เนน้ ประสทิ ธภิ าพ A - Accountability - ตรวจสอบได้ D - Democracy - ยดึ ม่ันในหลักประชาธปิ ไตย Y - Yield - ม่งุ ผลสมั ฤทธิ์ ========================================================== เกร็ดขอ้ สอบองค์การปกครองส่วนทอ้ งถิ่น : ข้อมูลทเ่ี คยนามาออกสอบปี 2557 – 2562 เก่ยี วกับระเบยี บกระทรวงมหาดไทย เรอ่ื งการเบกิ จา่ ยเงนิ สว่ นของการเก็บรักษาเงนิ ใหห้ ัวหน้าส่วนราชการพิจารณาแต่งตงั้ ขา้ ราชการซึง่ ดารงตาแหนง่ ระดบั 2 หรอื เทียบเทา่ ขน้ึ ไปในสว่ นราชการนน้ั อย่างนอ้ ย 3 คน เป็นกรรมการเกบ็ รักษาเงนิ ของสว่ นราชการ ตู้นิรภยั ของสว่ นราชการ ใหต้ ัง้ ไว้ในทป่ี ลอดภยั ในสานักงานของส่วนราชการนั้น ต้นู ริ ภยั ใหม้ ลี ูกกุญแจอย่างนอ้ ย 2 ดอก แตล่ ะดอกมลี กั ษณะต่างกันโดยให้กรรมการเกบ็ รกั ษาเงิน ถือลูกกุญแจคนละดอก ลูกกญุ แจตู้นริ ภัยตู้หน่ึงๆ โดยปกตใิ หม้ ีอยา่ งน้อย 2 สารับ ให้หัวหนา้ สว่ น ราชการมอบให้กรรมการเกบ็ รกั ษาเงนิ เก็บรกั ษา 1 สารับ นอกนั้นใหน้ าฝากเก็บรักษาในลักษณะ หีบหอ่ ไวด้ ังนี้ (1) สาหรบั สว่ นกลาง ณ กองคลงั กลาง กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง (2) สาหรบั สว่ นภูมภิ าค ณ ห้องเกบ็ เงนิ คลงั ในของสานกั งานคลังจงั หวัด

164 ขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ ท่เี คยออกสอบท้องถน่ิ ข้อมลู ความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) คอื ข้อมลู ในระดบั ครวั เรือนท่ีแสดงถงึ สภาพความ จาเปน็ พ้ืนฐานของคนในครัวเรือนในด้านตา่ งๆเกี่ยวกบั คณุ ภาพชีวิตท่ไี ด้กาหนดมาตรฐานขน้ั ตา่ เอาไวว้ า่ คนควรจะมีคณุ ภาพชวี ติ ในแตล่ ะเร่ืองอยา่ งไรในช่วงระยะเวลาหนง่ึ ๆ จปฐ คอื ขอ้ มลู ความจาเปน็ พ้นื ฐาน เป็นข้อมูลท่แี สดงถงึ ลักษณะของสังคมไทยท่ีพงึ ประสงค์ ตามหลกั เกณฑม์ าตรฐานข้ันต่าของเคร่ืองชี้วดั วา่ อยา่ งนอ้ ยคนไทย ควรจะมรี ะดับความ เป็นอย่ไู ม่ตา่ กว่าระดับไหนในช่วงระยะเวลาหนึ่งๆและทาใหป้ ระชาชนสามารถทราบได้ด้วยตนเอง ว่า ในขณะนี้คณุ ภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัวรวมไปถงึ หมู่บ้าน/ ชมุ ชนอยู่ในระดบั ใด มีปัญหาท่ี จะต้องแกไ้ ขในเรื่องใดบ้างเปน็ การส่งเสรมิ ให้ประชาชนเข้ามามสี ่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสงั คม อนั เปน็ นโยบายสาคัญในการพฒั นาชนบทของประเทศ หลกั การของขอ้ มูลความจาเป็นพ้ืนฐาน 1. เป็นเครือ่ งมือของกระบวนการเรยี นรู้ ของประชาชนในหมู่บ้าน / ชุมชน เพื่อให้ ประชาชนในหมู่บ้าน / ชุมชน ทราบถึงสภาพความเป็นอย่ขู องตนเองและหมู่บา้ น / ชุมชนวา่ บรรลุ ตามเกณฑค์ วามจาเปน็ พ้ืนฐานแล้วหรอื ไม่ 2. สง่ เสริมใหป้ ระชาชนมสี ว่ นร่วมในการพัฒนา โดยผา่ นกระบวนการ จปฐ. นบั ตง้ั แตก่ าร กาหนดปัญหาความตอ้ งการทแี่ ท้จริงของชุมชน ค้นหาแนวทางแกไ้ ขปญั หา ตลอดจนการ ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานที่ผ่านมา 3. ใช้ จปฐ เปน็ แนวทางในการคัดเลือกโครงการ กิจกรรมต่างๆ ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพ ปัญหาทีแ่ ทจ้ รงิ ของหม่บู ้าน / ชมุ ชน สามารถใช้ทรพั ยากรทมี่ อี ยู่อยา่ งจากดั ได้อย่างทั่วถงึ และมี ประสิทธิภาพ รวมท้ังมกี ารประสานระหวา่ งสาขาในดา้ นการปฏบิ ตั ิมากข้ึน เครอ่ื งชว้ี ดั ขอ้ มลู ความจาเป็นพน้ื ฐาน ช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) เครอ่ื งชี้วดั ข้อมลู ความจาเป็นพืน้ ฐาน ที่ใช้ในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) มี 5 หมวด 31 ตัวชีว้ ัด ดงั นี้

165 หมวดที่ 1: สขุ ภาพดี มี 7 ตวั ชวี้ ดั 1 เด็กแรกเกดิ มนี ้าหนักไมต่ ่ากว่า 2,500 กรัม 2 เด็กแรกเกิดได้กนิ นมแมอ่ ย่างเดียวอยา่ งนอ้ ย 6 เดอื นแรกติดต่อกนั 3 เดก็ แรกเกิดถงึ 12 ปี ไดร้ บั การฉีดวคั ซีนปอ้ งกันโรคครบตามตารางสร้างเสรมิ ภูมิค้มุ กันโรค 4 ครัวเรอื นกนิ อาหารถกู สุขลกั ษณะปลอดภัยและไดม้ าตรฐาน 5 ครวั เรอื นมีการใชย้ าเพอ่ื บาบัด บรรเทาอาการเจบ็ ป่วยเบ้อื งต้นอย่างเหมาะสม 6 คนอายุ 35 ปขี ้นึ ไป ไดร้ ับการตรวจสุขภาพประจาปี 7 คนอายุ 6 ปขี ้นึ ไป ออกกาลังกายอยา่ งน้อยสัปดาหล์ ะ 3 วนั วนั ละ 30 นาที หมวดที่ 2: สภาพแวดล้อม มี 7 ตวั ชว้ี ดั 1 ครัวเรอื นมีความมั่นคงในที่อยอู่ าศัยและบ้านมีสภาพคงทนถาวร 2 ครัวเรอื นมีน้าสะอาดสาหรบั ดืม่ และบริโภคเพียงพอตลอดปี อยา่ งน้อยคนละ 5 ลิตรตอ่ วัน 3 ครวั เรือนมนี ้าใชเ้ พยี งพอตลอดปี อยา่ งน้อยคนละ 45 ลิตรตอ่ วัน 4 ครัวเรอื นมกี ารจัดบ้านเรือนเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย สะอาด และถูกสขุ ลกั ษณะ 5 ครวั เรือนไม่ถกู รบกวนจากมลพษิ 6 ครวั เรอื นมีการป้องกนั อบุ ัติภยั และภยั ธรรมชาติอย่างถูกวธิ ี 7 ครัวเรอื นมีความปลอดภัยในชีวิตและทรพั ย์สิน หมวดที่ 3: การศกึ ษา มี 5 ตวั ช้วี ัด 1 เดก็ อายุ 3-5 ปเี ต็ม ไดร้ บั บรกิ ารเลีย้ งดูเตรียมความพรอ้ มกอ่ นวยั เรยี น 2 เดก็ อายุ 6-14 ปี ได้รบั การศกึ ษาภาคบงั คบั 9 ปี 3 เดก็ จบช้นั ม.3 ไดเ้ รียนตอ่ ชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า 4 เดก็ ทีจ่ บการศกึ ษาภาคบังคับ 9 ปี ทีไ่ มไ่ ดเ้ รยี นตอ่ และยังไมม่ งี านทา ได้รับการฝึกอบรมอาชีพ 5 คนอายุ 15-59 ปี อา่ น เขียนภาษาไทย และคิดเลขอยา่ งง่ายได้ ตวั อย่างแนวข้อสอบ ตามตวั ช้ีวดั จปฐ ปัจจุบัน เด็กแรกเกิดควรมีน้าหนักตวั เท่าไหร่ ก. ไม่ต่ากวา่ 1,500 กรัม ข. ไม่ตา่ กวา่ 1,800 กรัม ค. ไม่ตา่ กว่า 2,000 กรัม ง. ไมต่ ่ากว่า 2,500 กรัม

166 หมวดที่ 4: การมีงานทาและรายได้ มี 4 ตัวช้วี ัด 1 คนอายุ 15 - 59 ปี มอี าชีพและรายได้ 2 คนอายุ 60 ปีขึน้ ไป มอี าชพี และรายได้ 3 รายได้เฉลย่ี ของคนในครวั เรือนตอ่ ปี 4 ครวั เรอื นมีการเกบ็ ออมเงนิ หมวดท่ี 5: ค่านยิ ม มี 8 ตวั ชวี้ ัด 1 คนในครวั เรอื นไมด่ ่ืมสรุ า 2 คนในครัวเรอื นไม่สบู บหุ ร่ี 3 คนอายุ 6 ปีข้นึ ไป ไดป้ ฏบิ ตั กิ จิ กรรมทางศาสนาอย่างนอ้ ยสปั ดาห์ละ 1 ครง้ั 4 ผู้สงู อายุไดร้ บั การดูแลจากครอบครัว ชมุ ชน ภาครัฐ หรอื ภาคเอกชน 5 คนพกิ ารได้รับการดแู ลจากครอบครวั ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน 6 ผู้ปว่ ยโรคเรอื้ รงั ไดร้ บั การดูแลจากครอบครวั ชมุ ชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน 7 คนในครัวเรอื นมสี ว่ นรว่ มทากจิ กรรมสาธารณะเพอื่ ประโยชนข์ องชุมชนหรอื ทอ้ งถิ่น 8 ครอบครัวมคี วามอบอุ่น ตัวอยา่ งแนวขอ้ สอบ จปฐ ในปี 2564 ขอ้ ใดถูกตอ้ ง ก. 3 หมวด 30 ตวั บ่งช้ี จปฐ หมายถึงขอ้ ใด ข. 3 หมวด 30 ตัวชี้วัด ก. ข้อมลู ความจาเป็นพน้ื ฐาน ค. 5 หมวด 30 ตวั บง่ ชี้ ข. ข้อมูลจดั การอาชีพพน้ื ฐาน ง. 5 หมวด 31 ตัวช้วี ัด ค. ข้อมูลขา่ วสารทีจ่ าเป็นพืน้ ฐาน ง. ข้อมูลการจัดการในครัวเรือนพืน้ ฐาน ขอ้ ใดไม่ใช่หมวดในการรวบรวมข้อมลู จปฐ ช่วงปี 2560 – 2564 ก. สุขภาพดี ข. สิ่งแวดล้อม ค. การศึกษา ง. คา่ นิยม เฉลย จปฐ คือ ก. ขอ้ มลู ความจาเป็นพนื้ ฐาน จปฐ มี ง. 5 หมวด 31 ตวั ชว้ี ัด ข. สิ่งแวดลอ้ ม (ไมใ่ ช่ เพราะท่ใี ช่จะต้องเปน็ สภาพแวดลอ้ ม)

167 เกร็ดความรู้เกยี่ วกับงานสารบญั ทีม่ ักออกสอบเป็นประจา งานสารบัญ หมายความว่า งานทีเ่ กยี่ วกับการบรหิ ารงานเอกสาร เริ่มตงั้ แต่ การจดั ทา การรับ การส่ง การเกบ็ รกั ษา การยืม จนถงึ การทาลาย “อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าหรอื วธิ ีอ่ืนใดในลักษณะคล้ายกันและให้หมายความรวมถงึ การประยุกต์ ใชว้ ธิ ีการทางแสง วิธกี ารทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ท่เี กี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วธิ ตี ่างๆ เช่นว่านั้น “ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การรับส่งข้อมลู ขา่ วสารหรือ หนังสือผ่านระบบส่ือสารด้วยวิธกี ารทางอิเล็กทรอนิกส์ หนงั สอื ราชการ มี 6 ประเภท 1. หนงั สอื ภายนอก (ระหว่างส่วนราชการ) 2. หนังสอื ภายใน (ระหวา่ งสว่ นราชการดว้ ยกนั ) 3. หนงั สอื ประทบั ตรา (ใชใ้ นเรื่องไมส่ าคญั ) 4. หนงั สือสงั่ การ (คาสงั่ ระเบยี บ ขอ้ บังคับ) 5. หนงั สอื ประชาสัมพันธ์ (ประกาศ แถลงการณ์ ขา่ ว) 6. หนังสอื ที่เจา้ หน้าทจ่ี ัดทาขน้ึ เพ่อื ใช้เปน็ หลักฐานทางราชการ (หนงั สือรบั รอง รายงานการประชมุ บนั ทึก หนังสืออนื่ ๆ) โดยปกติหนังสอื ราชการตอ้ งเก็บไว้ไม่ต่ากว่า 10 ปี ยกเวน้ หนังสือบางประเภททีม่ รี ะยะเวลาอนื่ ๆ การลงวันที่ในหนงั สือให้ลงตัวเลขของวันท่ี ชือ่ เต็มของเดอื นและตวั เลขของปี พุทธศกั ราชท่ีออกหนังสอื เช่น 13 ตุลาคม 2561

168 ชั้นความลบั 1. ลับทีส่ ุด (ทาให้เกดิ ความเสียหายตอ่ ความมั่นคงแห่งรฐั ร้ายแรงที่สุด) ตวั อักษรสีเหลือง 2. ลบั มาก (ทาให้เกิดความเสยี หายตอ่ ความมน่ั คงแห่งรัฐร้ายแรง) ประทับตัวอักษรสแี ดง 3. ลบั (ทาให้เกดิ ความเสยี หายตอ่ ความมัน่ คงแหง่ รฐั ) ประทบั ตวั อกั ษรสีน้าเงิน ช้นั ความเร็ว ตวั อกั ษรสีแดง ไม่ตา่ กว่า 32 พอยท์ 1. ดว่ นท่ีสดุ หมายถึง ใหป้ ฏบิ ัติทันทีที่ไดร้ ับหนงั สือ 2. ดว่ นมาก หมายถงึ ใหป้ ฏิบัตโิ ดยเร็ว 3. ดว่ น หมายถึง ใหป้ ฏิบตั เิ รว็ กวา่ ปกตเิ ทา่ ที่จะทาได้ ขอ้ สอบเกี่ยวกับระดับชั้นของความลบั และความเรว็ ออกบ่อยมากๆ และพลิกไปพลิกมาในการออกสอบเกีย่ วกับงานสารบญั ตวั อย่างเชน่ ข้อใดไม่ใช่ระดบั ช้ันความลบั ของหนงั สอื ราชการ ก. ลับทสี่ ุด ข. ลับมาก ค. ลบั ง. ปกปดิ หนังสอื ราชการประทบั ตวั อกั ษรสแี ดง เป็นข้อมลู ทอ่ี าจทาให้เกิดความเสยี หาย ต่อความม่ันคงแหง่ รัฐรา้ ยแรง เป็นหนังสอื ทม่ี ีชัน้ ความลับระดบั ใด ก. ลับทีส่ ดุ ข. ลับมาก ค. ลับ ง. ปกปิด หนงั สือท่แี จ้งใหป้ ฏิบัติโดยเร็ว หมายถึงข้อใด ก. หนังสอื ด่วนทีส่ ดุ ข. หนังสอื ด่วนมาก ค. หนงั สือด่วนพิเศษ ง. หนงั สอื ด่วน เฉลย ง ข ข ตามลาดับ

169 - หนงั สือประทบั ตรา คอื หนงั สือทีใ่ ช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหวั หนา้ สว่ นราชการระดบั กรมขึ้นไป โดยให้หัวหนา้ สว่ นราชการระดบั กอง หรอื ผู้ท่ีได้รบั มอบหมายจากหัวหน้าสว่ นราชการ ระดับกรมขน้ึ ไปเปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบลงชอ่ื ย่อกากบั ตรา (มกั ใช้ในการตดิ ตอ่ ราชการที่ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งสาคญั ) - หนังสือสั่งการ มี 3 ชนิด คอื คาส่งั ระเบยี บ และข้อบังคบั คาสั่ง คือบรรดาข้อความทีผ่ ้บู งั คับบญั ชาสัง่ การใหป้ ฏบิ ัติโดยชอบดว้ ยกฎหมาย ใช้กระดาษตราครฑุ ระเบียบ คอื บรรดาข้อวามทีผ่ มู้ อี านาคหน้าที่ไดว้ างไว้ เพื่อถือเป็นหลักปฏิบตั ิงาน เป็นการประจาให้ ใชก้ ระดาษตราครฑุ ขอ้ บงั คบั คือบรรดาขอ้ ความที่ผู้มอี านาจหน้าทก่ี าหนดให้ใช้โดยอาศยั อานาจของ กฎหมายท่บี ัญญัตใิ ห้กระทาได้ ใช้กระดาษตราครุฑ - หนงั สือประชาสัมพนั ธ์ มี 3 ชนดิ คือ ประกาศ แถลงการณ์ และข่าว ประกาศ คอื บรรดาข้อความทที่ างราชการประกาศหรือชีแ้ จงให้ทราบหรือแนะแนวทาง ปฏิบัตใิ ห้ใช้กระดาษตราครฑุ แถลงการณ์ คือ บรรดาข้อความทท่ี างราชการแถลงเพ่อื ทาความเขา้ ใจในกจิ การของทาง ราชการหรือเหตกุ ารณ์ หรอื กรณีใดๆ ใหท้ ราบชัดเจนโดยท่วั กัน ใช้กระดาษตราครุฑ ข่าว คอื บรรดาขอ้ ความทที่ างราชการเห็นสมควรเผยแพร่ใหท้ ราบ (ไม่ต้องใช้กระดาษ ตราครฑุ ) หนงั สือรับรอง คอื หนงั สือทส่ี ่วนราชการออกให้เพือ่ รบั รองแก่บุคคล นติ ิบุคคล หรอื หน่วยงาน เพ่ือวัตถุประสงคอ์ ย่างหน่งึ อยา่ งใดให้ปรากฏแกบ่ ุคคลโดยท่ัวไปไมจ่ าเพาะเจาะจง ใหใ้ ช้กระดาษตราครุฑ รูปถ่ายสาหรับการรับรองของผ้ทู ไ่ี ดร้ ับรอง ตดิ รูปขนาด 4 x 6 เซนติเมตร หนา้ ตรง ไมส่ วมหมวกและใหป้ ระทบั ตราส่วนราชการทอ่ี อกหนงั สือบนขอบล่างดา้ นขวาของรปู ถา่ ยคาบต่อลงบนแผ่นกระดาษ ให้ผู้นั้นลงลายมือชื่อไว้ใต้รปู ถา่ ยพรอ้ มทั้งพิมพช์ ือ่ เตม็ ของเจา้ ของ ลายมือชื่อไวใ้ ตล้ ายมอื ชื่อนัน้ ด้วย

170 รายงานการประชุม คือ การบนั ทึกความคิดเห็นของผมู้ าประชุม ผู้เข้ารว่ มประชุม และมตขิ องท่ี ประชมุ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน บันทึก คอื ขอ้ ความซง่ึ ผ้ใู ตบ้ งั คบั บัญชาเสนอตอ่ ผบู้ ังคบั บัญชา หรือผบู้ งั คับบญั ชาสั่งการแก่ ผู้ใตบ้ งั คับบัญชา หรอื ขอ้ ความที่เจา้ หนา้ ท่ี หรอื หนว่ ยงานระดับตา่ กวา่ ส่วนราชการระดบั กรม ตดิ ตอ่ กนั ในการปฏิบตั ริ าชการ โดยปกตใิ หใ้ ช้กระดาษบันทกึ ขอ้ ความ หนังสือภาษาต่างประเทศใหใ้ ชก้ ระดาษตราครุฑ หนังสอื รับ คอื หนังสอื ทรี่ บั เขา้ มาจากภายนอกประทับตรารบั หนงั สอื ทีม่ ุมบนด้านขวาของหนังสือ หนังสือส่ง คือ หนังสอื ทีส่ ง่ ออกไปภายนอก กอ่ นบรรจุซองให้เจ้าหนา้ ทข่ี องหน่วยงานสารบรรณ กลางตรวจความเรยี บรอ้ ยของหนงั สือตลอดจนสิง่ ทส่ี ่งไปด้วยอกี คร้ังหนงึ่ แลว้ ปิดผนกึ การเก็บหนังสือ แบ่งออกเป็น 1. การเกบ็ ระหว่างปฏิบัติ 2. การเก็บเม่อื ปฏบิ ตั ิเสรจ็ แล้ว 3. การเกบ็ ไว้เพื่อใชใ้ นการตรวจสอบ การเก็บระหว่างปฏิบตั ิ คือ การเก็บหนังสอื ทีป่ ฏิบตั ยิ ังไม่เสร็จใหอ้ ยใู่ นความรบั ผิดชอบของ เจา้ ของเรอื่ ง โดยให้กาหนดวธิ ีการเกบ็ ใหเ้ หมาะสมตามขน้ั ตอนของการปฏบิ ัติงาน การเกบ็ เมอ่ื ปฏบิ ตั ิเสร็จแลว้ คือ การเก็บหนังสอื ท่ปี ฏบิ ัติเสร็จเรยี บร้อยแลว้ และไม่มี อะไรทจ่ี ะต้องปฏิบตั ติ ่อไปอกี ประทบั ตรากาหนดเก็บหนงั สือไว้ท่ีมุมลา่ งดา้ นขวาของกระดาษแผ่น แรกของหนังสอื และลงลายมอื ชอื่ ย่อกากบั ตราโดยเจา้ หน้าท่ผี รู้ ับผดิ ชอบในการเกบ็ หนังสือ หนงั สือที่ต้องเกบ็ ไว้ตลอดไป ให้ประทบั ตราคาว่า หา้ มทาลาย ด้วยหมกึ สแี ดง หนังสือทเี่ กบ็ โดยมกี าหนดเวลา ใหป้ ระทบั ตราคาว่า เกบ็ ถึง พ.ศ. …… ดว้ ยหมกึ สีน้าเงนิ

171 การเกบ็ ไวเ้ พอื่ ใช้ในการตรวจสอบ คือ การเก็บหนงั สือทีป่ ฏบิ ัติเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ แต่ จาเปน็ จะตอ้ งใชใ้ นการตรวจสอบเป็นประจาไมส่ ะดวกในการสง่ ไปเก็บยังหนว่ ยเก็บของสวน ราชการให้เจา้ ของเร่อื งเกบ็ เปน็ เอกเทศ โดยแตง่ ตง้ั เจ้าหนา้ ท่ขี ึน้ รับผดิ ชอบกไ็ ด้ เม่อื หมดความ จาเปน็ ตอ้ งใช้ในการตรวจสอบแลว้ ให้จดั สง่ หนังสอื ไปยงั หน่วยเก็บของสว่ นราชการ การทาลายหนังสอื ภายใน 60 วันหลงั จากวนั สนิ้ ปีปฏิทิน ให้เจ้าหน้าทผ่ี รู้ บั ผิดชอบในการเกบ็ หนังสอื สารวจ หนังสือท่ีครบกาหนดอายกุ ารเกบ็ ในปนี ้ัน แล้วจดั ทาบญั ชีหนังสอื ขอทาลายเสนอหัวหน้าส่วน ราชการระดบั กรมเพอ่ื พิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการทาลายหนงั สือ หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม แตง่ ตัง้ คณะกรรมการทาลายหนงั สือประกอบดว้ ย ประธาน กรรมการและกรรมการอีกอย่างน้อยสองคน โดยปกตใิ ห้แตง่ ต้ังจากข้าราชการต้งั แต่ระดับ 3 หรอื เทียบเทา่ ขึน้ ไป (ข้อความนยี้ กเลิกแล้วแกไ้ ขใหม่ อา่ นหน้าถัดๆจะพบข้อมลู อธบิ าย) ถา้ ประธานกรรมการไมส่ ามารถปฏบิ ัตหิ นา้ ทไ่ี ดใ้ หก้ รรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการ คนหนง่ึ ทาหนา้ ที่ประธาน มติของคณะกรรมการให้ถือเสียงข้างมาก ถา้ กรรมการผ้ใู ดไมเ่ ห็นดว้ ย ใหท้ าบันทกึ ความเห็นแย้งไว้ คณะกรรมการทาลายหนังสอื มีหน้าท่พี ิจารณาหนงั สอื ที่จะขอทาลายตามบญั ชีวา่ ควร ทาลายหรือให้เก็บไว้ถงึ เมอ่ื ไร กรณีท่ยี งั ไม่ควรทางานในปนี ้นั ๆ ตราครฑุ มี 2 ขนาด คือ ขนาดตวั ครฑุ สูง 3 เซนตเิ มตร และ ขนาดตวั ครฑุ สงู 1.5 เซนตเิ มตร ตราช่อื สว่ นราชการ ให้มลี กั ษณะเป็นรปู วงกลมสองวงซอ้ นกนั เส้นผา่ ศูนยก์ ลางวงนอก 4.5 เซนติเมตร วงใน 3.5 เซนติเมตร ลอ้ มครุฑ ระหวา่ งวงนอกและวงในมอี ักษรไทยชือ่ กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการท่เี รียกช่อื อย่างอ่ืนทมี่ ฐี านะเปน็ กรมหรอื จงั หวัดอยู่ขอบล่างของตรา

172 ตรากาหนดเก็บหนังสือ คอื ตราท่ีใชป้ ระทับบนหนงั สอื เก็บ เพอ่ื ให้ทราบกาหนด ระยะเวลาการเก็บหนังสอื น้ัน มคี าวา่ เกบ็ ถงึ พ.ศ. หรอื คาว่า ห้ามทาลาย ขนาดไมเ่ ลก็ กวา่ ตัวพมิ พ์ 24 พอยท์ ตรารบั หนงั สอื คอื ตราทใ่ี ชป้ ระทับบนหนังสือเพ่ือลงเลขทะเบยี นรบั หนงั สอื มีลักษณะ เป็นรูปสี่เหลยี่ มผืนผา้ ขนาด 2.5 เซนติเมตร x 5 เซนติเมตร มีช่อื สว่ นราชการอยู่ตอนบน มาตรฐานกระดาษ โดยปกตใิ หใ้ ชก้ ระดาษปอนดข์ าว น้าหนัก 60 กรมั ตอ่ ตารางเมตร มี 3 ขนาด คอื ขนาด A4 , ขนาด A5 , ขนาด A8 กระดาษตราครฑุ ให้ใชก้ ระดาษขนาด A4 พิมพ์ครุฑด้วยหมกึ สีดา หรอื ทาเปน็ ครฑุ ดนุ ทกี่ ่งึ กลางสว่ นบนของกระดาษ กระดาษบันทึกข้อความ ให้ใช้กระดาษขนาด A4 หรือขนาด A5 พมิ พ์ครฑุ ด้วยหมกึ สีดา ท่ีมมุ บนดา้ นซา้ ย มาตรฐานของซอง โดยปกตใิ ห้ใช้กระดาษสขี าวหรอื สนี า้ ตาล น้าหนกั 80 กรัมต่อตาราง เมตร เว้นแต่ซองขนาด C4 ใหใ้ ช้กระดาษนา้ หนกั 120 กรัมตอ่ ตารางเมตร มาตรฐานซองมี 4 ขนาดคอื ขนาด C4 , ขนาด C5 , ขนาด C6 , ขนาด DL การจดั ลาดบั อาวโุ สในราชการ 1. วิทยฐานะสูงกวา่ อาวุโสกว่า 2. วทิ ยฐานะเทา่ กนั ให้ผู้ทีไ่ ดเ้ ล่อื นวทิ ยฐานะก่อนอาวโุ สกวา่ 3. เลอ่ื นวิทยฐานะพร้อมกันให้ผู้ท่ีเงินเดือนสูงกวา่ อาวโุ สกว่า 4. เงินเดอื นเทา่ กันใหผ้ ู้ท่อี ายรุ าชการมากกวา่ อาวโุ สกวา่ 5. อายุราชการเทา่ กันให้ผูท้ ีไ่ ด้รับเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณช์ ้นั สูงกวา่ อาวุโสกวา่ 6. เครือ่ งราชอสิ ริยาภรณช์ ั้นเดียวกนั ใหผ้ ู้ท่ีได้รับเคร่อื งราชชน้ั นัน้ ก่อนอาวุโสกว่า 7. ไดร้ ับเครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์พรอ้ มกันใหผ้ ู้ทอ่ี ายมุ ากกว่าอาวุโสกว่า

173 การแกไ้ ขระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรี เก่ียวกบั เรอ่ื งงานสารบรรณ พ.ศ.2560 โดยมีการประกาศแก้ เปน็ ฉบับท่ี 3 ในปี 2560 และใชต้ งั้ แต่น้นั เป็นตน้ มา ใจความสาคัญคอื เกยี่ วกับเรอ่ื งการเปลีย่ นแปลงชื่อตาแหนง่ ในการทางานสารบัญให้ถกู ต้องกนั ตามยคุ ปัจจุบนั ขอ้ 31 วรรค 2 เดิม คือ หนังสอื ท่เี จ้าของหนังสือเห็นว่ามีส่วนราชการอื่นท่ีเก่ียวขอ้ งควรไดร้ บั ทราบด้วย โดยปกติใหส้ ่งสาเนาไปใหท้ ราบโดยทาเปน็ หนงั สือประทบั ตรา สาเนาหนงั สอื นใ้ี หม้ ี คารบั รองว่า สาเนาถกู ตอ้ งโดยให้เจ้าหนา้ ทตี่ งั้ แตร่ ะดบั 2 หรือเทียบเท่าขน้ึ ไปซึ่งเปน็ เจา้ ของ เรอื่ งลงลายมือช่ือรบั รอง พรอ้ มทั้งลงช่ือตัวบรรจงและตาแหนง่ ที่ขอบลา่ งของหนังสอื ตวั ใหมป่ ระกาศใชต้ ้ังแตป่ ี 2560 ให้ยกเลกิ ขอ้ 31 วรรค 2 ขา้ งตน้ นัน้ แลว้ แกเ้ ป็น สาเนาหนงั สือตามวรรคหนงึ่ ให้มคี ารับรองวา่ สาเนาถกู ตอ้ ง โดยให้ขา้ ราชการพลเรือนหรือ พนักงานสว่ นท้องถน่ิ ประเภทวชิ าการ ระดับปฏบิ ตั ิการ หรือประเภทท่ัวไป ระดบั ชานาญ งานขึ้นไป หรือเจ้าหนา้ ท่ีของรฐั อืน่ ท่เี ทยี บเท่า หรือพนักงานราชการ ซ่ึงเป็นเจ้าของเรอื่ งที่ ทาสาเนาหนงั สอื นนั้ ลงลายมอื ชอื่ รบั รอง พร้อมท้งั ลงช่อื ตัวบรรจบ ตาแหน่ง และวันเดือน ปที ่ีรับรองไวท้ ี่ขอบลา่ งของหนงั สือ สาระสาคัญทแ่ี ก้นี้ เพราะอะไร เพราะเมื่อกอ่ นข้าราชการเขาเรยี กเปน็ ระดับตัวเลขไง ระดบั 1 ระดบั 2 ระดับ 3 เลยเขยี นกฎหมายแบบเมือ่ กอ่ น แตป่ จั จุบนั น้ไี ม่ไดเ้ รียกข้าราชการ เป็นระดับแบบขัน้ ตวั เลข 1 – 2 – 3 – 11 แล้ว จึงต้องแกเ้ ปลี่ยนเปน็ “ระดบั ปฏิบตั กิ าร”หรอื “ระดบั ชานาญงาน” ดังนั้น ระดับ 2 เมื่อก่อน ก็จะเทียบเทา่ “ระดับชานาญงาน” ในปัจจบุ ัน กอ็ ารมณ์ประมาณคนที่จบวุฒิ ปวส. แล้วสอบเข้ารับราชการได้นน่ั เอง เงินเดือนราวหมืน่ สอง ระดบั 3 เมื่อกอ่ น ก็จะเท่ากบั ระดบั “ปฏิบัตกิ าร” ในปัจจบุ ัน (คือคนท่จี บปรญิ ญาตรี เงินเดอื นราวๆ 15,000 – 15,800 บาท โดยประมาณ ทบ่ี รรจรุ ับราชการเป็นคร้งั แรกนน่ั เอง)

174 อีกส่วนท่ีแก้ไขในฉบับที่ 3 พ.ศ. 2560 นนั่ กค็ อื เรื่องคณะกรรมการทาลายหนงั สอื แก้ก็คล้ายๆเรอ่ื งการรับรองสาเนาในหน้ากอ่ น เพราะข้อความเดมิ ยงั ไม่ไดอ้ ัพเดต ข้อ 67 วรรค 1 เดิม ให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมแต่งตั้งคณะกรรมการทาลาย หนงั สือประกอบด้วยประธานกรรมการและกรรมการอกี อย่างน้อยสองคน โดยปกติให้ แต่งต้ังจากขา้ ราชการตง้ั แต่ระดบั 3 หรือเทียบเท่าข้นึ ไป ตวั ใหมป่ ระกาศใช้ต้ังแต่ปี 2560 ให้ ยกเลกิ ข้อ 67 ขา้ งต้นนนั้ แลว้ แก้ไขใชต้ ัวใหมเ่ ป็น ให้หัวหน้าส่วนราชการระดบั กรมแต่งต้ังคณะกรรมการทาลายหนงั สือ ประกอบด้วยประธาน กรรมการและกรรมการอีกอย่างนอ้ ยสองคน โดยปกติให้แตง่ ต้งั จากขา้ ราชการพลเรอื นหรอื พนกั งานสว่ นทอ้ งถนิ่ ประเภทวชิ าการ ระดบั ปฏบิ ตั กิ าร หรอื ประเภททว่ั ไประดบั ชานาญงาน ข้ึนไป หรอื เจา้ หน้าทข่ี องรฐั อืน่ ท่ีเทยี บเท่า นึกภาพตาม สมยั ก่อนคนทีจ่ ะเป็นกรรมการทาลายหนงั สือได้ ต้องระดบั 3 นะ คือพวก ข้าราชการบรรจใุ หมว่ ฒุ ปิ รญิ ญาตรี แต่ตัวปัจจุบนั นี้ แก้เป็นปฏิบัตกิ าร (เทียบไดเ้ ท่ากับ 3 เดิม) และเพ่มิ ตรงที่ “ทั่วไป ระดับชานาญงาน” ได้แลว้ นะ คอื ปัจจบุ นั ขา้ ราชการท่ีบรรจมุ าด้วยวฒุ ิ ประมาณ ปวส กแ็ ต่งตงั้ ใหม้ าเปน็ คณะกรรมการทาลายหนงั สือได้แลว้ ตวั อยา่ งแนวขอ้ สอบ ให้หวั หน้าสว่ นราชการระดับกรมแตง่ ต้ังคณะกรรมการทาลายหนงั สอื โดยปกตใิ ห้แตง่ ตั้งจากข้าราชการระดับใด ก. ระดับ 3 หรอื เทียบเทา่ ขนึ้ ไป ข. ประเภทวิชาการ ระดบั ปฏิบตั ิการขึ้นไป ค. ประเภททว่ั ไป ระดับชานาญงานขึ้นไป ง. ถูกทัง้ ข้อ ข และ ค ถา้ เปน็ ข้อสอบหรือการเฉลยทีอ่ า้ งอิงเอาระเบียบงานสารบญั ตัวเกา่ จะตอบ ข้อ ก ใชไ่ หม แตป่ จั จบุ ัน ตอบแบบนไ้ี ม่ได้แล้ว (ยกเลกิ ไปแล้ว) ทถี่ กู จะต้องเฉลยเปน็ ขอ้ ง นัน่ เองเนาะ

175 สขร. สังกดั สานกั งานปลัดสานกั นายกรฐั มนตรี ใหจ้ ัดต้ังสานักงานคณะกรรมการขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ (สขร) ขึ้นในสังกัดสานักงาน ปลัดสานกั นายกรฐั มนตรี มหี น้าทป่ี ฏบิ ตั งิ านเกย่ี วกับงานวิชาการและธุรการให้แก่คณะกรรมการ และคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดิ เผยข้อมูลขา่ วสาร (กวฉ.) ประสานงานกับหนว่ ยงานของรัฐ และใหค้ าปรกึ ษาแก่เอกชนเกยี่ วกับการปฏบิ ตั ิตามพระราชบญั ญตั ิน้ี คณะกรรมการขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ (กขร.) ประธานกรรมการ ===> รฐั มนตรีประจาสานักนายกรฐั มนตรี อานาจหนา้ ท่ี 1. พัฒนาการปกครองในระบบประชาธปิ ไตยโดยประชาชนมีสว่ นรว่ ม (Participation) 2. สง่ เสรมิ การปฏริ ปู ระบบราชการให้การใช้อานาจเปน็ ไป อยา่ งโปร่งใส (Transparency) 3. พัฒนาศกั ยภาพการแขง่ ขนั ดว้ ย ระบบจดั การข้อมูลข่าวสารของราชการ (Information Society) 4. พัฒนาโครงสร้างและโอกาส รับร้ขู อ้ มลู ข่าวสารของราชการ อย่างท่วั ถึง (Universal Service) คณะกรรมการวินจิ ฉยั การเปิดเผยขอ้ มูลข่าวสาร (กวฉ.) 1. วนิ จิ ฉัยการเปิดเผยข้อมลู ขา่ วสารด้านตา่ งประเทศและความมัน่ คงของประเทศ 2. วนิ ิจฉัยการเปิดเผยขอ้ มลู ขา่ วสารดา้ นเศรษฐกจิ และการคลงั ของประเทศ 3. วนิ ิจฉัยการเปดิ เผยขอ้ มูลข่าวสารดา้ นสังคม การบริหารราชการแผน่ ดิน และการบงั คบั ใชก้ ฎหมาย 4. วินิจฉยั การเปิดเผยขอ้ มลู ขา่ วสารดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข 5. วนิ จิ ฉัยการเปดิ เผยข้อมลู ขา่ วสารด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี อุตสาหกรรมและการเกษตร กวฉ แบง่ ออกเปน็ หา้ สาขา และมปี ระธานแตล่ ะสาขาของคณะกรรมการนนั้ ๆรวม 5 คน

176 “คนต่างด้าว” คนต่างด้าว หมายความวา่ บุคคลธรรมดาทไ่ี มม่ ีสญั ชาตไิ ทยและไมม่ ถี นิ่ ทอ่ี ยูใ่ นประเทศไทย และนติ บิ ุคคลดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) บรษิ ทั หรือห้างหนุ้ สว่ นทมี่ ที นุ เกินก่งึ หน่งึ เป็นของคนต่างดา้ ว ใบห้นุ ชนดิ ออกใหแ้ ก่ ผ้ถู ือให้ถอื ว่าใบหนุ้ นัน้ คนต่างด้าวเป็นผถู้ อื (๒) สมาคมที่มสี มาชกิ เกินกึ่งหน่งึ เปน็ คนต่างด้าว (๓) สมาคมหรือมูลนิธิที่มวี ตั ถุประสงคเ์ พือ่ ประโยชนข์ องคนตา่ งดา้ ว (๔) นติ บิ คุ คลตามทง้ั 3 ขอ้ หรือนิติบุคคลอื่นใดที่มผี ้จู ดั การหรือกรรมการเกินกึ่งหน่งึ เป็น คนต่างดา้ ว นติ บิ ุคคลตามทกี่ ล่าวมานนั้ ถ้าเขา้ ไปเป็นผูจ้ ัดการหรอื กรรมการ สมาชิก หรอื มที ุนใน นิติบคุ คลอ่นื ใหถ้ อื วา่ ผู้จดั การหรือกรรมการหรือสมาชกิ หรือเจ้าของทุนดงั กลา่ วเปน็ คนต่างดา้ ว หนว่ ยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารของราชการอยา่ งนอ้ ยดังต่อไปน้ลี งพิมพ์ใน ราชกจิ จานเุ บกษา (๑) โครงสร้างและการจดั องค์กรในการดาเนนิ งาน (๒) สรปุ อานาจหนา้ ทท่ี ่ีสาคญั และวิธกี ารดาเนนิ งาน (๓) สถานท่ีติดตอ่ เพื่อขอรบั ข้อมูลข่าวสาร หรอื คาแนะนาในการติดต่อกบั หน่วยงานของรัฐ (๔) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบงั คบั คาสั่ง หนงั สอื เวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรือการตีความ ทง้ั นี้ เฉพาะทจ่ี ัดให้มีขึน้ โดยมสี ภาพอย่างกฎ เพื่อให้มผี ลเปน็ การทว่ั ไปตอ่ เอกชน ท่เี กีย่ วข้อง (๕) ขอ้ มูลขา่ วสารอืน่ ตามทีค่ ณะกรรมการกาหนด ผู้ใดเหน็ ว่าหนว่ ยงานของรัฐไม่จัดพมิ พข์ ้อมูลข่าวสารตามน้ีหรือไมจ่ ัดข้อมูลข่าวสาร ไว้ให้ประชาชนตรวจดูได้ หรือไม่จัดหาขอ้ มูลข่าวสารใหแ้ ก่ตน หรอื ฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตาม พระราชบัญญตั นิ ี้ หรือปฏิบตั ิหน้าท่ลี ่าชา้ หรอื เหน็ วา่ ตนไม่ไดร้ บั ความสะดวกโดยไมม่ เี หตอุ ัน สมควร ผนู้ ้นั มสี ิทธริ อ้ งเรียนตอ่ คณะกรรมการขอ้ มลู ข่าวสารของราชการ

177 ขอ้ มลู ข่าวสารทไี่ ม่ตอ้ งเปิดเผย ขอ้ มลู ข่าวสารของราชการท่ีอาจกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสียหาย ต่อสถาบันพระมหากษัตรยิ ์จะเปิดเผยมไิ ด้ (ข้อสอบ***) ขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการที่มีลักษณะอยา่ งหนง่ึ อยา่ งใดดงั ต่อไปนี้ หน่วยงานของรฐั หรือเจ้าหนา้ ท่ขี องรัฐอาจมีคาสง่ั มิใหเ้ ปดิ เผยก็ได้ โดยคานึงถึงการปฏิบตั ิหนา้ ท่ตี ามกฎหมาย ของหนว่ ยงานของรัฐ ประโยชนส์ าธารณะ และประโยชนข์ องเอกชนทเี่ กย่ี วขอ้ งประกอบกัน (๑) การเปดิ เผยจะก่อใหเ้ กิดความเสยี หายตอ่ ความมน่ั คงของประเทศ ความสมั พันธ์ ระหว่างประเทศและความม่นั คงในทางเศรษฐกิจหรือการคลงั ของประเทศ (๒) การเปิดเผยจะทาใหก้ ารบังคบั ใช้กฎหมายเสอื่ มประสิทธภิ าพหรอื ไมอ่ าจสาเร็จตาม วัตถปุ ระสงคไ์ ด้ ไมว่ า่ จะเกี่ยวกับการฟอ้ งคดี การปอ้ งกนั การปราบปราม การทดสอบ การ ตรวจสอบ หรอื การรู้แหล่งท่ีมาของขอ้ มูลขา่ วสารหรือไมก่ ต็ าม (๓) ความเห็นหรอื คาแนะนาภายในหนว่ ยงานของรฐั ในการดาเนนิ การเรื่องหน่ึงเร่ืองใด แตท่ ้ังนไี้ ม่รวมถึงรายงานทางวิชาการ รายงานขอ้ เทจ็ จริงหรอื ขอ้ มูลข่าวสารที่นามาใชใ้ นการ ทาความเห็นหรือคาแนะนาภายในดังกลา่ ว (๔) การเปิดเผยจะกอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายต่อชีวติ หรือความปลอดภยั ของบุคคลหนึง่ บุคคลใด (๕) รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลซ่ึงการเปิดเผยจะเป็นการรุกลา้ สิทธิส่วนบุคคลโดยไม่สมควร (๖) ข้อมูลขา่ วสารของราชการทม่ี ีกฎหมายคมุ้ ครองมใิ หเ้ ปดิ เผย หรือข้อมลู ขา่ วสารทีม่ ี ผูใ้ หม้ าโดยไมป่ ระสงค์ใหท้ างราชการนาไปเปิดเผยตอ่ ผ้อู ่ืน (๗) กรณอี ่ืนตามท่กี าหนดให้พระราชกฤษฎกี า คาสง่ั มใิ ห้เปิดเผยข้อมูลขา่ วสารของราชการจะกาหนดเงอ่ื นไขอยา่ งใดก็ได้ แตต่ ้องระบไุ ว้ ด้วยว่าท่เี ปดิ เผยไมไ่ ด้เพราะเป็นข้อมูลขา่ วสารประเภทใดและเพราะเหตใุ ด

178 พระราชบัญญตั ิ การอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนญุ าต ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ นายกรัฐมนตรรี กั ษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี ผ้รู ับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี โดยทีป่ จั จบุ นั มีกฎหมายวา่ ด้วยการอนุญาต จานวนมาก การประกอบกจิ การของ ประชาชนจะต้องขออนุญาตจากสว่ นราชการหลายแหง่ อีกทงั้ กฎหมาย ทเี่ กย่ี วข้องกับการอนุญาต บางฉบับไม่ไดก้ าหนดระยะเวลา เอกสารและหลักฐานท่จี าเป็น รวมถึงขั้นตอน ในการพจิ ารณาไว้ ทาให้เปน็ อปุ สรรคตอ่ ประชาชนในการย่ืนคาขออนุญาตดาเนนิ การต่างๆ ดงั นัน้ เพือ่ ให้มี กฎหมาย กลางทจ่ี ะกาหนดข้ันตอนและระยะเวลาในการพิจารณาอนญุ าต และมีการจดั ต้ังศนู ย์บริการรว่ ม เพือ่ รบั คาร้องและศูนยร์ ับคาขออนุญาต ณ จดุ เดียว เพ่อื ให้ขอ้ มลู ทช่ี ัดเจนเก่ยี วกับการขออนุญาต ซง่ึ จะเป็น การอานวยความสะดวกแกป่ ระชาชน จึงจาเปน็ ตอ้ งตราพระราชบัญญตั ินี้ พระราชบัญญัตนิ ใ้ี หใ้ ชบ้ งั คับเม่อื พน้ กาหนดหนึ่งร้อยแปดสบิ วนั นบั แตว่ ันประกาศ ในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป เวน้ แตม่ าตรา ๑๗ ให้ใชบ้ งั คบั ตั้งแต่วนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เปน็ ต้นไป มาตรา 17 กลา่ วถึงการระบใุ ห้ผู้อนุญาตทาคมู่ อื ประชาชนให้แลว้ เสรจ็ ภายใน 180 วัน นบั ตัง้ แตว่ ันประกาศในราชกิจจานเุ บกษา กลา่ วคือ พ.ร.บ. น้ปี ระกาศใชป้ บุ๊ คือลงวนั ท่ี 22 มกราคม 2558 ก็ยังไม่ให้บังคบั ใช้ได้ เพราะช่วงแรกหลงั ประกาศใช้นี้ จะให้โอกาส ผู้อนญุ าตได้ทาคู่มือประชาชนให้เสรจ็ กอ่ น (เพราะกาหนดคอื ตอ้ งเสรจ็ ภายใน 180 วนั ) พอคูม่ ือเสร็จ ก็หมายความวา่ “มคี ่มู อื แลว้ ” ดังนั้น เขาจงึ ให้ พ.ร.บ. น้ีบงั คับใช้ได้เมือ่ มี คู่มือสาหรับประชาชนแล้วนน่ั เอง (พน้ 180 วันไป) ชว่ งแรกจึงยงั ไม่ได้บงั คบั ใชก้ ฎหมาย วนั ที่ 22 มกราคม 2558 พระราชบญั ญตั ปิ ระกาศลงในราชกจิ จานุเบกษา ตั้งแต่ 22 มกราคม 2558 ภายใน 180 วนั ตอ้ งทาคู่มอื ประชาชนใหเ้ สร็จ โดยหลงั จาก 22 มกราคม 2558 พน้ ไป 180 วันแลว้ จึงบังคับใช้ พ.ร.บ. ได้

179 “อนุญาต” หมายความว่าการท่เี จ้าหนา้ ท่ยี นิ ยอมให้บคุ คลใดกระทาการใดทีม่ ีกฎหมาย กาหนดให้ ตอ้ งได้รับความยินยอมก่อนกระทาการนนั้ และใหห้ มายความรวมถึงการออกใบอนญุ าต การอนุมตั ิ การจดทะเบยี น การข้ึนทะเบียน การรบั แจ้ง การให้ประทานบัตรและการใหอ้ าชญา บตั รด้วย “ผูอ้ นญุ าต” หมายความวา่ ผู้ซง่ึ กฎหมายกาหนดใหม้ ีอานาจในการอนญุ าต พระราชบญั ญัตินี้มใิ ห้ใชบ้ งั คบั แก่ (๑) รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี (๒) การพิจารณาพิพากษาคดขี องศาลและการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการ พิจารณาคดี การบังคับคดี และการวางทรัพย์ (๓) การดาเนินงานตามกระบวนการยุตธิ รรมทางอาญา (๔) การอนญุ าตตามกฎหมายวา่ ดว้ ยทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม (๕) การอนญุ าตท่เี ก่ียวขอ้ งกับการปฏบิ ัติการทางทหารดา้ นยุทธการ รวมทั้งตามกฎหมาย เกีย่ วกับ การควบคุมยทุ ธภัณฑ์ และกฎหมายว่าดว้ ยโรงงานผลติ อาวธุ ของเอกชน การยกเว้นไมใ่ หน้ าบทบัญญัตแิ หง่ พระราชบญั ญัติน้มี าใช้บงั คับแก่การดาเนินกจิ การใด หรอื กบั หนว่ ยงานใดนอกจากท่ีกาหนดไวใ้ นห้าข้อข้างตน้ นนั้ ใหต้ ราเปน็ พระราชกฤษฎีกา ทกุ ห้าปีนับแตว่ นั ทพ่ี ระราชบัญญัตนิ ้ใี ช้บังคับ ให้ผ้อู นุญาตพจิ ารณากฎหมายท่ี ให้อานาจในการอนญุ าตวา่ สมควรปรับปรงุ กฎหมายน้นั เพอื่ ยกเลิกการอนญุ าต หรอื จัดใหม้ ีมาตรการอืน่ แทนการอนุญาตหรอื ไม่ ในกรณีทมี่ คี วามจาเป็นผู้อนญุ าตจะพจิ ารณาปรับปรุงกฎหมายหรือจดั ใหม้ ี มาตรการอ่ืนแทนใน กาหนดระยะเวลาท่ีเรว็ กว่านนั้ ก็ได้ (กลา่ วคอื เร็วกว่า 5 ปี กไ็ ด้ถ้าจะปรับปรงุ เปลย่ี นแปลงอะไร) แต่เขากาหนดใหว้ า่ ทุกๆ 5 ปี อยา่ งนอ้ ยต้องมีการพจิ ารณานะวา่ จะปรับปรุงไหม หรือยกเลกิ ไหม ใหผ้ ูอ้ นุญาตเสนอผลการพิจารณาต่อคณะรัฐมนตรีเพอ่ื พจิ ารณายกเลิกการอนญุ าต หรือจัดให้ มีมาตรการอนื่ แทนการอนุญาต ในการนีใ้ ห้คณะรัฐมนตรีรับฟังความคิดเหน็ ของคณะกรรมการ พฒั นากฎหมายตามกฎหมายวา่ ดว้ ยคณะกรรมการกฤษฎีกาประกอบการพจิ ารณาด้วย

180 ในกรณที ่ีมีกฎหมายกาหนดให้การกระทาใดจะตอ้ งได้รับอนญุ าต ผู้อนญุ าตจะตอ้ งจัดทา คูม่ ือสาหรบั ประชาชน ซ่ึงอยา่ งนอ้ ยตอ้ งประกอบดว้ ย หลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงือ่ นไข (ถ้าม)ี ในการย่ืนคาขอ ขนั้ ตอนและระยะเวลาในการพจิ ารณาอนุญาตและรายการเอกสารหรือหลักฐานท่ีผู้ขอ อนุญาตจะต้อง ยื่นมาพร้อมกับคาขอ และจะกาหนดใหย้ ่ืนคาขอผ่านทางสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์แทน การมาย่นื คาขอดว้ ยตนเองกไ็ ด้ คู่มอื สาหรบั ประชาชนให้ปิดประกาศไว้ ณ สถานท่ที ก่ี าหนดใหย้ น่ื คาขอ และเผยแพร่ ทางส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ และเมอ่ื ประชาชนประสงค์จะได้สาเนาคมู่ ือดังกลา่ ว ให้ พนักงานเจ้าหน้าท่ีจดั สาเนาให้ โดยจะคดิ คา่ ใช้จา่ ยตามควรแกก่ รณีก็ได้ ในกรณเี ชน่ น้นั ใหร้ ะบุ คา่ ใช้จา่ ยดังกลา่ วไวใ้ นคมู่ อื สาหรบั ประชาชนด้วย ให้เปน็ หนา้ ที่ของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการตรวจสอบข้ันตอนและระยะเวลา ในการพิจารณาอนุญาตที่กาหนดตามวรรคหนงึ่ ว่าเป็นระยะเวลาทีเ่ หมาะสมตามหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหาร กจิ การบ้านเมอื งท่ดี ีหรอื ไม่ ในกรณีทเ่ี หน็ วา่ ขนั้ ตอนและระยะเวลาทีก่ าหนดดังกลา่ ว ลา่ ชา้ เกนิ สมควร ใหเ้ สนอคณะรฐั มนตรีเพ่ือพจิ ารณาและส่ังการใหผ้ อู้ นญุ าตดาเนินการแกไ้ ขให้ เหมาะสมโดยเร็ว เพอ่ื ประโยชน์ในการอานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน ให้สว่ นราชการจัดใหม้ ีศูนยบ์ ริการรว่ ม เพื่อรับคาขอและชีแ้ จงรายละเอยี ด เก่ยี วกบั การอนุญาตตา่ งๆ ตามกฎหมายว่าดว้ ยการอนุญาตไว้ ณ ทเ่ี ดยี วกนั ตามแนวทางทค่ี ณะกรรมการพฒั นาระบบราชการกาหนด เป็นหน้าท่ีของพนักงานเจา้ หนา้ ทผี่ ้มู ีหน้าทีใ่ นการรับคาขอจะตอ้ งตรวจสอบคาขอ และรายการ เอกสารหรอื หลักฐานที่ยืน่ พร้อมคาขอใหถ้ กู ตอ้ งครบถว้ น หากเห็นวา่ คาขอไมถ่ ูกต้องหรือ ยงั ขาด เอกสารหรือหลกั ฐานใดให้แจ้งใหผ้ ู้ยื่นคาขอทราบทนั ที ถ้าเปน็ กรณที ี่สามารถแก้ไขหรือเพ่มิ เตมิ ได้ ในขณะนัน้ ใหแ้ จ้งใหผ้ ยู้ ่ืนคาขอดาเนินการแก้ไขหรือยื่นเอกสารหรือหลักฐานเพม่ิ เตมิ ให้ครบถ้วน

181 ถา้ เปน็ กรณีทไี่ มอ่ าจดาเนินการไดใ้ นขณะนัน้ ใหบ้ ันทึกความบกพร่องและรายการเอกสารหรอื หลักฐาน ที่จะต้องยืน่ เพ่มิ เติม พร้อมทง้ั กาหนดระยะเวลาท่ีผู้ยนื่ คาขอจะต้องดาเนนิ การแกไ้ ขหรอื ย่นื เพ่ิมเติมไว้ ในบนั ทกึ ดังกลา่ วด้วยและให้พนักงานเจ้าหน้าทแ่ี ละผยู้ ื่นคาขอลงนามไวใ้ นบันทกึ น้นั ใหพ้ นักงานเจา้ หน้าท่ีมอบสาเนาบนั ทกึ ให้ผ้ยู น่ื คาขอไว้เป็นหลกั ฐาน กรณีทีผ่ ูย้ ่นื คาขอไดจ้ ดั ทาคาขอถูกต้องและแนบเอกสารหรือหลกั ฐานครบถ้วนตามทรี่ ะบุ ในคูม่ ือสาหรบั ประชาชนแลว้ หรอื ได้แกไ้ ขหรือยืน่ เอกสารหรือหลักฐานเพิม่ เติมครบถว้ น ตามท่ี พนักงานเจา้ หน้าทแี่ นะนาหรอื ตามที่ปรากฏในบันทกึ แล้ว พนกั งานเจ้าหน้าทจ่ี ะเรียก เอกสารหรือ หลกั ฐานเพมิ่ เตมิ อ่ืนใดอีกไมไ่ ด้ และจะปฏเิ สธการพจิ ารณาคาขอนัน้ โดยอาศัยเหตแุ ห่ง ความไม่ สมบรู ณ์ของคาขอหรอื ความไมค่ รบถ้วนของเอกสารหรอื หลักฐานไม่ได้ เว้นแตเ่ ป็นกรณีทคี่ วามไม่ สมบรู ณ์ หรอื ความไม่ครบถว้ นนั้นเกดิ จากความประมาทเลนิ เลอ่ หรือทจุ ริตของพนักงานเจ้าหน้าที่ และเป็นผลใหไ้ ม่อาจอนุญาตได้ ในกรณนี ใี้ ห้ผู้อนญุ าตสัง่ การตามท่เี หน็ สมควร และใหด้ าเนินการ ทางวนิ ัยหรือดาเนินคดกี ับพนักงาน เจ้าหนา้ ทท่ี ี่เกี่ยวข้องโดยไมช่ ักชา้ หากผยู้ ืน่ คาขอไม่แกไ้ ขเพมิ่ เติมคาขอหรือไมส่ ่งเอกสารหรือหลกั ฐานเพ่ิมเติม ตามทพ่ี นักงาน เจา้ หนา้ ที่แจง้ ใหท้ ราบหรอื ตามท่ีปรากฏในบนั ทึกทีจ่ ัดทา ใหพ้ นักงานเจา้ หน้าทค่ี นื คาขอใหแ้ ก่ผ้ยู ่นื คาขอพร้อมท้ังแจ้งเปน็ หนังสือถึงเหตุแห่งการคนื คาขอให้ทราบด้วย ผู้ย่นื คาขอจะอทุ ธรณค์ าส่งั คนื คาขอตามวรรคหน่งึ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวิธปี ฏบิ ตั ิราชการ ทางปกครองหรือจะยืน่ คาขอใหม่กไ็ ด้ แตใ่ นกรณที กี่ ฎหมายกาหนดให้ต้องยน่ื คาขอใดภายในระยะเวลาที่กาหนด ผ้ยู ่นื คาขอจะต้องยื่นคา ขอน้ันใหม่ภายในระยะเวลาดังกล่าว ผู้อนญุ าตตอ้ งดาเนนิ การใหแ้ ลว้ เสร็จภายในกาหนดเวลาทีร่ ะบไุ วใ้ นคู่มอื สาหรบั ประชาชน ตาม และแจง้ ให้ผูย้ ่นื คาขอทราบภายในเจด็ วนั นบั แตว่ ันทพ่ี ิจารณาแลว้ เสร็จ เมอ่ื ครบกาหนดเวลา ตามทร่ี ะบไุ ว้ในคมู่ ือสาหรบั ประชาชนแล้ว หากผู้อนุญาตยังพจิ ารณาไม่เสร็จ ใหแ้ จง้ เป็นหนงั สือให้ ผ้ยู นื่ คาขอทราบถงึ เหตุแหง่ ความล่าช้าทกุ เจด็ วันจนกวา่ จะพิจารณาแล้วเสรจ็ พร้อมทัง้ ส่งสาเนา การแจง้ ดงั กล่าวให้คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการทราบทกุ ครั้ง

182 ในกรณที ีค่ ณะกรรมการพฒั นาระบบราชการเหน็ ว่าความล่าชา้ น้ันเกินสมควรแกเ่ หตหุ รอื เกิด จากการขาดประสิทธิภาพในการปฏบิ ัตริ าชการของหนว่ ยงานของผู้อนุญาต ให้คณะกรรมการพฒั นาระบบ ราชการรายงานตอ่ คณะรัฐมนตรี พร้อมทั้งเสนอแนะใหม้ กี ารพฒั นาหรอื ปรับปรงุ หน่วยงานหรือระบบการปฏบิ ัติ ราชการของ หน่วยงานนั้น ในกรณีไม่แจ้ง ให้ถือวา่ ผอู้ นุญาตกระทาการหรือละเว้นกระทาการ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความ เสยี หายแกผ่ ู้อ่ืน เว้นแต่จะเปน็ เพราะมีเหตุสุดวิสยั กรณที ม่ี ีกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรอื ข้อบงั คบั ใดออกใชบ้ งั คบั และมผี ลใหต้ ้อง เปล่ยี นแปลงหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ เงื่อนไข หรือรายละเอียดอนื่ ใดทีป่ รากฏในคู่มือ สาหรับประชาชน การเปลยี่ นแปลงนน้ั มใิ ห้ใช้บงั คับกบั การยนื่ คาขอท่ไี ด้ยื่นไว้ ก่อนวันท่ี กฎหมาย กฎ ระเบยี บ หรอื ขอ้ บังคบั ดังกลา่ วมผี ลใช้บังคบั กรณีที่กฎหมายกาหนดอายุใบอนญุ าตไว้ และกจิ การหรือการดาเนนิ การทีไ่ ดร้ ับ ใบอนญุ าต น้นั มลี กั ษณะเป็นกจิ การหรือการดาเนนิ การทเี่ ห็นได้วา่ ผู้ได้รับใบอนญุ าตจะประกอบกจิ การ หรือ ดาเนินการน้ันตอ่ เนอ่ื งกนั คณะรฐั มนตรจี ะกาหนดใหผ้ รู้ บั ใบอนุญาตชาระคา่ ธรรมเนียมการต่อ อายุ ใบอนญุ าตตามท่ีกาหนดไว้ในกฎหมายนัน้ ๆ แทนการยน่ื คาขอต่ออายุใบอนญุ าตกไ็ ด้ และ เมื่อหน่วยงาน ซ่งึ มีอานาจออกใบอนญุ าตไดร้ ับคา่ ธรรมเนียมดงั กลา่ วแล้ว ให้ออกหลกั ฐานการต่อ อายุใบอนญุ าตให้แก่ ผู้รับใบอนุญาตโดยเรว็ และใหถ้ อื ว่าผรู้ ับใบอนญุ าตไดร้ บั การตอ่ อายุ ใบอนุญาตตามกฎหมายน้นั ๆ แล้ว การกาหนดใหผ้ รู้ บั ใบอนุญาตชาระค่าธรรมเนยี มต่ออายใุ บอนญุ าตแทนการยืน่ คาขอตอ่ อายุ ใบอนญุ าตใหต้ ราเป็นพระราชกฤษฎีกา ในพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวใหร้ ะบชุ ่อื พระราชบญั ญัติ และประเภทของใบอนญุ าตตามพระราชบญั ญตั ิดงั กล่าวทผ่ี ู้รับใบอนุญาตอาจ ดาเนนิ การได้ กอ่ นตราพระราชกฤษฎกี าให้คณะรัฐมนตรสี ่งร่างพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว ให้สภา ผ้แู ทนราษฎรและวุฒิสภาเป็นเวลาไม่นอ้ ยกว่าสามสิบวนั เมือ่ พ้นกาหนดเวลาดังกล่าวแล้ว หาก สภาผแู้ ทนราษฎรหรือวุฒิสภามไิ ดม้ มี ติทักท้วง ใหน้ าความกราบบังคมทลู เพื่อทรงตราพระราช กฤษฎกี าดังกลา่ ว ตอ่ ไป ใหเ้ ป็นหนา้ ที่ของสานกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการทีจ่ ะหารอื กบั หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การออกใบอนญุ าต เพอื่ เสนอแนะตอ่ คณะรฐั มนตรใี นการดาเนนิ การ

183 ในกรณีจาเปน็ และสมควรเพอื่ ประโยชน์ในการอานวยความสะดวกแกป่ ระชาชน ให้ คณะรฐั มนตรมี มี ติจดั ต้ังศูนยร์ ับคาขออนญุ าต เพื่อทาหนา้ ทีเ่ ป็นศูนยก์ ลางในการรบั คาขอตาม กฎหมาย ว่าดว้ ยการอนุญาตข้ึน ใหศ้ ูนย์รบั คาขออนญุ าตมฐี านะเป็นสว่ นราชการ โดยอยใู่ นสงั กัด สานักนายกรฐั มนตรี และจะให้มีสาขาของศนู ยป์ ระจากระทรวงหรือประจาจังหวัดดว้ ยกไ็ ด้ การ จัดตง้ั ศูนยร์ ับคาขออนญุ าตให้ตราเปน็ พระราชกฤษฎกี า ในพระราชกฤษฎกี า ดงั กล่าวให้กาหนด รายชื่อกฎหมายว่าดว้ ยการอนญุ าตที่จะให้อยู่ภายใตก้ ารดาเนินการของศูนย์รบั คาขอ อนญุ าต ใน การดาเนนิ การเก่ียวกับการรับคาขอ จะกาหนดในพระราชกฤษฎกี าใหผ้ ้ยู น่ื คาขอ ยนื่ คาขอ ผา่ น ทางส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ก็ได้ เมื่อมีการจัดต้งั ศนู ยร์ บั คาขออนญุ าตแลว้ ใหด้ าเนินการและมีผล ดังต่อไปนี้ (๑) ในกรณีทก่ี ฎหมายว่าดว้ ยการอนุญาตหรือกฎทอ่ี อกตามกฎหมายดังกลา่ วกาหนดให้ ตอ้ ง ยน่ื คาขอ หรือส่งเอกสารหรือหลักฐาน หรอื คา่ ธรรมเนียมใด ณ สถานทีใ่ ด ถ้าได้มกี ารยืน่ คา ขอ หรือสง่ เอกสารหรอื หลกั ฐาน หรอื ค่าธรรมเนียม ณ ศนู ย์รับคาขออนญุ าตแล้ว ให้ถอื ว่าได้มี การย่ืนคาขอ หรอื สง่ เอกสารหรอื หลกั ฐาน หรือคา่ ธรรมเนียมโดยชอบตามกฎหมายว่าดว้ ยการ อนุญาตนน้ั แลว้ (๒) บรรดาเงินคา่ ธรรมเนยี มหรอื เงนิ อื่นใดทศี่ ูนย์รับคาขออนุญาตไดร้ บั ไว้ให้ศนู ยร์ บั คาขอ อนญุ าตนาสง่ คลังเป็นรายได้แผน่ ดินในนามของหน่วยงานของผูอ้ นุญาต หรอื สง่ ให้องคก์ ร ปกครอง สว่ นทอ้ งถน่ิ แลว้ แตก่ รณี และแจ้งใหห้ นว่ ยงานของผู้อนญุ าตทราบ (๓) ในกรณีท่หี น่วยงานของผูอ้ นุญาตมีสทิ ธหิ ักค่าใช้จา่ ยจากเงนิ ทจ่ี ะตอ้ งนาสง่ คลงั ให้ ศูนย์ รับคาขออนุญาตหกั เงินดงั กลา่ วแทนและสง่ มอบเงนิ ทหี่ กั ไว้นั้นใหแ้ ก่หนว่ ยงานของผู้อนญุ าต โดยให้ศูนย์ รบั คาขออนญุ าตมีสิทธหิ กั ค่าใช้จา่ ยของศนู ยร์ ับคาขออนุญาตตามอัตราทจ่ี ะไดต้ กลง กบั หนว่ ยงานของผ้อู นญุ าต (๔) ระยะเวลาให้นับแตว่ ันท่ีศูนย์รบั คาขออนญุ าตส่งเรอ่ื งให้ผู้อนุญาต โดยศูนย์รบั คา ขออนญุ าตจะตอ้ งสง่ เร่ืองให้ผอู้ นุญาตไมช่ า้ กวา่ สามวนั ทาการ

184 (๕) ให้เปน็ หน้าท่ีของผอู้ นุญาตท่ีจะต้องส่งคู่มือสาหรับประชาชนท่ีถูกตอ้ ง และเป็น ปจั จุบันให้ศูนย์รบั คาขออนญุ าตตามจานวนที่จาเป็น และดาเนนิ การใหม้ ีการฝกึ อบรมหรอื ชแี้ จง แกเ่ จ้าหน้าท่ีของศนู ย์รับคาขออนุญาต เพอ่ื ให้เกดิ ความชานาญในการปฏบิ ัติหน้าที่ด้วย (๖) ใหเ้ ป็นหน้าทีข่ องเจา้ หน้าทีข่ องศูนยร์ บั คาขออนุญาตที่จะต้องดาเนนิ การและต้อง รบั ผดิ ชอบในฐานะเช่นเดยี วกับพนักงานเจ้าหนา้ ท่ีตามทบ่ี ัญญตั ิไว้ ใหศ้ นู ย์รบั คาขออนุญาตมีหน้าทดี่ งั ต่อไปนี้ (๑) รับคาขอและคา่ ธรรมเนยี ม รวมตลอดทง้ั คาอทุ ธรณ์ ตามกฎหมายว่าด้วยการอนุญาต (๒) ใหข้ อ้ มลู ช้ีแจง และแนะนาผยู้ ืน่ คาขอหรอื ประชาชนใหท้ ราบถึงหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขในการขออนุญาต รวมตลอดทง้ั ความจาเปน็ ในการยืน่ คาขออนื่ ใดท่จี าเป็นตอ้ ง ดาเนินการ ตามกฎหมายว่าด้วยการอนุญาตทงั้ ปวง ในการประกอบกิจการหรือดาเนินการอย่าง หนง่ึ อยา่ งใด (๓) สง่ คาขอ หรอื คาอทุ ธรณ์ ทไี่ ด้รบั จากผยู้ ่ืนคาขอหรือผูย้ ่นื คาอทุ ธรณ์พรอ้ มท้งั เอกสาร หรือหลักฐานท่เี กีย่ วขอ้ งใหห้ นว่ ยงานท่เี กีย่ วข้อง และคอยตดิ ตามเร่งรัดหน่วยงานดงั กล่าวเพอื่ ดาเนินการ ให้ถูกต้องภายในระยะเวลาท่ีกาหนดตามพระราชบญั ญตั ิน้ี และคมู่ ือสาหรับประชาชน หรือตามกฎหมายทใี่ ห้สิทธใิ นการอทุ ธรณ์ (๔) ในกรณีทเี่ ห็นวา่ หลักเกณฑห์ รือวธิ กี ารในการย่นื คาขอ มรี ายละเอียดหรอื กาหนดให้ ตอ้ ง ส่งเอกสารทีไ่ ม่จาเป็น หรือเปน็ ภาระเกนิ สมควรแกป่ ระชาชน ให้เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี เพอื่ สง่ั การให้ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องดาเนินการปรับปรงุ แก้ไขให้เหมาะสมยิ่งข้นึ (๕) รวบรวมปัญหาและอุปสรรคจากการอนญุ าตและการดาเนินการของศนู ย์รับคาขอ อนญุ าต เพอื่ เสนอต่อคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการเพ่ือรายงานต่อคณะรฐั มนตรพี ิจารณาสั่ง การให้หนว่ ยงาน ที่เกยี่ วข้องดาเนนิ การปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหเ้ หมาะสมต่อไป (๖) เสนอแนะในการพฒั นาหรอื ปรบั ปรุงกระบวนการ ขนั้ ตอน ระยะเวลา เกยี่ วกับการ อนญุ าตต่างๆ รวมถึงขอ้ เสนอในการออกกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรอื กาหนดหลกั เกณฑท์ ่ีเกย่ี วกับ การอนญุ าตเพอ่ื ใหป้ ระชาชน ไดร้ บั ความสะดวกมากข้นึ

185 องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน 61. ผใู้ ดรักษาการตามพระราชบญั ญัตเิ ทศบาล พ.ศ.2496 1. นายกรัฐมนตรี 2. รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย 3. เลขานกุ ารนายกรัฐมนตรี 4. อธบิ ดกี รมการปกครองทอ้ งถ่ิน 62. ข้อใดกล่าวถูกต้องเก่ียวกบั เทศบาล 2. เทศบาลเปน็ ราชการสว่ นภูมภิ าค 1. เทศบาลเปน็ ราชการสว่ นกลาง 4. เทศบาลเป็นรฐั วิสาหกิจ 3. เทศบาลเปน็ ทบวงการเมอื ง 63. เทศบาลมกี ร่ี ปู แบบ 2. สองรปู แบบ 1. รปู แบบเดยี ว 4. สีร่ ปู แบบ 3. สามรูปแบบ 64. ตาแหนง่ ผบู้ ริหารสูงสดุ และควบคมุ ดแู ล งานเทศบาลคือ 1. นายกองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั 2. นายกองคก์ ารบริหารเทศบาล 3. ประธานสภาเทศบาล 4. นายกเทศมนตรี 65. จดั ตั้งเปน็ เทศบาลนครได้ ต้องมรี าษฎรในชุมชนน้นั กีค่ นขึน้ ไป 1. หน่ึงหมน่ื คนขึ้นไป 2. สองหม่ืนคนขึ้นไป 3. หา้ หมื่นคนขน้ึ ไป 4. หนง่ึ แสนคนขึน้ ไป 66. ข้อใดกล่าวถกู ต้องเกยี่ วกบั เทศบาลเมือง 1. ท้องถน่ิ ทเี่ ปน็ ที่ตง้ั ศาลากลางจังหวดั 2. มีราษฎรตัง้ แตห่ น่งึ หมื่นคนขน้ึ ไป 3. มีรายไดพ้ อแกก่ ารปฏบิ ตั หิ นา้ ที่เทศบาลเมือง 4. ถกู ทกุ ขอ้ 61. 2 62. 3 63. 3 64. 4 65. 3 66. 4

186 67. การเปล่ียนแปลงหรอื ยกฐานะชุมชนให้เป็น เทศบาลตาบล กระทาได้อย่างไร 1. ประกาศกระทรวงมหาดไทย 2. ตราเป็นพระราชบัญญตั ิ 3. ทาเป็นกฎกระทรวงมหาดไทย 4. ตราเป็นพระราชกฤษฎกี า 68. การยุบ ยกเลกิ เทศบาล ให้กระทาไดอ้ ยา่ งไร 2. ตราเปน็ พระราชบญั ญตั ิ 1. ประกาศกระทรวงมหาดไทย 4. ตราเป็นพระราชกฤษฎกี า 3. ทาเป็นกฎกระทรวงมหาดไทย 69. องคก์ ารเทศบาลประกอบดว้ ยสว่ นใดบ้าง 2. สภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี 1. สภาเทศบาล และ องค์การบรหิ ารเทศบาล 4. ประธานสภาเทศบาลและคณะกรรมการ 3. นายกเทศมนตรี และ ประธานสภาเทศบาล 70. สมาชกิ สภาเทศบาลตาบล มกี คี่ น 1. 12 คน 2. 16 คน 3. 18 คน 4. 24 คน 71. สมาชิกสภาเทศบาลเมอื ง มกี ีค่ น 1. 12 คน 2. 16 คน 3. 18 คน 4. 24 คน 72. สมาชิกสภาเทศบาลนคร มีกี่คน 1. 12 คน 2. 16 คน 3. 18 คน 4. 24 คน 73. สมาชิกสภาเทศบาล ไดม้ าอยา่ งไร 2. คัดเลอื กจากผู้บรหิ ารท้องถนิ่ 1. นายกเทศมนตรแี ตง่ ตง้ั 4. คณะกรรมการสรรหาสมาชิก 3. ราษฎรในทอ้ งถิ่นเลือกตัง้ 67. 1 68. 1 69. 2 70. 1 71. 3

187 74. ประธานสภาเทศบาล ได้มาอยา่ งไร 2. นายกเทศมนตรีแต่งตง้ั 1. ราษฎรเลอื กต้งั ให้เปน็ ประธาน 4. สมาชกิ สภาเทศบาลลงมติเลอื ก 3. ปลัดกระทรวงมหาดไทยแต่งต้งั 75. ขอ้ ใดเป็นลกั ษณะต้องหา้ มของผ้รู บั สมคั รเป็นสมาชกิ สภาเทศบาล 1. เคยเปน็ สมาชกิ รฐั สภา 2. มีบรษิ ทั เป็นของตนเอง 3. มสี ่วนได้เสยี ในกิจการของท้องถิน่ 4. วุฒกิ ารศกึ ษาตา่ กวา่ ปรญิ ญาตรี 76. ข้อใดกล่าวไม่ถูกตอ้ งเกี่ยวกับสมาชิกสภาเทศบาล 1. มีวาระในการดารงตาแหน่ง 4 ปี 2. ยื่นหนงั สอื ลาออกตอ่ ผูว้ า่ ราชการจังหวดั 3. วุฒกิ ารศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรีขึ้นไป 4. สมาชิกว่างลงใหเ้ ลอื กตั้งสมาชิกมาแทน 77. ขาดประชมุ สภาเทศบาลกคี่ ร้งั โดยไมม่ เี หตอุ ันควร จึงทาใหพ้ น้ สมาชกิ ภาพของสภาเทศบาล 1. 3 ครงั้ 2. 4 ครั้ง 3. 5 ครั้ง 4. 6 คร้ัง 78. เมื่อเห็นวา่ สมาชกิ สภาเทศบาลคนใด มคี วามประพฤติในทางเสือ่ มเสยี สมาชกิ สภาเทศบาล จานวนเท่าใดมีสิทธิเข้าเสนอชอ่ื ใหส้ ภาเทศบาลพิจารณา 1. ไม่น้อยกวา่ ก่ึงหนง่ึ 2. ไมน่ อ้ ยกว่าหน่ึงในสาม 3. ไมน่ ้อยกว่าสามในส่ี 4. ไมน่ อ้ ยกวา่ สามในหา้ 79. เมื่อเหน็ วา่ สมาชิกสภาเทศบาลคนใด มคี วามประพฤติในทางเส่ือมเสีย สมาชกิ สภาเทศบาล จานวนเท่าใดลงมตใิ หพ้ ้นจากสมาชิกภาพของสมาชิกสภาเทศบาล 1. ไมน่ ้อยกวา่ ก่งึ หนง่ึ 2. ไมน่ ้อยกว่าหนึ่งในสาม 3. ไมน่ อ้ ยกว่าสามในส่ี 4. ไมน่ ้อยกวา่ สามในห้า 72. 4 73. 3 74. 4 75. 3 76. 3 77. 1 78. 2 79. 3

188 80. ราษฎรจานวนเท่าใดมีสิทธลิ งคะแนนเสยี งเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาเทศบาล 1. ไม่นอ้ ยกวา่ ก่งึ หน่ึงของผู้มีสิทธเิ ลอื กตั้ง 2. ไมน่ อ้ ยกว่าหน่ึงในสามของผู้มีสทิ ธิเลือกตัง้ 3. ไมน่ ้อยกวา่ สามในส่ขี องผู้มีสิทธเิ ลือกต้งั 4. ไมน่ อ้ ยกว่าสามในห้าของผมู้ สี ทิ ธเิ ลือกต้งั 81. ในหนึ่งปสี ภาเทศบาลให้มีสมัยประชุมสามัญกี่สมัย 1. 2 สมยั 2. 4 สมัย 3. 6 สมัย 4. 8 สมัย 82. การประชมุ สภาเทศบาลครง้ั แรกใหป้ ระชุมภายในก่วี ันเมื่อประกาศผลเลือกตง้ั สมาชกิ ครบ 1. 7 วนั 2. 10 วนั 3. 15 วัน 4. 30 วัน 83. สมัยประชุมสภาเทศบาลหนงึ่ สมยั กาหนดก่ีวนั 1. ไม่เกิน 15 วัน 2. ไมเ่ กนิ 20 วนั 3. ไม่เกนิ 25 วัน 4. ไมเ่ กิน 30 วนั 84. สมยั ประชมุ สภาเทศบาลวิสามญั หน่ึงสมยั กาหนดก่วี นั 1. ไมเ่ กนิ 15 วัน 2. ไม่เกนิ 20 วนั 3. ไมเ่ กิน 25 วัน 4. ไม่เกิน 30 วนั 85. การประชมุ สภาเทศบาลต้องมสี มาชกิ มาประชุมจานวนเทา่ ใด จึงถอื เปน็ องคป์ ระชุม 1. ไม่นอ้ ยกวา่ สามในสี่ 2. ไม่นอ้ ยกวา่ กึง่ หนง่ึ 3. ไมน่ ้อยกว่าสามในหา้ 4. ไม่น้อยกวา่ หน่งึ ในสาม 86. กรณมี ีการวินจิ ฉยั ในสภาเทศบาล และมีคะแนนเสียงเท่ากนั ให้ทาเช่นไร 1. ออกเสียงอกี คร้ัง 2. ให้หารอื กันใหม่ 3. ประธานเป็นเสียงสุดทา้ ยช้ขี าด 4. นายกเทศมนตรีเปน็ เสยี งตัดสิน 80. 3 81. 2 82. 3 83. 4 84. 1 85. 2 86. 3

189 87. จานวนสมาชิกเทา่ ใดสามารถขอให้มกี ารประชมุ ลับได้ 1. ไมน่ อ้ ยกวา่ สามในส่ีของสมาชกิ ทง้ั หมด 2. ไมน่ อ้ ยกว่ากง่ึ หน่งึ ทมี่ าประชุม 3. ไมน่ อ้ ยกว่าสามในห้าทเี่ ขา้ รว่ มประชมุ 4. ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามทีม่ าประชมุ 88. ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ งเกี่ยวกับนายกเทศมนตรใี นทป่ี ระชมุ สภาเทศบาล 1. นายกเทศมนตรีตอ้ งตอบทกุ คาถามของการบริหารงานเม่อื สมาชิกสภาเทศบาลสอบถาม 2. นายกเทศมนตรสี ามารถขอให้ทป่ี ระชมุ สภาเทศบาลทาการประชุมลับได้ 3. นายกเทศมนตรตี อ้ งเข้าร่วมประชมุ สมัยสามญั ทุกครั้งตลอดสมัยประชุม 4. ไม่มขี ้อใดถกู ตอ้ ง 89. นายกเทศมนตรี มีสิทธเิ สนอชอื่ บคุ คลเป็นกรรมการในคณะกรรมการวสิ ามยั ไดจ้ านวนเทา่ ใด 1. ไม่เกินกึง่ หนง่ึ ของกรรมการท้งั หมด 2. ไม่เกินหน่ึงในสีข่ องกรรมการทัง้ หมด 3. ไมเ่ กนิ สองในสามของกรรมการทัง้ หมด 4. ไมเ่ กินสามในส่ขี องกรรมการทง้ั หมด 90. สมาชกิ สภาเทศบาลจานวนเท่าใด ไม่สิทธเิ สนอใหส้ ภาเทศบาล เพอื่ ให้มกี ารออกเสยี ง ประชามติในทอ้ งถน่ิ ได้ 1. ไมน่ อ้ ยกว่ากึง่ หนึ่งของสมาชกิ เทา่ ท่มี อี ยู่ 2. ไมน่ ้อยกว่าหนงึ่ ในสามของสมาชกิ เทา่ ที่มอี ยู่ 3. ไมน่ ้อยกวา่ สามในส่ีของสมาชกิ เท่าทมี่ อี ยู่ 4. ไม่น้อยกวา่ หน่งึ ในสขี่ องสมาชิกเท่าที่มีอยู่ 91. ผสู้ มัครเป็นนายกเทศมนตรีตอ้ งมอี ายเุ ท่าใด 2. ไมต่ ่ากว่า 25 ปบี รบิ ูรณ์ 1. ไมต่ า่ กว่า 20 ปีบริบูรณ์ 4. ไมต่ ่ากว่า 35 ปบี ริบรู ณ์ 3. ไมต่ า่ กวา่ 35 ปี นับถงึ วันเลือกตั้ง 87. 4 88. 2 89. 2 90. 1 91. 3

190 92. ขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ ูกตอ้ งเก่ยี วกับคณุ สมบัติและลักษณะตอ้ งห้ามของนายกเทศมนตรี 1. สาเร็จการศึกษาไมต่ า่ กว่าปรญิ ญาตรี 2. ดารงตาแหนง่ 4 ปี นับตงั้ แตว่ ันเลือกตง้ั 3. ไม่เคยพ้นจากตาแหน่งเพราะเหตุทุจรติ 4. ไมเ่ คยเปน็ สมาชกิ รัฐสภาหรอื สภาท้องถ่ิน 93. เทศบาลตาบลมีรองนายกเทศมนตรีได้ก่ีคน 4. ไม่เกิน 5 คน 1. ไม่เกนิ 2 คน 2. ไม่เกิน 3 คน 3. ไมเ่ กิน 4 คน 94. เทศบาลเมืองมีรองนายกเทศมนตรไี ดก้ ่คี น 3. ไมเ่ กนิ 4 คน 4. ไมเ่ กนิ 5 คน 1. ไม่เกิน 2 คน 2. ไม่เกนิ 3 คน 95. เทศบาลนครมรี องนายกเทศมนตรไี ดก้ ี่คน 3. ไมเ่ กิน 4 คน 4. ไมเ่ กนิ 5 คน 1. ไม่เกนิ 2 คน 2. ไม่เกนิ 3 คน 96. เทศบาลตาบลมที ปี่ รกึ ษานายกเทศมนตรีและเลขานกุ ารนายกเทศมนตรีได้กีค่ น 1. รวมกันไม่เกิน 2 คน 2. รวมกันไมเ่ กิน 3 คน 3. รวมกันไมเ่ กนิ 4 คน 4. รวมกันไม่เกิน 5 คน 97. เทศบาลเมืองมีท่ปี รกึ ษานายกเทศมนตรีและเลขานกุ ารนายกเทศมนตรไี ด้กค่ี น 1. รวมกนั ไมเ่ กนิ 2 คน 2. รวมกนั ไมเ่ กิน 3 คน 3. รวมกนั ไม่เกนิ 4 คน 4. รวมกนั ไม่เกิน 5 คน 98. เทศบาลนครมีทป่ี รึกษานายกเทศมนตรแี ละเลขานุการนายกเทศมนตรไี ดก้ ีค่ น 1. รวมกนั ไมเ่ กิน 2 คน 2. รวมกันไม่เกิน 3 คน 3. รวมกนั ไมเ่ กนิ 4 คน 4. รวมกนั ไมเ่ กิน 5 คน 92. 4 93. 1 94. 2 95. 3 96. 1 97. 2 98. 4

191 99. นายกเทศมนตรตี อ้ งแถลงนโยบายต่อสภาเทศบาลภายในกีว่ นั นบั ตัง้ แตท่ ราบผลเลือกตั้ง 1. 7 วนั 2. 15 วนั 3. 20 วนั 4. 30 วนั 100. คาแถลงนโยบายและรายงานผลการปฏบิ ัติงานของนายกเทศมนตรใี ห้แสดงไวท้ ่ใี ด 1. หอ้ งทางานของนายกเทศมนตรี 2. บอรด์ ประชาสมั พนั ธใ์ นสานักปลัดเทศบาล 3. สถานทีเ่ ปดิ เผยท่สี านักงานเทศบาล 4. ปา้ ยติดประกาศของสภาเทศบาล 101. บุคคลใดมีอานาจหน้าท่ีบงั คบั บัญชาพนักงานและลูกจ้างในเทศบาลรองจากนายกเทศมนตรี 1. รองนายกเทศมนตรี 2. ปลัดเทศบาล 3. นายอาเภอ 4. ปลดั อาเภอ 102. รองนายกเทศมนตรี พ้นจากตาแหน่งเมื่อใด 1. นายกเทศมนตรสี ง่ั ใหพ้ น้ จากตาแหน่ง 2. ถูกพิพากษาใหจ้ าคกุ 3. มีสว่ นได้เสียกับกิจการของเทศบาล 4. ถกู ทกุ ข้อ 103. ขอ้ ใดเป็นหน้าทภ่ี ายใต้บงั คบั แหง่ กฎหมายของเทศบาลตาบล 1. ให้มแี ละบารงุ ทางบกและทางนา้ 2. ให้มโี รงฆ่าสัตว์ 3. ให้มีสุสานและฌาปนสถาน 4. ใหม้ แี ละบารงุ ทางระบายนา้ 104. เทศบาลเมืองสามารถทากจิ การใดๆในเขตเทศบาลได้ 1. ใหม้ ีการสาธารณูปการ 2. จัดต้งั และบารงุ โรงเรยี นอาชีวศึกษา 3. ใหม้ ีและบารงุ สวนสาธารณะ 4. ถกู ทกุ ข้อ 99. 4 100. 3 101. 2 102. 4 103. 1 104. 4

192 105. การบารุงการสงเคราะหม์ ารดาและเดก็ ตอ้ งจดั ใหม้ ีในเขตเทศบาลใด 1. เทศบาลตาบล 2. เทศบาลเมอื ง 3. เทศบาลนคร 4. ใหม้ ีในทุกเทศบาล 106. กจิ การท่อี ยู่ภายในอานาจหนา้ ที่ของเทศบาลตงั้ แต่สองแห่งข้ึนไปที่จะทาร่วมกนั คอื อะไร 1. เทศกิจ 2. เทศบญั ญตั ิ 3. สหการ 4. บริษัทร่วมเทศบาล 107. เทศบัญญตั สิ ามารถกาหนดโทษปรับผูล้ ะเมินบัญญัติได้เทา่ ใด 1. ห้ามกาหนดปรบั เกินกวา่ 1,000 บาท 2. หา้ มกาหนดปรบั เกินกวา่ 2,000 บาท 3. ห้ามกาหนดปรับเกินกวา่ 10,000 บาท 4. กาหนดโทษปรับเท่าใดตามท่เี หน็ ควร 108. งบประมาณประจาปขี องเทศบาลจดั ทาใหล้ กั ษณะใด 1. ตราเปน็ พระราชกฤษฎีกา 2. ตราเปน็ เทศบญั ญัติ 3. ประกาศเป็นกฎกระทรวง 4. ทาเปน็ ประกาศของสภาเทศบาล 109. ข้อใดเป็นรายไดข้ องเทศบาล 2. รายได้จากทรัพย์สนิ ของเทศบาล 1. ภาษอี ากร 4. ถกู ทุกข้อ 3. เงินที่มผี ู้อทุ ศิ ใหก้ ับเทศบาล 110. เมื่อเทศบาลต้องการกเู้ งนิ จะกระทาไดเ้ ม่ือได้รับอนมุ ตั จิ ากผใู้ ด 1. นายกเทศมนตรี 2. ประธานสภาเทศบาล 3. รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย 4. ผูว้ า่ ราชการจังหวัด 111. ขอ้ ใดจดั เปน็ รายจา่ ยของเทศบาล 1. ค่าจา้ งพนักงาน 2. คา่ วัสดุ 3. ค่าครุภัณฑ์ 4. ถูกทุกขอ้ 105. 3 106. 3 107. 1 108. 2 109. 4 110. 3 111. 4

193 112. การจา่ ยเงินค่าที่ดนิ สง่ิ ก่อสรา้ ง ของเทศบาลต้องได้รับจากอนมุ ตั ิจากผใู้ ด 1. นายกเทศมนตรี 2. ผู้ว่าราชการจังหวัด 3. ปลดั กระทรวงมหาดไทย 4. รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย 113. บุคคลใดมีหน้าท่ีควบคมุ ดูแลเทศบาลในเขตจงั หวัดให้ปฏิบัตติ ามอานาจหนา้ ท่ีโดยถกู ตอ้ ง 1. นายกเทศมนตรี 2. ปลดั จงั หวัด 3. ผ้วู า่ ราชการจังหวดั 4. ปลัดกระทรวงมหาดไทย 114. เมื่อมีการยุบสภาเทศบาล ให้มีการเลอื กต้งั สภาเทศบาลขนึ้ ใหม่ภายในกี่วนั 1. ภายใน 15 วัน 2. ภายใน 30 วัน 3. ภายใน 45 วัน 4. ภายใน 60 วนั 115. หากเทศบาลใดเหน็ จาเปน็ ใหอ้ ยู่ในความควบคมุ ดแู ลของกระทรวงมหาดไทยโดยตรง ใหท้ าอย่างไร 1. ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา 2. ตราเปน็ พระราชบญั ญตั ิ 3. ออกเป็นกฎกระทรวง 4. จัดทาเปน็ เทศบญั ญัติ 116. คณะกรรมการทีป่ รกึ ษาการเทศบาล มหี น้าที่อะไร 1. ดูแล สอดสอ่ ง ควบคมุ การทางานของสภาเทศบาลแนะนายกเทศมนตรี 2. ให้คาปรึกษา เสนอแนะ ตอ่ สภาเทศบาลในการร่างเทศบัญญัติและกฎหมายที่เกย่ี วขอ้ ง 3. ดาเนนิ งานเก่ยี วกับขอ้ กฎหมายการจัดตั้ง การยุบ ยกเลิก หรือการเปล่ยี นสถานภาพเทศบาล 4. ให้คาปรกึ ษาและเสนอขอ้ แนะนาแกร่ ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยเก่ยี วกับกจิ การเทศบาล 117. ประธานคณะกรรมการทีป่ รกึ ษาการเทศบาล คอื ขอ้ ใด 1. อธิบดีกรมการปกครองท้องถิน่ 2. ปลดั กระทรวงมหาดไทย 3. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย 4. ผู้อานวยการส่วนการปกครองทอ้ งถ่ิน 112. 2 113. 3 114. 3 115. 1 116. 4 117. 2

194 118. เลขานุการคณะกรรมการท่ีปรึกษาการเทศบาล คือขอ้ ใด 1. อธิบดกี รมการปกครองท้องถนิ่ 2. ปลัดกระทรวงมหาดไทย 3. รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย 4. ผู้อานวยการสว่ นการปกครองท้องถิน่ 119. กรรมการทป่ี รกึ ษาการเทศบาลซึง่ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยแต่งตัง้ มไี ดก้ ่ีคน 1. ไมเ่ กนิ 3 คน 2. ไมเ่ กนิ 4 คน 3. ไม่เกิน 5 คน 4. ไมเ่ กิน 6 คน 120. ข้อใดกลา่ วไมถ่ กู ต้องเก่ียวกบั คณะกรรมการทปี่ รึกษาการเทศบาล 1. กรรมการที่ปรึกษาการเทศบาลพน้ จากตาแหน่งกอ่ นวาระ ให้รัฐมนตรฯี แต่งตงั้ ผู้อน่ื แทนได้ 2. การประชมุ กรรมการต้องมีผู้มาร่วมประชุมไม่ต่ากวา่ กง่ึ หนง่ึ ของกรรมการจงึ เปน็ องค์ประชุม 3. การวนิ จิ ฉยั มตกิ รณีมีเสยี งเท่ากนั ให้ประธานในที่ประชมุ ออกเสยี งเพิ่มอีกหนึ่งเสียงช้ีชาด 4. กรรมการทีป่ รึกษาการเทศบาลที่รัฐมนตรแี ตง่ ต้ังพน้ จากตาแหนง่ แลว้ ไมอ่ าจรบั การแต่งตง้ั อีก 121. องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั ประกอบด้วยอะไรบา้ ง 1. สภาจังหวัดและนายกองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั 2. สภาองค์การบริหารส่วนจงั หวดั และนายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัด 3. คณะกรรมการบรหิ ารองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั และสภาองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั 4. นายกองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดและคณะกรรมการบริหารองค์การบริหารสว่ นจังหวัด 122. จังหวัดทม่ี รี าษฎรไมเ่ กินห้าแสนคนมสี มาชิกสภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั ไดจ้ านวนเท่าใด 1. 24 คน 2. 30 คน 3. 36 คน 4. 42 คน 123. จังหวัดท่ีมรี าษฎรเกนิ หา้ แสนคนแตไ่ มเ่ กินหน่งึ ลา้ นคนใหม้ สี มาชิกสภาองคก์ ารบรหิ าร สว่ นจงั หวัดไดจ้ านวนเทา่ ใด 1. 24 คน 2. 30 คน 3. 36 คน 4. 42 คน 118. 4 119. 3 120. 4 121. 2 122. 1 123. 2

195 124. จงั หวัดท่มี ีราษฎรเกนิ หนึง่ ล้านคนแต่ไม่เกินหนง่ึ ลา้ นหา้ แสนคนให้มสี มาชกิ สภาองคก์ าร บริหารส่วนจังหวัดไดจ้ านวนเท่าใด 1. 30 คน 2. 36 คน 3. 42 คน 4. 48 คน 125. จังหวดั ที่มรี าษฎรเกนิ หน่ึงล้านหา้ แสนคนแต่ไมเ่ กินสองล้านคนใหม้ สี มาชิกสภาองค์การ บริหารส่วนจงั หวดั ได้จานวนเทา่ ใด 1. 30 คน 2. 36 คน 3. 42 คน 4. 48 คน 126. จังหวดั ท่ีมรี าษฎรเกินสองลา้ นคนให้มสี มาชิกสภาองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดได้จานวนเท่าใด 1. 30 คน 2. 36 คน 3. 42 คน 4. 48 คน 127. สมยั ประชุมสามัญของสภาองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดมีกาหนดกวี่ ัน 1. 15 วนั 2. 30 วัน 3. 45 วนั 4. 60 วัน 128. สมัยประชมุ วิสามัญของสภาองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั มกี าหนดก่ีวัน 1. 7 วัน 2. 10 วนั 3. 15 วัน 4. 30 วนั 129. การประชุมสภาองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั ต้องมผี เู้ ขา้ ร่วมประชุมจานวนเท่าใดถือเปน็ องค์ ประชมุ 1. ไมน่ อ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของสมาชกิ สภา 2. ไม่น้อยกวา่ หนึง่ ในสามของสมาชิกสภา 3. ไม่นอ้ ยกว่าสองในสามของสมาชกิ สภา 4. ไม่นอ้ ยกว่าสามในส่ีของสมาชิกสภา 130. บุคคลใดทาหนา้ ทีค่ วบคุมและรบั ผดิ ชอบราชการในองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั 1. นายกเทศมนตรี 2. นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั 3. ปลัดจงั หวัด 4. ผู้วา่ ราชการจังหวัด 124. 2 125. 3 126. 4 127. 3 128. 1 129. 1 130. 2

196 131. ขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ ูกตอ้ งเก่ยี วกบั สภาองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั 1. สภาองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั มีอายุคราวละ 4 ปี 2. สมาชกิ ภาพของสมาชิกสภาองค์การบริหารสว่ นจังหวัดเริ่มตัง้ แตว่ ันเลือกตงั้ 3. สมาชกิ สภาองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั ในอาเภอหน่ึงมไี ด้เพียงหนง่ึ คนเท่านน้ั 4. สภาองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดมสี มยั ประชุมสามัญสองสมยั ในหนง่ึ ปี 132. ถ้าสภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดใดท่ีมีสมาชิกสภา 48 คน ให้มีรองนายกองค์การบริหาร สว่ นจงั หวัดไดไ้ ม่เกินก่ีคน 1. ไมเ่ กนิ 2 คน 2. ไม่เกนิ 3 คน 3. ไมเ่ กิน 4 คน 4. ไม่เกนิ 5 คน 133. สภาองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ทมี่ ีสมาชกิ สภา 36 หรอื 42 คน ให้มีรองนายกองคก์ าร บรหิ ารสว่ นจังหวัดได้ไม่เกนิ กค่ี น 1. ไม่เกนิ 2 คน 2. ไม่เกิน 3 คน 3. ไม่เกิน 4 คน 4. ไม่เกิน 5 คน 134. สภาองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดท่มี สี มาชกิ สภา 24 หรอื 30 คน ให้มีรองนายกองคก์ าร บริหารส่วนจงั หวัดไดไ้ มเ่ กนิ กคี่ น 1. ไมเ่ กิน 2 คน 2. ไม่เกนิ 3 คน 3. ไม่เกนิ 4 คน 4. ไมเ่ กิน 5 คน 135. นายกองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัด สามารถแตง่ ตัง้ เลขานุการนายกองคก์ ารบริหาร สว่ นจังหวัดและทป่ี รกึ ษานายกองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั ไดไ้ มเ่ กนิ กีค่ น 1. ไม่เกิน 4 คน 2. ไม่เกนิ 5 คน 3. ไม่เกิน 7 คน 4. ไม่เกิน 9 คน 136. บคุ คลใดทาหนา้ ที่บังคับบญั ชาข้าราชการ พนกั งาน และลกู จา้ งในองคก์ ารบรหิ ารสว่ น จังหวดั รองจากนายกองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัด 1. นายกเทศมนตรี 2. ปลัดองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั 3. รองนายกองค์การบริหารสว่ นจงั หวดั 4. ผูว้ า่ ราชการจงั หวดั 131. 3 132. 3 133. 2 134. 1 135. 2 136. 2

197 137. นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัดสามารถลาออกไดโ้ ดยยนื่ ใบลาออกทใี่ คร 1. ปลัดจังหวัด 2. ประธานสภาองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั 3. ผ้วู า่ ราชการจังหวัด 4. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย 138. ข้อใดกลา่ วไม่ถกู ตอ้ งเกี่ยวกับรองนายกองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด 1. นายกองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดมีคาสง่ั ใหพ้ น้ จากตาแหนง่ ได้ 2. ผู้ว่าราชการจงั หวัดมคี าส่ังให้พ้นจากตาแหนง่ ได้ตามมาตรา 79 3. รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทยส่ังใหพ้ น้ จากตาแหน่งได้ตามมาตรา 79 4. พ้นจากตาแหน่งโดยอตั โนมัติหากนายกองค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดพ้นตาแหน่ง 139. องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั มอี านาจออกขอ้ บญั ญัตเิ ก็บภาษบี ารุงองค์การบริหารส่วนจงั หวัด จากการคา้ ใดในเขตจังหวดั ได้ 1. น้ามนั ดเี ซล และ ผลผลิตทางการเกษตร 2. น้ามนั เบนซนิ น้ามันดเี ซล หรือก๊าซปโิ ตรเลยี มทีใ่ ชเ้ ปน็ เชอ้ื เพลงสาหรบั รถยนต์ 3. สนิ คา้ จากบรษิ ัทต่างชาตทิ ่ีเข้ามาประกอบกจิ การภายในจังหวดั เกินกว่าสิบสองเดือน 4. สนิ คา้ อปุ โภค บรโิ ภค จากภาคเกษตรกรรมทผ่ี ลติ และจัดจาหนา่ ยใหก้ ับชาวต่างชาติ 140. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถกู ต้องเกย่ี วกบั การเรียกเกบ็ ภาษอี ากรเพ่มิ ขึ้นขององค์การบริหารสว่ นจังหวดั 1. ยาสูบ จัดเก็บเพมิ่ ข้ึนไดไ้ ม่เกินมวนละ 10 สตางค์ 2. ก๊าซปิโตรเลียม จดั เกบ็ เพมิ่ ขึ้นไดไ้ ม่เกนิ ลติ รละสิบสตางค์ 3. นามันเบนซิน และนา้ มันดีเซล จัดเกบ็ เพิ่มขึน้ ได้ไม่เกนิ ลติ รละสบิ สตางค์ 4. ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตขายสุรา จัดเก็บเพ่ิมขนึ้ ได้ไม่เกินรอ้ ยละสบิ ของคา่ ธรรมเนยี ม 141. ผู้ใดรักษาการตามพระราชบัญญตั ิสภาตาบลและองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล 1. นายกรัฐมนตรี 2. นายกเทศมนตรี 3. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย 4. ผู้วา่ ราชการจังหวดั 137. 3 138. 2 139. 2 140. 2 141. 3

198 142. องค์การบริหารสว่ นตาบลประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง 1. สภาตาบลและนายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล 2. สภาองค์การบริหารส่วนตาบลและนายกองค์การบรหิ ารส่วนตาบล 3. คณะกรรมการบรหิ ารองค์การบริหารสว่ นตาบลและสภาองค์การบริหารส่วนตาบล 4. นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลและคณะกรรมการบรหิ ารองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล 143. สมาชิกสภาตาบล มวี าระอายุคราวละกปี่ ี 1. 2 ปี 2. 4 ปี 3. 5 ปี 4. 6 ปี 144. ประธานสภาตาบล คอื 2. นายอาเภอ 1. บคุ คลผู้ไดร้ บั การเลือกจากสมาชิกสภา 4. แพทย์ประจาตาบล 3. กานนั 145. บคุ คลใดมีอานาจกากบั ดูแลการปฏบิ ัตหิ น้าที่ของสภาตาบลใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายและ ระเบียบขอ้ บังคบั ของทางราชการ 1. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2. นายอาเภอ 3. นายกองค์การบริหารสว่ นตาบล 4. ปลัดอาเภอ 146. การเปล่ยี นสภาตาบลให้เปน็ องค์การบริหารส่วนตาบลทาได้อย่างไร 1. ประกาศของกระทรวงมหาดไทย 2. ตราเป็นพระราชบัญญัติ 3. ตราเปน็ พระราชกฤษฎีกา 4. ออกเป็นพระราชกาหนด 147. องค์การบริหารสว่ นตาบลมฐี านะอย่างไร 2. เป็นนติ บิ ุคคล 1. เป็นราชการบริหารส่วนท้องถิน่ 4. ถูกทั้งข้อ 1 และข้อ 2 3. เปน็ ราชการบรหิ ารส่วนภมู ภิ าค 142. 2 143. 2 144. 3 145. 2 146. 1 147. 4

199 148. ผ้มู สี ิทธริ ับสมัครเลือกตงั้ สมาชกิ สภาองคก์ ารบริหารส่วนตาบลตอ้ งมชี อ่ื อยู่ในทะเบียนบา้ น เขตตาบลน้นั ตดิ ตอ่ กนั กี่ปี 1. ไม่น้อยกวา่ 1 ปี 2. ไม่น้อยกว่า 2 ปี 3. ไม่น้อยกวา่ 4 ปี 4. ไมน่ อ้ ยกวา่ 5 ปี 149. สมาชิกสภาองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล สามารถลาออกโดยยืน่ หนังสอื ลาออกต่อบุคคลใด 1. นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล 2. กานัน 3. นายอาเภอ 4. ประธานสภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล 150. การประชุมสภาองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดมผี เู้ ขา้ รว่ มประชมุ จานวนเทา่ ใดถอื เป็นองคป์ ระชมุ 1. ไม่นอ้ ยกว่ากง่ึ หน่ึงของสมาชกิ สภา 2. ไม่นอ้ ยกวา่ หน่งึ ในสามของสมาชกิ สภา 3. ไมน่ ้อยกว่าสองในสามของสมาชกิ สภา 4. ไมน่ ้อยกวา่ สามในสี่ของสมาชิกสภา 151. บคุ คลใดทาหน้าทค่ี วบคุมและรบั ผิดชอบราชการในองคก์ ารบริหารส่วนตาบล 1. ประธานสภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล 2. นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล 3. กานัน 4. นายอาเภอ 152. สมยั ประชุมสามัญของสภาองค์การบริหารส่วนตาบลมีกาหนดระยะเวลาเท่าใด 1. ไม่เกิน 10 วัน 2. ไมเ่ กิน 15 วนั 3. ไมเ่ กนิ 30 วัน 4. ไม่เกนิ 45 วัน 153. รองนายกองค์การบรหิ ารส่วนตาบลมีได้กคี่ น 4. ไม่เกนิ 5 คน 1. ไม่เกิน 2 คน 2. ไมเ่ กนิ 3 คน 3. ไมเ่ กนิ 4 คน 154. บคุ คลใดเปน็ ผบู้ ังคับบญั ชาพนักงานและลูกจา้ ง องค์การบริหารส่วนตาบล รองจากนายก องค์การบริหารส่วนตาบล 1. รองนายกองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล 2. ประธานสภาองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล 3. นายอาเภอ 4. ปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล 148. 1 149. 3 150. 1 151. 2 152. 2 153. 1 154. 4

200 155. นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล สามารถแตง่ ตง้ั เลขานุการนายกองค์การบริหารสว่ นตาบลได้ กีค่ น 2. ไม่เกนิ 2 คน 3. ไม่เกนิ 3 คน 4. ไม่เกนิ 4 คน 1. 1 คน 156. ขอ้ ใดไมใ่ ชล่ ักษณะต้องหา้ มของนายกและรองนายกองค์การบริหารส่วนตาบล 1. ดารงตาแหนง่ ในหน่วยงานของรัฐหรือรฐั วิสาหกิจ 2. รบั เงนิ พิเศษหรอื ประโยชนอ์ ืน่ ใดเป็นพิเศษจากสว่ นราชการ 3. เป็นผมู้ ีสว่ นไดเ้ สียกบั กิจการที่กระทาใหแ้ ก่องค์การบริหารส่วนตาบล 4. เปน็ เจ้าของบรษิ ทั เอกชนท่ดี าเนนิ การใช้เขตองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล 157. ข้อใดเป็นอานาจหน้าท่ีขององค์การบริหารส่วนตาบล 1. สง่ เสรมิ กล่มุ เกษตรกรและจัดใหม้ ีกิจการสหกรณ์ 2. บารงุ รักษาศลิ ปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถ่นิ 3. หาผลประโยชนจ์ ากทรัพยส์ ินขององค์การบรหิ ารสว่ นตาบล 4. จัดใหม้ กี ารเลือกตงั้ ผู้ใหญ่บ้านและผู้ช่วยผูใ้ หญบ่ า้ นของแต่ละหมู่บ้าน 158. ภาษหี รอื ค่าธรรมเนยี มข้อใดเป็นรายไดข้ ององค์การบริหารส่วนตาบล 1. ภาษีบารงุ ท้องที่ ภาษีโรงเรอื นและทีด่ ิน 2. คา่ ธรรมเนียมใบอนุญาตขายสุราตามกฎหมาย 3. คา่ ธรรมเนยี มใบอนญุ าตเล่นการพนันตามกฎหมาย 4. ถูกทุกข้อ 159. ขอ้ ใดเป็นรายจ่ายขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล 1. เงนิ เดือนเจ้าพนกั งาน 2. คา่ ทด่ี นิ สง่ิ กอ่ สรา้ ง 3. คา่ สาธารณปู โภค 4. ถกู ทุกข้อ 155. 1 156. 4 157. 2 158. 4 159. 4


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook