Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ##รวมไฟล์_คอ2-ป.โท พุทธบริหาร ส่วนกลาง สกอ.รับทราบ 18-3-62_flipbook

##รวมไฟล์_คอ2-ป.โท พุทธบริหาร ส่วนกลาง สกอ.รับทราบ 18-3-62_flipbook

Published by Kasem S. Kdmbooks, 2021-09-04 15:44:51

Description: ##รวมไฟล์_คอ2-ป.โท พุทธบริหาร ส่วนกลาง สกอ.รับทราบ 18-3-62_flipbook

Search

Read the Text Version

สกอ. รบั ทราบ ๑๘ ม.ี ค. ๖๒ หลกั สตู รพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ภาควิชาบริหารการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั

หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา (หลักสูตรปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย

รายละเอียดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๒ รายละเอียดของหลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั สภามหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั อนมุ ตั ิ ในการประชมุ คร้งั ที่ ๒/๒๕๖๐ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๙ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๐ หลกั สตู รพุทธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๓ สารบญั เร่ือง หนา ๑ หมวดที่ ๑ ขอ มลู ท่ัวไป ๔ หมวดที่ ๒ ขอมูลเฉพาะของหลกั สตู ร ๖ หมวดท่ี ๓ ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลกั สตู ร ๑๗ หมวดท่ี ๔ ผลการเรยี นรู กลยุทธก ารสอน และการประเมนิ ผล ๒๗ หมวดที่ ๕ หลกั เกณฑในการประเมนิ ผลนิสติ ๒๙ หมวดท่ี ๖ การพัฒนาคณาจารย ๓๐ หมวดที่ ๗ การประกันคุณภาพหลักสูตร ๓๕ หมวดที่ ๘ การประเมินและปรับปรงุ หลกั สตู ร ภาคผนวก ก ๓๗ คาํ อธบิ ายรายวชิ า ภาคผนวก ข ๔๖ ตารางเปรียบเทียบหลกั สตู ร ภาคผนวก ค ๖๒ ขอบังคับ ระเบียบ และประกาศทเ่ี กยี่ วของ ภาคผนวก ง ๑๐๒ ประวตั ิและผลงานอาจารยป ระจําหลักสูตร ภาคผนวก จ ๑๒๔ ประกาศอนุมตั หิ ลกั สตู ร/คําส่ังแตง ตั้งคณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตร การรบั ทราบหลักสตู รของ สกอ. (๑๘ ม.ี ค. ๖๒) ๑๒๘ ราชกจิ จานุเบกษา ประกาศมหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ๑๓๔ เร่ือง ปริญญาในสาขาวิชาและอกั ษรยอสําหรบั สาขาวิชา (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑ หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดของหลกั สตู ร หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐ ************** ชอื่ สถาบันอดุ มศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ หมวดที่ ๑ ขอ้ มลู ทั่วไป ๑. รหสั และชอ่ื หลักสตู ร รหัสหลกั สูตร : ๒๕๔๙๑๘๕๑๑๐๐๑๖๗ ช่อื ภาษาไทย : หลกั สูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา ชอ่ื ภาษาอังกฤษ : Master of Arts Program in Buddhist Educational Administration ๒. ชือ่ ปรญิ ญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ไทย) : พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต (พุทธบริหารการศึกษา) ช่อื ย่อ (ไทย) : พธ.ม. (พทุ ธบริหารการศึกษา) ชอ่ื เตม็ (อังกฤษ) : Master of Arts (Buddhist Educational Administration) ชอ่ื ย่อ (องั กฤษ) : M.A. (Buddhist Educational Administration) ๓. วิชาเอก หรอื ความเช่ียวชาญเฉพาะของหลักสูตร พุทธบรหิ ารการศึกษา (Buddhist Educational Administration) ๔. จานวนหน่วยกติ ทเี่ รยี นตลอดหลกั สตู ร แผน ก แบบ ก ๒ จานวน ๔๒ หน่วยกิต ๕. รูปแบบของหลักสตู ร ๕.๑ รปู แบบ : เปน็ หลักสตู รระดับปริญญาโท หลกั สตู ร ๒ ปี ๕.๒ ภาษาทใ่ี ช้ : การจดั การเรียนการสอนเป็นภาษาไทย ๕.๓ การรับเข้าศึกษา : ชาวไทยและชาวต่างชาติทีส่ ามารถใชภ้ าษาไทยได้ ๕.๔ ความรว่ มมือกับสถาบนั อ่ืน : เป็นหลักสูตรเฉพาะของสถาบนั ๕.๕ การใหป้ ริญญาผูส้ าเร็จการศกึ ษา : ให้ปริญญาสาขาเดียว คือ พุทธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศึกษา ๖. สถานภาพของหลักสตู ร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐ ปรับปรุงจากหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๕ มลี าดบั การดาเนนิ งาน ดงั นี้ ๖.๑ คณะกรรมการประจาบณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๒ อนุมตั ใิ นการประชุม ครง้ั ที่ ๑/๒๕๕๙ เม่ือวันศกุ รท์ ี่ ๑๐ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖.๒ สภาวชิ าการ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย เหน็ ชอบในคราวประชุม ครง้ั ที่ ๓/๒๕๖๐ วันท่ี ๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖.๓ สภามหาวิทยาลยั มหาวิทยาลมั หาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั อนุมัตใิ นคราวประชุม คร้งั ที่ ๒/๒๕๖๐ วันท่ี ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ๗. ความพรอ้ มในการเผยแพร่หลกั สูตรท่มี คี ณุ ภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพรอ้ มเผยแพร่ว่าเป็นหลกั สตู รที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ๘. อาชพี ทป่ี ระกอบได้หลงั สาเร็จการศึกษา ๘.๑ อาจารยใ์ นสถาบนั การศึกษา ๘.๒ ผู้บริหารการศึกษาองค์กรของรัฐ เอกชน หรือคณะสงฆ์ ๘.๓ นกั วิชาการศึกษา ครู พนกั งานของรฐั อนุศาสนาจารย์ประจากองทัพ ๘.๔ นักพฒั นาสงั คม วิทยากรอบรมคุณธรรมจริยธรรม พระวปิ สั สนาจารย์ ๘.๕ นักวิจัย หรือวชิ าการอิสระ ๙. ชื่อ ฉายา นามสกุล เลขประจาตัวประชาขน ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของ อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร ที่ ชอื่ –ฉายา/สกลุ ตาแหน่ง คณุ วุฒ/ิ สาขาวชิ า ช่ือสถาบนั ท่สี าเรจ็ การศึกษา ปีท่ีสาเรจ็ และเลขประจาตัวประชาชน ทางวชิ าการ ๑ นายเกษม แสงนนท์ อาจารย์ พธ.ด. (พุทธบริหารการศกึ ษา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๕๘ ๓ ๔๓๐๕ ๐๐๔๒๓ xx x วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) ม. ศรีปทมุ ๒๕๔๘ พธ.บ. (การบริหารรฐั กจิ ) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๓๘ ๒ พระครูกติ ตญิ าณวสิ ิฐ อาจารย์ พธ.ด. (พุทธบรหิ ารการศกึ ษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๗ (ธนา หอมหวล) ๕ ๒๑๐๑ ๐๐๐๓๔ xx x ร.ม. (รัฐศาสตร์) ม. รามคาแหง ๒๕๕๒ พธ.บ. (พระพทุ ธศาสนา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๕๐ ๓ พระครโู อภาสนนทกติ ติ์ อาจารย์ พธ.ด. (พุทธบริหารการศึกษา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๗ (ศักดา โอภาโส/แสงทอง) พธ.ม. (การบริหารการศกึ ษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๕๕ ๓ ๑๐๑๖ ๐๐๗๗๕ xx x พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๓ ๑๐. สถานท่จี ัดการเรียนการสอน มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั เลขที่ ๗๙ หมทู่ ี่ ๑ ตาบลลาไทร อาเภอวงั น้อย จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ๑๓๑๗๐ ๑๑. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาทจ่ี าเปน็ ในการวางแผนหลกั สูตร ๑๑.๑ สถานการณ์หรือการพฒั นาทางเศรษฐกจิ ปัจจุบันสังคมไทยมีการแข่งขันสูง ประชาชนมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจ รวมถึงการไหลบ่าของวัฒนธรรม ตะวันตก ทาใหส้ งั คมเปน็ สงั คมวัตถนุ ยิ มไมค่ ่อยคานงึ ถึงด้านจิตใจ การพฒั นามนษุ ย์ในสังคมจะต้องพัฒนาท้ัง หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๓ ร่างกายและจิตใจ โดยอาศัยการศึกษาควบคู่กับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไปบูรณาการใช้กับตนเอง องคก์ ร ชมุ ชน และประเทศชาติ ๑๑.๒ สถานการณห์ รอื การพฒั นาทางสังคมและวฒั นธรรม สงั คมและวฒั นธรรมมีปัญหาท่ีเพิ่มข้ึนทุกวัน เช่น ความรุนแรง การทุจริตคอรัปช่ัน ความเลื่อม ล้าในสังคม การใช้กฎหมายอย่างไม่เป็นธรรม การขาดหลักธรรมาภิบาลในองค์กร เป็นต้น การศึกษา วิทยาการอย่างเดียวโดยไม่ได้ศึกษาหลักธรรมด้วย ก็จะแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ยาก การศึกษาจึงควรควบคู่ ไปกับการพัฒนาคุณภาพจิตใจ เชื่อมโยงหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและมีความกลมกลืนกับวัฒนธรรม การดารงชวี ิตของมนุษย์จงึ สมบรู ณ์ได้ ๑๒. ผลกระทบจากขอ้ ๑๑ ๑๒.๑ การพฒั นาหลกั สตู ร เพื่อสร้างบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วยการศึกษาและ สามารถนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไปบูรณาการกับการบริหารการศึกษาอย่างลึกซ้ึง และสอดคล้อง กับสถานการณท์ างเศรษฐกจิ สังคม การเมือง และวัฒนธรรม ๑๒.๒ ความเกย่ี วขอ้ งกบั พันธกจิ ของสถาบัน พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ทรงมพี ระราชปณธิ านท่ีจะสร้างมหาวิทยาลัยแห่งนี้ให้ เป็นที่ศึกษาพระไตรปิฎกและวิชาการชั้นสูง เพ่ือผลิตบัณฑิตท่ีมีความรู้คู่คุณธรรมไปรับใช้สังคมและ ประเทศชาติ ขณะเดียวกันทางหลักสูตรก็ต้องผลิตมหาบัณฑิตที่สอดคล้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย ๔ ด้านคือ จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ วิจัยและพัฒนา บริการวิชาการแก่สังคม และทานุบารุง ศลิ ปะวัฒนธรรมและสง่ เสริมพระพุทธศาสนา ๑๓. ความสัมพันธก์ บั หลกั สูตรอื่นทเี่ ปดิ สอนในคณะ/สาขาวชิ าอ่ืนของมหาวทิ ยาลัย ๑๓.๑ กล่มุ วิชา/รายวิชาในหลกั สตู รน้ีท่ีเปิดสอนโดยคณะ/ภาควชิ า/หลกั สตู รอนื่ วิชาภาษาอังกฤษ วิชาพ้ืนฐานภาษาบาลี และวิชาวิปัสสนากรรมฐาน เป็นรายวิชาบังคับท่ี กาหนดใหน้ สิ ิตเรียน เพอื่ ให้มีความรู้ระดับสากลและเปน็ วิชาอัตลกั ษณ์ของสถาบัน ๑๓.๒ กลุ่มวิชา/รายวชิ าในหลกั สตู รท่เี ปดิ สอนใหภ้ าควิชา/หลักสตู รอ่ืนต้องมาเรยี น -ไมม่ ี ๑๓.๓ การบรหิ ารจดั การหลักสูตร มีแนวทางในการบรหิ ารจัดการใหม้ ีประสทิ ธิภาพ ดงั นี้ ๑. แต่งตง้ั คณะกรรมการบริหารหลกั สูตร ผอู้ านวยการหลักสูตร และอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบ ๒. มอบหมายใหค้ ณะกรรมการกากับดูแลการจัดการศึกษาตามมาตรฐานของหลักสูตร ๓. แต่งต้ังผู้ประสานงานหลักสูตร หรือเลขานุการหลักสูตร ทาหน้าท่ีประสานงานกับอาจารย์ ผู้บรรยาย และผู้เกี่ยวข้องต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอก เพ่ือให้การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล และกิจกรรมตา่ ง ๆ ของหลักสตู ร เป็นได้ด้วยความเรียบรอ้ ย หลกั สตู รพุทธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๔ หมวดที่ ๒ ข้อมูลเฉพาะของหลกั สตู ร ๑. ปรชั ญา ความสาคัญ และวตั ถุประสงค์ของหลกั สตู ร ๑.๑ ปรัชญาและความสาคัญของหลกั สูตร มุ่งพัฒนาผู้บริหารการศึกษาและบริหารสถานศึกษาให้มีความรู้ที่กว้างขวาง ลึกซ้ึง สามารถวิจัย และพฒั นานวัตกรรมต่างๆ ได้อย่างสากล ทันเหตุการณ์และยุคสมัย Thailand 4.0 และสามารถบูรณาการ หลักพุทธธรรมเพื่อการบริหารการศึกษา การจัดการเรียนการสอน การพัฒนามนุษย์ การบริการ ตลอดถึง การดาเนนิ ชีวติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สามารถดารงอยู่ในโลกทเ่ี ปลย่ี นแปลงไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ปัจจุบันการบริหารการศึกษาสมัยใหม่ แม้จะมีความเจริญก้าวหน้าด้านวิทยาการและเทคโนโลยี เป็นอย่างมาก แต่หลักคุณธรรมและจริยธรรมยังมีจาเป็นอยู่ทุกยุคสมัย หลักสูตรจึงเน้นการบูรณาการหลัก พุทธธรรมกับศาสตร์สมัยใหม่ เพ่ือให้เป็นไปตามพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา จฬุ าลงกรณ์ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงสถาปนามหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยข้ึน ให้เป็น สถานศกึ ษาพระไตรปฎิ กและวชิ าช้ันสูงสาหรับพระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ ๑.๒ วัตถุประสงคข์ องหลกั สูตร หลักสตู รมีวตั ถุประสงค์ ดังน้ี ๑. เพ่อื ผลติ มหาบัณฑติ ให้เป็นผู้มีความรู้และเข้าใจศาสตร์ด้านบริหารการศึกษาอย่างกว้างขวาง มีวสิ ัยทศั นก์ วา้ งไกล มคี วามคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ และมภี าวะผนู้ าในทางวิชาการ ๒. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตให้เป็นผู้มีความสามารถในการใช้งาน และพัฒนานวัตกรรมการบริหาร การศกึ ษา การวิจยั และสรา้ งสรรองค์ความรู้ใหม่ๆ ทเ่ี หมาะกับภาระงานหรอื บรกิ ารแก่สังคม ๓. เพ่ือผลิตมหาบัณฑิตให้สามารถบูรณาการหลักพุทธธรรมกับการบริหารการศึกษาอย่าง เหมาะสม เป็นผู้มีความรู้คคู่ ณุ ธรรม รเู้ ทา่ ทันสถานการณ์ และดารงตนอยใู่ นสังคมอยา่ งมีความสขุ หลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๕ ๒. แผนพฒั นาปรบั ปรุงหลักสตู ร แผนการพฒั นา/เปล่ียนแปลง กลยทุ ธ์ หลักฐาน/ตวั บ่งชี้ ๑. ปรับปรุงหลักสูตรให้ไดต้ าม - มุ่งพฒั นาหลักสตู รให้มาตรฐาน - เอกสารปรับปรุงหลักสูตร มาตรฐาน สกอ. คุรสุ ภา ระดบั สากล สอดคลอ้ งกบั - รายงานผลการประเมนิ และสอดคลอ้ งกบั แผนการ มาตรฐาน สกอ. และครุ ุสภา ศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ หลักสูตร -๒๕๗๙ - ติดตามประเมนิ หลกั สตู รอยา่ ง สม่าเสมอ - รายงานผลประเมินความ ๒. ปรบั ปรุงหลกั สตู รให้ พึงพอใจของผเู้ รยี นต่อ สอดคล้องกบั ความต้องการ - ตดิ ตามความเปล่ียนแปลงใน ความรูแ้ ละความทนั สมัย ของภาครฐั เอกชน และคณะ ความต้องการขององค์กรภาครัฐ ของหลกั สูตร สงฆ์ เอกชน และคณะสงฆ์ - รายงานผลการประเมิน ความพงึ พอใจของผูใ้ ช้ ๓. พัฒนาบุคลากรดา้ นการเรียน - นานวตั กรรมและเทคโนโลยี บณั ฑิต การสอน และการบริการ ใหม่ๆ มาใชใ้ นการเรยี นการ วชิ าการ สอน เพิ่มศกั ยภาพของหลกั สูตร - รายช่ืออาจารยท์ ี่เขา้ รับ การอบรม - ติดตามความพึงพอใจของผู้ใช้ บัณฑติ - ปรมิ าณงานบริการวิชาการ ต่ออาจารย์ในหลักสูตร - อาจารยท์ ุกคนต้องอบรม เกย่ี วกับหลกั สตู ร เทคนิคการ - รายงานผลประเมนิ ความ สอน การวิจยั และการวัดผล พึงพอใจของผู้ใช้บริการ ประเมินผล สมา่ เสมอ วิชาการ - ส่งเสรมิ คณาจารย์ให้บริการ - จานวนโครงการ/กจิ กรรม วชิ าการแก่สงั คมในรูปแบบ ทเี่ ป็นประโยชน์ตอ่ ชมุ ชน ตา่ งๆ - ใบรบั รองวชิ าชพี (กรณีมี - สง่ เสรมิ ใหน้ าความรทู้ ้ังทฤษฎี การส่งเขา้ อบรม) และผลจากงานวิจัยไปใชเ้ พื่อ ประโยชนแ์ ก่ชมุ ชน สังคมหรือ คณะสงฆ์ หลกั สตู รพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๖ หมวดท่ี ๓ ระบบการจดั การศกึ ษา การดาเนนิ การ และโครงสร้างหลกั สตู ร ๑. ระบบการจัดการศกึ ษา ๑.๑ ระบบ จัดการศึกษาระบบทวิภาค โดยในหน่ึงปีการศึกษาแบ่งเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ แต่ละภาค การศึกษามเี วลาศกึ ษาไมน่ อ้ ยกว่า ๑๕ สปั ดาห์ ๑.๒ การจัดการศกึ ษาภาคฤดูร้อน อาจจดั การศกึ ษาภาคฤดูร้อนได้อีก ๑ ภาคการศกึ ษา มีเวลาศึกษาไมน่ ้อยกว่า ๖ สัปดาห์ ๑.๓ การเทียบเคียงหน่วยกติ ในระบบทวิภาค ไม่มี ๒. การดาเนนิ การของหลักสตู ร ๒.๑ วนั เวลา ในการดาเนนิ การเรียนการสอน จัดการศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน ๕ ปีการศึกษา โดย แบ่งเปน็ ภาคการศกึ ษา วนั เวลา ในการดาเนนิ การเรียนการสอน ดงั น้ี ภาคการศกึ ษาที่ ๑ เดอื น มถิ ุนายน ถงึ ตุลาคม วันพฤหัสบดี – วนั ศุกร์ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. วนั เสาร์ – วันอาทติ ย์ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. ภาคการศึกษาท่ี ๒ เดอื น พฤศจิกายน ถงึ มนี าคม วนั พฤหัสบดี – วนั ศกุ ร์ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. วนั เสาร์ – วนั อาทิตย์ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. ๒.๒ คณุ สมบตั ิของผู้เขา้ ศึกษา ผู้เขา้ ศกึ ษาตอ้ งมีคุณสมบัติ ดงั น้ี ๑. จบปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ทุกสาขา จากสถาบันที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสานกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) รับรอง และมผี ลการเรียนเฉลี่ย ๒.๕๐ ขึ้นไป ยกเวน้ มีประสบการณ์ทางานติดตอ่ กันไม่น้อยกว่า ๒ ปี นบั แตจ่ บการศกึ ษา หรือ ๒. จบเปรยี ญธรรม ๙ ประโยค หรือ บาลีศกึ ษา ๙ จากระบบการศกึ ษาของคณะสงฆ์ไทย ๓. ไมเ่ ป็นโรคติดต่อร้ายแรง โรคทส่ี งั คมรงั เกยี จ หรือโรคที่เป็นอปุ สรรคต่อการศกึ ษา ๔. ไม่เคยถกู ลงโทษใหพ้ น้ สภาพการเปน็ นิสิตของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย ๕. คณุ สมบัติอืน่ ใหเ้ ป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัย หรือตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร กาหนด หลกั สตู รพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๗ ๒.๓ วิธคี ดั เลอื กผเู้ ข้าศกึ ษา มีวธิ ีการคัดเลือกผู้เขา้ ศกึ ษา ดังน้ี ๑. ประชมุ คณะกรรมการประจาหลักสตู ร กาหนดการรับสมัครประจาปีการศึกษา สอบข้อเขียน สอบสมั ภาษณ์ ประกาศผลสอบ ผสู้ มคั รตอ้ งผา่ นกระบวนการคดั เลอื กตามท่ีหลักสตู รกาหนด ๒. วิธีคัดเลือกอ่ืน ให้ปฏิบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศกึ ษา หรอื ตามท่ีคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รกาหนด ๒.๔ ปญั หาของนสิ ิตแรกเขา้ ปัญหาของนิสิตโดยสรปุ มดี งั นี้ ๑. มีความรู้พืน้ ฐานดา้ นการบริหารการศึกษาน้อย ๒. มที ักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาบาลี และการติดต่อสอื่ สารน้อย ๓. มีทักษะด้านการวเิ คราะห์สถติ ิ และการใชเ้ ทคโนโลยีเพือ่ การศกึ ษาน้อย ๔. มีความเข้าใจเก่ยี วกบั ข้นั ตอน กระบวนการ และการเขียนรายงานวิจัยนอ้ ย ๕. มคี วามรู้เกย่ี วกับการบูรณาการหลกั พทุ ธธรรมกบั การศึกษาน้อย ๒.๕ กลยทุ ธ์ในการดาเนินการเพอื่ แก้ไขปัญหา/ข้อจากัดของนิสิต หลักสูตรมกี ลยทุ ธ์ในการแกไ้ ขปัญหา/ข้อจากัดของนสิ ิต ดงั น้ี ๑. จัดสอนรายวิชาพืน้ ฐานความรู้ดา้ นการจัดการศึกษาสาหรบั ผ้จู บไมต่ รงสาขา ๒. สอนเสรมิ ภาษาองั กฤษตามมาตรฐานสากล และภาษาบาลที เี่ ปน็ อัตลักษณส์ ถาบนั ๓. จัดทาโครงการคลีนิควิทยานพิ นธ์ แนะนาการทาวทิ ยานพิ นธใ์ หส้ าเรจ็ ตามระยะเวลา ๔. สอนวิธีการใช้นวัตกรรม และเทคนิคการวิเคราะห์ รวมถึงการบูรณาการหลักพุทธธรรมกับ การเรียนการสอน การวจิ ยั และการนาไปใชใ้ นการบรหิ ารการศกึ ษา ๒.๖ แผนการรับนสิ ติ และจานวนผ้สู าเรจ็ การศึกษาในระยะเวลา ๕ ปี ช้นั ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ จานวนนิสติ แต่ละปีการศกึ ษา* ๒๕๖๔ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๖๐ ช้ันปีท่ี ๑ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๑๒๐ ชัน้ ปที ี่ ๒ - ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ รวม ๖๐ จานวนท่ีคาดวา่ จะสาเร็จการศกึ ษา - *จัดการศึกษาจานวน ๒ หอ้ ง ๆ ละ ๓๐ คน หลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๘ ๒.๗ งบประมาณตามแผน (คิดเปน็ รวมคา่ กลางสาหรับทกุ แหง่ ) ๒.๗.๑ งบประมาณรายรับ หลักสูตรมีแผนรับนิสิตปีละ ๖๐ รูป/คน แต่ละคนมีค่าบารุงการศึกษา ค่าลงทะเบียนเรียน และ คา่ ธรรมเนียมอืน่ ๆ ตลอดหลักสตู รเฉลย่ี คนละ ๑๐๕,๐๐๐ บาท เฉลี่ยต่อปี คนละ ๕๒,๕๐๐ บาท รายการรบั ประมาณการรายรับในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ คา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษา (เหมาจา่ ย) ๕๒,๕๐๐ ๕๒,๕๐๐ ๕๒,๕๐๐ ๕๒,๕๐๐ ๕๒,๕๐๐ ประกอบดว้ ย คา่ บารุงการศึกษา, คา่ ลงทะเบียนเรียน, คา่ ธรรมอื่นๆ จานวนนสิ ติ (คน) ๑๓๐ ๑๓๐ ๑๓๐ ๑๓๐ ๑๓๐ รวมท้ังสน้ิ ๖,๘๒๕,๐๐๐ ๖,๘๒๕,๐๐๐ ๖,๘๒๕,๐๐๐ ๖,๘๒๕,๐๐๐ ๖,๘๒๕,๐๐๐ ๒.๗.๒ งบประมาณรายจา่ ย รายการจา่ ย ประมาณรายรับในปงี บประมาณ (พ.ศ.) ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๑. คา่ ตอบแทนการบรรยาย (ปลี ะ ๘ วชิ าๆ ละ ๔๕ ชม. X ๔ แหง่ รวม ๑,๔๔๐,๐๐๐ ๑,๔๔๐,๐๐๐ ๑,๔๔๐,๐๐๐ ๑,๔๔๐,๐๐๐ ๑,๔๔๐,๐๐๐ เป็น ๑,๔๔๐ ชม.ๆ ละ ๑,๐๐๐) ๓๒๕,๐๐๐ ๓๒๕,๐๐๐ ๓๒๕,๐๐๐ ๓๒๕,๐๐๐ ๓๒๕,๐๐๐ ๒. ค่าตอบแทนกรรมการสอบหวั ข้อและ ๓๒๕,๐๐๐ ๓๒๕,๐๐๐ ๓๒๕,๐๐๐ ๓๒๕,๐๐๐ ๓๒๕,๐๐๐ โครงรา่ งวทิ ยานพิ นธ์ (นสิ ิต ๑๓๐ ๕๒๐,๐๐๐ ๕๒๐,๐๐๐ ๕๒๐,๐๐๐ ๕๒๐,๐๐๐ ๕๒๐,๐๐๐ คนๆ ละ ๒,๕๐๐) ๒๖๐,๐๐๐ ๒๖๐,๐๐๐ ๒๖๐,๐๐๐ ๒๖๐,๐๐๐ ๒๖๐,๐๐๐ ๓. คา่ ตอบแทนท่ปี รกึ ษาวทิ ยา นิพนธ์ (นิสติ ๑๓๐ คนๆ ละ ๒,๕๐๐) ๒๐๐,๐๐๐ ๒๐๐,๐๐๐ ๒๐๐,๐๐๐ ๒๐๐,๐๐๐ ๒๐๐,๐๐๐ ๔. คา่ ตอบแทน กก.สอบป้องกนั ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ วทิ ยานิพนธ์ (๑๓๐ คน เฉล่ยี คนละ ๓๒๐,๐๐๐ ๔,๐๐๐) ๖๘๒,๕๐๐ ๓๒๐,๐๐๐ ๓๒๐,๐๐๐ ๓๒๐,๐๐๐ ๓๒๐,๐๐๐ ๖๘๒,๕๐๐ ๖๘๒,๕๐๐ ๖๘๒,๕๐๐ ๖๘๒,๕๐๐ ๕. คา่ พาหนะอาจารยน์ ิเทศนสิ ิตฝกึ ปฏิบัติวิชาชีพบรหิ ารการศกึ ษา (เฉล่ียนสิ ติ ๑๓๐ คนๆ ละ ๒,๐๐๐) ๖. ค่าจดั กจิ กรรมเสรมิ ความเป็นผู้นา ทางวชิ าชีพบริหารการศึกษา (ปลี ะ ๒ โครงการ ๆ ละ ๑๐๐,๐๐๐) ๗. คา่ ใช้สอย (๔ แหง่ เฉล่ยี แหง่ ละ ๑๐๐,๐๐๐๐) ๘. คา่ วัสดุ หรือครุภณั ฑ์ (๔ แห่ง เฉลยี่ แหง่ ละ ๘๐,๐๐๐๐) ๙. ค่าบารุงสถาบนั (รอ้ ยละ ๑๐ ตอ่ ป)ี ๑๐. รายจ่ายอนื่ ----- รวมทงั้ สนิ้ ๔,๔๗๒,๕๐๐ ๔,๔๗๒,๕๐๐ ๔,๔๗๒,๕๐๐ ๔,๔๗๒,๕๐๐ ๔,๔๗๒,๕๐๐ หลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๙ ๒.๘ รปู แบบการจัดการศกึ ษา จัดแบบชนั้ เรียน พรอ้ มทงั้ มกี ารสมั มนา ศึกษาดูงาน และฝกึ ประสบการณบ์ รหิ ารการศกึ ษา ๒.๙ การเทยี บโอนหนว่ ยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนข้ามสถาบนั ไม่มี ๓. หลักสูตร และอาจารยผ์ ู้สอน ๓.๑ หลักสูตร ๓.๑.๑ จานวนหนว่ ยกิต การเรียนตลอดหลักสตู รมี ๔๒ หน่วยกิต จัดการศึกษาตาม แผน ก แบบ ก ๒ ผู้เรียนตอ้ งศึกษา รายวชิ าไมน่ ้อยกว่า ๒๑ หน่วยกิต และทาวิทยานิพนธ์ท่มี คี ่าเทียบไม่น้อยกวา่ ๑๒ หน่วยกิต โดยใช้เวลาใน การศึกษาไม่เกนิ ๕ ปีการศึกษา ๓.๑.๒ โครงสรา้ งหลักสตู ร หลกั สูตรประกอบด้วยหมวดวชิ าตา่ งๆ ดงั นี้ ๑. หมวดวิชาบังคับ หมายถึง วชิ าทมี่ งุ่ ให้ผเู้ รยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจ ตามที่ตนเองถนัดหรอื สนใจ มที กั ษะในการแสวงหาความรู้ การวิจยั เพ่อื พฒั นาองค์ความรู้ นวตั กรรมและเทคโนโลยี หรือวชิ าท่ี ตอ้ งการเสรมิ สรา้ งคุณลักษณะเฉพาะของหลักสตู รหรอื สถาบนั ๒. หมวดวชิ าเอก หมายถงึ วิชาแกน หรือวิชาเฉพาะดา้ น หรือวชิ าชีพท่ีมุ่งหมายให้ผู้เรยี นมี ความรู้ ความเข้าใจ ปฏิบตั ไิ ด้จริง รวมถึงการฝกึ ประสบการณ์ภาคสนาม เพื่อเสริมสรา้ งความรู้ ทกั ษะ และ ประสบการณ์ตรงของนสิ ิต ตามสาขาวชิ าท่ศี กึ ษา ๓. หมวดวชิ าเลือก หมายถึง วิชาทีเ่ สรมิ สร้างความเป็นมนุษย์ทส่ี มบูรณ์ มคี วามรอบรู้ เข้าใจ และเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อ่ืน สังคม ศลิ ปวัฒนธรรม และธรรมชาติ พฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนื่อง ดาเนนิ ชวี ิตอยา่ งมคี ุณธรรม พรอ้ มชว่ ยเหลือเพอ่ื นมนษุ ย์ และเปน็ พลเมืองทีม่ ีคณุ ค่าของสงั คมไทยและสงั คมโลก ๔. วิทยานิพนธ์ หมายถึง งานวจิ ัยหรอื การคน้ คว้าทีน่ ิสิตทาเพ่ือการศึกษาหรือพฒั นาองค์ ความรใู้ หมต่ ามเกณฑข์ องหลักสตู ร ผู้เข้าศึกษาต้องสอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษสาหรับบัณฑิตศึกษา และทากิจกรรมทางวิชาการ สัมมนา ศึกษาดงู าน และปฏิบัติกรรมฐาน ตามทหี่ ลักสูตรหรือมหาวิทยาลัยกาหนดขน้ึ เพ่ือเสริมสร้างความรู้ ความเช่ยี วชาญ และอตั ลกั ษณ์เฉพาะแก่นสิ ิต สรปุ เป็นตารางดงั นี้ ที่ โครงสรา้ งหลกั สูตร แผน ก แบบ ก ๒* ๑ หมวดวชิ าบงั คับ - - วิชาบงั คับ นบั หน่วยกติ ๙ - วชิ าบังคับ ไมน่ ับหน่วยกิต (๓) ๒๑ ๒ หมวดวชิ าเอก (๓) ๓ หมวดวิชาเลือก ๑๒ ๔ วทิ ยานพิ นธ์ ๔๒ รวมทั้งสิน้ *เลขใน (....) เป็นวิชาทไี่ มน่ บั หน่วยกิต หลกั สตู รพุทธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๑๐ ๓.๑.๓ รายวชิ าในหลักสตู ร ภาคการศึกษาปกติ ให้ลงทะเบยี นเรยี นได้ไมเ่ กนิ ๑๕ หนว่ ยกิต โดยกาหนดรหัสวชิ า ดงั น้ี เลข ๓ ตวั แรก = ตัวท่ี ๑ แสดงคณะ ตัวที่ ๒-๓ แสดงสาขาวชิ า/ภาควิชา เลข ๓ ตวั หลัง = ตัวที่ ๑ แสดงหมวดวิชา ตัวท่ี ๒-๓ แสดงชอ่ื วชิ า มรี ายวชิ าท่ตี ้องศกึ ษาตามหมวดตา่ งๆ ดงั นี้ ๑. หมวดวิชาบังคับ เน้นให้ศึกษาถึงอัตลักษณ์ของสถาบันและเครื่องมือในการศึกษา ค้นคว้า และวิจยั ต่อไป แบง่ เป็น ๒ กลุ่ม คอื ๑.๑ วชิ าบังคบั นบั หน่วยกิต จานวน ๙ หนว่ ยกติ ๒๑๐ ๑๐๑ สมั มนากจิ กรรมการเรยี นรู้เชงิ พุทธบรู ณาการ ๓ (๒-๒-๕) Seminar on Buddhist Integrational Active Learning ๒๑๐ ๑๐๒ ระเบียบวธิ ีการวิจัยทางพุทธบรหิ ารการศกึ ษา ๓ (๒-๒-๕) Buddhist Educational Administration Research Methodology ๒๑๐ ๑๐๓ นวตั กรรมและเทคโนโลยีการบรหิ ารโรงเรยี นวถิ พี ุทธ ๓ (๒-๒-๕) Innovation and Tecnology for Buddhist School Administration ๑.๒ วชิ าบังคับ ไมน่ ับหน่วยกิต จานวน ๑ รายวชิ า (๓) (๒-๒-๕) ๒๑๐ ๑๐๔ กรรมฐาน Meditation ๒. หมวดวิชาเอก เป็นวิชาเฉพาะสาขาท่ีต้องศึกษา โดยมีเนื้อหาสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐาน ความรู้ผบู้ รหิ ารการศึกษาของคุรุสภา และสถานการณ์ปัจจบุ ัน จานวน ๒๑ หน่วยกิต ๒๑๐ ๒๐๑ การพัฒนาวชิ าชีพทางการศกึ ษา ๓ (๒-๒-๕) Professional Development in Education ๒๑๐ ๒๐๒ ภาวะผู้นาทางการศกึ ษา ๓ (๒-๒-๕) Educational Leadership ๒๑๐ ๒๐๓ นโยบายและหลักการบรหิ ารการศกึ ษา ๓ (๒-๒-๕) Policy and Principle of Educational Administration ๒๑๐ ๒๐๔ การพัฒนาหลักสูตรและส่งเสรมิ คุณภาพการศึกษา ๓ (๒-๒-๕) Curriculum Development andt Educational Quality Promoting ๒๑๐ ๒๐๕ การประกนั คณุ ภาพการศึกษา ๓ (๒-๒-๕) Quality Assurance in Education ๒๑๐ ๒๐๖ คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี ๓ (๒-๒-๕) Morality and Professional Ethics ๒๑๐ ๒๐๗ การฝกึ ปฏิบตั กิ ารวิชาชีพบรหิ ารสถานศึกษา ๓ (๙๐) Training Experience in Educational Administration หลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๑๑ ๓. หมวดวิชาเลือก เป็นวิชาเสริมความรู้ความเช่ียวชาญในสาขา อัตลักษณ์ของสถาบัน และ เป็นไปตามความสนใจของนิสิต ศึกษาโดยไม่นบั หน่วยกิต ไม่นอ้ ยกวา่ ๑ รายวชิ า ๒๑๐ ๓๐๑ ภาษาอังกฤษสาหรบั พุทธบริหารการศึกษา (๓) (๒-๒-๕) English for Buddhist Educational Administration ๒๑๐ ๓๐๒ พื้นฐานภาษาบาลี (๓) (๒-๒-๕) Basic Pali Language ๒๑๐ ๓๐๓ การบริหารสถานศึกษาสู่ความเปน็ เลศิ (๓) (๒-๒-๕) School Administration for Excellence ๒๑๐ ๓๐๔ การวิจยั แบบผสานวธิ ี (๓) (๒-๒-๕) Mixed Methodology Research ๒๑๐ ๓๐๕ การบรหิ ารสู่ความเปน็ โรงเรยี นวถิ ีพทุ ธ (๓) (๒-๒-๕) Buddhist School Administration ๒๑๐ ๓๐๖ การศกึ ษาอสิ ระทางพุทธบรหิ ารการศกึ ษา (๓) (๒-๒-๕) Independent Studies in Buddhist Educational Administration ๔) วิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต ๒๑๐ ๔๐๑ วทิ ยานพิ นธ์ Thesis หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๑๒ ๓.๑.๔ แผนการศึกษา มแี ผนการจดั การศึกษา ๔ ภาคการศึกษาปกติ ดงั นี้ รหัสวิชา ภาคการศึกษาท่ี ๑ หนว่ ยกิต ๒๑๐ ๒๐๑ ๓ (๒-๒-๕) ช่อื วิชา ๒๑๐ ๑๐๒ ๓ (๒-๒-๕) การพัฒนาวชิ าชีพทางการศกึ ษา ๒๑๐ ๒๐๒ Professional Development in Education ๓ (๒-๒-๕) ระเบียบวธิ ีการวิจยั ทางพทุ ธบริหารการศึกษา ๒๑๐ ๑๐๓ Buddhist Educational Administration Research Methodology ๓ (๒-๒-๕) ภาวะผนู้ าทางการศึกษา Educational Leadership ๑๒ นวตั กรรมและเทคโนโลยีการบริหารโรงเรียนวิถพี ุทธ Innovation and Tecnology for Buddhist School Administration รวม รหัสวชิ า ภาคการศึกษาท่ี ๒ หน่วยกิต ๒๑๐ ๒๐๓ ๓ (๒-๒-๕) ชือ่ วิชา ๒๑๐ ๒๐๔ ๓ (๒-๒-๕) นโยบายและหลกั การบรหิ ารการศกึ ษา ๒๑๐ ๒๐๕ Policy and Principle of Educational Administration ๓ (๒-๒-๕) การพัฒนาหลักสตู รและสง่ เสรมิ คณุ ภาพการศึกษา ๒๑๐ ๒๐๖ Curriculum Development and Promoting Educational Quality ๓ (๒-๒-๕) การประกันคณุ ภาพการศึกษา Quality Assurance in Education ๑๒ คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี Morality and Professional Ethics รวม รหัสวชิ า ภาคการศกึ ษาท่ี ๓ หน่วยกติ ๒๑๐ ๑๐๔ (๓) (๒-๒-๕) ชอ่ื วิชา ๒๑๐ ๓๐๒ (๓) (๒-๒-๕) กรรมฐาน ๒๑๐ ๑๐๑ Meditation ๓ (๒-๒-๕) พ้ืนฐานภาษาบาลี ๒๑๐ ๒๐๗ Basic Pali Language ๓ (๙๐) สัมมนากจิ กรรมการเรยี นรูเ้ ชิงพุทธบรู ณาการ Seminar on Buddhist Integrational Active Learning ๖ (๖) การฝกึ ปฏิบัตกิ ารวชิ าชพี บริหารการศกึ ษา Training Experience in Educational Administration รวม หลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รหสั วชิ า ภาคการศึกษาที่ ๔ รายละเอียดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๑๓ XXX XXX ช่ือวิชา หนว่ ยกิต (๓) ๒๑๐ ๔๐๑ วชิ าเลือก หรอื วชิ าเสริมทบ่ี ณั ฑติ วทิ ยาลยั กาหนด .................................................................................. ๑๒ วิทยานพิ นธ์ Thesis รวม ๑๒ (๓) ๓.๑.๕ คาอธบิ ายรายวิชา ดูรายละเอียดใน ภาคผนวก ก ๓.๒ ชอ่ื สกุล เลขประจาตัวประชาชน ตาแหนง่ และคุณวฒุ กิ ารศกึ ษาของอาจารย์ ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลกั สูตร ท่ี ชอื่ –ฉายา/สกุล ตาแหนง่ คุณวุฒิ/สาขาวิชา สถาบนั ท่ีสาเรจ็ ปีท่ีสาเรจ็ และเลขประจาตัวประชาชน ทางวชิ าการ ๒๕๕๘ ๑ นายเกษม แสงนนท์* อาจารย์ พธ.ด. (พทุ ธบรหิ ารการศึกษา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๔๘ ๓ ๔๓๐๕ ๐๐๔๒๓ xx x วท.ม. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ) ม. ศรปี ทมุ ๒๕๓๘ พธ.บ. (การบรหิ ารรฐั กจิ ) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๗ ๒๕๕๒ ๒ พระครกู ิตติญาณวสิ ิฐ* อาจารย์ พธ.ด. (พทุ ธบริหารการศึกษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๐ (ธนา หอมหวล) ร.ม. (รฐั ศาสตร์) ม. รามคาแหง ๒๕๕๗ ๒๕๕๕ ๕ ๒๑๐๑ ๐๐๐๓๔ xx x พธ.บ. (พระพทุ ธศาสนา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๕๓ ๓ พระครโู อภาสนนทกิตติ์* อาจารย์ พธ.ด. (พุทธบริหารการศกึ ษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๐ ๒๕๒๘ (ศักดา โอภาโส/แสงทอง) พธ.ม. (การบริหารการศกึ ษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๒๕ ๓ ๑๐๑๖ ๐๐๗๗๕ xx x พธ.บ. (พระพทุ ธศาสนา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๓๘ ๒๕๓๐ ๔ นายสมศักดิ์ บุญปู่ รองศาสตราจารย์ Ph.D. (Social Science) Magadh University, India ๒๕๒๖ ๓ ๖๖๐๑ ๐๐๕๑๘ xx x ดา้ นบริหาร M.A. (Political Science) University of Mysore, India ๒๕๓๙ การศึกษา พธ.บ. (มานษุ ยสงเคราะหศ์ าสตร)์ ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๓๑ ๒๕๒๗ ๕ นายสุทธพิ งษ์ ศรวี ชิ ยั รองศาสตราจารย์ Ph.D. (Educational Administration) Nagpur University, India ๒๕๓๗ ๔ ๑๐๒๒ ๐๐๐๒๑ xx x ดา้ นบริหาร M.Ed. (Educational Administration) Nagpur University, India ๒๕๓๑ ๒๕๒๗ การศึกษา พธ.บ. (บรหิ ารการศกึ ษา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๕๘ ๒๕๕๔ ๖ นายอินถา ศริ วิ รรณ รองศาสตราจารย์ Ph.D. (Educational Administration) Magadh University, India ๒๕๔๖ ๒๕๕๘ ๓ ๕๐๑๒ ๐๐๓๓๗ xx x ดา้ นบรหิ าร M.Ed. (Educational Administration) Pune University, India ๒๕๕๔ การศึกษา ๒๕๕๒ พธ.บ. (สงั คมศึกษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๘ ๗ นายสนิ งามประโคน รองศาสตราจารย์ Ph.D. (Educational Administration) Punjab University, India ๒๕๕๔ ๓ ๓๑๐๘ ๐๐๒๒๖ xx x ด้านบริหารการศึกษา M.A. (Educational Administration) Punjab University, India ๒๕๕๒ ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั พธ.บ. (บรหิ ารการศกึ ษา) ๘ พระครสู ังฆรักษ์จกั รกฤษณ์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ พธ.ด. (พุทธบรหิ ารการศึกษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ภรู ปิ ญโฺ ญ (กัตยิ ัง) พธ.ม. (การบริหารการศกึ ษา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ๕ ๔๘๐๕ ๐๐๐๑๙ xx x พธ.บ. (ศาสนา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๙ พระครสู ถิตบญุ วฒั น์ อาจารย์ พธ.ด. (พุทธบรหิ ารการศกึ ษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั (ชาญ ถิรปุญโฺ ญ) พธ.ม. (การบรหิ ารการศึกษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ๓ ๑๐๑๒ ๐๓๔๗๐ xx x พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๑๐ พระครสู าทรปริยัติคณุ อาจารย์ พธ.ด. (พุทธบรหิ ารการศกึ ษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั (สนทิ ฉนฺทปาโล/ดว้ ยอาพนั ธ)์ พธ.ม. (การบริหารการศกึ ษา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ๕ ๖๒๐๖ ๙๐๐๐๙ xx x พธ.บ. (พระพทุ ธศาสนา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั หลกั สูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๑๔ ท่ี ชื่อ–ฉายา/สกุล ตาแหน่ง คุณวุฒ/ิ สาขาวิชา สถาบันท่สี าเร็จ ปที ่สี าเร็จ และเลขประจาตัวประชาชน ทางวิชาการ ๑๑ พระครภู ทั รธรรมคณุ อาจารย์ พธ.ด. (พทุ ธบรหิ ารการศึกษา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๘ ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๔ (อานาจ อติภทโฺ ท/ปั้นมยุรา) พธ.ม. (การบริหารการศกึ ษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๕๒ ๓ ๑๘๐๔ ๐๐๐๕๙ xx x พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๙ ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๔ ๑๒ พระครวู ิรฬุ หส์ ุตคณุ อาจารย์ พธ.ด. (พทุ ธบรหิ ารการศึกษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๒ (อุดมศกั ดิ์ อตุ ฺตมสกฺโก/อ้นทบั ) พธ.ม. (การบรหิ ารการศึกษา) มหาวทิ ยาลัยสยาม ๒๕๕๖ มมหาวทิ ยาลยั ราชภฎั เพชรบุรี ๒๕๕๑ ๓ ๓๐๒๑ ๐๐๓๓๖ xx x พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ๒๕๒๖ ๑๓ นายบญุ เชิด ชานิศาสตร์ อาจารย์ ปร.ด. (การบรหิ ารการศึกษา) ๓ ๗๖๐๖ ๐๐๓๖๗ xx x ค.ม. (ปฐมวยั ) กศ.บ. (สุขศึกษา) * เลขท่ี ๑-๓ เป็นอาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตร ๓.๒.๒ อาจารย์พิเศษ ท่ี ช่อื – ฉายา/ นามสกลุ คณุ วฒุ /ิ สาขาวชิ า ตาแหนง่ ทางวิชาการ ๑ รศ.ดร.วชิ ัย วงษใ์ หญ่ Ed.D. (teacher edu.), USA. รองศาสตราจารย์ M.A., University of Georgia, USA. ๒ รศ.ดร.ประสงค์ กศ.บ. รองศาสตราจารย์ ประณตี พลกรงั Ph.D. (Computer Engineering) รองศาสตราจารย์ ๓ รศ.ดร.วชิ ยั แหวนเพชร M.S. (Computer Engineering) วทบ.(วศิ วกรรมไฟฟ้า) รองศาสตราจารย์ ๔ รศ.ดร.องอาจ นัยพฒั น์ Ed.D. (Industrial Edu. Management) ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ๕ ผศ.ดร.อุทัย สตมิ ั่น M.A. (Industrial Education) กศ.บ.(อุตสาหกรรมศลิ ป)์ อาจารย์ ๖ ดร.นพดล พรามณี Ed.D.(Educational Administration) กศ.ม.(การวดั ผลการศึกษา) กศ.บ.(การวัดผลการศกึ ษา/คณติ ศาสตร)์ พธ.ด.(พระพทุ ธศาสนา) บธ.บ.(การจดั การท่วั ไป) พธ.บ.(เศรษฐศาสตร)์ Ed.D. (Instruction Technology), Northern Illinois University, USA ๔. องค์ประกอบเก่ียวกับประสบการณภ์ าคสนาม นิสิตในหลักสูตรจะต้องมีการฝึกปฏิบัติการวิชาชีพและทักษะการเป็นผู้บริหารการศึกษาและ ผู้บริหารสถานศึกษา ในด้านต่าง ๆ ประกอบด้วย การพัฒนาวิชาชีพทางการบริหารการศึกษา ความเป็น ผู้นาทางวิชาการ การบริหารสถานศึกษา/หน่วยงานทางการศึกษา หลักสูตร การสอน การวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ กิจการและกจิ กรรมนกั เรียน การประกนั คุณภาพการศกึ ษา คุณธรรมจริยธรรมและ จรรยาบรรณวชิ าชพี ภายใต้การแนะนาของผู้บริหารที่เป็นพ่ีเล้ียงและอาจารย์นิเทศก์ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๙๐ ช่วั โมง หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๑๕ ๔.๑ มาตรฐานผลการเรยี นร้ขู องประสบการณ์ภาคสนาม หลกั สตู รมีความคาดหวงั จากนิสติ ที่ไดฝ้ ึกปฏบิ ัติการวชิ าชพี ในภาคสนาม ดงั น้ี ๑. มคี วามร้คู วามเข้าใจในหลักการพัฒนาวชิ าชีพทางการบริหารการศกึ ษา ความเปน็ ผ้นู าทาง วชิ าการ หลักสตู ร การสอน การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ กจิ การและกจิ กรรมนักเรียน การประกนั คุณภาพการศึกษา ตลอดถงึ หลักธรรมาภิบาล อนั เป็นหลักการพ้นื ฐานของการบริหารการศกึ ษารศึกษาและ การบรหิ ารสถานศึกษามากยง่ิ ขึ้น ๒. มมี นุษยสัมพนั ธแ์ ละสามารถทางานรว่ มกบั ผ้อู ืน่ ไดด้ ี ๓. มรี ะเบียบวินยั ตรงต่อเวลา เข้าใจวฒั นธรรมองค์กร และสามารถปรับตวั เขา้ กับสถานศกึ ษาได้ ๔. มภี าวะผู้นาทางวชิ าการ กลา้ แสดงออก มีความคดิ สรา้ งสรรค์ และมีจิตสาธารณะ ๕. มที กั ษะในการปฏิบตั ิงานเกย่ี วกบั การบริหารการศึกษา/สถานศึกษา ตามหลกั การเบอ้ื งต้น ย่ิงขนึ้ ๖. สามารถบูรณาการความรู้ทเี่ รียนมาเพื่อนาไปแกป้ ัญหาในการทางานได้อย่างเหมาะสม ๔.๒ ช่วงเวลา ภาคการศึกษาที่ ๑ หรอื ๒ ของนิสติ ชัน้ ปีที่ ๒ ๔.๓ การจดั เวลาและตารางสอน มเี วลาฝึกการบรหิ ารสถานศกึ ษาและบริหารการศึกษา ไมน่ อ้ ยกว่า ๙๐ ชว่ั โมง ดังน้ี ๑. ฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารสถานศกึ ษา ๘-๑๖ ชัว่ โมง/สัปดาห์ รวมไมน่ ้อยกวา่ ๔๕ ช่วั โมง ๒. ฝึกปฏบิ ตั กิ ารวิชาชพี บริหารการศกึ ษา ๘–๑๖ ช่วั โมง/สปั ดาห์ รวมไมน่ อ้ ยกว่า ๔๕ ชวั่ โมง ๔.๔ กระบวนการประเมินผล มีหลกั เกณฑใ์ นการประเมินผลจากความรู้ ทกั ษะ สมรรถภาพ และหลักฐาน ดังนี้ ๑. ความร้คู วามเขา้ ใจในหลักการบรหิ ารการศึกษา ๒. ความร่วมมอื ในการสัมมนาโครงการฝกึ ปฏบิ ตั ิการวิชาชพี ๓. ทกั ษะและสมรรถภาพในการปฏบิ ตั ิงาน ๔. ความสามารถในการบรู ณาการความรู้กับการแก้ไขปญั หา ๕. ประเมนิ จากสมุดบันทกึ การฝึกปฏิบัติการวชิ าชีพ ๕. ขอ้ กาหนดเกยี่ วกบั การทาวิทยานพิ นธ์ ๕.๑ คาอธิบายโดยย่อ หลักสูตรกาหนดให้ศึกษา ค้นคว้า และวิจัยเก่ียวกับการพัฒนาวิชาชีพทางการบริหารการศึกษา ความเป็นผู้นาทางวิชาการ การบริหารสถานศึกษา/หน่วยงานทางการศึกษา หลักสูตร การสอน การวัด และประเมินผลการเรียนรู้ กจิ การและกจิ กรรมนักเรียน การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา คณุ ธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ หรือประเด็นท่ีเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน องค์กร สถานศึกษา หรือส่วนท่ี เก่ียวข้อง เพ่ือให้สามารถอธิบายทฤษฎีและนามาประยุกต์ในการทาวิจัย มีขอบเขตการวิจัยที่สามารถทา สาเรจ็ ในเวลาทก่ี าหนด ภายใตก้ ารแนะนาของอาจารย์ทปี่ รกึ ษา หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๑๖ ๕.๒ มาตรฐานผลการเรียนรู้ หลกั สตู รคาดหวังวา่ นิสติ ที่ได้ศึกษาเก่ยี วกบั การวจิ ัยจะมีความรู้ความสามารถ ดังนี้ ๑. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในกระบวนการทาวจิ ัยอย่างเป็นระบบ ๒. ดาเนนิ การวิจัยตามกระบวนวิจัยท่เี ปน็ สากลได้อยา่ งถกู ต้อง ๓. ประยกุ ต์ศาสตร์ด้านบริหารการศกึ ษากบั ศาสตร์ตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ๔. บรู ณาการหลักพุทธธรรมกับการวิจัยไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๕. เขยี นรายงานเพื่อนาเสนอผลการวิจยั ตอ่ สาธารณะได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ๕.๓ ช่วงเวลา นิสิตศกึ ษารายวชิ ามาแลว้ ไม่น้อยกวา่ ๑ ภาคการศึกษาปกติ และมหี นว่ ยกติ สะสมไม่น้อยกวา่ ๙ หน่วยกติ จึงจะเสนอหวั ข้อและโครงรา่ งวทิ ยานิพนธ์ได้ ๕.๔ จานวนหนว่ ยกติ วทิ ยานิพนธ์ จานวน ๑๒ หน่วยกิต ๕.๕ การเตรยี มการ หลกั สูตรไดเ้ ตรยี มการเพื่อการทาวทิ ยานิพนธ์ของนสิ ติ ดงั นี้ ๑. มีการเรียนการสอนรายวชิ าเก่ียวกบั การวิจยั ทางการศึกษา ๒. อบรม สัมมนา หรือฝกึ ปฏบิ ตั ิการใชเ้ คร่ืองมือและโปรแกรมคอมพวิ เตอร์เพ่ือการวจิ ัย ๓. แต่งต้งั ปรกึ ษาอาจารย์ประจาหลกั สูตรเปน็ อาจารย์ที่ปรึกษาให้แกน่ ิสติ ๔. จัดใหม้ คี ลีนคิ วจิ ัยและกาหนดช่วั โมงใหค้ าปรกึ ษา ๕. อาจารย์ทปี่ รึกษาแนะนาการเลอื กหัวขอ้ และกระบวนการศึกษาค้นคว้า ๖. มีตัวอยา่ งงานวจิ ัยให้ศกึ ษา ๗. มคี ่มู ือการเขยี นรายงานการวิจยั ๕.๖ กระบวนการประเมนิ ผล มีกระบวนการประเมินผลวทิ ยานิพนธ์ ดงั นี้ ๑. นสิ ิตศึกษารายวิชาครบตามทหี่ ลักสูตรกาหนด และไดเ้ กรดเฉลย่ี ไม่นอ้ ยกวา่ ๓.๐๐ ๒. นสิ ิตใชเ้ วลาในการทาการวิจัยไมน่ อ้ ยกว่า ๓ เดอื น นบั จากวันลงทะเบียนทาวทิ ยานิพนธ์ ๓. แตง่ ต้ังกรรมการตรวจสอบวทิ ยานิพนธป์ ระชุมพจิ ารณาประเมนิ ผล ๔. มีการจดบันทึกรายละเอยี ดเกยี่ วกบั การประเมนิ ผลวิทยานิพนธ์ทกุ ครั้ง ๕. หากคณะกรรมการตรวจสอบมมี ติให้แก้ไข ตอ้ งแกไ้ ขวทิ ยานิพนธใ์ นระยะเวลาทกี่ าหนด ๖. การประเมนิ ผลวิทยานพิ นธ์กาหนดเป็น ๔ ระดับคือ A, B+, B และ F ๗. วิทยานิพนธ์ต้องได้รับการแก้ไขทั้งรูปแบบและเน้ือหาเรียบร้อยแล้ว กรรมการตรวจสอบ วทิ ยานพิ นธ์จึงจะลงนามในหนา้ อนุมัติ หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๑๗ หมวดท่ี ๔ ผลการเรยี นรู้ กลยทุ ธก์ ารสอน และการประเมินผล ๑. การพัฒนาคณุ ลักษณะพิเศษของผู้เรยี น หลักสูตรมีแนวทางในการพัฒนานิสิตให้มีคุณลักษณะพิเศษตามอัตลักษณ์ของนิสิตท่ีพึงประสงค์ ตามทมี่ หาวิทยาลัยกาหนด ๙ ประการ เรียกวา่ “นวลักษณ์” ตาอักษรย่อภาษาอังกฤษ “MAHACHULA” มี ความหมาย ดงั น้ี M – Morality มมี ารยาททางกายและวาจาท่ีเหมาะสมตามกาลเทศะ A – Awareness ร้เู ท่าทนั ความเปลย่ี นแปลงทางสงั คม H – Helpfulness มศี รัทธา อุทศิ ตนเพือ่ พระพุทธศาสนา A – Ability มคี วามสามารถในการแก้ปัญหา C – Curiosity มคี วามใฝ่รใู้ ฝ่คดิ H – Hospitality มนี า้ ใจเสียสละเพ่อื สว่ นรวม U – Universality มีโลกทศั นก์ วา้ งไกล L – Leadership มคี วามเปน็ ผนู้ าดา้ นจิตใจและปัญญา A – Aspiration มีความม่งุ มั่นพฒั นาตนใหเ้ พยี บพร้อมดว้ ยคุณธรรมจรยิ ธรรม โดยมกี ลยุทธ์หรือกจิ กรรมสาหรับนสิ ติ พัฒนานสิ ติ ดงั สรปุ ในตารางนี้ คุณลักษณะพเิ ศษ/คณุ สมบัติทีพ่ ึ่งประสงค์ กลยทุ ธ์หรือกจิ กรรมของนสิ ิต ๑. มีคุณธรรมจรยิ ธรรม และจรรยาบรรณ - จดั กจิ กรรมเชงิ วิชาการและภาคปฏิบัติท่สี ่งเสริม วชิ าชีพ รบั ผิดชอบต่อสงั คม สามารถ การเรียนร้ดู า้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ฝึกฝนความมี แกไ้ ขปญั หาบนหลกั การเหตผุ ลและ น้าใจ เสยี สละเพื่อพทุ ธศาสนาและสงั คม ค่านยิ มดนั ดงี าม มีภาวะผนู้ าด้าน - ฝึกฝนการกระทา การพดู การคดิ ให้ตัง้ อย่บู นความ คณุ ธรรมจริยธรรม เป็นแบบอยา่ งใน เมตตากรุณา ลด ละ อกศุ ลต่างๆ สังคมได้ - จดั กิจกรรมเสริมในรายวชิ าท่เี น้นการปลูกฝังให้นสิ ิต มีระเบียบวนิ ัยในตนเอง และแกไ้ ขปญั หาของ ตนเองและสังคมได้บนพ้ืนฐานของเหตุผล - ฝึกปฏบิ ัตกิ รรมฐาน เสริมสร้างภาวะความเป็นผู้นา ด้านคณุ ธรรมจริยธรรม ๒. มีความรคู้ วามเขา้ ใจในศาสตร์การ - จดั การเรียนโดยเน้นผ้เู รียนเปน็ ศนู ย์กลาง มุ่งให้ บรหิ ารการศกึ ษาอยา่ งกว้างขวาง ลึกซ้ึง นิสิตมคี วามเขา้ ใจหลกั การบริหารการศึกษา ปฏบิ ตั ิ สามารถบูรณาการกบั หลักพุทธธรรมได้ ในสภาพแวดลอ้ มจรงิ กระตุ้นใหเ้ กิดการคิด ตลอดจนสามารถพัฒนาต่อยอดองค์ วิเคราะห์ และตดั สนิ ใจด้วยตนเอง ความรู้ สรา้ งนวัตกรรมและองคค์ วามรู้ - จดั กิจกรรมการเรียนรู้ศาสตร์สมยั ใหมค่ วบคู่กบั จากงานวิจัยเพ่ือการพัฒนาองค์กร การบูรณาการพุทธธรรมและการบรหิ ารการศึกษา ตอบสนองความต้องการทางสังคม - มีแหล่งข้อมูลการศึกษาค้นควา้ วิจัย ดว้ ยตนเอง ใน หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๑๘ คุณลักษณะพิเศษ/คณุ สมบัติทพี่ ึง่ ประสงค์ กลยทุ ธ์หรือกิจกรรมของนสิ ติ การพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ใหม่ - ส่งเสริมใหม้ กี ารวิจยั คน้ คว้าหาองค์ความรู้ใน พระไตรปฎิ ก และนาองค์ความรู้มาประยุกตใ์ ช้ได้ อย่างเหมาะสม ๓. สามารถคิด วเิ คราะห์ สังเคราะห์อย่าง - ฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการ เปน็ ระบบ สรา้ งสรรค์องคค์ วามรู้ใหม่ๆ แก้ไขปญั หาต่างๆ อย่างเหมาะสม และสรา้ งสรรค์ ทางการบริหารการศึกษาได้ สามารถ - เนน้ การเรียนรดู้ ้วยตนเอง และสามารถปฏิบตั งิ านได้ คน้ คว้า สรรหา แกป้ ัญหา พัฒนาและ จรงิ ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ เผยแพร่ผลงานทางวิชาการหรืองานวจิ ยั - ศึกษาดูงาน เรียนรู้จากประสบการณ์ และวิธีการ ในระดบั ชาติ และนานาชาติได้ จากแหล่งเรียนร้ตู ่างๆ เพอ่ื กระต้นุ การเรยี นรู้ - จัดประชุม สัมมนา หรอื อภิปรายกล่มุ ๔. มีความรับผดิ ชอบ มีระเบียบวนิ ัย - จดั กจิ กรรมในรายวชิ าท่ีเนน้ การเรียนการสอนท่มี ี สามารถทางานร่วมกับผู้อ่นื ได้ รับฟัง การปฏสิ มั พันธ์ทีด่ รี ะหว่างผเู้ รยี นและผ้สู อน ความคดิ เหน็ ของผู้อน่ื ทางานเป็นทีมได้ - ฝกึ ฝนภาวะความเปน็ ผู้นา ผู้ตาม การแสดงออกถึง ตามโอกาสและสถานการณ์ต่าง ๆ ภาวะความเป็นผนู้ าและผ้ตู ามที่ดี การมีมนุษย สามารถตัดสินใจด้วยตนเอง ประเมนิ สัมพนั ธ์ทดี่ ีกับผรู้ ว่ มงาน การรับฟงั ความคิดเหน็ ตนเอง รวมท้งั วางแผนปรับปรงุ ตนเอง ผู้อน่ื เมอ่ื ทางานเป็นทมี และองคก์ รได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ - ฝึกการทากจิ กรรมเพ่อื สงั คม และการวางตวั ที่ เหมาะสมตามกาลเทศะ - ฝึกฝนการประสานงานกบั ผู้อ่ืนท้งั ภายในและ ภายนอกสถาบนั การศึกษา ๕. มที ักษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การ - จดั การเรยี นการสอนรายวชิ าเฉพาะด้าน เพือ่ ให้ สอื่ สาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ มี นสิ ติ ไดฝ้ กึ ทักษะการใช้สถิติ และเทคโนโลยี หลกั ตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถิติใน - จัดกิจกรรมการเรียนรู้มุ่งให้ผู้เรยี นได้ฝึกฝนทักษะ การแก้ไขปัญหา ใช้เทคโนโลยเี พื่อการ การสอื่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทสตา่ งๆ สื่อสารกับบุคคลหรอื กลุ่มบุคคลทั้งใน ดว้ ยตนเองและรว่ มกับผู้อนื่ วงการวชิ าการวชิ าชีพ ชุมชน การ - จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เพื่อใหน้ ิสติ ไดฝ้ กึ ทักษะดา้ น ค้นคว้าข้อมูล การศึกษา และการทา การใชเ้ ทคโนโลยีเพื่อคน้ ควา้ วิจัย การศกึ ษา และ วิทยานพิ นธ์ การนาเสนอผลงานต่างๆ ๖. มีทักษะวิชาชพี ทางดา้ นบรหิ าร - จดั การเรียนการสอนและกิจกรรมการเสรมิ ความรู้ท่ี การศกึ ษาและบรหิ ารสถานศึกษา มงุ่ เนน้ ใหผ้ ู้เรียนได้ฝึกทักษะตามวตั ถปุ ระสงค์ สามารถจดั การศึกษารูปแบบตา่ งๆ ได้ รายวชิ า และนาเทคโนโลยีต่างๆ มาประยุกต์ใช้ อย่างถูกต้องตามหลักวชิ าการ ทันสมัย - อบรม ศึกษาดงู าน หรือจดั กจิ กรรมเสริม เพื่อให้ และสอดคล้องกบั ความต้องการของ นสิ ิตได้ฝึกทักษะวิชาชพี ประกอบการคน้ คว้า สงั คม และนาองค์กรสู่ความเปน็ มอื รายงาน และการทาวิทยานิพนธ์ อาชีพ - ฝึกปฏิบัติการทางวิชาชพี การบรหิ ารสถานศึกษา หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

คณุ ลกั ษณะพเิ ศษ/คณุ สมบตั ิทพ่ี ง่ึ ประสงค์ รายละเอยี ดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๑๙ กลยทุ ธ์หรอื กจิ กรรมของนิสิต และบรหิ ารการศกึ ษา ไมน่ ้อยกวา่ เกณฑท์ ี่องค์กร วิชาชีพกาหนด - ใหม้ ีการรายงานและการแสดงออกถงึ ความเป็นผู้นา ทางวิชาการและวชิ าชพี การประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ใน สงั คมได้อย่างเหมาะสม ๒. การพัฒนาผลการเรยี นรใู้ นแต่ละด้าน ๒.๑ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ๒.๑.๑ ผลการเรียนรู้ ๑) เปน็ ผู้ที่มคี ณุ ธรรมและจริยธรรม สามารถใหบ้ ริการงานวชิ าการแกส่ ังคม ๒) มศี กั ยภาพท่จี ะพฒั นาตนเองให้เพยี บพร้อมดว้ ยคุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี ๓) สามารถวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาบนฐานของหลกั การและเหตผุ ลและค่านยิ มดันดงี าม ๔) มีภาวะผ้นู าดา้ นความประพฤติตามหลักคณุ ธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ ๒.๑.๒ กลยทุ ธ์การสอนที่ใช้ ๑) จัดกจิ กรรมเชิงวิชาการและภาคปฏบิ ตั ิท่ีส่งเสรมิ การเรียนร้ดู ้านคุณธรรม จริยธรรม ให้เป็นผู้ มนี ้าใจ เสียสละ อทุ ิศตนเพอื่ พระพุทธศาสนาและสงั คม ๒) ฝึกฝนให้มคี วามใฝ่รู้ ใฝค่ ดิ เปน็ ผูน้ าดา้ นจติ ใจและปญั ญา เพื่อพัฒนาตนเองและสงั คม ๓) การจดั กิจกรรมในรายวิชาที่เน้นการปลูกฝังให้นสิ ิตมีระเบียบวินัยในตนเอง และแก้ไขปัญหา ของ ตนเองและสงั คมได้ ๔) ฝึกฝนภาวะความเป็นผนู้ า ผตู้ าม ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม ๒.๑.๓ กลยุทธใ์ นการประเมินผล ๑) ประเมนิ ด้วยผลงานวชิ าการ และการบาเพ็ญตนใหเ้ ป็นประโยชนต์ อ่ สงั คม ๒) ประเมนิ ดว้ ยแบบทดสอบดว้ ยการสงั เกต สัมภาษณ์ การสนทนากลมุ่ และแบบวดั ผล ๓) ประเมินจากความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานเป็นทีม การทางานวิจัย และการเข้าร่วม กจิ กรรมในการใชอ้ งคค์ วามรทู้ างการศึกษาทาประโยชน์ตอ่ สงั คม ๔) ผู้เรียนประเมินตนเอง และประเมินโดยเพ่ือนและอาจารย์ โดยใช้แบบประเมินและแบบ วดั ผล ๒.๒ ด้านความรู้ ๒.๒.๑ ผลการเรียนรู้ ๑) มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในเน้ือหาสาระหลักของสาขาวิชาการบริหาร การศกึ ษา ตลอดจนหลักการและทฤษฎีท่ีสาคัญ และนามาประยุกต์ใช้ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือ การปฏบิ ัติงาน ๒) มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการพัฒนาวิชาการสมัยใหม่ สามารถประยุกต์ใช้ร่วมกับวิชา พระพุทธศาสนาด้านการบรหิ ารการศึกษาได้ ๓) มีความเข้าใจทฤษฎี การวิจัย และการปฏิบัติในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา สามารถ ประยุกต์หลกั ธรรมมาใชก้ ับแนวคิดในทางทฤษฎี ปฏิบัติ และการวจิ ยั หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๒๐ ๔) สามารถพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ สร้างองค์ความรู้จากงานวิจัยเพื่อ เชอ่ื มโยงกับการพัฒนาองคก์ ร เพ่ือตอบสนองความต้องการทางสังคมในดา้ นวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา ๒.๒.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้ ๑) จัดการเรยี นร้โู ดยผูเ้ รยี นเป็นศูนยก์ ลาง และม่งุ เน้นใหน้ สิ ิตมีความรคู้ วามเข้าใจสาขาวิชาการ บริหารการศึกษา โดยใช้วิธีการเรียนการสอนที่เน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ทางปฏิบัติใน สภาพแวดลอ้ มจรงิ กระตนุ้ ให้เกดิ การคิด วิเคราะห์ และตดั สินใจด้วยตนเอง ๒) จัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาการศาสตร์สมัยใหม่ควบคู่กับวิชาการพระพุทธศาสนาด้านการ บรหิ ารการศกึ ษา ๓) จดั ให้มกี ารศึกษาคน้ ควา้ วิจยั ด้วยตนเอง ในการพฒั นานวัตกรรมและองค์ความรู้ใหม่ ๔) ส่งเสริมให้มีการวิจัยและค้นคว้าองค์ความรู้ในพระไตรปิฎกและนาองค์ความรู้ที่ค้นพบมา ประยุกตใ์ ช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๒.๒.๓ กลยทุ ธใ์ นการประเมินผล ๑) ประเมนิ ดว้ ยการสอบข้อเขยี น ๒) ประเมินดว้ ยการสอบปอ้ งกันวทิ ยานิพนธ์ ๓) ประเมนิ ดว้ ยการนาเสนอรายงานและการทางานเปน็ ทมี ๔) ประเมินดว้ ยการนาความรไู้ ปประยุกตใ์ ชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ ๒.๓ ด้านทกั ษะทางปญั ญา ๒.๓.๑ ผลการเรียนรู้ ๑) สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพ่ือการพัฒนา และสร้างสรรค์องคค์ วามรใู้ หมท่ างด้านการบริหารการศึกษาอยา่ งเหมาะสม ๒) สามารถสืบค้นข้อมูลผลงานวิจัย ส่ิงตีพิมพ์ทางวิชาการ จากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลาย สงั เคราะห์ และนาไปใช้ประโยชนใ์ นการพัฒนาความคดิ ใหม่ๆ ๓) สามารถประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยและองค์ความรู้ทางด้านพุทธศาสนาในการแก้ปัญหาหรือ พฒั นาการบริหารงานไดอ้ ย่างเหมาะสมและสรา้ งสรรค์ ๔) สามารถตัดสินใจเรื่องที่ซับซ้อนที่เก่ียวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ และสามารถผลิตผล งานทางวิชาการและงานวจิ ัย ในระดับชาติ และนานาชาติ ๒.๓.๒ กลยทุ ธก์ ารสอนทีใ่ ช้ ๑) ฝกึ ทกั ษะการคิดและการแก้ไขปัญหา ๒) เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการปฏบิ ตั ิงานจริง ๓) เนน้ การเรียนร้ทู ส่ี ามารถประยุกต์ใช้กับสถานการณจ์ ริง ใชป้ ญั หากระตุ้นการเรียนรู้ ๔) การอภิปรายกลมุ่ ๒.๓.๓ กลยุทธใ์ นการประเมินผล ๑) วดั การแสดงออกทางการกระบวนการคิดและการแก้ไขปญั หา ๒) วดั ผลการปฏิบตั ิงานท่ไี ด้รบั มอบหมาย ๓) การนาเสนอผลงาน การอธิบาย การถามและตอบคาถาม ๔) การโตต้ อบส่ือสารกับผอู้ ืน่ ๕) การอภิปรายกลุ่ม หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสูตร (มคอ.๒) | ๒๑ ๒.๔ ดา้ นทกั ษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรับผิดชอบ ๒.๔.๑ ผลการเรยี นรู้ ๑) มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง ในการพัฒนาความรู้ของ ตนเอง องคก์ ร และสังคม ๒) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นาองค์กร แก้ไขปัญหาท่ีมีความซับซ้อนด้วยตนเอง และ เปล่ียนแปลงสงั คมในทางทเ่ี หมาะสม ๓) สามารถทางานเป็นทีม เคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน และมีปฏิสัมพันธ์อย่าง สรา้ งสรรคก์ ับผู้ร่วมงาน ๔) แสดงภาวะความเป็นผู้นาในองค์กร บริหารการทางานเป็นทีมได้อย่างเหมาะสมตามโอกาส และสถานการณ์ เพ่ือเพมิ่ พูนประสิทธภิ าพในการทางานของกลมุ่ ๕) สามารถตัดสินใจในการดาเนินงานด้วยตนเอง ประเมินตนเอง รวมท้ังวางแผนปรับปรุง ตนเองและองคก์ รได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ๒.๔.๒ กลยุทธก์ ารสอนท่ีใช้ ๑) การจดั กิจกรรมในรายวิชาที่เน้นการเรียนการสอนที่มีการปฏิสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างผู้เรียนและ ผสู้ อน ๒) ฝกึ ฝนภาวะความเป็นผู้นา ผู้ตาม การแสดงออกถึงภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดี การมี มนุษยสมั พันธ์ทด่ี ีกับผู้ร่วมงาน การรับฟงั ความคดิ เห็นผอู้ ื่นเมอื่ ทางานเปน็ ทีมและทางานวจิ ยั ๓) ฝึกฝนการทากิจกรรมเพอ่ื สงั คม และการวางตัวทเี่ หมาะสมตามกาลเทศะ ๔) ฝกึ ฝนการประสานงานกบั ผอู้ ่นื ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศกึ ษา ๒.๔.๓ กลยทุ ธใ์ นการประเมินผล ๑) สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนิสิตในหลายๆ ด้าน ระหว่างกิจกรรมการเรียนการ สอน เชน่ พฤตกิ รรมความสนใจ ต้งั ใจเรียนรู้ และพฒั นาตนเอง ๒) สังเกตพฤติกรรมการแสดงบทบาทภาวะผู้นาและผู้ตามที่ดี ความสามารถในการทางาน รว่ มกับผ้อู ่นื ๓) สงั เกตพฤติกรรมความรับผดิ ชอบในการเรียนและงานที่ไดร้ บั มอบหมาย การนาเสนอผลงาน การทางานวิจัย และการรว่ มทากิจกรรมเพอื่ สังคม ๒.๕ ด้านทักษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การสื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ๒.๕.๑ ผลการเรียนรู้ ๑) สามารถคัดกรองข้อมูลและใช้หลักตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการศึกษาค้นคว้า ปัญหา เช่ือมโยงประเด็นปัญหาท่ีสาคัญ และเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้าน พระพทุ ธศาสนาในเชงิ ลกึ ไดเ้ ปน็ อย่างดี ๒) สามารถส่ือสารด้านการพูด การอ่านการฟังการเขียนการนาเสนอ สื่อสารกับกลุ่มบุคคล ตา่ งๆท้ังในวงการวิชาการวิชาชพี และชุมชนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๓) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล เพ่ือประกอบการศึกษาและการทา วทิ ยานพิ นธ์ รวมทั้งการตดิ ต่อสื่อสาร หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๒๒ ๒.๕.๒ กลยุทธ์การสอนทใ่ี ช้ ๑) จดั การเรียนการสอนรายวิชาตา่ งๆ เพื่อใหน้ ิสติ ไดฝ้ ึกทักษะการวิเคราะห์ การวิจารณ์ ๒) จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนที่มุ่งเน้นใหผ้ ูเ้ รียนได้ฝึกฝนทักษะการส่ือสาร และการนาเสนอ โดยใช้เทคโนโลยีท้งั ดว้ ยตนเองและร่วมกบั ผอู้ น่ื ๓) จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือให้นิสิตได้ฝึกทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีประกอบการ ค้นคว้าและการทาวิทยานพิ นธ์ ๒.๕.๓ กลยุทธ์ในการประเมนิ ผล ๑) การทดสอบความรแู้ ละเทคนิคการวิเคราะหแ์ ละวิจารณท์ ฤษฎีหรือแนวคดิ ใหม่ ๆ ๒) การทางานวิจยั ตั้งแตเ่ ริม่ ต้นจนถึงขน้ั ตอนการเขียนรายงาน และการนาเสนอผลงาน ๒.๖ ด้านทักษะวชิ าชีพ ๒.๖.๑ ผลการเรียนรู้ ๑) สามารถพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา การบริหารการศึกษา และการจัดการศึกษารูปแบบ ตา่ งๆ ไดอ้ ย่างถกู ต้องตามหลกั วิชาการ ทนั สมัย และสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของสังคม ๒) สามารถแสดงออกถึงความเป็นผู้นาทางวิชาการ เป็นผู้นาความรู้ ความคิด และนาองค์ ความรมู้ าประยุกตใ์ ช้ในสงั คมได้อย่างเหมาะสม ๓) สามารถนิเทศหรือแนะแนวการศึกษา เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจแก่ครู นักเรียน ผปู้ กครอง หรือผมู้ สี ่วนเก่ียวข้องใหเ้ หน็ ความสาคญั ของการศึกษาทจี่ ะเป็นเคร่อื งมอื พัฒนาคนในสงั คม ๔) สามารถบริหารสถานศกึ ษาซ่งึ เปน็ องค์กรทมี่ ปี จั จัยในการบริหาร เช่น บุคลากร งบประมาณ อาคารสถานท่ี วสั ดุครภุ ณั ฑ์ เปน็ ต้น พฒั นาอยา่ งต่อเนอ่ื ง มั่นคง ๕) สามารถพัฒนาหลักสูตร จัดกิจกรรมนักเรียน เพื่อให้งานด้านวิชาการ การเรียนการสอน และการสง่ เสริมทักษะของนักเรยี นอย่างสอดคลอ้ งและมีประสิทธภิ าพ ๖) สามารถวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษาได้ถูกต้องตาม วตั ถปุ ระสงค์ และขัน้ ตอนทางวชิ าการ สามารถนาไปบรู ณาการจดั การศึกษาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพยงิ่ ข้นึ ๗) เป็นผู้ดารงตนอยู่ในหลักคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถเป็น แบบอยา่ งด้านความประพฤตแิ กค่ รู นกั เรียน และชุมชนได้ ๒.๖.๒ กลยทุ ธ์การสอนท่ใี ช้ ๑) จดั การเรยี นการสอนเพ่อื ใหน้ ิสติ ได้ฝกึ ทักษะตามขอบข่ายเนอื้ หาวิชาต่างๆ เตม็ ที่ ๒) จัดกิจกรรมการเสริมความรู้ที่มุ่งเนน้ ใหผ้ เู้ รียนได้ฝึกฝนทักษะตามวัตถุประสงค์รายวิชา และ นานวัตกรรมและเทคโนโลยีตา่ งๆ มาประยุกตใ์ ช้ให้ได้ดว้ ยตนเอง และร่วมกับผอู้ ่ืน ๓) อบรม ศึกษาดูงาน หรือจัดกิจกรรมเสริม เพ่ือให้นิสิตได้ฝึกทักษะแต่ละด้านตามทักษะ วชิ าชีพท่ีระบุ ประกอบการค้นคว้ารายงาน และการทาวทิ ยานิพนธ์ ๒.๖.๓ กลยทุ ธ์ในการประเมนิ ผล ๑) การทดสอบความรู้ การวิเคราะห์ วจิ ารณท์ ฤษฎหี รอื แนวคิดใหม่ ๆ ๒) การลงมอื ปฏิบัตติ ามขนั้ ตอนปฏิบตั ิ การพสิ ูจนว์ ิธีการปฏิบตั ทิ ถ่ี ูกตอ้ ง แม่นยา ๒) การทางานวิจยั ตงั้ แตเ่ ริ่มต้นจนถงึ ข้ันตอนการเขยี นรายงาน และการนาเสนอผลงาน หลักสตู รพุทธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๒๓ ๓. แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้จากหลักสตู รสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) แสดงให้เห็นว่าแต่ละรายวิชาในหลักสูตรรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ในด้านใดบ้าง โดยระบุว่าเป็น ความรับผิดชอบหลักหรือความรับผิดชอบรอง โดยท่ีผลการเรียนรู้แต่ละข้อของด้านต่างๆ ในตารางมี ความหมายดังต่อไปนี้ ๓.๑ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ๑) เปน็ ผู้ที่มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม สามารถใหบ้ ริการงานวิชาการแกส่ ังคม ๒) มีศักยภาพท่ีจะพฒั นาตนเองใหเ้ พียบพร้อมดว้ ยคณุ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓) สามารถวนิ ิจฉัยและแกไ้ ขปัญหาบนฐานของหลกั การและเหตุผลและคา่ นยิ มดันดงี าม ๔) มีภาวะผู้นาดา้ นความประพฤติตามหลกั คณุ ธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ ๓.๒ ด้านความรู้ ๑) มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชาการบริหาร การศึกษา ตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่สาคัญ และนามาประยุกต์ใช้ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือ การปฏิบัตงิ าน ๒) มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการพัฒนาวิชาการสมัยใหม่ สามารถประยุกต์ใช้ร่วมกับวิชา พระพุทธศาสนาดา้ นการบริหารการศึกษาได้ ๓) มีความเข้าใจทฤษฎี การวิจัย และการปฏิบัติในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา สามารถ ประยกุ ตห์ ลกั ธรรมมาใช้กบั แนวคิดในทางทฤษฎี ปฏิบัติ และการวจิ ยั ๔) สามารถพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ สร้างองค์ความรู้จากงานวิจัยเพ่ือ เชือ่ มโยงกบั การพัฒนาองค์กร เพอื่ ตอบสนองความต้องการทางสังคมในด้านวิชาการบริหารการศึกษา ๓.๓ ด้านทักษะทางปัญญา ๑) สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพ่ือการพัฒนา และสร้างสรรค์องคค์ วามรู้ใหม่ทางดา้ นการบรหิ ารการศึกษาอย่างเหมาะสม ๒) สามารถสืบค้นข้อมูลผลงานวิจัย ส่ิงตีพิมพ์ทางวิชาการ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สงั เคราะห์ และนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการพัฒนาความคดิ ใหม่ๆ ๓) สามารถประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยและองค์ความรู้ทางด้านพุทธศาสนาในการแก้ปัญหาหรือ พฒั นาการบรหิ ารงานได้อยา่ งเหมาะสมและสร้างสรรค์ ๔) สามารถตัดสินใจเร่ืองที่ซับซ้อนท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ และสามารถผลิตผล งานทางวิชาการและงานวจิ ัย ในระดับชาติ และนานาชาติ ๓.๔ ด้านทกั ษะความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ ๑) มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง ในการพัฒนาความรู้ของ ตนเอง องคก์ ร และสงั คม ๒) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช้ีนาองค์กร แก้ไขปัญหาท่ีมีความซับซ้อนด้วยตนเอง และ เปลย่ี นแปลงสังคมในทางทีเ่ หมาะสม ๓) สามารถทางานเป็นทีม เคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีปฏิสัมพันธ์อย่าง สร้างสรรค์กบั ผรู้ ่วมงาน ๔) แสดงภาวะความเป็นผู้นาในองค์กร บริหารการทางานเป็นทีมได้อย่างเหมาะสมตามโอกาส และสถานการณ์ เพื่อเพิม่ พูนประสทิ ธภิ าพในการทางานของกลุม่ หลักสตู รพุทธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.๒) | ๒๔ ๕) สามารถตัดสินใจในการดาเนินงานด้วยตนเอง ประเมินตนเอง รวมทั้งวางแผนปรับปรุง ตนเองและองคก์ รไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ๓.๕ ด้านทักษะการวิเคราะห์ การสอื่ สาร และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑) สามารถคัดกรองข้อมูลและใช้หลักตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการศึกษาค้นคว้า ปัญหา เชื่อมโยงประเด็นปัญหาที่สาคัญ และเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้าน พระพทุ ธศาสนาในเชิงลกึ ได้เปน็ อย่างดี ๒) สามารถส่ือสารด้านการพูด การอ่านการฟังการเขียนการนาเสนอ ส่ือสารกับกลุ่มบุคคล ตา่ งๆท้ังในวงการวิชาการวิชาชพี และชมุ ชนได้อย่างเหมาะสม ๓) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล เพื่อประกอบการศึกษาและการทา วิทยานพิ นธ์ รวมท้งั การตดิ ต่อส่อื สาร ๓.๖ ด้านทักษะวชิ าชพี ๑) สามารถพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา การบริหารการศึกษา และการจัดการศึกษารูปแบบ ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องตามหลกั วชิ าการ ทันสมยั และสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของสังคม ๒) สามารถแสดงออกถึงความเป็นผู้นาทางวิชาการ เป็นผู้นาความรู้ ความคิด และนาองค์ ความรมู้ าประยุกต์ใชใ้ นสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๓) สามารถนิเทศหรือแนะแนวการศึกษา เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจแก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง หรือผมู้ ีสว่ นเกี่ยวข้องใหเ้ หน็ ความสาคญั ของการศึกษาท่จี ะเป็นเครอ่ื งมอื พฒั นาคนในสังคม ๔) สามารถบรหิ ารสถานศึกษาซงึ่ เปน็ องคก์ รที่มีปจั จยั ในการบรหิ าร เชน่ บคุ ลากร งบประมาณ อาคารสถานท่ี วัสดุครภุ ณั ฑ์ เปน็ ต้น พฒั นาอยา่ งต่อเนือ่ ง มนั่ คง ๕) สามารถพัฒนาหลักสูตร จัดกิจกรรมนักเรียน เพื่อให้งานด้านวิชาการ การเรียนการสอน และการสง่ เสริมทกั ษะของนักเรียนอย่างสอดคล้องและมีประสิทธภิ าพ ๖) สามารถวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษาได้ถูกต้องตาม วตั ถุประสงค์ และขั้นตอนทางวิชาการ สามารถนาไปบรู ณาการจดั การศึกษาใหม้ ีประสิทธภิ าพยง่ิ ขน้ึ ๗) เป็นผู้ดารงตนอยู่ในหลักคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถเป็น แบบอยา่ งด้านความประพฤตแิ กค่ รู นักเรยี น และชมุ ชนได้ หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๒๕ แผนทแี่ สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นร้จู ากหลักสูตรส่รู ายวิชา (Curriculum Mapping)  ความรบั ผดิ ชอบหลัก  ความรบั ผิดชอบรอง รายวชิ า ๑.ดา้ นคุณธรรม ๒.ด้านความรู้ ๓. ดา้ นทกั ษะ ๔. ด้านทกั ษะความสัมพันธ์ ๕. ดา้ นทักษะ ๖. ด้านทกั ษะวชิ าชพี จริยธรรม ทางปญั ญา ระหวา่ งบคุ คลฯ การส่อื สารและ เทคโนโลยีฯ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๕๑๒๓๑๒๓๔๕๖๗ หมวดวชิ าบังคับ  ๒๑๐ ๑๐๑ สัมมนากจิ กรรมการเรียนร้เู ชิงพทุ ธบูรณาการ  Seminar on Buddhist Intregation Active Learning  ๒๑๐ ๑๐๑ วธิ กี ารวจิ ัยทางพทุ บรหิ ารการศกึ ษา Buddhist Educational Administration Research Methodology   ๒๑๐ ๑๐๓ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการบริหารโรงเรยี นวิถีพุทธ                      Innovation and technology for Buddhist school administration   ๒๑๐ ๑๐๔ กรรมฐาน  Meditation   หมวดวชิ าเอก  ๒๑๐ ๒๐๑ การพัฒนาวชิ าชพี ทางการศกึ ษา Professional Development in Education ๒๑๐ ๒๐๒ ภาวะผ้นู าทางการศึกษา Educational Leadership ๒๑๐ ๒๐๓ นโยบายและหลักการบรหิ ารการศกึ ษา Policy and Principle of Educational Administration ๒๑๐ ๒๐๔ การพัฒนาหลกั สตู รและส่งเสริมคณุ ภาพการศึกษา Curriculum Development and Educational Quality Promoting ๒๑๐ ๒๐๕ การประกนั คณุ ภาพการศึกษา Quality Assurance in Education ๒๑๐ ๒๐๖ คุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชพี Morality and Professional Ethics ๒๑๐ ๒๐๗ การฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารวิชาชีพบรหิ ารการศึกษา Training Experience in Educational Administration หลักสตู รพุทธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๒๖ รายวิชา ๑.ด้านคุณธรรม ๒.ดา้ นความรู้ ๓. ดา้ นทกั ษะ ๔. ด้านทักษะความสมั พนั ธ์ ๕. ด้านทักษะ ๖. ด้านทกั ษะวชิ าชพี จริยธรรม ทางปัญญา ระหว่างบุคคลฯ การส่อื สารและ หมวดวชิ าเลอื ก เทคโนโลยีฯ ๒๑๐ ๓๐๑ ภาษาองั กฤษสาหรบั การบรหิ ารการศึกษา ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๕๑๒๓๑๒๓๔๕๖๗ English for Educational Administration ๒๑๐ ๓๐๒ พนื้ ฐานภาษาบาลี  Basic Pali Language  ๒๑๐ ๓๐๓ การบริหารสถานศกึ ษาสคู่ วามเป็นเลิศ  School Administration for Excellence  ๒๑๐ ๓๐๔ การวจิ ัยแบบผสานวธิ ี  Mixed Methodology Research  ๒๑๐ ๓๐๕ การบรหิ ารสู่ความเปน็ โรงเรยี นวถิ พี ุทธ Buddhist School Administration  ๒๑๐ ๓๐๖ การศึกษาอิสระทางพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา  Independent Studies in Buddhist Educational Administration วทิ ยานิพนธ์ หรือสารนิพนธ์/การคน้ คว้าอสิ ระ ๒๑๐ ๔๐๑ วิทยานิพนธ์ Thesis ๒๑๐ ๔๐๒ สารนิพนธ์ Research Paper หลกั สตู รพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.๒) | ๒๗ หมวดท่ี ๕ หลักเกณฑ์ในการประเมนิ ผล ๑. กฎ ระเบียบ หรอื หลักเกณฑใ์ นการให้ระดบั คะแนน (เกรด) ใช้ระบบการประเมินผลการศึกษารายวิชาของบณั ฑิตวิทยาลยั ๗ ระดับ (บฑ.มจร.๔๙) ดงั น้ี ระดับ* คา่ ระดับ เกณฑค์ ะแนน วิชาเลอื ก วชิ าบังคบั /วิชาเอก A ๔.๐ ๙๕ – ๑๐๐ ๙๕ – ๑๐๐ A- ๓.๖๗ ๙๐ – ๙๔ ๙๐ – ๙๔ B+ ๓.๓๓ ๘๕ - ๘๙ ๘๕ - ๘๙ B ๓.๐๐ ๘๐ – ๘๔ ๘๐ – ๘๔ C+ ๒.๕๐ ๗๕ – ๗๙ ตา่ กวา่ ๘๐ C ๒.๐๐ ๗๐ - ๗๔ F ๐ ต่ากว่า ๗๐ *ถ้าเปน็ รายวชิ าทไ่ี ม่นับหนว่ ยกติ ให้แสดงผลการศึกษาในรายวิชานั้นดว้ ยสญั ลกั ษณด์ ังน้ี สัญลักษณ์ ผลการศึกษา S (Satisfactory) เป็นทพ่ี อใจ U (Unsatisfactory) ไม่เป็นท่ีพอใจ ๒. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธข์ิ องนสิ ติ การกาหนดระบบและกลไกการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ เกิดข้ึนเพ่ือแสดงหลักฐานยืนยันหรือ สนับสนุนว่านิสิตและมหาบัณฑิตทุกคนมีมาตรฐานผลการเรียนรู้ทุกด้านเป็นไปตามท่ีกาหนดไว้ในมาตรฐาน คณุ วุฒิ เปน็ อย่างน้อย ๒.๑ การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรขู้ ณะนสิ ติ ยังไม่สาเร็จการศกึ ษา การทวนสอบในทุกรายวิชา ทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การทาวิทยานิพนธ์ จะต้องสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ผลการเรียนรู้แต่ละด้าน และกลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ โดยให้เป็นความ รับผิดชอบของคณะกรรมการหลักสูตร อาจารย์ผู้สอนและคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทั้งจากภายในและ ภายนอกมหาวทิ ยาลัย ๒.๒ การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นร้หู ลังจากนสิ ิตสาเร็จการศกึ ษา ทาการวิจัยสัมฤทธิผลของการประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่อของมหาบัณฑิต แล้วนาผลที่ได้มา เปน็ ขอ้ มูลในการประเมินคณุ ภาพ การพฒั นาหรอื ปรับปรงุ หลกั สตู ร และกระบวนการเรียนการสอน โดยมีหัวข้อ การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้ ดังต่อไปนี้ หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๒๘ ๑. สภาวะการได้งานทาหรือศึกษาต่อของมหาบัณฑิต ประเมินจากการได้งานทาหรือศึกษาต่อตรง ตามสาขาหรือในสาขาท่ีเกี่ยวข้อง และระยะเวลาในการหางาน โดยทาการประเมินจากมหาบัณฑิตแต่ละรุ่นที่ สาเร็จการศึกษา ๒. ตาแหนง่ งานและความก้าวหนา้ ในสายงานของมหาบณั ฑติ ๓. ความพึงพอใจของมหาบัณฑิต ต่อความรู้ความสามารถที่ได้เรียนรู้จากหลักสูตร ท่ีใช้ในการ ประกอบอาชีพหรือศึกษาต่อ พร้อมกับเปิดโอกาสให้มีการเสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงหลักสูตรให้มี ประสทิ ธิภาพย่ิงขนึ้ ๔. ความพึงพอใจของผู้ใช้มหาบัณฑิตหรือนายจ้าง พร้อมกับเปิดโอกาสให้มีข้อเสนอแนะต่อสิ่งท่ี คาดหวังหรอื ตอ้ งการจากหลักสูตรในการนาไปใช้ในการปฏบิ ัติงานในสถานประกอบการ ๕. ความพึงพอใจของสถาบันการศึกษาอ่ืน ซ่ึงรับมหาบัณฑิตที่สาเร็จจากหลักสูตรเข้าศึกษาต่อเพ่ือ ปริญญาทสี่ งู ขนึ้ โดยประเมินทางดา้ นความรู้ ความพรอ้ ม และคณุ สมบัติอื่นๆ ๖. ความเห็นและข้อเสนอแนะจากอาจารย์พิเศษและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต่อผลสัมฤทธิ์ทาง การศึกษาของมหาบัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษา กระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ องค์ความรู้ และการปรับปรุง หลักสูตร ให้มคี วามเหมาะสมกบั สถานการณท์ างการศึกษา และสังคมในปัจจบุ ันมากย่ิงขนึ้ ๗. ผลงานของนสิ ิตและวทิ ยานิพนธ์ที่สามารถวดั เป็นรูปธรรมได้ เช่น ๑) จานวนผลงานวจิ ยั ทเี่ ผยแพร่ ๒) จานวนสิทธิบัตร ๓) จานวนกจิ กรรมเพ่อื สังคมและประเทศชาติ ๔) จานวนกิจกรรมอาสาสมคั รในองค์กรที่ทาประโยชนเ์ พ่ือสงั คม ๓. เกณฑก์ ารสาเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สตู ร นิสิตตอ้ งดาเนินการตามข้นั ตอนต่อไปนี้ครบ จึงจะสาเร็จการศกึ ษาตามเกณฑข์ องหลกั สูตร ๑. ศึกษารายวิชาครบถว้ นตามท่ีกาหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดบั คะแนนหรอื เทียบเท่า พร้อมท้งั เสนอวทิ ยานพิ นธแ์ ละสอบผ่านการสอบปากเปล่าข้ันสุดท้าย โดยคณะกรรมการทีบ่ ัณฑิตวิทยาลยั แตง่ ต้ัง และตอ้ งเปน็ ระบบเปดิ ใหผ้ ูส้ นใจเขา้ รบั ฟงั ได้ ๒. ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหน่ึงของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการ ยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติท่ีมีคุณภาพตามประกาศ คณะกรรมการการ อุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการ หรือ นาเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นาเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงาน สบื เน่ืองจากการประชมุ วชิ าการ (Proceedings) ดงั กลา่ ว ๓. ผา่ นการฝกึ ปฏบิ ัติการวิชาชีพบริหารการศกึ ษา ตามเกณฑ์ที่หลกั สูตรกาหนด ๔. สอบผา่ นการประเมนิ ผลวิทยานพิ นธ์ และส่งวทิ ยานิพนธ์ฉบบั สมบูรณ์ตามทม่ี หาวทิ ยาลัยกาหนด ๕. ต้องสอบผา่ นวชิ าภาษาตา่ งประเทศ ตามเกณฑ์ทม่ี หาวทิ ยาลยั กาหนด ๖. ปฏบิ ัตกิ รรมฐาน สะสมวนั ได้ไมน่ ้อยกวา่ ๓๐ วัน หรอื ตามทม่ี หาวิทยาลยั กาหนด หลกั สตู รพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศึกษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๒๙ หมวดท่ี ๖ การพัฒนาคณาจารย์ ๑. การเตรยี มการสาหรับอาจารย์ใหม่ หลักสูตรมกี ารเตรยี มการสาหรบั อาจารยใ์ หม่ ดงั น้ี ๑. จดั ปฐมนเิ ทศแนะแนวอาจารยใ์ หม่ ให้มคี วามรแู้ ละเขา้ ใจนโยบายของสถาบนั ๒. มอบหมายภาระและบทบาทหน้าทตี่ ามพันธกิจของสถาบนั ๓. สง่ เสริมให้มคี วามรู้ ประสบการณ์ ในด้านการเรียนการสอน การวจิ ัยอยา่ งต่อเน่อื ง ๔. แนะนาให้ทราบถึงสทิ ธิผลประโยชน์ของอาจารย์ และกฎระเบียบต่างๆ ๕. แนะนาให้เขา้ ใจหลักสตู ร การจัดการเรยี นการสอน และกจิ กรรมตา่ งๆ ของสาขาวชิ าฯ ๖. มีอาจารย์อาวุโสเป็นอาจารย์พี่เล้ียง โดยมีหน้าที่ให้คาปรึกษาด้านต่างๆ มีการนิเทศการสอนทั้ง ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ัติ ๗. มีการประเมินและตดิ ตามความกา้ วหนา้ ในการปฏิบตั ิงานของอาจารย์ใหม่ ๘. ปฏบิ ตั ติ ามคู่มือการปฏิบตั ิงานสาหรับอาจารยข์ องมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย ๒. การพัฒนาความรูแ้ ละทกั ษะใหแ้ กค่ ณาจารย์ มีกระบวนการให้ความรวู้ ิธกี ารปฏิบัติงานตามหน้าที่รับผิดชอบ และเปิดโอกาสคณาจารย์พัฒนาตนเอง ทางวิชาชพี และวิชาการตามสายงาน โดยอาจารยท์ ุกคนตอ้ งได้รบั การพฒั นาไมน่ ้อยกวา่ ๑๕ ช่วั โมงตอ่ ปี ๒.๑ การพัฒนาทักษะการจัดการเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล หลกั สตู รมีแนวทางในการพฒั นาทกั ษะการจัดการเรยี นการสอน การวัด และประเมินผล ๑. ส่งเสริมอาจารย์ให้มีการเพ่ิมพูนความรู้ สร้างสมประสบการณ์ในงานท่ีเก่ียวข้องกับสาขาวิชาท่ี รับผิดชอบ เพื่อส่งเสริมการสอนและการวิจัยอย่างต่อเนื่องท้ังอาจารย์เก่าและอาจารย์ใหม่ โดยการสนับสนุน ด้านการศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงานทางวชิ าการและวิชาชีพในองค์กรต่างๆ การประชุมทางวิชาการทั้งในประเทศ และ/หรือตา่ งประเทศ การลาเพื่อเพมิ่ พนู ความร้แู ละประสบการณ์ ๒. การเพิ่มพูนทักษะการจัดการเรียนการสอนและการประเมนิ ผลให้ทนั สมัย ๓. การมีส่วนรว่ มในกิจกรรมบริการวชิ าการแก่ชมุ ชนทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การพัฒนาความรู้และคุณธรรม ๔. มกี ารกระตุ้นอาจารย์พัฒนาผลงานทางวชิ าการสายตรงในสาขาวิชา ๕. ส่งเสริมการทาวิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่เป็นหลักและเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนและมีความ เช่ียวชาญในสาขาวิชาชีพเป็นรอง ๒.๒ การพัฒนาวิชาการและวชิ าชีพดา้ นอืน่ ๆ หลกั สูตรมีแนวทางในการพฒั นาวชิ าการและวิชาชีพด้านอื่น ๆ ๑. การสนบั สนุนการเข้ารว่ มฟงั และการนาเสนอผลงานทางวิชาการในท่ปี ระชุมวิชาการ ๒. การฝึกอบรมพฒั นาข้อเสนอโครงการวิจัยและการเขียนบทความวิจยั ตพี ิมพ์ในวารสารนานาชาติ ๓. การสนับสนนุ การร่วมมอื ในงานวิจัยทง้ั ในและต่างประเทศ ๔. การสนบั สนนุ การเข้ารับการฝกึ อบรม การประชุมสมั มนาเพิม่ พูนความรู้ หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๓๐ หมวดที่ ๗ การประกนั คณุ ภาพหลักสูตร ๑. การกากบั มาตรฐานหลักสูตร จัดให้มีคณะกรรมการผู้รับผิดชอบแต่ละรายวิชาท่ีเปิดสอนในหลักสูตร พร้อมท้ังมีกระบวนการจัดการ เรยี นการสอนโดยดาเนนิ การตามรายละเอียดตอ่ ไปน้ี ๑. มกี ารจัดทารายละเอยี ดของรายวชิ า (มคอ.๓) ๒. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนทห่ี ลากหลาย ๓. มีอาจารย์ประจาหลักสูตรท้ังอาจารย์ประจา อาจารย์พิเศษ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ มี คณุ สมบตั ิตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.๒๕๕๘ และ ขอ้ บงั คับมหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วา่ ดว้ ยการศึกษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๑ ๔. มีการพฒั นาทักษะการสอนและการใหค้ าปรึกษาวิทยานพิ นธ์ของอาจารย์ ๕. มีการประเมนิ และวิเคราะห์ขอ้ สอบให้ได้มาตรฐาน ๖. มรี ะบบฐานข้อมลู เกยี่ วกบั รายวิชาในหลกั สตู ร ๗. มีการประกันคุณภาพวิทยานิพนธ์ โดยให้ดาเนินการตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวทิ ยาลยั ว่าดว้ ยการศึกษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๑ ในหวั ขอ้ หลกั ดังนี้ ๑) การทาวทิ ยานพิ นธ์ ๒) การสอบป้องกันวทิ ยานิพนธ์ ๓) การนาเสนอผลงานวิจยั ในเวทีสาธารณะ เป้าหมาย การดาเนินการ การประเมินผล ๑. พัฒนาหลกั สตู รใหท้ นั สมยั โดย ๑. จัดใหห้ ลักสูตรสอดคล้องกับมาตรฐาน ๑. หลักสตู รทส่ี ามารถอ้างองิ กบั อาจารยแ์ ละนสิ ิตสามารถก้าว วชิ าชีพดา้ นเทคโนโลยใี นระดบั สากลหรอื มาตรฐานทก่ี าหนดโดยหน่วยงาน ทันหรือเปน็ ผู้นาในการสรา้ ง ระดบั ชาติ (หากมีการกาหนด) วชิ าชพี ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ องคค์ วามรใู้ หมๆ่ ทางพระ มีความทันสมยั และมกี ารปรบั ปรุง พทุ ธศาสนาดา้ นบริหาร สมา่ เสมอ การศกึ ษา ๒. กระตุ้นให้นสิ ติ เกดิ ความใฝร่ ู้ ๒. ปรบั ปรงุ หลกั สตู รให้ทันสมัยโดยมกี าร ๒. จานวนวชิ าเรียนท่มี ภี าคปฏบิ ัติ มแี นวทางการเรียนทสี่ ร้างท้ัง พิจารณาปรบั ปรงุ หลกั สตู รทกุ ๆ ๔ ปี และวชิ าเรียนท่ีมแี นวทางให้ ความรู้ความสามารถใน นกั ศึกษาไดศ้ ึกษาคน้ คว้าความรู้ วชิ าการวชิ าชีพทท่ี นั สมัย ใหม่ไดด้ ว้ ยตนเอง ๓. ตรวจสอบและปรบั ปรงุ ๓. จดั แนวทางการเรียนในวชิ าเรยี นให้มีทัง้ ๓. จานวนและรายชือ่ คณาจารย์ หลักสตู รใหม้ ีคุณภาพ ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั ิ และมแี นว ประจาประวัตอิ าจารยด์ ้านคุณวฒุ ิ มาตรฐาน ทางการเรียนหรือกิจกรรมประจาวิชาให้ ประสบการณ์ และการพฒั นา นิสิตไดศ้ กึ ษาความรู้ทท่ี ันสมยั ดว้ ยตนเอง อบรมของอาจารย์ หลกั สตู รพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๓๑ เป้าหมาย การดาเนินการ การประเมินผล ๔. มีการประเมนิ มาตรฐานของ ๔. จัดให้มผี ู้สนับสนนุ การเรียนร้แู ละหรือ ๔. จานวนบคุ ลากรผู้สนบั สนนุ การ หลกั สูตรอย่างสม่าเสมอ ผ้ชู ่วยสอน เพอ่ื ใหน้ สิ ติ เกิดความใฝ่รู้ เรียนรู้และบนั ทึกกจิ กรรมในการ สนับสนนุ การเรยี นรู้ ๕. กาหนดให้อาจารยท์ ีส่ อนมีคณุ วฒุ ิไม่ตา่ ๕. ผลการประเมินการเรียนการสอน กว่าปริญญาโท หรือเป็นผู้มี อาจารยผ์ ู้สอน และการสนับสนนุ ประสบการณห์ ลายปีมจี านวนคณาจารย์ การเรียนร้ขู องผู้สนับสนุนการ ประจาไม่น้อยกวา่ เกณฑ์มาตรฐาน เรยี นรู้โดยนสิ ติ ๖. สนับสนนุ ให้อาจารยผ์ ู้สอนเปน็ ผูน้ า ๖. ประเมินผลโดยคณะกรรมการที่ ในทางวชิ าการ และหรือเป็นผู้เช่ยี วชาญ ประกอบด้วยอาจารยภ์ ายในคณะฯ ทางวชิ าชพี ด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทุก ๒ ปี หรือในด้านที่เกย่ี วข้อง ๗. สง่ เสรมิ อาจารย์ประจาหลกั สูตรให้ไปดู ๗. ประเมนิ ผลโดยคณะกรรมการ งานในหลกั สตู รหรอื วิชาการท่ีเกย่ี วขอ้ ง ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ทกุ ๆ ๔ ปี ทั้งในและตา่ งประเทศ ๘. มกี ารประเมินหลักสตู รโดย ๘. ประเมินผลโดยบณั ฑติ ผสู้ าเร็จ คณะกรรมการผู้ทรงคณุ วุฒภิ ายในทุกปี การศกึ ษาทกุ ๆ ๒ ปี และภายนอกอย่างน้อยทกุ ๔ ปี ๙. จัดทาฐานข้อมูลทางด้านนสิ ติ อาจารย์ อุปกรณ์เครื่องมือวิจัยงบประมาณ ความ ร่วมมอื กับตา่ งประเทศ ผลงานทาง วชิ าการทกุ ภาคการศกึ ษาเพอ่ื เป็นขอ้ มลู ในการประเมนิ ของคณะกรรมการ ๑๐. ประเมินความพึงพอใจของหลกั สูตรและ การเรียนการสอนโดยมหาบัณฑติ ท่ี สาเรจ็ การศึกษา ๒. บัณฑติ หลักสูตรมีการศกึ ษาและวเิ คราะห์เพือ่ การผลติ ให้มคี ุณภาพ ดังน้ี ๑. มีการศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม เพ่ือเป็นข้อมูลพื้นฐานในการเปิด และการปรับปรุงและพัฒนาหลกั สูตรอยา่ งตอ่ เนอื่ งทกุ ๆ ๕ ปี ๒. มกี ารศึกษาความพงึ พอใจของผ้ใู ช้มหาบัณฑติ และนายจ้าง (ทุกๆ ปกี ารศึกษา) ๓. มีการติดตามการพัฒนาอาชีพและความก้าวหน้าในการทางานของมหาบัณฑิต เพ่ือให้ได้ข้อมูล ยอ้ นกลบั มาพัฒนาและปรบั ปรงุ หลกั สตู ร ๔. มผี ลงานของนกั ศกึ ษาและผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๓๒ ๓. นิสิต ๓.๑ การให้คาปรึกษาด้านวิชาการและอนื่ ๆ แก่นสิ ิต เพื่อพฒั นานิสติ ให้มีคณุ ภาพ หลักสตู รดาเนนิ การดงั นี้ ๑. มกี ระบวนการรับนิสิตใหม่และการเตรยี มความพรอ้ มก่อนเข้าศึกษา ๒. มกี ารแตง่ ตั้งอาจารย์ทีป่ รึกษาทางวชิ าการให้แก่นิสิตทุกคน ๓. มกี ารกาหนดชั่วโมงใหค้ าปรกึ ษาเพือ่ ให้นิสิตเข้าปรึกษาได้ ๔. มกี ารควบคุมดูแลและใหค้ าปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์หรือคลีนคิ วทิ ยานพิ นธส์ าหรบั นสิ ติ ๕. มีการแสดงผลการดาเนนิ งาน (การคงอยู่ การสาเร็จการศกึ ษา สถานภาพนิสติ ) ๓.๒ การอทุ ธรณข์ องนิสติ กรณีที่นิสิตมีความสงสัยเกี่ยวกับผลการประเมินในรายวิชาใด สามารถยื่นคาร้องขอดูคะแนน และ วิธีการประเมินของอาจารยใ์ นแตล่ ะรายวชิ าได้ ๔. อาจารย์ ๔.๑ การรับอาจารย์ใหม่ มรี ะบบการคดั เลือกและพฒั นาอาจารย์ใหม่ ดงั น้ี ๑. มรี ะบบการคัดเลอื กอาจารยใ์ หม่ตามระเบยี บและหลกั เกณฑข์ องมหาวิทยาลัย ๒. มกี ารพัฒนาอาจารย์ให้มีความร้แู ละใช้เทคโนโลยีใหม่ในการเรยี นการสอน ๓. อาจารย์ในหลักสูตรมีคุณสมบัติที่เหมาะสมและเพียงพอ มีความรู้ความเช่ียวชาญทางสาขาวิชา และมีความก้าวหน้าในการผลิตผลงานทางวิชาการอยา่ งต่อเน่ือง ๔.๒ การมสี ่วนร่วมของคณาจารย์ในการวางแผน การตดิ ตามและทบทวนหลักสตู ร คณาจารย์จะมีการประชุมร่วมกันในการวางแผนจัดการเรียนการสอน การประเมินผล การเก็บ รวบรวมข้อมลู เพ่ือการปรบั ปรุงหลักสูตร การทาใหบ้ รรลุเป้าหมายตามทห่ี ลกั สูตรหรอื มหาวทิ ยาลัยกาหนด ๔.๓ การแตง่ ต้งั คณาจารยพ์ เิ ศษ มกี ารแตง่ ตัง้ และเชญิ อาจารย์พเิ ศษ หรอื ผูท้ รงคณุ วุฒิมาบรรยาย อภปิ ราย สมั มนา สมา่ เสมอ ๕. หลักสตู ร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรยี น ๕.๑ หลักสตู ร มกี ารออกแบบและประเมินหลกั สูตร ดังน้ี ๑. มีการออกแบบหลกั สูตร หนว่ ยการเรียน ตรงตามเกณฑม์ าตรฐานของ สกอ. และครุ สุ ภา ๒. มีการประเมินและรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตรทุกปีการศึกษา เพ่ือปรับปรุงพัฒนา หลกั สูตรเปน็ ระยะ ๆ อย่างน้อยตามรอบระยะเวลาของหลักสตู ร หรือทกุ รอบ ๕ ปี ๕.๒ การเรยี นการสอน มแี ผนและการจดั การเรยี นการสอนเพื่อให้มคี ุณภาพ ดังนี้ ๑. มแี ผนการเรียน การปรบั ปรงุ แผน และวิธกี ารเรียนการสอน เนือ้ หาวิชาใหท้ นั สมัยเสมอ หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๓๓ ๒. จดั การเรียนการสอน การส่งเสริมเรียนรู้ การสัมมนาวิชาการ ศึกษาดูงาน และฝึกปฏิบัติ เพ่ือให้ ผู้เรยี นไดร้ บั ความร้อู ยา่ งเต็มที่ ๕.๓ การประเมนิ ผเู้ รียน มีการประเมินผู้เรียนตามสภาพจริง ด้วยวิธีการประเมินท่ีหลากหลาย เช่น แบบประเมินตาม ประเดน็ หรอื หวั ขอ้ ที่กาลังเป็นท่สี นใจ การทาแบบทดสอบ การนาเสนอรายงานโดยนสิ ิต ๖. ส่ิงสนับสนนุ การเรยี นรู้ ๖.๑ การบริหารงบประมาณ มีการจดั สรรงบประมาณประจาปี เพื่อจัดซื้อหนังสือ ตารา ส่ือ คอมพิวเตอร์ เพื่อเอื้ออานวยต่อการ เรียนการสอน มีคุณภาพ เพียงพอและเหมาะสมทั้งในหอ้ งเรยี นและการเรียนร้ดู ว้ ยตนเองของนิสติ ๖.๒ ทรพั ยากรการเรียนการสอนท่ีมีอยเู่ ดิม หลักสูตรมีความพร้อมด้านหนังสือ ตาราเฉพาะทาง งานวิจัย สิ่งพิมพ์ ส่ือ เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา และอุปกรณ์ที่ใช้สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนอย่างพอเพียง และสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอน ในปี การศกึ ษา ๒๕๖๐ ดังนี้ ตาราภาษาไทย ๑๐๓,๓๐๐ เลม่ ตาราภาษาอังกฤษ ๑๒,๗๙๐ เล่ม วารสารภาษาไทยและองั กฤษ ๒๕๐ ชื่อเรอ่ื ง ฐานขอ้ มลู ออนไลน์ ๒,๐๐๐,๐๐๐ ชือ่ เรือ่ ง นอกจากน้ี ยังมีสื่อการศึกษาในรูปแบบอ่ืนๆ เช่น เว็บไซต์เก่ียวกับการศึกษา ผลการวิจัย หนังสือ ใน รูปแบบส่ือ Online และส่ือ Offline ที่เป็น VCD, DVD, CD-ROM, แผนท่ี และบริการห้องสมุดผ่านระบบ อนิ เทอร์เนต็ ทว่ั ประเทศ (Journal-Link) และฐานข้อมลู อิเลก็ ทรอนิกส์ ๖.๓ การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเตมิ หลักสตู รไดจ้ ัดเตรยี มความพรอ้ มทรัพยากรเพื่อการเรียนการสอน ดังนี ๑. มีห้องสมุดคณะครุศาสตร์ และประสานงานกับห้องสมุดของมหาวิทยาลัยในการจัดซ้ือหนังสือ และตาราท่เี กยี่ วขอ้ ง เพื่อบรกิ ารใหอ้ าจารยแ์ ละนสิ ติ ไดค้ น้ คว้า และใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน ๒. อาจารย์ผ้สู อนมสี ่วนรว่ มในการเสนอแนะรายช่อื หนงั สือ ตลอดจนสอ่ื อน่ื ๆ ท่จี าเป็น ๖.๔ การประเมินความเพยี งพอของทรพั ยากร มีการประเมินความพอเพียงของหนังสือ ตารา นอกจากน้ีมีเจ้าหน้าท่ี ด้านโสตทัศน์อุปกรณ์ ซ่ึงจะ อานวยความสะดวกในการใช้สือ่ ของอาจารย์ หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๓๔ ๗. ตัวบง่ ชี้ผลการดาเนนิ งาน (Key Performance Indicatore) ผลการดาเนินการบรรลุตามเป้าหมายตัวบ่งชี้ท้ังหมดอยู่ในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง ๒ ปี การศึกษาเพ่ือติดตาม การดาเนินการตาม TQF ต่อไป ทั้งนี้เกณฑ์การประเมินผ่าน คือ มีการดาเนินงานตามข้อ ๑-๕ และอย่าง น้อยรอ้ ยละ ๘๐ ของตัวบง่ ชีผ้ ลการดาเนินงานทีร่ ะบไุ ว้ในแตล่ ะปี ดชั นีบ่งชี้ผลการดาเนนิ งาน ปีท่ี ๑ ปที ่ี ๒ ปที ี่ ๓ ปีที่ ๔ ๑. มอี าจารย์ประจาหลกั สูตรอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ มสี ว่ นร่วมในการ × × × × ประชมุ เพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสตู ร ๒. มรี ายละเอยี ดของหลกั สูตร ตามแบบ มคอ.๒ ที่สอดคล้องกับ ×××× มาตรฐานคุณวฒุ ิระดับปริญญาโทสาขาวชิ าบริหารการศึกษา ๓. มีรายละเอยี ดของรายวชิ า และประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตาม แบบ มคอ.๓ และ มคอ.๔ ก่อนเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา × × × × ครบทุกรายวชิ า ๔. จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวชิ า และประสบการณ์ ×××× ภาคสนาม (ถา้ มี) ตามแบบ มคอ. ๕, ๖ ภายใน ๓๐ วัน หลงั สนิ้ สุดภาคการศึกษาท่เี ปิดสอนใหค้ รบทุกรายวชิ า ๕. มกี ารจดั ทารายงานผลการดาเนินการของหลกั สูตร ตามแบบ ×××× มคอ.๗ ภายใน ๖๐ วัน หลังสนิ้ สุดปีการศกึ ษา ๖. มกี ารทวนสอบผลสมั ฤทธิ์ของนสิ ติ ตามมาตรฐานผลการเรียนร้ทู ่ี กาหนดใน มคอ.๓ และ มคอ.๔ (ถา้ ม)ี อย่างน้อยรอ้ ยละ ๒๕ ของ × × × × รายวชิ าทเี่ ปดิ สอนในแต่ละปกี ารศกึ ษา ๗. มกี ารพัฒนา/ปรับปรงุ การเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการ ××× ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ จากผลการประเมนิ ท่รี ายงานใน มคอ.๗ ปีท่ี ผา่ นมา ๘. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รบั การปฐมนเิ ทศหรือคาแนะนาดา้ น × × × × การจัดการเรียนการสอน ๙. อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาทางวชิ าการ และ/หรอื ×××× วิชาชีพอยา่ งนอ้ ยปลี ะหนง่ึ คร้ัง ๑๐. จานวนบุคลากรสนับสนนุ การเรียนการสอน (ถา้ มี) ได้รับการ ×××× พัฒนาวิชาการ และ/หรือวชิ าชพี ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๕๐ ตอ่ ไป ๑๑. ระดับความพึงพอใจของนสิ ิตปีสุดท้าย/บัณฑิตใหมท่ ี่มีต่อคุณภาพ ×× หลักสตู ร เฉลีย่ ไมน่ ้อยกวา่ ๓.๕ จากคะแนน ๕.๐ ๑๒. ระดับความพงึ พอใจของผู้ใชบ้ ณั ฑติ ท่ีมีตอ่ บัณฑติ ใหมเ่ ฉลีย่ ไม่ × นอ้ ยกว่า ๓.๕ จากคะแนนเต็ม ๕.๐ หลกั สูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๓๕ หมวดท่ี ๘ การประเมนิ และปรับปรงุ การดาเนนิ การของหลักสูตร ๑. การประเมินประสิทธิผลของการสอน ๑.๑. การประเมนิ กลยทุ ธก์ ารสอน หลักสูตรมีการประเมนิ กลยทุ ธ์การสอนเพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพการศึกษา ดังนี้ ๑. อาจารย์ผู้สอนประเมินผู้เรียนจากการทดสอบย่อย สังเกตพฤติกรรม การอภิปราย การโต้ตอบ และการตอบคาถามของเพ่ือนนสิ ิตในชั้นเรยี น ๒. ประชมุ ผบู้ ริหารและคณาจารยใ์ นหลักสตู รเพอื่ แลกเปล่ียนเรียนร้แู ละขอคาแนะนา ๓. ปรบั เปลย่ี นวิธสี อน หรอื ทดสอบความรู้แบบใหม่ๆ เพือ่ พัฒนาการเรียนการสอนในโอกาสตอ่ ไป ๔. การสอบถามจากผ้เู ชีย่ วชาญ หรือจากนิสิต ๑.๒ การประเมนิ ทกั ษะของอาจารยใ์ นการใชแ้ ผนกลยทุ ธก์ ารสอน มีการประเมินทกั ษะของอาจารยใ์ นการใชแ้ ผนกลยุทธก์ ารสอน ดงั น้ี ๑. ให้นิสิตประเมนิ การสอนของอาจารย์ในทุกด้าน เช่น ทักษะความรู้ กลยุทธ์การสอน การตรงต่อ เวลา การช้แี จงเปา้ หมายการเรียน วัตถปุ ระสงค์รายวิชา การวัดและประเมินผล และการใชส้ ่อื การสอน ๒. ใหอ้ าจารย์ประเมนิ ตนเอง และโดยเพือ่ นรว่ มงาน ๒. การประเมนิ หลกั สูตรในภาพรวม ๒.๑ ประเมินจากนสิ ติ และศิษยเ์ กา่ เปิดโอกาสให้นิสติ และศิษยเ์ กา่ ประเมินหลักสตู รโดยการ ๑. ใหน้ ิสิตทกุ ชัน้ ปีประเมินหลกั สูตรในภาคการศกึ ษาสดุ ท้ายแตล่ ะปีการศึกษา ๒. ใหศ้ ิษยเ์ กา่ ประเมินทางออนไลน์ หรือในโอกาสประชุมศษิ ย์เกา่ หรือตามโอกาสท่ีเหมาะสม ๒.๒ ประเมินจากนายจ้างหรอื สถานประกอบการ มกี ารสมั ภาษณ์หรอื สอบถามจากสถานประกอบการ หรือผูใ้ ชบ้ ัณฑิตถึงความพึงพอใจ ๒.๓ ประเมนิ โดยผูท้ รงคุณวฒุ หิ รือทีป่ รึกษา มีเชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาให้ความเห็น หรือจากข้อมูลในรายงานผลการดาเนินงานหลักสูตร หรือจาก รายงานของการประเมินผลการประกันคณุ ภาพภายใน ๓. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอยี ดหลักสูตร มีการประเมินตามตัวบ่งช้ีผลการดาเนนิ งานที่ระบุไวใ้ นหมวด ๗ ข้อ ๗ โดยคณะกรรมการประเมินอย่าง น้อย ๓ คน ซึ่งตอ้ งประกอบดว้ ยผู้ทรงคณุ วฒุ ิในสาขาวิชาเดยี วกนั อยา่ งน้อย ๑ คน หลกั สตู รพุทธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๓๖ ๔. การทบทวนผลการประเมนิ และวางแผนปรับปรุงหลกั สตู ร ถ้าได้รับทราบปัญหาของการบริหารหลักสูตร กรณีท่ีพบปัญหาของรายวิชา จะดาเนินการแก้ไข ปรับปรุงในรายวิชานั้นๆ ทันที ส่วนการปรับปรุงหลักสูตรท้ังฉบับจะกระทาทุก ๕ ปี เพื่อให้หลักสูตรมีความ ทนั สมยั และสอดคลอ้ งกับความต้องการของผู้ใชบ้ ัณฑิตอยเู่ สมอ มกี ระบวนการทางานตามขัน้ ตอนดงั น้ี ๑. นาข้อมลู จากการรายงานผลการดาเนินการรายวชิ าเสนออาจารยผ์ ้รู ับผิดชอบหลกั สูตร ๒. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สูตรสรุปผลการดาเนนิ การประจาปีเสนอหวั หน้าภาควชิ า ๓. ประชมุ อาจารยป์ ระจาหลกั สูตรเพือ่ พิจารณาทบทวนผลการดาเนนิ การหลกั สูตร ******************* หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๓๗ ภาคผนวก ก คาอธิบายรายวิชา หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศึกษา หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐ หลกั สตู รพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๓๘ ๑. หมวดวิชาบงั คบั เป็นวิชาทมี่ ุ่งใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ ตามทตี่ นเองถนัดหรอื สนใจ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ การวจิ ยั เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยี หรอื วชิ าท่ีตอ้ งการเสรมิ สร้างคณุ ลักษณะเฉพาะของ หลกั สูตรหรอื สถาบัน แบง่ เป็นวิชาบงั คับนับหน่วยกิต และไมน่ บั หน่วยกิต ๑.๑ วชิ าบงั คับ นับหนว่ ยกติ จานวน ๙ หน่วยกติ ๒๑๐ ๑๐๑ สัมมนากจิ กรรมการเรยี นรู้เชิงพุทธบูรณาการ Seminar on Buddhist Integrational Active Learning ศกึ ษาหลักการศกึ ษาในพระพุทธศาสนา พระไตรปิฎกและเอกสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ระบบการศึกษาของคณะสงฆ์ไทย บทบาทคณะสงฆ์กบั การศกึ ษา การบูรณาการพุทธธรรมกับ กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร กจิ กรรมพฒั นาศักยภาพและทักษะผเู้ รียนใหค้ ดิ เปน็ ทาเปน็ แก้ปัญหาเป็น กิจกรรมสง่ เสริมวินัย คุณธรรมและจริยธรรม การบรหิ ารจัดการให้เกิดการช่วยเหลือดแู ลผูเ้ รียน Educational system and administration in Buddhism, Tipitaka and Buddhist textbooks, Thai Sangha educational system, Sankha role in Education, Buddhist integrated active learning, learners' skills, discipline and morality development, supervising and caring of learners, activity and students' affairs management ๒๑๐ ๑๐๒ วิธีการวจิ ยั ทางพุทธบริหารการศกึ ษา Buddhist Educational Administration Research Methodology ศึกษาหลักการแสวงหาความรู้และสร้างองคค์ วามรูใ้ หมด่ ้วยวิธกี ารวิจัย พทุ ธวิธกี ารวจิ ยั จรรยาบรรณนักวิจยั ประเภทของการวิจัย การวจิ ัยทางการศกึ ษา กระบวนการและข้นั ตอนการ วิจัย การเขยี นโครงร่างวจิ ัย เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วข้อง เครื่องมือการวิจัย ประชากรและ กลมุ่ ตวั อยา่ ง วธิ ดี าเนนิ การวิจัย สถิตเิ พ่ือการวิจัย โปรแกรมประยุกต์เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล โปรแกรมประยุกต์เพอ่ื การเขียนรายงานการวิจัย โปรแกรมประยุกต์เพือ่ การนาเสนอผลการวจิ ยั ใน เวทีต่างๆ Knowledge seeking and building a new body of knowledge through research, buddhist research methodology, researher ethics, types of research, educational research, research process and step, research proposal writing, documents and research works concerned, research instrument, population and sample, research conducting, statistics used in research, application for data analysis, application for research report writing and presentation หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสูตร (มคอ.๒) | ๓๙ ๒๑๐ ๑๐๓ นวตั กรรมและเทคโนโลยีการบรหิ ารโรงเรยี นวิถพี ทุ ธ Innovation and Technology for Buddhist School Administration ศึกษาการบรหิ ารโรงเรียนวิถีพทุ ธ บทบาทครูและนักเรียนวิถพี ุทธ เทคนคิ การสอนและ ส่อื การศึกษาวถิ ีพุทธ พ้ืนฐานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การ เทคโนโลยสี ารสนเทศกับการบริหารสถานศกึ ษา นวตั กรรมและเทคโนโลยีการศกึ ษาในศตวรรษที่ ๒๑ โปรแกรมประยุกต์เพ่ือการผลติ ส่อื การศึกษา การสร้างผงั มโนทัศน์ และการสรา้ งโมเดลทาง การศกึ ษา Buddhist school administration, Buddhist teacher and student role, Buddhist teaching technic and learning media, information technology fundamental, Management information system, Information technology for school administration, Innovation and technology for education in 21st Century, Application for learning media, mind map and model creation ๑.๒ วชิ าบังคบั ไม่นับหน่วยกิต จานวน ๑ รายวิชา ๒๑๐ ๑๐๔ กรรมฐาน Meditation ศึกษาความเปน็ มาของการบริหารจิตและการเจริญสติ การกาเนดิ และองคป์ ระกอบของชวี ติ มนุษย์ ท่สี ดุ สองอย่างและทางสายกลาง ธุระ ๒ กรรมฐานหรอื ภาวนา ๒ ประโยชนข์ องกรรมฐาน อุปสรรคของกรรมฐาน การปฏิบัติตามหลกั สติปัฏฐาน สานกั กรรมฐานสายต่างๆ กรรมฐานใน ชวี ิตประจาวัน แนวโน้มการปฏบิ ตั กิ รรมฐานในสังคมโลก หลกั พทุ ธธรรมเพื่อการศกึ ษาและ พฒั นาคุณภาพชีวิต Background of mental training and mindfulness cultivation, origin and factors of human life, two extreme practices and the Middle Path, two types of dhura, two types of meditation, the practice of the Four Foundations of Mindfulness, meditation centers, mental training and mindfulness development in daily life, tendency of mental training and mindfulness development in society, Buddha- dhamma for education and life quality development หลกั สตู รพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสูตร (มคอ.๒) | ๔๐ ๒. หมวดวิชาเอก เป็นวิชาเฉพาะด้าน หรือวิชาชีพท่ีมุ่งหมายให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ปฏิบัติได้จริง รวมถึงการฝึก ประสบการณ์ภาคสนาม เพ่ือเสริมสร้างความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ตรงของนิสิต มีเนื้อหาสอดคล้องกับ มาตรฐานความรู้ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาและบริหารการศึกษาของคุรสุ ภา (๒๑ หน่วยกติ ) ๒๑๐ ๒๐๑ การพัฒนาวชิ าชีพทางการศึกษา Professional Development in Education ศกึ ษาจติ วญิ ญาณและอุดมการณ์ของนักบริหาร การพัฒนาวชิ าชีพเชงิ พุทธ ความเปน็ ผู้บริหารมือ อาชีพ สถาบนั หรือองคก์ รทางวิชาชีพ มาตรฐานวิชาชพี ผบู้ ริหารสถานศึกษา กระบวนการผลติ ครู และผูบ้ รหิ ารมอื อาชพี การจัดการความรู้เกย่ี วกับการบริหาร การวจิ ยั เพอ่ื การพฒั นาวิชาชพี Spirit and ideal of administrator, ideal of Buddhist administrator, buddha-dhamma in professional development, professional administrator, professional organization or institution, professional standard, school administrator, professional teacher and administrator producing process, knowledge management and administration, research for professional development ๒๑๐ ๒๐๒ ภาวะผู้นาทางการศกึ ษา Educational Leadership ศกึ ษาการพัฒนาภาวะผ้นู า ภาวะผู้นาเชงิ พุทธ พฤติกรรมและบทบาทผนู้ ากบั สังคมที่ เปล่ยี นแปลง การปฏสิ มั พนั ธ์และการพัฒนาเพอื่ นรว่ มงาน การบรหิ ารงานระบบเครอื ขา่ ย การ บรหิ ารความเสยี่ งและความขัดแยง้ การสรา้ งความสัมพนั ธ์กบั ชมุ ชนและท้องถ่นิ การระดม ทรัพยากรเพ่ือการศึกษา การนเิ ทศการศึกษาเพื่อพฒั นาครู Concept and theory of leadership, Buddhist leadership, leadership behavior and role in social change, leadership development, motivation building, decision making, reaction and peer-development, risk and conflict management, community and local relation building, educational supervision ๒๑๐ ๒๐๓ นโยบายและหลกั การบริหารการศกึ ษา Policy and Principle of Educational Administration ศึกษาหลักการ กระบวนการ และหนา้ ท่ีในการบริหาร การบริหารการศกึ ษาเชิงพทุ ธ นโยบาย และการวางแผนเพ่ิมประสิทธิภาพการศึกษา การบริหารองค์กรและหน่วยงานทางการศึกษา การ บรหิ ารงานวิชาการสู่ความเป็นเลศิ การบริหารงานบคุ คล การบรหิ ารงานธรุ การ การเงิน พสั ดุ หลักสตู รพุทธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๔๑ และอาคารสถานที่ การบรหิ ารแหลง่ เรยี นรู้และสิ่งแวดลอ้ มทางการศึกษา กฎหมายเก่ียวกับ การศกึ ษาและผบู้ รหิ ารการศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารการศึกษา Concept and theory of educational administration, Buddhist educational administrator, educational administration effectiveness increase planning, educational organization and unit, administration of personnel, budget, finance, accounting and procurement, student affairs administration, laws and regulations concerning education and school administrator, modern innovation and technology in educational administration ๒๑๐ ๒๐๔ การพฒั นาหลักสตู รและส่งเสริมคณุ ภาพการศกึ ษา Curriculum Development and Educational Quality Promoting ศึกษาหลักปรัชญาการศกึ ษา ปรัชญาการศกึ ษาเชงิ พุทธ หลกั สตู รและการจดั การเรยี นการสอน เชงิ พุทธ หลกั สูตรการศึกษาไทยและนานาชาติ การพฒั นาหลักสูตรและหลักสตู รสถานศึกษา การจดั การเรียนรู้และเทคนคิ การสอน การพฒั นาแหลง่ เรียนรู้และส่งิ แวดลอ้ มเพ่ือสง่ เสริมการ เรยี นรู้ การพฒั นาศักยภาพผู้เรยี น การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินผลหลกั สตู ร การวิจัยเพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา Principle of educational philosophy, Buddhist educational philosophy, Buddha- dhamma in educational quality promoting, educational curriculum in Thailand and other countries, curriculum development and curriculum in school, knowledge management and teaching techniques, learning resource and environment development for learning promoting, students’ potential development, learning measurement and evaluation, research for educational development, curriculum assessment ๒๑๐ ๒๐๕ การประกันคณุ ภาพการศึกษา Quality Assurance in Education ศึกษาหลักการและกระบวนการประกันคณุ ภาพการศึกษา การประกันคุณภาพภายในและ ภายนอก การกาหนดตัวบ่งช้ตี า่ งๆ การกากบั ตดิ ตามการประกันคุณภาพการศึกษา การตรวจ ประเมินคุณภาพการศึกษา การนาผลการประเมนิ ไปใชเ้ พ่ือพฒั นาคุณภาพการศึกษา บูรณาการ พุทธธรรมกับการประกนั คุณภาพการศึกษา Principle of educational quality assurance, Buddist educational quality assurance, internal and external quality assurance, educational quality assurance process, indicators specified, educational quality assurance invigilation, educational quality หลักสตู รพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลกั สตู ร (มคอ.๒) | ๔๒ assurance monitor, putting the educational quality assurance result into educational development ๒๑๐ ๒๐๖ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ Morality and Professional Ethics ศกึ ษาหลักธรรมาภิบาลและความซ่อื สัตยส์ จุ รติ หลักพทุ ธธรรมาภบิ าล หลกั คุณธรรมจริยธรรม ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา การพฒั นาคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม กฏหมายเก่ียวกบั จรรยาบรรณ วิชาชีพ เกณฑม์ าตรฐานวิชาชพี ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา จรรยาบรรณวิชาชพี ที่คุรุสภากาหนด Principle of good governance, buddhist good governance, Buddhist moral and etiquette of school administrator, professional standard and etiquette organization, moral and ethics principles of school administrators, professional standard criteria of school administrator, professional etiquettes of school administrator, moral and ethic ๒๑๐ ๒๐๗ การฝึกปฏบิ ัตกิ ารวชิ าชีพบริหารการศึกษา Training Experience in Educational Administration ศึกษาและฝกึ ปฏบิ ตั ิเก่ียวกบั การพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา ความเป็นผู้นาทางวิชาการ การ นิเทศก์หรือแนะแนว การบริหารสถานศกึ ษา หลกั สูตร การเรียนการสอน การวัดและประเมนิ ผล การเรยี นรู้ กจิ การและกิจกรรมนกั เรียน คุณธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ การประกนั คณุ ภาพการศึกษา ภายใต้การแนะนาของผบู้ ริหารทเ่ี ป็นพเี่ ลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ การบูรณา การพุทธธรรมกับการบรหิ ารสถานศกึ ษา Practicum for experience in educational administration in institution specified, a practice in educational profession development, academic leadership, supervision or demonstration, administration in school, curriculum, teaching and learning, learning measurement and evaluation, students’ affairs and activities, professional moral, ethics and etiquette, and educational quality assurance under the supervision of advisor or supervising teacher, integration of Buddha-dhamma in Training Experience in Educational Administration หลกั สตู รพุทธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๔๓ ๓. หมวดวชิ าเลอื ก เป็นวิชาที่เสริมสรา้ งความเปน็ มนษุ ยท์ ีส่ มบูรณ์ มีความรอบรู้ เขา้ ใจและเหน็ คุณค่าของตนเอง ผอู้ ืน่ เสรมิ สรา้ งความรู้และอตั ลักษณท์ เี่ หมาะให้แกน่ สิ ติ และสถาบนั สังคม ศิลปวฒั นธรรม พัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนอ่ื ง ดาเนินชีวิตอยา่ งมีคุณธรรม พรอ้ มช่วยเหลอื เพ่ือนมนุษย์ และเปน็ พลเมืองท่ีมคี ุณคา่ ของสังคมไทยและ สงั คมโลก เรยี นโดยไม่นบั หน่วยกติ ไม่น้อยกวา่ ๑ รายวิชา ๒๑๐ ๓๐๑ ภาษาองั กฤษสาหรบั การบริหารการศึกษา English for Educational Administration ศึกษาหลักภาษาอังกฤษ ทักษะการฟัง ทกั ษะการพดู ทักษะการอ่าน ทกั ษะการเขยี น ทักษะการ ตดิ ตอ่ สอ่ื สารในสถานการณ์ต่างๆ ภาษาอังกฤษเชิงวชิ าการ ภาษาองั กฤษกบั การบริหารการศึกษา พืน้ ฐานพทุ ธธรรมกับภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษกับการเรียนร้พู ระพุทธศาสนา Principle of English, skills in listening, speaking, reading and writing, communication skills in situations, academic English, English and educational administration, Buddha-dhamma and English basics, English for Buddhist learning ๒๑๐ ๓๐๒ พน้ื ฐานภาษาบาลี Basic Pali Language ศึกษาความเป็นมาและความสาคญั ของภาษาบาลี ภาษาบาลีหรอื สันสกฤตในภาษาไทย พระปรยิ ตั ิ ธรรมแผนกบาลขี องคณะสงฆ์ หลกั บาลีไวยากรณ์ การอ่าน การพดู การเขียน และการแปลภาษา บาลี การแปลบทสวดมนต์ต่างๆ การประยุกต์ใชภ้ าษาบาลีในชีวติ ประจาวนั Background and significance of the Pali language, Pali and Sanskrit in Thai language, Phrapariyattidhamma in Pali Division of the Thai Sangha, Pali grammar, reading, speaking, writing and translating in Pali, chanting stanza translation, application of Pali in daily life use ๒๑๐ ๓๐๓ การบรหิ ารสถานศกึ ษาส่คู วามเป็นเลศิ School Administration for Excellence ๓ (๓-๐-๖) ศกึ ษาหลักการบริหารการศึกษา พุทธวิธีบริหารการศึกษา โรงเรียนวถิ พี ุทธชัน้ นา นโยบายและ แผนการจัดการศกึ ษา ตวั ชวี ัดการพฒั นาสคู่ วามเป็นเลิศ การบรหิ ารองค์กรทางการศึกษาของไทย การจัดระบบบริหารงานภายในสถานศกึ ษา นวตั กรรมและเทคโนโลยีการบรหิ ารการศึกษายคุ ใหม่ การตัง้ เปา้ หมายและการดาเนินงานตามแผน การตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนินงาน การประกัน คณุ ภาพการศึกษา หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๔๔ Principle of Educational administration, buddhist educational administration, best practice of buddhist school, educational management policy and plan, indicator in administration for excellence, educational organization administration in Thailand, school internal administration system management, innovation and technology for modern educational administration, goal setting and planned performance, performance follow-up and assessment, educational quality assurance ๒๑๐ ๓๐๔ การวจิ ยั แบบผสานวธิ ี Mixed Methodology Research ศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎีการวจิ ยั แบบผสานวธิ ี พุทธวธิ กี ารวจิ ัย กรอบความคิดพื้นฐานของการวิจยั แบบ ผสานวิธี การกาหนดปญั หาการวจิ ยั การออกแบบการวจิ ยั การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การแปลผล ขอ้ มลู ข้อจากัดของการวจิ ยั แบบผสานวิธี การวิจยั เชิงประวตั ศิ าสตร์ การวิจัยและพฒั นา การ สนทนากลุ่ม การปฏบิ ตั ิการแบบมสี ว่ นร่วม การเขียนและวางแผนการวิจยั แบบผสานวิธี การฝึก ปฏบิ ัตภิ าคสนาม เทคนิคการวจิ ัยใหม่ ๆ ฝกึ ปฏบิ ตั ดิ ้านการวิจัยแบบผสานวิธี Concepts and theories of mixed methodology research, Buddhist research methodology, basic conceptual framework of mixed methodology research, determination of research problems, research design, data collection, data interpretation, limitations of the mixed methodology research, historical research, research and development, focus group discussion, participatory action, writing and planning of mixed methodology research, field practice, new research techniques, mixed methodology research practice ๒๑๐ ๓๐๕ การบรหิ ารสู่ความเปน็ โรงเรียนวิถีพุทธ Buddhist School Administration ศึกษาหลักการบริหารโรงเรียนวถิ ีพุทธ การบรหิ ารงานบุคคล งานวชิ าการ การเงินและพัสดุ อาคารสถานที่ กจิ การและกจิ กรรมนกั เรยี น การสรา้ งความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งโรงเรยี นกับวดั และ ชมุ ชน วเิ คราะห์ตวั ชี้วดั การดาเนนิ งานโรงเรียนวิถพี ทุ ธ ปัจจัยและกระบวนการพัฒนาสู่เป้าหมาย ปัญหาอุปสรรคและผลกระทบ การตดิ ตามและประเมินผล บรู ณาการพุทธธรรมกบั การบรหิ าร โรงเรยี น Principle of Buddhist school administration, administration in personnel, academic, finance and buildings, students’ affairs and activities, building relation between school and temple and community, analysis of performance indicators in Buddhist school, factors and development process leading to the goal, problems, obstacles หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอียดหลักสตู ร (มคอ.๒) | ๔๕ and impacts, follow-up and assessment, integration of Buddha-dhamma in school administration ๒๑๐ ๓๐๖ การศกึ ษาอิสระทางพทุ ธบริหารการศกึ ษา Independent Studies in Buddhist Educational Administration ศึกษาการเขยี นโครงการวิจยั หรอื โครงการสัมมนา โดยศึกษาเก่ยี วกับการบรหิ ารการศึกษาตาม ประเดน็ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งเรอื่ งใดเรอ่ื งหน่ึงหรือหลายเร่อื ง ดังน้ี หลกั พุทธบริหารการศึกษา การวิจยั และ การพฒั นาวิชาชพี นโยบายหรอื แผนการศึกษา ภาวะผู้นา ทักษะการบริหาร การนเิ ทศก์หรือแนะ แนว การบรหิ ารวชิ าการ พฒั นาหลกั สตู ร การจดั การเรียนการสอน การบรหิ ารองค์กร/ สถานศึกษา บริหารงานบคุ คล งบประมาณ ธรุ การ และพัสดุ เทคนิคการสอน สือ่ การสอนและ นวตั กรรมทางการศึกษา กิจกรรมนกั เรียน และการวดั ประเมินผลการเรยี นรู้ ทรัพยากรสนบั สนนุ การศกึ ษาและความสัมพันธ์กับชุมชน คณุ ธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ การประกัน คณุ ภาพการศึกษา Writing research projects or seminar projects in educational administration in the following aspects: Principle of Buddhist educational administration, professional research and development, educational policy or plan, leadership, administration skills, academic administration supervision, curriculum development, teaching and learning management, organization/school administration, administration in personnel, budget, secretary and procurement, teaching techniques, instructional media and educational innovation, students’ activities, learning measurement and evaluation, education-assist- resources and community relation, professional moral, ethics and etiquette, educational quality assur หลกั สูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศึกษา ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐

รายละเอยี ดหลกั สูตร (มคอ.๒) | ๔๖ ผนวก ข ตารางเปรยี บเทียบการปรบั ปรุงหลกั สูตรฯ พ.ศ. ๒๕๕๕ กบั พ.ศ. ๒๕๖๐ หลักสตู รพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐