Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา

แผนการสอน สุขศึกษาและพลศึกษา

Published by ศิริชัย มลิแก้ว, 2022-11-07 16:01:38

Description: ป.3

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา รายวชิ าสุขศกึ ษา หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ การเจรญิ เติบโตตามวยั ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓ เรอ่ื ง เกณฑม์ าตรฐานการเจริญเตบิ โตของเดก็ เวลา ๑ ช่วั โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคัญ การเปรียบเทยี บนำ้ หนกั และส่วนสูงของตนเองกับเกณฑม์ าตรฐานการเจรญิ เติบโตของเด็กไทย เพือ่ นำมาปรับปรุงตนเองให้มกี ารเจริญเตบิ โตอย่างเหมาะสมกับวัย ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนษุ ย์ ๓.ตวั ชีว้ ัด ป.๓/๒ เปรยี บเทยี บการเจรญิ เติบโตของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน ๔.จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑.นกั เรียนสามารถอธบิ ายเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐานการเจรญิ เติบโต ของเดก็ ไทยได้อย่างถกู ต้อง (K) ๒.นกั เรียนปฏิบัติตนตามเกณฑ์มาตรฐานการเจรญิ เตบิ โตได้อยา่ งถกู ตอ้ ง (P) ๓.มคี วามกระตอื รือร้นและสนใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรยี นรู้ - เกณฑ์มาตรฐานการเจรญิ เติบโตของเด็กไทย ๖.ทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ทกั ษะดา้ นการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และทกั ษะในแกป้ ัญหา ๒. ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผูน้ ำ

๗.สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ๑.ความสามารถในการสอื่ สาร -ผเู้ รียนสามารถในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคดิ ความรูค้ วามเข้าใจ ความรู้สกึ และทศั นะของ ตนเองและแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและประสบการณอ์ ันจะเป็นประโยชนต์ ่อการพฒั นาตนเอง และสังคมและมีไวพรบิ ท่ีดีในการสื่อสาร ๒.ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ - ผูเ้ รียนสามารถการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ และการคดิ เปน็ อย่างเป็นระบบมีเหตุผลและ สามารถ ตดั สินใจได้ ๓.ความสามารถทักษะการนำความรู้ไปใช้ - ผเู้ รียนนำความรู้ท่ีได้รบั ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพและสามารถอยรู่ ่วมกบั คนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปญั หา -ผู้เรยี นสามารถแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคต่างๆไดด้ ้วยตนเอง ๘.คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ -สบื คน้ ข้อมลู เนอ้ื หาสาระที่ต้องการรู้ ๒. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน -มคี วามตง้ั ใจและพยายามในหนา้ ท่ีท่ีไดร้ บั มอบหมาย ๙.ขัน้ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั ท่ี๑ สังเกต (วธิ สี อนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการสรา้ งความตระหนกั ) ๑. นักเรยี นตอบคำถามกระตนุ้ ความคิด ๒. ครนู ำข่าวเด็กทม่ี นี ำ้ หนักเกนิ จนเปน็ โรคอว้ นมาเลา่ ใหน้ ักเรียนฟงั จากน้ันใหน้ ักเรียนร่วมกันแสดงความ คดิ เหน็ เกีย่ วกับสาเหตุสำคัญที่ทำใหเ้ กิดโรคอว้ น ๓. ครซู ักถามเก่ยี วกบั นำ้ หนักและส่วนสงู ของนักเรยี นแตล่ ะคน และให้นักเรยี นบอกรูปรา่ งของตนเอง ๔. ครนู ำตารางแสดงน้ำหนกั และสว่ นสูงในชว่ งอายุ ๒-๑๙ ปี ตดิ บนกระดาน พร้อมกบั อธบิ ายวิธีตรวจสอบว่า เรามีการเจริญเตบิ โตที่สมวยั หรือไม่ นักเรยี นคดิ ว่า เด็กอว้ นเมื่อโตข้ึนสามารถมีการ เจริญเตบิ โตท่ีสมวัยได้หรอื ไม่ เพราะเหตุใด

ขน้ั ที่ ๒ วิเคราะห์ วิจารณ์ ๑. นกั เรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคิด ๒. นักเรยี นรวมกลุ่มเดิม (จากแผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑) จากนนั้ รว่ มกนั ศึกษาความรูเ้ ร่ือง เกณฑ์มาตรฐานการ เจรญิ เตบิ โต ของเด็กไทย จากหนงั สอื เรียนหรอื บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite ๓. ครสู ุ่มนกั เรียน ๑ คน ออกมาหนา้ ชนั้ เรยี น แล้วถามขอ้ มลู นำ้ หนกั และส่วนสงู จากน้ันนำมาเปรียบเทยี บกับ เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเตบิ โต เพอ่ื วิเคราะหก์ ารเจรญิ เติบโตว่าสมวัยหรือไม่ ๔.นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ นำข้อมูลเก่ียวกับน้ำหนกั และสว่ นสูงของสมาชิกในกลุ่ม มาวเิ คราะหก์ ารเจรญิ เติบโต วา่ แตล่ ะคนมีการเจรญิ เตบิ โตท่สี มวัยหรือไม่ อย่างไร ๕. ครแู ละนักเรียนร่วมกันพิจารณาวา่ สมาชิกกลุม่ ของตนเองควรจะมกี ารปรับปรุงและดแู ลตนเองอย่างไร เพอื่ ให้รา่ งกายมกี ารเจรญิ เตบิ โตอยา่ งสมวัย ๖.ครอู ธิบายความรเู้ พม่ิ เติมในสว่ นทบี่ กพร่อง ขนั้ ท่ี ๓ สรุป ๑.นักเรยี นร่วมกนั สรปุ วธิ ีดแู ลตนเอง เพอ่ื ใหร้ ่างกายมกี ารเจรญิ เตบิ โตอยา่ งสมวัย ๒. ครูแนะนำนักเรียนว่า การดูแลตนเองให้มีการเจรญิ เตบิ โต ท่สี มวัย จะทำให้เรามีสุขภาพท่ีแขง็ แรง และทำ ใหป้ ฏบิ ัติกิจกรรมในชวี ติ ประจำวันได้ดี ๓. นกั เรียนทำแบบฝึกกจิ กรรมที่ ๒ จากแบบวัดฯ เป็นการบา้ นเสรจ็ แลว้ นำสง่ ครูตรวจในชั่วโมงถัดไป ๑๐. สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้ ๑) หนงั สือเรียน สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สือ่ เพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วดั ผลและประเมนิ ผล เคร่อื งมือ เกณฑ์ วธิ กี าร แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ใบงาน (ประเมินตามสภาพจรงิ ) ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงาน รายบคุ คล ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ เกณฑ์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เกณฑ์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน สังเกตความมีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ ตรงต่อ เกณฑ์ เวลา และมีความรบั ผิดชอบ

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา รายวชิ าสุขศกึ ษา หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ ปัจจัยการเจริญเตบิ โต ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ เรื่อง ปจั จัยทีม่ ีผลตอ่ การเจริญเติบโต : กรรมพนั ธ์ุ เวลา ๑ ชวั่ โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคัญ กรรมพันธุ์เปน็ ปัจจยั สำคญั ทม่ี ผี ลต่อการเจรญิ เติบโตของร่างกาย ๒.มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนษุ ย์ ๓.ตวั ชีว้ ดั ป.๓/๓ ระบปุ ัจจัยทีม่ ีผลตอ่ การเจริญเตบิ โต ๔.จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑.นักเรียนสามารถอธบิ ายปจั จัยท่มี ีผลต่อการเจริญเติบโตได้อย่างถูกตอ้ ง (K) ๒.นักเรียนระบปุ จั จัยที่มีผลต่อการเจรญิ เติบโตได้อยา่ งถูกต้อง (P) ๓.มคี วามกระตือรือร้นและสนใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ - ปจั จยั ท่ีมีผลต่อการเจรญิ เติบโต ๖.ทกั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ๑. ทักษะด้านการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ และทักษะในแกป้ ญั หา ๒. ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผ้นู ำ

๗.สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น ๑.ความสามารถในการสอื่ สาร -ผเู้ รียนสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ ความรูส้ กึ และทศั นะของ ตนเองและแลกเปลยี่ นข้อมลู ข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเอง และสงั คมและมีไวพรบิ ท่ีดใี นการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ - ผูเ้ รยี นสามารถการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเปน็ อยา่ งเป็นระบบมเี หตผุ ลและ สามารถ ตดั สนิ ใจได้ ๓.ความสามารถทักษะการนำความรไู้ ปใช้ - ผู้เรยี นนำความรทู้ ่ีได้รบั ไปใช้ให้เกดิ ประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพและสามารถอยู่รว่ มกับคนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปัญหา - ผู้เรียนสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆไดด้ ว้ ยตนเอง ๘.คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ -สืบคน้ ขอ้ มลู เน้อื หาสาระทต่ี ้องการรู้ ๒. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน -มีความตงั้ ใจและพยายามในหนา้ ท่ที ี่ไดร้ ับมอบหมาย ๙.ขั้นจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั ท๑่ี สังเกต ตระหนัก (วธิ สี อนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการเรียนความรคู้ วามเขา้ ใจ) ๑. ครถู ามนักเรียนวา่ เพราะเหตุใด ลกู จงึ มีหน้าตาคลา้ ยพ่อ และแม่ ๒. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า ลกู มหี น้าตาคล้ายพ่อและแม่ เกดิ จากกรรมพันธุ์ เป็นสิง่ ที่ได้รบั การถ่ายทอดมาจากพ่อ แม่ เชน่ ผมหยกิ ผมตรง ผิวคล้ำ ผวิ ขาว เป็นตน้ ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีเป็นส่งิ ท่แี ก้ไขไม่ได้ แตส่ ามารถปรับปรงุ ให้ดี ขน้ึ ไดด้ ้วยส่งิ แวดล้อม ๓. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด คนเรามีการเจรญิ เตบิ โตแตกตา่ งกันอยา่ งไร และ เพราะเหตุใดจงึ แตกตา่ ง

ขนั้ ที่ ๒ วางแผนปฏบิ ตั ิ ๑. ครแู บ่งนักเรยี นออกเปน็ กลมุ่ กลุ่มละ 3 คน ตามความสมัครใจ จากน้นั ให้แตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันวางแผนเพ่ือ ศกึ ษาความรเู้ กย่ี วกับปัจจัย ที่มผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โต : กรรมพันธ์ุ ขั้นที่ ๓ ลงมือปฏบิ ตั ิ ๑. สมาชิกแต่ละกลมุ่ ร่วมกันศึกษาความรู้เร่ือง ปจั จยั ที่มีผลต่อการเจริญเตบิ โต : กรรมพันธุ์ จากหนังสือเรียน หรอื บทเรียนคอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite ตามทว่ี างแผนไว้ ขนั้ ท่ี ๔ พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ ๑. นกั เรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด ๒.นักเรยี นแตล่ ะคนสังเกตตนเองว่า มกี ารเจรญิ เติบโตทดี่ หี รือไม่ แล้วสำรวจวา่ ปัจจัยใดบา้ งที่ทำใหน้ ักเรยี นมี การเจรญิ เตบิ โตได้ดี หรอื มีการเจริญเติบโตทีไ่ มด่ ี บันทึกผล การสำรวจลงในใบงาน เรื่อง ปัจจัยการเจรญิ เติบโตของฉัน ๓. ครูสุ่มตวั แทนนักเรียน ๕-๖ คน นำเสนอใบงาน หนา้ ช้นั เรียน แลว้ ให้เพอื่ นคนอืน่ นำเสนอเพม่ิ เติม เพราะเหตใุ ด เด็กในวยั เดยี วกนั มอี ายุเทา่ กัน จึงมีรปู ร่างที่แตกตา่ งกนั ขั้นที่ ๕ สรปุ ๑. นักเรียนและครรู ว่ มกันสรุปความรู้เรอ่ื ง ปัจจัยท่ีมีผลตอ่ การเจรญิ เติบโต : กรรมพนั ธุ์ ๑๐. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ ๑) หนังสอื เรียน สขุ ศึกษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สอ่ื เพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน

๑๑.วดั ผลและประเมนิ ผล วธิ กี าร เครอื่ งมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบกอ่ นเรียน ตรวจใบงาน ใบงาน (ประเมินตามสภาพจรงิ ) สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงาน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ รายบคุ คล ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ เกณฑ์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน สังเกตความมวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ ตรงต่อ แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เกณฑ์ เวลา ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน และมคี วามรบั ผดิ ชอบ เกณฑ์

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา รายวิชาสขุ ศกึ ษา หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๒ ปัจจัยการเจรญิ เติบโต ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓ เร่ือง ความแตกต่างของแต่ละครอบครวั เวลา ๑ ช่ัวโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคัญ ในแต่ละครอบครวั ย่อมมีความแตกตา่ งกนั ในดา้ นเศรษฐกจิ สังคม และการศึกษา ซึ่งจะส่งผลตอ่ การ ดำเนินชีวิตของคนในครอบครัว ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเหน็ คุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมที ักษะในการดำเนินชวี ิต ๓.ตัวชวี้ ดั ป.๓/๑ อธบิ ายความสำคัญและความแตกต่างของครอบครวั ทม่ี ีต่อตนเอง ๔.จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑.นักเรียนสามารถอธิบายความแตกต่างของแตล่ ะครอบครวั ได้อยา่ งถูกตอ้ ง (K) ๒.นักเรียนสามารถปฏิบัติตนในความแตกตา่ งของแตล่ ะครอบครัวไดอ้ ย่างถกู ต้อง (P) ๓.มคี วามกระตอื รือร้นและสนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ - ความแตกตา่ งของแต่ละครอบครวั - เศรษฐกิจ - สงั คม - การศึกษา ๖.ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ทกั ษะดา้ นการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และทักษะในแกป้ ญั หา ๒. ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผ้นู ำ

๗.สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน ๑.ความสามารถในการสอ่ื สาร -ผู้เรยี นสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความรคู้ วามเข้าใจ ความรสู้ ึก และทัศนะของ ตนเองและแลกเปล่ยี นข้อมลู ข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเอง และสงั คมและมไี วพริบที่ดีในการสื่อสาร ๒.ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ - ผเู้ รียนสามารถการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และการคิดเปน็ อยา่ งเปน็ ระบบมีเหตุผลและ สามารถ ตดั สนิ ใจได้ ๓. ความสามารถทักษะการนำความรไู้ ปใช้ - ผเู้ รียนนำความรู้ที่ไดร้ บั ไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพและสามารถอยู่รว่ มกบั คนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปัญหา - ผเู้ รยี นสามารถแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคต่างๆไดด้ ว้ ยตนเอง ๘.คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ -สืบค้นขอ้ มลู เนอื้ หาสาระทต่ี ้องการรู้ ๒. มุ่งม่ันในการทำงาน -มคี วามตง้ั ใจและพยายามในหน้าทที่ ไี่ ดร้ บั มอบหมาย ๙.ขัน้ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้นั ท่ี ๑ กระตุ้นความสนใจ (สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)) ๑.นกั เรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด ๒. ครนู ำบัตรภาพครอบครัวท่ีมีความสุข และภาพครอบครวั ท่ีทะเลาะกันมาใหน้ ักเรียนดู จากนั้นให้รว่ มกัน แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกบั ภาพดังกลา่ ว เช่น - นักเรียนอยากให้ครอบครัวของตนเองเป็นครอบครัวแบบใด - นักเรยี นคิดว่า ปญั หาการทะเลาะวิวาทในครอบครัว เกดิ จากสาเหตใุ ด - นกั เรียนมีวิธกี ารทำให้ครอบครัวมีความสขุ ได้อยา่ งไร เพราะเหตใุ ด การดำเนนิ ชีวิตของแต่ละครอบครวั จึงแตกต่างกัน

ข้ันท่ี ๒ สำรวจคน้ หา ๑. นกั เรียนรวมกลมุ่ เดิม (จากแผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑) จากน้นั ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ความแตกตา่ งของ แตล่ ะครอบครัว จากหนงั สือเรียนหรือบทเรยี นคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ขน้ั ท่ี ๓ อธบิ ายความรู้ ๑. สมาชิกแต่ละคนผลัดกันอธิบายความร้ทู ่ีไดจ้ ากการศึกษาเก่ยี วกบั ความแตกตา่ งของแตล่ ะครอบครัวให้ สมาชกิ ภายในกลมุ่ ฟัง ตามประเดน็ ทกี่ ำหนด ดังน้ี ๑) ดา้ นเศรษฐกิจ ๒) ด้านสังคม ๓) ด้านการศึกษา ขัน้ ที่ ๔ ขยายความเขา้ ใจ ๑. นกั เรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคดิ ๒. ครตู ัง้ ประเดน็ คำถามให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั หาคำตอบเพือ่ เสรมิ ความเขา้ ใจของนักเรียน เชน่ - นักเรียนคิดวา่ ความแตกต่างของแต่ละครอบครวั ในด้านเศรษฐกจิ สังคม และการศึกษา ส่งผลตอ่ การ ดำเนินชีวิตของคนในครอบครัวแตกตา่ งกันหรือไม่ จงอธิบาย ๓. ครใู ห้นักเรียนแต่ละคนทำแบบฝึกกจิ กรรมที่ ๑ จากแบบวัดฯ เม่ือทำเสรจ็ แล้ว ตรวจความเรียบร้อยก่อน นำสง่ ครู ขนั้ ที่ ๕ ตรวจสอบผล ๑. ครูตรวจสอบผลจากการอธิบายความรแู้ ละจากแบบวัดฯ ๒. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรปุ ความรูเ้ กยี่ วกับความแตกต่างของแต่ละครอบครัว ๑๐. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ ๑) หนงั สือเรยี น สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สอ่ื เพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน

๑๑.วดั ผลและประเมนิ ผล วธิ กี าร เครอื่ งมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบกอ่ นเรียน ตรวจใบงาน ใบงาน (ประเมินตามสภาพจรงิ ) สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงาน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ รายบคุ คล ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ เกณฑ์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน สังเกตความมวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ ตรงต่อ แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เกณฑ์ เวลา ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน และมคี วามรบั ผดิ ชอบ เกณฑ์

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๔ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชาสุขศกึ ษา หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ ครอบครัวและเพ่ือนฉัน ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ เร่ือง การสรา้ งสมั พนั ธภาพในกลมุ่ เพือ่ น เวลา ๑ ช่ัวโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคญั เพื่อนมีความสำคัญตอ่ ตวั เรา ดงั น้นั เราจงึ ควรสร้างสมั พนั ธภาพที่ดีกบั เพอื่ น เพ่ือจะได้อย่รู ว่ มกัน อยา่ งมคี วามสุข ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน พ ๒.๑ เขา้ ใจและเห็นคณุ ค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดำเนินชีวติ ๓.ตวั ชวี้ ดั ป.๓/๒ อธบิ ายวธิ สี ร้างสัมพันธภาพในครอบครวั และกลุ่มเพื่อน ๔.จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๑.นกั เรยี นสามารถอธบิ ายวิธีการสร้างสัมพันธภาพในกลุม่ เพ่ือนได้อย่างถูกต้อง (K) ๒.นกั เรียนสามารถปฏิบตั ิตนสร้างสัมพันธภาพในกลุม่ เพื่อนได้อยา่ งถูกต้อง (P) ๓.มีความกระตือรือร้นและสนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ - วธิ กี ารสรา้ งสัมพันธภาพในกลุ่มเพ่ือน ๖.ทกั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ๑. ทักษะดา้ นการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทกั ษะในแก้ปัญหา ๒. ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผู้นำ

๗.สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ๑.ความสามารถในการสอ่ื สาร -ผเู้ รียนสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความรคู้ วามเข้าใจ ความรสู้ กึ และทัศนะของ ตนเองและแลกเปล่ียนขอ้ มลู ข่าวสารและประสบการณอ์ นั จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเอง และสงั คมและมีไวพริบที่ดีในการสื่อสาร ๒.ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ - ผเู้ รยี นสามารถการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นอย่างเป็นระบบมีเหตผุ ลและ สามารถ ตดั สินใจได้ ๓. ความสามารถทักษะการนำความรู้ไปใช้ - ผเู้ รียนนำความรทู้ ไ่ี ด้รบั ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพและสามารถอยู่รว่ มกับคนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแกป้ ัญหา - ผูเ้ รียนสามารถแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคต่างๆไดด้ ้วยตนเอง ๘.คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑. ใฝเ่ รียนรู้ -สบื ค้นข้อมลู เนือ้ หาสาระท่ตี ้องการรู้ ๒. มุ่งมัน่ ในการทำงาน -มีความตงั้ ใจและพยายามในหน้าที่ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย ๙.ขนั้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ ที่ ๑ ขั้นนำเขา้ สู่บทเรียน (วิธีสอนแบบ บรรยาย) ๑.นกั เรยี นตอบคำถามกระตนุ้ ความคิด ข้อ ๑-๒ ๒. นกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั เพ่ือนจากสำนวนตอ่ ไปนี้ - เพ่อื นกินหาง่าย เพ่ือนตายหายาก - คนเดียวหวั หาย สองคนเพื่อนตาย ๓. นักเรยี นรว่ มกันสรุปผลการแสดงความคิดเหน็ จากนั้นครูถามนักเรยี นวา่ การมเี พ่ือนทด่ี ี มคี วามสำคญั ต่อ นกั เรยี นหรอื ไม่ อย่างไร ถ้านักเรยี นอยากให้เพือ่ นรกั และมาพดู คยุ ปลอบใจ ให้คำปรกึ ษา นกั เรียนจะต้องปฏิบตั ิตนอย่างไร

ข้นั ท่ี ๒ ข้นั สอน ๑. นักเรยี นรวมกล่มุ เดมิ (จากแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑) ร่วมกันศกึ ษาความร้เู รื่อง การสรา้ งสัมพนั ธภาพใน กลมุ่ เพื่อน จาก หนังสือเรียนหรอื บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Liteแลว้ บนั ทึกความรู้ทไี่ ดล้ งใน แบบบนั ทึกการอ่าน ๒. ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ ว่า นกั เรียน มวี ธิ กี ารรักษาเพ่ือนทีด่ ขี องนกั เรยี นอยา่ งไร พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ๓. ครูอธิบายใหน้ ักเรยี นเข้าใจว่า การรกั ษาเพื่อนท่ดี ซี งึ่ มีความ สำคญั ตอ่ เรานัน้ เราจะตอ้ งรู้จกั สรา้ งและรักษา สมั พันธภาพ ที่ดรี ะหว่างกันไว้ ๔. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ชว่ ยกันยกตัวอยา่ งวธิ กี ารสรา้ งสมั พันธภาพในกลุ่มเพ่ือน ครเู ขียนรวบรวมคำตอบบน กระดาน ๕. สมาชกิ ในแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั พิจารณาข้อปฏบิ ตั ติ นในการสรา้ งสัมพนั ธภาพในกล่มุ เพื่อนที่อยบู่ นกระดาน ว่า ควรใช้วิธใี ดในการสร้างสัมพันธภาพในกลมุ่ เพือ่ นจงึ จะเหมาะสม จากน้นั สมาชิกแต่ละคนเลือกวธิ กี ารปฏิบัติ ตนท่ีคดิ ว่าเหมาะสมในการสร้างสมั พนั ธภาพในกลุ่มเพ่อื น แลว้ จดบนั ทึกลงในสมดุ พร้อมระบุเหตุผล ประกอบ ๖.ครแู จกกระดาษรูปหัวใจให้นกั เรยี น คนละ ๒ แผ่น แล้วให้นกั เรยี นเขียนความในใจลงในกระดาษเพื่อมอบให้ เพ่ือนตามหัวข้อท่กี ำหนด ดังน้ี - กระดาษหมายเลข ๑ เขยี นเพ่ือขอโทษเพ่อื นในสิ่งท่นี กั เรยี นทำผดิ พลาดกบั เพ่ือน เช่น ขอโทษท่ที ำให้ เพ่ือนเสยี ใจ ขอโทษทไ่ี มไ่ ด้ชว่ ยเพอ่ื นทำงานกลมุ่ เป็นต้น - กระดาษหมายเลข ๒ เขยี นเพ่ือขอบคุณเพื่อนในโอกาสต่างๆ ทเี่ พ่ือนเคยให้ความชว่ ยเหลือ เช่น ขอบคุณ เพือ่ นท่ีชว่ ยอธบิ ายการบ้าน ขอบคณุ เพื่อนที่ช่วยปฐมพยาบาลตอนเปน็ ลม เปน็ ตน้ ๗. นกั เรียนตอบคำถามกระต้นุ ความคิด ๘. นกั เรยี นแตล่ ะคนทำใบงาน เร่ือง การสร้างสมั พันธภาพต่อเพอ่ื น เสร็จแล้วนำสง่ ครตู รวจ ๙. ครูสมุ่ นักเรียน 2-3 คน ออกมานำเสนอใบงานที่ ๓.๓ ๑๐.ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบฝึกกิจกรรมที่ ๒ จากแบบวัดฯ เป็นการบ้าน เสร็จแลว้ นำสง่ ครูตรวจในชัว่ โมงถัดไป ขน้ั ท่ี ๓ ขนั้ สรุป ๑. นกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ความรเู้ ร่ือง การสร้างสมั พนั ธภาพในกลมุ่ เพ่ือน และบอกประโยชนข์ องการสรา้ ง สมั พนั ธภาพในกลมุ่ เพ่ือน ๒. นกั เรียนตอบคำถามกระตนุ้ ความคดิ การสร้างสัมพนั ธภาพในกลุ่มเพ่อื นมีความจำเปน็ หรือไม่ เพราะเหตุใด

๑๐. สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้ ๑) หนงั สือเรยี น สุขศกึ ษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สื่อเพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วัดผลและประเมินผล วธิ ีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ตรวจใบงาน ใบงาน (ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ) สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ รายบคุ คล ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น สังเกตความมวี นิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ ตรงตอ่ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เกณฑ์ เวลา ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน และมคี วามรับผดิ ชอบ เกณฑ์

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๕ กลุ่มสาระการเรียนร้สู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา รายวชิ าสขุ ศกึ ษา หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ การล่วงละเมิดทางเพศ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ เรอื่ ง การล่วงละเมิดทางเพศ เวลา ๑ ชว่ั โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคัญ การลว่ งละเมดิ ทางเพศเป็นพฤติกรรมทีล่ ะเมดิ สิทธิของผู้อน่ื ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเหน็ คณุ ค่าตนเอง ครอบครวั เพศศึกษา และมีทักษะในการดำเนินชวี ติ ๓.ตวั ชี้วัด ป.๓/๒ บอกวิธหี ลกี เลยี่ งพฤติกรรมท่นี ำไปสู่การถกู ลว่ งละเมิดทางเพศ ๔.จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑.นกั เรียนสามารถบอกความหมายของการถูกละเมิดทางเพศได้อย่างถูกตอ้ ง (K) ๒.นกั เรยี นสามารถหลีกเหล่ยี งการถูกละเมดิ ทางเพศได้อย่างถูกต้อง (P) ๓.มีความกระตือรือร้นและสนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ - พฤติกรรมท่นี ำไปสูก่ ารล่วงละเมิดทางเพศ ๖.ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ทกั ษะดา้ นการคิดอย่างมวี ิจารณญาณ และทักษะในแกป้ ญั หา ๒. ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ

๗.สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ๑.ความสามารถในการสอื่ สาร -ผเู้ รียนสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเข้าใจ ความรสู้ ึก และทศั นะของ ตนเองและแลกเปลี่ยนข้อมลู ข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเอง และสงั คมและมไี วพริบท่ีดีในการสื่อสาร ๒.ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ - ผเู้ รยี นสามารถการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ และการคิดเป็นอยา่ งเป็นระบบมเี หตผุ ลและ สามารถ ตดั สนิ ใจได้ ๓. ความสามารถทกั ษะการนำความรู้ไปใช้ - ผเู้ รยี นนำความรู้ทไี่ ด้รับไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพและสามารถอยู่ร่วมกบั คนใน สังคมได้ ๔.ความสามารถในการแกป้ ญั หา - ผู้เรียนสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆไดด้ ว้ ยตนเอง ๘.คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ -สบื คน้ ขอ้ มลู เน้อื หาสาระท่ตี อ้ งการรู้ ๒. มุ่งม่นั ในการทำงาน -มีความตัง้ ใจและพยายามในหนา้ ท่ีท่ไี ด้รับมอบหมาย ๙.ขน้ั จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้ันท่ี ๑ สังเกต (วธิ สี อนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการสรา้ งความตระหนกั ) ๑.ครูซกั ถามนักเรียนว่า ในชีวิตประจำวนั ของนักเรียนมีโอกาสเสี่ยงต่อการถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศหรือไม่ เพราะ เหตใุ ด ๒. นกั เรียนตอบคำถามกระตุ้นความคดิ ขา่ วการล่วงละเมิดทางเพศในหนา้ หนังสือพิมพ์มกั มีสาเหตุ มาจากเรอ่ื งใด

ขนั้ ที่ ๒ วิเคราะห์วิจารณ์ ๑. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกล่มุ กลุ่มละ ๔ คน คละกันตามความ สามารถ คือ เกง่ ปานกลางค่อนข้างเกง่ ปานกลาง คอ่ นข้างอ่อน และอ่อน จากน้ันให้นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ศึกษาความรเู้ ร่อื ง การล่วงละเมดิ ทางเพศ จากหนังสอื เรียนหรอื บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite ๒. ครนู ำข่าวเกย่ี วกบั การล่วงละเมิดทางเพศมาเลา่ ใหน้ ักเรยี นฟัง ๓. ครใู หส้ มาชกิ แต่ละกล่มุ รว่ มกันวิเคราะห์ข่าวในประเดน็ ต่อไปนี้ - เดก็ หญงิ ในขา่ วถกู ใครลว่ งละเมดิ ทางเพศ และเกดิ ผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจอยา่ งไร - นักเรยี นได้ขอ้ คิดจากขา่ วเพื่อป้องกนั ตนเองไมใ่ ห้ถูก ล่วงละเมิดทางเพศได้อยา่ งไร ๔..ครใู หน้ ักเรยี นสง่ ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการวเิ คราะห์หน้าชน้ั เรยี น ขัน้ ท่ี ๓ สรปุ ๑. นักเรยี นรว่ มกนั สรุปความรเู้ รื่อง การลว่ งละเมดิ ทางเพศ ๑๐. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ ๑) หนังสอื เรียน สขุ ศึกษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สอ่ื เพาเวอรพ์ อยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วดั ผลและประเมนิ ผล วิธีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน ตรวจใบงาน ใบงาน (ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ) สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงาน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ รายบคุ คล ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ เกณฑ์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน สงั เกตความมีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ ตรงตอ่ แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เกณฑ์ เวลา ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน และมคี วามรบั ผิดชอบ เกณฑ์

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๖ กลุ่มสาระการเรียนร้สู ุขศึกษาและพลศกึ ษา รายวชิ าสุขศึกษา หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ การลว่ งละเมดิ ทางเพศ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ เร่ือง พฤติกรรมท่นี ำไปสู่การถูกล่วงละเมิดทางเพศ เวลา ๑ ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคัญ การถูกล่วงละเมดิ ทางเพศเกดิ ขึ้นจากการมีพฤติกรรมตา่ งๆ ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน พ ๒.๑ เขา้ ใจและเห็นคณุ ค่าตนเอง ครอบครวั เพศศึกษา และมที ักษะในการดำเนนิ ชวี ติ ๓.ตวั ช้ีวัด ป.๓/๒ บอกวิธีหลกี เล่ยี งพฤติกรรมท่นี ำไปสู่การถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ ๔.จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๑.นักเรยี นสามารถอธิบายพฤติกรรมท่ีนำไปสกู่ ารถกู ล่วงละเมิดทางเพศได้ (K) ๒.นักเรยี นสามารถหลกี พฤติกรรมเหล่ียงท่นี ำไปสู่การถูกล่วงละเมดิ ทางเพศได้ (P) ๓.มีความกระตือรือร้นและสนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรยี นรู้ - พฤติกรรมท่ีนำไปสู่การถกู ลว่ งละเมิดทางเพศ (การแต่งกาย การเท่ยี วกลางคนื การคบเพ่ือน การเสพสารเสพติด ฯลฯ) ๖.ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ทกั ษะดา้ นการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ และทักษะในแกป้ ญั หา ๒. ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ

๗.สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ๑.ความสามารถในการส่อื สาร -ผู้เรยี นสามารถในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทศั นะของ ตนเองและแลกเปล่ียนขอ้ มลู ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเปน็ ประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเอง และสังคมและมีไวพริบที่ดใี นการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ - ผ้เู รยี นสามารถการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็นอยา่ งเปน็ ระบบมเี หตุผลและ สามารถ ตดั สนิ ใจได้ ๓. ความสามารถทักษะการนำความรูไ้ ปใช้ - ผ้เู รยี นนำความรู้ทีไ่ ดร้ บั ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพและสามารถอยู่รว่ มกบั คนใน สังคมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปญั หา - ผู้เรียนสามารถแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคต่างๆไดด้ ว้ ยตนเอง ๘.คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ -สบื ค้นข้อมลู เนื้อหาสาระทีต่ ้องการรู้ ๒. มงุ่ มั่นในการทำงาน -มีความตั้งใจและพยายามในหนา้ ที่ที่ได้รบั มอบหมาย ๙.ขน้ั จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นท่ี ๑ เตรียม (วธิ สี อนแบบ กรณีศกึ ษา) ๑.นักเรยี นตอบคำถามกระตนุ้ ความคดิ ๒. ครูนำบัตรภาพสถานทีท่ ี่ไม่ควรอย่ตู ามลำพงั กบั เพศตรงขา้ ม หรอื สถานทที่ ่ีไมป่ ลอดภยั มาใหน้ ักเรยี นดู แลว้ ให้ช่วยกันแสดงความคิดเหน็ ลักษณะการแตง่ กายอยา่ งไร ที่มโี อกาสเสี่ยง ตอ่ การถกู ลว่ งละเมิดทางเพศ

ขนั้ ท่ี ๒ เสนอกรณีตัวอย่าง ๑. นกั เรียนรวมกล่มุ เดิม (จากแผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑) รว่ มกันศกึ ษาความร้เู ร่ือง พฤติกรรมทนี่ ำไปสกู่ ารถูก ลว่ งละเมดิ ทางเพศ จากหนังสือเรียนหรือบทเรียนคอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite หรือแหล่งข้อมูล สารสนเทศ ๒. ครเู ปิดวีซดี ีข่าวการถกู ลว่ งละเมิดทางเพศให้นักเรียนดู ข้นั ท่ี ๓ วิเคราะห์ ๑. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับเน้ือหาขา่ วทไ่ี ด้ดจู ากวซี ีดตี ามประเดน็ ทีก่ ำหนด ดงั น้ี ๑) สาเหตหุ รือปจั จัยเสย่ี งที่นำไปสูก่ ารถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ ๒) ผลกระทบที่เกดิ ขึน้ จากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ ๒. นักเรยี นจดบันทึกผลการวิเคราะหข์ องสมาชิกกลุม่ ตามประเดน็ ทกี่ ำหนดลงในสมดุ ขั้นที่ ๔ สรปุ ๑.นกั เรียนตอบคำถามกระตนุ้ ความคดิ ๒. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกนั สรุปเก่ียวกับสาเหตหุ รือปัจจัยเส่ียงที่นำไปสู่การถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ และ ผลกระทบท่เี กิดขึ้นจากการถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ ๓. ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลการสรุปข้อมูลจาก ข่าวการถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศหนา้ ช้ันเรยี น ๔. ครอู ธบิ ายเก่ยี วกับพฤตกิ รรมท่นี ำไปสู่การถกู ล่วงละเมิด ทางเพศ ใหน้ ักเรียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจ ขั้นที่ ๕ ประเมนิ ผล ๑.ครูประเมนิ ผลนักเรียนจากการแสดงความคิดเห็นและสรุปข้อคิดท่ีได้รับจากการวเิ คราะห์ขา่ วการถูกลว่ ง ละเมดิ ทางเพศ ๒. นักเรยี นแตล่ ะคนทำใบงานเรื่อง พฤติกรรมเสยี่ งทีน่ ำไปสู่การถกู ลว่ งละเมิดทางเพศ เสรจ็ แลว้ นำสง่ ครู ตรวจ ๓. ครใู หน้ กั เรียนทำแบบฝกึ กจิ กรรมท่ี ๑ จากแบบวดั ฯ เปน็ การบา้ น เสรจ็ แลว้ นำส่งครูตรวจในช่วั โมงถดั ไป

๑๐. สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้ ๑) หนงั สือเรยี น สุขศกึ ษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สื่อเพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วัดผลและประเมินผล วธิ ีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ตรวจใบงาน ใบงาน (ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ) สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ รายบคุ คล ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น สังเกตความมวี นิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ ตรงตอ่ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เกณฑ์ เวลา ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน และมคี วามรับผดิ ชอบ เกณฑ์

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๗ กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา รายวิชาสขุ ศึกษา หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๔ การล่วงละเมดิ ทางเพศ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เรือ่ ง วธิ หี ลีกเลย่ี งพฤติกรรมที่นำไปสู่การถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศ เวลา ๑ ชวั่ โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคัญ การล่วงละเมิดทางเพศเปน็ ความรนุ แรงทางเพศท่สี ามารถหลีกเล่ียงได้ โดยใชว้ ธิ ปี ้องกันตนเองให้ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภัย ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน พ ๒.๑ เขา้ ใจและเห็นคุณคา่ ตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมที ักษะในการดำเนนิ ชวี ิต ๓.ตวั ชีว้ ดั ป.๓/๒ บอกวิธีหลกี เล่ียงพฤติกรรมทน่ี ำไปสู่การถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศ ๔.จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑.นกั เรยี นสามารถบอกวธิ หี ลกี เลีย่ งพฤตกิ รรมที่นำไปสูก่ ารถูกลว่ งละเมิดทางเพศได้ (K) ๒.นกั เรยี นสามารถหลีกพฤติกรรมเหลย่ี งทีน่ ำไปสู่การถูกล่วงละเมดิ ทางเพศได้ (P) ๓.มีความกระตอื รือร้นและสนใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรยี นรู้ - วธิ หี ลีกเล่ียงพฤติกรรมทนี่ ำไปสู่การถูกล่วงละเมิดทางเพศ (ทักษะการปฏิเสธ และอื่นๆ) ๖.ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ทักษะด้านการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ และทักษะในแก้ปญั หา ๒. ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผนู้ ำ

๗.สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น ๑.ความสามารถในการสอ่ื สาร -ผูเ้ รยี นสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรูค้ วามเข้าใจ ความร้สู ึก และทศั นะของ ตนเองและแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ข่าวสารและประสบการณอ์ ันจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเอง และสงั คมและมไี วพริบที่ดใี นการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ - ผเู้ รยี นสามารถการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคดิ เป็นอย่างเปน็ ระบบมีเหตผุ ลและ สามารถ ตัดสินใจได้ ๓. ความสามารถทกั ษะการนำความรูไ้ ปใช้ - ผูเ้ รียนนำความรทู้ ไ่ี ด้รบั ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพและสามารถอยู่รว่ มกบั คนใน สังคมได้ ๔.ความสามารถในการแกป้ ัญหา - ผเู้ รยี นสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆได้ดว้ ยตนเอง ๘.คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑. ใฝเ่ รียนรู้ -สืบคน้ ข้อมลู เนือ้ หาสาระทต่ี ้องการรู้ ๒. มุ่งมัน่ ในการทำงาน -มคี วามตง้ั ใจและพยายามในหนา้ ที่ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ๙.ขนั้ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ขัน้ ท่ี ๑ กระตุ้นความสนใจ (สบื เสาะหาความรู้ Inquiry Method : 5E) ๑.นกั เรียนตอบคำถามกระต้นุ ความคดิ ข้อ ๑-๒ ๒. ครูนำตัวอยา่ งบทสนทนาในสถานการณ์เส่ยี งต่อการถูกล่วงละเมิดทางเพศ มาอา่ นให้นักเรียนฟัง จากนั้นส่มุ เรยี กนักเรียนสนทนาโตต้ อบทีละบทสนทนา เชน่ ๑) อย่บู า้ นคนเดยี วเหงาละซิ ให้พเี่ ข้าไปเลน่ ในบ้านเปน็ เพื่อนดไี หมจ๊ะ ๒) เราลมื ของไว้ในบา้ น เข้าไปหยิบของเป็นเพื่อนเราหน่อยสจิ ๊ะ ๓) กลบั บ้านคนเดยี วเหรอ ใหน้ ้าไปสง่ ที่บา้ นดีไหมจ๊ะ ๓. ครูใหน้ ักเรยี นคนอื่นช่วยกนั พิจารณาคำโตต้ อบของนักเรยี น ทีค่ รูสุม่ เรยี ก จากนนั้ ช่วยกันจดั กลุม่ บท สนทนาโตต้ อบของเพือ่ นทมี่ คี วามเส่ียงต่อการถูกลว่ งละเมิดทางเพศ พร้อมแสดงเหตุผลประกอบ เม่อื นกั เรียนไดด้ รู ายการข่าวทีน่ ำเสนอเรอื่ งราวของการถูกล่วง ละเมดิ ทางเพศ นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไร

ข้ันท่ี ๒ สำรวจคน้ หา ๑. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด ข้อ ๑-๒ ๒. นักเรยี นกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๑) ร่วมกนั ศึกษาความรเู้ รอื่ ง วิธีหลีกเล่ียงพฤติกรรมทีน่ ำไปสู่ การ ถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ จากหนงั สอื เรียนหรือบทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ขั้นที่ ๓ อธบิ ายความรู้ ๑. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ นำความรู้ทไี่ ด้จากการศึกษาเกย่ี วกบั วิธหี ลีกเล่ยี งพฤติกรรมทน่ี ำไปสู่การถูกลว่ งละเมิด ทางเพศ มาอภปิ รายรว่ มกันภายในกลมุ่ ๒.นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ สง่ ตวั แทนออกมานำเสนอตัวอย่างวิธหี ลกี เล่ียงพฤตกิ รรมทีน่ ำไปสู่การถูกลว่ งละเมิดทาง เพศหน้าชั้นเรยี น ครคู อยอธิบายเพิ่มเติมในสว่ นท่ยี ังมีข้อบกพรอ่ ง ขน้ั ที่ ๔ ขยายความเขา้ ใจ ๑.ครูให้นกั เรียนศึกษาตัวอยา่ งการใช้ทักษะการปฏเิ สธและทกั ษะการตอ่ รองในการหลีกเล่ียงจากสถานการณ์ เสย่ี งต่อการถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศ จากเอกสารประกอบการสอน ๒. ครูใหน้ ักเรยี นแต่ละคนทำใบงาน เรือ่ ง วธิ หี ลกี เล่ยี งพฤติกรรมท่นี ำไปสู่การถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ 3. เม่ือนกั เรยี นแต่ละคนทำใบงาน เสร็จแลว้ ใหจ้ บั คู่กับเพ่ือน ผลดั กนั อธบิ ายคำตอบของตนให้เพอื่ นฟัง ๔. นักเรียนรวมกลมุ่ เดิม (๔ คน) แล้วผลัดกันอธบิ ายคำตอบในใบงาน ของคตู่ นให้เพื่อนอีกคู่หนึง่ ฟงั เสรจ็ แล้ว รว่ มกนั สรปุ คำตอบในใบงาน และเกบ็ รวบรวมใบงานส่งครู ๕. นกั เรียนตอบคำถามกระตนุ้ ความคดิ นกั เรียนมีวธิ กี ารดูแลตนเองอยา่ งไรทจี่ ะไม่ทำใหเ้ กิดโอกาสเสี่ยงต่อ การถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศได้ ขนั้ ท่ี ๕ ตรวจสอบผล ๑.ครตู รวจสอบความร้คู วามเขา้ ใจของนักเรยี นจากการทำใบงาน ๒. ครใู หน้ กั เรียนทำแบบฝกึ กจิ กรรมที่ ๒ จากแบบวดั ฯ เปน็ การบา้ น เสรจ็ แล้วนำส่งครตู รวจในช่วั โมงถัดไป ๑๐. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ ๑) หนังสอื เรยี น สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สอ่ื เพาเวอรพ์ อยท์ ๓) ใบงาน

๑๑.วดั ผลและประเมนิ ผล วธิ กี าร เครอื่ งมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบกอ่ นเรียน ตรวจใบงาน ใบงาน (ประเมินตามสภาพจรงิ ) สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงาน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ รายบคุ คล ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ เกณฑ์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน สังเกตความมวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ ตรงต่อ แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เกณฑ์ เวลา ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน และมคี วามรบั ผดิ ชอบ เกณฑ์

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๘ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา รายวิชาสขุ ศึกษา หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๕ โรคควรรู้ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ เร่ือง การแพรก่ ระจายของโรคโดยทางออ้ ม เวลา ๑ ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคญั การแพรก่ ระจายของโรคโดยทางอ้อมเป็นการที่เช้ือโรคแพรจ่ ากแหลง่ หนึ่งไปสูอ่ ีกแหล่งหนึง่ โดยมีพาหะ เปน็ ตัวนำเชอื้ โรค ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสรมิ สุขภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกัน โรคและการสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ๓.ตวั ชว้ี ดั ป.๓/๑ อธบิ ายการตดิ ตอ่ และวิธกี ารป้องกนั การแพร่กระจายของโรค ๔.จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑.นกั เรยี นสามารถอธบิ ายการติดต่อและการแพร่กระจายของโรคโดยทางอ้อมได้(K) ๒.นกั เรียนปฏบิ ัตติ นปอ้ งกันการแพร่กระจายของโรคโดยทางอ้อมได้ (P) ๓.มีความกระตือรือร้นและสนใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ - การตดิ ตอ่ และการแพรก่ ระจายของโรค ๖.ทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ๑. ทกั ษะด้านการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ และทกั ษะในแกป้ ญั หา ๒. ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผูน้ ำ

๗.สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น ๑.ความสามารถในการสอ่ื สาร -ผูเ้ รียนสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ ความรสู้ ึก และทัศนะของ ตนเองและแลกเปลีย่ นขอ้ มลู ข่าวสารและประสบการณอ์ ันจะเปน็ ประโยชนต์ ่อการพัฒนาตนเอง และสังคมและมไี วพรบิ ที่ดใี นการสื่อสาร ๒.ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ - ผเู้ รยี นสามารถการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการคดิ เปน็ อย่างเป็นระบบมีเหตผุ ลและ สามารถ ตดั สนิ ใจได้ ๓. ความสามารถทกั ษะการนำความรู้ไปใช้ - ผเู้ รยี นนำความรู้ทไี่ ด้รับไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพและสามารถอยู่ร่วมกับคนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปญั หา - ผเู้ รยี นสามารถแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคต่างๆไดด้ ้วยตนเอง ๘.คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ -สืบคน้ ขอ้ มูลเนอื้ หาสาระท่ีต้องการรู้ ๒. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน -มคี วามตงั้ ใจและพยายามในหน้าที่ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ๙.ขั้นจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ ท่ี ๑ ข้นั นำเข้าสูบ่ ทเรยี น (วิธีสอนโดยการจัดการเรยี นรูแ้ บบรว่ มมือ : เทคนคิ ค่ตู รวจสอบ) ๑.ครูนำภาพพาหะที่เปน็ ตวั นำเชอ้ื โรค มาให้นักเรียนดู แลว้ ร่วมกนั สนทนาเก่ียวกับภาพ ๒. ครเู ชื่อมโยงถึงการแพร่กระจายของโรคโดยทางอ้อม เพื่อเข้าสูบ่ ทเรยี น ๓. นกั เรียนตอบคำถามกระต้นุ ความคดิ นกั เรยี นอาจไดร้ ับเช้ือโรคจากสัตว์ผา่ นทางใดบา้ ง

ขนั้ ท่ี ๒ ข้นั สอน ๑. นกั เรียนรวมกลุม่ เดมิ (จากแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑) รว่ มกนั ศึกษาความรู้เรื่อง การแพร่กระจายของโรค โดยทางอ้อม จาก หนังสือเรียนหรือบทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ๒. นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมกนั อธิบายการแพรก่ ระจายของโรคโดยทางอ้อม ตามประเด็นท่ีกำหนด ดังน้ี ๑) ส่งิ ของที่เป็นพาหะ ๒) สัตวท์ ่ีเป็นพาหะ ๓) อากาศนำเช้อื โรคแพรส่ ่คู น ๓. สมาชิกในกลุม่ รว่ มกนั ตรวจสอบข้อมลู และสรปุ การแพร่กระจายของโรคโดยทางอ้อม ๔. ครูและนกั เรียนรว่ มกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นว่า เพราะเหตุใด โรคไขห้ วดั จึงสามารถแพรก่ ระจาย เชื้อโรคได้โดยทางตรงและทางอ้อม ๕. นักเรียนและครสู รปุ ผลการอภปิ รายและแสดงความคดิ เห็น ๖. ครใู หน้ ักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกันทำใบงาน เรอื่ ง การแพร่กระจายของโรคโดยทางอ้อม โดยใหส้ มาชิกในแต่ ละกลุม่ จบั คู่กันเป็น ๒ คู่ แล้วให้แต่ละคปู่ ฏบิ ัติกิจกรรม ดังนี้ - สมาชิกคนที่ ๑ อา่ น และเขยี นคำตอบ - สมาชิกคนท่ี ๒ สงั เกต และตรวจสอบคำตอบ ใหส้ มาชิกแตล่ ะคู่เปลยี่ นบทบาทกนั ในข้อตอ่ ไปจนครบทกุ ขอ้ ๗. นักเรยี นรวมกลมุ่ เดิม (๔ คน) ใหแ้ ต่ละคูน่ ำคำตอบของคู่ตนเองมานำเสนอใหเ้ พอ่ื นอีกคหู่ น่ึงฟัง เพ่ือช่วยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง แลว้ เขยี นคำตอบลงในใบงาน เสร็จแลว้ นำสง่ ครตู รวจ ขั้นท่ี ๓ ขนั้ สรปุ ๑. นักเรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคิด 2. นักเรยี นร่วมกันสรุปเก่ยี วกบั การแพรก่ ระจายของโรคโดยทางอ้อม ๓. ครใู ห้นักเรียนทำแบบฝกึ กจิ กรรม จากแบบวัดฯ เป็นการบ้าน เสร็จแล้วนำส่งครตู รวจในช่ัวโมงถดั ไป

๑๐. สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้ ๑) หนงั สือเรยี น สุขศกึ ษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สื่อเพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วัดผลและประเมินผล วธิ ีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ตรวจใบงาน ใบงาน (ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ) สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ รายบคุ คล ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น สังเกตความมวี นิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ ตรงตอ่ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เกณฑ์ เวลา ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน และมคี วามรับผดิ ชอบ เกณฑ์

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๙ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา รายวชิ าสขุ ศึกษา หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ โรคควรรู้ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เรือ่ ง วิธปี ้องกนั การแพรก่ ระจายของโรค เวลา ๑ ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคัญ การป้องกนั การแพรก่ ระจายของโรคสามารถปฏิบัตไิ ดห้ ลายวิธี ๒.มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน พ ๔.๑ เหน็ คณุ คา่ และมีทักษะในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ การดำรงสขุ ภาพ การป้องกัน โรคและการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพ่ือสขุ ภาพ ๓.ตวั ช้วี ัด ป.๓/๑ อธบิ ายการตดิ ต่อและวิธกี ารปอ้ งกนั การแพร่กระจายของโรค ๔.จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑.นักเรยี นสามารถอธิบายวิธีป้องกันการแพรก่ ระจายของโรคได้ (K) ๒.นักเรยี นปฏิบตั ติ นปอ้ งกันการแพรก่ ระจายของโรคได้ (P) ๓.มคี วามกระตือรือร้นและสนใจเข้ารว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ - วธิ กี ารป้องกนั การแพรก่ ระจายของโรค ๖.ทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ทกั ษะด้านการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และทกั ษะในแกป้ ัญหา ๒. ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผู้นำ

๗.สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ๑.ความสามารถในการสอื่ สาร -ผเู้ รยี นสามารถในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคดิ ความร้คู วามเข้าใจ ความรูส้ ึก และทศั นะของ ตนเองและแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ข่าวสารและประสบการณอ์ นั จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเอง และสังคมและมไี วพรบิ ท่ีดใี นการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ - ผเู้ รยี นสามารถการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นอยา่ งเปน็ ระบบมีเหตุผลและ สามารถ ตดั สินใจได้ ๓. ความสามารถทักษะการนำความรไู้ ปใช้ - ผ้เู รียนนำความรู้ทไี่ ด้รับไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ในการประกอบอาชีพและสามารถอยู่รว่ มกับคนใน สังคมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปญั หา - ผเู้ รยี นสามารถแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคต่างๆไดด้ ว้ ยตนเอง ๘.คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ใฝเ่ รยี นรู้ -สืบคน้ ขอ้ มลู เนอื้ หาสาระที่ต้องการรู้ ๒. ม่งุ ม่ันในการทำงาน -มคี วามตง้ั ใจและพยายามในหนา้ ทท่ี ่ีไดร้ ับมอบหมาย ๙.ขัน้ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้ันที่ ๑ สังเกต ตระหนัก (วธิ ีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการเรยี นความรคู้ วามเข้าใจ) ๑.ครถู ามนกั เรยี นว่า นักเรียนเคยปว่ ยเปน็ ไขห้ วดั หรือไม่ และนักเรยี นคดิ ว่า หวัดเปน็ โรคท่ีสามารถป้องกนั ได้ หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ๒. ครเู ลา่ กรณตี วั อย่างของอิงอรใหน้ ักเรยี นฟงั ดงั น้ี อิงอร เป็นนักเรยี นชั้น ป.3 เธอเป็นเด็กหญงิ ที่ค่อนขา้ งขี้โรคมาก เมื่อเปรยี บเทียบกับเพื่อนในชัน้ เรยี น วนั นี้เธอไปโรงเรียนด้วย ความหวาดระแวงเพราะกลวั ตดิ โรคหวัด และโรคตาแดงจากเพื่อนๆ เพราะช่วงน้ีเพือ่ นทโ่ี รงเรยี นหลายคนปว่ ยเป็นโรคดงั กล่าวหากนกั เรยี นเปน็ เพื่อนอิงอร นักเรียนจะแนะนำ ใหเ้ ธอปอ้ งกันตนเองอยา่ งไรจึงจะเหมาะสม

๓. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพอ่ื ช่วยกันหาวิธกี ารป้องกนั โรคดังกล่าวให้กับอิงอร จากน้ันรว่ มกนั สรปุ ผล ๔. ครอู ธิบายเพิ่มเตมิ และช้ีแจงใหน้ กั เรียนเข้าใจและตระหนกั ถึงความสำคัญของการป้องกันโรค ขน้ั ที่ ๒ วางแผนปฏบิ ัติ ๑. นักเรยี นรวมกล่มุ เดิม (จากแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1) จากนั้นใหน้ ักเรยี นจับคกู่ ับเพ่ือน และใหแ้ ตล่ ะคู่ ออกมา จบั สลากเพ่ือเลือกศกึ ษาความรตู้ ามประเด็นทกี่ ำหนด ดงั นี้ - สลากหมายเลข ๑ ศึกษาความรู้เรอื่ ง โรคอีสุกอีใส - สลากหมายเลข ๒ ศึกษาความรู้เรื่อง โรคพยาธิ - สลากหมายเลข ๓ ศึกษาความรเู้ ร่อื ง โรคไข้เลือดออก - สลากหมายเลข ๔ ศกึ ษาความรู้เรอื่ ง โรคไขห้ วัด - สลากหมายเลข ๕ ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง โรคตาแดง - สลากหมายเลข ๖ ศกึ ษาความรู้เรื่อง โรคอหิวาตกโรคนกั เรียนแตล่ ะคู่ศึกษาความร้โู ดยให้ครอบคลุม ประเด็น ดงั นี้ ๑) อาการของโรค ๒) การแพร่กระจายของเชื้อโรค ๓) วธิ ีป้องกันการแพร่กระจายของโรค (หากนักเรยี นมีจำนวนมาก อาจศกึ ษาหวั ข้อซ้ำได้) ๒. นกั เรียนแต่ละคู่ร่วมกนั วางแผนศกึ ษาความร้ตู ามเรอื่ งท่จี บั สลากได้ ๓. นักเรียนตอบคำถามกระต้นุ ความคิด นักเรยี นเห็นดว้ ยหรอื ไม่ ท่คี นสว่ นใหญ่ใช้ผ้า ปิดจมูก ปิดปาก เพื่อป้องกันการ แพร่กระจายของ เช้ือโรค ขน้ั ท่ี ๓ ลงมือปฏิบัติ ๑. นกั เรยี นแต่ละคูร่ ว่ มกันศึกษาและรวบรวมข้อมลู ความรู้ จากหนังสอื เรียนหรือบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite หรอื หอ้ งสมุด ตามประเดน็ ความรูท้ ี่จบั สลากได้ และปฏบิ ัติตามท่วี างแผนรว่ มกนั แลว้ บันทึก ความรู้ที่ไดล้ งในแบบบนั ทกึ การอา่ น ๒. นกั เรียนตอบคำถามกระตุ้นความคดิ นกั เรยี นสามารถรับประทานอาหารร่วมกบั เพ่ือน ทีเ่ ป็นโรคไขห้ วดั ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

ข้ันท่ี ๔ พฒั นาความรู้ ความเข้าใจ ๑. นกั เรยี นแต่ละคู่รว่ มกันรวบรวมและเรยี บเรียงข้อมูลความรู้ท่ีได้จากการศึกษา จากน้ันอภปิ รายและสรปุ เปน็ องค์ความรู้ แลว้ ให้ตวั แทนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอความรู้หน้าชนั้ เรียน ครตู รวจสอบความถกู ต้อง ๒.นักเรยี นแต่ละคนทำใบงาน เรือ่ ง วธิ ีป้องกนั การแพร่กระจายของโรค ๓.เม่ือทำใบงาน เสร็จแล้ว ใหน้ กั เรยี นแต่ละคแู่ ลกเปลีย่ นใบงานกนั ตรวจตามคำตอบทีค่ รเู ฉลย ๔.นักเรียนแต่ละคนทำแบบฝึกกิจกรรม จากแบบวดั ฯ เปน็ การบ้าน เสรจ็ แล้วนำสง่ ครตู รวจในชั่วโมงถดั ไป ขน้ั ท่ี ๕ สรปุ ๑.นักเรยี นร่วมกนั สรุปความรเู้ รือ่ ง วิธีป้องกันการแพรก่ ระจายของโรค ๑๐. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ ๑) หนังสือเรียน สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สือ่ เพาเวอรพ์ อยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วัดผลและประเมนิ ผล วิธีการ เครอ่ื งมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบทดสอบกอ่ นเรียน ตรวจใบงาน ใบงาน (ประเมนิ ตามสภาพจริง) สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ รายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ เกณฑ์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น สงั เกตความมีวนิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ ตรงต่อ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เกณฑ์ เวลา ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น และมีความรบั ผดิ ชอบ เกณฑ์

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๑๐ กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา รายวิชาสุขศึกษา หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๖ อาหารกบั สขุ ภาพ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ เร่ือง การจำแนกอาหารหลกั ๕ หมู่ เวลา ๑ ช่ัวโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคญั อาหารแตล่ ะชนิดมีความแตกต่างกนั การรับประทานอาหารให้ครบทง้ั ๕ หมู่ จะทำใหร้ ่างกาย ไดร้ ับสารอาหารเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ซ่งึ จะทำใหร้ า่ งกายแข็งแรงและ เจรญิ เติบโตสมวัย ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน พ ๔.๑ เหน็ คุณค่าและมีทักษะในการสรา้ งเสริมสุขภาพ การดำรงสขุ ภาพ การป้องกัน โรคและการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสขุ ภาพ ๓.ตัวชีว้ ดั ป.๓/๒ จำแนกอาหารหลัก ๕ หมู่ ๔.จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑.นักเรยี นสามารถอธบิ ายอาหารหลัก ๕ หมไู่ ด้ (K) ๒.นกั เรียนรบั ประทานอาหารครบ ๕ หมู่ (P) ๓.มีความกระตือรือร้นและสนใจเขา้ ร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ - สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง - อาหารหลกั ๕ หมู่ ๖.ทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ๑. ทกั ษะด้านการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ และทักษะในแก้ปญั หา ๒. ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผู้นำ

๗.สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น ๑.ความสามารถในการสอ่ื สาร -ผเู้ รยี นสามารถในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเขา้ ใจ ความรู้สกึ และทศั นะของ ตนเองและแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ข่าวสารและประสบการณอ์ ันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเอง และสงั คมและมีไวพริบที่ดใี นการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ - ผู้เรียนสามารถการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ และการคดิ เป็นอย่างเปน็ ระบบมีเหตุผลและ สามารถ ตัดสนิ ใจได้ ๓. ความสามารถทักษะการนำความรไู้ ปใช้ - ผเู้ รยี นนำความรู้ทีไ่ ด้รับไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพและสามารถอยู่รว่ มกบั คนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปัญหา - ผเู้ รียนสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆได้ด้วยตนเอง ๘.คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑. ใฝเ่ รียนรู้ -สบื ค้นขอ้ มลู เนือ้ หาสาระที่ต้องการรู้ ๒. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน -มคี วามตง้ั ใจและพยายามในหน้าทท่ี ่ีได้รบั มอบหมาย ๙.ข้ันจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั ที่ ๑ ขนั้ นำเข้าสบู่ ทเรียน (วธิ ีสอนโดยการจดั การเรยี นร้แู บบร่วมมือ : เทคนคิ คคู่ ดิ สส่ี หาย) ๑.ครูให้นกั เรียนดภู าพอาหารชนิดตา่ งๆ แล้วให้จำแนกสว่ นประกอบหลกั ของอาหารแต่ละชนิด ๒. ครูถามนักเรยี นวา่ จากภาพดังกล่าว นกั เรียนควรเลือกรับประทานอาหารชนิดใดมากที่สุด เพอื่ ให้ได้ สารอาหารครบทั้ง ๕ หมู่ ๓. นกั เรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด นกั เรยี นคิดวา่ ใน ๑ วนั นกั เรยี นรับประทานอาหารครบ ๕ หมูห่ รือไม่ เพราะเหตุใด

ขั้นท่ี ๒ ข้ันสอน ๑. นักเรยี นรวมกลมุ่ เดมิ (จากแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑) แลว้ ร่วมกนั ทบทวนความรูเ้ ดมิ และศึกษาความรู้ เพ่มิ เติมเกีย่ วกับอาหารหลัก ๕ หมู่ จากหนงั สือเรียนหรือบทเรยี นคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ๒. นกั เรยี นแต่ละคนทำใบงาน เร่อื ง การจำแนกอาหารหลัก ๕ หมู่ เมื่อทำเสร็จแล้วใหจ้ บั คู่กบั เพือ่ นในกล่มุ ผลดั กนั อธบิ ายคำตอบท่ีตนคิดไดใ้ หเ้ พ่อื นท่เี ปน็ คู่ฟัง (นักเรียนอีกคู่ ก็ปฏิบตั เิ ช่นเดียวกนั ) ๓. นกั เรียนรวมกล่มุ เดิม (4 คน) ผลัดกนั อธบิ ายคำตอบของค่ตู นเองให้เพ่ือนอีกคู่หน่งึ ฟัง ๔. นกั เรยี นแต่ละกลุม่ ตรวจสอบและสรปุ คำตอบท่เี ป็นมตขิ องกลมุ่ ตนเอง ๕. นักเรยี นตอบคำถามกระตนุ้ ความคิด ๖. ตวั แทนของแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอใบงาน หน้าช้ันเรยี น ๗. นกั เรยี นกลุม่ อ่ืนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ ในส่วนทีบ่ กพร่อง ขั้นที่ ๓ ข้ันสรปุ ๑. นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปความรเู้ กี่ยวกบั การจำแนกอาหารหลกั ๕ หมู่ ๑๐. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ ๑) หนงั สือเรยี น สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สื่อเพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วัดผลและประเมนิ ผล วิธกี าร เคร่อื งมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ตรวจใบงาน ใบงาน (ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ) สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงาน รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ รายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน สงั เกตความมวี นิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ ตรงตอ่ แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เกณฑ์ เวลา ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น และมคี วามรบั ผดิ ชอบ เกณฑ์

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๑๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศกึ ษา รายวิชาสขุ ศกึ ษา หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๖ อาหารกับสขุ ภาพ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ เรอื่ ง การเลอื กกนิ อาหารที่เหมาะสม เวลา ๑ ชวั่ โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคัญ การเลือกรบั ประทานอาหารท่หี ลากหลายครบ ๕ หมู่ ในสัดสว่ นทเ่ี หมาะสมจะทำให้รา่ งกาย เจรญิ เตบิ โตและมีสุขภาพดี ๒.มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน พ ๔.๑ เหน็ คุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกัน โรคและการสร้างเสริมสมรรถภาพเพ่ือสขุ ภาพ ๓.ตัวชีว้ ดั ป.๓/๒ จำแนกอาหารหลัก ๕ หมู่ ๔.จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑.นกั เรยี นสามารถอธบิ ายการเลือกรับประทานอาหารทีห่ ลากหลายครบ ๕ หมู่ ในสดั สว่ นท่เี หมาะสมได้(K) ๒.นกั เรยี นรับประทานอาหารครบ ๕ หมู่ (P) ๓.มีความกระตือรือร้นและสนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ (A) ๕.สาระการเรยี นรู้ - การเลอื กกนิ อาหารทเ่ี หมาะสม - ความหลากหลายของชนิดอาหารในแต่ละหมู่ ๖.ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ทักษะด้านการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และทกั ษะในแก้ปญั หา ๒. ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผ้นู ำ

๗.สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ๑.ความสามารถในการสอ่ื สาร -ผู้เรยี นสามารถในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคดิ ความรคู้ วามเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของ ตนเองและแลกเปลยี่ นขอ้ มูลข่าวสารและประสบการณอ์ นั จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเอง และสงั คมและมีไวพรบิ ท่ีดีในการสื่อสาร ๒.ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ - ผูเ้ รยี นสามารถการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็นอย่างเป็นระบบมเี หตุผลและ สามารถ ตัดสินใจได้ ๓. ความสามารถทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้ - ผเู้ รียนนำความร้ทู ี่ได้รบั ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพและสามารถอยู่ร่วมกบั คนใน สังคมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปัญหา - ผูเ้ รียนสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆได้ด้วยตนเอง ๘.คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ -สบื ค้นข้อมูลเน้ือหาสาระทต่ี ้องการรู้ ๒. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน -มีความตงั้ ใจและพยายามในหนา้ ทที่ ่ีได้รบั มอบหมาย ๙.ขั้นจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ขัน้ ที่ ๑ สังเกต (วธิ สี อนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการสร้างความตระหนัก) ๑.นักเรียนตอบคำถามกระต้นุ ความคดิ ๒. ครูให้นักเรียนรวมกลุ่มเดมิ (จากแผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี ๑) จากนั้นครนู ำกรณีตัวอยา่ งมาเลา่ ใหน้ ักเรียนฟัง โอปอเปน็ เด็กนักเรยี นชน้ั ป.๓ ตอนเช้าโอปอจะชอบกนิ ข้าวเหนียวหมปู ้ิงทกุ วัน และจะไม่ยอมกนิ อาหารอย่างอนื่ เพราะไมช่ อบ และ คดิ วา่ การกินข้าวเหนียวหมปู ้งิ อร่อย และสะดวกมากทส่ี ดุ ต่อมาโอ ปอไมส่ บาย พ่อแม่พาไปหาหมอท่ีโรงพยาบาล หมอบอกว่าโอปอ ขาดสารอาหาร ๓. นกั เรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เห็นว่า จากกรณตี วั อย่างดงั กล่าว โอปอขาดสารอาหารจริงหรือไม่ เพราะเหตุ ใด ๔. ครูอธิบายให้นกั เรยี นทราบว่า การกินอาหารชนดิ เดมิ ซ้ำๆ ติดต่อกันเป็นเวลานาน จะส่งผลให้ร่างกายขาด สารอาหารอ่ืนๆ ท่จี ำเปน็ ต่อรา่ งกาย และทำให้เกดิ การสะสมสารพษิ จากอาหารชนิดนนั้ ๆ ไดอ้ ีกด้วย

ขน้ั ที่ ๒ วเิ คราะห์วจิ ารณ์ ๑. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั ศึกษาความรูเ้ ร่อื ง การเลือกกินอาหารที่เหมาะสม จากหนงั สือเรียนหรอื บทเรียน คอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite ๒. นักเรยี นแต่ละกลุ่มนำความรู้ทไี่ ดจ้ ากการศึกษามาวเิ คราะห์ กับกรณีตัวอย่างว่า โอปอควรจะเลอื ก รับประทานอาหารอย่างไร จึงจะทำใหร้ ่างกายได้รบั สารอาหารทจ่ี ำเปน็ ตอ่ ร่างกายอยา่ งครบถว้ น จากนนั้ รว่ มกันสรปุ ผลแล้วสง่ ตวั แทนกลุ่มนำเสนอผลงานหน้าชน้ั เรียน ๓. ครตู รวจสอบความถูกต้อง และเสนอแนะเพม่ิ เติมเกี่ยวกบั หลักการเลือกรบั ประทานอาหารทเี่ หมาะสม ข้ันท่ี ๓ ขนั้ สรปุ ๑. นกั เรยี นตอบคำถามกระต้นุ ความคดิ ๒. นักเรียนร่วมกันสรปุ ความรูเ้ ร่ือง การเลือกกนิ อาหารทเี่ หมาะสม จากนน้ั ครูอธิบายเพมิ่ เติม เพ่อื ให้นกั เรยี น นำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ถูกตอ้ ง ๓. ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะคนทำแบบฝกึ กจิ กรรมท่ี 2 ข้อที่ ๑ จากแบบวดั ฯ เปน็ การบ้าน เสร็จแล้วนำสง่ ครตู รวจ ๑๐. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ ๑) หนังสือเรียน สุขศกึ ษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สือ่ เพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วดั ผลและประเมนิ ผล วิธกี าร เครือ่ งมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น ตรวจใบงาน แบบทดสอบกอ่ นเรียน (ประเมนิ ตามสภาพจริง) สังเกตพฤตกิ รรมการทำงาน รายบุคคล ใบงาน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น สังเกตความมีวนิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ ตรงตอ่ เวลา รายบุคคล เกณฑ์ และมคี วามรับผิดชอบ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑๒ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา รายวชิ าสขุ ศกึ ษา หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๖ อาหารกบั สขุ ภาพ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ เรอ่ื ง ธงโภชนาการ เวลา ๑ ช่วั โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคัญ ธงโภชนาการ จะบอกชนดิ และปรมิ าณของอาหารท่ีคนไทยควรกนิ ในแตล่ ะวนั ซ่งึ ขน้ึ อยกู่ ับเพศ วยั และกิจกรรมท่ีทำ ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน พ ๔.๑ เหน็ คุณคา่ และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรงสขุ ภาพ การป้องกนั โรคและการสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ ๓.ตวั ช้วี ดั ป.๓/๓ เลือกกินอาหารท่ีหลากหลายครบ ๕ หมู่ ในสดั ส่วนทเ่ี หมาะสม ๔.จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๑.นักเรยี นสามารถบอกชนดิ และปริมาณของอาหารตามธงโภชนาการได้(K) ๒.นกั เรียนเลอื กรบั ประทานอาหารสัดส่วนและปริมาณของอาหาร (ตามธงโภชนาการ)ได้(P) ๓.มีความกระตอื รือร้นและสนใจเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ - การเลอื กกินอาหารท่ีเหมาะสม - สดั ส่วนและปริมาณของอาหาร (ตามธงโภชนาการ) ๖.ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ทักษะด้านการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และทักษะในแกป้ ัญหา ๒. ทักษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผ้นู ำ

๗.สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น ๑.ความสามารถในการสอื่ สาร -ผูเ้ รยี นสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ ความรสู้ กึ และทัศนะของ ตนเองและแลกเปล่ียนขอ้ มูลข่าวสารและประสบการณอ์ นั จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเอง และสงั คมและมีไวพรบิ ที่ดีในการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ - ผเู้ รียนสามารถการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคดิ เปน็ อย่างเปน็ ระบบมีเหตุผลและ สามารถ ตดั สินใจได้ ๓. ความสามารถทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้ - ผ้เู รียนนำความรทู้ ไ่ี ดร้ บั ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพและสามารถอยู่รว่ มกบั คนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปญั หา - ผูเ้ รียนสามารถแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคต่างๆไดด้ ้วยตนเอง ๘.คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ -สบื คน้ ข้อมลู เนือ้ หาสาระทตี่ ้องการรู้ ๒. มุ่งม่นั ในการทำงาน -มีความตงั้ ใจและพยายามในหน้าทท่ี ี่ไดร้ ับมอบหมาย ๙.ข้ันจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ ๑ กระตนุ้ ความสนใจ(วธิ สี อนแบบ สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ๑.นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคดิ ๒. ครูนำแผนภาพธงโภชนาการมาใหน้ กั เรยี นดู แลว้ รว่ มกันแสดงความคิดเห็นว่า ธงนีม้ ปี ระโยชน์อยา่ งไร ๓. ครอู ธบิ ายให้นกั เรียนเขา้ ใจวา่ หลกั การเลอื กรับประทานอาหาร นกั เรียนจะปฏบิ ตั ิได้ถกู ต้อง จะต้องอาศยั การศกึ ษาความรจู้ ากธงโภชนาการ จึงจะสามารถเลอื กรับประทานอาหารได้ครบและถกู ต้องตามสดั ส่วน นกั เรยี นคดิ ว่า อาหารประเภทใดท่จี ะต้องรบั ประทานใน ปริมาณทมี่ ากทส่ี ุด เพราะเหตุใด

ขน้ั ท่ี ๒ สำรวจค้นหา ๑. นกั เรียนรวมกลุม่ เดมิ (จากแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑) ร่วมกนั ศกึ ษาความรเู้ ร่ือง ธงโภชนาการ จากหนังสอื เรยี นหรือบทเรยี นคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ขั้นที่ ๓ อธิบายความรู้ ๑. นักเรียนแต่ละคนผลดั กันอธิบายความรู้ที่ไดจ้ ากการศึกษากับเพื่อนสมาชิกในกลมุ่ ผลดั กนั ซกั ถามข้อสงสยั จนทกุ คนมีความรู้ ความเข้าใจทีต่ รงกัน ขัน้ ท่ี ๔ ขยายความเข้าใจ ๑.ครใู ห้นกั เรียนแต่ละคนทำใบงานเร่อื ง ธงโภชนาการ เสร็จแล้วเกบ็ รวบรวมใบงานสง่ ครู ๒. นกั เรียนตอบคำถามกระตนุ้ ความคิด นกั เรียนจะทราบไดอ้ ย่างไรว่า การกนิ อาหาร ตามธงโภชนาการแลว้ จะเหมาะสม กบั ภาวะการเจรญิ เตบิ โต ข้ันท่ี ๕ ตรวจสอบผล ๑.ครตู รวจสอบความถกู ต้องของใบงาน ๒. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปความรเู้ ร่อื ง ธงโภชนาการ ๓. ครูให้นกั เรยี นแต่ละคนทำแบบฝึกกิจกรรมที่ ๒ ข้อ ๒ จากแบบวดั ฯ เปน็ การบ้าน เสรจ็ แล้วนำสง่ ครตู รวจ ๑๐. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ ๑) หนงั สือเรียน สุขศกึ ษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) ส่ือเพาเวอรพ์ อยท์ ๓) ใบงาน ๑๑.วัดผลและประเมนิ ผล เครื่องมอื เกณฑ์ วธิ กี าร แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (ประเมินตามสภาพจรงิ ) ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ตรวจใบงาน ใบงาน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤตกิ รรมการทำงาน รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม รายบุคคล เกณฑ์ สังเกตความมีวินยั ใฝ่เรียนรู้ ตรงต่อ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ น เวลา เกณฑ์ และมีความรบั ผิดชอบ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น เกณฑ์

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา รายวิชาสุขศกึ ษา หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๗ การดูแลฟันของเรา ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓ เร่ือง โครงสรา้ งของฟัน เวลา ๑ ช่วั โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคญั ฟันเป็นอวยั วะในช่องปากทม่ี คี วามสาคญั ฟันแต่ละซส่ี ามารถแบง่ ออกเป็นสว่ นต่างๆ ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคณุ คา่ และมีทกั ษะในการสร้างเสริมสขุ ภาพ การดำรงสขุ ภาพ การป้องกัน โรคและการสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ๓.ตัวชี้วดั ป.๓/๔ แสดงการแปรงฟันใหส้ ะอาดอย่างถูกวิธี ๔.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑.นักเรยี นสามารถอธิบายโครงสร้างของฟนั ได้ (K) ๒.นักเรียนปฏบิ ตั ติ นแปรงฟันได้อย่างถกู ต้องและถูกวิธี (P) ๓.มคี วามกระตือรอื รน้ และสนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ (A) ๕.สาระการเรยี นรู้ - โครงสรา้ งของฟัน ๖.ทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ๑. ทักษะด้านการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ และทกั ษะในแก้ปญั หา ๒. ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผนู้ ำ

๗.สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ๑.ความสามารถในการส่อื สาร -ผเู้ รยี นสามารถในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเขา้ ใจ ความรู้สึก และทศั นะของ ตนเองและแลกเปลี่ยนข้อมลู ข่าวสารและประสบการณอ์ ันจะเป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเอง และสังคมและมีไวพริบที่ดีในการสื่อสาร ๒.ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ - ผู้เรียนสามารถการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ และการคดิ เป็นอย่างเปน็ ระบบมเี หตผุ ลและ สามารถ ตดั สนิ ใจได้ ๓. ความสามารถทักษะการนำความรู้ไปใช้ - ผเู้ รียนนำความรทู้ ่ไี ดร้ ับไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพและสามารถอยู่รว่ มกบั คนใน สงั คมได้ ๔.ความสามารถในการแกป้ ญั หา - ผเู้ รยี นสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆได้ด้วยตนเอง ๘.คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ใฝเ่ รียนรู้ -สบื ค้นข้อมลู เนือ้ หาสาระท่ตี ้องการรู้ ๒. มงุ่ มั่นในการทำงาน -มีความตัง้ ใจและพยายามในหนา้ ทีท่ ่ีไดร้ ับมอบหมาย ๙.ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ ๑ ข้นั นำเขา้ สู่บทเรยี น (เทคนิคการต่อเรอ่ื งราว (Jigsaw) ๑.นักเรียนตอบคำถามกระตุน้ ความคิด ๒. ครูนำแบบจำลองฟนั มาให้นักเรยี นดู แล้วถามนกั เรยี นว่า สังเกตเหน็ อะไรในแบบจำลองฟนั บ้าง ๓. ครูเชอื่ มโยงเข้าสบู่ ทเรยี นเก่ยี วกับโครงสร้างของฟัน ฟนั มีความสำคัญอยา่ งไร

ขน้ั ท่ี ๒ ขัน้ สอน ๑. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กล่มุ ละ ๔ คน คละกันตามความ สามารถ คือ เกง่ ปานกลางคอ่ นข้างเกง่ ปานกลาง คอ่ นข้างอ่อน และอ่อน เรียกว่า กลมุ่ บ้าน แล้วให้สมาชกิ แตล่ ะคนเลือกหมายเลขประจำตวั ตง้ั แตห่ มายเลข ๑-๔ ๒. สมาชกิ ทีม่ ีหมายเลขเดียวกนั มารวมกนั เปน็ กลุ่มใหม่ เรยี กว่า กลุ่มผ้เู ช่ยี วชาญ แล้วรว่ มกนั ศกึ ษาความร้เู รื่อง โครงสร้าง ของฟัน จากหนังสือเรยี นหรอื บทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite ตามประเด็นที่ กำหนด ดงั น้ี - กลุ่มหมายเลข 1 ศกึ ษาความรู้เรอื่ ง โครงสร้างของฟัน : ชั้นเคลอื บฟัน - กลุม่ หมายเลข 2 ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง โครงสรา้ งของฟัน : ชั้นเนือ้ ฟนั - กลมุ่ หมายเลข 3 ศึกษาความรูเ้ รื่อง โครงสรา้ งของฟัน : ชัน้ โพรงประสาท - กลุม่ หมายเลข 4 ศกึ ษาความรู้เรือ่ ง โครงสรา้ งของฟัน : รากฟัน ๓. นักเรยี นกลมุ่ ผู้เชี่ยวชาญรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ หรืออภิปรายในประเด็นความรู้ แลว้ ซกั ถามข้อสงสยั จนได้ คำตอบ ที่ถูกต้องและเกิดความรู้ความเขา้ ใจ จากน้ันใหร้ ว่ มกนั สรุปประเดน็ ความรู้ ๔. นกั เรียนกลมุ่ ผูเ้ ชี่ยวชาญแต่ละกลุ่มกลบั เข้าสกู่ ลุ่มบ้านแลว้ นำความรู้เกีย่ วกับโครงสร้างฟันท่ศี กึ ษามาเลา่ ให้ เพือ่ นในกลมุ่ บา้ นฟงั จนเกดิ ความเข้าใจทต่ี รงกนั และสรปุ สาระสำคญั จดบนั ทกึ ลงในสมุด ๕. นกั เรยี นตอบคำถามกระตนุ้ ความคดิ ๖. ครูให้นกั เรยี นแตล่ ะคนทำใบงาน เรอ่ื ง โครงสรา้ งของฟนั เสร็จแล้วนำสง่ ครูตรวจ ขัน้ ท่ี ๓ ขน้ั สรปุ ๑. นักเรยี นและครรู ว่ มกันสรปุ ความรู้เร่ือง โครงสรา้ งของฟนั ๑๐. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ ๑) หนงั สือเรยี น สขุ ศึกษาและพลศึกษา ป.๓ ๒) สือ่ เพาเวอร์พอยท์ ๓) ใบงาน

๑๑.วัดผลและประเมินผล วิธกี าร เครอื่ งมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น ตรวจใบงาน แบบทดสอบก่อนเรียน (ประเมินตามสภาพจรงิ ) สังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบุคคล ใบงาน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน ระดับคุณภาพ 2 ผา่ น รายบุคคล เกณฑ์ สังเกตความมวี นิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ ตรงตอ่ เวลา แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน และมีความรบั ผิดชอบ เกณฑ์ แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา รายวชิ าสุขศึกษา หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๗ การดูแลฟันของเรา ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ เรือ่ ง อุปกรณใ์ นการแปรงฟันและการแปรงฟนั อย่างถูกวิธี เวลา ๑ ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑.สาระสำคญั การแปรงฟนั ใหส้ ะอาดอย่างถูกวธิ ี ควรเรม่ิ จากการเลือกใช้อุปกรณ์ในการแปรงฟันที่ถกู ต้อง ซึง่ จะทำให้ ฟนั แข็งแรง และมสี ุขภาพฟันดี ๒.มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน พ ๔.๑ เหน็ คณุ คา่ และมีทักษะในการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกนั โรคและการสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ ๓.ตัวชว้ี ัด ป.๓/๔ แสดงการแปรงฟันให้สะอาดอยา่ งถูกวิธี ๔.จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๑.นักเรยี นสามารถอธบิ ายการเลอื กอปุ กรณ์ในการแปรงฟันได้ (K) ๒.นักเรยี นปฏบิ ตั ติ นแปรงฟันได้อยา่ งถูกต้องและถูกวิธี (P) ๓.มีความกระตือรอื รน้ และสนใจเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้ (A) ๕.สาระการเรียนรู้ - การแปรงฟันใหส้ ะอาดอย่างถูกวธิ ี (ครอบคลุมบริเวณขอบเหงือกและคอฟัน) ๖.ทกั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ๑. ทักษะด้านการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และทักษะในแก้ปัญหา ๒. ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผ้นู ำ

๗.สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน ๑.ความสามารถในการสื่อสาร -ผเู้ รยี นสามารถในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคดิ ความรูค้ วามเขา้ ใจ ความรู้สึก และทศั นะของ ตนเองและแลกเปลี่ยนขอ้ มูลข่าวสารและประสบการณอ์ นั จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเอง และสงั คมและมีไวพริบท่ีดีในการส่ือสาร ๒.ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ - ผู้เรียนสามารถการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็นอยา่ งเปน็ ระบบมีเหตุผลและ สามารถ ตดั สินใจได้ ๓. ความสามารถทักษะการนำความรไู้ ปใช้ - ผู้เรยี นนำความรู้ท่ไี ด้รับไปใช้ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพและสามารถอยู่รว่ มกับคนใน สังคมได้ ๔.ความสามารถในการแก้ปญั หา - ผเู้ รยี นสามารถแก้ไขปัญหาและอปุ สรรคต่างๆได้ดว้ ยตนเอง ๘.คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ -สืบค้นข้อมลู เนือ้ หาสาระที่ตอ้ งการรู้ ๒. มุ่งมนั่ ในการทำงาน -มคี วามตงั้ ใจและพยายามในหนา้ ที่ท่ไี ด้รบั มอบหมาย ๙.ขน้ั จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นท่ี ๑ ขนั้ นำเขา้ สบู่ ทเรยี น (วธิ ีสอนแบบ กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์) ๑.ครเู ปดิ เพลงแปรงฟนั ให้นกั เรียนฟังและร้องตาม พร้อมกับ ทำทา่ ทางประกอบ ๒. ครูใหน้ ักเรียนเปรียบเทยี บวิธกี ารแปรงฟันของตนเองวา่ ตรงกบั เพลงท่ีครนู ำมาเปดิ ให้ฟังหรือไม่ ๓. ครูนำอปุ กรณ์ในการแปรงฟัน มาใหน้ กั เรียนดู แล้วอธบิ ายวิธกี ารเปลอื กแปรงสีฟันและยาสฟี นั ท่ถี ูกตอ้ งให้ นกั เรียนเข้าใจ ๔. นักเรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคิด นกั เรยี นมวี ิธเี ลอื กแปรงสฟี นั อยา่ งไรให้เหมาะสมกบั ช่องปากตนเอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook