Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ##ebook_คู่มือวิทยานิพนธ์ มจร. (2561)

##ebook_คู่มือวิทยานิพนธ์ มจร. (2561)

Published by Kasem S. Kdmbooks, 2021-09-18 05:45:16

Description: ##ebook_คู่มือวิทยานิพนธ์ มจร. (2561)

Search

Read the Text Version

ค่มู ือดษุ ฎีนพิ นธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ ISBN 978-974-364-758-1 พมิ พค์ รั้งแรก กรกฎาคม ๒๕๓๔ จานวน ๕๐๐ เลม่ พมิ พ์ครั้งที่ ๒ กนั ยายน๒๕๔๓ จานวน ๑,๐๐๐ เลม่ พมิ พ์ครั้งท่ี ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๘ จานวน ๑,๐๐๐ เล่ม พมิ พค์ รั้งที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๑ จานวน ๑,๐๐๐ เลม่ พมิ พค์ รง้ั ที่ ๕ กนั ยายน ๒๕๕๓ จานวน ๑,๐๐๐ เลม่ พิมพ์ครง้ั ที่ ๖ กันยายน ๒๕๕๖ จานวน ๑,๐๐๐ เลม่ พิมพค์ ร้งั ที่ ๗ กันยายน ๒๕๖๑ จานวน ๑,๕๐๐ เล่ม ออกแบบปก: นายไพฑูรย์ อุทัยคาม จดั รปู เลม่ : นายไพฑูรย์ อุทัยคาม พิสูจนอ์ กั ษร: นางนภาพทั ธ์ งามบุษบงโสภิน บรรณาธกิ าร: พระมหาสมบรู ณ์ วฑุ ฺฒกิ โร, ดร. คณบดบี ัณฑิตวิทยาลยั พระมหาดนัยพชั ร์ คมฺภรี ปญโฺ , ดร. รองคณบดบี ณั ฑติ วทิ ยาลยั ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ประพนั ธ์ ศุภษร รองคณบดบี ัณฑิตวทิ ยาลยั พระมหาสันติ ธีรภทโฺ ท, ดร. เลขานกุ ารสานกั งานคณบดบี ัณฑติ วิทยาลัย คณะกรรมการแกไ้ ขและปรบั ปรงุ ในการจดั พมิ พ์ครัง้ ที่ ๗ พระมหานพรตั น์ อภิชชฺ โว พระมหาธนวฒุ ิ โชตธิ มฺโม พระมหาเสถยี ร สุทธฺ ิสทฺโธ พระอทุ ศิ อาสภจติ ฺโต ดร.ทองดี ศรตี ระการ ดร.ลาพอง กลมกูล นายไพฑรู ย์ อทุ ัยคาม ผศ. ดร.เกยี รตศิ ักดิ์ สขุ เหลอื ง นางนภาพัทธ์ งามบษุ บงโสภิน จดั พมิ พ์โดย: บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั พมิ พท์ ่ี: โรงพิมพม์ หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั

คำนำ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้ออกระเบียบบัณฑิต วิทยาลัยว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์ พุทธศักราช ๒๕๓๓ และได้จัดพิมพ์คู่มือวิทยานิพนธ์ เป็นคร้ังแรกในปีพุทธศักราช ๒๕๓๔ ต่อมา ได้ออกระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการปฏิบัติเก่ียวกับวิทยานิพนธ์ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และ ระเบียบว่าด้วยวิธีปฏิบัติเก่ียวกับสารนิพนธ์ ๒๕๕๐ ดังนั้น เพื่อให้การทาวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ เป็นไปอย่างถูกต้องตามระเบียบดังกล่าว บัณฑิตวิทยาลัยได้ดาเนินการปรับปรุงคู่มือกา รทา วิทยานิพนธ์ฉบับท่ีจัดพิมพ์เมื่อปี ๒๕๔๘ โดยได้เพ่ิมเติมรูปแบบการทาสารนิพนธ์เข้าไปแล้วจัดพิมพ์ เปน็ ครัง้ ท่ี ๔ ในปี ๒๕๕๑ ต่อมา บัณฑิตวิทยาลัยเห็นว่า รูปแบบการทาวิทยานิพนธ์ของนิสิตมีหลากหลายมากข้ึน ทั้งเชิงปริมาณ คุณภาพ เอกสาร และผสานวิธี จึงได้ดาเนินการปรับปรุงคู่มือการทาวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ให้สอดรับกับความหลากหลายในการทาวิทยานิพนธ์ของนิสิต แล้วดาเนินการจัดพิมพ์ เป็นคร้ังที่ ๕ ในงานสัมมนาวิชาการผลงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ดีเด่น เมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓ และต่อมาในปีการศึกษา ๒๕๕๕ ต่อเนื่องปีการศึกษา ๒๕๕๖ บัณฑิตวิทยาลัยได้ ดาเนินการปรับปรุงคู่มือวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์เพ่ิมเติม เพื่อจัดพิมพ์เผยแพร่ในงานสัมมนา ผลงานวิจัยและวิทยานิพนธด์ เี ด่น วนั ท่ี ๒๒ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ นบั เป็นการจดั พมิ พ์ครงั้ ที่ ๖ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้มีการแก้ไข และปรับปรุงคู่มอื วิทยานิพนธ์ฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๖ เพ่ือให้ มีความถูกต้องและสมบูรณ์ย่ิงขึ้น โดยยึดตามโครงสร้างเดิม และได้มีการจัดทารูปแบบการตรวจ วิทยานิพนธ์ที่ถูกต้องโดย ดร.ศศิวรรณ กาลังสินเสริม ฉบับนี้ยังไม่ได้มีการจัดพิมพ์เผยแพร่เนื่องจาก อยรู่ ะหวา่ งปรับแผนการศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา ตอ่ มา ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ต่อเนื่องปีการศึกษา ๒๕๕๙ ได้มีการแกไ้ ขรปู แบบ และตัวอย่าง ในส่วนนาให้สอดคล้องกับรูปแบบการเสนอขออนุมัติจบการศึกษาต่อสภามหาวิทยาลัย และเพ่ิม รูปแบบและตัวอย่างบทความวิชาการและบทวิจารณ์หนังสือ มีการนาไปจัดพิมพ์เป็นการเฉพาะใน วาระปฐมนเิ ทศนสิ ิตใหม่ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙ เพ่ือเปน็ แนวทางใหแ้ ก่นิสิตบางหลักสูตรเทา่ นน้ั นับตั้งแต่คู่มือวิทยานิพนธ์ฉบับแรก ได้ตีพิมพ์ออกเผยแพร่ ในปี ๒๕๓๔ ถึง พ.ศ. ๒๕๖๐ รวม ๒๖ ปี ปัจจุบันเป็นฉบับที่ ๗ ได้ผ่านการแก้ไข ปรับปรุง เพ่ือให้สอดรับกับการเปล่ียนแปลงตาม กรอบการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา วัตถุประสงค์หลักของการเปล่ียนแปลงในแต่ละฉบับ คือ เพือ่ ให้สว่ นจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษายึดเป็นแนวทาง และถือปฏิบตั ิให้เป็นไปในทิศทางเดยี วกัน และเพื่อให้สอดคล้องกับเกณฑ์การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ตามมาตรฐานของสานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ที่มกี ารเปลยี่ นแปลงอยู่เสมอ

คู่มือฉบับนี้มีความสมบูรณ์ทั้งในส่วนเน้ือหา รูปแบบ และตัวอย่างท่ีให้คาอธิบายที่ ใกล้เคียงกับโปรแกรมในการจัดพิมพ์มากที่สุด นอกจากนั้น ส่ิงสาคัญท่ีทาให้คู่มือฉบับนี้มีความ สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น คือการจัดให้มีการสัมมนาความร่วมมือของภาคส่วนต่าง ๆ ท่ีจัดการศึกษาระดับ บณั ฑิตศึกษาเพอ่ื ระดมความคิดเห็น และมสี ่วนร่วมในการแก้ไขขอ้ บกพร่องและทาความเข้าใจร่วมกัน นอกจากน้ี ยังได้เชิญผู้เชยี่ วชาญด้านการวจิ ยั ท้ังเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพมาประชมุ ร่วมและมีการแก้ไข หลายครงั้ จนทาให้คู่มอื ฉบบั นีม้ ีมาตรฐานเป็นไปตามเกณฑ์การวิจัยทั้งเชงิ คุณภาพและปริมาณ ในฐานะคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ขอขอบคุณ คณะทางานของบัณฑิตวิทยาลัยและบัณฑิตศึกษาทุกท่าน ที่ได้เสียสละเวลาเข้าร่วมประชุม และสัมมนาเพื่อร่วมกันแก้ไข ปรับปรุง และดาเนินการจนสาเร็จเป็นรูปเล่มท่ีสมบูรณ์พร้อมจัดพิมพ์ เผยแพร่อนั จักเออื้ ประโยชน์ตอ่ การศึกษาและเปน็ แนวทางสาหรบั คณาจารย์ เจ้าหน้าทแี่ ละนิสิตต่อไป (พระมหาสมบรู ณ์ วุฑฺฒิกโร, ดร.) คณบดีบัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คู่มอื ดุษฎีนพิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนิพนธ์ ระดับบณั ฑิตศกึ ษา I ก สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก สารบญั บทนา ๑ บทที่ ๑ การเขียนโครงรา่ งดษุ ฎนี ิพนธ์และสารนพิ นธ์ ๓ ๑.๑ ชือ่ เร่ือง (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) ๓ ๑.๒ ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา ๓ ๑.๓ คาถามวจิ ัย ๔ ๑.๔ วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย ๔ ๑.๕ ขอบเขตการวิจัย ๔ ๑.๖ สมมติฐานการวจิ ัย (ถา้ มี) ๖ ๑.๗ นยิ ามศพั ท์เฉพาะท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ๖ ๑.๘ ทบทวนเอกสารและงานวิจัยทเี่ กีย่ วขอ้ ง ๗ ๑.๙ กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั ๘ ๑.๑๐ วธิ ีดาเนินการวจิ ยั ๙ ๑.๑๑ ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ บั ๑๑ ๑.๑๒ สารบญั (ชว่ั คราว) ๑๒ ๑.๑๓ บรรณานกุ รม ๑๒ ๑.๑๔ ประวัตผิ ู้วจิ ยั ๑๓ ๑.๑๕ เชิงอรรถ ๑๓ ตัวอยา่ งโครงร่างและโครงสร้างดษุ ฎนี ิพนธ์ วิทยานพิ นธ์และสารนพิ นธ์ ๑๓ ๑๔ รูปแบบปกนอกโครงร่างดุษฎีนพิ นธ์/วทิ ยานิพนธ์ ๑๕ ตัวอยา่ งปก โครงร่างดุษฎนี พิ นธ์ ๑๖ ตวั อยา่ งปก โครงร่างวิทยานิพนธ์ ๑๗ ๑๘ รูปแบบปก โครงร่างสารนิพนธ์ ปริญญาเอก ๑๙ ตวั อยา่ งปก โครงรา่ งสารนพิ นธ์ ปริญญาเอก ๒๐ รปู แบบปก โครงร่างสารนิพนธ์ ปริญญาโท ๒๑ ตัวอยา่ งปก โครงร่างสารนิพนธ์ ปริญญาโท ๒๓ รูปแบบสว่ นเนื้อหาโครงรา่ งดุษฎีนพิ นธ์/วทิ ยานิพนธ์/สารนิพนธ์ (เชิงคุณภาพ/เอกสาร) รูปแบบสว่ นเนอ้ื หา โครงร่างดุษฎนี พิ นธ/์ วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์ [เชิงปริมาณ/แบบผสมวธิ ี] ในกรณีท่ีจัดสอบโครงร่างฯ จานวน ๓ บท

ข I บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย แนวทางการเขยี นโครงรา่ งฯ ๒๗ รปู แบบสารบญั (ชัว่ คราว) ๓๐ รูปแบบบรรณานกุ รม (ชั่วคราว) ๓๒ รปู แบบประวัตผิ ู้วจิ ัย ๓๓ บทท่ี ๒ การเขียนดุษฎนี พิ นธ์ วิทยานพิ นธ์และสารนพิ นธ์ ๓๔ สว่ นประกอบของดุษฎนี ิพนธ์/วิทยานพิ นธแ์ ละสารนิพนธ์ ๓๔ ส่วนที่ ๑: ส่วนนา ๓๔ ๓๔ ๑.๑ ปกนอก ๓๔ ๑.๒ ปกใน ๓๕ ๑.๓ หน้าอนมุ ตั ิ ๓๕ ๑.๔ บทคดั ย่อ ๓๕ ๑.๕ กติ ติกรรมประกาศ ๓๕ ๑.๖ สารบญั ๓๕ ๑.๗ สารบัญตาราง (ถ้าม)ี ๓๕ ๑.๘ สารบญั ภาพ (ถา้ มี) ๓๕ ๑.๙ คาอธิบายสัญลกั ษณ์และคาย่อ ๕๓ รูปแบบสว่ นนาดุษฎีนิพนธ์/วทิ ยานิพนธ/์ สารนิพนธ์ ๕๓ ปกนอก ดุษฎีนพิ นธ์/วทิ ยานิพนธ์/ ปรญิ ญาเอกและปรญิ ญาโท ๕๔ ปกในที่ ๑ ภาษาไทย ดษุ ฎนี พิ นธ์/วทิ ยานพิ นธ์ ปรญิ ญาเอกและปรญิ ญาโท ๕๕ ปกในท่ี ๒ ภาษาอังกฤษ ดุษฎีนพิ นธ์ ระดับปรญิ ญาเอก ๕๖ ปกในท่ี ๒ ภาษาอังกฤษ วทิ ยานิพนธ์ ระดบั ปริญญาโท ๕๗ ปกนอก สารนิพนธ์ ระดับปริญญาเอก ๕๘ ปกในที่ ๑ ภาษาไทย สารนิพนธ์ ระดับปรญิ ญาเอก ๕๙ ปกในท่ี ๒ ภาษาอังกฤษ สารนิพนธ์ ระดับปริญญาเอก ๖๐ รูปแบบ หนา้ อนมุ ตั ิ ดุษฎีนพิ นธ์และวิทยานพิ นธ์ ระดับปริญญาโท/เอก ๖๑ รปู แบบ หนา้ อนุมัติ สารนิพนธ์ ระดับปรญิ ญาเอก ๖๒ รปู แบบ บทคดั ย่อภาษาไทย ดษุ ฎนี พิ นธ์ ระดับปริญญาเอก ๖๓ รปู แบบ บทคดั ย่อภาษาไทย วทิ ยานพิ นธ์ ระดับปรญิ ญาโท ๖๔ รูปแบบ บทคดั ย่อภาษาองั กฤษ ดุษฎนี พิ นธ์ ระดบั ปริญญาเอก ๖๕ รปู แบบ บทคดั ย่อภาษาอังกฤษ วทิ ยานิพนธ์ ระดบั ปริญญาโท ๖๖ รูปแบบ บทคดั ย่อภาษาไทย สารนพิ นธ์ ระดับปรญิ ญาเอก ๖๗ รูปแบบ บทคัดย่อภาษาอังกฤษ สารนพิ นธ์ ระดบั ปริญญาเอก ๖๘ ตัวอยา่ ง บทคดั ย่อภาษาไทย ดษุ ฎีนิพนธ์ ระดับปริญญาเอก ๖๙ ตัวอยา่ ง บทคดั ย่อภาอังกฤษ ดษุ ฎีนพิ นธ์ ระดับปรญิ ญาเอก

คมู่ ือดษุ ฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ ระดับบัณฑติ ศกึ ษา I ค รูปแบบ กติ ตกิ รรมประกาศ ๗๐ รปู แบบ สารบัญ [เชงิ คุณภาพ/เอกสาร] ๗๑ รปู แบบ สารบัญ [เชงิ คุณภาพ/ภาคสนาม] ๗๓ รูปแบบ สารบัญ [เชิงปรมิ าณ] ๗๕ รปู แบบ สารบัญ [แบบผสมวิธี] ๗๗ รูปแบบ คาอธบิ ายสัญลักษณ์และคาย่อ ๗๙ ๘๐ ตวั อยา่ ง สันปก ๘๑ สว่ นท่ี ๒: ส่วนเนื้อเรอ่ื ง ๘๑ ๒.๑ บทนา (Introduction) ๘๑ ๒.๒ ตวั เร่ือง (Chapters) ๘๑ ๒.๓ ข้อสรุปหรือข้อเสนอแนะ (Conclusion or Suggestion) ๘๑ สว่ นที่ ๓: ส่วนทา้ ย ๘๑ ๓.๑ ส่วนอ้างอิง/บรรณานุกรม (Bibliography) ๘๒ ๓.๒ ภาคผนวก (Appendix) ๘๒ ตวั อย่างภาคผนวก ๘๖ ๓.๓ ประวตั ิผู้วิจยั (Biography) ๘๗ บทที่ ๓ การจดั พิมพ์ดุษฎนี พิ นธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ ๘๗ ๓.๑ กระดาษสาหรับใชพ้ ิมพ์ ๘๗ ๓.๒ ตัวอกั ษร (fonts) ๘๙ ๓.๓ การวางรปู หน้ากระดาษและการขึ้นบรรทดั ใหม่ ๙๐ ๙๑ ตวั อย่างการวางรูปหน้ากระดาษสาหรบั กระดาษ ขนาด เอ ๔ ๙๒ ตัวอย่างการต้ังค่าหน้ากระดาษ ๙๒ ๓.๔ ระยะการพิมพ์ ๙๓ ๓.๕ การยอ่ หนา้ ๙๓ ๓.๖ การขน้ึ หน้าใหม่ ๙๔ ตวั อยา่ งการพมิ พ์ข้อความที่คัดลอกมายาวเกิน ๓ บรรทัดและเชิงอรรถ ๙๔ ๓.๗ การลาดับหน้าและการพิมพเ์ ลขหนา้ ๙๕ ๓.๘ การพิมพ์บทหรือภาคและหวั ข้อในบท ๙๗ ๙๘ รูปแบบการลาดบั หัวข้อย่อย แบบ ก แบบ ข ๙๘ ตวั อย่างการลาดบั หัวข้อใหญ่-หัวขอ้ ยอ่ ย ๙๙ ๓.๙ ตาราง กราฟ แผนภมู ิ และรปู ประกอบต่าง ๆ ๑๐๑ ตวั อย่าง การพิมพ์ตารางทีม่ ีความยาวเกินหนึง่ หนา้ ๑๐๑ ตวั อย่าง การพิมพ์ตารางซ่ึงอยู่ในหนา้ เดียวกบั เนอ้ื เร่อื ง ๓.๑๐ การเว้นระยะการพมิ พ์หลังเครอ่ื งหมายวรรคตอน วธิ ีการใส่เครอื่ งหมายวรรคตอน

ง I บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หลักเกณฑ์การเว้นวรรคและไมเ่ วน้ วรรค ๑๐๑ ตัวอย่าง การเวน้ วรรคและไม่เวน้ วรรคตาแหนง่ ทางวิชาการและคานาหนา้ ชื่อบุคคล ๑๐๕ บทที่ ๔ การอ้างอิงและการเขยี นเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม ๑๐๖ ๔.๑ เชงิ อรรถ (Footnote) ๑๐๖ ๔.๑.๑ การพิมพเ์ ชงิ อรรถ ๑๐๖ ตัวอย่างการพมิ พ์เชิงอรรถ ๑๐๖ ๔.๑.๒ การเรียงลาดับเลขของเชิงอรรถ ๑๐๗ รปู แบบการลงเชิงอรรถในแต่ละประเภท ๑๐๗ ๑) คัมภีรพ์ ระไตรปิฎกหรือหนังสือสาคญั พิมพ์เป็นชดุ ๑๐๗ ๒) หนังสอื ๑๐๘ ๒.๑) หนงั สอื ท่ัวไป (General Books) ๑๐๘ ๒.๒) หนงั สอื แปล (Translated Books) ๑๐๙ ๓) บทความ ๑๐๙ ๓.๑) บทความจากหนงั สือรวมบทความ (Articles from the Books Edited) ๑๐๙ ๓.๒) บทความในวารสาร (Articles in the Journals) ๑๑๐ ๓.๓) บทความในหนงั สือพิมพ์ (Columns in the Newspaper) ๑๑๐ ๓.๔) บทความในสารานกุ รม (Articles in the Encyclopedia) ๑๑๐ ๓.๕) บทวิจารณ์หนงั สือ (The Critic of Books) ๑๑๑ ๔) ดุษฎนี ิพนธ์/วิทยานพิ นธ์ (Dissertation/Thesis) ๑๑๑ ๕) รายงานวจิ ยั ๑๑๒ ๖) เอกสารอ่ืน ๆ ทไี่ มไ่ ดต้ ีพิมพ์ (Unprinted Documents) ๑๑๒ ๗) สัมภาษณ์ (Interviews) ๑๑๒ ๘) ระเบียบ คาสัง่ ข้อบงั คับ กฎหมาย พระราชบญั ญัติ ฯลฯ ทไี่ มป่ รากฏผแ้ ตง่ ๑๑๓ ๔.๑.๓ การลงเชิงอรรถ เมอื่ อ้างถึงเอกสารซ้า ๑๑๓ ตัวอยา่ งเชิงอรรถภาษาไทย ๑๑๔ ตวั อย่างเชิงอรรถภาษาองั กฤษ ๑๑๔ ตวั อย่างการใช้อัญประกาศสาหรบั อา้ งแบบสัน้ และเชงิ อรรถ ๑๑๔ ๔.๑.๔ เชงิ อรรถประเภทสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ ๑๑๔ ๑) แผ่นดสิ เกต็ และซีดี-รอมที่เปน็ ผลงานเดยี่ ว ๑๑๔ ๒) สาระสังเขปบนซดี ี-รอม ๑๑๕ ๓) บทความ/สาระสังเขปออนไลน์ ๑๑๕ ๔) บทความในวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ๑๑๕ ๕) บทความในหนังสือพิมพ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ๑๑๕ ๖) ไปรษณยี ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ๑๑๖

คู่มือดุษฎีนพิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดับบัณฑติ ศกึ ษา I จ ๔.๒ การทาบรรณานกุ รม ๑๑๖ ๔.๒.๑ รปู แบบการทาบรรณานุกรม ๑๑๗ ๑) คมั ภรี ์พระไตรปฎิ กและหนงั สือท่วั ไป ๑๑๗ ๒) หนังสือแปล ๑๑๘ ๓) บทความ ๑๑๘ ๓.๑) บทความวารสาร ๑๑๘ ๓.๒) บทความในหนังสอื พิมพ์ ๑๑๘ ๓.๓) บทความในสารานกุ รม ๑๑๙ ๓.๔) บทความจากหนงั สือรวบรวมบทความ ๑๑๙ ๓.๕) บทวจิ ารณ์หนังสือ ๑๑๙ ๔) ดุษฎีนพิ นธ์/วิทยานิพนธ์ ๑๑๙ ๕) เอกสารอื่น ๆ ท่ไี ม่ได้ตีพิมพ์ ๑๒๐ ๖) บทสมั ภาษณ์ ๑๒๐ ๗) จลุ สาร เอกสารอัดสาเนา และเอกสารท่ไี ม่ได้ตีพมิ พ์อื่น ๆ ๑๒๐ ๔.๒.๒ ตวั อย่างการพิมพ์บรรณานกุ รม ๑๒๑ ๑๒๔ ๔.๓ การทาภาคผนวก ๑๒๕ ตัวอย่างการทาภาคผนวก ๑๒๖ ภาคผนวก ก ๑๒๖ ข้นั ตอนการปฏิบัตเิ ก่ยี วกบั ดุษฎีนิพนธ์ วทิ ยานพิ นธ์และสารนิพนธ์ ขนั้ ตอนการเสนอขออนุมัตหิ วั ขอ้ และโครงร่างดุษฎีนพิ นธ์ วิทยานิพนธ์ ๑๒๖ และสารนิพนธ์ ๑๒๗ ขน้ั ตอนการเสนอขอตรวจรปู แบบดุษฎนี พิ นธ์ วทิ ยานพิ นธ์และสารนพิ นธ์ ๑๒๗ ขน้ั ตอนการเสนอขอสอบดุษฎีนพิ นธ์ วทิ ยานพิ นธแ์ ละสารนิพนธ์ ๑๒๗ ขนั้ ตอนการสอบและส่งดษุ ฎีนิพนธ์ วทิ ยานิพนธแ์ ละสารนิพนธ์ฉบับสมบรู ณ์ ๑๒๙ แผนภูมิแสดงข้นั ตอนเกี่ยวกับดุษฎนี ิพนธ์ วทิ ยานพิ นธ์และสารนพิ นธ์ ๑๒๙ การเสนอขอสอบโครงรา่ งดษุ ฎนี ิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ ๑๓๐ การเสนอขอตรวจรูปแบบดุษฎนี ิพนธ์ วิทยานิพนธแ์ ละสารนิพนธ์ ๑๓๑ การเสนอขอสอบดุษฎีนพิ นธ์ วทิ ยานิพนธแ์ ละสารนิพนธ์ ๑๓๒ การสอบและส่งดุษฎีนิพนธ์ วทิ ยานพิ นธแ์ ละสารนิพนธ์ฉบับสมบรู ณ์ ๑๓๓ บันไดสู่ความเป็นดุษฎบี ัณฑิต ๑๓๔ ภาคผนวก ข ๑๓๔ ตารางเทียบขนาดอักษร

ค่มู อื ดุษฎนี ิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนพิ นธ์ ระดบั บณั ฑิตศึกษา I ๑ บทนา ปัญหาหลักในการทาดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์คือส่วนใหญ่ทราบว่าตนเอง ต้องการทาเร่ืองอะไร แต่ไม่ทราบว่าจะเร่ิมต้น หรือวางกรอบแนวคิดอย่างไร รวมถึงจะเริ่มจากส่วน ไหนก่อน เพ่ือให้ได้โครงร่างที่พร้อมจะขออนุมัติหัวข้อและโครงร่างต่อบัณ ฑิตวิทยาลัย หรอื บณั ฑิตศึกษา ประเด็นต่อมาคือไม่มีต้นแบบที่ยึดเป็นแนวทางเดียวกัน ความหลากหลายของรูปแบบท่ี ต่างคนตา่ งคดิ และตา่ งทา ทาให้เกิดปัญหาความลา่ ชา้ ในการแกไ้ ข ทั้งแกเ่ จ้าหนา้ ท่ีและนิสิตซ่งึ ต้องการ ความถูกตอ้ ง ชดั เจน และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ประเด็นสุดท้ายคือไม่ทราบแนวทางและขั้นตอนในทางปฏิบัติ เร่ิมตั้งแต่การเลือก ท่ปี รึกษา การเสนอขออนุมัติ การลงทะเบียน และขอการสอบ ทาให้เกิดความล่าช้าเน่ืองจากไม่ทราบ ว่าข้ันตอนใดควรทาก่อน ขั้นตอนใดจะต้องทาภายหลัง และจะกระทาอะไรต่อไปเมื่อส้ินสุดขั้นตอนน้ี แล้ว คู่มือฉบับนี้ ได้มีการแก้ไขส่วนต่าง ๆ ท่ียังคลุมเครือให้ชัดเจนขึ้น โดยการยกตัวอย่าง ประกอบ และได้เพ่ิมตัวอย่างการตั้งค่าการพิมพ์อย่างเป็นขั้นตอน และมีการพัฒนารูปแบบการวิจัย ให้ครอบคลุมท้ังแบบผสานวิธี เชิงคุณภาพล้วนและเชิงปริมาณตามทฤษฎีการวิจัยโดยผู้เชี่ยวชาญ การวิจัย โครงสร้างของคู่มือประกอบด้วย ๑) แนวคิดเก่ียวกับการเขียนโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ร่วมถึงตัวอย่างหน้าปก ๒) การเขียนดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และ สารนิพนธ์ในภาคปฏิบัติ ประกอบด้วยส่วนย่อยคือส่วนนา ส่วนเน้ือเร่ือง และส่วนท้าย ๓) รายละเอียดในการจดั พิมพ์รูปเลม่ ๔) การเขียนอ้างองิ ตามประเภทเอกสาร และ ๕) เอกสารแสดง ขั้นตอนการปฏิบัติและหลักเกณฑ์การเทียบขนาดอักษรที่ใช้ประกอบคู่มือเล่มนี้ ซึ่งจัดเป็นภาคผนวก ทา้ ยเล่ม ด้วยเหตุผลดังกล่าว คู่มือฉบับน้ี จึงเปรียบเสมือนกุญแจนาไปสู่ความสาเร็จในการทา ดุษฎนี ิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ นับต้ังแต่แนวคิดในการตั้งชื่อเร่ือง จนกระทั่งจบกระบวนการ พิมพ์เป็นรูปเล่มที่สมบูรณ์ ท้ังน้ี รูปแบบส่วนนา กล่าวคือ หน้าปก หน้าอนุมัติ และบทคัดย่อ ภาษาไทย-ภาษาองั กฤษ ยังไดร้ ับการแก้ไขใหต้ รงกับรปู แบบส่วนนาและเอกสารประกอบสาหรบั เสนอ ต่อสภาวิชาการและสภามหาวิทยาลัยในขั้นตอนการขอสาเร็จการศึกษา ซ่ึงนับเป็นประโยชน์อย่างย่ิง ตอ่ ผ้ใู ครต่ ่อความสาเร็จในการศกึ ษาและผ้ทู ่สี นใจศกึ ษาในอนาคต

๒ I บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ข้ันตอนการเสนอขอสอบโครงร่างดุษฎีนพิ นธ์ วทิ ยานพิ นธ์ และสารนิพนธ์ (๑) นิสิตขอแบบคารอ้ งโครงรา่ งฯ (บฑ ๘) จากบณั ฑติ วทิ ยาลัย/ศนู ยบ์ ณั ฑติ ศึกษา (๒) กรอกรายละเอียดตามคารอ้ งในหน้าแรก (ระบุหมายเลขโทรศพั ท์ทีต่ ดิ ตอ่ ไดส้ ะดวกใหช้ ัดเจน) ขอลายเซน็ จากประธานกรรมการควบคมุ ดษุ ฎีนพิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ (๓) สง่ สาเนาโครงร่างฯ แกบ่ ณั ฑติ วิทยาลยั /ศนู ยบ์ ณั ฑติ ศกึ ษาดุษฎีนิพนธแ์ ละวทิ ยานพิ นธ์ จานวน ๖ ฉบับ/ สารนพิ นธ์ ๔ ฉบบั (สารนิพนธอ์ นมุ ตั ิหวั ข้อโดยการพิจารณาของคณะกรรมการประจาบณั ฑติ วิทยาลยั /บณั ฑติ ศึกษา ไม่มกี ารจดั สอบหรอื เขา้ สอบเหมือนดุษฎนี พิ นธ์ และวทิ ยานพิ นธ์) (๔) เข้าสอบตามวันเวลาและหอ้ ง ตามประกาศกาหนดสอบ/ (ดปู ระกาศฯ) (๕) ภายหลงั สอบหวั ข้อและโครงร่างฯ ๑. ให้แกไ้ ขตามมตคิ ณะกรรมการ ๒. ส่งเล่มแก้ไขฉบับสมบูรณ์ ๒ เล่ม (แนบ บฑ ๘.๑ สาหรับดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ บฑ ๘.๒ สาหรับ สารนิพนธ)์ พรอ้ มลายเซ็นกรรมการควบคุมและกรรมการท่ีได้รับมอบหมายให้ดแู ลการแก้ไขหัวข้อ แผนภูมิแสดงข้นั ตอน ทหี่ นา้ ปกโครงร่างฯ ๓. ปลงรทะะกเาบศยีอนนกดมุ าษุ ัตรฎหิ เนีวัสิพขน้อนอแธขล์ วะอทิ โตคยรรางวนรพจิ า่ นรงดูปธษุ์ แแฎลบีนะบพิสดนารุษธน์ ฎวพิ ิทนี นยพิธา์ นน(บพิธฑน์ วธ๙ิท์ )แยลาะนสาิพรนนพิธน์/สธ์ารนพิ นธ์ ๔.

คู่มือดษุ ฎนี พิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนิพนธ์ ระดบั บณั ฑิตศึกษา I ๓ บทท่ี ๑ การเขยี นโครงรา่ งดษุ ฎนี ิพนธ์ วทิ ยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ โครงร่างดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์เป็นแผนการทางานท่ีนิสิตเขียนข้ึน เพื่อให้เห็นทิศทางหรือแนวทางการทางานทางวิชาการของตน ส่วนใหญ่เนื้อหาของโครงร่างจะให้ เหตุผลว่า ทาไมถึงทาวิจัยเร่ืองน้ัน มีประเด็นปัญหาหรือคาถามอะไรท่ีต้องการหาคาตอบ ต้องการ บรรลุเป้าหมายอะไร จะใช้วิธีการศึกษาอย่างไร และเมื่อทาสาเร็จแล้ว คาดว่าจะมีประโยชน์ต่อว ง วิชาการและตอ่ สังคมอย่างไร เป็นต้น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีหลักการเขียนโดยสังเขป ดงั นี้ ๑.๑ ชื่อเรื่อง (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) การต้ังชื่อเรื่องดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ ควรเขียนเป็นคานามวลี เช่น “วิธีการประกาศพระศาสนาของพระพุทธเจ้า” ไม่ควรเขียนเป็นประโยคสมบูรณ์ที่มีครบท้ังประธาน กริยา และกรรม เช่น “พระพุทธเจา้ ทรงประกาศพระศาสนา” ควรใช้ภาษากะทดั รดั ชัดเจน ไม่วกวน ไมค่ ลุมเครือ และท่สี าคัญคือช่ือเร่อื งต้องสะท้อนประเด็นปญั หาท่ีตอ้ งการหาคาตอบ เกณฑม์ าตรฐานการตงั้ ช่ือเรื่อง ๑. ใช้คากะทัดรดั ชัดเจน ไม่คลมุ เครอื ๒. เขียนเปน็ ขอ้ ความคานามวลี ๓. ชอ่ื เรื่องสะท้อนหรือชีถ้ งึ ประเดน็ ปญั หาการวจิ ยั ๔. ขน้ึ ต้นชอื่ เร่ืองด้วยจดุ มงุ่ หมายหรือวธิ ีการศกึ ษา ๕. ตั้งชอื่ เปน็ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ๑.๒ ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา การเขียนความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา เป็นการให้เหตุผลประกอบว่า ทาไม เรื่องของเราจึงสมควรศึกษาวิจัย ปัญหาท่ีต้องการหาคาตอบนั้นสาคัญอย่างไร มีภูมิหลังหรือความ เป็นมาอย่างไร ในอดีตที่ผ่านมา มีแนวคิดหรือทฤษฎีท่ีพยายามตอบปัญหาน้ันหรือไม่ อย่างไร ถ้ามีผู้ ศึกษาไว้บ้างแล้ว ต้องช้ีแจงต่อไปว่า มีประเด็นปัญหาใดบ้างที่ยังค้างคาอยู่หรือตอบแล้ว แต่ยังไม่ สมบูรณ์ อุปมาเหมือนเราเสนอความเห็นในที่ประชุมว่า ให้เอาอย่างน้ัน อย่างน้ี ท่ีประชุมจะเห็นด้วย กับข้อเสนอเราหรือไม่ ขึ้นอยู่กับเหตุผลที่เราใช้สนับสนุนข้อเสนอน้ันเป็นสาคัญ ท้ังหมดน้ี เพื่อแสดง เหตุผลให้เห็นว่า เร่ืองที่นามาศึกษาน้ีสาคัญและจาเป็นหรือจูงใจมากจนถึงขนาดทาให้ผู้ศึกษาสนใจ และตัดสนิ ใจเลอื กศึกษาเรือ่ งน้ี

๔ I บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เกณฑม์ าตรฐานการเขยี นความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา ๑. ช้ีใหเ้ ห็นว่า ประเดน็ ปญั หานั้นมีภมู ิหลงั หรอื ความเปน็ มาทม่ี ีข้อมลู และเอกสารอา้ งองิ เชงิ ประจักษ์ (Context) ๒. ช้ีใหเ้ ห็นวา่ ปัญหาวจิ ยั นัน้ มีความสาคญั และมีความคาดหวังอยากใหเ้ ปน็ อยา่ งไร (Significance) ๓. ชี้ให้เหน็ วา่ มผี เู้ สนอแนวคดิ หรอื ทฤษฎีสาหรับตอบปัญหานัน้ อยา่ งไรและมปี ระเด็นใดทีย่ ังไม่ชัดเจนหรือยัง ไมไ่ ด้ตอบ (Academic gap) ๑.๓ คาถามวิจยั การเขียนคาถามวิจัย คือ การเขียนระบุลงไปให้ชัดเจนว่า งานวิจัยเรื่องนั้นต้องการตอบ ปัญหาอะไร ส่วนใหญ่คาถามวิจัยจะมีอยู่แล้วในความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา แต่การแยก เป็นอีกข้อหนึง่ ตา่ งหากนนั้ เพ่ือเนน้ ใหเ้ หน็ ปัญหาเด่นชัดมากยิง่ ขนึ้ ๑.๔ วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ การวางเป้าหมายการทางานไว้ล่วงหน้าว่า งาน ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์หรือสารนิพนธ์ของเราจะเดินทางไปสู่จุดหมายใด เหมือนการไปซ้ือของใน ห้างสรรพสินค้า ถ้าเรามีเป้าหมายล่วงหน้าว่า จะไปซ้ือของอะไร ที่ร้านไหน เราก็จะมุ่งไปหาร้านนั้น โดยตรง ไมต่ ้องเสยี เวลาเดินหาไปเรอ่ื ย ๆ การเขียนวัตถุประสงค์การวจิ ัยมีประโยชน์มากในแง่ที่ทาให้ ผู้วิจัยรู้ล่วงหน้าว่า งานวิจัยของตนมุ่งไปสู่เป้าหมายใด เวลาลงมอื เขียนจรงิ ๆ ก็จะไม่ตอ้ งเสยี เวลากับ สิ่งที่ไม่ใช่เป้าหมายของตนเอง การเขียนวัตถปุ ระสงค์การวิจัยนน้ั นิยมเขียนแยกเปน็ ข้อ ๆ โดยข้ึนต้น คาว่า “เพื่อ...” โดยแต่ละข้อต้องสัมพันธ์กันและมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือ มุ่งไปสู่การตอบ ปญั หาการวจิ ัยเหมือนกนั เกณฑม์ าตรฐานการเขยี นวัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย ๑. ใชภ้ าษาชดั เจน เขา้ ใจง่าย ไมว่ กวน ๒. ใชป้ ระโยคบอกเล่า ไม่ใชป่ ระโยคคาถามและปฏเิ สธ โดยขึ้นต้นดว้ ยคาว่า “เพ่ือ...” ๓. แต่ละข้อตอ้ งม่งุ ไปทศิ ทางเดยี วกันคือ ม่งุ ตอบปัญหาการวจิ ัย ๔. แต่ละข้อสะท้อนปญั หาและตอบปญั หาการวจิ ัยเดยี วกัน แตต่ อบคนละแงม่ ุม ๑.๕ ขอบเขตการวิจัย การเขียนขอบเขตการวิจัย คือ การเขียนระบุว่างานวิจัยเร่ืองน้ัน ๆ จะศึกษาภายใน ขอบเขตกว้างแคบแค่ไหนเพียงไร จะเก็บข้อมูลจากเอกสารหรือจากกลุ่มประชากรกว้างแคบแค่ไหน การระบุขอบเขตการวิจัย มีประโยชน์ในแง่ท่ีทาให้เราเก็บข้อมูลได้อย่างครอบคลุมภายในขอบเขตท่ี กาหนดไว้ ส่วนข้อมูลนอกน้ัน ถือว่าไม่ได้อยู่ในขอบข่ายแห่งการศึกษาของเรา เช่น เราเขียนขอบเขต ไว้ว่า จะศึกษาเรื่องกรรมเฉพาะในพระไตรปิฎก เราก็เก็บข้อมูลเรื่องกรรมเท่าที่มีในพระไตรปิฎก ๔๕

คู่มอื ดุษฎีนพิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา I ๕ เล่มเท่าน้ัน ไม่ตอ้ งไปเก็บจากคัมภีร์รุ่นหลัง เชน่ คัมภีร์รุ่นอรรถกถา ฎีกา เป็นต้น อุปมาเหมือนเราขีด วงกลมบนผืนทรายแล้วเก็บเมล็ดทรายเฉพาะภายในวงกลมท่ีเราขีดไวเ้ ท่าน้ัน ขอบเขตการวิจัย จึงเป็นการกาหนดกรอบหรือระบุขอบเขตของการวิจัยว่า จะทาการศึกษากว้างขวางเพียงใด ครอบคลุมถึงเรื่องอะไร ซ่ึงจะช่วยให้ผู้วิจัยไม่ศึกษานอกขอบเขต แตใ่ หศ้ กึ ษาเฉพาะหน่วยท่ีวจิ ัยเทา่ น้ัน ซ่งึ อาจแบง่ ขอบเขตที่ศึกษาได้ ดังน้ี ๑.๕.๑ ขอบเขตด้านเน้ือหา เขียนแสดงให้เห็นถึงขอบเขตของเนื้อหาเอกสารหรือคัมภีร์ ท่ีต้องการศึกษาว่าต้องการกาหนดแค่ไหน อย่างไร ซ่ึงถือว่า เป็นข้อตกลงเบ้ืองต้นของดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ฉบบั น้นั ๆ ๑.๕.๒ ขอบเขตด้านตัวแปร ก. การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ควรระบุตัวแปรท่ีศึกษาไว้อย่าง กว้าง ๆ และแสดงให้เห็นถงึ ความเกย่ี วข้องของตัวแปรท่สี นใจศึกษา ข. การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ควรระบุตัวแปรท่ีศึกษา ให้ชดั เจน เชน่ ตวั แปรต้น ตวั แปรตาม ตัวแปรแฝง ตัวแปรสงั เกตได้ และ/หรือ ตัวแปรท่ีเก่ียวขอ้ ง ค. การวิจัยแบบผสมวิธี (Mixed Methods Research) ควรระบุท้ังตัวแปร เชงิ คุณภาพและตัวแปรเชงิ ปริมาณให้ชัดเจน การกาหนดขอบเขตด้านตัวแปร ควรคานึงถึงการทบทวนเอกสารและงานวิจัยด้วยว่า ตัวแปรแต่ละตัวสอดคลอ้ งกบั แนวคดิ ทฤษฎีหรอื งานวจิ ัยของใคร ๑.๕.๓ ขอบเขตด้านประชากร/ผู้ใหข้ ้อมูลสาคญั ก. การวิจัยเชงิ คุณภาพ โดยเฉพาะการวิจยั ภาคสนามควรระบผุ ู้ให้ขอ้ มูลสาคญั หรือ กลุ่มเปา้ หมาย ให้ชัดเจนว่า ผู้ใหข้ อ้ มูลสาคัญแบ่งเป็นกีก่ ลมุ่ แต่ละกลุ่มมีจานวนเท่าใด ข. การวิจยั เชงิ ปรมิ าณ ควรกาหนดขอบเขตดา้ นประชากรใหช้ ัดเจนว่า ตอ้ งการเก็บ รวบรวมขอ้ มลู กับกลุ่มใดและจานวนประชากรควรอา้ งองิ แหลง่ ทม่ี าให้ชดั เจน สาหรับการวจิ ัยแบบผสมวธิ ี ตอ้ งระบุขอบเขตทั้งด้านประชากรและผู้ให้ข้อมูลสาคัญ และ การวิจัยเชิงคุณภาพภาคเอกสาร ไม่จาเป็นต้องระบุประชากรหรือผู้ให้ข้อมูลสาคัญแต่ให้ระบุคาภีร์ หรอื ตาราท่ีใช้ศึกษาในห้วขอ้ ขอบเขตด้านเน้ือหา ๑.๕.๔ ขอบเขตด้านพื้นท่ี (ถ้ามี) กาหนดพ้ืนที่การวิจัยให้ชัดเจนว่า ศึกษาที่ไหน หน่วยงานหรอื องค์กรใด ต้งั อย่สู ถานที่ใด ๑.๕.๕ ขอบเขตด้านระยะเวลา กาหนดระยะเวลาในการดาเนินการวิจัย โดยเริ่ม นับตั้งแต่เม่ือได้รับอนุมัติหัวข้อวิจัยไปจนถึงส่งเล่มรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์เช่น ดาเนินการวิจัย ต้ังแต่เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ รวมเป็นระยะเวลา ๑ ปี เป็นต้น โดยพิจารณาถงึ ขอบเขตการวิจัย

๖ I บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย เกณฑม์ าตรฐานการเขียนขอบเขตการวจิ ยั ๑. ระบุขอบเขตดา้ นเนื้อหาทแี่ สดงเอกสารหรอื คัมภีร์ที่จะไปเก็บขอ้ มูลมาตอบปญั หาการวิจัย โดยระบใุ ห้ชัดเจน วา่ จะใช้เอกสารหรือคัมภีร์อะไรบา้ ง (กรณีการวิจัยเชงิ คณุ ภาพ/ภาคเอกสาร) ๒. ระบุขอบเขตตัวแปรในการวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรท่ีเก่ียวข้อง (กรณีการวิจัยเชิงปริมาณ) และระบุตัวแปรท่ีสนใจศึกษา (กรณีการวิจัยเชิงคุณภาพ) โดยจาแนกรายละเอียดของตัวแปรสาคัญให้ ชดั เจน ๓. ระบขุ อบเขตของประชากรหรือผู้ให้ขอ้ มูลสาคญั ท่ีจะใชใ้ นการศึกษาให้ชัดเจนว่า ประชากรคือใคร มีจานวน เท่าใด (กรณีการวิจัยเชิงปริมาณ) และผู้ให้ข้อมูลสาคัญคือใคร มีจานวนกี่กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีจานวนเท่าใด (กรณีการวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพ/ภาคสนาม) ๑.๖ สมมติฐานการวิจยั (ถา้ ม)ี สมมติฐานการวิจัย (Research Hypothesis) เป็นคาตอบที่คาดคะเนความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรต้ังแต่สองตัวขึ้นไปซึ่งผู้วิจัยคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าอย่างสมเหตุสมผลเก่ียวกับเ ร่ืองที่ผู้วิจัย ต้องการศึกษา มีทฤษฎีรองรับและใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ มักเขียนอยู่ในรูปข้อความประกอบด้วย สมมติฐานแบบมีทิศทางที่ระบุทิศทางของความแตกต่างอย่างชัดเจน เช่น “นักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานครที่เข้าร่วมกิจกรรมรูปแบบการเรียนรู้เชิงรุกตามหลักพุทธจิตวิทยา เพ่ือพัฒนาการรู้คุณค่าแห่งตนเองมีระดับการรู้คุณค่าแห่งตนหลังเข้าร่วมกิจกรรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วม กจิ กรรมอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ” และสมมตฐิ านแบบไมม่ ีทิศทางที่ไม่ระบุทิศทางของความแตกต่าง เช่น “บุคลากรที่มีสถานภาพต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลการบริหารงานบุคคลของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตภาคเหนอื แตกต่างกัน” ดงั น้ัน การต้ังสมมติฐาน จงึ เป็นการตัง้ ข้ึนเพือ่ ใช้เปน็ ทศิ ทางในการพสิ จู น์หรือทดสอบในการดาเนินการวจิ ัยได้อย่างตรงประเดน็ เกณฑ์มาตรฐานการเขียนสมมติฐานการวจิ ยั ๑. เปน็ คาตอบทค่ี าดคะเนไวล้ ว่ งหน้าอย่างสมเหตสุ มผล มที ฤษฎรี องรับ และสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์การวจิ ัย ๒. เป็นคาตอบลว่ งหน้าทแี่ สดงความสมั พนั ธ์ระหว่างตัวแปรตงั้ แตส่ องตวั ขน้ึ ไป ๓. สมมตฐิ านแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ สมมตฐิ านแบบมีทิศทางและสมมติฐานแบบไม่มีทศิ ทาง ๔. ควรมีความชดั เจนและเฉพาะเจาะจง ซึง่ จะงา่ ยต่อการพิสูจน์หรอื ทดสอบ ๑.๗ นยิ ามศพั ท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจยั นิยามศัพท์เฉพาะท่ีใช้ในการวิจัยเป็นการให้ความหมายกบั คาศัพท์หรือตัวแปรทีป่ รากฏใน งานวจิ ยั มี ๒ ลักษณะ คือ นิยามศัพทเ์ ฉพาะเป็นการให้ความหมายกับศพั ทท์ ตี่ อ้ งการใหผ้ อู้ า่ นงานวจิ ัย เข้าใจตรงกันตลอดท้ังเล่ม เช่น “การเรียนรู้เชิงรุก หมายถึง กระบวนการท่ีให้ผู้เรียนหรือผู้เข้าร่วม กจิ กรรมไดม้ ีสว่ นร่วม ได้ลงมือปฏิบัติ คดิ วเิ คราะห์และนาเสนอดว้ ยความรู้ ความเข้าใจ” สาหรับการนิยามเชิงปฏิบตั ิการ (Operational Definition) เป็นการให้ความหมายกับตัว แปรท่ีผู้วิจัยต้องการวัดค่า ปริมาณ หรือจัดกระทากับตัวแปร ซ่ึงนาไปสู่การสร้างเครื่องมือการวิจัย

คมู่ อื ดุษฎนี พิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดับบัณฑิตศึกษา I ๗ โดยการให้คานิยามเชิงปฏิบัติการไม่ใช่เป็นการให้นิยามตามพจนานุกรม หรือคาท่ีมีความหมายทั่วไป แต่เป็นนิยามที่ต้องมีส่ิงบ่งช้ีว่าตัวแปรนั้น ๆ สามารถวัดปริมาณได้ หรือจัดกระทากับตัวแปรอย่างไร เช่น “การรู้คุณค่าแห่งตน หมายถึง คะแนนที่ได้จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาประเมินตนเองด้านดู ตนออก บอกตนได้และใช้ตนเปน็ จากแบบวัดการรู้คณุ ค่าแหง่ ตน” เกณฑม์ าตรฐานการเขยี นนิยามศพั ทเ์ ฉพาะ ๑. เป็นการใหค้ วามหมายคาศพั ทห์ รอื ตวั แปรที่ปรากฏในงานวิจยั ในความหมายเฉพาะเจาะจง แบ่งเป็น นิยามศัพท์เฉพาะและนยิ ามเชิงปฏบิ ตั ิการ ๒. นิยามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารเป็นการใหค้ วามหมายกบั ตัวแปรทผี่ ูว้ จิ ยั ต้องการวดั ค่า และนยิ มใชใ้ นการวิจัยเชิงปริมาณ ๓. ศัพท์ท่ีนามานยิ ามควรเป็นคาหลัก (Keywords) ในงานวิจยั นั้น มักปรากฏอยู่ในช่ือเรื่องหรอื วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ัย ๔. ต้องนิยามใหค้ รอบคลมุ เฉพาะความหมายทผี่ วู้ จิ ัยตอ้ งการใชใ้ นงานวจิ ัยของตนเทา่ น้ัน ๑.๘ ทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยท่เี ก่ยี วข้อง การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หมายถึง การย้อนกลับไปสารวจเอกสารและ งานวิจัยที่มีผู้ศึกษาไว้ในอดีต ซึ่งเป็นงานที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับงานวิจัยของเราโดยตรงหรือบางส่วน การทบทวน คือ การสารวจดูว่า งานเรื่องน้ัน ๆ ผู้เขียนมุ่งศึกษาหาคาตอบในประเด็นปัญหาอะไร เมื่อศึกษาแล้วได้พบคาตอบว่าอย่างไรบ้าง คาตอบน้ันมีช่องว่าง (Academic Gap) หรือมีความไม่ ชัดเจนอะไรท่ีจะเป็นช่องทางให้เราศึกษาเพื่อความชัดเจนต่อไป การทบทวนเอกสารและงานวิจัย ทเ่ี ก่ียวข้อง มีประโยชน์ในแง่ท่ีทาให้เราเห็นพัฒนาการขององค์ความรู้ในด้านนั้น ๆ ว่ามีความเป็นมา อย่างไร ก้าวหน้าไปถึงไหน เพื่อหลีกเล่ียงการทาวิจัยซ้าซ้อน และทาให้เราเห็นช่องทางที่จะศึกษาหา คาตอบต่อไป อุปมาเหมือนคนในอดีตได้สร้างบันไดหลายขั้นไว้ให้แก่เรา ถ้าเราอยากสร้างบันไดให้ สูงขึ้นไปอีก ก็ต้องย้อนกลับไปทบทวนดูว่า ในอดีตได้สร้างบันไดไว้กี่ขั้นแล้ว บันไดเหล่านั้น มีวิธีการ สร้างอย่างไร มีข้อบกพร่องหรือช่องทางท่ีจะพัฒนาให้ดีย่ิงข้ึนหรือไม่ อย่างไร และมีโอกาสท่ีจะสร้าง บันไดให้สูงข้ึนได้หรือไม่ เป็นต้น ซึ่งการทบทวนอดีตแล้วพบข้อบกพร่องหรือช่องทางท่ีจะสร้างสรรค์ ส่งิ ใหม่ ๆ ข้นึ ได้ ถือวา่ เปน็ โอกาสทองในการทางานวิจัย เพราะน้ีคือเหตุผลที่เราสามารถนาไปอ้างกับ คนอนื่ ๆ ไดว้ ่า งานวจิ ยั ของเราเป็นงานสร้างสรรค์ใหม่ เป็นงานท่ีจะสรา้ งองคค์ วามรู้ใหมไ่ ด้ ไม่ใชง่ าน ท่เี ดนิ ซ้ารอยหรือเปน็ งานท่เี อาสิง่ ท่ผี ้อู ื่นร้แู ล้วมาพดู ทวนซ้าอกี

๘ I บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย เกณฑ์มาตรฐานการทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ียวข้อง ๑. ต้องมีเนื้อหาหรือมีประเด็นในการศึกษาเก่ียวข้องกับเรื่องที่จะดาเนินการวิจัย ซึ่งอาจเกี่ยวข้องทั้งหมดหรือ บางส่วน ๒. ควรมีมาตรฐานทางวชิ าการและเขยี นโดยผู้ทรงคุณวุฒิทางวิชาการหรือผู้อยใู่ นแวดวงวชิ าการ ส่วนงานทีค่ น ทัว่ ไปเขียนขน้ึ ไมค่ วรนามาทบทวน ๓. ควรชี้ให้เห็นพัฒนาการขององค์ความรู้ด้านนั้น ๆ ที่คนในอดีตสร้างสรรค์ไว้ ช้ีให้เห็นประเด็นท่ีผู้เขียน ต้องการตอบ และคาตอบท่ีผู้เขียนนาเสนอไว้ ๔. รูปแบบการเขียนทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ควรเขียนในเชิงสังเคราะห์โดยเอาประเด็น เป็นตัวต้ัง และเขียนร้อยเรียงอย่างเป็นระบบให้เป็นเนื้อเดียวกัน เม่ืออ่านแล้วทาให้มองเห็นภาพรวมและ พัฒนาการขององค์ความรู้ด้านน้ัน ๆ รวมท้ังควรแสดงให้เห็นช่องว่างทางวิชาการที่ยังไม่มีคาตอบชัดเจน หรือชใี้ หเ้ ห็นช่องทางท่เี ราจะเดนิ หน้าทาวิจยั ต่อไป ๕. การจัดเรียงลาดับของเนื้อหาให้ยึดเนอื้ หาสาระความสาคัญเป็นหลัก ไมค่ วรเขียนเรียงตามชือ่ ผ้เู ขยี นและปีที่ เขยี น ๖. ต้องสรุปด้วยว่า จากการทบทวนเอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง ทาให้ได้แนวคิด ทฤษฎีท่ีเก่ียวกับงานวิจัยที่ กาลงั ศกึ ษาอย่างไร และนิสิตจะเชือ่ มโยงเน้อื หาเพ่ือสร้างสรรค์เป็นองคค์ วามร้ใู หม่ต่อไป ๗. เอกสารและงานวิจยั เชงิ ปรมิ าณที่นามาทบทวน ไม่ควรเกนิ ๕ ปีย้อนหลังนับปีปัจจุบันทท่ี าวิจัย เวน้ แตไ่ ม่มี ผทู้ าวจิ ยั ในประเดน็ นนั้ ๆ ๘. การทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กยี่ วข้องควรมคี วามสอดคลอ้ งกับกรอบแนวคิดในการวิจัย หมายเหตุ: ในโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ทุกระดับ ทุกแบบการวิจัย ต้องนาเสนอการทบทวน เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วขอ้ ง สาหรบั การวิจยั เชงิ ปริมาณ เมอ่ื ผา่ นการอนุมตั หิ วั ข้อ แล้ว เริ่มลงมือทาการวิจัยจริง ให้ย้ายไปอยู่บทที่ ๒ ในหัวข้องานวิจัยที่เก่ียวข้อง รวมทั้ง โครงร่างฯ ท่ีมีการจัดทาเป็น ๓ บท การทบทวนเอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กีย่ วข้องจะปรากฏ อยู่ในบทท่ี ๒ ของเลม่ โครงร่างฯ ในการทบทวนวรรณกรรม ไม่ต้องมีเลขแสดงลาดับและตาแหน่งทางวิชาการของชื่อผู้ แต่งให้พิมพ์ด้วยตัวอักษรธรรมดา กรณีที่เป็นพระภิกษุที่มีสมณศักดิ์ให้ใช้ชื่อตามสมณศักด์ิ ตามด้วย ช่ือและฉายาเดิม เช่น พระราชปริยัติกวี (สมจินต์ สมฺมาปญฺโ ), พระครูโกศลศาสนบัณฑิต (กฤษณะ ตรุโณ) เป็นตน้ ๑.๙ กรอบแนวคิดในการวิจยั กรอบแนวคิดในการวิจัย ( Conceptual Framework) เป็นการเขียนเพ่ือแสดง ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ผู้วิจัยได้จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องเพ่ือกาหนด ทิศทางการออกแบบการวิจัย (Research Design) โดยสามารถใช้ได้กับการวิจัยเชิงคุณภาพและการ วิจยั เชิงปรมิ าณ เกณฑ์มาตรฐานการเขยี นกรอบแนวคิดในการวจิ ัย ๑. กรอบแนวคดิ ในการวิจัยต้องพฒั นามาจากกรอบแนวคดิ เชงิ ทฤษฎี (Theoritical Framework) ๒. มคี วามตรงประเด็นในดา้ นเน้อื หาสาระ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในดา้ นตวั แปรทต่ี อ้ งการศกึ ษา ๓. กรอบแนวคิดในการวจิ ัยมคี วามสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย ๔. ระบรุ ายละเอยี ดของตวั แปรและแสดงความสัมพนั ธข์ องตวั แปรไดช้ ัดเจนด้วยสญั ลกั ษณห์ รือแผนภาพ

คู่มือดษุ ฎนี ิพนธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดับบัณฑติ ศกึ ษา I ๙ ๑.๑๐ วธิ ดี าเนินการวจิ ยั วธิ ดี าเนนิ การวิจัย (Research Methodology) หรือบางคร้ังเรยี กว่า ระเบียบวิธีวิจัย เป็น องค์ประกอบที่สาคัญมาก เพราะผลการวิจัยที่ออกมาจะน่าเชื่อถือหรือไม่ ขึ้นอยู่กับวิธีการดาเนินการ วิจัย ที่เราใช้เป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนวิธีดาเนินการวิจัย คือ การแจงรายละเอียดว่า เม่ือถึงเวลาลงมือทาวิจัยจริง ๆ เราจะมีวิธีการและข้ันตอนการเก็บหลักฐาน ข้อมูลมาตอบปัญหาวิจยั อย่างไร จะใช้เครือ่ งมืออะไรเก็บข้อมูล (เชน่ แบบสอบถาม การสัมภาษณเ์ ชิง ลึก การสังเกต การสนทนากลุ่ม) เม่ือได้ข้อมูลมาแล้วจะทาอย่างไรกับข้อมูลน้ัน อุปมาเหมือนพ่อครัว ช้ีแจงเหตุผลว่า ตนจะทาอาหารพิเศษชนิดหนึ่งขึ้นมา พร้อมกับบอกวิธีการทาอาหารว่า มีลาดับ ขนั้ ตอนอยา่ งไร นบั ตงั้ แต่วิธกี ารที่จะได้มาซึ่งวัตถุดิบสาหรับทาอาหาร ขน้ั ตอนการปรุงจะเรมิ่ จากอะไร กอ่ น อะไรหลงั เป็นต้น การเขียนวิธีการดาเนนิ การวจิ ยั ทาได้หลายแบบ ดงั น้ี ๑.๑๐.๑ รูปแบบการวจิ ัย ก. การวจิ ัยเชงิ คุณภาพ (Qualitative Research) ภาคเอกสาร หมายถึง งานวิจัยที่รวบรวมข้อมูลเพื่อตอบปัญหาการวิจัยจากเอกสาร เท่านั้น เช่น งานวิจัยทางปรัชญางานวิจัยทางประวัติศาสตร์ งานวิจัยด้านวรรณคดี งานวิจัยคัมภีร์ ศาสนา (ส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยสาขามนษุ ยศาสตร์) เวลาเขียนวิธีดาเนินการวิจัยต้องแจงให้ละเอยี ดว่า จะมีวิธีการเก็บข้อมูลจากเอกสารที่จะศึกษาอย่างไร เม่ือได้ข้อมูลมาแล้ว จะวิเคราะห์หรือตีความ ข้อมูลนั้นด้วยกรอบแนวคิดอะไร เช่น อาจบอกว่า จะวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางปรัชญา/ด้วย วิธีการทางประวัตศิ าสตร์/ดว้ ยวธิ ีการแบบวรรณคดีวจิ ารณ/์ ด้วยวธิ ีแห่งศาสตรแ์ ห่งการตีความ เปน็ ต้น อย่างใดอย่างหน่งึ รวมทัง้ แจงให้เห็นรายละเอียดของวิธกี ารน้ัน ๆ ดว้ ย ภาคสนาม หมายถึง งานวิจัยท่ีเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนามแบบคุณภาพ คือ การเก็บ รวบรวมข้อมูลในรูปของข้อความจากการสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่มและข้อความบันทึกจากการสังเกต อย่างมีส่วนร่วม ดังน้ัน ในเวลาเขียนวิธีดาเนินการวิจัย ต้องแสดงให้เห็นรายละเอียดการเก็บรวบรวม ขอ้ มูลเช่น วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) การสังเกตแบบมีสว่ นรว่ ม (Participant Observation) เปน็ ตน้ ข. การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) หมายถึง การวิจัยท่ีใช้วิธีการ เก็บรวบรวมข้อมูลในรูปของสถิติหรือตัวเลข เช่น ๑) ระดับความคิดเห็นในการปฏิบัติงานตามหลัก อิทธิบาทธรรมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน สามารถวัดได้เปน็ ค่าเฉลี่ย (������̅) และ ๒) ผล การเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการประยุกต์ใช้หลักภาวนา ๔ ในการพัฒนา คุณภาพชีวิต สามารถวัดความแตกต่างของค่าเฉลี่ยก่อนและหลังการพัฒนาด้วยการทดสอบค่าที (t-test) ข้อมูลเหล่านี้ จะอยู่ในรปู ของตัวเลข เรียกวา่ “ขอ้ มูลเชิงปริมาณ” ซึ่งในการเขียนวิธดี าเนนิ การ วจิ ัยเชิงปริมาณ ผ้วู ิจยั ต้องนาเสนอใหเ้ หน็ รายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการได้มาซง่ึ กลุ่มตวั อย่าง (Sampling Design: SD) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย (Measurement Design: MD) และการวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis Design: AD) ซึ่งเป็นหัวใจสาคญั ในการออกแบบการวจิ ัยเพือ่ ตอบคาถามวจิ ัยใหถ้ ูกตอ้ งและ ชัดเจน

๑๐ I บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๑.๑๐.๒ ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง/ผูใ้ หข้ อ้ มูลสาคญั ๑) ประชากร (Population) คอื กลมุ่ บุคคลที่ใช้ในการศกึ ษาวจิ ัย ตอ้ งระบุใหช้ ดั เจน วา่ เป็นใคร มีจานวนเทา่ ไรมีคณุ ลักษณะอย่างไร และระบุทม่ี า ๒) กลุ่มตัวอย่าง (Sample) คือ ส่วนหน่ึงของประชากรที่นามาศึกษา ต้องระบุ ขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ ง (Sample size) และวิธกี ารสุม่ กลุม่ ตวั อย่าง (Sampling Ramdom Design) ๓) ผู้ให้ข้อมูลสาคัญ (Key Informants) คือบุคคลที่ได้จากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยมคี ุณสมบตั ิตามท่ผี ู้วิจัยกาหนดไว้ เกณฑ์มาตรฐานการเสนอประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง ๑. ระบปุ ระชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง/ผใู้ ห้ขอ้ มลู สาคญั ที่ชัดเจน ๒. กาหนดขนาดของกล่มุ ตวั อย่างเหมาะสมและถกู ตอ้ งตามหลักวิชา ๓. กาหนดวธิ กี ารไดม้ าซ่ึงกลมุ่ ตวั อยา่ ง (วิธีการสมุ่ ) หรือผู้ให้ข้อมลู สาคญั (วิธกี ารเลอื ก) ๑.๑๐.๓ เครือ่ งมือที่ใช้ในการวจิ ยั ต้องเขียนรายละเอียดว่า เคร่ืองมือที่ใช้มีอะไรบ้าง พร้อมท้ังระบุลักษณะของเครื่องมือ หากสร้างหรือพัฒนาเครื่องมือขึ้นเอง ต้องระบุขั้นตอนและวิธีการสร้าง การทดลองใช้และการ ตรวจสอบคุณภาพไวช้ ัดเจน เกณฑม์ าตรฐานการระบุเคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการวิจัย กรณที ่ี ๑ สรา้ งเครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจัยด้วยตนเอง ๑. อธบิ ายการสร้างเครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการวิจัยตามหลกั วิชา ๒. ระบุแหลง่ ทม่ี าของขอ้ มลู พืน้ ฐานท่ใี ช้ประกอบการร่างเคร่อื งมือท่ใี ช้ในการวิจัยเชน่ เอกสาร หนังสอื ๓. ระบรุ ายละเอียดวิธีการตรวจสอบคณุ ภาพเครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ัย กรณที ี่ ๒ นาเครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการวิจัยของผู้อน่ื มาใช้ ๑. ระบุแหลง่ ทมี่ า ปีทีส่ รา้ ง และคา่ สถิตแิ สดงคุณภาพ ๒. ช้ีให้เหน็ เหตผุ ลและความสมเหตสุ มผลทจ่ี ะใช้เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการวิจัยนัน้ เกบ็ ข้อมลู ๓. มีหนงั สือขออนุญาตการใช้เครอื่ งมือทใี่ ช้ในการวจิ ัย ๑.๑๐.๔ การเก็บรวบรวมข้อมลู ต้องระบุวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น การสารวจ การทดลอง การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม รวมท้ังระบุขั้นตอนที่ผู้วิจัยใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมลู ให้ชดั เจน เกณฑ์มาตรฐานการระบกุ ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู ๑. ระบวุ ธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมลู อาจระบเุ หตผุ ลทเี่ ลือกใชว้ ิธกี ารน้นั ๆ ๒. ระบุขั้นตอนทีผ่ ูว้ จิ ัยใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

คู่มอื ดุษฎีนพิ นธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนพิ นธ์ ระดบั บณั ฑิตศึกษา I ๑๑ ๑.๑๐.๕ การวิเคราะหข์ อ้ มูล ให้ระบุวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือ การจาแนก จัดประเภทข้อมูล การตีความ การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และการสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (Analytic Induction) และนาเสนอเปน็ ความเรียง การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ การวิเคราะห์ด้วยสถิติแบบบรรยาย (Descripitive Statistics) ได้แก่ จานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน สถิติอนุมาน (Inferential Statistics) เช่น การทดสอบค่าที (T-test) การทดสอบค่าเอฟ (F-test) การวิเคราะห์ถดถอย (Regression Analysis) และสถิติวิเคราะห์ขั้นสูง (Advanced Statistics) เช่น การวิเคราะห์โมเดล ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ (Structural Equation Model: SEM) และนาเสนอเป็นตาราง แผนภาพ ประกอบความเรยี ง เกณฑ์มาตรฐานการระบุวธิ ีการวเิ คราะหข์ ้อมลู ๑. ระบุวิธีการวิเคราะห์ขอ้ มลู เชิงคุณภาพ โดยบรรยายตามลักษณะขอ้ มลู และตวั แปรทส่ี นใจศึกษา ๒. ระบสุ๑ถ.ติ๑ทิ ๐่ใี ช.๖ใ้ นแกาผรนวปเิ คฏราิบะตัหิก์ขอ้ามรวูลเจิ ชัยงิ ปริมาณใหถ้ กู ต้องตามลกั ษณะตัวแปรและตอบสมมติฐานการวิจัย เป็นแผนเชิงปฏิบัติการ ท่ีผู้วิจัยกาหนดขึ้นเป็นแนวทางในการดาเนินการวิจัย โดยระบุ กจิ กรรมให้ชดั เจน พร้อมระบุช่วงเวลาตั้งแต่เรมิ่ ตน้ จนสน้ิ สดุ ในการทากจิ กรรม เกณฑ์มาตรฐานการระบุแผนปฏบิ ัตกิ ารวจิ ัย ๑. ระบกุ จิ กรรมท่ีจะดาเนินการ เรยี งเป็นขอ้ ๆ ชดั เจน พร้อมระบชุ ว่ งเวลาต้ังแต่เร่ิมต้นจนสนิ้ สุด ๒. ใหเ้ ขียนในรูป Gantt Chart ๑.๑๑ ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ ับ การเขียนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ คือ การเขียนคาดการณ์ล่วงหน้าว่า หลังจากทางาน วิจยั เรื่องนน้ั สาเรจ็ แลว้ จะมีประโยชน์อะไรเกิดขน้ึ บา้ ง ซึ่งการเขียนประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ ต้องให้ สัมพันธ์และมุ่งไปในทิศทางเดียวกันกับปัญหาหรือคาถามและวัตถุประสงค์ของการวิจัยด้วย อุปมา เหมือนเราเดินทางไปจังหวัดเชียงใหม่ เชียงใหม่ คอื วัตถุประสงค์ที่เราต้องการไปให้ถึง เมื่อไปถึงตรง น้ันแล้ว เราก็คาดการณ์ไว้ล่วงหน้าว่า จะได้ประโยชน์อย่างน้ันอย่างนี้หรือได้พบส่ิงน้ันส่ิงน้ี ซึ่ง ประโยชน์หรือส่ิงท่ีเราคาดว่าจะได้รับน้ัน ต้องสัมพันธ์กับจังหวัดเชียงใหม่ด้วย คือ ต้องมีอยู่จริง ท่ีจังหวัดเชียงใหม่ด้วย ส่วนใหญ่การเขียนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ นิยมข้ึนต้นด้วยคาว่า “ทาให้ ทราบ...” “ทาให้ได.้ ..” เปน็ ต้น เกณฑ์มาตรฐานการเขียนประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รับ ๑. เขียนคาดการณล์ ่วงหน้าถงึ ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รับ หลงั จากบรรลุวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั แลว้ ๒. เขียนใหส้ มั พันธ์กับวัตถปุ ระสงค์การวจิ ัย นยิ มเขยี นข้ึนตน้ ดว้ ยคาว่า “ทาให้ทราบ...” “ทาให้ได้...” เป็นต้น ทง้ั นี้ แลว้ แต่ความเหมาะสมของงานวิจยั แตล่ ะเรื่อง ๓. เขยี นจาแนกเปน็ ประโยชนเ์ ชงิ วิชาการ ประโยชน์เชงิ ปฏบิ ตั ิ หรือประโยชน์เชิงนโยบาย เพอ่ื ใหเ้ หน็ ผลกระทบ ประโยชนห์ รอื คุณูปการท่มี ีต่อสงั คม

๑๒ I บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หมายเหตุ: เมื่อดุษฎีนิพนธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนิพนธ์สาเร็จเรียบร้อยแล้ว ให้เปล่ียน “ประโยชน์ท่ี คาดวา่ จะไดร้ บั ” เปน็ “ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากการวิจยั ” ๑.๑๒ สารบญั (ชัว่ คราว) การเขียนสารบัญ (ชั่วคราว) เป็นการวางโครงสร้างเนื้อหาของงานวิจัยให้เห็นว่า ในแต่ละ บทมีประเด็นทจ่ี ะศึกษาอย่างไรบ้าง ช่ือบทคืออะไร มีหัวข้อย่อยอย่างไร ซ่ึงการออกแบบบทแตล่ ะบท นั้น ต้องคานึงถึงวัตถุประสงค์ของการวิจัยเป็นสาคัญ ควรให้เน้ือหาของแต่ละบทมุ่งไปในทิศทาง เดียวกัน นั่นคือ มุ่งไปสู่การตอบปัญหาการวิจัย โดยอาจให้แต่ละบททาหน้าที่ตอบปัญหาการวิจัยใน บางแง่มุมหรือตอบวัตถุประสงค์ข้อใดข้อหน่ึง และควรให้เน้ือหาของแต่ละบทมีความสัมพันธ์ส่งทอด กันไปตามลาดับเหมือนลูกโซ่ สารบัญ (ชั่วคราว) หรือโครงสร้างของงานวิจัยเชิงคุณภาพภาคเอกสาร นั้น ไม่มีรปู แบบท่ีแน่นอนตายตัว ข้ึนอยู่กับความเหมาะสมของงานแตล่ ะเรื่อง ส่วนสารบัญ (ช่ัวคราว) หรือโครงสร้างของงานวิจัยเชิงคุณภาพภาคสนาม และเชิงปริมาณ ค่อนข้างจะมีรูปแบบแน่นอน ตายตวั (ดูรูปแบบการเขยี นสารบัญ (ช่วั คราว) หน้า ๓๐) ๑.๑๓ บรรณานุกรม บรรณานุกรม คอื รายการเอกสารต่าง ๆ ที่นามาใช้อา้ งองิ หรอื ประกอบการศกึ ษาค้นคว้า ในงานวิจัยแต่ละเร่ือง การเขียนบรรณานุกรมนั้น ให้เขียนไว้ในส่วนท้ายของงานวิจัย โดยเขียนเรียง ตามลาดับอักษร และแบ่งหมวดหมู่ตามประเภทของเอกสาร เช่น เอกสารปฐมภูมิ ทุติยภูมิ เป็นต้น ส่วนรายละเอียดเกี่ยวกับการทาบรรณานุกรม ให้ดูบทที่ ๔ การอ้างอิงและการเขียนเอกสารอ้างอิง หรอื บรรณานกุ รม โดยเรยี งลาดับตามประเภทเอกสาร ดงั น้ี๑ ก. ขอ้ มลู ปฐมภมู ิ (๑) พระไตรปิฎก (๒) ปกรณว์ เิ สส อรรถกถา ฎกี า และอนุฎีกา (๓) หนังสอื คมั ภีร์ และตาราท่เี ปน็ ตน้ ฉบบั (Text) ข. ข้อมูลทุตยิ ภมู ิ (๑) หนังสือท่วั ไป/หนงั สอื แปล (๒) บทความในวารสาร/หนังสอื พิมพ์/สารานกุ รม/บทวิจารณห์ นังสอื (๓) ดุษฎนี พิ นธ/์ วทิ ยานิพนธ/์ สารนิพนธ์ (๔) รายงานวิจยั /รายงานการประชมุ ทางวชิ าการ (๕) จลุ สาร/เอกสารอัดสาเนา/เอกสารที่ไมไ่ ดต้ ีพิมพ์เผยแพร่และเอกสารอืน่ ๆ (๖) สมั ภาษณ์/สนทนากลุ่ม (๗) ส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์ ๑ ข้อมูลปฐมภูมิน้ี เน้นการวิจัยเชิงคัมภีร์ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนาและปรัชญา สาหรับข้อมูล ปฐมภมู ใิ นสาขาวิชาอื่น ๆ ใหเ้ ปน็ ไปตามทสี่ าขาวิชาน้นั ๆ เหน็ สมควร

คมู่ ือดุษฎนี พิ นธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนพิ นธ์ ระดับบัณฑิตศกึ ษา I ๑๓ ๑.๑๔ ประวัติผูว้ ิจยั ประวัติผู้วิจัย เป็นข้อมูลที่แสดงให้เห็นว่า ผู้วิจัยมีภูมิหลังด้านการศึกษา มีประสบการณ์ มีผลงานทางวิชาการ และมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ที่สอดคล้องกับเร่ืองท่ีจะทาการศึกษาหรือไม่ อย่างไร ถือว่าเป็นส่วนหน่ึงท่ีคณะกรรมการสอบจะนาไปประกอบการพิจารณาโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ รวมทั้งเป็นข้อมูลในการติดต่อประสานของเจ้าหน้าที่ผู้ประสานงาน (ดูรูปแบบการเขียน ประวตั ิผวู้ ิจัย หนา้ ๓๒) ๑.๑๕ เชิงอรรถ เชิงอรรถ (Footnote) คือ การทารายการเอกสารอ้างอิงหรือคาอธิบายเพิ่มเติมท่ีอยู่ดา้ นล่าง ของข้อความในหน้ากระดาษแต่ละหน้า ถือว่าเป็นองค์ประกอบที่สาคัญมากของงานวิจัย เพราะเป็น หลักฐานท่ีแสดงให้เห็นว่า ข้อเสนอของเรามีความน่าเชื่อถือและสามารถตรวจสอบแหล่งท่ีมาได้ ดังน้ัน เมื่อจะนาเอกสารหลักฐานอะไรมาใส่ไว้ในเชิงอรรถ ควรประเมินเอกสารหลักฐานและผู้เขียนด้วยว่า มนี ้าหนักเพียงพอท่ีจะทาให้งานวิจัยมีความน่าเชื่อถือมากข้ึนหรือไม่ (สาหรับรูปแบบการทาเชิงอรรถนั้น ให้ดูในบทท่ี ๔ การอา้ งองิ และการเขยี นเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานกุ รม) ตวั อย่างโครงรา่ งและโครงสรา้ งดษุ ฎีนิพนธ์ วทิ ยานิพนธ์ และสารนพิ นธ์ รูปแบบปกนอกโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ ระดับปริญญาโท/ ปรญิ ญาเอก ตา่ งกนั ที่ระดบั ปริญญา ส่วนโครงสร้างดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์น้ัน ต่างกันท่ีเป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ การวจิ ัยเชงิ ปริมาณ หรือการวิจยั แบบผสมวธิ ี ดังนี้

๑๔ I บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย รปู แบบปก โครงรา่ งดษุ ฎีนิพนธ์/วทิ ยานพิ นธ์๒ (๑.๕ นิ้ว/๓.๘๑ ซม.) สีดาเท่านั้น ขนาด ๑.๒๕x๑.๒๕ นว้ิ / ๓.๑๗x๓.๑๗ ซม. / (เว้นระยะหา่ งระหวา่ งตราสถาบันกบั คาวา่ โครงรา่ ง= before 12 pt.) โครงร่างดษุ ฎีนพิ นธ์/วทิ ยานพิ นธ์ (ตวั ธรรมดา, ๑๘ พอ้ ยท์) เร่ือง (ตวั ธรรมดา, ๑๘ พอ้ ยท์) ชอ่ื ดุษฎีนพิ นธ์/วิทยานิพนธภ์ าษาไทย (ตวั หนา, ๒๐ พ้อยท,์ before 12 pt.) TITLES (bold, 13 pt., line spacing 1.5 lines, before 6 pt.) โดย (๑๘ พ้อยท์) ช่อื -ฉายา (นามสกลุ )/ชื่อ-นามสกุล (ตัวหนา, ๑๘ พอ้ ยท์) คณะกรรมการควบคมุ ดษุ ฎีนิพนธ์/วิทยานพิ นธ์ ๑............................................................ ประธานกรรมการ ๒............................................................ กรรมการ ดุษฎีนิพนธ์/วทิ ยานิพนธน์ ี้เปน็ ส่วนหนึง่ ของการศกึ ษา ตวั ธรรมดา, ตามหลกั สตู รปรญิ ญาพทุ ธศาสตรดุษฎี/มหาบณั ฑิต ๑๘ พอ้ ยท์ สาขาวิชา... ระบุสาขาวิชา ... (เว้นระยะหา่ งระหวา่ งบรรทดั ๑ บรรทดั หรือ ๑ Enter) บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย พุทธศักราช ๒๕…ระบปุ กี ารศกึ ษา (๑ น้ิว / ๒.๕๔ ซม.) ๒ ตัวอย่างภาษาอังกฤษ จะแสดงเฉพาะ font Times New Roman กรณใี ช้ font TH Sarabun PSK ให้เทียบเคยี งขนาดอกั ษร โดยศึกษารายละเอยี ดในบทท่ี ๓ (หนา้ ๘๗) และ ภาคผนวก ข. (หน้า ๑๓๔)

คูม่ อื ดษุ ฎีนิพนธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดับบณั ฑิตศกึ ษา I ๑๕ ตัวอย่างปก โครงร่างดษุ ฎนี พิ นธ์ โครงรา่ งดษุ ฎนี ิพนธ์ เร่ือง จติ ตมาตรของนิกายโยคาจาร: การศกึ ษาวเิ คราะหบ์ นฐานแนวคิด เรอื่ งจติ ในพระพทุ ธศาสนายุคต้น THE CITTAMĀTRA OF YOGĀCĀRA BUDDHISM: AN ANALYTICAL STUDY BASE ON THE CONCEPT OF CITTA IN EARLY BUDDHISM โดย พระมหาสมบูรณ์ วฑุ ฺฒิกโร (พรรณา) คณะกรรมการควบคุมดุษฎนี พิ นธ์ ๑. พระราชปริยัตกิ วี, ศ. ดร. ประธานกรรมการ ๒. ศ. ดร.สมภาร พรมทา กรรมการ ดษุ ฎนี พิ นธ์นเ้ี ป็นสว่ นหนึง่ ของการศกึ ษา ตามหลักสตู รปริญญาพุทธศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

๑๖ I บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ตัวอยา่ งปก โครงร่างวทิ ยานพิ นธ์ โครงร่างวิทยานพิ นธ์ เร่ือง จติ ตมาตรของนกิ ายโยคาจาร: การศึกษาวเิ คราะห์บนฐานแนวคดิ เรื่องจิตในพระพทุ ธศาสนายคุ ตน้ THE CITTAMĀTRA OF YOGĀCĀRA BUDDHISM: AN ANALYTICAL STUDY BASE ON THE CONCEPT OF CITTA IN EARLY BUDDHISM โดย พระมหาสมบรู ณ์ วุฑฒฺ ิกโร (พรรณา) คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ ๑. พระราชปรยิ ัตกิ วี, ศ. ดร. ประธานกรรมการ ๒. ศ. ดร.สมภาร พรมทา กรรมการ วทิ ยานพิ นธน์ เี้ ปน็ ส่วนหนึ่งของการศกึ ษา ตามหลักสูตรปริญญาพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

คมู่ ือดษุ ฎนี พิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนิพนธ์ ระดับบณั ฑิตศกึ ษา I ๑๗ รูปแบบปก โครงร่างสารนพิ นธ์ ปริญญาเอก๓ ๑.๕ นิ้ว/๓.๘๑ ซม. สีดาเท่านัน้ ขนาด ๑.๒๕x๑.๒๕ นิ้ว/ ๓.๑๗x๓.๑๗ ซม. (เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งตราสถาบนั กับคาวา่ โครงรา่ ง= before 12 โครงรา่ งสารนpิพtน.) ธ์ (๑๘ พ้อยท์) เร่อื ง (๑๘ พ้อยท์) ชอื่ สารนิพนธ์ ภาษาไทย (ตัวหนา, ๒๐ พ้อยท,์ before 12 pt.) TITLES (bold, 13 pt., line spacing 1.5 lines, before 6 pt.) โดย (๑๘ พ้อยท)์ ช่ือ-ฉายา (นามสกลุ )/ช่ือ-นามสกุล (ตัวหนา, ๑๘ พ้อยท์) อาจารย์ที่ปรกึ ษาสารนิพนธ์ .....พิมพช์ ื่อ ฉายา/นามสกุลอาจารย์ที่ปรกึ ษา..... สารนพิ นธ์นี้เปน็ ส่วนหนงึ่ ของการสอบวดั คุณสมบตั ิ ตัวธรรมดา, รายวชิ า................ ระบุรายวชิ า .................... ๑๘ พอ้ ยท์ ตามหลักสูตรปรญิ ญาพทุ ธศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชา……ระบุสาขาวิชา…. (เวน้ ระยะหา่ งระหว่างบรรทัด ๑ บรรทัดหรอื ๑ Enter) บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั พทุ ธศกั ราช ๒๕…ระบุปกี ารศึกษา (๑ นว้ิ / ๒.๕๔ ซม.) ๓ ตวั อย่างภาษาองั กฤษ จะแสดงเฉพาะ font Times New Roman กรณีใช้ font TH Sarabun PSK ให้เทยี บเคยี งขนาดอกั ษร โดยศกึ ษารายละเอียดในบทท่ี ๓ (หน้า ๘๗) และ ภาคผนวก ข. (หน้า ๑๓๔)

๑๘ I บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ตวั อย่างปก โครงรา่ งสารนพิ นธ์ ปรญิ ญาเอก โครงร่างสารนิพนธ์ เรอ่ื ง จิตตมาตรของนกิ ายโยคาจาร: การศึกษาวเิ คราะห์บนฐานแนวคิด เรื่องจติ ในพระพุทธศาสนายุคตน้ THE CITTAMĀTRA OF YOGĀCĀRA BUDDHISM: AN ANALYTICAL STUDY BASE ON THE CONCEPT OF CITTA IN EARLY BUDDHISM โดย พระมหาสมบรู ณ์ วุฑฒฺ ิกโร (พรรณา) อาจารย์ท่ปี รึกษาสารนพิ นธ์ ศ. ดร.สมภาร พรมทา สารนิพนธ์นี้เป็นสว่ นหน่งึ ของการสอบวัดคุณสมบัติ รายวชิ าสัมมนาพระไตรปิฎก ตามหลกั สตู รปรญิ ญาพุทธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

ค่มู ือดุษฎีนิพนธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา I ๑๙ รปู แบบปก โครงร่างสารนิพนธ์ ปรญิ ญาโท๔ ๑.๕ นว้ิ /๓.๘๑ ซม. สีดาเท่าน้ัน ขนาด ๑.๒๕x๑.๒๕ นวิ้ /๓.๑๗x๓.๑๗ ซม. (เวน้ ระยะหา่ งระหว่างตราสถาบนั กับคาวา่ โครงรา่ ง= before 12 โครงร่างสารนพิ นธ์ (๑๘ พ้อยท)์ เรอ่ื ง (๑๘ พ้อยท์) ชอื่ สารนพิ นธ์ ภาษาไทย (ตวั หนา, ๒๐ พ้อยท,์ before 12 pt.) TITLES (bold, 13 pt., line spacing 1.5 lines, before 6 pt.) โดย (๑๘ พ้อยท์) ชือ่ -ฉายา (นามสกุล)/ช่ือ-นามสกลุ (ตัวหนา, ๑๘ พ้อยท)์ อาจารย์ทปี่ รึกษาสารนิพนธ์ .....พิมพ์ชอื่ ฉายา/นามสกุลอาจารย์ทปี่ รึกษา.... สารนพิ นธ์น้ีเปน็ สว่ นหน่งึ ของการศกึ ษา ตัวธรรมดา, ตามหลกั สตู รปรญิ ญาพุทธศาสตรมหาบัณฑติ ๑๘ พอ้ ยท์ สาขาวชิ า...ระบุสาขาวิชา... (เว้นระยะห่างระหวา่ งบรรทัด ๑ บรรทัดหรอื ๑ Enter) บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕… ระบุปกี ารศึกษา (๑ นิ้ว / ๒.๕๔ ซม.) ๔ ตัวอย่างภาษาอังกฤษ จะแสดงเฉพาะ font Times New Roman กรณใี ช้ font TH Sarabun PSK ใหเ้ ทยี บเคยี งขนาดอักษร โดยศึกษารายละเอยี ดในบทท่ี ๓ (หน้า ๘๗) และ ภาคผนวก ข. (หนา้ ๑๓๔)

๒๐ I บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ตัวอยา่ งปก โครงรา่ งสารนิพนธ์ ปรญิ ญาโท โครงรา่ งสารนพิ นธ์ เร่ือง ศึกษาวเิ คราะห์บทบาทการเสรมิ สร้างสนั ติภาพของ ดร. บาบาสาเฮบ พิมเรา รามจิ อมั เบดการ์ ตามหลกั พุทธสนั ตวิ ิธี THE ANALYTICALSTUDY OF PEACE STRENGTHENING ROLE OF DR. BABASAHEB BHIMRAO RAMJI AMBEDKER ACCORDING TO THE BUDDHIST PEACEFUL MEANS โดย นายกฤษณะ ถาวร อาจารย์ทปี่ รึกษาสารนพิ นธ์ พระมหาดวงเดน่ ิต าโณ, ดร. สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหน่ึงของการศกึ ษา ตามหลักสตู รปรญิ ญาพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาสันติศึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐

คมู่ ือดุษฎีนพิ นธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ ระดบั บณั ฑติ ศึกษา I ๒๑ รูปแบบสว่ นเนือ้ หา โครงรา่ งดษุ ฎนี ิพนธ/์ วทิ ยานพิ นธ/์ สารนพิ นธ์ [เชิงคณุ ภาพ/เอกสาร] (เวน้ ระยะจากขอบกระดาษดา้ นบน ๒ นวิ้ หรอื ๕.๐๘ ซม. เชน่ เดียวกับการข้ึนบทใหม่) ชื่อเร่ืองภาษาไทย (ตวั หนา, ๒๐ พ้อยท)์ English Title (TH SarabunPSK 20pt. bold หรือ Times New Roman 16 pt. Bold. before: 6pt.) (English Title ใช้อักษรตัวพิมพเ์ ล็ก ยกเว้นอักษรตวั แรก, เมือ่ ใช้ Times New Roman ตอ้ งเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบรรทดั =1.5 lines) (เว้นระยะ ๑ บรรทัด ขนาด ๑๖ pt.) ๑. ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) เนื้อหา (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)............................................................................. ๒. คาถามวิจยั (๑๘ พ้อยท,์ Before: 6pt) ๒.๑ (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)...............................................................………………… ๓. วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ๓.๑ (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)..................................………………………………………… ๔. ขอบเขตการวจิ ัย (๑๘ พ้อยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)....................................……………...………….......... ๕. สมมตฐิ านการวจิ ัย (ถา้ มี) (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt)...................................……………………………….......... ๖. นิยามศัพท์เฉพาะทใ่ี ช้ในการวจิ ัย (๑๘ พ้อยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)............................................................................... ๑ นิ้ว / ๒.๕๔ ซม.

๒๒ I บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (๑.๕ นวิ้ / ๓.๘๑ ซม.) ๗. ทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่เี กยี่ วข้อง (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ........ (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)...................................……………………................... ๘. วิธีดาเนนิ การวิจัย (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ........ (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt)...................................……………………................... ๙. กรอบแนวคิดในการวิจยั (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ........ (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt)...................................……………………................... ๑๐. ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รบั (๑๘ พ้อยท,์ Before: 6pt) ๑๐.๑ (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt) ........................................................................ ๑๑. สารบัญ (ชว่ั คราว) (๑๘ พ้อยท,์ Before: 6pt) ........ (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)...................................……………………................... ๑๒. บรรณานกุ รม (ชัว่ คราว) (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ........ (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt)...................................……………………................... ๑๓. ประวตั ผิ วู้ ิจยั (๑๘ พ้อยท,์ Before: 6pt) ........ (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)............................................................. .................. ......……………………................... ................................................................................................. ............... .......................... ............... ......................................................................................... หมายเหตุ. รูปแบบโครงร่างดุษฎีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์ แบบอ่ืน ๆ ต่อจากน้ี ให้กาหนด Spcacing= Before 6pt สาหรบั หัวขอ้ หลัก (Main Title) และยอ่ หนา้ (Paragraph) เช่นเดยี วกนั

คู่มือดุษฎนี ิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ ระดับบัณฑติ ศกึ ษา I ๒๓ รูปแบบส่วนเนอ้ื หา โครงรา่ งดุษฎีนิพนธ์/วทิ ยานิพนธ/์ สารนิพนธ์ [เชงิ ปรมิ าณ/แบบผสมวิธ]ี ในกรณที ีจ่ ัดสอบโครงร่างฯ จานวน ๓ บท ส่วนต้น สารบัญ (ชัว่ คราว) (๑๘ พ้อยท์) ......... (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)......................………………………….................................... (เวน้ ระยะจากขอบกระดาษดา้ นบน ๒ นิว้ หรอื ๕.๐๘ ซม. เชน่ เดียวกบั การขึ้นบทใหม)่ บทท่ี ๑ (ตัวหนา, ๒๐ พอ้ ยท)์ (เว้น ๑ บรรทดั ขนาด ๑๖ พอ้ ยท)์ บทนา (ตวั หนา, ๒๐ พอ้ ยท)์ (เวน้ ๑ บรรทดั ขนาด ๑๖ พ้อยท)์ ๑.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (๑๘ พ้อยท,์ Before: 6pt) เน้ือหา (๑๖ พอ้ ยท์, Before: 6pt)........................................................................……...... ๑.๒ คาถามวิจัย (๑๘ พ้อยท,์ Before: 6pt) ๑.๒.๑ (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt).................................………………………..…..……..……… ๑.๓ วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ๑.๓.๑ (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt).......……………………………………..……………........ ๑.๔ ขอบเขตการวิจยั (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt).............…………………………………...………….......... ๑.๕ สมมติฐานการวจิ ยั (ถา้ ม)ี (๑๘ พ้อยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt)...........…………………………………...………….......... ๑.๖ นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวจิ ยั /นิยามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt)...............…………………………………...………….......... ๑.๗ ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะไดร้ ับ (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ๑.๗.๑ (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)................……………………………………..……………........ ๑ นวิ้ / ๒.๕๔ ซม.

๒๔ I บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย (เว้นระยะจากขอบกระดาษดา้ นบน ๒ นิ้ว หรือ ๕.๐๘ ซม. เช่นเดียวกับการขึน้ บทใหม)่ บทท่ี ๒ (เวน้ ๑ บรรทดั ๑๖ พ้อยท์) แนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง (เว้น ๑ บรรทัด ๑๖ พอ้ ยท์) เกร่ินนา.................... (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)....................................................... ............................................................................................................................. ........................ ........................................................................................................... .......................................... ............................................................................................................................. ........................ ๒.๑ ทฤษฎีหรือแนวคดิ (ใส่ชือ่ ) (๑๘ พ้อยท,์ Before: 6pt) ........ (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)........………………………….................................... ๒.๒ ทฤษฎหี รือแนวคดิ (ใสช่ ื่อ) (๑๘ พ้อยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt).........………………………….................................... ๒.๓ ทฤษฎีหรือแนวคดิ (ใสช่ ื่อ) (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)........………………………….................................... ๒.๔ งานวจิ ัยท่เี กีย่ วขอ้ ง (๑๘ พ้อยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt).………………………….................................... ๒.๕ กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ........ (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt).......…………………………...................................... ภาพแสดงความสัมพันธ์ ระหวา่ งตวั แปร ภาพท่ี ๒.๑ กรอบแนวคิดในการวจิ ัย หมายเหตุ: ทฤษฎหี รอื แนวคดิ ในหวั ขอ้ ๒.๑ – ๒.๓ สามารถทบทวนและนาเสนอไดม้ ากกว่า ๓ หวั ขอ้ ขนึ้ อยู่ กบั ดุลยพนิ ิจของผเู้ ขยี นดษุ ฎนี ิพนธ์ วทิ ยานิพนธแ์ ละสารนิพนธ์

คู่มอื ดษุ ฎนี พิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดับบัณฑติ ศกึ ษา I ๒๕ [การวิจยั แบบผสมวธิ ี] (เว้นระยะจากขอบกระดาษด้านบน ๒ น้วิ หรอื ๕.๐๘ ซม. เช่นเดยี วกับการขึ้นบทใหม)่ บทท่ี ๓ (เว้น ๑ บรรทัด ๑๖ พอ้ ยท์) วิธดี าเนนิ การวจิ ัย (เวน้ ๑ บรรทัด ๑๖ พอ้ ยท)์ เกรนิ่ นา..................... (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt).... ........................... ............ ....... ..... ๓.๑ รูปแบบการวิจัย (๑๘ พ้อยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)........………………………….................................... ๓.๒ ระยะท่ี ๑ การออกแบบการวิจยั เชงิ คณุ ภาพ (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ๓.๒.๑ กลุม่ เปา้ หมาย/ผูใ้ หข้ ้อมลู สาคัญ (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)....………………………….................................... ๓.๒.๒ เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการวิจัย (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt).......………………………….................................... ๓.๒.๓ การเก็บรวบรวมข้อมูล (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt).………………………….................................... ๓.๒.๔ การวเิ คราะห์ข้อมูล (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt).......………………………….................................... ๓.๓ ระยะที่ ๒ การออกแบบการวจิ ัยเชิงปรมิ าณ (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ๓.๓.๑ ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt)..………………………….................................... ๓.๓.๒ เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt).........………………………….................................... ๓.๓.๓ การเก็บรวบรวมข้อมูล (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt).......………………………….................................... ๓.๓.๔ การวเิ คราะห์ขอ้ มูล (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt)............………………………….................................... หมายเหต:ุ ขอ้ ๓.๒ กบั ๓.๓ สามารถสลับกนั ไดต้ ามการออกแบบการวจิ ยั แบบผสมวิธี

๒๖ I บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย [การวิจัยเชงิ ปริมาณ] (เว้นระยะจากขอบกระดาษดา้ นบน ๒ นว้ิ หรอื ๕.๐๘ ซม. เช่นเดยี วกับการขึ้นบทใหม)่ บทท่ี ๓ (เว้น ๑ บรรทดั ๑๖ พอ้ ยท)์ วิธีดาเนินการวิจัย (เวน้ ๑ บรรทัด ๑๖ พอ้ ยท)์ เกร่ินนา...... (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)..................................................... ............................................................................................................................. .......................... ....................................................................................................................................................... ๓.๑ รปู แบบการวิจัย (๑๘ พ้อยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt)...............………………………….................................... ๓.๒ ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)..............………………………….................................... ๓.๓ เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัย (๑๘ พอ้ ยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พอ้ ยท,์ Before: 6pt)...........………………………….................................... ๓.๔ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู (๑๘ พ้อยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt).............………………………….................................... ๓.๕ การวิเคราะห์ขอ้ มลู (๑๘ พ้อยท,์ Before: 6pt) ......... (๑๖ พ้อยท,์ Before: 6pt).............…………………………...................................... สว่ นทา้ ย บรรณานกุ รม (ช่ัวคราว) (๑๘ พ้อยท)์ ตามรปู แบบในคมู่ อื ประวัติผวู้ ิจัย (๑๘ พอ้ ยท)์

คู่มือดษุ ฎีนพิ นธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนพิ นธ์ ระดับบณั ฑติ ศึกษา I ๒๗ แนวทางการเขยี นโครงร่างฯ (เว้นระยะจากขอบกระดาษดา้ นบน ๒ น้วิ หรือ ๕.๐๘ ซม. เชน่ เดยี วกับการขน้ึ บทใหม่) ชื่อเรอ่ื งภาษาไทย (ตัวหนา, ๒๐ พ้อยท์) English Title (TH SarabunPSK 20pt. Bold หรือ Times New Roman 16 pt. Bold. Before: 6 pt) (English Title ใช้อกั ษรตวั พมิ พเ์ ลก็ ยกเวน้ อกั ษรตวั แรก, เม่อื ใช้ Times New Roman เว้นระยะหา่ งระหวา่ งบรรทดั =1.5 lines) (เวน้ ระยะ ๑ บรรทดั ขนาด ๑๖ pt.) ๑. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (๑๘ พอ้ ยท์) การเขียนความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา เป็นการให้เหตุผลประกอบว่า ทาไม เรื่องของเราจึงสมควรศึกษาวิจัย ปัญหาที่ต้องการหาคาตอบน้ันสาคัญอย่างไร มีภูมิหลังหรือความ เป็นมาอย่างไร ในอดีตที่ผ่านมา มีแนวคิดหรือทฤษฎีที่พยายามตอบปัญหานั้นหรือไม่ ถ้ามีผู้ศึกษาไว้ บ้างแล้ว ต้องชี้แจงต่อไปว่า มีประเด็นปัญหาใดบ้างท่ียงั ค้างคาอยู่หรือตอบแลว้ แต่ยังไม่สมบูรณ์ เพื่อ แสดงให้เห็นวา่ เร่ืองทน่ี ามาศกึ ษานีส้ าคญั และจาเปน็ หรือจูงใจมากจนถึงขนาดทาให้ผู้ศึกษาสนใจและ ตัดสนิ ใจเลือกศกึ ษาเร่อื งน้ี (๑๖ พอ้ ยท)์ ๒. คาถามวิจยั (๑๘ พ้อยท์) ในการเขียนคาถามวิจัยให้เขียนระบุลงไปให้ชัดเจนว่า งานวิจัยเร่ืองนั้นต้องการตอบ ปัญหาอะไร ส่วนใหญ่คาถามวิจัยจะมีอยู่แล้วในความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา แต่ที่แยกมา เป็นอีกหัวข้อหน่ึงต่างหาก เพ่ือเน้นให้เห็นปัญหาเด่นชัดมากยิ่งขึ้นซึ่งนิยมเขียนให้สอดคล้องตาม วตั ถุประสงค์ โดยตัง้ เป็นประโยคคาถาม (๑๖ พอ้ ยท์) ๓. วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย (๑๘ พ้อยท์) การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัยเป็นการวางเป้าหมายการทางานไว้ล่วงหน้าว่า งาน ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์หรือสารนิพนธ์ของเราจะเดินทางไปสู่จุดหมายใด เหมือนการไปซ้ือของใน ห้างสรรพสินค้า ถ้าเรามีเป้าหมายล่วงหน้าว่า จะไปซื้อของอะไร ที่ร้านไหน เราก็จะมุ่งไปหาร้านน้ัน โดยตรง ไม่ต้องเสียเวลาเดินหาการเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย จึงมีประโยชน์มากในแง่ที่ทาให้ผู้วิจัยรู้ ล่วงหน้าว่า งานวิจัยของตนมุ่งไปสู่เป้าหมายใด เวลาลงมือเขียนจะได้ไม่ต้องเสียเวลากับสิ่งท่ีไม่ใช่ เป้าหมายการเขียนวัตถุประสงค์การวจิ ัยนั้น นยิ มเขียนแยกเป็นข้อ ๆ โดยขึ้นต้นคาว่า “เพ่ือ...” โดย แต่ละข้อต้องสัมพันธ์กันและมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือ มุ่งไปสู่การตอบปัญหาการวิจัย เหมอื นกัน (๑๖ พอ้ ยท)์ ๓.๑ .....................................................................………………………..................................… ๓.๒ .....................................………………………….................................................................. ๓.๓ .................................................................…………………………..................................….

๒๘ I บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ๔. ขอบเขตการวิจยั (๑๘ พ้อยท์) เป็นการเขียนระบุว่างานวิจัยเรอ่ื งนี้ จะศึกษาภายในขอบเขตกว้างแคบแคไ่ หนเพียงไร จะ เก็บขอ้ มูลจากเอกสารหรือจากกลุ่มประชากรกวา้ งแคบแค่ไหน การระบุขอบเขตการวิจัย มีประโยชน์ ในแง่ท่ีทาให้เราเก็บข้อมูลได้อย่างครอบคลุมภายในขอบเขตที่กาหนดไว้ ส่วนข้อมูลนอกนั้น ถือว่า ไม่ได้อยู่ในขอบข่ายแห่งการศึกษาของเราอุปมาเหมือนเราขีดวงกลมบนผืนทราย แล้วเก็บเม็ดทราย เฉพาะภายในวงกลมที่เราขีดไว้เท่าน้ัน ดังนั้น ขอบเขตการวิจัย จึงช่วยให้ผู้วิจัยไม่ศกึ ษานอกขอบเขต ซง่ึ สามารถระบุขอบเขตท่ีจะศึกษา ประกอบด้วย ๑) ขอบเขตด้านเน้ือหา ๒) ขอบเขตด้านตัวแปร ๓) ขอบเขตด้านประชากรหรือผู้ให้ข้อมูลสาคัญ ๔) ขอบเขตด้านพื้นที่ และ ๕) ขอบเขตด้านระยะเวลา เพอ่ื ตอบประเดน็ ปญั หาทตี่ ง้ั ไว้และสอดคล้องกบั วธิ ดี าเนนิ การวจิ ยั (๑๖ พ้อยท)์ ๕. สมมตฐิ านการวิจัย (ถา้ ม)ี (๑๘ พอ้ ยท)์ เป็นการคาดเดาคาตอบไว้ล่วงหน้าบนฐานข้อมูลหรือทฤษฎีที่มีอยู่ เช่น เม่ือคดีฆาตกรรม เกิดข้ึน ตารวจมักจะต้ังสมมติฐานล่วงหน้าว่า เกิดจากการขัดแย้งผลประโยชน์บ้าง ชู้สาวบ้าง ทั้งนี้ เพ่ือใหง้ ่ายหรือมีทิศทางในการทาคดี ดงั นั้น คาตอบล่วงหน้าแบบต้ังสมมตฐิ าน จึงต้องมุ่งไปในทิศทาง เดียวกนั กบั วัตถุประสงค์การวิจัย และต้องสะท้อนความสมั พันธ์ระหวา่ งตวั แปรตน้ กบั ตัวแปรตาม เช่น เราให้คาตอบล่วงหน้าว่า “การด่ืมนมจะทาให้เรียนหนังสือเก่ง” สมมติฐานน้ีสะท้อนความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรต้น คือ การดื่มนม กับตัวแปรตาม คือการเรียนหนังสือเก่ง โดยอาจต้ังสมมติฐานเป็น ขอ้ ๆ ได้ (๑๖ พอ้ ยท์) ๕.๑ ……...............................................................………………............................................. ๕.๒ .............................................................………………………….......................................... ๕.๓ .............................................................………………………….......................................... ๖. นยิ ามศัพท์เฉพาะทใี่ ช้ในการวจิ ัย/นยิ ามเชิงปฏิบัติการ (๑๘ พ้อยท)์ การนิยามศัพท์ คือ การตีกรอบคาศัพท์ให้มีความหมายเท่าท่ีเราต้องการใช้ในงานวิจัย เทา่ นน้ั ศัพทท์ ี่จะนิยามจึง ควรเป็นคาหลกั (Keyword) ของงานวิจัยเท่านน้ั ซ่งึ คาหลักมกั ปรากฏอยใู่ น ชื่อเร่ืองหรือวัตถุประสงค์การวิจัย โดยให้พิมพ์เฉพาะคาศัพท์ให้เป็นตัวหนา ส่วนความหมายของ คาศพั ท์ให้พิมพ์เป็นตวั ธรรมดา (๑๖ พอ้ ยท์) ๗. ทบทวนเอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง (๑๘ พอ้ ยท์) การทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง หมายถึง การสารวจดูว่า งานเร่ืองน้ัน ๆ ผู้เขียนมุ่งศึกษาหาคาตอบในประเด็นปัญหาอะไร เม่ือศึกษาแล้วได้พบคาตอบว่าอย่างไรบ้าง คาตอบ นั้นมีช่องว่าง (Academic Gap) หรือมีความไม่ชัดเจนอะไร ท่ีจะเป็นช่องทางให้เราศึกษาเพ่ือความ ชัดเจนต่อไปเป็นการยืนยันว่า งานวิจัยของเราเป็นงานสร้างสรรค์ใหม่ เป็นงานท่ีจะสร้างองค์ความรู้ ใหม่ได้ ไม่ใช่งานท่ีเดินซ้ารอยหรือเป็นงานที่เอาส่ิงที่ผู้อ่ืนรู้แล้วมาพูดทวนซ้าอีก ที่สาคัญต้องสรุปด้วย ว่า จากการทบทวนเอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง ทาให้ได้แนวคิด ทฤษฎีที่เก่ียวกับงานวิจัยท่ีกาลังจะ

คมู่ ือดุษฎีนพิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ระดบั บัณฑิตศกึ ษา I ๒๙ ศึกษาอย่างไร และนิสิตจะต่อยอดในการศึกษาเพ่ือสร้างสรรค์เป็นองค์ความรู้ใหม่ได้อย่างไร โดยแบ่ง การทบทวน เปน็ ๒ หัวขอ้ ใหญ่ ดงั นี้ ๗.๑ เอกสารทเี่ กย่ี วข้อง หมายถึง หนังสอื วรรณกรรม ฯลฯ ท่ีเกีย่ วข้อง ๗.๒ งานวิจัยท่ีเกยี่ วขอ้ ง หมายถงึ ดุษฎีนิพนธ์ วทิ ยานิพนธ์ หรือรายงานการวจิ ยั ฯลฯ ท่ี เกี่ยวขอ้ ง (๑๖ พ้อยท)์ ๘. กรอบแนวคดิ ในการวิจยั (๑๘ พ้อยท์) กรอบแนวคิดในการวิจัย (Conceptual Framework) สามารถเขียนได้ทั้งในการวิจัยเชิง ปริมาณและการวิจยั เชงิ คุณภาพ เพ่ือแสดงใหเ้ ห็นความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตวั แปรท่ีสนใจศกึ ษา โดยที่ใน การวิจัยเชิงคุณภาพ สามารถเขียนการเช่ือมโยงระหว่างตัวแปรที่สนใจศึกษาได้อย่างอิสระ ทั้งนี้ต้อง สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีและประเด็นที่เป็นปัญหาวิจัย สาหรับการวิจัยเชิงปริมาณ จะเขียนใน รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม หรือในรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่มี ความสมั พนั ธ์ระหว่างตัวแปรหลายตัวแปร ทง้ั ตวั แปรแฝง ตวั แปรสงั เกตไดแ้ ละตัวแปรส่งผ่าน เชน่ เรา ต้งั สมมติฐานวา่ “การฝึกสมาธิสง่ ผลใหม้ ีระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นสูงข้นึ ” เม่ือทากรอบแนวคิดใน การวิจัย จะต้องแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้น คือ การฝึกสมาธิ และตัวแปรตาม คือ ระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น (๑๖ พอ้ ยท์) ๙. วธิ ดี าเนนิ การวจิ ยั (๑๘ พอ้ ยท)์ วิธีดาเนินการวิจัย บางครั้งเรียกว่า ระเบียบวิธีวิจัย เป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญมาก เพราะ ผลการวิจัยที่ออกมาจะน่าเช่ือถือหรือไม่ ข้ึนอยู่กับวิธีการดาเนินการวิจัย ท่ีเราใช้เป็นเครื่องมือเก็บ รวบรวมข้อมูลและวเิ คราะห์ข้อมูล เป็นการแจงรายละเอยี ดวา่ เมอื่ ถึงเวลาลงมือทาวิจัยเราจะมีวิธีการ และขั้นตอนการเก็บหลักฐานข้อมูลมาตอบปัญหาวิจัยอย่างไร จะใช้เคร่ืองมืออะไรเก็บข้อมูล (เช่น แบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชงิ ลกึ การสังเกต การสนทนากลุ่ม) เม่ือได้ข้อมลู มาแล้วจะทาอยา่ งไรกับ ข้อมูลนั้น อุปมาเหมือนพ่อครัวช้ีแจงเหตุผลว่า ตนจะทาอาหารพิเศษชนิดหน่ึงขึ้นมา พร้อมกับบอก วิธีการทาอาหารว่า มีลาดับขั้นตอนอย่างไร นับต้ังแต่วิธีการท่ีจะได้มาซ่ึงวัตถุดิบสาหรับทาอาหาร ขน้ั ตอนการปรุงจะเรมิ่ จากอะไรก่อน อะไรหลงั เป็นต้น (๑๖ พอ้ ยท์) ๑๐. ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รับ (๑๘ พ้อยท)์ เป็นการเขียนคาดการณล์ ่วงหน้าว่า หลังจากทางานวิจัยเรอ่ื งน้นั สาเรจ็ แล้ว จะมปี ระโยชน์ อะไรเกิดขึ้นบ้าง ซ่ึงมักจะสัมพันธ์และมุ่งไปในทิศทางเดียวกันกับปัญหาหรือคาถามและวัตถุประสงค์ ของการวจิ ยั อาจเขยี นเปน็ ข้อ ๆ ได้ (๑๖ พ้อยท)์ ๑๐.๑ ........................................................................………………………...........................… ๑๐.๒ ...........................................................…………………………......................................... ๑๐.๓ ...............................................................……………………………..................................

๓๐ I บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๑๑. สารบัญ (ชวั่ คราว) (๑๘ พ้อยท์) เป็นการวางโครงสร้างเน้ือหาของงานวิจัยให้เห็นว่า ในแต่ละบทมีประเด็นที่จะศึกษา อย่างไรบ้าง ช่ือบทคืออะไร มีหัวข้อย่อยอย่างไร ซ่ึงการออกแบบบทแต่ละบทนั้น ต้องคานึงถึง วัตถุประสงค์ของการวิจัยเป็นสาคัญ ควรให้เนื้อหาของแต่ละบทมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน น่ันคือ มุ่ง ไปสู่การตอบปัญหาการวิจัย ในโครงร่างฯ การวิจัยเชิงปริมาณหรือแบบผสมวิธีที่มี ๓ บท ให้เขียน สารบัญให้สอดคล้องกับโครงสร้างเน้ือหาที่นาเสนอ ต่อไปน้ีเป็นตัวอย่างรูปแบบสารบัญ (ชั่วคราว) ของโครงร่างฯ ในงานวจิ ยั เชิงคณุ ภาพ (๑๖ พ้อยท์) ตัวอยา่ ง รปู แบบสารบัญ (ช่วั คราว) สารบญั (ชัว่ คราว) (๑๘ พอ้ ยท์) หน้า เร่อื ง (๑๖ พอ้ ยท,์ ตวั หนา, Before 6pt) บทท่ี ๑ บทนา (๑๖ พอ้ ยท,์ ตวั หนา, Before 12pt) ๑.๑ ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา (๑๖ พอ้ ยท์, ปกติ, Before 6pt) ๑.๒ คาถามวิจยั ๑.๓ วัตถุประสงค์ของการวจิ ัย ๑.๔ ขอบเขตการวจิ ยั ๑.๕ นิยามศัพทเ์ ฉพาะท่ีใช้ในการวิจัย (๑๖ พ้อยท์, ปกติ,) ๑.๖ ทบทวนเอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้อง ๑.๗ กรอบแนวคิดในการวิจัย ๑.๘ วธิ ีดาเนนิ การวจิ ัย ๑.๙ ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั บทท่ี ๒ ………… (ชื่อบทสอดคล้องตามวัตถปุ ระสงคท์ ี่ ๑) (๑๖ พ้อยท,์ ตวั หนา, Before 12pt) ๒.๑ ..................................................................................................................................... ๒.๒ ..................................................................................................................................... ๒.๓ ..................................................................................................................................... บทที่ ๓ ........... (ช่อื บทสอดคล้องตามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่ ๒) (๑๖ พอ้ ยท,์ ตัวหนา, Before 12pt) ๓.๑ ..................................................................................................................................... ๓.๒ ..................................................................................................................................... ๓.๓ ..................................................................................................................................... บทท่ี ๔ ………… (ชื่อบทสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ที่ ๓) (๑๖ พ้อยท,์ ตัวหนา, Before 12pt) ๔.๑ .....................................................................................................................................

คู่มือดษุ ฎนี พิ นธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนพิ นธ์ ระดบั บณั ฑิตศึกษา I ๓๑ ๔.๒ ..................................................................................................................................... ๔.๓ ..................................................................................................................................... บทท่ี ๕ สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ (๑๖ พอ้ ยท,์ ตวั หนา, Before 12pt) ๕.๑ สรปุ ผลการวิจยั (๑๖ พ้อยท,์ ปกติ, Before 6pt) (๑๖ พ้อยท,์ ปกติ,) ๕.๒ ข้อเสนอแนะ ๕.๒.๑ ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย ๕.๒.๒ ข้อเสนอแนะในการนาผลวิจยั ไปใช้ ๕.๒.๓ ขอ้ เสนอแนะสาหรับการวจิ ัยครั้งตอ่ ไป บรรณานุกรม (๑๖ พอ้ ยท,์ ตวั หนา, Before 6pt) ภาคผนวก (๑๖ พอ้ ยท,์ ตวั หนา, Before 6pt) ประวตั ิผู้วจิ ัย (๑๖ พอ้ ยท,์ ตวั หนา, Before 6pt) ๑๒. บรรณานกุ รม (ชว่ั คราว) เป็นรายการเอกสารตา่ ง ๆ ทีน่ ามาใช้อา้ งอิงหรอื ประกอบการศึกษาคน้ คว้าในงานวิจัย ให้ เขียนไว้ในส่วนท้ายของงานวิจัย โดยเขียนเรียงตามลาดับอักษร และแบ่งหมวดหมู่ตามประเภทของ เอกสาร เชน่ เอกสารปฐมภูมิ ทุติยภูมิ เปน็ ต้น ดงั ตวั อย่างตอ่ ไปน้ี (๑๖ พ้อยท)์

๓๒ I บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ตัวอยา่ ง รูปแบบบรรณานกุ รม (ชั่วคราว) บรรณานุกรม (ชัว่ คราว) (๑๘ พ้อยท,์ ตวั หนา) ๑. ภาษาบาลี-ไทย (๑๖ พอ้ ยท,์ ตัวหนา, Before 12pt) ก. ข้อมลู ปฐมภูมิ (๑๖ พ้อยท,์ ตวั หนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏก ๒๕๐๐. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พม์ หาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕. ________. พระไตรปฎิ กภาษาไทย ฉบบั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั . กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙. ข. ข้อมลู ทตุ ิยภูมิ (๑๖ พ้อยท,์ ตัวหนา) (๑) หนังสอื : (๑๖ พ้อยท,์ ตวั หนา, Before 6pt) จานงค์ ทองประเสรฐิ . ปรัชญาประยกุ ต์: ชุดอินเดีย. พระนคร: โรงพมิ พเ์ ฟ่อื งอักษร, ๒๕๑๔. บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วน จากดั สามเจริญแผนกการพิมพ,์ ๒๕๓๓. เสฐียร พันธรังษี. ศาสนาเปรยี บเทียบ. พมิ พ์ครั้งที่ ๘. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เยโล่การพิมพ์ จากดั , ๒๕๔๒. (๒) ดษุ ฎีนพิ นธ์/วิทยานพิ นธ์: (๑๖ พ้อยท,์ ตวั หนา, Before 6pt) อุษา โลหะจรูญ. “การศึกษาชีวิตและผลงานด้านวรรณกรรมพระพุทธศาสนาของสมณะเสวียนจ้ัง (พระถังซมั จัง๋ )”. วิทยานพิ นธ์พุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิต วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖. ๒. ภาษาองั กฤษ (๑๖ พ้อยท,์ ตัวหนา, Before 12pt) Bapat, P.V. 2500 Years of Buddhism. New Delhi: The Publications Division, Ministry of Information and Broadcasting, Government of India, 1956. Conze, Edward. Buddhism: Its Essence and Development. Oxford: Oxford University Press, 1950. Kerlinger, Fed N. Foundations of Behavioral Research. New York: Holt, Rine, 1973.

คู่มือดษุ ฎนี ิพนธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนิพนธ์ ระดบั บัณฑติ ศกึ ษา I ๓๓ ๑๓. ประวตั ิผ้วู ิจัย เป็นข้อมูลท่ีแสดงให้เห็นว่า ผู้วิจัยมีภูมิหลังด้านการศึกษา มีประสบการณ์ มีผลงานทาง วิชาการ และมีความเช่ียวชาญเฉพาะด้าน ท่ีสอดคล้องกับเร่ืองท่จี ะทาการศึกษาหรอื ไมอ่ ย่างไร ความ ยาวไม่ควรเกิน ๑ หน้ากระดาษ (๑๖ พ้อยท์) ตัวอย่าง รูปแบบการเขียนประวัติผู้วจิ ัย ประวตั ผิ วู้ ิจยั (๑๘ พอ้ ยท,์ ตวั หนา) ชอื่ ฉายา/นามสกุล : .................................................................................................................... ว/ ด/ ป เกิด : .................................................................................................................... ภูมิลาเนาท่เี กิด : .................................................................................................................... การศึกษา : ..........................(ต้งั แต่ระดับปริญญาตรีขน้ึ ไป) ......................................... ................................................................................................................... ประสบการณก์ ารทางาน : .......................……………………………………………………................................ …………………..………………………………………………………….........................… ผลงานทางวิชาการ : ………………………………………………………………….....................................….. ..………………………………………………………………………………......................... ตาแหน่งวชิ าการ (ถา้ มี) : ………………………………………………………………….....................................….. อุปสมบท : .................................................................................................................... สงั กัด : .................................................................................................................... ................................................................................................................... ตาแหนง่ : .................................................................................................................... ปที ีเ่ ขา้ ศึกษา : ปกี ารศกึ ษา................................................................................................. ปที ส่ี าเรจ็ การศกึ ษา : ปีการศึกษา................................................................................................. ที่อยู่ปัจจุบัน : .................................................................................................................... ………………………………….……………............…………….........................………. นอกจากน้ี ในโครงร่างยังต้องมีเชิงอรรถ (Footnote) คือ การทารายการเอกสารอ้างอิง หรือคาอธิบายเพิ่มเตมิ ท่ีอยู่ด้านล่างของข้อความในหน้ากระดาษแต่ละหน้า ซึ่งถือว่าเป็นองค์ประกอบ ที่สาคัญมากของงานวิจัย เพราะเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า ข้อเสนอของเรามีความน่าเชื่อถือ และสามารถตรวจสอบแหลง่ ทมี่ าได้ (ดูรายละเอียดในบทท่ี ๔)

บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย I ๓๔ บทท่ี ๒ การเขยี นดุษฎีนิพนธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์ ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ เป็นผลงานทางการศึกษาค้นคว้าวิจัย เพื่อหา ความรแู้ ละความจริง ในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง เพอ่ื ใหไ้ ด้องค์ความรู้ใหม่ โดยอาศยั ข้อมลู ทถี่ กู ตอ้ งน่าเชื่อถือ มีคุณค่าท่ีอาจจะนาไปอ้างอิงอันจะเป็นประโยชน์ทางการศึกษาค้นคว้าวิจัยสืบไป ท้ังเนื้อหาดุษฎี นิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ การนาเสนอผลงานมีความสาคัญไม่ย่ิงหย่อนกว่ากัน นิสิตจึงควร จะเสนอผลงานทีง่ ่ายต่อการเข้าใจและสะดวกต่อการคน้ คว้าแกผ่ อู้ ่นื บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จึงได้กาหนด รูปแบบการ เขียนและการจัดพิมพ์ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ของนิสิต ให้เป็นแบบท่ีควรยึดถือเป็น แนวทางเดียวกนั ดงั น้ี ส่วนประกอบของดุษฎีนพิ นธ์ วทิ ยานิพนธ์ และสารนพิ นธ์ ดุษฎนี ิพนธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนพิ นธ์อาจแบ่งส่วนสาคัญออกเปน็ ๓ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ ส่วนนา ส่วนที่ ๒ สว่ นเน้อื เร่อื ง ส่วนท่ี ๓ ส่วนท้าย ส่วนที่ ๑: สว่ นนา ส่วนนาของดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ ประกอบด้วย ปกนอก ปกใน หน้า อนุมัติ บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ และคาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ หรือส่วนที่อยู่ก่อน หน้าบทที่ ๑ ท้งั หมด ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี ๑.๑ ปกนอก ให้จัดทาปกนอกดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ เป็นปกแข็งสีดา และพมิ พ์ดว้ ยตัวหนังสือสที อง พิมพช์ อื่ เร่อื ง ช่อื ผ้วู จิ ยั สาขาวชิ าทจ่ี บ ปพี ุทธศกั ราช (ปีการศึกษาท่จี บ) ๑.๒ ปกใน หมายถงึ หน้าถดั จากปกนอก กาหนดใหม้ ีปกใน ๒ ปก คือ ปกในท่ี ๑ และปก ในท่ี ๒ ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานพิ นธ์ ปกนอก (ปกดา) ปกในที่ ๑ ปกในที่ ๒ และสารนพิ นธ์ ชื่อเรือ่ ง ภาษาไทย ภาษาไทย ใหท้ าเป็นภาษาไทย ให้ทาเป็น ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ภาษาบาลี ภาษาบาลี ให้ทาเปน็ ภาษาบาลี ใหท้ าเป็นภาษาไทย ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาองั กฤษ ให้ทาเปน็ ภาษาอังกฤษ ให้ทาเปน็ ภาษาไทย ภาษาไทย

๓๕ I คมู่ อื ดษุ ฎีนิพนธ์ วทิ ยานิพนธ์และสารนิพนธ์ ระดับบณั ฑติ ศกึ ษา บนหน้าปกของดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ ให้เขียน ชื่อ ฉายา และนามสกุล ของผู้วิจัย ตามภาษาท่ีใช้บนหน้าปกน้ัน ๆ ให้ใช้คานาหน้าชื่อเช่น พระ, พระมหา, พระครู, นาย, นาง, นางสาว ในกรณีท่ีมีสมณศักด์ิให้เขียนสมณศักดิ์น้ัน พร้อมใส่ช่ือและฉายาไว้ในวงเล็บท้าย สมณศักด์ิ และไม่ต้องเขียนวุฒิใด ๆ เช่น พระศรีคัมภีรญาณ (สมจินต์ สมฺมาปญฺโ ), นาย/นางสาว ............. นามสกุล .................. (ปกในท่ี ๑ และปกในที่ ๒ ของสารนิพนธใ์ หท้ าเช่นเดยี วกันน้)ี ๑.๓ หน้าอนุมัติ หมายถึง หน้าที่คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยและกรรมการสอบดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ลงนามอนุมัติให้จบการศึกษา โดยให้การลงนามของคณะกรรมการ ควบคมุ /ทป่ี รกึ ษาเป็นชอ่ื สุดท้ายของคณะกรรมการตรวจสอบดุษฎนี ิพนธ์ วทิ ยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ (ผู้ตรวจสอบภายนอกอยู่ลาดบั รองจากประธานกรรมการตรวจสอบ) และตอ้ งมชี ื่อผวู้ จิ ัยพร้อมลายเซ็น กากับเสมอ ภาษาท่ีใช้ หากเขียนเป็นดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์เป็นภาษาไทย ให้เขียน หน้าอนุมัติเป็นภาษาไทย ดุษฎนี พิ นธ์ วทิ ยานิพนธ์ และสารนพิ นธ์เขียนเป็นภาษาอังกฤษใหเ้ ขยี นหน้า อนุมัติเป็นภาษาอังกฤษ และดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์เขียนเป็นภาษาบาลี ก็ให้เขียน หนา้ อนมุ ตั เิ ปน็ ภาษาบาลี ๑.๔ บทคัดย่อ มีหลักการเขียน ดังน้ี ถ้าดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์เป็น ภาษาไทย ให้เขียนบทคัดย่อเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ถ้าดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสาร นิพนธ์เป็นภาษาอังกฤษให้เขียนบทคัดย่อเป็นภาษาอังกฤษและภาษาไทย และถ้าดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ภาษาบาลี ให้เขียนบทคัดย่อเป็นภาษาบาลีและภาษาไทย ซึ่งบทคัดย่อ แต่ละภาษาให้มีความยาวไม่เกนิ ๒ หนา้ กระดาษ ๑.๕ กิตติกรรมประกาศ หมายถึง ข้อความที่แสดงความขอบคุณผใู้ ห้ความชว่ ยเหลือและ ให้ความร่วมมือในการค้นคว้าข้อมูลในการเขียนดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ การเขียน กิตติกรรมประกาศใหใ้ ช้ภาษาเดียวกันกับภาษาท่ใี ชเ้ ขียนดุษฎนี พิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนิพนธ์ ๑.๖ สารบัญ เป็นรายการที่แสดงถึงโครงสร้างหรือส่วนประกอบสาคัญทั้งหมดของดุษฎี นิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ เรียงตามลาดับเลขหน้า ให้เขียนด้วยภาษาที่ใช้เขียนดุษฎีนิพนธ์ วทิ ยานพิ นธ์และสารนิพนธ์ ๑.๗ สารบัญตาราง (ถ้ามี) เป็นส่วนที่แจ้งตาแหน่งหน้าของตารางท้ังหมดท่ีมีอยู่ใน ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ ทั้งนี้รวมท้ังตารางในภาคผนวกด้วย (ให้เรียงไว้หลังสารบัญ ท่วั ไป) ๑.๘ สารบัญภาพ (ถ้ามี) เป็นส่วนท่ีแจ้งตาแหน่ง หน้าของภาพ (รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ ฯลฯ) ท้งั หมดทม่ี อี ยู่ในดษุ ฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ (ใหเ้ รยี งไว้หลังสารบญั ตาราง) ๑.๙ คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ เป็นส่วนที่อธิบายถึงสัญลักษณ์และคาย่อต่าง ๆ ท่ี ใช้ในดุษฎีนพิ นธ์ วิทยานพิ นธ์ และสารนิพนธ์ ตัวอยา่ งของคาย่อ มีดงั ต่อไปนี้

บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย I ๓๖ ๑.๙.๑ คาอธิบายคายอ่ ภาษาไทย ผู้วิจัยควรใชฉ้ บบั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยอ้างอิงเท่านน้ั โดยบอกรายละเอียดไว้ในคา ช้ีแจงการใช้อักษรย่อในดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ เช่น อักษรย่อในดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ฉบับนี้ ใช้อ้างอิงจากพระไตรปิฎกภาษาบาลีและพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คัมภีร์อรรถกถาภาษาไทยใช้ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และฉบบั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั พระไตรปิฎกทใ่ี ช้อ้างองิ ให้ใชอ้ ักษรย่อบอกช่ือคมั ภีรเ์ ป็นระบบเดยี วกันหมด ตามที่บัณฑิต วิทยาลัยกาหนด การอ้างอิงให้ระบุ เล่ม/ข้อ/หน้า หลังอักษรย่อชื่อคัมภีร์ ให้ใช้อักษรย่อตัวพ้ืนปกติ เช่น ที.สี. (บาลี) ๙/๒๗๖/๙๗, ที.สี. (ไทย) ๙/๒๗๖/๙๘. หมายถึง ทีฆนิกาย สีลกฺขนฺธวคฺคปาลิ ภาษา บาลี เล่ม ๙ ข้อ ๒๗๖ หน้า ๙๗ ฉบับมหาจุฬาเตปิฏก ๒๕๐๐และ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค ภาษาไทย เลม่ ๙ ขอ้ ๒๗๖ หนา้ ๙๘ ฉบบั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๓๙ การอธิบายบอกอักษรย่อในดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ให้ระบุเฉพาะท่ี อ้างอิงในดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์เท่าน้ัน ไม่ต้องบอกอักษรย่อคัมภีร์พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกาทั้งหมด (ดูตัวอย่างการเขียนคาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ หน้า ๗๗) ตัวอย่างของ คาย่อ มีดงั ตอ่ ไปนี้ ก. คายอ่ ช่ือคมั ภรี พ์ ระไตรปิฎก พระวนิ ยั ปิฎก เลม่ คายอ่ ช่อื คัมภีร์ ภาษา ๑-๒ ว.ิ มหา. (บาลี) = วินยปิฏก มหาวภิ งคฺ ปาลิ (ภาษาบาลี) ว.ิ มหา. (ไทย) = วินัยปิฎก มหาวิภังค์ (ภาษาไทย) (ภาษาบาล)ี ๓ วิ.ภกิ ฺขุนี. (บาล)ี = วินยปิฏก ภกิ ขฺ ุนีวิภงคฺ ปาลิ (ภาษาไทย) วิ.ภกิ ฺขนุ .ี (ไทย) = วินัยปฎิ ก ภกิ ขนุ วี ิภงั ค์ (ภาษาบาล)ี (ภาษาไทย) ๔-๕ ว.ิ ม. (บาลี) = วินยปฏิ ก มหาวคคฺ ปาลิ (ภาษาบาลี) วิ.ม. (ไทย) = วินัยปิฎก มหาวรรค (ภาษาไทย) (ภาษาบาลี) ๖-๗ วิ.จ.ู (บาล)ี = วนิ ยปิฏก จฬู วคคฺ ปาลิ (ภาษาไทย) วิ.จู. (ไทย) = วนิ ยั ปฎิ ก จฬู วรรค ๘ ว.ิ ป. (บาลี) = วนิ ยปิฏก ปรวิ ารวคคฺ ปาลิ วิ.ป. (ไทย) = วนิ ยั ปิฎก ปริวารวรรค พระสุตตันตปฎิ ก เลม่ คาย่อ ชอื่ คมั ภีร์ ภาษา ๙ ที.ส.ี (บาล)ี = สตุ ตฺ นตฺ ปฏิ ก ทฆี นิกาย สีลกขฺ นฺธวคฺคปาลิ (ภาษาบาล)ี ที.สี. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค (ภาษาไทย)

๓๗ I ค่มู ือดษุ ฎีนพิ นธ์ วิทยานพิ นธแ์ ละสารนิพนธ์ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ๑๐ ท.ี ม. (บาล)ี = สตุ ฺตนฺตปิฏก ทีฆนิกาย มหาวคฺคปาลิ (ภาษาบาล)ี ท.ี ม. (ไทย) = สตุ ตนั ตปฎิ ก ทฆี นกิ าย มหาวรรค (ภาษาไทย) ๑๑ ที.ปา. (บาลี) = สุตฺตนฺตปฏิ ก ทีฆนกิ าย ปาฏกิ วคฺคปาลิ (ภาษาบาล)ี ที.ปา. (ไทย) = สุตตนั ตปฎิ ก ทฆี นิกาย ปาฏกิ วรรค (ภาษาไทย) ๑๒ ม.ม.ู (บาลี) = สตุ ฺตนฺตปิฏก มชฺฌิมนิกาย มลู ปณณฺ าสกปาลิ (ภาษาบาลี) ม.มู. (ไทย) = สุตตนั ตปฎิ ก มชั ฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ (ภาษาไทย) ๑๓ ม.ม. (บาลี) = สตุ ตฺ นฺตปิฏก มชฌฺ มิ นิกาย มชฌฺ ิมปณฺณาสกปาลิ (ภาษาบาล)ี ม.ม. (ไทย) = สุตตันตปิฎก มัชฌิมนกิ าย มชั ฌิมปณั ณาสก์ (ภาษาไทย) ๑๔ ม.อ.ุ (บาลี) = สตุ ตฺ นฺตปิฏก มชฺฌิมนกิ าย อปุ รปิ ณฺณาสกปาลิ (ภาษาบาลี) ม.อุ. (ไทย) = สุตตันตปิฎก มชั ฌิมนกิ าย อปุ ริปัณณาสก์ (ภาษาไทย) ๑๕ ส.ส. (บาล)ี = สุตตฺ นฺตปิฏก สยตุ ฺตนกิ าย สคาถวคคฺ ปาลิ (ภาษาบาลี) ส.ส. (ไทย) = สตุ ตนั ตปฎิ ก สงั ยตุ ตนิกาย สคาถวรรค (ภาษาไทย) ๑๖ ส.นิ. (บาลี) = สุตตฺ นตฺ ปิฏก สยุตฺตนิกาย นิทานวคคฺ ปาลิ (ภาษาบาลี) ส.น.ิ (ไทย) = สตุ ตนั ตปิฎก สงั ยตุ ตนิกาย นิทานวรรค (ภาษาไทย) ๑๗ ส.ข. (บาล)ี = สุตตฺ นฺตปิฏก สยตุ ฺตนิกาย ขนธฺ วารวคฺคปาลิ (ภาษาบาล)ี ส.ข. (ไทย) = สตุ ตันตปฎิ ก สังยตุ ตนิกาย ขันธวารวรรค (ภาษาไทย) ๑๘ ส.สฬา. (บาลี) = สุตตฺ นตฺ ปิฏก สยุตตฺ นกิ าย สฬายตนวคคฺ ปาลิ (ภาษาบาลี) ส.สฬา. (ไทย) = สตุ ตนั ตปิฎก สงั ยตุ ตนกิ าย สฬายตนวรรค (ภาษาไทย) ๑๙ ส.ม. (บาลี) = สตุ ฺตนฺตปิฏก สยตุ ฺตนกิ าย มหาวารวคฺคปาลิ (ภาษาบาล)ี ส.ม. (ไทย) = สุตตนั ตปิฎก สงั ยตุ ตนกิ าย มหาวารวรรค (ภาษาไทย) ๒๐ องฺ.เอกก. (บาล)ี = สุตฺตนตฺ ปฏิ ก องฺคุตตฺ รนิกาย เอกกนปิ าตปาลิ (ภาษาบาลี) องฺ.เอกก.(ไทย) = สุตตนั ตปฎิ ก องั คตุ ตรนิกาย เอกกนิบาต (ภาษาไทย) องฺ.ทกุ . (บาลี) = สตุ ฺตนฺตปฏิ ก องคฺ ตุ ฺตรนิกาย ทุกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี) องฺ.ทุก. (ไทย) = สตุ ตนั ตปฎิ ก อังคุตตรนิกาย ทุกนิบาต (ภาษาไทย) อง.ฺ ติก. (บาลี) = สตุ ฺตนฺตปิฏก องคฺ ุตตฺ รนิกาย ตกิ นปิ าตปาลิ (ภาษาบาล)ี อง.ฺ ติก. (ไทย) = สุตตันตปฎิ ก อังคตุ ตรนิกาย ตกิ นิบาต (ภาษาไทย) ๒๑ องฺ.จตกุ กฺ .(บาลี) = สตุ ตฺ นฺตปิฏก องคฺ ตุ ฺตรนิกาย จตกุ กฺ นปิ าตปาลิ (ภาษาบาล)ี องฺ.จตกุ ฺก.(ไทย) = สตุ ตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต (ภาษาไทย) ๒๒ องฺ.ปญจฺ ก.(บาลี) = สุตตฺ นตฺ ปิฏก องฺคตุ ฺตรนิกาย ปญจฺ กนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี) องฺ.ปญจฺ ก.(ไทย) = สุตตันตปิฎก องั คุตตรนิกาย ปญั จกนบิ าต (ภาษาไทย) องฺ.ฉกฺก. (บาล)ี = สตุ ตฺ นตฺ ปฏิ ก องฺคุตฺตรนิกาย ฉกกฺ นปิ าตปาลิ (ภาษาบาลี) อง.ฺ ฉกฺก. (ไทย) = สตุ ตันตปิฎก อังคตุ ตรนิกาย ฉกั กนบิ าต (ภาษาไทย) ๒๓ อง.ฺ สตตฺ ก.(บาลี) = สุตตฺ นฺตปิฏก องฺคตุ ตฺ รนิกาย สตตฺ กนปิ าตปาลิ (ภาษาบาลี) อง.ฺ สตฺตก.(ไทย) = สุตตันตปฎิ ก องั คตุ ตรนิกาย สัตตกนบิ าต (ภาษาไทย) อง.ฺ อฏฺ ก.(บาล)ี = สตุ ฺตนฺตปิฏก องฺคุตตฺ รนิกาย อฏฺ กนิปาตปาลิ (ภาษาบาล)ี อง.ฺ อฏฺ ก.(ไทย) = สตุ ตันตปิฎก องั คุตตรนิกาย อฏั ฐกนบิ าต (ภาษาไทย)

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย I ๓๘ องฺ.นวก. (บาล)ี = สตุ ฺตนตฺ ปฏิ ก องฺคตุ ฺตรนิกาย นวกนปิ าตปาลิ (ภาษาบาลี) อง.ฺ นวก. (ไทย) = สุตตนั ตปฎิ ก องั คตุ ตรนิกาย นวกนิบาต (ภาษาไทย) ๒๔ องฺ.ทสก. (บาลี) = สุตฺตนตฺ ปิฏก องคฺ ตุ ตฺ รนิกาย ทสกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี) องฺ.ทสก. (ไทย) = สุตตนั ตปฎิ ก องั คุตตรนิกาย ทสกนิบาต (ภาษาไทย) องฺ.เอกาทสก. (บาลี) = สตุ ตฺ นฺตปฏิ ก องคฺ ตุ ฺตรนิกาย เอกาทสกนปิ าตปาลิ (ภาษาบาลี) อง.ฺ เอกาทสก. (ไทย) = สุตตันตปิฎก องั คุตตรนกิ าย เอกาทสกนิบาต (ภาษาไทย) ๒๕ ข.ุ ขุ. (บาล)ี = สุตตฺ นตฺ ปิฏก ขทุ ทฺ กนิกาย ขทุ ฺทกปา ปาลิ (ภาษาบาลี) ข.ุ ขุ. (ไทย) = สตุ ตันตปฎิ ก ขุททกนกิ าย ขทุ ทกปาฐะ (ภาษาไทย) ขุ.ธ. (บาล)ี = สตุ ตฺ นตฺ ปิฏก ขุทฺทกนิกาย ธมมฺ ปทปาลิ (ภาษาบาลี) ขุ.ธ. (ไทย) = สุตตันตปฎิ ก ขทุ ทกนิกาย ธรรมบท (ภาษาไทย) ขุ.อุ. (บาลี) = สุตฺตนตฺ ปิฏก ขทุ ทฺ กนิกาย อุทานปาลิ (ภาษาบาลี) ข.ุ อ.ุ (ไทย) = สตุ ตนั ตปฎิ ก ขทุ ทกนิกาย อทุ าน (ภาษาไทย) ขุ.อิติ. (บาลี) = สตุ ตฺ นตฺ ปฏิ ก ขทุ ฺทกนิกาย อติ วิ ุตฺตกปาลิ (ภาษาบาลี) ขุ.อิติ. (ไทย) = สุตตนั ตปฎิ ก ขุททกนิกาย อิติวุตตกะ (ภาษาไทย) ข.ุ สุ. (บาล)ี = สตุ ตฺ นตฺ ปิฏก ขทุ ทฺ กนิกาย สุตฺตนิปาตปาลิ (ภาษาบาล)ี ขุ.ส.ุ (ไทย) = สุตตันตปฎิ ก ขทุ ทกนิกาย สุตตนบิ าต (ภาษาไทย) ๒๖ ข.ุ วิ. (บาล)ี = สตุ ฺตนตฺ ปฏิ ก ขทุ ทฺ กนกิ าย วิมานวตถฺ ปุ าลิ (ภาษาบาล)ี ขุ.วิ. (ไทย) = สตุ ตนั ตปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย วิมานวัตถุ (ภาษาไทย) ข.ุ เปต. (บาล)ี = สุตฺตนฺตปฏิ ก ขุทฺทกนิกาย เปตวตถฺ ปุ าลิ (ภาษาบาล)ี ขุ.เปต. (ไทย) = สุตตนั ตปฎิ ก ขุททกนิกาย เปตวัตถุ (ภาษาไทย) ข.ุ เถร. (บาล)ี = สุตฺตนฺตปิฏก ขทุ ฺทกนกิ าย เถรคาถาปาลิ (ภาษาบาล)ี ข.ุ เถร. (ไทย) = สุตตันตปฎิ ก ขทุ ทกนิกาย เถรคาถา (ภาษาไทย) ขุ.เถรี. (บาลี) = สตุ ฺตนตฺ ปิฏก ขุททฺ กนิกาย เถรคี าถาปาลิ (ภาษาบาล)ี ขุ.เถรี. (ไทย) = สตุ ตันตปฎิ ก ขทุ ทกนิกาย เถรคี าถา (ภาษาไทย) ๒๗ ข.ุ ชา.เอกก.(บาล)ี = สตุ ตฺ นฺตปิฏก ขุททฺ กนิกาย เอกกนิปาต ชาตกปาลิ (ภาษาบาล)ี ข.ุ ชา.เอกก.(ไทย) = สตุ ตนั ตปิฎก ขุททกนกิ าย เอกกนิบาตชาดก (ภาษาไทย) ข.ุ ชา.ทกุ .(บาล)ี = สตุ ตฺ นตฺ ปฏิ ก ขทุ ฺทกนิกาย ทุกนิปาต ชาตกปาลิ (ภาษาบาล)ี ขุ.ชา.ทกุ .(ไทย) = สตุ ตันตปฎิ ก ขุททกนกิ าย ทกุ กนบิ าตชาดก (ภาษาไทย) ขุ.ชา.ติก.(บาลี) = สตุ ตฺ นฺตปิฏก ขทุ ทฺ กนิกาย ติกนปิ าต ชาตกปาลิ (ภาษาบาล)ี ขุ.ชา.ตกิ .(ไทย) = สตุ ตันตปิฎก ขทุ ทกนิกาย ตกิ นบิ าตชาดก (ภาษาไทย) ข.ุ ชา.จตกุ กฺ .(บาลี)= สตุ ฺตนตฺ ปิฏก ขุททฺ กนกิ าย จตกุ กฺ นปิ าต ชาตกปาลิ (ภาษาบาล)ี ข.ุ ชา.จตุกกฺ .(ไทย)= สุตตนั ตปฎิ ก ขุททกนกิ าย จตุกกนิบาตชาดก (ภาษาไทย) ขุ.ชา.ปญฺจก.(บาลี)= สุตฺตนตฺ ปฏิ ก ขุททฺ กนิกาย ปญฺจกนปิ าต ชาตกปาลิ (ภาษาบาล)ี ข.ุ ชา.ปญฺจก.(ไทย)= สุตตนั ตปฎิ ก ขุททกนิกาย ปัญจกนิบาตชาดก (ภาษาไทย) ข.ุ ชา.ฉกฺก.(บาล)ี = สุตตฺ นตฺ ปฏิ ก ขทุ ฺทกนิกาย ฉกกฺ นิปาต ชาตกปาลิ (ภาษาบาลี) ขุ.ชา.ฉกกฺ .(ไทย) = สุตตนั ตปฎิ ก ขทุ ทกนิกาย ฉกั กนิบาตชาดก (ภาษาไทย)

๓๙ I ค่มู อื ดุษฎีนพิ นธ์ วทิ ยานพิ นธ์และสารนพิ นธ์ ระดับบณั ฑิตศกึ ษา ขุ.ชา.สตฺตก.(บาล)ี = สตุ ฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย สตตฺ กนปิ าต ชาตกปาลิ (ภาษาบาลี) ข.ุ ชา.สตตฺ ก.(ไทย)= สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สัตตกนิบาตชาดก (ภาษาไทย) ข.ุ ชา.อฏฺ ก.(บาลี)= สตุ ฺตนตฺ ปิฏก ขุทฺทกนกิ าย อฏฺ กนิปาต ชาตกปาลิ (ภาษาบาล)ี ขุ.ชา.อฏฺ ก.(ไทย)= สตุ ตนั ตปิฎก ขทุ ทกนิกาย อัฏฐกนิบาตชาดก (ภาษาไทย) ขุ.ชา.นวก.(บาล)ี = สตุ ตฺ นตฺ ปฏิ ก ขุทฺทกนิกาย นวกนิปาต ชาตกปาลิ (ภาษาบาล)ี ขุ.ชา.นวก.(ไทย) = สุตตันตปฎิ ก ขุททกนิกาย นวกนิบาตชาดก (ภาษาไทย) ขุ.ชา.ทสก.(บาล)ี = สตุ ฺตนฺตปิฏก ขทุ ฺทกนกิ าย ทสกนปิ าต ชาตกปาลิ (ภาษาบาล)ี ขุ.ชา.ทสก.(ไทย) = สตุ ตันตปิฎก ขุททกนกิ าย ทสกนบิ าตชาดก (ภาษาไทย) ขุ.ชา.เอกาทสก.(บาลี)= สตุ ตฺ นฺตปฏิ ก ขทุ ทฺ กนกิ าย เอกาทสกนิปาต ชาตกปาลิ(ภาษาบาล)ี ขุ.ชา.เอกาทสก.(ไทย)= สุตตันตปฎิ ก ขุททกนิกาย เอกาทสกนิบาตชาดก (ภาษาไทย) ข.ุ ชา.ทวฺ าทสก.(บาลี)= สตุ ตฺ นตฺ ปิฏก ขทุ ทฺ กนิกาย ทฺวาทสกนปิ าต ชาตกปาลิ(ภาษาบาล)ี ข.ุ ชา.ทวฺ าทสก.(ไทย) = สตุ ตันตปิฎก ขทุ ทกนกิ าย ทฺวาทสกนิบาตชาดก (ภาษาไทย) ข.ุ ชา.เตรสก.(บาล)ี = สุตฺตนตฺ ปฏิ ก ขุทฺทกนกิ าย เตรสกนิปาต ชาตกปาลิ (ภาษาบาลี) ข.ุ ชา.เตรสก.(ไทย) = สุตตนั ตปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย เตรสกนบิ าตชาดก (ภาษาไทย) ข.ุ ชา.ปกณิ ฺณก.(บาลี)= สุตตฺ นฺตปฏิ ก ขทุ ทฺ กนิกาย ปกณิ ฺณกนปิ าต ชาตกปาลิ(ภาษาบาลี) ข.ุ ชา.ปกิณณฺ ก.(ไทย)= สุตตนั ตปิฎก ขุททกนิกาย ปกณิ ณกนิบาตชาดก (ภาษาไทย) ขุ.ชา.วีสติ.(บาล)ี = สุตตฺ นตฺ ปฏิ ก ขุทฺทกนกิ าย วสี ตินปิ าต ชาตกปาลิ (ภาษาบาลี) ขุ.ชา.วสี ติ.(ไทย) = สตุ ตนั ตปฎิ ก ขุททกนกิ าย วีสตนิ ิบาตชาดก (ภาษาไทย) ขุ.ชา.ตสึ ติ.(บาล)ี = สตุ ตฺ นฺตปฏิ ก ขทุ ทฺ กนกิ าย ตึสตนิ ปิ าต ชาตกปาลิ (ภาษาบาลี) ขุ.ชา.ตึสติ.(ไทย) = สุตตันตปฎิ ก ขุททกนิกาย ตงิ สตินบิ าตชาดก (ภาษาไทย) ขุ.ชา.จตฺตาฬสี .(บาลี)= สตุ ฺตนฺตปิฏก ขทุ ทฺ กนกิ าย จตฺตาฬสี นิปาต ชาตกปาลิ (ภาษาบาลี) ขุ.ชา.จตตฺ าฬีส.(ไทย) = สุตตันตปิฎก ขทุ ทกนกิ าย จตั ตารสี นิบาตชาดก (ภาษาไทย) ๒๘ ขุ.ชา.ปญฺ าส.(บาลี)= สตุ ตฺ นฺตปิฏก ขทุ ทฺ กนิกาย ปญฺ าสนปิ าต ชาตกปาล(ิ ภาษาบาล)ี ขุ.ชา.ปญฺ าส.(ไทย)= สุตตนั ตปฎิ ก ขุททกนิกาย ปัญญาสนิบาตชาดก (ภาษาไทย) ขุ.ชา.สฏฺ . (บาล)ี = สุตฺตนฺตปฏิ ก ขุททฺ กนิกาย สฏฺ นปิ าต ชาตกปาลิ (ภาษาบาลี) ขุ.ชา.สฏฺ . (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนกิ าย สัฏฐนิ บิ าตชาดก (ภาษาไทย) ขุ.ชา.สตฺตติ.(บาล)ี = สตุ ตฺ นฺตปฏิ ก ขุทฺทกนกิ าย สตตฺ ตนิ ิปาต ชาตกปาลิ (ภาษาบาล)ี ข.ุ ชา.สตตฺ ติ.(ไทย) = สตุ ตันตปิฎก ขทุ ทกนิกาย สตั ตตนิ ิบาตชาดก (ภาษาไทย) ข.ุ ชา.อสตี ิ.(บาล)ี = สตุ ตฺ นฺตปิฏก ขทุ ฺทกนกิ าย อสตี นิ ปิ าต ชาตกปาลิ (ภาษาบาลี) ข.ุ ชา.อสีต.ิ (ไทย) = สตุ ตนั ตปิฎก ขทุ ทกนิกาย อสีตินิบาตชาดก (ภาษาไทย) ข.ุ ชา.ม. (บาล)ี = สุตตฺ นตฺ ปฏิ ก ขุทฺทกนกิ าย มหานปิ าต ชาตกปาลิ (ภาษาบาล)ี ข.ุ ชา.ม. (ไทย) = สตุ ตันตปฎิ ก ขุททกนกิ าย มหานบิ าตชาดก (ภาษาไทย) ๒๙ ขุ.ม. (บาลี) = สุตตฺ นตฺ ปฏิ ก ขุทฺทกนิกาย มหานทิ เฺ ทสปาลิ (ภาษาบาล)ี ขุ.ม. (ไทย) = สุตตนั ตปฎิ ก ขุททกนิกาย มหานิทเทส (ภาษาไทย) ๓๐ ข.ุ จู. (บาล)ี = สุตฺตนตฺ ปฏิ ก ขุททฺ กนกิ าย จฬู นิทฺเทสปาลิ (ภาษาบาล)ี ข.ุ จู. (ไทย) = สุตตนั ตปิฎก ขทุ ทกนิกาย จูฬนทิ เทส (ภาษาไทย)

บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย I ๔๐ ๓๑ ข.ุ ป. (บาล)ี = สุตฺตนตฺ ปฏิ ก ขทุ ฺทกนกิ าย ปฏสิ มฺภทิ ามคฺคปาลิ (ภาษาบาล)ี ขุ.ป. (ไทย) = สุตตันตปฎิ ก ขุททกนกิ าย ปฏิสัมภิทามรรค (ภาษาไทย) (ภาษาบาล)ี ๓๒ ข.ุ อป. (บาล)ี = สตุ ตฺ นตฺ ปิฏก ขุททฺ กนกิ าย อปทานปาลิ (ภาษาไทย) ข.ุ อป. (ไทย) = สตุ ตนั ตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน (ภาษาบาล)ี (ภาษาไทย) ๓๓ ข.ุ อป. (บาลี) = สุตตฺ นฺตปิฏก ขทุ ฺทกนกิ าย อปทานปาลิ (ภาษาบาล)ี ขุ.อป. (ไทย) = สุตตนั ตปิฎก ขุททกนกิ าย อปทาน (ภาษาไทย) ขุ.พุทธฺ . (บาล)ี = สุตตฺ นฺตปิฏก ขทุ ฺทกนกิ าย พทุ ฺธวสปาลิ (ภาษาบาล)ี ข.ุ พุทฺธ. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พทุ ธวงศ์ (ภาษาไทย) ข.ุ จรยิ า. (บาล)ี = สตุ ฺตนตฺ ปิฏก ขุทฺทกนกิ าย จริยาปิฏกปาลิ ขุ.จรยิ า. (ไทย) = สตุ ตนั ตปิฎ ขทุ ทกนิกาย จริยาปิฎก เล่ม คาย่อ พระอภธิ รรมปิฎก ภาษา ๓๔ อภิ.สงฺ. (บาลี) ชอื่ คมั ภีร์ (ภาษาบาลี) อภ.ิ สงฺ. (ไทย) (ภาษาไทย) = อภิธมฺมปฏิ ก ธมฺมสงฺคณีปาลิ (ภาษาบาลี) ๓๕ อภิ.วิ. (บาล)ี = อภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี (ภาษาไทย) อภิ.วิ. (ไทย) = อภธิ มฺมปิฏก วิภงฺคปาลิ (ภาษาบาลี) = อภธิ รรมปฎิ ก วภิ งั ค์ (ภาษาไทย) ๓๖ อภ.ิ ธา. (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก ธาตุกถาปาลิ (ภาษาบาลี) อภ.ิ ธา. (ไทย) = อภิธรรมปิฎก ธาตกุ ถา (ภาษาไทย) = อภิธมมฺ ปฏิ ก ปุคคฺ ลปญฺ ตฺตปิ าลิ (ภาษาบาลี) ๓๗ อภ.ิ ป.ุ (บาล)ี = อภธิ รรมปฎิ ก ปุคคลบัญญัติ (ภาษาไทย) อภิ.ปุ. (ไทย) = อภิธมมฺ ปิฏก กถาวตถฺ ปุ าลิ (ภาษาบาลี) = อภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ (ภาษาไทย) ๓๘ อภิ.ก. (บาลี) = อภิธมฺมปฏิ ก ยมกปาลิ (ภาษาบาลี) อภิ.ก. (ไทย) = อภธิ รรมปิฎก ยมก (ภาษาไทย) = อภิธมฺมปิฏก ปฏฺ านปาลิ ๓๘-๓๙ อภ.ิ ย. (บาลี) = อภธิ รรมปฎิ ก ปัฏฐาน อภิ.ย. (ไทย) ๔๐-๔๕ อภ.ิ ป. (บาล)ี อภ.ิ ป. (ไทย) ปกรณวิเสส ภาษา คายอ่ ชื่อคัมภรี ์ (ภาษาบาล)ี เนตฺติ. (บาล)ี = เนตตฺ ปิ กรณ (ภาษาไทย) เนตตฺ ิ. (ไทย) = เนตตปิ กรณ์ (ภาษาบาล)ี เปฏโก. (บาลี) = เปฏโกปเทส (ภาษาบาล)ี มิลินทฺ . (บาลี) = มิลนิ ทฺ ปญหฺ ปกรณ (ภาษาไทย) มลิ ินทฺ . (ไทย) = มลิ ินทปัญหปกรณ์

๔๑ I ค่มู ือดษุ ฎีนพิ นธ์ วิทยานพิ นธแ์ ละสารนพิ นธ์ ระดับบณั ฑิตศกึ ษา วสิ ทุ ธฺ ิ. (บาลี) = วิสุทธฺ มิ คคฺ ปกรณ (ภาษาบาล)ี วิสุทฺธ.ิ (ไทย) = วสิ ทุ ธิมรรคปกรณ์ (ภาษาไทย) ข. คาย่อชื่อคัมภีร์อรรถกถา ผู้วิจัยต้องใช้คัมภีร์อรรถกถาภาษาบาลีฉบับมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเท่าน้ัน ส่วนอรรถกถาภาษาไทย ใช้ได้ท้ังฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และฉบับมหามกฏุ ราชวิทยาลยั โดยบอกรายละเอียดไว้ในการใช้สญั ลักษณ์และอักษรย่อในดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ (ให้ยกคาอธิบายการใช้สัญลักษณ์และอักษรย่อช่ือคัมภีร์อรรถกถาส่วนนี้ ไปเรียงลาดบั ต่อจากคัมภีรป์ กรณวิเสส (ถา้ มี) ตามลาดับ คือ พระไตรปฎิ ก ปกรณวิเสส และอรรถกถา ใหอ้ ย่ใู นยอ่ หน้าเดียวกันท้ังหมด โดยไม่ตอ้ งแยกการอา้ งอิงคมั ภีรแ์ ละชแ้ี จงการใชอ้ ักษรย่อ) ระบบอา้ งอิงอรรถกถาให้ใช้อักษรย่อเหมือนกันท้ังหมด ตามท่ีทางบัณฑิตวิทยาลัยกาหนด และระบบอ้างอิงให้ระบุช่ือคัมภีร์ ลาดับเล่ม (ถ้ามี)/หน้า เช่น ที.สี.อ.(บาลี) ๑/๒๗๖/๒๔๐ หมายถึง ทีฆนิกายสุมงฺคลวิลาสินี สีลกฺขนฺธวคฺคอฏฺ กถา ภาษาบาลี เล่ม ๑ ข้อ ๒๗๖ หน้า ๒๔๐ ฉบับมหา จุฬาอฏฺ กถา การอ้างอิงอรรถกถาภาษาไทย ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย อนุวัตตามตัวเลขประจาเล่ม ดังน้ี ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/๒/๒/๘๙ หมายถึง พระสูตรและอรรถกถาแปล ขุททกนิกาย ธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ หน้า ๘๙ ฉบบั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย ๒๕๒๕ อรรถกถาพระวนิ ัยปิฎก คายอ่ ช่อื คมั ภรี ์ ภาษา ว.ิ มหา.อ. (บาลี) = วินยปิฏก สมนฺตปาสาทกิ า มหาวิภงคฺ อฏฺ กถาปาลิ (ภาษาบาล)ี ว.ิ มหา.อ. (ไทย) = วินัยปฎิ ก สมนั ตปาสาทิกา มหาวภิ ังคอรรถกถา (ภาษาไทย) ว.ิ ภกิ ฺขนุ ี.อ. (บาลี) = วนิ ยปฏิ ก สมนตฺ ปาสาทกิ า ภกิ ฺขนุ ีวิภงคฺ อฏฺ กถาปาลิ (ภาษาบาล)ี ว.ิ ภิกฺขนุ .ี อ. (ไทย) = วินยั ปฎิ ก สมันตปาสาทิกา ภิกขุนวี ภิ ังคอรรถกถา (ภาษาไทย) วิ.ม.อ. (บาลี) = วนิ ยปฏิ ก สมนฺตปาสาทิกา มหาวคฺคอฏฺ กถาปาลิ (ภาษาบาล)ี ว.ิ ม.อ. (ไทย) = วนิ ยั ปฎิ ก สมนั ตปาสาทิกา มหาวรรคอรรถกถา (ภาษาไทย) ว.ิ จู.อ. (บาลี) = วินยปิฏก สมนตฺ ปาสาทกิ า จฬู วคฺคอฏฺ กถาปาลิ (ภาษาบาลี) ว.ิ จู.อ. (ไทย) = วนิ ัยปิฎก สมนั ตปาสาทกิ า จฬู วรรคอรรถกถา (ภาษาไทย) วิ.ป.อ. (บาลี) = วินยปิฏก สมนตฺ ปาสาทกิ า ปรวิ ารวคฺคอฏฺ กถาปาลิ (ภาษาบาลี) ว.ิ ป.อ. (ไทย) = วินัยปฎิ ก สมนั ตปาสาทิกา ปริวารวรรคอรรถกถา (ภาษาไทย) กงฺขา.อ. (บาล)ี = กงฺขาวิตรณีอฏฺ กถาปาลิ ว.ิ สงคฺ ห. (บาลี) = วินยสงคฺ หอฏฺ กถาปาลิ (ภาษาบาล)ี ว.ิ นจิ ฺฉย. (บาลี) = วินยวนิ จิ ฺฉยปาลิ (ภาษาบาล)ี อุตฺตรว.ิ (บาลี) = อุตฺตรวนิ จิ ฉฺ ยปาลิ (ภาษาบาล)ี ขุทฺทสกิ ฺขา. (บาล)ี = ขุทฺทสิกฺขาปาลิ (ภาษาบาล)ี มูลสกิ ขฺ า. (บาล)ี = มูลสกิ ฺขาปาลิ (ภาษาบาล)ี (ภาษาบาลี)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook