แนวทางการพัฒนาพ้ืนทนี่ วตั กรรมทางการศึกษา พระครกู ิตติญาณวสิ ฐิ , ผศ.ดร. โครงการย่อยที่ 1 ภายใตแ้ ผนงานวจิ ัย เร่ืองการพัฒนาพนื้ ที่นวัตกรรมวถิ พี ทุ ธ คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย
แนวทางการพฒั นาพน้ื ทนี่ วตั กรรมทางการศกึ ษา ศกึ ษาแนวทางการพัฒนาพนื้ ทนี่ วตั กรรมทางการศกึ ษา ภายใต้แผนงานวิจัย เร่อื ง การพัฒนาพืน้ ท่นี วตั กรรมวถิ พี ุทธ พระครกู ิตติญาณวิสฐิ , ผศ.ดร. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั พิมพค์ รั้งแรก มีนาคม 2565 จำนวน 100 เล่ม พิมพ์ที่ มหาจฬุ าบรรณาคาร ศูนยห์ นังสือมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ๗๙ หมู่ ๑ ตำบลลำไทร อำเภอวังนอ้ ย จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
คำนำ การศึกษาแนวทางการพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษา ภายใต้แผนงาน วิจัยเรื่อง การพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมวถิ พี ทุ ธ โดย คณะวิจัย ได้ดำเนินการศึกษาตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ( Qualitative Research) ศึกษาข้อมูลเชิงเอกสาร (Documentary Research) จาก แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ควบคู่ กับการวิจัยเชิงปฏิบัติการภาคสนาม (Action Research) โดยเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) กลุ่มผู้บริหาร คณาจารย์คณะครุ ศาสตร์ และผู้ทรงคุณวุฒซิ ึ่งมคี วามรู้เก่ียวขอ้ งกับการพฒั นาพื้นที่นวัตกรรม ทางการศึกษา รวมถึงสัมภาษณ์เชิงลึกตัวแทนจากพื้นที่นวัตกรรมทาง การศึกษานำร่อง จำนวน 5 พื้นที่ เพื่อนำเสนอ ข้อมูลต่อการสนทนากลุ่ม ยอ่ ย (focus Group Discussion) การจัดสมั มนา และการสังเคราะห์ข้อมลู เข้าสู่ กระบวนการพฒั นา (Research and Development) แนวทางการพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษา MCU Model ที่มุ่งเน้นด้านการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ของนักเรียน การลดความ เหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษา และการมีความร่วมมือกับภาครัฐ องค์กร และหน่วยงานต่าง ๆ โดยมีพื้นที่นวัตกรรมการศึกษานำร่องเป็นพืน้ ที่พิเศษ ด้านการศึกษา ที่เอื้อให้คนในพื้นที่ทุกภาคส่วนได้รวมพลัง ร่วมจัดการ ศึกษา สร้างนวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ อย่างยั่งยืน ณ คณะครุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย หวังว่าข้อมูลต่าง ๆ ที่ปรากฏในหนังสือคู่มือนี้ จะเป็นประโยชน์ ตอ่ สถานศึกษา หน่วยงานท่เี กีย่ วข้อง และเยาวชนผู้สนใจต่อไป พระครกู ติ ติญาณวิสิฐ, ผศ.ดร.
สารบัญ เรื่อง หนา้ • สรปุ องค์ความรู้ที่ไดจ้ ากการวจิ ยั 5 • สภาพพื้นทน่ี วัตกรรมทางการศึกษานำร่อง 7 • วิเคราะห์องคค์ วามรู้การพฒั นาพืน้ ทน่ี วัตกรรมทางการศกึ ษา 69 • แนวทางการพฒั นาพื้นทนี่ วัตกรรมทางการศกึ ษา 93 • องค์ความร้ทู ี่ได้จากการวจิ ัย 106
สรุปองค์ความรู้ทีไดจ้ ากการวิจัย การศกึ ษาแนวทางการพฒั นาพ้นื ทีน่ วัตกรรมทางการศึกษาเพ่อื พัฒนาพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาทางคณะครุศาสตร์ขึ้นมาเพื่อเป็นศูนย์การ เรียนวิถีพุทธ และเป็นศูนย์กลางถ่ายทอดกิจกรรมต่างๆ เปรียบเสมือน ชุมชนแห่งการเรียนรู้ มีครู โรงเรียน และชุมชน ดังนั้นบริบทของพื้นท่ี นวัตกรรมทางการศึกษา มีหลักสำคัญในการพัฒนาที่คล้ายคลึงกับการ จัดการชุมชนเป็นหลักสำคัญในการสร้างชุมชนต้นแบบของการเรียนรู้ โดย การสร้างเครือข่ายและความร่วมมือในการเชื่อมโยงองค์ความรู้และภูมิ 5
ปญั ญาท้องถน่ิ หลกั ในการสรา้ งโรงเรยี นตน้ แบบการเรยี นรู้ ต้องใหโ้ รงเรียน และชุมชนมีส่วนร่วมรับรู้ถึงปัญหาต่างๆ และความต้องการโดยเรียงลำดับ ความสำคัญ ทำให้เกิดความเข็มแข็งทางด้านการพัฒนานวัตกรรมทาง การศึกษา และเพิ่มศักยภาพของภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือในชุมชน ตลอดจน การสร้างเครือข่าย ในการเชื่อมโยงความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ นวตั กรรมการศกึ ษาแนวใหม่ 6
สภาพพ้ืนทีน่ วตั กรรมทางการศกึ ษานำร่อง ภาคเหนอื ภาค ภาคกลาง ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 7
สามารถสร้างอาชีพได้ มีรูปแบบการดำเนินงานในลักษณะของ ประชารัฐ เป็นความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชนและ ภาคประชาสังคม รวมกันทั้งสามภาค เน้นการมีส่วนร่วมซึ่งโรงเรียนไม่เก็บค่าเล่าเรียน และ โครงสร้างบุคลากรนั้น ทางโรงเรียนได้จัดระบบการคัดเลือกครู พิจารณา จากคนที่มีจิตใจดี โดยให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการคัดเลือกสภาพแวดล้อม และแหล่งเรียนรู้ มีความเหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้ และการพัฒนาจิตใจ ของนักเรียนและครู ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเป็นแกนกลางสร้าง ความผูกพันธ์ ความรัก ความเมตตา ความสามัคคี ผ่านกระบวนการเรียนรู้ แบบบรู ณาการคุณค่าความเป็นมนุษยต์ ามแนวทางสตั ยาไส ดงั นี้ 1. กระบวนการเรียนการสอนและการเรียนรูว้ ิถพี ุทธโรงเรียน สตั ยาไส จงั หวัดลพบุรี สภาพการจัดการเรียนการสอนตามแนววิถีพุทธของโรงเรียนสัต ยาไส จังหวัดลพบุรี โรงเรียนสัตยาไสจัดการศึกษาในระดับชั้นอนุบาล โดย เน้นและยึดแนวทางการเรียนการสอนตามหลัก สูตรการศึกษาปฐม วัย พุทธศักราช 2546 ของกระทรวงศึกษาธิการ มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรมตามแนววิถีพุทธตามแบบของโรงเรียนสัตยาไส การเรียนจะเป็น แบบไป-กลับ เรยี นฟรี ไมม่ คี ่าเล่าเรยี น “อันนี้นะคะผู้ปกครองด้วยค่ะแล้วฝึกได้ ก็คือไม่ให้เขากลับบ้าน ทุกเสาร์ ทุกอาทิตย์เนี่ยถ้าไม่จำเป็นจะไม่ให้รับกลับบ้าน อยู่กับเราเป็น เทอมเลยค่ะ เมื่อเป็นเทอมเนี่ยเราจะปลูกฝังสิ่งที่ดีที่งามให้กับเด็กๆ ได้โดย ที่ เด็กเค้าจะเชื่อฟังเฉพาะเราก็หล่อหล่อมเขาตั้งแต่อนุบาลหรือตั้งแต่ ป.1 ต้นไปเลย แล้วเด็กเขาจะปฏิบัติได้และจะเป็นคนดี ตารางเวลาของเค้าคือ สวดมนต์นั่งสมาธิตอน 6:00 น.ทุกเช้า เค้าอยู่ร่วม สิ่งที่ดีของเราอีกอย่าง หนึ่งเราจจะให้พี่ๆ ดูแลน้องๆ เราจะมีเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อนจะเข้า มหาวิทยาลัยใครเก่งวิชาอะไรก็ติวให้เพื่อนๆ ด้วย จะสร้างความรักความ สามัคคีใหเ้ ดก็ ๆ ดว้ ยเพื่อนชว่ ยเพ่ือนพ่ชี ว่ ยน้องบา้ งครั้งพีก่ จ็ ะมาช่วยน้องมา 8
สอนอ่านหนังสือ มาช่วยทำการบ้านเพราะเราอยู่กันทั้งวันทั้งคนื ช่วงหัวค่ำ ทห่ี อพักเคา้ จะสอนน้องๆ ได้” ผู้บริหารสูงสุดและคณะกรรมการ จะเป็นผู้คัดเลือกนักเรียนเข้า เรียนเองระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เป็นการ จดั การศกึ ษาในระบบโรงเรียนประจำ เพอ่ื ทจี่ ะไดส้ ังเกตเด็ก ฝกึ เด็ก รวมท้ัง วิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมงซึ่งการอยู่ประจำ จะทำให้ นักเรียนรูจ้ ักการปรับตัว และการอยู่รว่ มกับผู้อื่นได้ดี รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจ เรา รกั หมูร่ ักคณะ เปน็ ไดท้ ้งั ผูน้ ำและผตู้ ามที่ดี “นักเรียนของเราถ้าไม่จำเป็นเราจะคุยกับผู้ปกครอองไม่ให้รับ กลับบ้าน อยู่กับเราเป็นเทอม เป็นการอยู่ประจำ เมื่อเป็นเทอมเนี่ยเราจะ ปลูกฝังสิ่งที่ดีที่งามให้กับเด็กๆ ได้โดยที่เราก็หล่อหล่อมเขาตั้งแต่อนุบาล หรือตั้งแต่ ป.1 ไปเลย แล้วเด็กเขาจะปฏิบัติได้และจะเป็นคนดี มีการอยู่ ร่วมกับผู้อื่น เค้าอยู่ร่วมกัน การอยู่ร่วมกันเป็นการเรียนรู้จักชีวิตอีกทาง หนึ่งซงึ่ เปน็ แนวทางหน่งึ ในการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรยี นของเรา” โดยใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของกระทรวงศึกษาธิการเป็นกรอบในการดำเนินการจัดการเรียน การสอน “การสอนมีการแบบวิชาปกติเหมือนกระทรวงศึกษาธิการ คะแนนที่ออกมา100คะแนน เราก็มีวิธีการ แต่เวลาประเมินเนี่ยเราก็มี วิธีการตัดเกรดเหมือนโรงเรียนทั่วๆ ไปนะคะ แต่เวลากิจกรรม กิจกรรมแต่ ละกิจกรรมเราก็ให้อิสระกับครูผู้สอนบางทีครูผู้สอนเค้าสอนตามสภาพจริง นะคะก็คือเด็กเรียนรู้ตามสภาพจริง เพราะโรงเรียนเราไปนอกสถานที่บ่อย ค่ะ ท่านอาจารย์บอกว่าการเรียนรู้นอกสถานที่เนี่ยเคา้ ไม่ต้องท่องจำใช่ไหม คะก็จะมีภาพติดตาติดใจก็ไปตลอดชีวิตเลยนะคะ อันนี้ก็แล้วแต่คุณครูนะ คะแต่ที่สำคัญคือประเมินตามสภาพจริง โดยใช้คะแนนเป็นเกณฑ์แต่ ที่เรา ไม่ ไม่ตามหลักของกระทรวงก็คือคุณค่าความเป็นมนุษย์เราก็จะตัดเราเอง 9
เราจะคุยไม่คุยกบั ใครท้ังสิ้นเรากจ็ ะดูพฤติกรรม เดก็ กับใครจริงคือเน้นการ ประเมินตามสภาพจริง ปกติเราก็มีตวั ชีว้ ัดของเรามแี บบนี้เราก็ตัดเกรดของ เราได้ตัวชั้ีดเปน็ พ้นื ฐานและเราต้องคดิ นอกรอบด้วยคะ่ ” จากกรอบในการดำเนินการจัดการเรียนการสอนสู่การปฏิบัติให้ สอดคล้องกับธรรมชาติของโรงเรยี น จดั กระบวนการเรยี นรู้โดยการใช้สมาธิ เพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียน และใช้หลักคุณค่าความเป็น มนษุ ย์ 5 ประการ คือ ความรกั ความเมตตา ความจริง ความประพฤติชอบ ความสงบสุข และความไมเ่ บยี ดเบียน “นักเรียนทุกคน มีคุณค่าความเป็นมนุษย์ 5 ประการที่เราสอน กันทุกวันนี้เป็นจุดใหญ่ของโรงเรียน นักเรียนต้องมีคุณค่าความเป็นมนุษย์ 5 ประการเป็นหลักถ้าไม่มกี ็จะไม่ใช่โรงเรียนสัตยาไสแลว้ หล่ะค่ะ” โดยหลักคุณค่าความเป็นมนุษย์ 5 ประการนี้เราจะสอดแทรกใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และในทุกกิจกรรม ใช้ระบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ ตามทฤษฎีการเรียนรู้พหุปัญญา มีวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง มีการจัดกิจกรรม และเทคนิคการเรียนรู้ที่หลากหลายซึ่งนำไปสู่ การสร้างคนดเี หนอื ส่ิงใด “ตามจริงแล้วหัวใจคือคุณธรรม แต่จริงๆ แล้วเด็กๆ จะต้องมี ทักษะชีวิตไม่ใช่สอนทักษะชีวิตอยู่แต่ในห้องเรียน เค้าจะทำอะไรไม่เป็น สงสัยไหมคะวา่ สตั ยาไสทำไมตอ้ งปลกู ขา้ ว ปลกู ผักเราอยากให้เด็กมีทักษะ ชีวิตเพื่อที่จะนำไปประกอบสัมมาอาชีพได้บางทีเด็กเค้าเรียนแบบไม่ลง ปฏิบัติเนย่ี จะทำไมไ่ ด้แต่เด็กท่นี ท่ี ำได้ถงึ เวลาทำนา เกยี่ วข้าว ปลกู ผกั แตว่ า่ เราไมไ่ ดใ้ หเ้ ขาทำทัง้ หมด เราจะมีพนกั งานอยูด่ ว้ ย เราจะไปช่วยเขาระยะ 1 เท่านั้น ทักษะชีวิตสำคัญมากสำคัญโรงเรียนของเราเป็นโรงเรียนประจำ เมื่อออกไปสู่สังคมเขาก็จะรู้ว่าเขาควรจะปฏิบัติตัวอย่างไรถึงจะเป็น ประโยชน์ต่อสังคม” 10
โรงเรียนสัตยาไส กำหนดให้มีการคัดเลือกนักเรียนเข้าใหม่ 2 ครั้ง ครั้งแรกจะคัดเลือกโดยการสอบข้อเขยี นเฉพาะผูป้ กครอง ครั้งท่ี 2 จะ สอบสัมภาษณ์ผู้ปกครองและนักเรยี น โดยการเข้าค่ายทำกิจกรรมร่วมกนั ที่ โรงเรียน เพื่อทางโรงเรียนจะได้คัดเลือกผู้ปกครองและนักเรียนที่มี แนวความคิดสอดคล้องกับปรัชญา หลักการและนโยบายของโรงเรียนซ่ึง จากการสมั ภาษณ์ผใู้ ห้ขอ้ มูลสำคัญ ไดข้ ้อมลู ที่สอดคล้องตรงกันดังน้ี “จะมีกระบวนการคัดเลือกโดยสัมภาษณ์ผู้ปกครองค่ะ เด็กจะ เป็นอย่างไรก็ช่าง เพราะเด็กทุกคนดีงามทุกคนบริสุทธิ์ทุกคน สัมภาษณ์ ผู้ปกครองเป็นหลัก ถ้าผู้ปกครองเห็นด้วยกับวิสัยทัศน์โรงเรียนสร้างคนดี เหนือสิ่งใด เราก็สามารถที่จะสัมภาษณ์เขาดูเขาแสดงความคิดเห็นนะคะ คือท่าทีของเขา บางคนมาอยากให้ลูกวิชาการเก่ง แบบนั้นแบบนี้ถ้ามีแบบ เราก็ไม่รับนะค่ะเดี๋ยวนักเรียนอยู่ประจำแล้วเค้าก็จะเก่งไปเองผู้ปกครอง ส่วนใหญเค้าก็จะทราบว่าที่นี่ต้องการเด็กดีเท่านั้นค่ะ เราจะใช้เกณฑ์อะไร ตดั สนิ ในการเลอื กเด็ก ง่ายมากเลยคะ่ เราก็จะมีคณะกรรมการเกอื บ 10 คน มาชว่ ยกนั สัมภาษณเ์ ด็กๆ คยุ ตรงไปตรงมาสมั ภาษณเ์ ดก็ ด้วยและสัมภาษณ์ ผู้ปกครองด้วยใช่ไหมคะ ถ้าเด็กกับผู้ปกครองตอบไม่ค่อยจะตรงกันเนี่ยเรา ก็สงสัยได้ว่าผู้ปกครองอาจจะไม่ได้เลี้ยงนะค่ะ แต่เด็กเขาไม่โกหกหลอกค่ะ ป .1 เขาก็จะตอบตามใสซื่อของเขา เราก็จะตอบได้ว่าผู้ปกครองคนนี้พูด ความจริงหรือเปล่า แต่เด็กบางคนก็น่าสงสารเค้าถูกทิ้งนะคะเด็กที่ถูกทิ้ง ผู้ปกครองเนี่ยแยกทางกันโดยคุณพ่อคุณแม่ไม่ดูแลเอาใจใส่อาจารย์อาจอง จะชอบสงสารชอบรับเข้ามาเพราะว่าเค้าไม่สมบูรณ์ไงค่ะ แต่ว่ามันก็เป็น เพียงส่วนน้อยทีแ่ บบวา่ เหมือนเขาจะอย่กู บั คณุ ตาคุณยายแลว้ ก็ไม่ปลอดภยั ท่านอาจารย์ไม่คิดมากท่านเสนอให้รับเลย ส่วนเด็กที่สมบูรณ์เราก็โอเคเรา รับไดส้ ามสิบคนเอง” จะเห็นได้ว่าโรงเรียนสัตยาไส จะแนวทางการจัดการบริหาร จัดการคือ การเน้นท่ีสามภาคคอื ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม 11
ให้เกิดการมีสว่ นร่วมและบูรณาการหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาตั้งอยู่บน พื้นฐานความเมตตา และพัฒนาจากแนวคิดจุดศูนย์ของความสมดุลสร้าง เสริมด้วยปัญญา โดยนำนวตั กรรมมาใช้ในการจัดการเรยี นการสอน “เด็กๆ จะต้องมีทักษะชีวิตไม่ใช่สอนทักษะชีวิตอยู่แต่ใน หอ้ งเรียน” 2. นวตั กรรมการเรียนการสอน/การเรียนรูว้ ถิ ีพุทธ 1) มีการสอนคุณธรรมด้วยการบูรณาการของการสอนจาก ห้องเรียนธรรมชาติ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ด้วยหลักแนวคิด 2 ข้อคือ ดี สำหรับเราไหม และดีสำหรับคนอื่นไหม ถ้าดีสำหรับตัวเรา แต่ไม่ดีสำหรับ คนอน่ื เราก็ไม่ทำ “สตั ยาไสทำไมต้องปลูกข้าว ปลกู ผักเราอยากใหเ้ ด็กมีทักษะชีวิต เพื่อที่จะนำไปประกอบสัมมาอาชีพได้บางทีเด็กเค้าเรียนแบบไม่ลงปฏิบัติ เนี่ยจะทำไม่ได้แต่เด็กที่นี่ทำได้ถึงเวลาทำนา เกี่ยวข้าว ปลูกผัก แต่ว่าเรา ไม่ได้ให้เขาทำทั้งหมด เราจะมีพนักงานอยู่ด้วย เราจะไปช่วยเขาระยะ 1 เท่านั้น ทักษะชีวิตสำคัญมากสำคัญโรงเรียนของเราเป็นโรงเรียนประจำ เมื่อออกไปสู่สังคมเขาก็จะรู้ว่าเขาควรจะปฏิบัติตัวอย่างไรถึงจะเป็น ประโยชน์ต่อสังคม” นอกจากนี้ยังมีการบูรณาการเข้าไปในรายวิชาด้วย “หัวใจที่สำคัญที่สุดสวดมนต์นั่งสมาธิทุกเช้า ในแต่ละวิชาให้เด็กๆ นั่งสงบ นิ่งด้วยก่อนเรียนสัก 2-3 นาที เพื่อทำจิตใจให้สงบก่อนเรียน และคุณครู ต้องนำหัวใจคุณค่าความเป็นมนุษย์ 5 ประการไปสอดแทรกในทุกๆ วิชา คณิต วิทยาศาสตร์ สังคม พลศึกษาตามกลุ่มสาระต้องแทรกได้ไม่ใช่สอน เพยี วๆ เหมือนโรงเรียนท่วั ๆ ไปจะไมใ่ ช่” 2) มีการสอนให้พึ่งพาตัวเองเป็นส่วนใหญ่ เช่น การซักผ้า การลา้ งถาดใสอ่ าหารของตวั เอง และสอนใหช้ ่วยเหลือผู้อน่ื ถ้าเปน็ นักเรียน มาใหมค่ นทเ่ี ป็นนักเรียนเก่าก็จะคอยช่วยเหลือเหมอื นพชี่ ว่ ยเหลือนอ้ ง 12
“สิ่งที่ดีของเราอีกอย่างหนึ่งเราจจะให้พี่ๆ ดูแลน้องๆ เราจะมี เพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อนจะเข้ามหาวิทยาลัยใครเก่งชชาอะไรก็ติวให้เพื่อนๆ ด้วย จะสร้างความรักความสามัคคีให้เด็กๆ ด้วยเพื่อนช่วยเพื่อนพี่ช่วยน้อง บ้างครั้งพี่ก็จะมาช่วยน้องมาสอนอ่านหนังสือ มาช่วยทำการบ้านเพราะเรา อยู่กันทั้งวันทั้งคืน ช่วงหัวค่ำที่หอพักเค้าจะสอนน้องๆ ได้ กิจกรรมเพื่อน ชว่ ยเพือ่ น” 3) มีการสอนเรื่องระเบียบวินัยให้ตรงต่อเวลาโดยการจัด ตารางว่าเวลาไหนต้องทำอะไรบ้าง และมีระเบียบวินัยในการเข้าแถวไป เรียนหรอื ไปรับประทานอาหารเสมอ “เช้าขึ้นมาสวด ก่อนเรียนในทุกๆ รายวิชาก็มีการนั่งสมาธิ เพื่อให้เด็กมีจิตใจสงบว่างจากเรื่องวุ่นวายต่างๆ ก่อนที่จะเข้าสู่บทเรียน เนื่องจากเราเป็นโรงเรียนประจำ เด็กส่วนใหญ่อยู่กับเรา ดังนั้นการอยู่ ร่วมกนั ของคนหมมู่ าก เรอ่ื งของวินัย หรือความเป็นระเบยี บเปน็ เร่อื งสำคัญ ซึ่งเด็กๆ ตอนมาแรกๆ ก็ยังไม่เท่าไหร่ แต่เมื่ออยู่กับเราไปสักระยะจะเห็น ว่าเจะเรียนรู้จากสง่ิ ทเี่ ราให้เค้า จนเค้าก็เป็นคนท่ีมรี ะเบยี บวินัยไปโดยท่ีเค้า ไมร่ ูต้ ัว” 4) มีการสอนเรื่องความอดทนในการอยู่ร่วมกันในหอพักของ นกั เรยี น 5) มีการสอนโดยการเรียนรู้จากนิทานที่มีข้อคิดที่ดี เช่น จิ้งจอกกับองุ่น ช่วยก่อให้เกิดความคิดที่ดีและสามารถนำไปปรับใช้ใน ชวี ิตประจำวันได้ “ในเรื่องของการเรียนการสอนนอกจากจะมีการสอนแบบปกติ ทั่วไปจามเกณฑ์มาตรฐานอแล้ว เรายังมีกิจกรรมทีทำให้ทราบคุณค่าความ เป็นมนุษย์ โดยมีการทำกิจกรรมซาบซึ้งทั้ง ๕ คุณค่า มีกิจกรรมความรัก ความเมตตา ตรงน้ีจะมีนิทานเกี่ยวกับความรักความเมตตา มีเกมส์ให้เล่น สนุกสนานแต่สอดแทรดการเรียนรู้ และก็มีเพลงแล้วก็ขมวดท้าย เมื่อฟัง 13
นิทานแล้ว ฟังเพลงแล้ว ครูก็จะมีการถามว่านิทานเรื่องนี้ให้ข้อคิดให้ ประโยชน์กับเราอย่างไรบ้าง ก็เป็นการฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ไปได้ด้วย ในตัว” 6) มีการสอนคุณธรรมโดยการสอนแทรกในวิชาเรียนต่างๆ ของนกั เรียน เชน่ เรือ่ งความกตญั ญูในวชิ าคณิตศาสตร์ “การบูรณาการเขา้ ไปในรายวิชาดว้ ย โดยหัวใจที่สำคัญท่ีสุดสวด มนต์นั่งสมาธิทุกเช้า ในแต่ละวิชาให้เด็กๆ นั่งสงบนิ่งด้วยก่อนเรียนสัก 2-3 นาที เพ่อื ทำจิตใจให้สงบก่อนเรยี น และคุณครูต้องนำหวั ใจคุณค่าความเป็น มนุษย์ 5 ประการไปสอดแทรกในทุกๆ วิชาคณิต วิทยาศาสตร์ สังคม พล ศึกษา ตามกลมุ่ สาระต้องแทรกได้ไม่ใช่สอนเพยี วๆ เหมือนโรงเรยี นทัว่ ๆ ไป จะไมใ่ ช่” 7) มีการสอนเกี่ยวกับภาษาต่างประเทศในช่วงปิดเทอม เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ภาษาจีน ให้นักเรียนได้เลือกประเทศที่ต้องการ และไปอยู่กบั “โฮสต์แฟมลิ ี่” เพ่อื แลกเปลยี่ นภาษาและวฒั นธรรม “ครูฝรั่งที่มาที่เรา ส่วนมากจะเป็นคนที่ค่อนข้างมีฐานะ เขาก็จะ เอาเด็กเราไปชว่ งซมั เมอร์ เอาไปอยูบ่ า้ นเขาแลว้ เขากจ็ ะพาไปทศั นศึกษาไป ดูอะไรต่างๆ เกี่ยวกับบ้านเมืองเขา พิพิธภัณฑ์อะไรก็แล้วแต่ เขาจะพาเด็ก ไป เด็กกจ็ ะอยู่เป็นเดือนเลยค่ะ ถึงเวลาเปิดเทอมก็มาโรงเรียนใหม่ อันนี้เรา จะได้ฟรีๆ ๆ อยู่ฟรี กินฟรี ที่ต่างประเทศค่ะ ถ้าถามว่าเราคัดเด็กไหม ตอบ เลยนะคะเราไม่มีการคัดเด็ด เราไม่คัดค่ะ คือใครที่สะดวกนะคะไม่จำเป็น วา่ ต้องเก่งภาษาไม่เก่งกไ็ ดเ้ ราใหไ้ ปทงั้ หมด แตว่ า่ ต้องเสยี ค่าใช้จา่ ยเองแตไ่ ป อยู่ที่นั่นทางต่างชาติก็จะดูแลเด็กของเราทุกอย่างนะคะ เด็กไม่มีเงิน ท่าน อาจารย์ก็ออกให้ค่ ะเพราะว่าอนาคตเค้าจะไปดีท่านก็สงสารเด็ก จ่ายตัว เครอื่ งบนิ ไปให้” 3. นวตั กรรมวฒั นธรรม/มารยาทชาวพทุ ธ 14
1) มกี ารแต่งกายท่สี ภุ าพมาเรยี นทุกครั้ง เช่นชดุ นักเรียน และชุด ชดุ วอรม์ ของโรงเรยี น 2) มีการยกมือไหว้ครูและเข้าไปกอดแสดงความรักเพื่อเป็นการ ทกั ทายเม่อื เจอ 3) มีการสอนในเรื่องการใช้คำพูดกบั ครูและผู้ปกครอง เด็กผู้ชาย ใหล้ งทา้ ยดว้ ยครับเสมอ เดก็ ผหู้ ญิงใหล้ งทา้ ยดว้ ยคะ่ เสมอ 4) มไี หว้ครูผ้สู อนก่อนเข้าเรียนเสมอ สวสั ดคี ะ่ สวัสดีครับ คุณครู ทกุ วิชา 4. นวัตกรรมการฝึกภาวนาวิถพี ุทธ 1) มกี ารทำวัตรสวดมนต์ในชีวติ ประจำวนั ในเวลาเชา้ เวลาเย็นทุก วัน และกอ่ นนอน 2) มีการฝึกนั่งสมาธิเพื่อยกระดับจิตให้มีความคิดที่ดีขึ้นเพื่อให้มี สติ เมอื่ มีสติจงึ ทำให้เร่อื งการเรยี นดขี ึ้น 5. นวตั กรรมวถิ ีชีวิตพอเพยี ง 1) มีการปลูกพืชผักสวนครัว เช่น แตงกวา และทำนาข้าว เพ่ือ นำมาประกอบอาหาร โดยผักสวนครัวและนาข้าวเด็กนักเรียนจะเป็นคน ปลกู เองโดยมีครูเป็นผู้ชว่ ยแนะนำ 2) มีการสอนให้เด็กนักเรียนทำน้ำปุ๋ยหมักชีวภาพจากธรรมชาติ มาใชใ้ นโรงเรียน 3) มีการสอนให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้การสร้างโซล่าฟาร์มเพ่ือ ผลติ ไฟฟ้าใชใ้ นโรงเรยี น โดยมีแบบใหด้ ูประกอบ 4) มีการทำน้ำมันไบโอดีเซลบริสุทธิ์ จากน้ำมันที่เหลือจากการ ทำอาหาร กล่าวโดยสรุปว่า แนวทางการเรียนรู้ของโรงเรียนสัตยาไส จังหวัดลพบุรี ใช้แนวคิดพลังของความรักและความเมตตาพัฒนาจิตใจ กระตุ้นเด็กนักเรียน และคุณครูอยู่ในโรงเรียน มีส่วนในการบริหารจัดการ 15
ให้เกิดการเรียนรู้ด้วยกันให้เป็นเสมือนครอบครัวเดียวกัน ทุกคนดูแล ช่วยเหลือกัน ภายใต้แนวคิดท่ี “มุ่งสร้าง คนดี” ก่อนคนเก่งซึ่งเป็นแนวคิด ที่ต้องการให้ทุกคน ร่วมกันพัฒนาโรงเรียนและมีแนวทางในการปฏิบัติ หน้าที่ซึ่งแนวคิดนี้สะท้อนให้เห็นแนวทางการเรียนการสอนตามหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 ของกระทรวงศึกษาธิการ มีการบูรณา การคุณธรรมจริยธรรมตามแนววิถีพุทธ ท่ีเชื่อที่ว่าความดีสำคัญกว่าความ เก่ง เมื่อเป็นคนดีแล้วจะเก่งได้เอง “แต่การเป็นคนเก่งยากที่จะเป็นคนดี” และเมื่อผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม หรือคุณค่าความเป็นมนุษย์ จะ กลายเป็นคนเก่งเอง พร้อมจะให้ความช่วยเหลือผู้อื่น และสังคมดังรูปภาพ ท่ี 4.2 รูปแบบการเรียนรโู้ ดยใชห้ ลกั “Educare” • ปฏบิ ัตสิ มาธิ ได้ บูรณาการคุณธรรม • เกษตรอินทรีย์ ความความรัก จรยิ ธรรมตามแนววถิ ี เกษตรวิถีใหม่ ความเมตตา • สรา้ งโซล่าฟารม์ • หพลฒั รแักักนนศตาวลี งั้จคธคติ ิดราใพรถจมลาดังม้วขกยออ่ งนคเขวาา้ มสู่ พทุ ธ เพื่อผลิตไฟฟ้า นบ้ารมิสพุทันชธไุทบว่ิ์ ธโยเอศเหดรเีลษซือฐลสศังาคสมตร์ บทเรยี น • “ม่งุ สรา้ ง คนดี” • คนเกง่ ดว้ ยคณุ ค่า ความเปน็ มนุษย์ ภาพท่ี 1 นวตั กรรมการเรยี นการสอน ทม่ี า : โรงเรยี นสตั ยาไส จงั หวดั ลพบรุ ี รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้หลัก “Educare” โดยมุ่งดึงสิ่งที่ดีจาก นักเรียน ตั้งคำถามที่ดี และสร้างสรรค์ ก่อนเข้าสู่การเรียน จะมีวิธีการโน้ม 16
นำให้สวดมนต์ ปฏิบัติสมาธิ ระลึกถึงครู ผู้ปกครอง ตลอดถึงของสรรพสิ่ง แผ่เมตตาให้สรรพสิ่ง มีความนอบน้อม ทักทายซึ่งกันและกันด้วย แสดงออกด้วยการไหว้ กราบ และมีความเคารพ มีความเมตตา ความ กรุณา อยู่เป็นปกตินิสัย และที่สำคัญการปลูกหรือดึงเอาสิ่งที่นักเรียนและ ครูมีอยู่ซึ่งผู้บริหารโรงเรียนสัตยาไส จะใช้แนวคิดพุทธเศรษฐศาสตร์ และ น้อมนำหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน “เน้นท่ีการทำการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรอินทรีย์ เกษตรวิถี ใหม่” โดยสรุปสาระสำคัญของนวัตกรรมการเรียนการสอนและการเรียนรู้ วถิ ีพุทธ ข้อมูลพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษา: โรงเรียนรุ่งอรุณ กรุงเทพมหานคร โรงเรียนรุ่งอรุณจึงถือกำเนิดขึ้นภายใต้สภาพแวดล้อมของ โรงเรียนที่เป็นธรรมชาติ เอื้อต่อการเรียนรู้เด็กๆ เรียนรู้ในสภาพแวดล้อม ของอาคารเรียนและห้องเรียนที่โปร่งโล่ง การจัดชั้นเรียนให้เป็นบ้านแห่ง การเรียนรู้ที่อบอุ่น มีบึงน้ำใหญ่อยู่กลางโรงเรียน สะพานไม้ทอดยาวเป็น ทางเดินเลียบรอบบึง ห้อมล้อมด้วยสวนป่าที่เป็นห้องเรียนธรรมชาติซึ่งมี เรื่องราวที่มีเสน่ห์มากมาย ชวนให้น่าค้นหาซึ่งทางโรงเรียนได้แบ่งการ เรยี นร้ดู า้ นนวัตกรรมดงั นี้ 1. นวตั กรรมการเรยี นการสอน/การเรียนรวู้ ิถพี ุทธ 1) มีการสอนโดยใช้ธรรมชาติเป็นสื่อการสอน เช่นวิชา คณิตศาสตร์ ใช้การวดั ตน้ ไมเ้ พ่อื หาคำตอบ หรอื เรยี นเรอื่ งการเงนิ “อีกอันนึงที่เน้นด้านด้านด้านคณิตศาสตร์เราเรียกว่า financial literacy ก็จะได้รู้เกี่ยวกับเรื่องของต้นทุนกำไรการออมการใช้ เงิน เพือ่ เปน็ การสอนใหเ้ ด็กรูจ้ กั ใช้จา่ ย รู้จกั ออมไว้ใช้ในอนาคตดว้ ย” 2) มีการทำกิจกรรมนอกห้องเรียน เช่นวิชาศิลปะ คือมีการ ให้เด็กมีส่วนร่วมในการสร้างส่อื ที่จะสอนกบั ครู 17
“การเรียนระดับมัธยม ที่เป็น Project ที่ให้เด็กเข้าไปร่วม แก้ปัญหากับชุมชนด้วย มีการเรียนเกี่ยวกับภาคต่างๆ และนักเรียนก็จะได้ ไปศึกษาประเด็นปัญหา ของชุมชนนั้นๆ หรือว่าเขาก็จะได้มีการทำสื่อเพ่ือ สื่อสารสิ่งที่เขาได้เรียนรู้ในมัธยม ก็จะมีตีมที่เน้นด้านสังคม ตีมที่เน้นด้าน วิทยาศาสตร์ที่เน้นด้านวิทยาศาสตร์ จะเรียนรู้เช่นว่ากระบวนการต่างๆ ที่ ทำให้ขยะล้นโลก มีอะไรที่เกิดขึ้น ขยะในในเมืองไทย กรุงเทพฯ แล้ว ถ้า เราจะทำให้ขยะเอาไปใชป้ ระโยชน์ หรือว่าทำให้ขยะมันน้อยลง มีอะไรบ้าง ทีจ่ ะเป็นเคร่ืองชว่ ยไปพัฒนาสิ่งต่างๆ เหลา่ นั้น” 3) มีการสอนให้ช่วยเหลือตัวเองเป็นส่วนใหญ่ เช่นการ ทำอาหารกลางวันก็จะมีเด็กนักเรียนไปจ่ายตลาดเองโดยมีครูพี่เลี้ยงค่อย ช่วย “มีการออกแบบการจัดการเรียนการสอนด้วยค่ะ ก็จะมี 3 ช่วงก็คืออนุบาล ประถม มัธยมในวัยอนุบาลเนี่ยหลักสูตรของโรงเรียน ออกแบบ ให้นักเรียนเรียนรู้จากการเล่น การเล่นการเงิน การงานที่ หมายถึงว่ากิจวัตร ทั้งรายการครัว ก็คือทำตัวอะไรทำนองนี้ เพื่อให้เขาได้ เขา้ ใจ แลว้ ก็ใใชก้ ารเรียนร้ใู นชวี ิตปกตขิ องเด็กให้เป็นสงิ่ ทมี่ ันเปน็ การเรียนรู้ และพัฒนาตัวเด็กอนุบาลนะคะก็จะได้สอดคล้องกับช่วงวัย 5 ขวบ 6 ขวบ 4-6 ขวบในช่วงหลังอนุบาล แล้วก็เป็นครูก็จะสร้างเป็น theme เช่นกรณี เรื่องการงาน ครูมาเรียนเนี้ยก็จะพานักเรียนทำอาหารแล้วก็เรียนรู้เรื่อง ส่วนประกอบของอาหารด้วยกัน เด็กได้ฝึกหัดผัก เด็ดผัก คุณครูก็มีการทำ ในห้อง ไม่ว่าจะผัดผัก ทอดปลา ทำข้าวผัด ไข่เจียว เด็กก็จะได้เห็น กระบวนการตา่ งๆซ่ึงมันเปน็ ความเป็นจรงิ ของชวี ติ ” 4) มีการสอนปนั้ ดนิ เหนียวใหก้ ับเด็กนกั เรยี นใหล้ งมอื ทำจรงิ “การเรียนการสอนของเราเน้นให้เด้กลงมือปฎิบัติจริง ลงมือ ทำจรงิ ” 5) ใหท้ ุกคนมีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา 18
“อาจารย์อยากให้ทั้งพ่อแม่แล้วก็ทุกคนมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาได้เปลี่ยนวิธีคิดว่าปัญญาที่รู้ความจริงของธรรมชาติแล้วก็มนุษย์ เนี่ยแล้วก็โดยเฉพาะพ่อแม่ครูที่เป็นหุ้นส่วนการเรียนรู้เนี่ยจะได้เข้าใจว่าไม่ ว่าหลักสูตรใดๆ นะคะหลักสูตรชาติหรือหลักสูตรใดๆ ก็แล้วแต่จะคิดอย่าง ละเอียดรอบคอบเพียงใดก็ไม่อาจจะทำให้นักเรียนได้ถ้าเกิดพ่อแม่ครูเน่ีย ไม่ได้ปรับวิธีคิดแล้วก็ออกแบบการจัดกระบวนการที่เหมาะสมให้เกิดขึ้น ค่อนข้างเน้นเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ลูกแล้วก็ความสำคัญระหว่าง ครูกับศิษย์เพื่อนกับเพื่อนการเปิดใจเรียนรู้ซึ่งกันและกันมันก็จะเป็นวิธีการ พฒั นามนษุ ย์ด้วยสติปญั ญา” 6) มีการสอนแบบบูรณาการณ์ท่ามกลางสภาพแวดล้อม ธรรมชาติ “เวลาที่คุณครูทำแผนเช่นจะเรียนว่าเล่นในธรรมชาติครูก็จะ พาเด็กของเล่นโดยใช้วัสดุในธรรมชาติแล้วก็เรียนรู้ว่าขณะนี้เป็นช่วงฤดูฤดู แล้ง ฤดูหนาวลักษณะของอากาศเป็นยังไงเด็กๆ เช้านี้อากาศเป็นแบบไหน ต้นไม้ลักษณะต้นไม้กันยังไง มันแตกต่างจากหน้าฝน ที่เพิ่งผ่านมายังไงบ้าง เดี๋ยวเขาจะได้ฟังแล้ว ก็เปรียบเทียบโดยที่คุณครูใช้เรื่องการเล่นพาเด็ก ออกไปอยู่ในธรรมชาติ ก็ให้สัมผัสกับสภาพแวดล้อมจริงๆ เด็กก็จะ เพลิดเพลินกับการที่ตัวเองไปหาว่าธรรมชาติมาทำของเล่นแล้วก็แล้วก็ สงั เกตตัวธรรมชาตไิ ป โดยเขาไม่รตู้ ัววา่ ขณะน้ีกำลังเรยี นอยู่” “การพัฒนาให้เขาเป็นผู้ใช้สติปัญญาความฉลาดทางโลก อย่างเดียวแต่เป็นผูท้ ่ีเข้าใจตนเองแลว้ ก็เข้าใจไปสู่สิ่งที่แวดล้อมไม่ว่าจะเป็น ปัญหาหรือว่าไม่ใช่ปัญหาเขาก็ฝึกพัฒนาตนเองไปเรื่อยๆ สร้าง ความสัมพันธ์ของตัวเองกับผู้อื่นเราก็อยู่ภายใต้สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่ ทำให้จิตใจมีความมีความสงบโดยพื้นฐานของธรรมชาติอยู่แล้วพอดีรุ่งอรุณ ค่อนข้างที่จะเน้นเรื่องของการจัดสิ่งแวดล้อมให้มีธรรมชาติมีต้นไม้เยอะนะ 19
คะเราก็เลยจะเอาสิ่งแวดล้อมภายนอกมาผนวกกับสิ่งแวดล้อมภายในให้ เกิดการเรียนรู้ทที่ ด่ี ”ี 7) มีการสอนเร่อื งศลี ธรรม ศาสนา และการสำรวมจิตใจเดก็ “แนวคิดของการจัดการศึกษาแบบโรงเรยี นรงุ่ อรุณก็ คือ เปน็ การเน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่เรียนรู้ด้วยตัวเอง และรู้จักวิธีแสวงหาความรู้มีมี สติสมั ปชัญญะในการคดิ พิจารณาพจิ ารณาต่างๆ ด้วยตวั เองเปน็ แนวทางใน การจัดการศกึ ษาตงั้ แต่ปี 2540 เปน็ ต้นมา” “แนวคิดทางการก่อสร้างโรงเรียนรุ่งอรุณ การพัฒนาให้เขา เป็นผู้ใช้สติปัญญาความฉลาดทางโลกอย่างเดียวแต่เป็นผู้ที่เข้าใจตนเอง แล้วก็เขา้ ใจไปสู่สิ่งทีแ่ วดล้อมไมว่ ่าจะเป็นปัญหาหรือว่าไมใ่ ช่ปัญหาเขาก็ฝึก พฒั นาตนเองไปเร่ือยๆ สร้างความสมั พันธ์ของตวั เองกับผู้อ่นื เราก็อยภู่ ายใต้ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่ทำให้จิตใจมีความมีความสงบโดยพื้นฐานของ ธรรมชาติอยู่แล้วพอดีรุ่งอรุณค่อนข้างที่จะเน้นเรื่องของการจัดสิ่งแวดล้อม ให้มีธรรมชาติมีต้นไม้เยอะนะคะเราก็เลยจะเอาสิ่งแวดล้อมภายนอกมา ผนวกกบั สิ่งแวดลอ้ มภายในใหใ้ ห้เกดิ การเรยี นรูท้ ท่ี ดี่ ี” 8) มีการสอนวิชาพื้นฐานโดยการเรียนผสมผสานกับ ธรรมชาติ เช่นวิชาสังคมของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 จะเรียนผ่าน โครงการของโรงเรียน ชื่อโครงการข้าวไทยวิถีไทยในการเรียนรู้การปลูก ข้าวทำนา “กระบวนการเรียนเรียนเชื่อมโยงระหว่างเรียนและชุมชน ศึกษาสาเหตุของปัญหาต่างๆ ว่าระบบการเรียนรู้ให้เป็นระบบของทุกภาค การศึกษา จะมีวิธีการเรียนอย่างไร เช่นระดับประถมปลาย ก็จะเรียนเรื่อง ของข้าวไทย วิถีไทย ก็จะเอาเรื่องของการปลูกข้าวเนี่ยมาลำดับ กระบวนการปลูกข้าวเหนียว ลำดับสอดคล้องไปกับการเรียนตลอดปี ก็ เรียนตามหาน้ำมาจากไหน น้ำหมายถึงอะไร น้ำประปา มาจากไหน และ 20
ขา้ วมาจากไหน ถึงไดม้ าอยใู่ นกล่องข้าว เพราะอะไรถึงใชน้ ำ้ จากก๊อก กเ็ ป็น การย้อนรอยไปไปสูต่ น้ นำ้ ตน้ นำ้ ในปา่ นค้ี อื เรอ่ื งการเรยี นที่เราออกแบบ” 9) มีการสอนทางวิชาการในห้องเรียนโดยครูจะนำเสนอ โครงการเพื่อให้เด็กนักเรียนเลอื กทำโครงการตามความคิดเหน็ ของเดก็ และ ให้เดก็ เป็นคนคดิ กิจกรรมและแบง่ งานกันทำ “เรามีการนำแนวคิด Project based learning เข้ามาใช้กับ เด็กๆ ของเรา มีการนำเสนอโครงการเพื่อให้เด็กนักเรียนเลือกทำโครงการ ซึ่งการทำโครงการนี้จะทำให้เด็กได้เรียนรู้การทำงานร่วมกัน โดยเด็กเป็น คนคดิ กจิ กรรมและแบ่งงานกนั ทำ” 10) มีการสอนให้เด็กมีทักษะการทำงานร่วมกันกับผู้อื่น โดย ผา่ นทางกิจกรรมหรอื โครงการท่ีไปลงพน้ื ท่ี “การเรียนระดับมัธยม ที่เป็น Project ที่ให้เด็กเข้าไปร่วม แก้ปัญหากับชุมชนด้วย มีการเรียนเกี่ยวกับภาคต่างๆ และนักเรียนก็จะได้ ไปศึกษาประเด็นปัญหาของชุมชนนั้นๆ หรือว่าเขาก็จะได้มีการทำสื่อเพื่อ สื่อสารสิ่งที่เขาได้เรียนรู้ในมัธยม ก็จะมีตีมที่เน้นด้านสังคม ตีมที่เน้นด้าน วิทยาศาสตร์ที่เน้นด้านวิทยาศาสตร์ จะเรียนรู้เช่นว่ากระบวนการต่างๆ ที่ ทำให้ขยะล้นโลก มีอะไรที่เกิดขึ้น ขยะในในเมืองไทย กรุงเทพฯ แล้ว ถ้า เราจะทำให้ขยะเอาไปใชป้ ระโยชน์ หรือว่าทำให้ขยะมันนอ้ ยลง มีอะไรบ้าง ที่จะเป็นเครื่องช่วยไปพัฒนาสิ่งต่างๆ เหล่านั้นส่วนอีกอันนึงที่เน้นด้านด้าน ด้านคณิตศาสตร์เราเรียกว่า financial literacy ก็จะได้รู้เกี่ยวกับเรื่องของ ตน้ ทนุ กำไรการออมการใช้เงนิ เพ่อื เปน็ การสอนให้เด็กรจู้ ักใช้จ่าย รู้จักออม ไวใ้ ช้ในอนาคตดว้ ย” 11) เนน้ ใหผ้ ้เู รียนเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง “เน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่เรียนรู้ด้วยตัวเอง และรู้จักวิธีแสวงหา ความรู้มีสติสัมปชัญญะในการคิดพิจารณาพิจารณาต่างๆ ด้วยตัวเองเป็น แนวทางในการจดั การศึกษาตั้งแตป่ ี 2540 เป็นต้นมา อันนี้อย่างยอ่ มันก็คง 21
จะมีแรงบันดาลใจอีกหลายประเด็นที่ท่านอาจาย์ประภาภัทร นี้แล้วก็ทำให้ มาเริม่ สร้างโรงเรยี นรงุ่ อรณุ ” 2. นวัตกรรมวฒั นธรรม/มารยาทชาวพทุ ธ 1) นกั เรียนมีการใสช่ ดุ นักเรยี นมาเรยี นทุกวดั พฤหัสบดี สว่ นวันอื่นจะใสช่ ุดธรรมดามาเรียน 2) เด็กนักเรียนเวลาพูดกับครูหรือผู้ปกครองจะมีคำลง ท้ายด้วย ครับ,คะ่ เสมอ 3) ภาคเช้าเด็กนักเรียนมีการเข้าแถวเป็นระเบียบตอน เคารพธงชาติ 3. นวตั กรรมการฝกึ ภาวนาวถิ พี ทุ ธ 1) ทางโรงเรียนมีกิจการช่วงปิดเทอมใหญ่ จะมีการเปิดรับ สมัครเข้าค่ายธรรม คือถ้าเป็นนักเรียนผู้หญิงก็จะให้เป็นบวชชี ถ้าเป็น นกั เรยี นผชู้ ายจะใหบ้ วชเปน็ สามเณร 2) ทุกวันพฤหัสบดี เด็กนักเรียนจะใสช่ ุดนักเรียนสีขาว มาทำ วตั รสวดมนตต์ ลอดทกุ เทอม 4. นวัตกรรมวิถีชวี ติ พอเพียง 1) มีการปลูกผักสวนครัวในโรงเรียน เช่น ผักคะน้า แตงกวา และทำนา 2) มโี ครงการบำบัดน้ำเสยี ในโรงเรียน 3) มีการเลยี้ งสตั ว์ เช่นหา่ น ในโรงเรยี น หลักการบริหารโรงเรียนรุ่งอรุณ มีการจัดการศึกษาแบบองค์ รวม (Holistic Learning) บูรณาการการเรียนรู้สู่ชีวิต เน้นภาคปฏิบัติ โดย พฒั นาพืน้ ทใี่ หเ้ ป็นเหมือนห้องเรยี นจรงิ ดว้ ยกระบวนการเรียนรดู้ ว้ ยกิจวัตร ประจำวันว่า แต่ละวันนั้น มีการใช้ชีวิตอย่างไร ตั้งแต่ตื่นนอนมา เป็นการ บ่มเพาะลักษณะนิสัยที่ดีหรือเป็นการปลูกฝังในวิถีของการ “รู้อยู่” “รู้กิน” และรู้ประมาณตนอย่างพอเหมาะ พอดี การเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติ 22
การเรียนรู้จาก สถานการณ์จริงในสังคมไทย จนเข้าถึงคุณค่าที่แท้จริงของ ทุกสิ่งที่เรียน มีความรู้ความเข้าใจอย่างเชื่อมโยงตนเอง สังคมและโลก ประยุกต์ใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์ ขยายศักยภาพและสร้างดุลยภาพแห่ง มนุษยท์ ่สี มบูรณ์ “กระบวนการเรียนเรียนเชื่อมโยงระหว่างเรียนและชุมชน การเรยี นระดับมัธยม ทเี่ ป็น Project ทใ่ี ห้เดก็ เขา้ ไปร่วมแกป้ ญั หากบั ชมุ ชน ด้วย มีการเรียนเกี่ยวกับภาคต่างๆ และนักเรียนก็จะได้ไปศึกษาประเด็น ปัญหาของชุมชนนั้นๆ หรือว่าเขาก็จะได้มีการทำสื่อเพื่อส่ือสารสิ่งที่เขาได้ เรยี นรู้ในมัธยม” เน้นวิถีแห่งการเรยี นรู้ที่ครู นักเรียน พ่อแม่ เรียนรูแ้ ละเติบโต ร่วมกัน มีชุมชนที่มีกัลยาณมิตรคอยโอบล้อม ทุกคนเป็นผู้เรียนรู้ เป็น ตัวอย่างในการฝึกฝนตนเอง จนเป็นที่พึ่งของตนเองและผู้อื่นได้ ออกแบบ การเรียนรู้ร่วมกัน “อาจารย์อยากให้ทั้งพ่อแม่แล้วก็ทุกคนมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาได้เปลี่ยนวิธีคิดว่าปัญญาที่รู้ความจริงของธรรมชาติแล้วก็มนุษย์ เนี่ยแล้วก็โดยเฉพาะพ่อแม่ครูที่เป็นหุ้นส่วนการเรียนรู้เนี่ยจะได้เข้าใจว่าไม่ ว่าหลักสูตรใดๆ นะคะหลักสูตรชาติหรือหลักสูตรใดๆ ก็แล้วแต่จะคิดอย่าง ละเอียดรอบคอบเพียงใดก็ไม่อาจจะทำให้นักเรียนได้ถ้าเกิดพ่อแม่ครูเนี่ย ไม่ได้ปรับวิธีคิดแล้วก็ออกแบบการจัดกระบวนการที่เหมาะสมให้เกิดขึ้น ค่อนข้างเน้นเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ลูกแล้วก็ความสำคัญระหว่าง ครูกับศิษย์เพื่อนกับเพื่อนการเปิดใจเรียนรู้ซึ่งกันและกันมันก็จะเป็นวิธีการ พัฒนามนษุ ย์ด้วยสติปญั ญา” โดยใช้แนวคิดพุทธเศรษฐศาสตร์และน้อมนำหลักการของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาสอดแทรกในกิจกรรมการเรียนการสอนใน ห้องเรียน และการเรียนรู้สู่ชีวิตจริงด้วยการปลูกผักสวนครัวในโรงเรียน การบำบัดนำ้ เสยี ในโรงเรยี นแลว้ นำกลับมาใชป้ ระโยชน์ซ่งึ การเรียนลักษณะ 23
นี้เป็นการเรียนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะเทคโนโลยีเข้ามามี บทบาทต่อชีวิตมาก “วิธีการเรียนอย่างไร เช่นระดับประถมปลาย ก็จะเรียนเรื่อง ของข้าวไทย วิถีไทย ก็จะเอาเรื่องของการปลูกข้าวเนี่ยมามาลำดับ กระบวนการปลูกข้าวเหนียว ลำดับสอดคล้องไปกับการเรียนตลอดปี ก็ เรียนตามหาน้ำมาจากไหน น้ำหมายถึง อะไร น้ำประปา มาจากไหน และ ข้าวมาจากไหน ถึงได้มาอยู่ในกลอ้ งข้าว เพราะอะไรถงึ ใชน้ ำ้ จากกอ๊ ก กเ็ ป็น การยอ้ นรอยไปไปส่ตู น้ นำ้ ตน้ นำ้ ในป่า” โรงเรียนรุ่งอรุณ เป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร (Not for Profit Organization) ภายใต้มูลนิธิโรงเรียนรุ่งอรุณ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2540ซึ่งเป็นห้วงเวลาแหง่ การปฏิรปู การศึกษาของสังคมไทยในยุคแรก จาก คุณูปการทางความคิดของ รศ.ประภาภัทร นิยม ผู้ก่อตั้ง และปูชนียบุคคล สำคัญในวงการศึกษาของไทย อาทิ ศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสี ศาสตราจารย์ กิติคุณสุมน อมรวิวัฒน์ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เอกวิทย์ ณ ถลาง พร้อมทั้งนักการศึกษา และปราชญ์ชาวบ้านอีกหลายต่อหลายท่าน ฯลฯ โดยได้รับการสนับสนุนจากพ่อแม่ ครอบครัวไทยในยุคนั้น ที่มุ่งมั่น แสวงหาทางแก้ไขปัญหาการศึกษาของชาติ จึงประสานความคิดและความ ตั้งใจอย่างแท้จริง ด้วยศรัทธาในการเรียนรู้ของมนุษย์ที่ไม่มีขีดจำกัด บน แนวคิดทางการศึกษาไทยทีม่ ีรากฐานมาจากภมู ปิ ญั ญาสำคญั ของสังคมไทย คือ หลักพุทธธรรมซึ่งสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้อธิบาย ขยายความโดยละเอียดลึกซ้ึงสู่ความหมายของการพัฒนาการเรียนรู้ของ ชีวิตมนุษย์ตามหลักของไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา เพื่อบ่มเพาะเมล็ด พันธุ์ความดีงามของเยาวชนให้หยั่งรากและเติบโตยั่งยืน เพื่อก้าวสู่การเป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์บนพื้นที่สีเขียวประมาณ 50 ไร่ บริเวณชานเมืองเขตบางขุน เทียน โรงเรียนรุ่งอรณุ จึงถือกำเนิดขึ้นภายใต้สภาพแวดล้อมของโรงเรียนท่ี เป็นธรรมชาติ เอื้อต่อการเรียนรู้ เด็กๆ เรียนรู้ในสภาพแวดล้อมของอาคาร 24
เรียนและห้องเรียนที่โปร่งโล่ง การจัดชั้นเรียนให้เป็นบ้านแห่งการเรียนรู้ที่ อบอุ่น มีบึงน้ำใหญ่อยู่กลางโรงเรียน สะพานไม้ทอดยาวเป็นทางเดินเลียบ รอบบึง ห้อมล้อมด้วยสวนป่าที่เป็นห้องเรียนธรรมชาติสามารถบูรณาการ เข้าการเรยี นการสอนเข้ากบั ธรรมชาติ เปน็ ห้องเรยี นแบบเชงิ นิเวศวิทยา กระบวนการสอน โดยเฉพาะจะเน้นการพัฒนาการของเดก็ ใน ด้านของสติปัญญา จำเป็นต้องมีระบบ และกระบวนการการเรียนรู้แบบ องค์รวมซึ่งสามารถเข้าถึงได้ในพื้นที่การฝึกปฏิบัติ และปัจจัยสำคัญพิเศษ สำหรับการเรียนรู้ไปบนความเข้าใจที่สอดคล้องกับหลักทางพุทธศาสนาดัง รูปภาพ 4.2 กระบวนการเรยี นรู้ 3 ขน้ั ข้ันท่ี 3 (3 Steps) ขน้ั ที่ 2 เรยี นรู้เพอ่ื ตนเอง สร้างองคค์ วามรู้ และสงั คม ขั้นท่ี 1 ผา่ นกระบวนการลงมอื ตั้งคำถามแสวงหา ปฏิบัติ พัฒนาการเรียนรู้ ชวี ิตบูรณาการตามหลัก ความรู้ ไตรสกิ ขาคือ ศลี สมาธิ ปญั ญา เรยี นร้สู ูช่ วี ติ จริง รวู้ ถิ กี าร “รู้อยู่ รูก้ นิ ” บม่ เพาะลักษณะนสิ ัย แบบวถิ พี ทุ ธ วถิ ีไทย ตามหลกั พทุ ธศาสตร์ ภาพท่ี 2 นวัตกรรมการเรยี นการสอน ท่ีมา : คณะผ้วู จิ ยั 14 พฤศจกิ ายน 2564 โรงเรียนรุ่งอรุณ ยึดหลักการบริหารและพัฒนาโรงเรียนตาม แนวคิดหลักพุทธธรรม ด้วยศรัทธาในการเรียนรู้ของมนุษย์ที่ไม่มีขีดจำกัด 25
บนแนวคิดทางการศึกษาไทยที่มีรากฐานมาจากภูมิปัญญาสำคัญของ สังคมไทยคอื หลกั พทุ ธธรรม พฒั นาการเรียนรูข้ องชวี ิตมนุษย์ตามหลักของ ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา เพื่อบ่มเพาะเมล็ดพันธุ์ความดีงามของ เยาวชนให้หย่ังรากและเตบิ โตยั่งยนื เพื่อก้าวสู่การเปน็ มนุษย์ที่สมบรู ณ์ การ เรียนรู้สู่ชีวิตจริง บ่มเพาะลักษณะนิสัย ตามหลักพุทธธรรม บูรณาการ รูปแบบการใช้ชีวิตแบบวิถีของการ “รู้อยู่ รู้กิน” แบบวิถีพุทธ วิถีไทย ผ่าน กระบวนผ่านกระบวนการลงมือปฏิบตั ิทุกขนั้ ตอนในการเรียนรู้ จงึ เกดิ คำว่า รอู้ ยู่ รกู้ นิ ตามเปา้ หมายของการจัดการศึกษาโรงเรยี นร่งุ อรณุ ข้อมูลพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษา: โรงเรียนชาวนาพุทธ เศรษฐศาสตร์ จังหวดั เชยี งราย 1. นวัตกรรมการเรียนการสอน/การเรียนรูว้ ิถพี ุทธ 1) มีการสอนวิปัสสนากรรมฐานแก่พระและฆราวาสผู้สนใจ ในธรรม “ตั้งเป้าว่าเราจะทำศูนย์เผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประชาคมโลก โดยใช้วิปัสสนากรรมฐาน เป็นองค์ความรู้หลัก เป็นหัวใจเป็นแกนกลางใน การทำงาน ก็เลยตั้งชื่อที่นี่ โดยที่เป็นที่ป่ารกร้าง ป่าลำไยร้าง ป่าข้าวโพด ร้างว่า ศูนย์วิปัสสนาสากลไร่เชิญตะวัน เป้าหมายคือเผยแผ่ พระพุทธศาสนาสู่ประชาคมโลก เพราะชัดเจนอย่างนี้ ประมาณ พ.ศ. 52 และ 3 ปีแรกก็ไม่ได้ทำอะไร ผมก็ดูทางน้ำ และทิศทางลม แล้วก็เริ่มปลูก ต้นไม้ในปีที่ 3 จากนั้นก็ชัดเจนขึ้นมาเรื่อยๆ จนในที่สุดผมก็ตกลงว่าจะ พฒั นาสถานทน่ี ้ี ทำเป็นศนู ยว์ ปิ สั สนาสากลไรเ่ ชิญตะวนั ” 2) มีการจัดหลักสูตรอบรมสติภาวนา ทั้งชาวไทย และชาว ต่างประเทศ เผยแผ่พระพทุ ธศาสนาสปู่ ระชาคมโลก “กรอบแนวคิดในการทำพัฒนาไร่เชิงตะวัน โดยกำหนด วสิ ยั ทัศน์กค็ ือ เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาสปู่ ระชาคมโลก โดยมพี ันธกจิ 4 เรอ่ื ง 26
1 ส่งเสริมการศึกษา 2 เผยแผ่พระพุทธศาสนาให้กว้างไกล 3 ร่วมใจพัฒนา สงั คม 4 สร้างคา่ นยิ มแหง่ สนั ตภิ าพโลก” “เรากำลังจะเปิดคอร์สสำหรับฝรั่งโดยตรงเรียกว่าคอร์ส 7 วัน สำหรบั ชาวตา่ งชาติ 2 เราจะกำลงั ขยายศูนยข์ องเราซ่ึงตอนนี้เราขยายศูนย์ ไปที่ดอยวาวี มีพื้นท่ีพันกว่าไร่ เป็นพื้นที่รองรับชาวต่างชาติโดยเฉพาะ ชาวต่างชาติที่มาเรียนกับผมท่ีนี่เรียน 7 วันถ้าต้องการมากกว่านั้น ว่าจะส่ง ขึ้นไปที่ศูนย์ของเราซึ่งพาที่นั่นก็จะเทศน์ เป็นภาษาอังกฤษได้ เป็นศูนย์ฝึก ชาวต่างชาติให้เป็นครูสอนสมาธิโดยเฉพาะของเรา 3 เรากำลังขยายออก ทางยุโรปทางเอเชียและทางเมกา 4 5 ปีข้างหน้าก็จะมีศูนย์ของเราเนี่ย ครอบคลุมภูมิภาคแต่ของโลกเราไม่เน้นเยอะแต่เราจะเน้นน้อยๆ เพื่อที่จะ บริหารอย่างมปี ระสิทธภิ าพ Small is beautiful จิ๋วแตแ่ จ๋ว” 3) มีการจัดกิจกรรมตน้ ไมพ้ ูดได้ หรือต้นไม้ธรรม แก่ชาวพุทธ และต่างประเทศ การใช้ธรรมชาติ และเทคโนโลยีมาบรรจบกัน โดยมีการ แสกนคิวอาร์โค้ดจากป้ายที่ติดหน้าต้นไม้ เมื่อแสกนเสร็จ ก็จะมีเสียงอ่าน ดังขึ้น และยังมที ั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษเป็นการพัฒนาสือ่ ธรรม โดย ใช้เทคโนโลยมี าช่วยเปน็ ครงั้ แรกในประเทศไทย “ธรรมของพระพุทธองค์เราอยากเผยแผ่ ดังนั้นเราจอาศัยทุก วิถีทางเพื่อจะเขา้ ถงึ กลุ่มคนกลุม่ ตา่ งๆ เช่น กิจกรรมต้นไม้พูดได้ หรือต้นไม้ ธรรม แก่ชาวพุทธ และต่างประเทศ การใช้ธรรมชาติ และเทคโนโลยีมา บรรจบกัน โดยมีการแสกนคิวอาร์โค้ดจากป้ายที่ติดหน้าต้นไม้ เมื่อแสกน เสร็จ ก็จะมีเสียงอ่านดังขึ้น และยังมีทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษเป็น การพฒั นาสื่อธรรม โดยใชเ้ ทคโนโลยีมาช่วยเปน็ ครัง้ แรกในประเทศไทย ” 4) มีการสอนธรรมโดยมแี ผ่นป้ายข้อความธรรมติดอยู่ในทุกที่ ของศนู ย์ “ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันของเขาได้อย่างไรบ้าง ไร่เชิญ ตะวัน ทุกคนมาที่นี่ทุกคนได้ธรรมะแน่นอน พระอาจารย์เดินผ่านลอด 27
อุโมงค์เห็นไหม 2 ข้างอุโมงค์ ดอกไม้ผมเห็นธรรมะไหม นั่นแหละธรรมะ ยังไงก็ได้แน่ๆ ล่ะ ผมวางธรรมะเอาไว้ทุกๆ ที่เลย สิ่งปลูกสร้างทั้งหมดเลย เป็นปริศนาธรรมท้งั หมด มีงานศลิ ปะเรามโี รงมหรสพ และหอศิลป์ หอศลิ ป์ ฝ่ังโน้นตอ้ งไปดูนะ หอ ว.วชิรเมธ”ี 5) มีการสร้างรูปปั้นศิลป์ทางธรรมที่สอดแทรกธรรมไว้ใน สถานที่ต่างๆ ของศูนย์ เช่นรูปปั้นสามเณร 4 องค์ มี ปิดหู ปิดตา ปิดปาก และเปิดใจ ที่สร้างไว้เพราะเมื่อเวลานักท่องเที่ยวมาและไม่เจอพระก็จะ ไดร้ บั ธรรมจากรูปปนั้ ที่สรา้ งไว้ในศนู ย์ 6) มเี ผยแผธ่ รรมผา่ นภาษาตา่ งๆ ในรูปแบบต่างๆ “การเผยแผ่ธรรมะผ่านภาษาต่างๆ รวมทั้งใน YouTube ใน Social Media ต่างๆ อย่างเช่น face book ดูวันละ 6 ล้าน ล้านกว่าคน เรียกว่าเราพยายามให้งานเผยแผ่ธรรมะของเราเนี่ยไปในทุกทิศทุกทางซึ่งก็ ถือว่าทางนี้ในเมืองไทยก็ถือว่า ชนเพดานแล้ว ผมกำลังเดินไปที่ ตา่ งประเทศ ” “ไฮไลท์ทุกจุด จะมีธรรมะอาจารย์ดูดีๆ แม้แค่ตัวของเราก็ยังใส่ ธรรมะนี่คือ จุดเช็คอินช่วงปีใหม่รับแขกมากกว่าหมื่นคนต่อวัน นี่คือจุด ถ่ายรูปปัจจุบันสำคัญที่สุด คือแก่นธรรมคำสอนที่ผมต้องการเสนอต่อโลก พระพุทธเจ้าสอนว่า เราต้องอยู่กับปัจจุบัน ทำหน้าที่ปัจจุบันตรงนีเ้ ป็นห้อง ถ่ายทอดสดของผมอารามออนไลน์ ถ่ายทอดสดผ่านผ่าน Facebook ตอน 20:00 น คนดูทัว่ โลกเลย ใช้ช่ือรายการวา่ อารามออนไลน์ นค่ี อื งานเผยแพร่ ของผมที่มันไปทั่วโลก เมื่อวานนี้โยมมาจากชิคาโก ก็ดูอยู่ทุกวัน เราไม่ต้อง ไปออกช่องอะไรหรอก Facebook ของเรา 3 ถึง 5 ล้านคน ผมไลน์ของผม ทุกวัน อารามออนไลน์ นี่คือภาพไฮไลท์ของไร่เชิญตะวัน ที่ผมบอกว่า ร่ม ร่ืนดว้ ยเมฆไมร้ ม่ รื่นใหนดว้ ยธรรมะ น่ีคอื จุดไฮไลท์ หน่ึงภาพแทนพนั คำ ทุก ชิ้นคืองานศิลปะ ไม่ใช่งานรับเหมานะ การบริหารดินวิหารเซ็นของเรา ร้าน กาแฟ และปรศิ นาธรรม และสถาปัตยกรรม เป็นงานเซนบวกลา้ นนา” 28
7) เชอื่ มโยงหลกั การพระพทุ ธศาสนาส่คู วามเป็นธรรมชาติ “พัฒนาต้นแบบไร่เชิญตะวัน คิดว่าจะพัฒนาให้เป็นต้นแบบของ การสร้าง ที่นี่ผมต้องการ พัฒนาให้เป็นต้นแบบของการเอาธรรมะมาใช้ใน ชวี ติ ประจำวนั โดยท่ใี หธ้ รรมะเป็นวิถชี ีวิตเป็น เป็น the way of Life ดังน้ัน ท่านจะเห็นว่า ที่นี่จะไม่มีลักษณะแบบความขลังแบบวัดพุทธทั่วๆ ไปเช่น ไม่ได้มีรั้วรอบขอบชิด เพื่อแสดงว่าเป็นเขตพระพุทธศาสนา ไม่ได้มีเมรุ ไม่ได้มีวิหาร ที่มีช่อฟ้าใบระกาผมพยายามลดถอนการเป็นรูปแบบของ ความเป็น Original Buddhism หรือพระพุทธศาสนาแบบไทยๆ ออกให้ หมดและปรับที่นี่เหมือนเป็นแบบเหมือนเป็นปาร์ค ทางจิตวิญญาณ เป็น สวนสาธารณะทางจิตวิญญาณ เนื้อนายยังคงเป็นความพระพุทธศาสนาอยู่ ทุกอย่าง แต่ผมไดถ้ อดรปู แบบท่ดี ูขึงขงั จริงจงั ทง้ั หมดออก” “ที่น่ีเห็นความร่มรื่น รอมรอบด้วยเมฆไม้ร่มรื่นในด้วยธรรมะ ก็ คือที่นี่เรามีน้ำตกทั้ง 2 แห่ง ทุกคนที่มา ก็เติมความร่มรื่นตลอด ส่วนนี่เป็น หอพระสำหรับชาวบ้านชาวบ้านขึ้นไปขอพรช่วงปีใหม่ที่ผ่านมาเป็นหมื่น โดยเฉลี่ยวันละ 3,000 4,000 คนต่อวัน คนจะมาเต็มทุกจุด ส่วนงานศิลปะ ใช้สอนอะไรนี่ชื่อว่านิ่งไว้ในโลกวุ่นวาย ถ้าสอนคนที่มาแล้วให้รักษาความ สงบแล้ว เมื่อท่านเดินเข้ามาก็จะได้ยินเสียงเพลงเบาๆ แบบนี้คือความสงบ ความสบายอกสบายใจ” 8) เรยี บง่ายแบบเขา้ ถึงได้ เหมาะกับยคุ สมยั “ฉะนั้น ที่ผมทำออกมาเนี่ยมันคล้ายๆ จะเป็น Cold working Space หรือพูดสั้นๆ ว่า Temple in the Park นี่คือ Concept เป็นหลัก Temple In The Park ก็คืออะไรที่อยู่ในสวน หรือเป็นวัด ที่อยู่ในสวน จะ เห็นได้ว่า พอมาที่นี่แล้วท่าน จะเห็นยอดไม้ก่อนยอดโบสถ์ยอดวิหาร Temple in the park คือนยิ ามทสี่ น้ั ท่ีสดุ พอทำอย่างน้ีปบุ๊ มนั กเ็ หมือนกับ ว่าเป็นสวนสาธารณะใครๆ ก็อยากมาเที่ยว ถูกต้องไหมห้องรับแขกของผม ก็ถูกปรับใหม่ เปลี่ยนเป็นร้านกาแฟ เป็น Cold working Space ให้ใครไป 29
ใครมาให้ไปนง่ั สบายๆ ไม่ใช่เขา้ ไปนัง่ ในศาลาการเปรียญ คนมนั จะรู้สึกเป็น ทางการมากๆ ไป คือการลดความเป็นทางการลงไป เพื่อให้คนทั้งโลก เข้าถึงธรรมะให้ได้ง่ายที่สุดเขาเรียกว่า Easy Extraction ในหลักของการ ทำท่องเที่ยว Real Easy Extraction เข้าถึงได้ง่ายที่สุด วิธีการแบบนี้ทำให้ คนเดินเข้าวัดแล้วเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต โดยไม่ต้องรอให้มีคนเจ็บคนตาย หรือไม่ต้องรอให้มีงานบุญถึงจะมาที่นี่ ผมตื่นเช้ามาก็เจอนักปั่นจักรยาน เส้นทางนี้เป็นเสน้ ที่ป่ันจักรยานท่สี วยมาก นกั ปน่ั จกั รยานเขาชอบมาป่ันรอ เขา ปั่นรอบอ่างเก็บน้ำ จะมีการวิ่งก็จะมาใช้ที่นี่เปิดตัว ใช้เป็นที่จุดเข้าเส้น ชัยบ้าง นกั ท่องเทย่ี วหรือรายการโทรทัศน์ ยูทปู เบอรต์ า่ งๆ ใชท้ นี่ ี่มาถ่ายทำ หนังละคร เป็นโลเคชั่นเยอะแยะ เห็นไหมพอเราลดความเป็นทางการลง ทุกคนก็อยากมาใช้บริการได้ง่ายๆ ทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศ คือส่ิง ที่ผมต้องการสื่อสารกับสังคมไทยว่า ลดความเป็นทางการของความเป็นวัด ลง ในแบบพิธีรีตองหรือ ในแบบราชการลง แล้วทำให้วัดเป็นส่วนหนึ่งของ สังคมไทยแลว้ เดินเข้าหาแบบ ไม่ต้องมีกำแพงมากั้นอีกต่อไป กำแพงในที่นี้ ก็คือ กำแพงของรูปแบบ กำแพงของความเป็นราชการ กำแพงที่เป็น กำแพงจริงๆ ลดออกหมดเลย แลว้ ช่อื ผมก็ปรบั ด้วยท่านพพิ ส่ี นุ นั ท์ ทา่ นก็ใช้ พราหมณ์วิลเลจ แปลว่าหมู่บ้านพราหมณ์ ผมก็ไร่เชิญตะวัน เห็นไหม คน สบายใจว่าไปไหน ไปไร่เชิงตะวัน ไปไหนไปวัด ไม่ไป ถ้าบอกว่าไปไร่เชิง ตะวนั บอกวา่ ไป เพราะฉะนน้ั มันไดผ้ ล ลดความเป็นทางการลง แล้วทำให้ คนเข้าถึงกันง่ายๆ ให้การเป็นไปวัดเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต ให้การเข้าวัดวา อารามเปน็ ไลฟ์สไตล์ของยุคใหม่” 9) เปน็ แหล่งเรยี นรูธ้ รรมในธรรมชาติ “พัฒนาต้นแบบไร่เชิญตะวัน คิดว่าจะพัฒนาให้เป็นต้นแบบของ การสร้าง ที่นี่ผมต้องการ พัฒนาให้เป็นต้นแบบของการเอาธรรมะมาใช้ใน ชวี ติ ประจำวันโดยทใี่ หธ้ รรมะเป็นวิถีชีวิตเป็น เปน็ the way of Life ดงั นัน้ ท่านจะเห็นว่า ที่นี่จะไม่มีลักษณะแบบความขลังแบบวัดพุทธทั่วๆ ไปเช่น 30
ไม่ได้มีรั้วรอบขอบชิด เพื่อแสดงว่าเป็นเขตพระพุทธศาสนา ไม่ได้มีเมรุ ไม่ได้มีวิหาร ที่มีช่อฟ้าใบระกาผมพยายามลดถอนการเป็นรูปแบบของ ความเป็น Original Buddhism หรือพระพุทธศาสนาแบบไทยๆ ออกให้ หมดและปรับที่นี่เหมือนเป็นแบบเหมือนเป็นปาร์ค ทางจิตวิญญาณ เป็น สวนสาธารณะทางจิตวิญญาณ เนื้อนายยังคงเป็นความพระพุทธศาสนาอยู่ ทกุ อย่าง แตผ่ มไดถ้ อดรปู แบบท่ดี ขู งึ ขังจริงจังทั้งหมดออก” 10) ปรศิ นาธรรมผา่ นงานศิลปะ “เรามปี ริศนาธรรมเรามงี านศิลปะ เรามอี ารต์ แกลอรี่ วางไวท้ ัว่ ไร่ เชิญตะวัน แนะนำให้ท่านไปดูวิหารดิน จะเห็นสิงโตตัว 2 ตัว ทั้ง 2 ตัวน่ัง ทับ iPad เท้านี้เงียบ iPhone เหยียบ LINE เหยียบ Facebook เหยียบ Twitter นี่คือส่วนหนึ่งของปริศนาธรรม แล้วเดินรอบตรงๆ อุโมงค์ดอกไม้ สีม่วง คำคมทั้งหมดนั่นคือธรรมะ และห้องน้ำติดอุโมงค์สีม่วงทั้งหมด ห้องน้ำทุกห้อง จะมีคติธรรมหมดเลย แม้แต่ในห้องน้ำเราก็ให้เป็นที่ เผยแพร่ธรรมะ เราวางกับดักทางปัญญาไว้ทั้งหมด นี่สำหรับนักท่องเที่ยว ท่วั ไป” 11) วางยุทธศาสตร์ในการเผยแผธ่ รรม “จุดยุทธศาสตร์ไว้หมดแล้ว 1 กลุ่มปัญญาชนมาที่นี่เพื่อฝึก วิปัสสนากรรมฐานชาวไทยและชาวต่างชาติ2 กลุ่มชาวบ้านท่ัวไปมาชมงาน ศิลปะกลุ่มชาวบา้ นทัว่ ไปเนี่ยส่วนมากมาฟังเทศน์ฟงั ธรรมกลุ่มแฟนคลับผม เองนี่ก็มาฟังเทศน์ทางธรรมปีหนึ่งเราแจกกันเป็นแสนเล่มชาวบ้านทั่วไปก็ จะมุ่งมาที่ผมเนี่ยมาฟังเทศน์ฟังธรรมแล้วก็ขอถ่ายรูป3 กลุ่มนักท่องเที่ยวก็ จะมาดูความสวยความงามมาดูแรงบันดาลใจมาจิบชากาแฟมาชมงาน ศิลปะ4 กล่มุ ชาวบ้านทวั่ ไปกจ็ ะมาขอศีลขอพรแล้วกม็ ขี อบพระเจ้าทันใจมา ขอศีลขอพร ตกลงคนทั้ง 4 กลุ่มคือบัว 4 เหล่าเราเตรียมไว้ให้ทั้งหมด ว่า มาที่นี่แล้วจะได้รับประโยชน์จากไร่เชิงตะวันเต็มเม็ดเต็มหน่วยแน่นอน ตามปรัชญาของเราคือ รม่ ร่ืนนอกด้วยเมฆไม้รม่ ร่ืนใหนดว้ ยธรรมะ” 31
2. นวัตกรรมวฒั นธรรม/มารยาทชาวพุทธ 1) พระภิกษุมีการห่มผ้าเป็นระเบียบ และฆราวาส จะมีการแต่ กายสุภาพเรยี บร้องโดยการใส่ชุดขาวในการปฏบิ ตั ิธรรม 2) พระภิกษุ และฆราวาส มีการเข้าแถวเป็นระเบียบในการ ปฏิบัตธิ รรม 3. นวัตกรรมการฝึกภาวนาวถิ พี ทุ ธ 1) มีการฝกึ จติ นงั่ สมาธิและเดนิ จงกลมตลอดทุกวัน 2) มีการปฏิบัติกรรมฐานโดยมีการยืน การเดิน การนั่ง และการ นอนแบบกรรมฐานตลอดทุกวัน 3) มีการสอนเรอ่ื งฝึกจติ และสมาธิในการปฏิบัติธรรมและในขณะ ทำงาน 4) มีการทำวัตรสวดมนต์เวลาเช้าเวลาเย็น และมีการเจริญสมาธิ โดยการน่งั สมาธแิ ละเดินจงกลมทุกวัน 4. นวัตกรรมวิถชี ีวิตพอเพยี ง 1) เป็นแหล่งเรียนรูธ้ รรมชาติและการเกษตร 2) มีการปลกู ปา่ ต้นยางเพื่อทำใหพ้ น้ื ทส่ี งบรม่ เย็น 3) มีการปลูกพชื ผักและผลไม้หลายชนิด เช่น กระหล่ำปลี ชะอม และสตอเบอร่ี 4) มีการทำนาและทำสวนโดยไมใ่ ช้สารเคมี 5) มกี ารเพาะเห็ดในโรงเรอื น 6) มีการทำปุ๋ยอนิ ทรยี ์จากมูลใส่เดือนไว้ใช้ในศนู ย์ 7) มีสวนผลไม้ เช่น สวนลำไย กล่าวโดยสรุปว่า แนวทางการเรียนรู้ของโรงเรียนชาวนาพุทธ เศรษฐศาสตร์ จังหวัดเชียงรายซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิชชาลัยพุทธ เศรษฐศาสตร์ มีแนวคิดหลักคอื “ความรับผิดชอบตอ่ สังคม เริ่มตน้ จากข้าว เมล็ดเดียว” และมุ่งเน้นพัฒนาศักยภาพและเครือข่ายนักเรียนชาวนาให้ 32
เห็นคุณค่าของข้าวเมล็ดเดียว แต่สามารถขยายพันธ์ได้ และเลี้ยงคนได้ จำนวนมาก เนอื่ งจากปัจจบุ ัน คนอาจจะให้ความสำคญั หรอื ลดคณุ ค่าของ การปลูกข้าวซึ่งเป็นวิถีชีวิตจากบรรรพบุรุษ ได้ดำเนินชีวิตด้วยการปลูกข้าว เรียกว่าเป็นอาชพี หลักของคนไทย โรงเรียนชาวนาพุทธเศรษฐศาสตร์ จังหวัดเชียงราย เป็นแหล่ง เรียนรู้ธรรมชาติและการเกษตร อินทรีย์ เกษตรวิถีใหม่ และการใช้ชีวิต แบบพอเพียงให้แก่เกษตรกรในพื้นที่ โดยการสอนชาวนาโดยใช้โรงเรียน พุทธเศรษฐศาสตร์อินทรีย์ในการสอนชาวนาและนักท่องเที่ยวผู้สนใจ โดยใช้ แนวคิดพุทธเศรษฐศาสตร์และน้อมนำหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง เพื่อการผลิตสินค้า และสร้างรายได้เพิ่มในครอบครัว ชุมชน มี เป้าหมายขยายผลให้เกิดศูนย์การเรียนรู้การผลิตในระดับครัวเรือน ระดับ ชุมชนและขยายเป็นวิสาหกิจชุมชนแบบวิถีพอเพียง ดังนั้น การทำเกษตร อินทรีย์เพื่อสุขภาวะของตนและสังคม ลดต้นทุนการผลิตอย่างเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม การแปรรูปสินค้า สร้างการตลาดที่ยั่งยืน และเป็นแบบอย่าง แก่เกษตรกรรายอื่นๆ เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ในชมุ ชน โดยเน้นการบูรณาการพระพุทธศาสนาเข้ากบั ศาสตร์สมยั ใหม่เพื่อ สร้างชุมชนให้ยั่งยืน ดังนั้นการพัฒนาโรงเรียนชาวนาพุทธเศรษฐศาสตร์ จังหวัดเชียงรายจุดเด่นคือ เป็นแหลง่ เรยี นรู้ธรรมชาติและการเกษตร มีการ ทำปุ๋ยอินทรีย์จากมูลใส่เดือนไว้ใช้ในศูนย์ มีการจัดกิจกรรมต้นไม้พูดได้ หรือต้นไม้ธรรม แก่ชาวพุทธ และต่างประเทศ การใช้ธรรมชาติ และ เทคโนโลยีมาบรรจบกนั โดยมีการแสกนควิ อาร์โค้ดจากป้ายท่ีตดิ หน้าตน้ ไม้ เมื่อแสกนเสร็จ ก็จะมีเสียงอ่านดังขึ้น และยังมีทั้งภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษเป็นการพัฒนาสื่อธรรม โดยใช้เทคโนโลยีมาช่วยเป็นครั้งแรก ในประเทศไทยดังรปู ภาพที่ 3 33
ปรับหลกั สตู รให้สอดคลอ้ งการ พัฒนาขีดความสามารถเด็ก และ จดั การเรียนรู้วถิ ีชวี ิต ปฏิบัติและ ปรบั หรือพัฒนาเชิงพ้ืนทห่ี อ้ งเรยี น เชิงนเิ วศวิทยาและแบบหอ้ งเรียน ทดสอบ พทุ ธศาสตร์ พ้นื ทน่ี วตั กรรมการศึกษา ใ ช้ ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สรา้ งการมีสว่ นร่วมระดมทรัพยากร เทคโนโลยีเชื่อมโยง จาก 3 คอื ภาครัฐ ภาคชมุ ชน และ เกิดนวัตกรรมการ เรยี นรวู้ ิถพี ทุ ธ ภาคเอกชนในพื้นท่ี ภาพที่ 3 พ้ืนทน่ี วตั กรรมการศกึ ษา ท่ีมา : คณะผวู้ จิ ยั 13 พฤศจกิ ายน 2564 การพัฒนาการเรียนรูว้ ิถพี ทุ ธ ควรดำเนนิ การด้วยเป้าหมายท่ีวา่ อยากให้ผู้เรียนการเรียนรู้ด้วยวิถีชีวิตจริง โดยเน้นพื้นที่การทำกิจกรรม สร้างสรรค์แนวคิด ดึงสติ ปัญญาของนักเรียนที่อยู่มาใช้ในการเรียนรู้ สร้าง แรงกระตุ้นและปลูกฝังทักษะการใช้ชีวิต เน้นวิชาชีพให้เกิดรายได้ใน ระหว่างที่เรียนรู้อยู่ รู้ซึ่งถึงหลักการ “กิน อยู่ พูด ทำเป็น ชีวิตเรียบง่าย” 34
สอดคล้องแนวคิดทางพระพุทธศาสนา ทุกอย่างเกิดขึ้นจากเหตุแล้วจึงมีผล ตามมา วิถีพุทธจะเกิดขึ้นได้ ก็ต้องมีแนวคิด กิจกรรมและหลักปฏิบัติแบบ บูรณาการห้องเรียนเสมือนจริงให้เด็กลงมือปฏิบัติจริง สร้างเสริม ประสบการณ์การเรยี นร้ดู ้วยการปฏิบัติ สัมภาษณ์ พระเมธีวิโรดม.ดร. ประธานมูลนิธิวิมุตตยาลัย ผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดพระสิงห์ พระอารามหลวง ณ ศูนย์วิปัสสนาสากลไร่เชิญตะวัน 12 มกราคม 2565 35
ภาพที่ 5 จุดเช็คอินด้านหน้า ณ ศูนย์วิปัสสนาสากลไร่เชิญ ตะวนั 12 มกราคม 2565 ข้อมูลพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษา: โรงเรียนวัดสุทธิวรา ราม กรุงเทพมหานคร 1. นวัตกรรมการเรยี นการสอน/การเรียนรวู้ ิถพี ุทธ 1) มีการสอนคุณธรรมและจริยธรรมให้แก่เด็กโดยการ ใหเ้ ข้าค่ายคุณธรรม 2) มีการสอนให้รู้จักช่วยเหลือผู้อื่น ไม่ว่าตัวเองจะรู้จัก หรือไม่รจู้ ักกต็ าม 3) มีการสอนเรื่องระเบียบวินัยแก่เด็กนักเรียนในการ มาเข้าแถวก่อนเขา้ เรยี น 4) มีการเรียนการสอนด้านภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาองั กฤษ ภาษาจีน และภาษาฝรงั่ เศส 36
5) มีการสอนเรอื่ งการใชช้ วี ติ ร่วมกันในสังคมปจั จุบัน 6) มีการสอนให้ช่วยเหลือตัวเองเป็นหลักโดยที่ไม่ต้อง เดือนร้อนที่บ้าน เช่น การหาเงินมาทำกิจกรรมที่โรงเรียนเองและเด็ก นักเรียนก็ได้จัดกิจกรรมร้องเพลงเปิดมวกตามสถานที่ต่างๆ เพื่อนำเงินมา จัดกจิ กรรม 2. นวตั กรรมวฒั นธรรม/มารยาทชาวพุทธ 1) เด็กนักเรียนมีการแต่งกายที่สุภาพมาเรียนโดยแต่ง ชดุ นกั เรียนมาเรยี นทกุ วนั 2) เดก็ นักเรยี นเวลาพดู กบั ผู้ปกครองและครูผู้สอนจะมี คำลงทา้ ยว่าครบั /คะเสมอ 3. นวตั กรรมการฝึกภาวนาวถิ พี ทุ ธ 1) มกี ารจัดคา่ ยคณุ ธรรมเพอ่ื ฝึกเด็กให้เป็นคนดี 2) มีการฝึกนงั่ สมาธิเดินจงกลมเป็นพืน้ ฐาน 3) มีการทำวตั รเชา้ เย็นในช่วงเข้าคา่ ยคุณธรรม 4. นวัตกรรมวถิ ชี ีวติ พอเพียง 1) มกี ารสอนไม่ให้ใช้จา่ ยเงินฟุ่มเฟอื ย 2) มกี ารสอนเรื่องการอดออมเงนิ ที่หามาได้ 5. นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สำหรับ ผู้ปกครอง 1. ศึกษาแนวทางนโยบาย และวิธีการเรียนออนไลน์ จากคู่มือของโรงเรยี น เพอ่ื วางแผนจัดเตรยี มให้บุตรหลาน (1) ส่งเสริมและสนับสนุนบุตรหลานให้มีความ พร้อมในการเรียนออนไลน์ (2) จัดเวลาเรียนให้สอดคล้องกับตารางเรียน ออนไลน์ 37
(3) คอยเตือนให้ทำแบบฝึกหัด ใบงาน ตามที่ครู มอบหมาย 2. การดแู ลชว่ ยเหลือบุตรหลานระหวา่ งเรยี น (1) หมั่นสังเกตพฤติกรรมบุตรหลาน ถ้าไม่สนใจ เรยี น หรอื เหนือ่ ยลา้ ควรให้หยดุ พัก ลาทบทวนภายหลงั (2) คอยให้กำลังใจและพดู คยุ จากเรยี นจบหรือช่วง เปลี่ยนแปลงคาบเรียน (3) ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น ออกกำลัง กาย ชว่ ยงานบ้าน เปน็ ตน้ 3. กรณีมีข้อสงสยั (1) สอบถามได้ท่คี รทู ี่ปรกึ ษา (2) สอบถามได้ทีค่ รปู ระจำวชิ า (3) สอบถามสำนักงานวิชาการโรงเรยี นวัดสทุ ธิวรา ราม 6. นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สำหรับ นกั เรยี น การจัดการเรียนการสอนออนไลน์โรงเรียนวัดสุทธิวรา ราม - กระบวนการเรียนออนไลน์สำหรบั นักเรียน - เข้าเวบ็ ไซต์ WWW.SUthi.ac.5h - ศกึ ษาคำอธิบายและอ่านคมู่ ือตา่ งๆ - คลิกเลอื กเขา้ เรยี นออนไลน์ - คลิกเลอื กกระดบั ชน้ั เลือกห้องเรียนของนักเรียน - และเลอื กรายวชิ าที่ตอ้ งการเรียน - นักเรียนเข้าพบกับครูผู้สอน นัดหมาย พูดคุยถึง รายละเอยี ดและสิง่ ท่ตี อ้ งเตรียมสำหรบั ใช้ในการเรียน 38
- LINE facebook Google Classroom - นักเรียนเข้าเรียนตามตารางเรียนที่กำหนดผ่าน Classroom เปน็ หลักหรืออาจมีช่องทางเพิม่ เตมิ อืน่ ๆ ตามท่ีครนู ดั หมาย - YouTube Google Meet LINE - นกั เรยี นตรวจสอบนดั หมายและการสง่ งานของแต่ละ รายวชิ า ตรวจสอบผลการส่งงาน ผ่านระบบ Google Classroom กล่าวโดยสรุปว่า โรงเรียนวัดสุทธิวราราม กรุงเทพมหานคร มี แนวคิดพัฒนาให้นักเรียนโรงเรียนมีความสะอาด บริสุทธิ์ ทั้งกาย วาจา และใจ มีความแข็งแกร่งในตนเอง สร้างภูมิคุ้มกันด้วยการฝึกฝน อบรม จิตใจด้วยการเจริญสมาธิขั้นพื้นฐาน จัดอบรมค่ายส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และทางโรงเรียนยังมีการอบรม โครงการพัฒนาเยาวชนต้นแบบ ฝึกฝนให้เด็กมีความสุภาพ เรียบร้อย อ้อนน้อมถ่อมตน มีวินัยในการใช้ ชีวิตประจำวัน มีความสุขกับการดำเนินชีวิตให้มีคุณภาพตามหลัก พระพุทธศาสนา ยึดมั่นในศีลธรรม จริยธรรม สามารถสร้างเจริญงอกงาม อย่างเป็นธรรมชาติและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม มีความเคารพยึดใน สถาบันหลักของประเทศชาติ คือ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ การ จัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ก็จะมีการสอนคุณธรรมและจริยธรรม ให้แก่เด็ก โดยการให้เข้าค่ายคุณธรรม มีการเรียนการสอนด้าน ภาษาตา่ งประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาฝร่ังเศส สอนการ สร้างรายได้เสริมจากการทำกิจกรรมที่โรงเรียน และเด็กนักเรียนก็ได้จัด กิจกรรมร้องเพลงเปิดมวกตามสถานท่ีต่างๆ เพื่อนำเงินมาจัดกิจกรรม และ ยังมีการทำวัตรเช้าเย็นในช่วงเข ้าค ่ายค ุณธรรม จริยธรรม ด้วยซึ่ งเ ป็น กิจกรรมที่สอดคล้องกับนโยบายการศึกษาการพฒั นาทักษะการใช้ชีวิตและ ทักษะการใช้ชีวิต และที่สำคัญคือ การนำ “นวัตกรรมวิถีชีวิตพอเพียง” โดยเน้นหลักการใช้จ่ายเงิน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ให้ใช้จ่ายเงินฟุ่มเฟือย มกี ารสอนเร่อื งการอดออมเงินทห่ี ามาได้ไว้ใช้ในอนาคต ดงั รปู ภาพที่ 4.7 39
นวัตกรรมการเรียนการสอน/การเรยี นรู้วิถีพุทธ ภาษาตา่ งประเทศ การใช้ชวี ติ รว่ มกันในสังคมปจั จบุ ัน สอนให้รู้จกั พ่งึ พาตนเอง การหาเงินมาทำกิจกรรม จัดกจิ กรรมร้องเพลงเปิดมวกตามสถานทีต่ า่ ง ๆ แนวคดิ การพัฒนา นวตั กรรมวิถีชีวิตพอเพียง และเช่ือมโยง ทกั ษะการใช้จา่ ยเงินไม่ให้ฟมุ่ เฟอื ย ทักษะการอดออมเงนิ ทหี่ ามาได้เพอ่ื อนาคต กจิ กรรมกับชมุ ชน ยดึ มัน่ ในศลี ธรรม เจรญิ สมาธิขั้นพนื้ ฐาน นวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอนออนไลนส์ ำหรบั นกั เรยี น เขา้ เวบ็ ไซต์ LINE facebook Google Classroom YouTube Google Meet LINE ส่งงานระบบ Google Classr ภาครฐั ภาคประชาชน ภาคชมุ ชนในพื้นที่ โรงเรียน วดั บ้าน ภาพท่ี 7 พ้ืนทน่ี วตั กรรมการศึกษา ท่มี า : คณะผ้วู จิ ัย 13 พฤศจกิ ายน 2564 แนวทางการเชื่อมโยงการจัดกิจกรรมและพัฒนาผู้เรียนด้วย กิจกรรมชุมนุม โรงเรียนวัดสุทธิวราราม กรุงเทพหานคร เป็นกิจกรรมที่ ส่งเสริมวิชาการ จะมีครูเป็นที่ปรึกษาห้องเรียนและดำเนินการจัดกิจกรรม ส่งเสริมวิชาการ (ชุมนุม) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนทั้งกลุ่ม A และกลุ่ม B บูรณาการทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยเน้นที่กระบวนการพัฒนารูปแบบท่ี หลากหลาย ดังนี้ 40
การตัดสินผลการประเมินซึ่งครูที่ปรึกษาตัดสินผลการประเมิน กิจกรรมชุมนุม โดยครูจะพิจารณาการเข้าร่วมกิจกรรมและภาคปฏิบัติ กจิ กรรม มผี ลงาน และชนิ้ งาน สรุปผลการประเมิน ครูที่ปรึกษาส่งสรุปผลการประเมิน กจิ กรรมชุมนุมในแต่ละภาคการศกึ ษาท่ีห้องกจิ กรรมการพัฒนาผูเ้ รียน ป้ายนิเทศแสดงผลงานนักเรียนซึ่งมีห้องกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตดิ บอร์ดทีห่ อ้ งเรียนของนักเรียนและห้องแสดงกิจกรรม เมื่อสถานการณ์โควิดระบาดหนัก ทางโรงเรียนวัดสุทธิวราราม ได้ปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสถานการณ์และการ แก้ปัญหา ได้นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สำหรับผู้ปกครอง และการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนเข้ามาช่วยสอนและแก้ปญั หา โดยใช้ เทคโนโลยีเป็นสือ่ กลางการเรียนออนไลน์ ข้อมูลพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษา: วิทยาลัยอาชีวศึกษาจุ ลมณีศรีสะเกษ 1. นวตั กรรมการเรียนการสอน/การเรยี นร้วู ถิ ีพุทธ 1) การเรยี นการสอนท่ีมีพระกบั ครูสอนในโรงเรียนเดยี วกนั “โรงเรียนของเราก็จะแปลกกว่าที่อื่นคือมีทั้งสมณะ และครู สอนในโรงเรียนเป็นหลกั น่ีก็เปน้ เรื่องของนโยบายของโรงเรียนเรา” 2) การสอนมารยาทโดยให้ทำประจำวันเช่น เวลาพบพระ น่ัง ลงกับพื้นแล้วกราบ พร้อมทั้งกล่าวแบบนอบน้อมว่า นมัสการหลวงตาเจ้า คะ่ จะใชค้ ำวา่ หลวงตาแทนพระทุกรูปทเ่ี จอ “ก็ตามจริงแม่ชีเป็นวิทยากรที่เราอบรมวิปัสสนากรรมฐาน ใน ปริมณฑลและภูมิภาคต่างๆ และหลังจากนั้นตรงนั้นเราก็ได้สิ่งที่เราเห็นก็ คือ มันกลายเป็นนวัตกรรมชิ้นหนึ่งในระหว่างที่ กราบพระก็เป็นนวัตกรรม ที่งดงาม ระหว่างที่เขาสวดมนตร์เสียงที่เปล่งออกมาก็เป็นนวัตกรรม เม่ือ เราเห็นนวัตกรรมที่งดงามที่เกิดจากการสวดมนตร์ การนั่งสมาธิ เกิดจาก 41
การเจริญภาวนา การกราบการไหว้ เป็นนวัตกรรมของชาวพุทธที่งดงาม แล้ว เจอพระ เจอครูกน็ อบนอ้ ม พูดวาจาสุภาพไพเราะ เจ้าคะ ที่ไม่มีท่ีไหน ต่มที ่โี รงเรยี นของเรา” “เขาก็จะจำได้หมายรู้แล้วก็เข้าสู่วิถีชีวิตของตนเองและไปสู่ ชีวิตประจำวันเริ่มต้นที่ครอบครัวไปถึงกราบพระเป็น ไปถึงกราบกับพ่อแม่ ได้ หุงข้าว กวาดบ้าน ซักเส้ือผ้าได้ แปลว่าเขาไดน้ วัตกรรมจากเราทีท่ ำใหด้ ู อยู่ให้เห็นแล้วก็ไปใช้ต่อที่บ้าน อันนี้ก็เป็นนวัตกรรมที่งดงามของชาวพุทธ แล้วก็เป็นวิถีชีวิตที่ใช้ในครอบครัวอย่างย่ังยืนอยู่กับสังคมและครอบครัวได้ อย่างยง่ั ยนื คอื ทำใหด้ ูอยู่ใหเ้ ห็น” 3) การศึกษาพ้ืนฐานเบ้อื งต้นและส่งไปฝกึ งานในสถานทจี่ ริง “หลักสูตรเราก็มีการฝึกประสบการณ์ไปสู่วิชาชีพ ขนาดที่ลูก เราไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพกับสถานประกอบการ เราทำ MOU ไว้ 50- 60 สถานประกอบการ และก็จะอยู่กับสมาคมอู่ซ่อมรถแห่งประเทศไทย เยอะมาก 300-400 สถานทปี่ ระกอบการ” “ของเรานี่ลูกลูกก็จะเรามีนโยบาย 3 ข้อ ฝึกประสบการณ์ วิชาชีพแล้ว แล้วได้ค่าตอบแทนลูกก็ต้องทำสามสิ่งก็คือ “ให้ ใช้ เก็บ” ให้ คือ เงินเดือนก็ให้พ่อแม่ครึ่งหนึ่ง อีกครึ่งหนึ่งเขาใช้สมมุติว่าเขาได้เงินเดือน และในส่วนท่เี หลอื อกี 6,000 เขาก็จะใช้ 3,000 และอกี 3,000 ก็ให้เขาฝาก ธนาคาร อันนี่คือฝึกในเรื่องการออมไปด้วย เป็นการดำรงชีวิตที่ใช้อยู่แบบ พอเพียงในการดำรงชีวิต” 4) บรู ณาการหลกั ธรรมเขา้ กับมาตรฐานการศึกษา “เราใช้หลักธรรมนำการศึกษามาพัฒนาบูรณาการควบคู่กับ มาตรฐานการศึกษาเข้าไปด้วย ด้านการเรียนการสอนคือเราต้องให้ผู้เรียน ไดค้ วามรู้ ไมใ่ ชใ่ ห้ความรู้เฉพาะทางโลกอย่างเดียว เพราะให้ความรู้ทางโลก น้ีมนั กไ็ ปสุดไปตันอยทู่ ปี่ ริญญาเอก แต่ความรู้ท่ีเราจะตอ้ งให้เขาเสริมเข้าไป 42
อีก ก็คือให้ความรู้ทางธรรม เป็นความรู้ 2 อย่าง ให้ความรู้ทางโลกด้าน การศึกษาวุฒิ ปวช. , ปวส. ได้ใบประกาศ” “ทีนี้ในขนาดเดียวกันเราจะพาลูกของเราเอาเรื่องพอเพียงมา อย่างเดียวไม่ได้ เราจะให้ลูกเราสวดมนต์ไหว้พระปฏิบัติธรรมอย่างเดียวก็ ไม่ได้ เราจะต้องให้เขาเกิดปัญญาเกิดทักษะ เราจะต้องบูรณาการเรื่องของ การแข่งขันทักษะกับสังคมภายนอก กับเขตพื้นที่การศึกษา กับ สอศ. ของ โรงเรียนวิทยาลัยในจังหวัด และได้ประกวดไปถึงระดับภาคระดับประเทศ ตามลำดับ อันนี้จึงต้องบูรณาการทางด้านวิชาการและทักษะกีฬา วิชาการ วชิ าชีพ วชิ าชีวติ เพราะว่าเราตง้ั ใจท่ีจะผลิตสิ่งนี้ออกสสู่ ังคม ตอ้ งไดท้ างโลก และทางธรรม ตอ้ งมคี วามเขม้ แข็งในเรื่องของหริ ิโอตัปปะ เกรงกลัวต่อบาป ละอายต่อความชว่ั รักษาศีล” 5) บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งวิถีพุทธ มีการสอน เรือ่ งเกษตรกรรมเร่อื งการเพาะเหด็ นางรมในโรงเรือนและเลยี้ งวัว “บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงวิถีพุทธ ก็คือวิถี ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นเนื้อเดียวกันเป็นตัวเดียวกัน วิถีชีวิตที่เขา ดำรงชีวิตอยู่เราไม่มีแม่บ้าน เราไม่มี ภารโรง เราไม่มียาม เด็กเป็นแม่บ้าน พอถึงเวรก็ทำกับข้าว ขัดห้องน้ำ ถึงเวรก็เก็บกวาดเช็ดถู เก็บเพชรเก็บ พลอย เสาร์-อาทิตย์ ก็เอาเพชรพลอยไปขาย นั้นก็คือเรื่องการดำรงชีวิต ปกติ เสร็จแล้วขนาดเดียวกันขณะที่เขาขายของได้แล้วเขาเอามาซื้อ เครื่องปรุง น้ำยาล้างถ้วยล้างจาน หรือเราทำเองซื้อหัวน้ำยาทำได้มากขึ้น ประมาณนี้” “ทีนี้ในขนาดเดียวกันเราจะพาลูกของเราเอาเรื่องพอเพียงมา อย่างเดียวไม่ได้ เราจะให้ลูกเราสวดมนต์ไหว้พระปฏิบัติธรรมอย่างเดียวก็ ไม่ได้ เราจะต้องให้เขาเกิดปัญญาเกิดทักษะ เราจะต้องบูรณาการเรื่องของ การแข่งขันทักษะกับสังคมภายนอก กับเขตพื้นที่การศึกษา กับ สอศ. ของ โรงเรียนวิทยาลัยในจังหวัด และได้ประกวดไปถึงระดับภาคระดับประเทศ 43
ตามลำดับ อันนี้จึงต้องบูรณาการทางด้านวิชาการและทักษะกีฬา วิชาการ วชิ าชีพ วิชาชวี ิตเพราะว่าเราต้ังใจท่จี ะผลิตส่ิงนี้ออกสู่สังคม ตอ้ งได้ทางโลก และทางธรรม ตอ้ งมีความเขม้ แขง็ ในเร่ืองของหริ ิโอตัปปะ เกรงกลัวต่อบาป ละอายตอ่ ความชัว่ รกั ษาศลี ” 6) มีการติดตามผลสำเรจ็ ของนสิ ติ เป็นเยาวชนตน้ แบบจิตอาสา “ในเรื่องของจิตอาสาทุกๆ คนได้ฝึกฝนในเร่ืองของการเสยี สละ ตั้งแตต่ นื่ ขน้ึ มาเช็ดถู อยตู่ รงไหนขดั ห้องน้ำตรงไหน ทำกบั ข้าวตรงไหน เม่ือ เด็กเด็กเหล่านี้ได้ทำกิจกรรมในส่วนน้ี แต่ละวันแม้เขาจะไปอยู่ข้างนอกเขา ก็ไม่อายจากการที่เขาจะไปกวาดบ้านถูบ้าน เขาไม่อายที่จะต้องไปเก็บ เพชรเก็บพลอย เด็กเห็นขยะที่เราเรียกว่าขยะ แม่สอนเขาว่านี่คือสิ่งที่มี คุณค่าที่สุดนะลูก เพราะตอนที่เราซื้อลูกชิ้นใส่ถุงนี้ถุงเป็นภาชนะที่สูงค่า เพราะถ้าหากเราซื้อมาแล้วใส่มือมันก็เปื้อน แต่ภาชนะที่ใส่มาคือมีค่ามาก ถา้ คนรเู้ อาไปทง้ิ ใหเ้ ปน็ ท่ีไมต่ ้องทำใหค้ นอ่นื เป็นภาระ สิ่งเหลา่ น้ีจะมีค่ามาก เลย เพราะมนั ไมท่ ำใหค้ นอืน่ เดอื ดร้อน และทีนเี้ ขาก็จะเหน็ คณุ ค่าของเพชร พลอยเหล่านั้น ก็แยกแยะเป็นแยกแยะเป็น เมื่อเขาเห็นรุ่นพี่ตอนนี้เราไม่ ต้องสอนเองแล้ว แต่ภาพที่เห็นคือรุ่นพี่รุ่นพี่ทำให้ดู อยู่ให้เห็น พี่ทำกับข้าว น้องก็ไปดูว่าทำไมต้องทำกับข้าว ทำไมไม่มีแม่บ้าน ทีนี้พอพี่ไปฝึก ประสบการณว์ ิชาชีพนอ้ งก็ได้เป็นหนา้ ท่ตี ำแหน่งแทนพี่ไป เพราะรุ่นใหม่มา กเ็ หน็ รนุ่ พร่ี นุ่ ทส่ี องทำใหด้ อู ยใู่ หเ้ หน็ ” 7) มีการทำวัตรสวดมนต์และนั่งสมาธิก่อนเข้าเรียนเป็นประจำ ทกุ วนั “ทุกคนสวดมนต์เช้าเย็น เวลาถูกจำกัดจำกัดในเวลาการตื่น การทำงานการเรียนเสาร์-อาทิตย์มีกิจกรรม มันถูกวางกรอบไว้เรียบร้อย แล้ว เรื่องศีลได้แล้วนะคะ สมาธิเช้าเย็นสวดมนต์นั่งสมาธิ ฟังธรรมะ เขา รักษาศีลแลว้ เจริญภาวนาเจรญิ สมาธสิ ง่ิ ที่เดก็ ไดเ้ หมือนการปฏิบัตธิ รรมและ ได้ปัญญา” 44
8) มีการสอนเรื่องการค้าขายของชำร้านขายอาหารและร้าน กาแฟในวทิ ยาลัยเพ่ือเป็นอาชพี เสรมิ “สอน และฝึกวิชาชีพไปในตัว สดคล้องกับวสิ ยั ทศั น์ ทีว่ ่า สร้าง รากฐานให้ชมุ ชน เพียรสร้างตนด้วยเศรษฐกิจพอเพยี ง” 9) มีการสอนเรื่องระเบียบวินัยเรื่องเวลาโดยการมีที่แสกน ลายนิ้วมือตอนเชา้ กอ่ นเขา้ วิทยาลัยทุกวัน “เรอ่ื งระเบยี บวนิ ยั เรือ่ งเวลา เรามีการเทคโนโลยีเขา้ มาช่วยใน การฝึกเดก็ โดยการมีทแ่ี สกนลายนิ้วมอื ตอนเช้ากอ่ นเข้าวทิ ยาลัยทุกวัน” 10) มีการสอนเรื่องมารยาทในการที่จะพูดหรือสนทนากับพระ จะมีการประนมมือไหว้ การกราบการไหว้ “ก็ตามจริงแม่ชีเป็นวิทยากรที่เราอบรมวิปัสสนากรรมฐาน ใน ปริมณฑลและภูมิภาคต่างๆ และหลังจากนั้นตรงนั้นเราก็ได้สิ่งที่เราเห็นก็ คือ มันกลายเป็นนวัตกรรมชิ้นหนึ่งในระหว่างที่ กราบพระก็เป็นนวัตกรรม ที่งดงาม ระหว่างที่เขาสวดมนตร์เสียงที่เปล่งออกมาก็เป็นนวัตกรรม เมื่อ เราเห็นนวัตกรรมที่งดงามที่เกิดจากการสวดมนตร์ การนั่งสมาธิ เกิดจาก การเจริญภาวนา การกราบการไหว้ เป็นนวัตกรรมของชาวพุทธที่งดงาม แล้ว เจอพระ เจอครูก็นอบนอ้ ม พูดวาจาสุภาพไพเราะ เจ้าคะ ที่ไม่มีท่ีไหน ต่มที ่ีโรงเรียนของเรา” “การกราบโดยทั่วไปกราบนี้มีจังหวะมีสติกำหนดรู้ คำว่าการ กราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ให้เด็กรู้ว่าห้าส่วนของอวัยวะภายในร่างกาย ลงถึงพน้ื กจ็ ะเป็นภาพที่งดงามเหน็ ความนอบนอ้ มชัดเจนได้ความนอบน้อม เสร็จแล้ว เราต้องให้จังหวะ จังหวะนี้แหละคือนวัตกรรมที่เกิดขึ้นให้สวยให้ งาม ใครใครก็กราบไดก้ ม้ ลงกม้ ลงแล้วก็กราบ แต่ทำยังไงใหเ้ ป็นนวัตกรรมที่ งดงาม ดังน้ันการกราบก็ต้องมีการ step ให้ได้ทั้ง 5 ส่วน นวัตกรรมการ กราบ” 45
11) มกี ารสอนเรือ่ งความกตญั ญู เช่นการสง่ นสิ ติ รุ่นพี่ไปฝึกงาน ในสถานที่จริงก็จะได้รับเงินเดือนทางวิทยาลัยจะบอกกับนิสิตว่าให้แบ่ง เงินเดือนตรงนั้นส่งกลับมาบ้านให้พ่อแม่ เมื่อนิสิตรุ่นพี่ฝึกงานเสร็จและ กลับมาวิทยาลัยก็จะมีการรวมเงินบางส่วนเพื่อเป็นผ้าป่าให้กลับวิทยาลัย เพื่อเป็นคา่ อาหารให้นสิ ติ รุ่นน้องเป็นแบบนที้ กุ ปี “ของเรานี่ลูกลูกก็จะเรามีนโยบาย 3 ข้อ ฝึกประสบการณ์ วิชาชีพแล้ว แล้วได้ค่าตอบแทนลูกก็ต้องทำสามสิ่งก็คือ “ให้ ใช้ เก็บ” ให้ คือ เงินเดือนก็ให้พ่อแม่ครึ่งหนึ่ง อีกครึ่งหนึ่งเขาใช้สมมุติว่าเขาได้เงินเดือน และในสว่ นที่เหลอื อกี 6,000 เขากจ็ ะใช้ 3,000 และอีก 3,000 ก็ให้เขาฝาก ธนาคาร อันนี่คือฝึกในเรื่องการออมไปด้วย เป็นการดำรงชีวิตที่ใช้อยู่แบบ พอเพียงในการดำรงชีวิต” 2. นวตั กรรมวฒั นธรรม/มารยาทชาวพุทธ 1) มกี ารแต่งกายทสี่ ุภาพเรียบรอ้ ย เชน่ ชุดนักเรยี น 2) เมื่อเดินผ่านพระนิสิตจะนั่งลงและกราบหรือหยุดเดินและ ยืนขา้ งทางไหว้พระเมอ่ื พระเดนิ ผา่ นไปแลว้ นสิ ติ จงึ เดนิ ต่อ 3) เมื่อมีการพูดกับพระจะใช้คำลงท้ายตลอด นิสิตผู้ชายจะใช้ คำว่า ครับหรอื ขอรบั นสิ ิตผ้หู ญงิ จะใชค้ ำวา่ คะ่ หรอื เจ้าค่ะ 3. นวัตกรรมการฝึกภาวนาวถิ พี ทุ ธ 1) การคัดเลือกพระกับครูผู้สอนในวิทยาลัยจะต้องผ่านการ อบรมวิปัสสนากรรมฐานหรือผ่านการฝึกเจริญจิตภาวนาของทางวิทยาลั ย กอ่ นจึงจะสามารถมาเป็นพระกับครผู ู้สอนได้ 2) มีการจัดอบรมนิสิตใหม่ด้วยการปฏิบัติธรรมตามที่วิทยาลัย กำหนดเพื่อเปน็ การปฐมนิเทศกอ่ นทุกปี 3) มีการจัดบวชสามเณรภาคฤดูร้อนเพื่อฝึกสมาธิให้กับนิสิตที่ เปน็ ผ้ชู ายและออกบณิ ฑบาตตามหมบู่ า้ น 4. นวตั กรรมวิถีชวี ติ พอเพียง 46
1) มีการเพาะเห็ดนางรมในโรงเรือนเพื่อนำมาประกอบอาหาร ในวิทยาลยั และนำเหด็ ไปขายทีต่ ลาดเพ่อื เปน็ อาชีพเสรมิ ให้แก่นสิ ิต 2) มีการเลี้ยงวัวแล้วให้ลูกวัวแก่ผู้ปกครองของนิสิต โดยทาง วิทยาลัยจะบอกกับผู้ปกครองว่าเมื่อวัวออกลูกให้นำลูกวัวกลับมาให้ วิทยาลัย เพือ่ นำมาเป็นธนาคารวัวไว้ให้ผู้ปกครองร่นุ ตอ่ ไป กล่าวโดยสรุปว่า วิทยาลัยจุลมณีศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ เป็นสถานศกึ ษาเอกชน หลักการบรหิ ารจดั การวทิ ยาลัยคอื “สำนกั เรยี นเป็น บ้าน ผู้บริหารเป็นหลัก ครูให้ความรักเอาใจใส่ ใช้ไตรจักรการศึกษา ผู้เรียน เกิดปัญญา สรรพอาชีวาเป็นเครื่องคุ้มครองตน” บริหารจัดการตาม โครงสร้างได้แก่ ฝ่ายบุคคล ฝ่ายวิชาการซึ่งแม่ชีเป็นผู้บริหารระดับสูง โดย ดำเนินการจัดการบริหารการศึกษา วิชาการงานอาชีพ และคุณธรรม จริยธรรมแก่เด็กและเยาวชน ตามเน้นให้ผู้เรียนมีสติ มีสมาธิ มีปัญญา นำไปพัฒนาทักษะวิชาการงานอาชีพด้วยคุณธรรม ดำรงชีวิตในสังคมอย่าง สันติ และใช้แนวคิดพุทธเศรษฐศาสตร์และน้อมนำหลักการของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อฝึกการพึ่งพาตนเองและสร้างรายได้ เช่น การเพาะ เห็ดนางรมในโรงเรือน การสร้างธนาคารวัว และสาขาที่เปดิ สอนตอบสนอง ความต้องการของผู้ปกครอง ชมุ ชนในพน้ื ทีซ่ งึ่ ทางโรงเรียนได้สร้างหลักสูตร และพัฒนาให้เข้าบริบทสังคมที่ต้องการสร้างอาชีพหรือรายได้เสริมใน ขณะที่เรียนอยู่ในวิทยาลัยจุลมณีศรีสะเกษแห่งนี้เรียกว่าเป็นการพัฒนา ทักษะชีวิตและการดำเนินชีวิต เพราะแต่ละสาขาที่เปิดสามารถสร้างอาชีพ ให้กับผู้ที่จบการศึกษา ได้แก่ 1) สาขาช่างยนต์ 2) สาขาอิเล็กทรอนิกส์ 3) สาขาช่างตัวถังและสีรถยนต์ 4) สาขาการบัญชี 5) สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 6) สาขาธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ 7) สาขาอาหารและโภชนาการ 8) สาขาผ้า และเครื่องแต่งกาย 9) สาขาการดูแลผู้สูงอายุ 10) สาขาเลขานุการ ทุก สาขาที่วิทยาลัยจุลมณีศรีสะเกษ สามารถตอบสนองความต้องการของ ชมุ ชนได้ ดงั รูปภาพท่ี 4.9 47
เรียนรดู้ ว้ ย ทฤษฎีและ ภาคปฏบิ ตั ิ สรา้ งอาชพี เรียนที่ เชอ่ื มโยง สร้างรายได้ จลุ มณี สถานผู้ ระหว่างเรียน ประกอบการ มี ทุนการศกึ ษา จบแลว้ ไดอ้ าชีพ ได้งานทำ ความ มั่นคงในชวี ิต ภาพที่ 7 พนื้ ทน่ี วตั กรรมการศกึ ษาจุลมณศี รสี ะเกษ ที่มา : คณะผ้วู ิจัย 13 พฤศจกิ ายน 2564 หลักการบริหารจัดการวิทยาลัยจุลมณีศรีสะเกษ ใช้ทรัพยากร มนุษยท์ ี่มปี ระสทิ ธภิ าพ และเทคโนโลยีพัฒนา ระบบสอื่ สาร ทำใหก้ ระแสการ บริหาร โดยนำเทคโนโลยีเข้ามาสร้างเครือข่ายแผ่กระจายครอบคลุมพื้นที่ ส่วนต่างๆ ของสถานศึกษา หรือของโลกอย่างรวดเร็ว ผลของการ 48
เปลี่ยนแปลงทำให้เกิดกระแสสำคัญๆ ที่เข้าสู่ความเป็นสากลรวมทั้งการจัด การศึกษา โดยยึดหลักการคือ มีความยุติธรรม มีความมุ่งมั่น ขยัน อดทน มี ความรับผิดชอบสูง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีภาวะผู้นำสูง และบูรณาการ หลักพุทธธรรมสู่ปรัชญาของโรงเรียน วิสัยทัศน์ เอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ ดังน้ี ปรชั ญาของโรงเรยี น: ไตรสิกขาสรา้ งคนดี จลุ มณสี ร้างสัมมาชพี วิสัยทัศน์: อาชีวะวิสุทธิ์ วิถีพุทธสร้างปัญญา จิตอาสาบริการ มาตรฐานสิ่งประดิษฐ์ ฝึกคิดสร้างสรรค์ แข่งขันวิชาการ สร้างรากฐานให้ ชมุ ชน เพียรสรา้ งตนดว้ ยเศรษฐกิจพอเพียง เอกลกั ษณ์: วถิ ีธรรม นำชีวิต อัตลักษณ์: รอบรู้ปริยัติ เชียวชาญปฏิบัติ ถนัดใช้ปัญญา จิต อาสาเพือ่ ชมุ ชน 4.2.2 ส่วนที่ 2 ลักษณะการดำเนินการของพื้นที่นวัตกรรม ทางการศึกษา ก. ปฐมเหตุของการสร้างพื้นที่นวัตกรรม เป็นข้อมูลที่แสดงให้ เห็นแนวคิด หรือฐานคิดเบ้ืองตน้ ที่เป็นจุดกำเนิดหรือจุดประกายใหเ้ กิดการ พัฒนาพื้นที่นวัตกรรม โดยประเด็นปฐมเหตุของการสร้างพื้นที่นวัตกรรม สามารถแยกได้ 3 ประการคือ (1) ต้องการให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (2) ต้นแบบ (3) สู่การเรียนรดู้ ว้ ยตนเองท่ีแท้จรงิ ซึง่ มีรายละเอียดดงั ต่อไปนี้ 1. ต้องการใหเ้ กิดการเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง “ในขณะที่เราเป็นวิทยากรอบรม นักเรียนนักศึกษาเยาวชน ประชาชนข้าราชการ ทุกหมู่เหล่าที่ไปในแต่ละที่ เราไปเพียงแค่ 3-7 วัน แล้วเราก็ทิ้งเขามา เมื่อเขาถูกทิ้งแล้วเขาจะต่อเนื่องได้อีกไหม จิตเป็นของ เบาะบาง จิตเป็นพลังธาตุที่ต้องดูแลประคองอยู่ตลอดเวลา จึงได้ใช้คำว่า ถ้าเป็นตัวเราเราได้ความรู้จากครูบาอาจารย์เรียกว่ากำหนด เรายังรู้จักการ 49
กำหนด กำหนดรู้ยิ่งรู้ กำหนดแล้วก็จะทำให้มีสติแล้วถ้าเราสอนเขาได้ เบื้องต้น แล้วก็จากเขาไป นั่นคือการสอนกรรมฐาน เจริญภาวนา แล้วเราก็ ทิ้งเขาไป ตรงนั้นเท่ากับเราทิ้งภาระไว้ให้เขามากขึ้น เพราะเขาต้องเจอ สังคมใหม่อีกต่อไปอีก เพราะไม่ใช่สังคมที่ได้รับการอบรมจากวันนี้ เพราะฉะนั้นจึงเป็นเหตุเป็นปัจจัย จากที่เราเห็นนวัตกรรมการไหว้การสวด มนตร์ที่สวยงามนี้เอามาหล่อหลอม เอามาใช้ ใช้อย่างไรทำอย่างไรจะให้ ย่ังยืน ตัวนี้คือคำถาม และแม่ก็หาคำตอบ คำตอบก็คือเมื่อเราอบรมเขา 3- 7 วัน แล้วทิ้งเขา มันไม่ใช่การวัดผลประเมินผล สรุปผลให้ได้ตัวสรุปท่ี ชัดเจนหรือถาวร จึงต้องมาสร้างโรงเรียน เมื่อสร้างโรงเรียนก็ตอ้ งสร้างดว้ ย วิถีพุทธสร้างด้วยใจ ทำให้ดูอยู่ให้เห็นอันนี้คือ อันดับที่หนึ่ง เมื่อทำให้ดูอยู่ ให้เห็นเราเป็นแบบฉบับให้เขาแล้ว เขาก็ไม่ต้องไปดูตำราเพราะว่างานที่จะ พัฒนานวัตกรรมชีวิตให้สวยงามให้มีรอยยิ้มที่สวยงาม อันนี้มันต้องใช้ ความรคู้ วามสามารถความเอาใจใสแ่ ละเสมอต้นเสมอปลายและต่อเน่อื ง จึง ได้สร้างโรงเรียนที่มีกรอบชื่อว่าเป็นวิถีพุทธ วิถีก็เปลี่ยนเส้นทางเส้นทางที่ เป็นกรอบพุทธก็คอื สอนเพื่อไปสู่เส้นทางแห่งผู้รู้ ให้รู้ตัวเอง ว่าเป็นนักเรียน นักศึกษาเป็นลูกศิษย์ตื่นตัวตื่นตัวก็คือเมื่อเขาได้รับความรู้ เขาก็จะพัฒนา ตนเองในแต่ละวันให้ความรู้กบั เขาตน่ื รูแ้ ละมคี วามเบกิ บานแจ่มใส เขาจะมี ความสุขเหมือนกับที่เราได้รับจากครูบาอาจารย์ ตรงนี้เป็นเหตุและปัจจัย เบ้อื งต้นที่ไดต้ ัง้ โรงเรยี น เหตุปจั จัยก็คอื เกดิ ปณธิ าน”1 2. ตน้ แบบ การทไี่ ด้เห็นครอู าจารย์ ปฏิบตั ิ หรอื เห็นถงึ ปณิธานของคูอาจารย์ จึงเกิดเป็นแรงบันดาลใจในการขับเคลื่อนการสร้างพื้นที่นวัตกรรมขึ้นใน องคก์ รของตนเอง ดงั คำสมั ภาษณ์ชองผใู้ หข้ ้อมลู สำคญั ดงั น้ี 1สัมภาษณ์ แม่ชี ดร.ระเบียบ ถิรญาณี, ประธานบริหารวิทยาลัยอาชีวศึกษาจุลมณีศรีสะเกษ, 7 มกราคม 2565. 50
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110