Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทย พท21001 ม.ต้น

ภาษาไทย พท21001 ม.ต้น

Description: ภาษาไทย พท21001 ม.ต้น

Search

Read the Text Version

142 กิจกรรม บทที่ 5 หลกั การใชภ าษา กจิ กรรมที่ 1 ใหผูเรยี นแยกคาํ ตอ ไปน้อี อกเปน 3 ประเภท ตามตาราง ผลไม รัฐบาล อคั คภี ัย พลเรือน ศิลปกรรม รปู ธรรม วทิ ยาลัย มหาชน พระเนตร พุทธกาล นพเกา คหกรรม สัญญาณ นโยบาย ภมู ิศาสตร คําประสม คําสมาส คาํ สนธิ กิจกรรมที่ 2 ใหผเู รยี นพิจารณาประโยคตอไปนว้ี าเปนประโยคชนิดใด 1. วันนี้อากาศรอ นมาก 2. ฉนั ดใี จทเ่ี ธอมคี วามสขุ 3. พอ ซื้อนาฬิกาเรือนใหมใ หฉนั 4. พช่ี อบสีเขียวแตนอ งสาวชอบสฟี า 5. รายการราตรีสโมสรใหค วามบันเทิงแกผูช ม กจิ กรรมท่ี 3 ใหผ ูเรยี นฝก เขยี นอกั ษรยอ ประเภทตา ง ๆ นอกเหนือจากตัวอยา งทีย่ กมา กิจกรรมที่ 4 ใหผเู รยี นศกึ ษาและรวบรวมคําสภุ าพ และคาํ ราชาศพั ทท ่ใี ชแ ละพบเหน็ ในชีวิตประจําวัน กิจกรรมท่ี 5 ใหผ ูเ รยี นจับคสู าํ นวนใหตรงกบั ความหมาย 1. เกี่ยวโยงกันเปนทอด ๆ ก. ผักชโี รยหนา 2. หมดหนทางทจ่ี ะหนีได ข. จบั ปลาสองมือ 3. ทาํ ดีทสี่ ดุ เปน ครงั้ สุดทาย ค. ขม้นิ กับปูน 4. รนหาเรอื่ งเดอื ดรอน ง. แกวง เทาหาเสยี้ น 5. ทําดแี ตเ พียงผิวเผิน ฉ. จนตรอก 6. ไมดําเนินการตอ ไป ช. หญาปากคอก 7. นิง่ เฉยไมเ ดือดรอ น ซ. ท้ิงทวน 8. ทาํ อยา งลวก ๆ ใหพ อเสรจ็ ฌ. แขวนนวม 9. รูอะไรแลวพดู ไมได ญ. มวยลม

143 10. อยากไดส องอยา งพรอม ๆ กัน ฎ. ลอยแพ 11. ถกู ไลอ อก ปลดออก ฏ. หอกขางแคร 12. เรอ่ื งงาย ๆ ท่ีคิดไมถึง ฐ. พระอิฐพระปูน ฑ. สกุ เอาเผากิน ฒ. งกู ินหาง ณ. นาํ้ ทวมปาก กจิ กรรมที่ 6 ใหผูเ รยี นเขียนคาํ พงั เพยใหต รงกับความหมายท่กี าํ หนดให 1. ชอบโทษผอู ื่นโดยไมด ตู ัวเอง 2. ไมชวยแลว ยงั กดี ขวางผอู ื่น 3. การลงทนุ ไมค ุมคากับผลทไ่ี ดร บั 4. ชอบรอื้ ฟน เรอ่ื งเกา ๆ 5. เปนคนชอบสรุ ุยสุรา ย กิจกรรมที่ 7 ตอบคาํ ถามตอไปนี้สน้ั ๆ แตไดใ จความ 1. การแตงคาํ ประพันธตามหลักฉนั ทลกั ษณมีกป่ี ระเภท อะไรบา ง 2. บทประพันธต อไปนีเ้ ปนคําประพันธป ระเภทใด 2.1 ถงึ กลางวันสรุ ยิ นั แจมประจกั ษ ไมเ ห็นหนานงลักษณย่ิงมดื ใหญ ถงึ ราตรมี จี ันทรอ นั อาํ ไพ ไมเห็นโฉมประโลมใจใหมดื มน วิวาหพระสมทุ ร 2.2 ขึ้นกกตกทุกขย าก แสนลําบากจากเวียงชยั ผกั เผอื กเลือกเผาไฟ กินผลไมไดเ ปนแรง รอนรอนออนอัสดง พระสุรยิ งเยน็ ยอแสง แฝงเมฆเขาเงาเมธุธร ชว งดง่ั น้ํากริง่ แดง กจิ กรรมท่ี 8 ผูเรียนเขียนประโยคภาษาท่ีเปนทางการ และภาษาไมเ ปนทางการ อยา งละ 3 ประโยค ภาษาทเี่ ปนทางการ 1................................................................................... 2.................................................................................. 3................................................................................... ภาษาไมเ ปน ทางการ 1................................................................................... 2.................................................................................. 3...................................................................................

144 บทที่ 6 วรรณคดี และวรรณกรรม สาระสําคัญ การเรียนภาษาไทย ตองเรียนรูในฐานะเปนวัฒนธรรมทางภาษาใหเกิดความชื่นชม ซาบซึ้ง และภูมิใจในภาษาไทย โดยเฉพาะคุณคาของวรรณคดี และภูมิปญญาทางภาษาของบรรพบุรุษที่ได สรางสรรคไวอันเปนสวนเสริมความงดงามในชีวิต นอกจากนั้น วรรณคดีและวรรณกรรม ตลอดจน บทรองเลนของเด็ก เพลงกลอมเด็ก ปริศนาคาํ ทาย เพลงพ้ืนบาน วรรณกรรมพื้นบาน เปนสวนหนึ่ง ของวัฒนธรรมซ่ึงมีคุณคา การเรียนภาษาไทยจึงตองเรียนวรรณคดี วรรณกรรม ภูมิปญญาทางภาษา ที่ถายทอดความรูสึกนึกคิดทั้งรอยแกวและรอยกรองประเภทตาง ๆ เพ่ือใหเกิดความซาบซึ้งและ ความภมู ใิ จในส่ิงทบี่ รรพบุรษุ ไดส ่ังสมและสบื ทอดมาจนถงึ ปจ จบุ ัน ผลการเรียนรูทีค่ าดหวัง ผูเรยี นสามารถ 1. อธบิ ายความแตกตา งและคุณคาของวรรณคดี วรรณกรรมปจจุบันและวรรณกรรมทอ งถ่ิน 2. ใชหลักการพนิ ิจวรรณคดีและวรรณกรรม หลกั การพจิ ารณาวรรณคดีและวรรณกรรม ใหเ หน็ คุณคา และนาํ ไปใชในชวี ติ ประจําวัน 3. รอ งเลน หรอื ถา ยทอดเพลงพ้นื บา นและบทกลอมเด็กในทองถน่ิ ขอบขา ยเนือ้ หา เร่อื งที่ 1 หลกั การพจิ ารณาวรรณคดแี ละหลกั การพินิจวรรณกรรม เรอ่ื งท่ี 2 หลักการพินิจวรรณคดีดา นวรรณศลิ ปแ ละดา นสงั คม เรอ่ื งท่ี 3 เพลงพน้ื บา น เพลงกลอ มเด็ก

145 เรอ่ื งที่ 1 หลกั การพิจารณาวรรณคดีและหลกั การพนิ จิ วรรณกรรม กอนท่ีจะศึกษาถึงเร่ืองการพิจารณาวรรณคดีและการพินิจวรรณกรรม ตองทําความเขาใจ กับความหมายของคาํ วา วรรณคดีและวรรณกรรม เพื่อใหผูเรียนสามารถเขาใจในความหมายของคํา ท้ังสองนี้ ไดอยางชัดเจนโดย ม.ล.บุญเหลือ เทพยสุวรรณ (2514 : 58 - 133) ไดกลาวถึงความสัมพันธ และความแตกตา งระหวา งวรรณคดีและวรรณกรรมไว ดงั นี้ วรรณคดี ใชในความหมายวา วรรณกรรมหรอื หนงั สอื ทไี่ ดร บั การยกยองวาแตง ดี มวี รรณกรรมศลิ ป กลาวคือ มีลักษณะเดนในการใชถอยคําภาษาและเดนในการประพันธ ใหคุณคาทางอารมณและ ความรสู ึกแกผ อู า นสามารถใชเปน แบบฉบบั อางอิงได หนงั สอื ที่เปน วรรณคดสี ามารถบงบอกลักษณะได ดังน้ี 1. มีเน้อื หาดี มปี ระโยชนแ ละเปนสภุ าษติ 2. มีศิลปะการแตงท่ียอดเย่ียมท้ังดานศิลปะการใชคํา การใชโวหารและถูกตองตามหลัก ไวยากรณ 3. เปนหนังสอื ทีไ่ ดร บั ความนิยมและสืบทอดกันมายาวนานกวา 100 ป วรรณกรรม ใชในความหมายวา งานหนงั สอื งานนพิ นธท่ที ําข้ึนทุกชนดิ ไมวาแสดงออกมาโดย วิธีหรือในรูปอยางใด เชน หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน ส่ิงพิมพ ปาฐกถา เทศนา คําปราศรัย สุนทรพจน ส่งิ บันทึก เสียง ภาพ เปน ตน วรรณกรรมแบงออกเปน 2 ประเภท 1. สารคดี หมายถึง หนังสือที่แตงขึ้นเพ่ือใหความรู ความคิด ประสบการณแกผูอาน ซง่ึ อาจใชร ปู แบบรอ ยแกว หรอื รอ ยกรองก็ได 2. บันเทิงคดี คือ วรรณกรรมท่ีแตงข้ึนเพ่ือมุงใหความเพลิดเพลิน สนุกสนาน บันเทิง แกผ ูอาน จงึ มักเปน เร่อื งที่มเี หตกุ ารณและตวั ละคร การพินิจหรือการพิจารณาคุณคาของวรรณคดีหรือวรรณกรรม ไมวาจะเปนรอยแกวหรือ รอยกรองมีหลักการพิจารณากวา ง ๆ คลา ยกันคอื เราอาจจะต้งั คาํ ถามงา ย ๆ วางานประพันธชิน้ นนั้ หรือเร่อื งนัน้ ใหอ ะไรแกคนอานบาง ความหมาย การพินิจ คือ การพิจารณาตรวจตรา พรอมท้ังวิเคราะหแยกแยะและประเมินคาได ทั้งนี้ นอกจากจะไดประโยชนตอตนเองแลว ยังมีจุดประสงคเพื่อนาํ ไปแสดงความคิดเห็นและขอเท็จจริง ใหผูอ่ืนไดทราบดวย เชน การพินิจวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อเปนการแนะนําใหบุคคลท่ัวไปท่ีเปน ผูอานไดรูจักและไดทราบรายละเอียดที่เปนประโยชนในดานตาง ๆ เชน ใครเปนผูแตง เปนเรื่อง เก่ียวกับอะไร มีประโยชนตอใครบาง ทางใดบาง ผูพินิจมีความเห็นวาอยางไรคุณคาในแตละดาน สามารถนาํ ไปประยกุ ตใ หเ กิดประโยชนอ ยา งไรในชวี ติ ประจําวนั

146 แนวทางในการพินิจวรรณคดแี ละวรรณกรรม การพินิจวรรณคดีและวรรณกรรมมีแนวใหปฏิบัติอยางกวาง ๆ เพื่อใหครอบคลุมงานเขียน ทุกชนิดซึ่งผูพินิจจะตองดูวาจะพินิจหนังสือชนิดใด มีลักษณะเฉพาะอยางไรซึ่งจะมีแนวในการพินิจ ที่จะตอ งประยุกตห รอื ปรับใชใหเหมาะสมกับงานเขียนน้ัน ๆ หลักเกณฑก วาง ๆ ในการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม มดี งั นี้ 1. ความเปน มาหรอื ประวัตขิ องหนังสือและผแู ตง เพอื่ ชวยใหว เิ คราะหในสว นอืน่ ๆ ไดด ขี ้นึ 2. ลักษณะคาํ ประพนั ธ 3. เรอื่ งยอ 4. เน้ือเร่ือง ใหวิเคราะหเรื่องตามหัวขอตามลําดับ โดยบางหัวขออาจจะมีหรือไมมีก็ได ตามความจาํ เปน เชน โครงเรอ่ื ง ตัวละคร ฉาก วธิ กี ารแตง ลกั ษณะการเดนิ เร่อื ง การใชถ อ ยคาํ สํานวน ในเร่ือง การแตง วิธีคิดทส่ี รางสรรค ทัศนะหรอื มุมมองของผูเขยี น เปน ตน 5. แนวคิด จดุ มงุ หมาย เจตนาของผเู ขียนที่ฝากไวใ นเร่อื งซึง่ จะตอ งวิเคราะหอ อกมา 6. คณุ คา ของวรรณคดีและวรรณกรรม ซึง่ โดยปกตแิ ลว จะแบง ออกเปน 4 ดานใหญ ๆ และกวาง ๆ เพื่อความครอบคลุมในทุกประเด็น ซ่ึงผูพินิจจะตองไปแยกแยะหัวขอยอยใหสอดคลอง กับลกั ษณะหนังสือทจี่ ะพนิ จิ นน้ั ๆ ตามความเหมาะสมตอ ไป การอานวรรณคดีมรดกตองอานอยางพินิจจึงจะเห็นคุณคาของหนังสือ การอานอยางพินิจ หมายความวาอยา งไร การพินิจวรรณคดี คือ การอานวรรณคดีอยางใชความคิด ไตรตรอง กลั่นกรอง แยกแยะ หาเหตผุ ล หาสว นดี สว นบกพรอ งของหนังสือ เพ่ือจะไดป ระเมนิ คาของหนังสือนั้น ๆ อยางถูกตองและ มเี หตผุ ล การอา นหนงั สืออยางพนิ จิ พเิ คราะหม ีประโยชนต อชีวิตมาก เพราะผพู ินจิ วรรณคดี จะรจู ักเลอื ก รับประโยชนจ ากหนงั สอื และนาํ ประโยชนไ ปใชในชวี ิตของตนไดและความสามารถในการประเมนิ คาของ ผูพินิจวรรณคดีจะชวยใหผูพินิจเปนผูมีเหตุผล มีความยุติธรรม มีวิจารณญาณ การพินิจวรรณคดี ผูพ ินจิ ไมควรเอาความรสู กึ หรอื ประสบการณสว นตนมาเปน หลกั สาํ คญั ในการตัดสนิ วรรณคดี เพราะแตล ะคน ยอ มมีความรสู ึกและประสบการณต า งกนั หลกั การพินิจวรรณคดี การพินิจวรรณคดี เปนการแนะนาํ หนังสือในลักษณะของการวิเคราะหวิจารณหนังสือ อยางงาย ๆ โดยบอกเร่ืองยอ ๆ แนะนําขอดีขอบกพรองของวรรณคดี บอกชื่อผูแตง ประเภทของ หนังสือ ลักษณะการแตง เนื้อเรื่องโดยยอ ๆ คุณสมบัติของหนังสือ ดวยการวิจารณเกี่ยวกับเนื้อหา แนวคิด ภาษา คุณคา และขอคิดตาง ๆ ประกอบทัศนะของผูพินิจ ซึ่งเปนลักษณะของการชักชวน ใหผูอานสนใจหนังสือเลมนั้น การพินิจวรรณคดีเปนการศึกษาและวิเคราะหลักษณะของวรรณคดี เพอ่ื นํามาแนะนําใหเกดิ ความเขา ใจซาบซงึ้ อยา งแจมแจง

147 การพนิ จิ วรรณคดีมหี ลักการพนิ ิจกวาง ๆ 3 ดาน คือ 1. โครงสรา งของวรรณคดี 2. ความงดงามทางวรรณคดี 3. คุณคาของวรรณคดี ดา นที่ 1 โครงสรางของวรรณคดี การที่เราจะพนิ ิจวรรณคดเี รอื่ งใด เราจะตอ งพิจารณาวา เรื่องน้ันแตงดวยคําประพันธชนิดใด โครงเรอื่ งเนือ้ เรื่องเปน อยา งไร มแี นวคดิ หรอื สาระสําคัญอยางไร ตวั ละครมรี ปู ราง ลักษณะนิสัยอยางไร ฉากมคี วามหมายเหมาะสมกับเรื่องหรอื ไม และมีวิธีดาํ เนนิ เรือ่ งอยางไร ดานที่ 2 ความงดงามทางวรรณคดี วรรณคดีเปนงานที่สรางขึ้นอยางมีศิลปะ โดยเฉพาะการใชถอยคําเพื่อใหเกิดความไพเราะ ในอรรถรส ซึ่งเราจะพิจารณาไดจากการใชคํา มีทั้งการเลนคํา เลนอักษร พิจารณาไดจากการใช สํานวนโวหาร กวโี วหาร ซ่ึงจะดูจากการสรา งจันตภาพ ภาพพจน และพิจารณาจากการสรางอารมณ ในวรรณคดีส่งิ เหลานีเ้ ปนความงดงามทางวรรณคดที ัง้ น้นั ดา นท่ี 3 คุณคาของวรรณคดี มคี ณุ คาทางศีลธรรม ปญญา อารมณ วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร และวรรณศิลป เปน ตน โวหารภาพพจน การใชโ วหารภาพพจน คือ การใชถอยคําใหเกดิ ภาพโดยวิธกี ารเปรียบเทียบอยางมศี ลิ ปะ ภาพพจนมีหลายลกั ษณะ เชน อปุ มา อปุ ลกั ษณ อธพิ จน บคุ ลาธิษฐาน สทั พจน หรือการใชส ญั ลักษณ เปนตน อุปมา คือ การเปรียบเทียบเพื่อทําใหเห็นภาพหรือเกิดความรูสึกชัดเจน จึงตองนําสิ่งอื่นท่ีมี ลักษณะคลา ยคลงึ กนั มาชวยอธิบาย หรือเช่ือมโยงความคิดโดยมีคํามาเช่ือม ไดแก เหมือน เสมือน ดุจ เลห  เฉก ดัง กล เพียง ราว ปูน ฯลฯ อปุ ลักษณ เปน การเปรียบเทยี บทล่ี กึ ซึ้งกวาอปุ มา เพราะเปนการเปรียบส่ิงหน่งึ เปน สงิ่ หนึง่ มาก จนเหมอื นกบั เปนส่งิ เดยี วกนั โดยใชคาํ วา “ เปน กับ คือ ” มาเช่อื มโยง ตัวอยาง “แมเ ปนโสมสอ งหลา” “สุจรติ คอื เกราะบังศาสตรพอง” โวหารอธพิ จน เปน โวหารทกี่ วกี ลาวเกนิ จริง เพอื่ ตอ งการท่ีจะเนนใหความสําคัญและอารมณ ความรสู ึกทีร่ ุนแรง เชน ถงึ ตอ งงาวหลาวแหลนสกั แสนเลม ใหตดิ เตม็ ตัวฉุดพอหลุดถอน แตต องตาพาใจอาลยั วอน สดุ จะถอนทง้ิ ขวางเสยี กลางคัน (นริ าศวดั เจาฟา สนุ ทรภู)

148 บุคลาธิษฐาน เปน โวหารที่นําส่ิงไมมีชีวิต หรือส่ิงท่ีเปนนามธรรม มากลาวเหมือนเปนบุคคล ทมี่ ีชวี ิต เชน เพชรนา้ํ คางหลนบนพรมหญา เย็นหยาดฟา พาฝนหลงวนั ใหม เคลา เคลียหยอกดอกหญา อยางอาลัย เมือ่ แฉกดาวใบไผไหวตะวัน โวหารสัทพจน หมายถงึ โวหารที่เลยี นเสียงธรรมชาติ เชน ทง้ั กบเขยี ดเกรยี ดกรดี จ้งิ หรดี เรือ่ ย พระพายเฉือ่ ยฉวิ ฉวิ วะหววิ หวาม การสรา งอารมณ ความงามดานอารมณ เม่ือเราอานวรรณคดี จะเห็นวาเรามีความรูสึกหรืออารมณรวมไปกับ เร่ืองตอนนัน้ ๆ ดวย เชน สงสาร โกรธ ชิงชงั นั่นแสดงวา กวไี ดส รางอารมณใ หเ รามีความรูสึกคลอยตาม ซง่ึ เปน ความงามอยา งหน่ึงในวรรณคดี กวจี ะสอดแทรกความคิดออกมาในรูปของความรัก ความภาคภูมิใจ ความเศราสลดใจ และมีการเลือกสรรคําประพันธใหเหมาะสมกับเน้ือเร่ือง การที่กวีใชถอยคําใหเกิด ความงามเกิดอารมณทําใหเราไดรับรสวรรณคดีตา ง ๆ รสวรรณคดี รสวรรณคดีของไทยเปนลีลาของบทประพันธอยางหน่ึง คือ การใชภาษาไทยใหเหมาะสม แกเนอื้ ความของเรือ่ ง กลา วคือ แตงบทประพันธต ามรสบทประพันธไทยหรือรสวรรณคดไี ทยซึ่งมี 4 รส คอื 1. เสาวรจนี เปนบทพรรณนาความงามของสถานท่ี ธรรมชาติ ชมนาง เชน “ตาเหมือนตามฤคมาศพศิ ควิ้ พระลอราช ประดุจแกวเกาทัณฑ กงนา พิศกรรณงามเพริศแพรว กลกลิ่นบงกชแกว อกี แกมปรางทอง เปรียบนา” 2. นารปี ราโมทย เปน บทเกยี้ วพาราสี แสดงความรกั ใคร เชน “เจางามปลอดยอดรักของพลายแกว ไดมาแลวแมอ ยา ขบั ใหก ลบั หนี พส่ี ตู ายไมเสยี ดายแกชวี ี แกว พี่อยา ไดพ ร่าํ รําพนั ความ พผี่ ิดพ่ีกม็ าลแุ กโ ทษ จงคลายโกรธแมอ ยาถือวา หยาบหยาม พช่ี มโฉมโลมลูบดว ยใจงาม ทรามสวาทด้นิ ไปไมไ ยดี” 3. พโิ รธวาทงั เปน บทโกรธ บทตัดพอตอ วา เหนบ็ แนม เสียดสี หรอื แสดงความเคยี ดแคน เชน ผันพระกายกระทบื พระบาทและองึ พระศพั ทส ีหนาทพงึ สยองภัย เอออเุ หมนะมึงชชิ างกระไร ททุ าสสถุลฉะน้ไี ฉนกม็ าเปน 4. สัลลาปงคพิสัย เปน บทแสดงความโศกเศรา ครํา่ ครวญ อาลัยอาวรณ เชน เคยหมอบใกลไ ดก ลิ่นสุคนธต ลบ ละอองอบรสรื่นชนื่ นาสา สิ้นแผน ดินส้นิ รสสคุ นธา วาสนาเรากส็ ้ินเหมอื นกลนิ่ สคุ นธ (สนุ ทรภู)

149 หลักการและแนวทางการพจิ ารณาวรรณคดี การพิจารณาวรรณคดี คือ การแสดงขอคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีเลมใดเลมหน่ึงอยางส้ัน ๆ โดยมีเจตนาจะแนะนําวรรณคดีน้ันใหผูอานรูจักวามีเนื้อเรื่องอยางไร มีประโยชนมีคุณคาอยางไร ผูพิจารณามีความคิดเห็นอยางไรตอวรรณคดีเรื่องน้ัน ๆ ชอบหรือไมชอบ เพราะเหตุใด มีลักษณะ การวจิ ารณวรรณกรรม หลักการพิจารณาวรรณคดี 1. แยกองคประกอบของหนังสือหรือวรรณคดีทีจ่ ะวิจารณใหได 2. ทําความเขาใจองคประกอบทแ่ี ยกออกมาใหแ จมแจง ชดั เจน 3. พิจารณาหรอื วิเคราะหหนงั สือหรือวรรณคดี ตามหวั ขอ ตอ ไปน้ี 3.1 ประวัตคิ วามเปนมาและประวตั ิผูแตง 3.2 ลักษณะการประพันธ 3.3 เรือ่ งยอ 3.4 การวิเคราะหเรือ่ ง 3.5 แนวคิดและจดุ มงุ หมายในการแตง 3.6 คุณคา ดา นตา ง ๆ การพินจิ คณุ คา วรรณคดแี ละวรรณกรรมมี 4 ประเดน็ ดงั น้ี 1. คุณคาดานวรรณศิลป คือ ความไพเราะของบทประพันธซึ่งอาจจะเกิดจากรสของคํา ที่ผูแตงเลอื กใชและรสความไพเราะที่ใหความหมายกระทบใจผูอา น 2. คุณคาดานเน้ือหา คือ การใหความรูสึกในดานตาง ๆ ใหคุณคาทางปญญาและความคิด แกผูอ าน 3. คุณคาดานสังคม วรรณคดีและวรรณกรรมสะทอนใหเห็นภาพของสังคมในอดีต และวรรณกรรมที่ดสี ามารถจรรโลงสงั คมไดอีกดว ย 4. การนาํ ไปประยุกตใชในชีวิตประจาํ วัน เพ่ือใหผูอานไดประจักษในคุณคาของชีวิต ไดความคิดและประสบการณจ ากเรอื่ งทอ่ี าน และนําไปใชในการดําเนินชวี ิต นําไปเปนแนวปฏิบตั หิ รือ แกป ญหารอบ ๆ ตวั เรอื่ งท่ี 2 หลกั การพนิ ิจวรรณคดีดา นวรรณศลิ ปแ ละดานสังคม ความหมายของวรรณคดีมรดก วรรณคดีมรดก หมายถึง วรรณคดีที่บรรพบุรุษสรางไวและเปนท่ีนิยมตกทอดเรื่อยมาจนถึง ปจจุบนั วรรณคดมี รดกของไทยน้นั มักจะแสดงภาพชีวิตของสังคมในสมัยท่ีเกิดวรรณคดี ขณะเดียวกัน

150 กจ็ ะแทรกแนวคิด ปรชั ญาชวี ิตดว ยวธิ ีอันแยบยลจนทาํ ใหผูอานเกิดอารมณสะเทือนใจ มีความรูสึกรวม ไปกบั กวีดวย คุณคา ของวรรณคดมี รดก วรรณคดมี รดกนั้นมคี ณุ คามาก ทงั้ ทางดานประวตั ศิ าสตร สงั คม อารมณ คติสอนใจและคุณคา ทางวรรณศลิ ปหรอื จะพดู วา วรรณคดีมรดกเปน ทรัพยสนิ ทางปญญาทตี่ กทอดเปนสมบัติทางวัฒนธรรม ของชาติซ่ึงบรรพบุรุษไดอุตสาหะสรางสรรคข้ึนดวยอัจฉริยภาพ เพราะการอานวรรณคดีมรดกทําให ทราบเหตกุ ารณต า ง ๆ ทป่ี ระทับใจบรรพบรุ ษุ สงั คม สภาพชีวติ ความเปนอยูของคนไทยในชุมชนน้ัน ๆ วามีลกั ษณะอยางไรเหมอื นหรือแตกตา งจากสงั คมปจจบุ ันอยา งไร มกี ลวธิ ีในการใชถ อ ยคําโวหารอยา งไร จึงทาํ ใหเ รารว มรับรอู ารมณนน้ั ๆ ของกวี นอกจากนี้วรรณคดีมรดกมีคุณคาเปนเครื่องเชิดชูความเปนอัจฉริยะของชาติ ชวยสะทอนถึง บุคลิกลักษณะประจําชาติ และชวยทําใหคนในชาติรูเรื่องราวในอดีตและคุณคาที่สําคัญก็คือ คุณคา ทางดา นอารมณแ ละดานความงาม ความไพเราะ เพราะเกิดการอานวรรณคดีมรดกจะทําใหเราไดรับ ความเพลิดเพลินในเนื้อหาและรสศิลปะแหงความงาม ความไพเราะดานอักษรศิลปไปพรอมกัน ชว ยสงเสริมจติ ใจผอู านใหรักสวยรกั งาม เขา ใจหลกั ความจรงิ ในโลกมนษุ ยย ิ่งขน้ึ วรรณคดีมคี ณุ คาแกผูอานหลายประการ คือ 1. ทําใหผอู านเกิดอารมณคลอ ยตามกวี เชน สนกุ เพลดิ เพลิน ดีใจ เศราใจ ขบขัน เปน ตน 2. ทําใหผูอา นเกดิ สติปญ ญา เราจะไดข อคดิ คติ หลกั การดาํ เนินชวี ติ ในวรรณคดีชว ยยกระดบั จิตใจใหส งู ขึน้ การอานวรรณคดที ําใหเ กดิ ความเฉลียวฉลาดและเกิดปญ ญา 3. ทําใหไดรบั ความรใู นดานตาง ๆ เชน ประวตั ิศาสตร ตาํ นาน ภูมศิ าสตร ภาษา ประเพณี ความเชอ่ื ในสมยั ท่ีแตงวรรณคดีนนั้ ๆ 4. ทาํ ใหเ ขา ใจสภาพสังคมวัฒนธรรมของบรรพบุรุษท่ีกวีไดนํามาเขียนสอดแทรกไวทําใหเรา เขาใจและสามารถเปรยี บเทยี บสงั คมในวรรณคดีกับปจ จุบนั ได ลกั ษณะเดนของวรรณคดีไทย จาํ แนกเปน ขอ ๆ ดังน้ี 1. นิยมแตง หนงั สอื หรอื การแตง วรรณคดดี ว ยคาํ ประพนั ธร อยกรองมากกวารอยแกว เปน บทกลอน ลกั ษณะภาษากาพยกลอนทีม่ ีสมั ผสั คลองจองสอดคลองกับลกั ษณะนสิ ัยของคนไทย แมภาษาพูดก็มีลลี า เปนรอยกรองแบบงาย ๆ เชน หมอ ขาวหมอแกง ขา วยากหมากแพง ขนมนมเนย ในนํา้ มปี ลาในนามขี า ว ชกั น้ําเขาลึก ชกั ศึกเขาบา น เปน ตน 2. เนนความประณีตของคําและสํานวนโวหาร ภาษาท่ีใชวรรณคดีไมเหมือนภาษาพูดทั่วไป คอื เปน ภาษาท่ีมีการเลือกใชถอ ยคาํ ตกแตงถอ ยคาํ ใหหรูหรา มกี ารสรางคาํ ท่มี คี วามหมายอยา งเดยี วกนั ทเี่ รยี กวา คําไวพจน โดยใชร ปู ศัพทต าง ๆ กนั เพอื่ มใิ หเ กิดความเบ่อื หนา ยจาํ เจ เชน ใชคําวา ปกษา ปก ษี สกุณา สกณุ ี ทวิช แทนคําวา “นก” ใชคําวา กญุ ชร คช ไอยรา หัตถี กรี แทนคาํ วา “ชาง”

151 นอกจากน้ันยังมีการใชภาษาสัญลักษณ เชน ใชคํา ดวงจันทร บุปผา มาลี เยาวมาลย แทน คาํ วา “ผหู ญงิ ” 3. เนนการแสดงความรูสกึ สะเทอื นอารมณจ ากการราํ พนั ความรสู กึ ตัวละครในเรื่องจะรําพัน ความรสู ึกตา ง ๆ เชน รัก เศรา โกรธ ฯลฯ เปน คํากลอนยาวหลายคาํ กลอน ตัวอยางอเิ หนาคร่ําครวญถงึ นางบษุ บาทถ่ี กู ลมหอบไป ดงั น้ี เม่ือนัน้ พระสรุ ยิ ว งศอสัญแดหวา ฟนองคแลวทรงโศกา โอแ กวแววตาของเรยี มเอย ปานฉะน้จี ะอยูแหงใด ทําไฉนจึงจะรูนะอกเอย ฤาเทวาพานอ งไปชมเชย ใครเลยจะบอกเหตรุ า ยดี สองกรพระคอนอรุ ารํา่ ชะรอยเวรกรรมของพ่ี ไดส มนองแตสองราตรี ฤามง่ิ มารศรมี าจากไป พระยิ่งเศรา สรอ ยละหอยหา จะทรงเสวยโภชนาก็หาไม แตครวญคราํ่ กาํ สรดระทดใจ สะอน้ื ไหโศกาจาบัลย (อิเหนา สํานวนรชั กาลท่ี 2) 4. มีขนบการแตง คือ มีวิธีแตงท่ีนิยมปฏิบัติแนวเดียวกันมาแตโบราณ ไดแก ข้ึนตนเรื่อง ดวยการกลา วคําไหวค รู คือ ไหวเ ทวดา ไหวพ ระรัตนตรยั ไหวค รบู าอาจารย สรรเสริญพระเกยี รติคณุ ของ พระมหากษตั ริย หรือกลาวชมบา นชมเมือง 5. วรรณคดีไทยมเี นือ้ หาเก่ียวกบั ชนช้นั สงู มากกวา คนสามัญ ตัวละครเอกมักเปนกษัตริยและ ชนช้นั สงู 6. แนวคิดสาํ คญั ที่พบในวรรณคดีไทยโดยทั่วไปเปน แนวคดิ แบบพทุ ธปรัชญางาย ๆ เชน แนวคิด เรอื่ งทําดไี ดด ี ทาํ ช่วั ไดชั่ว ความไมเทีย่ งตรงของสรรพสิง่ อนิจจัง ความกตญั ู ความจงรกั ภักดี ความรัก และการพลดั พราก เปน ตน 7. เนือ้ เรื่องท่รี บั มาจากวรรณกรรมตางชาตจิ ะไดร ับการดัดแปลงใหเขากบั วัฒนธรรมไทย 8. ในวรรณคดีไทยมลี กั ษณะเปนวรรณคดีสําหรับอาน เน่ืองจากมีการพรรณนาความยืดยาว ใหรายละเอยี ดตาง ๆ เพื่อใหผูอานไดภาพชัดเจน เนนความไพเราะของคํา ดังน้ัน เม่ือจะนําไปใชเปน บทแสดงจะตอ งปรับเปลีย่ นเสยี ใหมเพอ่ื ใหก ระชับขน้ึ 9. ในวรรณคดีไทยมีบทอัศจรรยแทรกอยูดวย เร่ืองของความรักและเพศสัมพันธ เปนธรรมชาตอิ ยางหน่งึ ของมนษุ ย กวไี ทยไมนิยมกลาวตรงไปตรงมา แตจะกลา วถึงโดยใชกลวิธกี าร เปรียบเทียบหรอื ใชส ญั ลักษณแ ทน เพื่อใหเ ปน งานทางศลิ ปะมิใชอ นาจาร 10. วรรณคดไี ทยมักแทรกความเชื่อ คานิยมของไทยไวเสมอ ลักษณะตาง ๆดังกลาวมาขางตน นับเปนลักษณะเดนของวรรณคดีไทยซึ่งผูเรียน ควรเรียนรแู ละเขา ใจเพื่อจะอานวรรณคดไี ทยไดอยางซาบซง้ึ ตอ ไป

152 การอานวรรณคดเี พือ่ พิจารณาคุณคา ดานวรรณศลิ ป วรรณศิลป มีความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 วา ศิลปะ ในการแตงหนงั สอื ศลิ ปะทางวรรณกรรม วรรณกรรมท่ถี งึ ข้ันวรรณคดี หนงั สอื ทไ่ี ดร บั การยกยองวา แตง ดี จากความหมายนี้ การพิจารณาคุณคาดานวรรณศิลปตองศึกษาตั้งแตการเลือกชนิด คาํ ประพันธใหเหมาะสมกับประเภทงานเขียน ถูกตองตรงความหมาย เหมาะกับบุคคลหรือตัวละคร ในเรื่องและรสวรรณคดี การรูจักตกแตงถอยคําใหไพเราะสละสลวยอันเปนลักษณะเฉพาะภาษากวี และทําใหผูอานเกิดความสะเทอื นอารมณ ภาษากวีเพื่อสรา งความงดงามไพเราะแกบ ทรอ ยแกวรอยกรองนั้น มีหลักสําคัญท่ีเกี่ยวของกัน 3 ดา น ดังนี้ 1. การสรรคาํ 2. การเรยี บเรยี งคํา 3. การใชโวหาร การสรรคํา คือ การเลือกใชคําใหส่ือความคิด ความเขาใจ ความรูสึกและอารมณไดอยาง งดงามโดยคาํ นึงถึงความงามดานเสียง โวหาร และรูปแบบคําประพันธ การสรรคาํ ทําได ดังนี้ การเลือกคาํ ใหเหมาะแกเ น้ือเรอื่ งและฐานะของบคุ คลในเรือ่ ง การใชคําใหถ ูกตองตรงตามความหมาย การเลอื กใชค ําพองเสยี ง คําซาํ้ การเลือกใชคาํ โดยคํานึงถงึ เสียงสมั ผัส การเลอื กใชคําเลยี นเสยี งธรรมชาติ การเลอื กใชคาํ ไวพจนไดถ ูกตอ งตรงตามความหมาย การเรียบเรยี งคํา คือ การจัดวางคําท่ีเลือกสรรแลว ใหม าเรยี บเรยี งกนั อยางตอ เนื่องตามจงั หวะ ตามโครงสรางภาษาหรือตามฉนั ทลักษณ ซ่ึงมหี ลายวธิ ี เชน จดั ลําดบั ความคดิ หรอื ถอยคาํ จากส่ิงสาํ คญั จากนอ ยไปหามาก จนถงึ สิ่งสาํ คัญสงู สุด จดั ลําดับความคดิ หรอื ถอ ยคําจากสิ่งสําคญั นอ ยไปหามาก แตก ลับหักมมุ ความคิดผูอา น เม่อื ถึงจดุ สุด จัดลําดับคําใหเปนคาํ ถามแตไมตอ งการคําตอบหรอื มีคําตอบอยใู นตวั คําถามแลว เรยี งถอ ยคาํ เพอ่ื ใหผ ูอานแปลความหมายไปในทางตรงขา มเพื่อเจตนาเยาะเยย ถากถาง เรียงคําวลี ประโยคท่มี คี วามสาํ คญั เทา ๆ กัน เคียงขนานกันไป การใชโ วหาร คือ การใชถ อ ยคําเพ่ือใหผอู า นเกิดจนิ ตภาพ เรยี กวา “ภาพพจน” ซ่ึงมีหลายวิธี ทค่ี วรรจู กั ไดแ ก อุปมา คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งวาเหมือนกับส่ิงหนึ่งโดยมีคําเปรียบปรากฏอยู ดวยคําเปรยี บเทียบเหลาน้ไี ดแก เหมอื น ดุจ เลห  เฉก ดัง กล เพียง ราว ปูน อุปลักษณ คือ การเนนความหมายวา สิ่งหนึ่งเหมือนกับส่ิงหน่ึงมากจนเหมือนกับ เปนสิง่ เดยี วกนั โดยใชคาํ วา เปน กบั คอื เชน “แมเปน โสมสองหลา ” “สจุ รติ คอื เกราะบงั ศาสตรพ อง”

153 การพิจารณาวรรณคดีดา นสังคม สังคม คือ ชนชาติและชุมชนที่อยูรวมกันภายใตการปกครองในกรอบวัฒนธรรมเดียวกัน วรรณคดีเปนเหมือนกระจกเงาท่ีสะทอนใหผูอานสามารถมองเห็นชีวิตความเปนอยู คานิยมและ จริยธรรมของคนในสังคมที่วรรณคดีไดสะทอนภาพไวทาํ ใหเขาใจชีวิต เห็นใจความทุกขยากของ เพ่อื นมนุษยดวยกนั ชัดเจนขึน้ ดังนั้นการพิจารณาวรรณคดีดานสังคมจะตองมีเน้ือหา ภูมิปญญาที่เก่ียวกับวัฒนธรรมหรือ จริยธรรมของสังคมใหมีสวนกระตุนจิตใจของผูอานใหเขามามีสวนชวยเหลือในการจรรโลงโลกหรือ พัฒนาสงั คมไทยรวมกนั โดยพิจารณาตามหวั ขอ ดงั น้ี 1. การแสดงออกถงึ ภูมปิ ญ ญาและวัฒนธรรมของชาติ 2. สะทอ นภาพความเปนอยู ความเชือ่ คา นยิ มในสังคม 3. ไดค วามรู ความบันเทงิ เพลิดเพลนิ อารมณไปพรอ มกนั 4. เนือ้ เรอื่ งและสาระใหแงค ิดทง้ั คุณธรรมและจริยธรรมในดานการจรรโลงสงั คม ยกระดับ จติ ใจเหน็ แบบอยางการกระทําของตัวละครท้งั ขอดีและขอ ควรแกไ ข จากการพิจารณาตามหัวขอขางตนน้ีแลว การพิจารณาคุณคาวรรณคดีดานสังคมใหพิจารณา โดยแบง ออกได 2 ลักษณะใหญ ๆ ดงั นี้ ดานนามธรรม ไดแ ก ความดี ความชัว่ คานยิ ม จรยิ ธรรมของคนในสังคม เปนตน ดานรูปธรรม ไดแก สภาพความเปน อยู วถิ ชี วี ติ การแตง กายและการกอสรางทางวัตถุ เปนตน กิจกรรม บทท่ี 6 วรรณคดีและวรรณกรรม 1. ใหผเู รียนตอบคําถามตอ ไปน้ี 1.1 บอกความหมายของการพินิจได .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 1.2 บอกหลกั เกณฑใ นการพินิจวรรณคดไี ด .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2. ใหผูเรียนอานหนังสือวรรณคดีที่กําหนดใหศึกษาแลวพิจารณาวรรณคดีแตละเร่ือง ในดา นวรรณกรรมศลิ ป และดา นสงั คม แตละเรอ่ื งใหส าระขอ คดิ ในการดาํ เนนิ ชีวิตอยางไรบา ง ไดแกเรอ่ื ง 1.1 สามกก 1.2 ราชาธริ าช

154 1.3 กลอนเสภาขุนชา งขุนแผน 1.4 กลอนบทละครเรอ่ื งรามเกยี รติ์ คณุ คา ที่ไดรบั จากเร่อื ง.............................................. ดา นวรรณศลิ ป 1. การสรรคํา .................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2. การเลนซ้าํ คาํ .................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3. การหลากคํา หรอื คาํ ไวพจน .................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ดา นสงั คม 1. วัฒนธรรมและประเพณี .................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 2. การแสดงสภาพชีวติ ความเปน อยูแ ละคานยิ มของบรรพบรุ ุษ .................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3. การเขาใจธรรมชาติของมนษุ ย .................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 4. เปน หลักฐานทางประวัตศิ าสตร .................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... 5. การสอดแทรกมมุ มองของกวี .................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

155 เรอ่ื งท่ี 3 เพลงพืน้ บาน เพลงกลอมเด็ก ความหมายของเพลงพน้ื บา น เพลงพ้ืนบาน คือ บทเพลงท่ีเกิดจากคนในทองถ่ินตาง ๆ คิดรูปแบบการรอง การเลนข้ึน เปนบทเพลงท่มี ีทวงทาํ นอง ภาษาเรียบงา ยไมซบั ซอ น มุง ความสนุกสนานร่นื เริง ใชเ ลน กนั ในโอกาสตาง ๆ เชน สงกรานต ตรุษจีน ลอยกระทง ไหวพระประจําป หรือแมกระทั่งในโอกาสท่ีไดมาชวยกันทํางาน รว มมือรวมใจเพ่ือทาํ งานอยา งหนึง่ อยา งใด เชน เก่ยี วขาว นวดขาว เปน ตน ประวตั คิ วามเปน มาของเพลงพนื้ บา น เพลงพื้นบานในประเทศไทยมีมาแตโบราณไมปรากฏหลกั ฐานแนช ัดวา มขี น้ึ ในสมัยใด เปน สิง่ ท่ี เกิดข้นึ เปนปกติวสิ ัยของคนในสังคมจึงมผี เู รียกวา เพลงพื้นบาน เปนเพลงนอกศตวรรษ เปนเพลงนอก ทําเนียบบาง เพราะหลักฐานทางประวัติศาสตร วรรณคดี และความรูทุกแขนงในประเทศไทยไมได อางถงึ หลกั ฐานเกี่ยวกบั การเลนเพลงพืน้ บา นมีปรากฏในสมยั อยธุ ยา ซง่ึ ท่ีพบคอื เพลงเรอื เพลงเทพทอง สวนในสมัยรัตนโกสินทร มีช่ือเพลงพ้ืนบานปรากฏอยูในจารึกวัดโพธ์ิและในวรรณคดีตาง ๆ สมัยตน รัตนโกสินทรท่ีปรากฏชื่อคือ เพลงปรบไก เพลงเรือ เพลงสักวา แอวลาว ไกปา เกี่ยวขาว ตั้งแตสมัย รชั กาลท่ี 5 เปน ตนมา ปรากฏหลักฐานแนชัดวามีการเลนเพลงเรือสักวา เพลงพ้ืนบานของไทยเราน้ัน มมี าแตชานานแลว ถายทอดกนั โดยทางมุขปาฐะ จาํ ตอ ๆ กนั มาหลายชั่วอายคุ น เช่อื กันวา มีกําเนิดกอน ศิลาจารึกพอขุนรามคาํ แหงมหาราชเสียอีก ตอมาคอยมีชื่อเสียง มีแบบสัมผัสคลองจองทวงทํานองไป ตามภาษาถิ่นน้ัน ๆ ในการขับรองเพื่อความบันเทิงตาง ๆ จะมีจังหวะดนตรีทองถิ่นเขามาและมี การรองรําทําเพลงไปดวย จึงเกิดเปนระบําชาวบาน เพลงพ้ืนบานใชรองรําในงานบันเทิงตาง ๆ มีงาน ลงแขก เกีย่ วขา ว ตรษุ สงกรานต ตอ มาในสมยั กรงุ รัตนโกสินทร เปน สมยั ทม่ี ีหลกั ฐานเกยี่ วกบั เพลงพน้ื บานชนิดตาง ๆ มากท่ีสุด ตั้งแตสมยั รชั กาลท่ี 1 ถึงรชั กาลที่ 5 เปน ยุคทองของเพลงพื้นบานท่ีเปนเพลงปฏิพากย รองโตตอบกัน เชน เพลงฉอย เพลงอีแซว เพลงสงเคร่ือง หรือเพลงทรงเคร่ือง หลังรัชกาลท่ี 5 อิทธิพลวัฒนธรรม ตะวันตกทําใหเกิดเพลงไทยสากลข้ึน เพลงพ้ืนบานจึงเริ่มหมดความนิยมลงทีละนอย ๆ ปจจุบัน เพลงพื้นบานไดรับการฟนฟูบางจากหนวยงานท่ีเห็นคุณคาแตก็เปนในรูปของการอนุรักษไวเทานั้น ปญ หาเนื่องมาจากขาดผสู นใจสืบทอดเพลงพืน้ บานจึงเส่อื มสูญไปพรอม ๆ กบั ผเู ลน ลักษณะของเพลงพ้นื บา น โดยท่วั ไปแลว เพลงพื้นบา นจะมีลกั ษณะเดน ๆ เปน ทส่ี ังเกตไดค อื 1. สํานวนภาษาใชคําธรรมดาพื้น ๆ ไมมีบาลีสันสกฤตปน ฟงเขาใจงาย แตถอยคําคมคาย อยูในตัวทําใหเกดิ ความสนุกสนาน บางครั้งแฝงไวดวยการใชสัญลักษณแทนคําหยาบตาง ๆ เปนตนวา

156 ยาเสน ใบพลู ที่นา หัวหมู อุปกรณไถนา เปนตน และเรียบงายทางดานโอกาสและสถานท่ีเลนไมตอง ยกพืน้ เวที 2. มคี วามสนกุ สนานเพลิดเพลนิ มคี วามคมคายในการใชภ าษา กระทบกระเทียบเปรียบเปรย ชวนใหคดิ จากประสบการณท ่ีพบเหน็ อยใู นวถิ ีชีวิตทองถิ่น 3. มภี าษาถ่ินปะปนอยูทําใหสะทอนใหเห็นถึงวิถีการดําเนินชีวิต ประเพณีความเชื่อ ตลอดจน คานิยมตาง ๆ ทแ่ี ฝงอยู 4. มีลักษณะภาษาตองคลองจองกัน ท่ีเปนกลอนหัวเดียว คือ กลอนท่ีลงทายดวยสระชนิด เดียวกัน เชน กลอนใส ลงเสียงขางทายดวยสระไอตลอด กลอนลี ลงเสียงขางทายดวยสระอีตลอด เปน ตน ตวั อยางเชน ในเพลงไซเอย ไซ ลามะลลิ า ซึง่ งายตอการเลนมุงใหทุกคนมีสวนรองไดสนุกสนาน รว มกัน 5. มักจะมกี ารรองซาํ้ บางทซี ํ้าท่ตี น เพลง หรอื บางทีซาํ้ ทท่ี อนทา ยของเพลง เชน เพลงพิษฐาน เพลงพวงมาลยั เพลงฉอ ย เปนตน ผลดีของการรองซ้าํ ๆ กัน ก็คอื เพ่มิ ความสนุกสนานใหผูอยูรอบขาง ไดมีสวนรวมในเพลง ทําใหบรรยากาศครึกครื้น และเนื่องจากเปนการปะทะคารมกันสด ๆ ซ่ึงชวง การรองซ้ํานี้จะชวยใหไดมีโอกาสคิดคําและพอเพลง แมเพลงจะไดพักเหนื่อย และสามารถใช ปฏิภาณพลกิ แพลง ยั่วลอ กนั อีกดวย นอกจากน้เี พลงพ้ืนบานยังมีลักษณะพิเศษอีก คือ เปนวรรณกรรมมุขปาฐะที่เลาสืบตอกันมา ปากตอ ปากไมสามารถจะสืบคน หาตวั ผูแตงท่แี นน อนไดแ ละมลี กั ษณะของความเปนพนื้ บา นพื้นเมือง ประเภทของเพลงพ้ืนบา น เพลงพ้ืนบานโดยท่ัวไปนั้น มีอยูดวยกันหลายชนิด พอจะแยกประเภทโดยแบงตามผูเลน ได 2 ประเภทใหญ ๆ คอื 1. เพลงเดก็ จาํ แนกยอ ย ๆ ได 4 ประเภท ดงั น้ี 1.1 เพลงรองเลน เชน โยกเยกเอย ฝนตกแดดออก นกกระจอกเขา รัง เปน ตน 1.2 เพลงหยอกลอ เชน ผมจุก ผมมา ผมเปย ผมแกละ เปน ตน 1.3 เพลงขู ปลอบ เชน แมใ ครมา นํ้าตาใครไหล จันทรเ จาขา แตช าแต เขาแหย ายมา เปนตน 1.4 เพลงประกอบการเลน เชน จํา้ จม้ี ะเขอื เปราะ รี รี ขา วสาร มอญซอนผา เปนตน 2. เพลงผูใหญ แบง 6 ประเภท คอื 2.1 เพลงกลอมเดก็ เชน กาเหวาเอย พอ เน้อื เย็น เปนตน 2.2 เพลงปฏิพากย เชน เพลงฉอย เพลงรําวง ซ่ึงเพลงปฏิพากยน้ีตอมาวิวัฒนาการ มาเปนเพลงลกู ทุงนน่ั เอง 2.3 เพลงประกอบการเลน เชน ราํ โทน ตอมาคือ รําวง ลูกชวง เขาผี มอญซอนผา เปนตน 2.4 เพลงประกอบพิธี เชน ทาํ ขวญั นาค ทาํ ขวญั จุก แหน างแมว เปนตน

157 2.5 เพลงเก่ยี วกบั อาชีพ เชน เตนกํารําเคยี ว 2.6 เพลงแขง ขัน สว นใหญคือปฏพิ ากย เพลงเด็ก การเลน เปนการแสดงออกอยางหน่ึงในกลุมชน จะแตกตางกันไปตามวัฒนธรรม และเมือ่ มกี ารเลนเกิดข้ึนกม็ กั มบี ทเพลงประกอบการเลนดว ย เพลงท่รี องงาย ๆ ส้ัน ๆ สนุกสนาน เชน รีรี ขา วสาร มอญซอนผา จํ้าจ้ีมะเขือเปราะ แมงมุมขยุมหลงั คา เพลงผูใหญ เพลงผูใหญมีหลายประเภท นอกจากจะใหความสนุกสนานบันเทิงใจแลว ยังสะทอ นใหเ ห็นถึงความสามคั ครี วมใจกันทําสงิ่ ตา ง ๆ ของสังคมไทย สภาพวถิ ชี ีวิตวัฒนธรรมประเพณี ตาง ๆ ไวอยางนา ศึกษาอีกดวย ดานเพลงกลอมเดก็ จะเห็นความรักความผูกผันในครอบครัว ธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ ม ตํานาน นิทาน ประวัติศาสตร ตลอดจนจินตนาการความรูสึกนึกคิดของมนุษย เนื่องจาก ความหลากหลายในเพลงกลอ มเดก็ จงึ เปน เพลงที่มีคณุ คา แกการรักษาไวเ ปน อยางยงิ่ คณุ คา ของเพลงพืน้ บา น เพลงพื้นบานมีคุณคาอยางมากมายท่ีสําคัญคือ ใหความบันเทิงสนุกสนาน มีนํ้าใจ สามัคคี ในการทาํ งานชว ยเหลือกัน สะทอนวฒั นธรรมประเพณี วถิ ีชีวติ การแตง กาย ฯลฯ และเปน การปลูกฝง เดก็ ใหค รบองค 4 คอื 1. สง เสริมใหเ ดก็ มีกาํ ลงั กายแข็งแรง 2. สง เสริมใหเด็กมีสตปิ ญญาเฉลยี วฉลาด มีไหวพรบิ ปฏภิ าณดีในการแกปญหา 3. สง เสริมใหเด็กมจี ติ ใจงาม มีคุณธรรมประจําใจ 4. รจู กั ปฏิบัตติ นตอสวนรวมในสงั คม การปลูกฝงใหประชาชนพลเมืองของประเทศ เปนผูถึงพรอมดวยคุณสมบัติท้ัง 4 ประการนี้ ตองปูพื้นรากฐานกันตั้งแตเยาววัย และคอยเปนคอยไปทีละนอย จึงจะซึมซาบจนกลายเปนนิสัย สมัยน้ีวิทยาศาสตรมีมากเพียงไร วัตถุนิยมก็ตามมา วัตถุนิยมเจริญข้ึน ความเจริญทางจิตใจก็นอยลง เปนผลใหค วามมนั่ คงของประเทศไดรับความกระทบกระเทือนไปดวยอยางแนนอน ดังน้ัน เราจึงควร ชว ยกันปลูกฝงอนุรักษส บื สานใหดํารงอยูอ ยางยง่ั ยนื สบื สานไป เพลงพ้ืนบานเกิดจากชาวบา นเปนผูส รา งบทเพลงและสืบทอดกันมาแบบปากตอปาก โดยการ จดจําบทเพลงเปนคํารองงาย ๆ ที่เปนเร่ืองราวใกลตัวในทองถ่ินน้ัน ๆ จึงทําใหเพลงพ้ืนบานของไทย ในภาคตา ง ๆ มีความแตกตา งกนั ออกไป ดังน้ี เพลงพ้ืนบานภาคกลาง มีอิทธิพลมาจากสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ การประกอบอาชีพ วิถีการดําเนินชีวิต พธิ ีกรรมและเทศกาลตา ง ๆ โดยสามารถแยกประเภทได ดังน้ี - เพลงท่ีรอ งเลน ในฤดนู า้ํ มาก ไดแก เพลงเรือ เพลงรอยพรรษา เพลงรําภาขา วสาร เพลงหนาใย เพลงคร่งึ ทอ น เปน ตน - เพลงท่ีรองเลนในฤดูเก่ียวขาวและนวดขาว ไดแก เพลงเก่ียวขาว เพลงเตนกํารําเคียว เพลงซ่ึงใชรองเลนระหวางเกี่ยวขาว สําหรับเพลงสงฟาง เพลงพานฟาง เพลงโอก เพลงสงคอลําพวน เพลงเตะขา ว และเพลงชกั กระดาน ใชร องเลน ระหวา งนวดขาว

158 เพลงท่ีใชร อ งเลนในชวงตรุษสงกรานต ไดแก เพลงสงกรานต เพลงหยอย เพลงระบําบานไร เพลงชา เจา หงส เพลงพวงมาลัย เพลงสันนษิ ฐาน เพลงคลอ งชา ง และเพลงใจหวงั เพลงท่รี องเลนไดท ุกโอกาส เพื่อความเพลดิ เพลนิ สนุกสนาน เกิดความสามัคคใี นหมูคณะ มกั จะ รอ งเลน กันในโอกาสทาํ งานรวมกนั หรือมีงานบุญและงานร่ืนเริงตาง ๆ โดยเปนเพลงในลักษณะพอเพลง แมเพลงอาชีพ ท่ีใชโตตอบกัน ไดแก เพลงเทพทอง เพลงปรบไก เพลงอีแวว เพลงฉอย เพลงลําตัด เพลงทรงเคร่ือง เปน ตน เพลงพ้ืนบานภาคเหนือ สามารถใชรองเลนไดทุกโอกาสโดยไมจํากัดเทศกาลหรือฤดูใด ๆ ซ่งึ ใชรองเพลงเพ่อื ผอนคลายอารมณแ ละการพักผอนหยอ นใจ โดยลักษณะการขับรองและทวงทํานอง จะออนโยน ฟงดเู นิบนาบนุมนวล สอดคลองกับเคร่ืองดนตรหี ลัก ไดแก ป ซงึ สะลอ เปน ตน นอกจากน้ี ยังสามารถจดั ประเภทของเพลงพืน้ บานของภาคเหนือได 3 ประเภท คือ 1. เพลงซอ ใชร องโตต อบกนั โดยมีการบรรเลงป สะลอ และซึงคลอไปดว ย 2. เพลงจอย เปนการนําบทประพันธของภาคเหนือมาขับรองเปนทํานองส้ัน ๆ โดยเน้ือหา ของคํารอ งจะเปนการระบายความในใจ แสดงอารมณค วามรัก ความเงียบเหงา มีนักรองเพียงคนเดียว และจะใชด นตรบี รรเลงในโอกาสตาง ๆ หรอื จอยอาํ ลา 3. เพลงเด็ก มลี กั ษณะคลา ยกบั เพลงเด็กของภาคอื่น ๆ คือ เพลงกลอ มเดก็ และเพลงท่ีเดก็ ใช รองเลนกัน เพลงออื่ ลูก และเพลงสิกจุง จา เพลงพ้นื บานภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เพลงพื้นบานของภาคอีสาน ใชรองเพ่ือความสนุกสนาน ในงานร่ืนเรงิ ตา งๆ สามารถแตง ไดตามวฒั นธรรม 3 กลมุ ใหญ ๆ คอื กลุม วัฒนธรรมหมอลาํ กลมุ วฒั นธรรม- เพลงโคราช และกลุม วฒั นธรรมเจรยี งกนั ตรึม ดังนี้ 1. เพลงพน้ื บา นกลมุ วฒั นธรรมหมอลํา ประกอบดว ยหมอลําและเซงิ้ โดยหมอลาํ แบง การลํา นําและการรองออกเปน 5 ประเภท คือ ลําเร่ือง ลํากลอน ลําหมู ลําเพลิน และลําผีฟา สวนเซ้ิงหรือ คํารองจะใชคํารองร่ืนเริง เชน การแหบ้ังไฟ การแหนางแมว การแหนางดัง โดยเน้ือเร่ืองในการรอง ซงึ่ อาจเปน การขอบริจาคเงินในงานบญุ การเซ้ิงอวยชยั ใหพ ร หรอื เซิ้งเลานทิ านชาดกตามโอกาส 2. เพลงพ้ืนบานกลุมวัฒนธรรมเพลงโคราช เปนเพลงพ้ืนบานท่ีเลนกันมานานในจังหวัด นครราชสีมา หรือโคราช ซึ่งเนื้อเพลงมีลักษณะเดน มีการเลนสัมผัสอักษรและสัมผัสสระทําใหเสียง นา ฟงย่ิงขึ้นและยงั มเี สยี ง ไช ชะ ชะ ชิ ชาย พรอ มมีทั้งการรําประกอบแบบเหยาะตัวตามจังหวะขึ้นลง ซึ่งเพลงโคราชนี้ นิยมเลน ทุกโอกาสตามความเหมาะสม 3. เพลงพนื้ บา นกลมุ วฒั นธรรมเจรียงกนั ตรมึ ท่ีนิยมรอ งเลน กันในแถบจังหวดั ทม่ี ีเขตตดิ ตอกบั เขมร ไดแก จังหวัดบุรีรัมย สุรินทร และศรีสะเกษ โดยคําวากันตรึม น้ัน หมายถึง กลองกันตรึม ซ่ึงเปนเครื่องดนตรีหลักเวลาตีจะใชจังหวะเสียงดัง โจะกันตรึม ๆ และเจรียง หมายถึง การขับหรือ การรองเพลงมี 2 แบบ คือ เจรียงใชประกอบการบรรเลงดนตรีกันตรึม ซึ่งเม่ือขับรองไปทอนหนึ่ง ดนตรีกันตรึมก็จะรับและบรรเลงยาว อีกแบบคือ เจรียงดนตรี ใชรองในงานโดยจะขับรองไปเร่ือย ๆ

159 และมีดนตรีบรรเลงคลอไปเบา ๆ ซึ่งในการรองเพลงเจรียงน้ันสามารถรอ งเลน ไดทุกโอกาสโดยไมจํากัด ฤดหู รือเทศกาล เพลงพืน้ บา นภาคใต มอี ยปู ระมาณ 8 ชนดิ มีท้งั การรอ งเดยี่ ว และการรอ งเปน หมู โดยสามารถ แบงเปน 2 กลมุ ใหญ ๆ คอื 1. เพลงที่รองเฉพาะโอกาสหรือฤดู ไดแก เพลงเรอื เพลงบอก เพลงนาคาํ ตัด เพลงกลอมนาค หรอื เพลงแหนาค เปนตน 2. เพลงที่รองไมจํากัดโอกาส ไดแก เพลงตันหยง ซึ่งนิยมรองในงานบวช งานข้ึนปใหม และงานมงคลตา ง ๆ เพลงเด็กที่รองกลอมใหเด็กหลับ และเพลงฮูลูหรือลิเกฮูลูท่ีเปนการรองคลาย ๆ ลําตัด โดยมีรํามะนาเปนเคร่ืองดนตรีประกอบจังหวะกับบทขับรองภาษาทองถิ่นคือภาษามลายู เปน กลอนโตต อบกนั กจิ กรรมเพลงพ้นื บาน 1. ผูเรียนคิดวา คาํ วา “เพลงพื้นบาน” ความหมายวาอยางไร .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 2. ผูเรียนคิดวา “เพลงพ้ืนบาน” มีอะไรบาง และในทองถิ่นของผูเรียนมีการละเลน พืน้ บา นอะไรบาง .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................

160 3. ผเู รยี นคิดวา “ เพลงพนื้ บาน” ในชุมชนหรือทอ งถ่นิ แตล ะภาคมีความเหมือนกนั หรือแตกตางอยางไรบาง ยกตัวอยา งประกอบ .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 4. คําช้ีแจง ใหผ ูเรยี นตอบคําถามตอ ไปนใ้ี หถ ูกตอ ง 1. ความหมายของเพลงพื้นบาน ขอ ใดกลา วถูกตอ งท่ีสดุ ก. เพลงท่ชี าวบานรอง ข. เพลงท่ีชาวบา นประพนั ธ ค. เพลงทชี่ าวบานรว มกนั รืน่ เริง ง. เพลงที่ชาวบา นรว มกนั แสดง 2. ขอ ใดเปนคุณสมบตั ิของเพลงพืน้ บานเดน ชดั ทสี่ ดุ ก. แสดงเอกลักษณของคนในหมบู า น ข. ทุกคนรอ งได ค. มสี มั ผสั คลอ งจอง ง. ใหความบันเทงิ 3. โดยทวั่ ไปแลว เพลงพ้นื บานจะมลี ักษณะเดน คอื ก. มีความสนุกสนาน ใชภ าษาคมคาย มีภาษาบาลสี นั สกฤต ข. มคี วามเรยี บงา ยทง้ั ดานแตง กายและการเลน ค. เปน วรรณกรรมอมุขปาฐะ มีความเปนพื้นบานพ้ืนเมือง ง. มภี าษาถิ่นปะปนอยู จังหวะเราใจ ใชศัพทสงู ชวนฟง 4. เพลงพื้นบานท่ปี ระกอบการทํางาน คอื เพลงอะไร ก. เพลงเตนกาํ ราํ เคียว ข. หมอลํา ค. เพลงเรอื ง. เพลงฉอย

161 5. เพลงแหนางแมวจดั เปนเพลงชนิดใด ก. เพลงปฏพิ ากย ข. เพลงประกอบการเลน ค. เพลงประกอบพธิ ี ง. เพลงเขา ผเี ชญิ ผี 6. เพลงท่ีใชรองเก้ยี วพาราสี หลังจากทาํ บญุ ตกั บาตรแลว มานั่งรอบโบสถ เรียกวา เพลงอะไร ก. เพลงพวงมาลยั ข. เพลงลําตัด ค. เพลงรําวง ง. เพลงพษิ ฐาน 7. จะน่งั แตห อทอแตห ูก นัง่ เล้ียงแตก นั แตไ ร จากบทเพลงน้ที าํ ใหเ ราไดร บั ความรู เกีย่ วกับสิง่ ใดบาง ก. การทาํ งาน การเลี้ยงดบู ุตร ข. การเลยี้ งลูกในสมยั โบราณ การใชเวลาวางใหเปน ประโยชน ค. การทอผา การแตงกาย ง. การปลูกเรอื น การเลีย้ งดูบตุ ร 8. “วัดเอยวดั โบสถ ปลูกขาวโพดสาลี เจาลูกเขยตกยาก แมย ายก็พรากลูกสาวหนี ตนขาวโพด สาลตี งั้ แตน ้จี ะโรยรา” เพลงกลอมเดก็ น้ีมีจดุ มุงหมายเพ่อื อะไร ก. สอนใหร ูจักมสี ัมมาอาชพี ข. สอนใหมีความประพฤตดิ ี ค. สอนเก่ียวกบั ความรัก การทาํ มาหากิน ง. สอนใหเปน ผูมีคุณธรรม 9. เพลงกลอ มเดก็ มีจุดมงุ หมายเพื่ออะไร ก. อบรมสงั่ สอน ข. แสดงความในใจของแมท ีม่ ีตอลูก ค. ตองการใหเด็กนอนหลับ ง. ถกู ทกุ ขอ 10. ขอ ใดเปน ประโยชนและคุณคา ของเพลงพน้ื บาน ก. ทราบเกรด็ ยอ ยความรใู นดานตาง ๆ ข. ไดความรเู กีย่ วกับวฒั นธรรมในยุคสมยั นน้ั ค. ทําใหทราบลกั ษณะของวรรณกรรมลายลกั ษณทองถน่ิ ง. ขอ ก. และ ข. ถกู ฀฀฀฀

162 เพลงกลอ มเดก็ เพลงกลอ มเดก็ คือ เพลงทีร่ อ งเพื่อกลอมเดก็ ใหเด็กนอย ๆ เกิดความเพลิดเพลินและอบอุนใจ จะไดห ลบั งา ยและหลับสบาย เปนเพลงท่ีมีเนอื้ ความสัน้ ๆ รองงาย ชาวบานในอดีตรองกันได เนื่องจาก ไดยินไดฟงมาตั้งแตเกิด คือ ไดฟงพอแมรองกลอมตนเอง นอง หลาน ฯลฯ เม่ือมีลูกก็มักรองกลอมลูก จึงเปนเพลงท่ีรองกันไดเปนสวนมากเราจึงพบวาเพลงกลอมเด็กมีอยูทุกภูมิภาคของไทยและเปน วฒั นธรรมท่ีเกยี่ วของกับการเลี้ยงดูของเด็กในสงั คมไทย ซึ่งหากศึกษาจะพบวา 1. เพลงกลอ มเด็กมีหนาท่ีกลอมใหเด็กหลับโดยตรง ดังนั้น จึงเปนเพลงที่มีทํานองฟงสบาย แสดงความรักใครหวงใยของผใู หญท ่มี ตี อเด็ก 2. เพลงกลอมเดก็ มีหนา ทีแ่ อบแฝงหลายประการ การสอนภาษา เพื่อใหเด็กออกเสียงตาง ๆ ไดโดยการหัดเลียนเสียง และออกเสียงตาง ๆ ไดเรว็ ข้นึ ถายทอดความรูตา ง ๆ ไดแก เรือ่ งราวเกี่ยวกับธรรมชาติ การดําเนินชีวิต การทํามาหากิน ของสังคมตนเอง การสรา งคานยิ มตา ง ๆ รวมทัง้ การระบายอารมณและความในใจของผูรอง นอกจากนี้ พบวา สวนมากแลวเพลงกลอ มเดก็ มักมีใจความแสดงถงึ ความรกั ใครหวงใยลกู ซง่ึ ความรกั ความหว งใยน้ี แสดงออกมาในรูปของการทะนุถนอมกลอมเกลยี้ งเก็บเดก็ ไวใ กลตัว บทเพลงกลอมเด็กจึงเปนบทเพลง ทแี่ สดงอารมณความรกั ความผูกพันระหวางแม ลกู ซ่งึ แตละบทมกั แสดงความรักความอาทร นาทะนุถนอม ที่แมม ีตอลกู อยา งซาบซึ้ง เพลงกลอมเด็ก เปนวัฒนธรรมทองถ่ินอยางหนึ่งท่ีสะทอนใหเห็นความเชื่อ คานิยมของ คนในทองถิ่นตาง ๆ คนทุกชาติทุกภาษาในโลกมีบทเพลงกลอมเด็กดวยกันทั้งนั้น สันนิษฐานวา เพลงกลอมเด็กมวี วิ ัฒนาการจากการเลา นทิ าน ใหเด็กฟงกอนนอน ดงั น้นั เพลงกลอมเด็กบางเพลงจึงมี ลักษณะเน้ือรองท่ีเปนเรื่องเปนราว เชน จันทโครพ ไชยเชษฐ พระรถเสน เปนตน การที่ตองมี เพลงกลอ มเดก็ ก็เพอ่ื ใหเด็กเกดิ ความเพลิดเพลิน หลับงา ย เกิดความอบอุนใจ ลกั ษณะของเพลงกลอ มเด็ก ลกั ษณะกลอนของเพลงกลอมเดก็ จะเปนกลอนชาวบา น ไมม แี บบแผนแนนอน เพยี งแตม ีสัมผัส คลองจองกันบาง ถอยคําท่ีใชในบางครั้งอาจไมมีความหมาย เนื้อเร่ืองเก่ียวกับธรรมชาติส่ิงแวดลอม เรื่องราวตาง ๆ ท่ีเก่ียวกับชีวิต ความเปนอยู สะทอนใหเห็นความรักความหวงใยของแมท่ีมีตอลูก สง่ั สอน เสยี ดสีสังคม เปนตน สามารถแยกเปน ขอ ๆ ไดดงั นี้ เปนบทรอ ยกรองสนั้ ๆ มีคําคลอ งจองตอ เน่อื งกัน มีฉนั ทลักษณไ มแนนอน ใชค าํ งาย ๆ สนั้ หรอื ยาวกไ็ ด มจี งั หวะในการรองและทาํ นองทเ่ี รยี บงาย สนกุ สนานจดจาํ ไดงาย

163 จดุ มงุ หมายของเพลงกลอมเด็ก 1. ชักชวนใหเด็กนอนหลับ 2. เน้ือความแสดงถึงความรกั ความหวงใย ความหวงแหนของแมทม่ี ีตอลกู ประเภทของเนอื้ เพลงกลอมเดก็ แสดงความรกั ความหวงใย กลา วถึงส่งิ แวดลอ ม เลา เปนนทิ านและวรรณคดี เปนการเลาประสบการณ ลอเลียนและเสียดสสี ังคม ความรูเ กีย่ วกับการดูแลเดก็ เปน คติคาํ สอน ตวั อยา งเพลงกลอ มเดก็ นกเขาขัน นกเขาเอย ขันแตเชาไปจนเย็น ขนั ไปใหดังแมจ ะฟง เสียงเลน เนือ้ เย็นเจาคนเดยี วเอย กาเหวา กาเหวา เอย ไขใ หแมก าฟก แมก าหลงรัก คิดวา ลูกในอทุ ร คาบขา วมาเผ่ือ คาบเหยอ่ื มาปอน ปกหางเจายงั ออน สอนรอ นสอนบนิ แมกาพาไปกนิ ทป่ี ากนํ้าแมคงคา ตีนเหยียบสาหรา ย ปากกไ็ ซห าปลา กนิ กงุ กนิ กัง้ กนิ หอยกระพังแมงดา กินแลวบนิ มา จับตวั หวา โพธ์ทิ อง นายพรานเห็นเขา เย่ียมเยี่ยมมองมอง ยกปนขน้ึ สอ ง หมายจองแมกาดํา ตัวหนง่ึ วาจะตม ตัวหน่ึงวาจะยาํ แมกาตาดาํ แสนระกาํ ใจเอย วัดโบสถ วดั เอย วดั โบสถ ปลกู ขาวโพดสาลี ลูกเขยตกยาก แมย ายกพ็ รากลกู สาวหนี ตน ขา วโพดสาลี ตงั้ แตนจ้ี ะโรยรา นอนไปเถดิ นอนไปเถดิ แมจ ะกลอ ม นวลละมอมแมจะไกว ทองคําแมอยา รา่ํ ไห สายสุดใจเจา แมเอย เจาเนื้อละมนุ เจา เนื้อละมนุ เอย เจา เนื้ออนุ เหมอื นสาํ ลี แมม ิใหผ ใู ดตอง เน้ือเจาจะหมองศรี ทองดเี จา คนเดียวเอย

164 เจาเน้ือออ น เจา เนอื้ ออ นเอย ออ นแมจ ะกนิ นม แมจ ะอุม เจา ออกชม กนิ นมแลว นอนเปลเอย เพลงกลอ มเดก็ ในแตละภาค ในประเทศไทยเราน้ันมเี พลงกลอ มเดก็ อยทู ั่วทุกภาค เนื้อรอ งและทํานองจะตางกันไป มีชื่อเรียก หลายอยา ง เชน ภาคเหนือเรยี ก “เพลงนอนสาหลา ” “นอนสาเดอ” ภาคกลางเรียก “เพลงกลอมเด็ก” “เพลงกลอมลูก” สวนภาคใตเรียก “เพลงชานอง” เพลงนองนอน” และ “เพลงรองเรือ” โดยเพลง กลอมเด็กเปนคติชาวบานประเภทใชภาษาเปนส่ือที่ถายทอดจากปากตอปากแตโบราณ เรียกวา “มขุ ปาฐะ” มลี กั ษณะเปนวัฒนธรรมพ้นื บานทีม่ ีบทบาทและหนา ที่แสดงเอกลกั ษณข องแตล ะชุมชน เพลงกลอมเด็กภาคกลาง เพลงกลอมเด็กภาคกลางเปนท่ีรูจักแพรหลายและมีการบันทึกไวเปนหลักฐานมากกวา เพลงกลอ มเดก็ ภาคอ่ืน ซ่งึ จะสะดวกแกการศกึ ษาคน ควา การฟน ฟแู ละการอนุรกั ษ โดยไมมีชื่อเฉพาะ สาํ หรับเรียกเพลงกลอมเด็กภาคกลาง เน่ืองจากขึ้นตนบทรองดวยคําหลากหลายชนิดตามแตเน้ือหา ของเพลง ไดมีการศึกษาแบง ประเภทเนอ้ื หาของเพลงกลอมเด็กภาคกลางไวค ลา ยกัน คอื 1. ประเภทสะทอนใหเห็นความรักความผูกพันระหวางแมกับลูก ดังจะเห็นไดจากถอยคํา ที่ใหเ รยี กลกู วา เจา เนอ้ื ละเอยี ด เจาเนอ้ื อนุ เจา เน้ือเย็น สดุ ท่ีรักสดุ สายใจ เปน ตน 2. ประเภทสะทอนใหเห็นความเปนอยูของไทยภาคกลางในดานตาง ๆ เชน ความเจริญ ทางวัตถุประเพณี วัฒนธรรมตาง ๆ ความศรัทธา ความเชื่อ คุณธรรมประจําใจ อารมณขันและ การทาํ มาหากินของประชาชน 3. ประเภทใหความรูดานตาง ๆ เชน ความรูทางภาษา ธรรมชาติวิทยา วรรณคดี นิทาน ภูมิศาสตร ประวตั ิศาสตร แบบแผนการปกครองและครอบครวั ลักษณะทํานองและลีลาของเพลงกลอมเด็กภาคกลาง จะเปนการขับกลอมอยางชา ๆ เชนเดียวกับภาคอ่ืน ๆ กลุมเสียงก็จะซ้ํา ๆ เชนกัน แตจะเนนการใชเสียงทุมเย็น และยึดคําแตละคํา ใหเชื่อมกลืนกันไปอยา งไพเราะ ออ นหวาน ไมใ หม เี สยี งสะดดุ ทงั้ นี้ เพือ่ มุง ใหเดก็ ฟง จนหลับสนิทในทีส่ ุด ตัวอยา งเพลงกลอมเด็กภาคกลาง แมจะเหใ หน อนวัน โอละเหเอย นอนวันเถดิ แมค ุณ แมม ิใหเจา ไปเลน ท่ีทา ตนื่ ข้นึ มาจะอาบนาํ้ ทาํ ขวญั มันจะคาบเจา เขาถํา้ พอเน้ือเยน็ เอย จระเขหรา เจา ทองคาํ พอ คุณ

165 เพลงกลอ มเดก็ ภาคเหนือ สําหรับภาคเหนือมีเพลงกลอมลูกสืบทอดเปนลักษณะแบบแผนเฉพาะของตนเองมาชานาน อาจารยส งิ ฆะ วรรณไสย แหง มหาวิทยาลัยเชยี งใหม เรียกฉันทลักษณของเพลงกลอมเด็กภาคเหนือวา “คําร่ํา” ซึง่ จดั เปนลาํ นาํ ชนดิ หนึ่ง หมายถึง การรํ่าพรรณนามเี สียงไพเราะสงู ตํา่ ตามเสียงวรรณยุกตของ สําเนียงภาคเหนอื นยิ มใชแตง ในการร่าํ บอกไฟขน้ึ ราํ่ สรา งวหิ าร รา่ํ สรางเจดยี  ร่าํ สรา งถนนข้นึ ดอยสุเทพ และแตงเปนคํากลอ มเดก็ คํากลอมเด็กน้ีพอแม ปูยา ตายาย ในภาคเหนือสมัยกอนมักจะใชขับกลอมสอนลูกหลาน ขณะอุมเด็กนั่งชิงชาแกวงไกวชา ๆ จนเด็กงวงนอนจึงอุมไปวางบนท่ีนอนหรือในเปลแลวเหกลอมตอ จนเดก็ หลับสนิท คํากลอ มเด็กนี้จงึ เรียกวา “สกิ จุง จาโหน” ตามคาํ ทีใ่ ชขน้ึ ตนเพลง ลักษณะเดนของเพลงกลอมเด็กภาคเหนือ นอกจากจะข้ึนตนดวยคําวา สิกจุงจาโหนแลว ยังมักจะข้ึนตนดวยคําวา “อ่ือจา” เปนสวนใหญ จึงเรียกเพลงกลอมเด็กนี้วา เพลงอื่อลูก ทํานอง และลลี าอ่ือลกู จะเปนไปชา ๆ ดว ยนา้ํ เสยี งทมุ เยน็ ตามถอ ยคาํ ที่สรรมา เพ่ือส่ังสอนพรรณนาถึงความรัก ความหว งใยลูกนอ ย จนถึงคาํ ปลอบ คาํ ขู ขณะยงั ไมย อมหลับถอยคาํ ตา ง ๆ ในเพลงกลอมเด็กภาคเหนือ จะสะทอนใหเห็นสภาพความเปนอยู สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมตาง ๆ ของคนในภาคเหนือในอดีต จนปจจุบันไดเปนอยางดี นับวาเปนประโยชนทางออมที่ไดรับนอกเหนือจากความอบอุนใจของลูก ท่ีจะเปน ประโยชนโ ดยตรงของเพลงกลอมเด็ก ตัวอยางเพลงกลอ มเด็กภาคเหนอื ออื่ อ่อื ออื จา ปอนายแดง สา แมน ายไปนานอกบา น เก็บบา สานใสโ ถง เกบ็ ลกู กง ใสว า เก็บบา หาใสป ก หนวยหนึง่ เก็บไวก ินเมอ่ื แลง หนวยหน่ึงเอาไวข ายแลกขาว หนว ยหน่ึงเอาไวเปนเปอนเจา อ่อื ออื จา เพลงกลอมเดก็ ภาคอสี าน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน เปนดินแดนท่ีกวางขวางและมีประชากรมากท่ีสุด ในบรรดา 4 ภาคของไทย เพลงกลอมลูกจึงมีหลายสําเนียงถาเปนอีสานตอนเหนือจะมีสําเนียงคลายลาว ถา เปน อสี านตอนใตจ ะมสี าํ เนียงคลา ยเขมร แตเพลงกลอมลกู ท่แี พรห ลายและยอมรับวาเปนเอกลักษณ ของอสี านจะเปนสาํ เนียงของอสี านตอนเหนือ และมกั จะขึ้นตนดวยคาํ วา “นอนสาหลา ” หรือ “นอนสาเดอ” หรือ “นอนสาแมเยอ” มีทํานองลีลาเรียบงายชา ๆ และมีสุมเสียงซ้ํา ๆ กันทั้งเพลงเชนเดียวกับ ภาคเหนือ การใชถ อยคาํ มีเสยี งสัมผสั คลายกลอนสุภาพท่ัวไปและมีคําพื้นบานท่ีมีความหมายในเชิงสั่น สอนลกู หลานดวยความรกั ความผูกพัน ซึ่งมักประกอบดวย 4 สวนเสมอ คือ สวนท่ีเปนการปลอบโยน การขูและการขอโดยมุงใหเด็กหลับเร็ว ๆ นอกจากน้ีก็จะเปนคําที่แสดงสภาพสังคมดานตาง ๆ เชน

166 ความเปน อยู บรรยากาศในหมบู าน คานิยม ขนบธรรมเนยี มประเพณี เปน ตน คุณคา ของเพลงกลอ มเดก็ อีสานจงึ มีพรอ มทงั้ ทางดา นจิตใจ และดานการศกึ ษาของชาติ ตัวอยาง เพลงกลอ มเดก็ ของภาคอีสาน นอนสาหลา หลบั ตาสามเิ ยอ แมไปไฮ หมกไข มาหา แมไปนา จ่ปี า มาปอน แมเล้ยี งมอน ในปา สวนมอ น เพลงกลอมเดก็ ภาคใต ในบรรดาภาษาถิ่น ภาคใตเปนภาษาท่ีคนไทยสวนใหญรูจักมากที่สุด เพราะมีสําเนียงท่ีเปน เอกลักษณชัดเจนท่ีสุด เชนเดียวกับเพลงกลอมเด็กภาคใตท่ีมีทํานองและลีลาเดนเปนของตนเอง เพลงกลอ มเด็กภาคใตมีชื่อเรยี ก 4 อยา ง คอื เพลงรอ งเรอื เพลงชานองหรือเพลงชา นอง เพลงเสภาและ เพลงนองนอน ท่ีเรียกเพลงรองเรือ สันนิษฐานวานาจะเปนลักษณะของเปลท่ีใชผาผูกมีรูปราง คลา ยเรือ เพลงชานอ งหรอื ชานอง คาํ วา ชา มาจากคําวา บูชา ซ่ึงแปลวาสดุดีหรือกลอมขวัญชานองหรือ ชานอง จึงหมายถึงการสดุดีแมซื้อ ซึ่งเชื่อกันวาเปนเทวดาหรือผีประจําทารก เพลงเสภาเปนเพลงที่ใช โตคารมกันเปนบทปฏิพากยแสดงปฏิภาณไหวพริบ นํามาใชเปนเพลงกลอมลูกนองนอน เปนการมุง กลอมนองหรือกลอมลูกโดยตรง ลักษณะเดนของเพลงกลอมลูกภาคใตไมวาจะเปนเพลงประเภทใด มกั จะขน้ึ ตนดวยคําวา “ฮา เออ” หรือคาํ วา “เหอ” แทรกอยเู สมอในวรรคแรกของบทเพลง แลวจึง ขบั กลอ มไปชา ๆ เหมือนภาคอ่ืน ๆ จากหลักฐานการคนควาเพลงกลอมเด็กภาคใต ของศาสตราจารย สุทธิวงศ พงศไ พบลู ย ระบุไวว าเพลงกลอ มเด็กภาคใตมีจดุ ประสงคและโอกาสการใชกวา งขวาง จํานวน เพลงจงึ มมี ากถงึ 4,300 เพลง นับวา มากกวา ทุกภาคในประเทศ ตัวอยางเพลงกลอมเดก็ ภาคใต ...รอ งเรอื เหอ รองโรก ันทงั้ บา น ไมใชเ รอื่ งของทา น ทา นเหอ อยา เกบ็ ไปใสใจ รอ งเรอื ชาหลาย ไมเ ก่ียวไมพ านไปหาใคร ทา นอยา เกบ็ มาใสใจ รองเรอื ชาหลาน...เอง ...โผกเปลเหอ โผกไวใตต นชมพู ใหแ หวนชายไปทัง้ คู บอกพอบอกแมว าหาย พอวาไมรบั รูบ ญุ แมว าไมรบั รดู าย บอกพอ บอกแมวา แหวนหาย ติดมือพช่ี ายไป ....................................

167 กจิ กรรมเพลงกลอมเด็ก 1. ใหผูเรียนคนควาบทเพลงกลอมเด็กท่ีมีอยูในทองถ่ินของตน บันทึกไวพรอมท้ังแปล ความหมายหรืออธิบายคําภาษาถ่นิ น้นั ๆ บทเพลงกลอ มเด็ก .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................

168 บทท่ี 7 ภาษาไทยกับชอ งทางการประกอบอาชพี สาระสําคญั ภาษาไทยเปน ภาษาประจําชาติ เปนภาษาท่ใี ชส ่ือสารในชีวติ ประจําวัน อีกท้งั ยงั เปน ชอ งทาง ทส่ี ามารถนาํ ความรภู าษาไทยไปใชในการประกอบอาชพี ตา ง ๆ ได โดยใชศ ลิ ปะทางภาษาเปน ส่ือนํา ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั เม่อื ศึกษาจบบทที่ 7 แลวคาดหวังวาผเู รยี นจะสามารถ 1. มคี วามรู ความเขาใจ สามารถวิเคราะหศ กั ยภาพตนเอง ถงึ ความถนัดในการใชภาษาไทย ดานตา ง ๆ ได 2. เหน็ ชอ งทางในการนาํ ความรูภาษาไทยไปใชในการประกอบอาชพี 3. เห็นคุณคาของการใชภ าษาไทยในการประกอบอาชพี ขอบขายเน้อื หา เร่อื งที่ 1 คุณคา ของภาษาไทย เรือ่ งท่ี 2 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชีพ เร่อื งที่ 3 การเพิม่ พนู ความรแู ละประสบการณทางดานภาษาไทยเพอื่ การประกอบอาชพี

169 เร่ืองที่ 1 คณุ คา ของภาษาไทย ภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติ เปนภาษาท่ีใชในการส่ือสารในชีวิตประจําวัน เปนเคร่ืองมือ ในการเรยี นรู และการนําไปใชในการประกอบกจิ การงาน ทงั้ สวนตน ครอบครัว กิจกรรมทางสังคมและ ประเทศชาติ อีกทั้งยังเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมไทย ดังน้ัน การเรียนรูภาษาไทย จึงตองมุงใหเกิด การเรียนรูเพ่ือพัฒนาทักษะดานตาง ๆ อยางถูกตองและเหมาะสม ทั้งทักษะการอาน การดู การฟง การพูดและการเขียน โดยเฉพาะทักษะการพูดและการเขียน เมื่อศึกษาใหลึกลงไปและฝกทักษะ ใน 2 ดา นนี้อยางจริงจัง สามารถนาํ ไปสูการประกอบอาชีพได ซึง่ การที่คนไทยจะตระหนักถึงประโยชน ที่จะไดจ ากการมพี น้ื ฐานภาษาไทยทีด่ ี ตอ งรูและเขา ใจคณุ คาของภาษาไทยอยา งถองแท คุณคา ของภาษาไทย เมือ่ กลา วถงึ คุณคาของภาษาไทย จะพบวา ภาษาไทยมีคุณคา ในดา นตา ง ๆ ดังนี้ 1. คุณคาทางวัฒนธรรม ภาษาของแตละชาติ ยอมแสดงใหเห็นวัฒนธรรมของชาตินั้น ชาติที่ สามารถประดิษฐภาษาและตัวอักษรเปนของตนเองไดแสดงวาเปนชาติท่ีมีความเจริญทางวัฒนธรรม คนไทย ก็เชน กนั เราสามารถประดิษฐต วั อกั ษรเพือ่ ใชใ นภาษาของตนเอง เพือ่ เปนการส่ือสารท่ีสามารถ จดจําจารึกเร่ืองราวตาง ๆ ใหคนรุนหลังไดทราบ เปนภูมิรูทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรมมาตั้งแต ครงั้ กรงุ สุโขทยั ในสมัยพอ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช การท่ีคนรุนใหมไดทราบถึงวิถีชีวิตและความเปนอยูของคนรุนกอน ไดมีโอกาสอานวรรณคดี วรรณกรรมโบราณ จนสามารถสรางสรรคพัฒนางานวรรณกรรมท้ังรอยแกวและรอยกรองใหม ๆ ได โดยอาศัยศึกษาพนื้ ฐานมาจากวรรณคดี วรรณกรรมโบราณ ซงึ่ มีการสรา งสรรคจากตวั อกั ษรไทยนน่ั เอง และไดถ า ยทอดเปนมรดกทางวัฒนธรรมมาจนทกุ วนั นี้ 2. เปนเคร่ืองมือในการติดตอส่ือสาร ในการดําเนินชีวิตประจําวันและการประกอบอาชีพ เครื่องมือท่ีจะกอใหเกิดความเขาใจในการติดตอสื่อสารกัน คือ ภาษาเพื่อสื่อสารความตองการ ความรสู กึ นึกคดิ ใหอกี ฝา ยทราบตรงกัน โดยมกี ระบวนการสอื่ สาร คอื ผสู ง สาร สาร ชอ งทาง ผรู บั สาร 3. เปนเครื่องมือในการเรียนรูและแสวงหาความรู ภาษาไทยจัดเปนวิชาพื้นฐาน เพอ่ื การแสวงหาความรใู นวิชาอนื่ ๆ ตอ ไป หากผูเรียนมีความรูพ้ืนฐานทางภาษาไทยท่ีดีพอ ก็จะทําให การเรียนรูในวิชาอื่น ๆ มีประสิทธิภาพที่ดีตอไปดวย การมีความรูพื้นฐานภาษาไทยที่ดี คือ การมีความสามารถในการเขียน สะกดคําไดถูกตอง อานและออกเสียงไดถูกตองตามอักขรวิธีไทย รวมทงั้ พดู และใชคําไดถกู ตอ งตรงกับความหมายของคํา 4. เปนเครือ่ งมือในการสรางความเขาใจอันดีตอกัน ประเทศไทยแบงเปน 5 ภาค แตละภาค ลวนมีภาษาของตนเองที่เรียกวา “ภาษาถิ่น” โดยมีภาษาไทยภาคกลางเปนภาษาของทางราชการ

170 ทาํ ใหก ารสอ่ื สารทําความเขาใจในเร่ืองตาง ๆ ท้ังเร่ืองการศึกษา เรื่องราชการ และการส่ือสารมวลชน มคี วามเขาใจท่ีตรงกัน เพราะใชภาษาไทยภาคกลางเปนภาษาส่อื สาร 5. เปนเคร่ืองมือสรางเอกภาพของชาติ ภาษาไทยเปนภาษาของชาติไทยท่ีเปนเอกลักษณ ของความเปนชาติไทย แสดงถึงความเปนชาติที่มีอารยธรรม มีความเจริญรุงเรืองทางวัฒนธรรม จึงมีภาษาและตัวอักษรเปนของตนเอง และการที่ภาษาไทยภาคกลางเปนภาษาของทางราชการ จงึ เปนสอ่ื รวมใจใหคนไทยในแตละภาคไดต ดิ ตอ สอ่ื สารแลกเปลยี่ นวัฒนธรรม ความรู และขาวสารขอมูล ถงึ กนั ได มีความระลกึ อยใู นใจถึงความเปน คนไทย เปน เชื้อชาติเผาพนั ธุเดยี วกัน 6. เปนเครื่องจรรโลงใจ ภาษาไทยเปนภาษาท่ีมีเสียงวรรณยุกต 5 เสียง เม่ือนําไปประสม เปนคํา จะทําใหเกดิ เปนเสียงสูงตาํ่ ไดถ งึ 5 เสยี ง กอ ใหเกิดความไพเราะของเสียงคํา เมื่อนําไปแตงเปน บทประพันธประเภทตางๆ ไมวาจะเปนเพลง โคลง ฉันท กาพย กลอน นิยาย นิทาน กอใหเกิด ความจรรโลงใจแกผ ูฟง และผอู า นไดอยา งดี จากคุณคาทงั้ 6 ประการของภาษาไทย จะเหน็ ไดว าภาษาไทยไมเ พียงเปนภาษาเพ่ือนําไปใชใน การแตงคาํ ประพันธประเภทตาง ๆ หรือเปนเพียงภาษาเพื่อการอาน การดูและการฟง แตยังเปน ภาษาเพ่ือการพูดและการเขียน หากคนไทยทุกคนไดศึกษาภาษาไทยใหถองแท มีความรูความเขาใจ ทางภาษาไทยอยางถูกตองลึกซึ้ง สามารถใชภาษาไดดีทั้งภาษาพูด ภาษาเขียน จะทําใหสามารถ สรา งสรรคสง่ิ ใหม ๆ ทางภาษาอันจะนําไปสกู ารประกอบอาชพี ตาง ๆ โดยใชภ าษาเปนพนื้ ฐานของอาชพี ไดอยางดี และมีโอกาสประสบความสาํ เร็จในอาชพี นัน้ ๆ ได เร่อื งท่ี 2 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชีพ ในปจจุบันมีอาชีพมากมายที่คนในรุนกอน ๆ อาจมองขามความสําคัญไป แตกลับเปนอาชีพ ที่ทํารายไดอยางงามแกผูประกอบอาชีพน้ัน และกลายเปนอาชีพที่เปนที่นิยมของคนไทยในปจจุบัน เปน อาชีพทใี่ ชภาษาไทยเปนพน้ื ฐาน โดยเฉพาะใชท กั ษะการพดู และการเขยี นเปนพนื้ ฐาน ดงั น้ี 1. อาชีพทีใ่ ชทักษะการพูดเปน ชอ งทางในการประกอบอาชพี การพูดเปนทักษะสําคัญอีกทักษะหนึ่งที่ตองอาศัยวรรณศิลป คือ ศิลปะการใชภาษา ที่จะสามารถโนมนาวใจ กอใหเกิดความนาเช่ือถือ เห็นคลอยตาม สรางสัมพันธภาพท่ีดีระหวางผูพูด และผูฟง หรือผูฟงตอสวนรวม หรือโนมนาวใจใหใชบริการหรือซื้อส่ิงอุปโภคบริโภคในทางธุรกิจได การพดู จึงเปน ชอ งทางนําไปสูอ าชพี ตา ง ๆ ได ดงั นี้ 1.1 อาชพี ดา นส่ือสารมวลชนทุกรปู แบบ ท้ังในวงราชการ เอกชน และวงการธรุ กิจ ไดแ ก 1.1.1 อาชีพนักโฆษณาประชาสัมพันธ ท้ังการโฆษณาสินคาและบริการ โฆษณา การจัดงานตาง ๆ ของชุมชน หนวยงานราชการ โดยใชรถประชาสัมพันธ โดยการประชาสัมพันธ ผา นเสียงตามสาย โดยการพบปะตดิ ตอ ตอบคาํ ถามตาง ๆ เปนขั้นตน และในข้ันที่สูงขึ้นไป คือ การใช ทกั ษะการพดู และเขียนประกอบกนั เพ่อื คดิ หาถอ ยคําในเชิงสรางสรรคใ นการโฆษณาประชาสมั พันธ

171 ผา นส่อื ตาง ๆ ที่เรียกวา การโฆษณาสนิ คา และบริการ 1.1.2 อาชีพนักจัดรายการวิทยุ เปนอีกอาชีพหน่ึงที่ตองใชทักษะในการพูด การมี โวหาร และวาจาคารมท่ีคมคาย ลึกซึ้งกินใจ เพ่ือใหผูฟงติดตามรายการอยางตอเน่ืองดวยความนิยม มีทง้ั นักจดั รายการวิทยุชุมชน วิทยเุ อกชน และรายการวิทยุของทางราชการ ตลอดจนการใชภาษาพูด เพ่อื สรา งความเปน นํา้ หนง่ึ ใจเดียวกนั ของผูฟง เชน นกั จดั รายการวิทยขุ องทางราชการ 1.1.3 อาชีพพิธีกร ในปจจุบันอาชีพพิธีกรเปนอีกอาชีพหน่ึงที่สามารถทํารายได อยางงามใหแกผูประกอบอาชพี ไมว าจะเปนพิธีกรในชุมชนที่ทําหนาที่ในงานของราชการและงานของ เอกชน เชน พิธกี รงานประจําปต าง ๆ พธิ ีกรการประกวดนางงามของทองถนิ่ พิธกี รงานประเพณสี าํ คญั ทาง ศาสนา พิธกี รงานมงคลสมรส พิธีกรงานอุปสมบท พิธีกรงานศพหรืองานพระราชทานเพลิงศพ และ พธิ ีกรงานพิเศษในโอกาสตาง ๆ ของทางราชการ 2. อาชีพทใี่ ชท ักษะการเขยี นเปนชอ งทางในการประกอบอาชีพ การเขียนเปนทักษะสําคัญอีกทักษะหน่ึงที่เปนชองทางในการนําภาษาไทยไปใชประโยชน ในการประกอบอาชีพตาง ๆ ได การจะใชภาษาเขียนเพ่ือประโยชนในการประกอบอาชีพก็เชนเดียวกับ การพูด คือ ตองมีวรรณศิลปของภาษา เพื่อใหสิ่งที่เขียนสามารถดึงดูดความสนใจดึงอารมณ ความรูสึกรวมของผูอาน โนมนาวใจใหผูอานเห็นคลอยตาม และเพ่ือสรางความบันเทิงใจ รวมท้ัง สรางความรูความเขาใจแกผูอาน ตลอดถึงความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของสวนรวม อาชีพ ท่ีสามารถนาํ ทักษะการเขียนภาษาไทยไปใชเพ่ือการประกอบอาชีพไดโดยตรง ไดแก อาชีพ ดังนี้ 2.1 อาชพี ดา นสื่อสารมวลชนทกุ รูปแบบ ทงั้ ในวงราชการ เอกชน และวงการธุรกิจ ไดแก อาชพี ดงั น้ี 2.1.1 อาชีพผูสื่อขาว ผูเขียนขาว เปนอาชีพท่ีตองใชศิลปะการเขียนและการใชภาษา ท่ดี งึ ดดู ความสนใจของผอู าน 2.1.2 อาชีพผูพิสูจนอักษรและบรรณาธิการ เปนอาชีพท่ีตองมีความรูในการเขียน การสะกดคํา การใชถ อยคําสาํ นวนภาษา สุภาษติ คาํ พังเพยและหลกั ภาษาไทยเปนอยางดี จัดไดวาเปน อาชพี ท่ีชวยธํารงรักษาภาษาไทยไดอาชพี หน่งึ 2.2 อาชีพดานการสรางสรรคงานศิลปะรูปแบบตางๆ ท้ังในวงราชการ เอกชน และวงการธุรกิจ ไดแ ก อาชพี ดังนี้ 2.2.1 อาชีพกวี นักเขียน ทั้งการเขียนสารคดี นิยาย เรื่องสั้น การเขียนบทละครเวที บทละครโทรทัศน บทภาพยนต ผูประกอบอาชีพเหลาน้ี นอกจากมีศิลปะการเขียน และการเลือกใช ถอยคําภาษามาใชเปนอยางดีตองเปนคนท่ีอานมาก ฟงมาก เพ่ือนําขอมูลที่ไดรับไปใชประโยชน ในการเขียนสอ่ื สารสรางความสนุกสนาน บันเทิงใจ จรรโลงใจแกผูอานและควรเปนผูมีความคิดริเริ่ม สรา งสรรค และจินตนาการเปนองคป ระกอบ จึงจะทาํ ใหอาชพี ทป่ี ระกอบประสบความสําเรจ็ ดวยดี

172 นอกเหนือจากอาชีพที่ใชภาษาไทยเปนชองทางในการประกอบอาชีพโดยตรงแลว ยังมี การประกอบอาชีพอื่น ๆ อีก ที่ใชภาษาไทยเปนชองทางโดยออม เพื่อนําไปสูความสําเร็จในอาชีพ ของตนเอง เชน อาชีพลา ม มคั คเุ ทศก เลขานกุ าร นักแปล และนักฝกอบรม ครู อาจารย เปน ตน เรื่องที่ 3 การเพิม่ พนู ความรแู ละประสบการณท างดา นภาษาไทย เพอื่ การประกอบอาชพี ในการนําความรูทางภาษาไทย ท้ังทักษะการพูดและการเขียนไปใชในการประกอบอาชีพน้ัน เพียงการศึกษาในชั้นเรียนและตําราอาจจะยังไมเพียงพอ ผูประกอบอาชีพตองเพ่ิมพูนความรู และประสบการณดานภาษาและดานตาง ๆ เพอื่ ใหก ารประกอบอาชีพประสบความสาํ เร็จ ดังจะยกตัวอยาง อาชีพท่ีใชภาษาไทย เปนชอ งทางในการประกอบอาชีพโดยตรง เพอ่ื เปนตวั อยา ง ดงั นี้ 1. อาชีพนกั โฆษณา - ประชาสัมพนั ธ เปนอาชีพที่ผูประกอบการ ตองเพิ่มพูนความรูในเรื่องการเขียน และการพูดแบบสรางสรรค รวมท้ังฝกประสบการณ โดยการฝกเขียนบอย ๆ ตลอดจนการศึกษาดูงานของหนวยงาน หรือบริษัเอกชน ที่ประสบความสําเรจ็ ในเร่อื งของการโฆษณาและประชาสัมพนั ธ องคค วามรทู ่คี วรศกึ ษาเพ่ิมเตมิ ในการเพ่ิมพูนองคความรูในดานการเขียนและการพูด ผูประกอบอาชีพดานน้ี ควรศึกษา เนื้อหาความรูทีจ่ ะนําไปใชในการพัฒนาอาชีพ ในเรอ่ื งตอไปนี้ 1) ศลิ ปะการพูดและศิลปะการเขียน เพราะอาชพี นักโฆษณาประชาสัมพันธเปน อาชีพที่ตอง อาศัยศาสตรท้ังสองดานประกอบกัน ในการพูดนํ้าเสียงตองนุมนวลหรือเราใจข้ึนอยูกับสถานการณ ของเร่ืองที่จะโฆษณาหรือประชาสัมพันธ รูจักเลือกใชถอยคําที่เปนการใหเกียรติแกผูฟง หรือเคารพ ขอ มลู ท่เี จา ของงานใหมา 2) ระดบั ของภาษา ซ่งึ เปนเร่ืองของการศกึ ษาถงึ ความลดหลน่ั ของถอ ยคํา และการเรยี บเรียง ถอ ยคําท่ีใชตามโอกาส กาลเทศะและความสัมพันธระหวางบุคคลท่ีเปนผูสื่อสารและผูรับสาร ซึ่งกลุม บุคคลในสังคมแบงออกเปน หลายกลมุ หลายชนชน้ั ตามสภาพอาชีพถิ่นท่ีอยอู าศัย ฯลฯ ภาษาจึงมีความ แตกตา งกันเปนระดับตามกลุมคนทใี่ ชภาษา เชน ถอยคําท่ีใชกับพระภิกษุสงฆและพระราชวงศ อาจใช ถอ ยคําอยางหนึ่ง ภาษาของนักเขียนหรือกวีที่สื่อสารถึงผูอาน ก็อาจจะใชภาษาอีกอยางหน่ึง เปนตน ดงั น้นั ผใู ชภ าษาจงึ ตอ งคาํ นึงถงึ ความเหมาะสมและเลอื กใชใ หถ ูกตองเหมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คล ในภาษาไทย จะแบงระดบั ของภาษาเปน 5 ระดบั คอื 2.1) ภาษาระดับพธิ กี าร เปนภาษาทใี่ ชในงานพระราชพธิ ีหรอื งานพิธขี องรฐั 2.2) ภาษาระดบั ทางการ เปน ภาษาท่ใี ชใ นทป่ี ระชุมทมี่ ีแบบแผนการบรรยาย การอภิปรายทเ่ี ปนทางการ เปนตน

173 2.3) ภาษาระดับกึ่งทางการ เปนภาษาท่ีใชในการอภิปราย ประชมุ กลุมในหองเรียน การพดู ทางวทิ ยแุ ละโทรทศั น ขาว และบทความในหนงั สอื พมิ พ 2.4) ภาษาระดบั สนทนาท่วั ไป เปนภาษาทีใ่ ชสนทนาท่ัว ๆ ไป กับคนท่ีไมค ุนเคย มากนกั เชน ครพู ดู กบั ผูเรยี น เปน ตน 2.5) ภาษาระดับกันเอง เปน ภาษาระดับที่เรียกวา ระดับภาษาปาก เปนภาษาสนทนา ของครอบครวั ในหมูเพอ่ื นสนิท หรือญาติพี่นอง พดู อยูใ นวงจํากัด 3) เร่ืองของน้ําเสยี งในภาษา ซึง่ เปนเรือ่ งท่ีเก่ียวกับอารมณความรูสึกของผูสงสารท่ีปรากฏ ใหรูสึกหรือเปนรองรอยในภาษาหรือเนื้อหาที่ผูสงสารตองการจะสื่อออกมาเปนความรูสึกแฝง ที่ปรากฎในการสื่อสาร ซึ่งนักโฆษณาประชาสัมพันธตองระมัดระวังมิใหมีน้ําเสียงของภาษาออกมา ในทางท่ีไมพงึ ประสงค หรอื สรางความรสู ึกทไ่ี มดีแกผูฟ ง 4) ดานการพัฒนาบุคลิกภาพ ในบางคร้ังนักโฆษณา - ประชาสัมพันธตองปรากฎตัวตอ บคุ คลทัว่ ไปในงานตาง ๆ จึงควรตองแตงกายใหสุภาพเรียบรอย เหมาะกับกาลเทศะของสถานที่และ งานทว่ั ไป ซงึ่ จะชว ยสรางความนาเชอื่ ถอื แกผ ูพบเหน็ ไดสว นหน่ึง 5) การพัฒนาองคความรูในตนเอง นักโฆษณา - ประชาสัมพันธ ตองหมั่นแสวงหาความรู ติดตามขาวสารขอมูลทุกดานอยางสม่ําเสมอ เพื่อนํามาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการโฆษณา - ประชาสัมพันธใหนาสนใจอยูตลอดเวลา รวมท้ังตองแสวงหาความรูในดานการประเมินผล เพ่ือใช ประโยชนในการประเมินผลการปฏิบัติหนาท่ีของตนเองดวยรูปแบบวิธีการตาง ๆ ท่ีจะกอใหเกิด การพฒั นาอาชพี ใหดียง่ิ ข้นึ แหลง ทค่ี วรศึกษาเพ่มิ เตมิ แหลงท่ีควรศึกษาเพมิ่ เติมเพอ่ื เพ่ิมพนู ความรูในอาชีพนี้ ไดแ ก 1) สถาบันฝกอบรมของเอกชน ซ่ึงผูเรยี นสามารถหาขอมลู รายชอ่ื ไดจากอินเตอรเ น็ต 2) หนวยงานของทางราชการ ไดแก กรมประชาสมั พันธ สถาบันสงเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ภาคตา ง ๆ 3) สถานศกึ ษาตาง ๆ ของรัฐบาล เชน ผูที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน ตองศึกษา ตอ ในระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย และเขา ศกึ ษาตอในระดับอดุ มศึกษา คณะนเิ ทศศาสตร คณะวารสาร- ศาสตร คณะศิลปะศาสตร คณะอักษรศาสตร ถาศึกษาตอใน 2 คณะหลัง ตองฝกอบรมทางอาชีพ เพ่ิมเตมิ จากสถาบนั ฝกอบรมตาง ๆ 2. อาชพี นกั จดั รายการวิทยุ เปนอาชีพที่ผูประกอบการตองเปนคนที่ตรงตอเวลา มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความเปนกลาง ในการนําเสนอขาวสารขอมูล รูจักแกปญหาเฉพาะหนาและตองเพ่ิมพูนความรูในเรื่องการเขียนและ การพดู เพราะการเปน นกั จดั รายการวิทยุ ผูจัดตองเขียนสคริปทที่จะใชในการดําเนินรายการไดเองและ พดู ตามสคริปทไดอยางเปนธรรมชาติ รวมท้ังตองอานมาก ฟงมาก เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลไวใช ในการ

174 จัดทาํ รายการวิทยุ ซึ่งมีสถานที่ท่ีผูประกอบการสามารถฝกอบรมและศึกษาดูงานไดทั้งของภาครัฐและ เอกชน องคความรูท่ีควรศกึ ษาเพิ่มเติม ในการเพ่ิมพูนความรูเพื่อการเปนนักจัดรายการวิทยุที่ดี ผูประกอบอาชีพดานนี้ควรศึกษา เนอื้ หาความรทู จ่ี ะนํามาใชใ นการพัฒนาอาชพี ในเรื่องตอ ไปนี้ 1) ศลิ ปะการพูดและศลิ ปะการเขียน เพราะเปนอาชีพทต่ี องอาศัยศาสตรท ัง้ สองดานประกอบกัน 2) ระดับของภาษา ซงึ่ เปนเรือ่ งของการศกึ ษาถึงความลดหลั่นของถอยคํา และการเรียบเรียง ถอยคําที่ใชตามโอกาส กาลเทศะ และความสัมพันธระหวางบุคคลที่เปนผูสงสารและผูรับสาร ซ่ึงกลุมบุคคลในสังคมแบงออกเปน หลายกลุม หลายชนชั้น ตามสภาพอาชีพ ถิ่นที่อยูอาศัย ฯลฯ ภาษาจึงมีความแตกตางกันเปนระดับตามกลุมคนที่ใชภาษา เชน ถอยคําที่ใชกับพระภิกษุสงฆและ พระราชวงศ อาจใชถอยคําภาษาอยางหนึ่ง ภาษาของนักเขียนหรือกวีท่ีส่ือสารถึงผูอาน ก็จะใชภาษา อีกอยางหนึ่ง เปนตน ดงั นน้ั ผูใชภาษาจงึ ตองคํานึงถึงความเหมาะสม และเลอื กใชใ หถกู ตองเหมาะสมกับ กาลเทศะและบคุ คล ในภาษาไทยจะแบงระดับของภาษาเปน 5 ระดับ คอื 2.1 ภาษาระดับพิธกี าร เปน ภาษาทใี่ ชใ นงานพระราชพิธี หรืองานพิธีของรฐั 2.2 ภาษาระดับทางการ เปนภาษาทใี่ ชในที่ประชมุ ท่ีมีแบบแผน ในการบรรยาย การอภิปรายท่ีเปน ทางการ เปน ตน 2.3 ภาษาระดบั กงึ่ ทางการ เปน ภาษาทใ่ี ชในการอภิปราย ประชมุ กลมุ ในหองเรียน การพูด ทางวทิ ยแุ ละโทรทศั น ขาว และบทความในหนังสือพิมพ เปน ตน 2.4 ภาษาระดบั สนทนาท่วั ไป เปน ภาษาท่ใี ชส นทนาท่ัว ๆ ไปกบั คนทไี่ มค นุ เคยมากนัก เชน ครูพูดกบั ผเู รียน เปน ตน 2.5 ภาษาระดบั กันเอง เปน ภาษาระดับท่ีเรียกวาระดับปาก เปนภาษาสนทนาของครอบครัว ในหมเู พ่อื นสนิท หรอื ญาติพน่ี อง พูดอยูในวงจํากัด 3) เรื่องของน้ําเสียงในภาษา ซึ่งเปนเร่ืองท่ีเก่ียวกับอารมณความรูสึกของผูสงสารที่ปรากฏ ใหรูสึกหรือเปนรองรอยในภาษาหรือเนื้อหาที่ผูสงสารตองการจะสื่อออกมาเปนความรูสึกแฝง ที่ปรากฎในการส่ือสาร ซ่ึงนักจัดรายการวิทยุตองระมัดระวังมิใหมีนํ้าเสียงของภาษาออกมาในทาง ท่ไี มพงึ ประสงค หรือสรา งความรูสกึ ทีไ่ มด แี กผ ฟู ง 4) เร่ืองของหลักการใชภาษา เชน เร่ืองของคําสรรพนามที่เกี่ยวกับบุคคล คําลักษณะนาม คาํ ราชาศัพท การออกเสียง ร ล และการออกเสยี งคําควบกล้ํา 5) ดานการพัฒนาบุคลิกภาพ ในบางครั้งนักจัดรายการวิทยุตองปรากฏตัวตอบุคคลทั่วไป ในงานตาง ๆ จึงควรตองแตงกายใหสุภาพเรียบรอย เหมาะกับกาลเทศะของสถานท่ีและงานที่ไป ซง่ึ จะชวยสรา งความนา เชอื่ ถอื แกผ ูพบเหน็ ไดส ว นหนึ่ง

175 6) การพัฒนาองคความรูในตนเอง นักจัดรายการวิทยุ ตองหมั่นแสวงหาความรูติดตาม ขาวสารขอมูลทุกดานอยางสมํ่าเสมอ เพื่อนํามาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการจัดรายการวิทยุ ใหนาสนใจอยูตลอดเวลา รวมทั้งตองแสวงหาความรูในดานการประเมินผล เพื่อใชประโยชน ในการประเมินผลการปฏบิ ัตหิ นา ที่ของตนเองดว ยรูปแบบวิธกี ารตาง ๆ ที่จะกอใหเกิดการพัฒนาอาชีพ ใหด ียิ่งขน้ึ แหลง ทคี่ วรศึกษาเพมิ่ เติม แหลงท่ีควรศกึ ษาเพิ่มเตมิ เพอ่ื เพิ่มพนู ความรใู นอาชพี น้ี ไดแก 1. สถาบันฝก อบรมของเอกชน ซงึ่ ผเู รยี นสามารถหาขอมูลรายชื่อไดจ ากอนิ เตอรเน็ต 2. หนว ยงานของทางราชการ ไดแก กรมประชาสมั พนั ธ สถาบันสงเสริมการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ภาคตา ง ๆ 3. สถานศึกษาตา ง ๆ ของรฐั บาล เชน ผูท่ีจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน ตองศึกษา ตอในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และเขาศึกษาตอในคณะนิเทศศาสตร คณะวารสารศาสตร คณะศิลปะศาสตร คณะอักษรศาสตร ถาเขาศึกษาในคณะศิลปะศาสตร หรืออักษรศาสตรตองอบรม เพิ่มเตมิ ในเรื่องเทคนคิ การจัดรายการวิทยเุ พ่มิ เติม 3. อาชพี พิธกี ร เปนอาชพี ท่ีผปู ระกอบอาชีพตองมีพ้ืนฐานความรูในเร่ืองการพูดเปนอยางดี เพราะเปนอาชีพ ทีต่ องใชก ารพดู เปนเครือ่ งมือในการสอื่ สารกบั ผอู ่นื การใชคําพูดและถอ ยคําภาษาจึงเปนเรื่องสําคัญตอ การสรางความรูส ึกทด่ี หี รอื ไมดตี อ ผฟู ง นอกจากนบี้ ุคลกิ ภาพและการแตง กายของผูท าํ หนาท่พี ธิ ีกรก็เปน อีกเรื่องหนึ่งท่ีจะดึงดูดความสนใจของผูฟง รวมทั้งควรเปนผูที่ตรงตอเวลา เพื่อเปนความเช่ือถือ ในวชิ าชีพไดสวนหน่ึง องคความรูท ่ีควรศกึ ษาเพมิ่ เตมิ ในการเพมิ่ พนู องคค วามรใู นการประกอบอาชีพพิธีกร ควรศึกษาเน้ือหาความรูที่จะนําไปใชใน การพัฒนาอาชพี ในเร่ืองตอไปน้ี 1. ศิลปะการพูดหรือศิลปะการใชภาษา เพราะอาชีพพิธีกร เปนอาชีพที่ตองอาศัยศาสตร (ความรู) และศลิ ปของการพูดเปนอยา งมาก ซงึ่ ตอ งอาศัยการฝกฝนบอ ย ๆ 2. ระดบั ของภาษา ซ่ึงเปน เรือ่ งของการศึกษาถึงความลดหล่ันของถอยคํา และการเรียบเรียง ถอยคําที่ใชตามโอกาส กาลเทศะ และความสัมพันธระหวางบุคคลท่ีเปนผูสงสารและผูรับสาร ซึ่งกลมุ บคุ คลในสงั คมแบง ออกเปน หลายกลมุ หลายชนชัน้ ตามสภาพอาชีพถนิ่ ทอ่ี ยูอาศยั ฯลฯ ภาษาจึงมี ความแตกตางกันเปนระดับตามกลุมคนท่ีใชภาษา เชน ถอยคําที่ใชกับพระภิกษุสงฆและพระราชวงศ อาจใชถอยคําภาษาอยางหนึ่ง ภาษาของนักเขียนหรือกวีที่สื่อสารถึงผูอาน ก็จะใชภาษาอีกอยางหนึ่ง เปน ตน ดงั นนั้ ผูใชภาษาจึงตอ งคํานึงถงึ ความเหมาะสม และเลือกใชใหถูกตองเหมาะสม กับกาลเทศะ และบุคคล

176 ในภาษาไทยจะแบง ระดบั ของภาษาเปน 5 ระดับ คอื 2.1 ภาษาระดบั พิธีการ เปนภาษาที่ใชในงานพระราชพิธี หรืองานพธิ ีของรัฐ 2.2 ภาษาระดบั ทางการ เปนภาษท่ีใชในทป่ี ระชุมทม่ี แี บบแผน ในการบรรยาย การอภิปรายท่เี ปนทางการ เปนตน 2.3 ภาษาระดบั กง่ึ ทางการ เปน ภาษาทใ่ี ชในการอภปิ ราย ประชุมกลุม ในหอ งเรียน การพูดทางวิทยแุ ละโทรทศั น ขาว และบทความในหนงั สือพมิ พ เปนตน 2.4 ภาษาระดบั สนทนาทวั่ ไป เปนภาษาทีใ่ ชส นทนาท่วั ๆ ไปกับคนทไี่ มค นุ เคยมากนัก เชน ครูพูดกับผูเรยี น เปน ตน 2.5 ภาษาระดบั กันเอง เปน ภาษาระดบั ท่ีเรยี กวา ระดับปากเปน ภาษาสนทนาของครอบครัว ในหมเู พอื่ นสนทิ หรอื ญาติพ่นี องพูดอยใู นวงจาํ กดั 3. เรื่องของน้ําเสียงในภาษา ซ่ึงเปนเร่ืองท่ีเก่ียวกับอารมณ ความรูสึกของผูสงสารที่ปรากฏ ใหรูสึก หรือเปนรองรอยในภาษา หรือเนื้อหาท่ีผูสงสารตองการจะส่ือออกมา เปนความรูสึกแฝง ท่ีปรากฎในการสอื่ สาร 4. เรื่องของหลักการใชภาษา เชน เรื่องของคําสรรพนามท่ีเกื่ยวกับบุคคล คําลักษณะนาม คาํ ราชาศพั ท การออกเสียง ร ล และการออกเสยี งคาํ ควบกลาํ้ 5. เร่อื งของการพัฒนาบคุ ลิกภาพและการแตงกาย ผูทําหนาท่ีพิธีกร เปนผูที่ตองปรากฏกาย ตอหนาคนจํานวนมาก บุคลิกภาพและการแตงกายจึงเปนเร่ืองสําคัญที่จะปรากฏเปนสิ่งแรกใหผูท่ี พบเหน็ เกดิ ความประทับใจหรอื ไม ถา ประทับใจผูคนจะจดจอรอฟงการพูดเปนประการตอมา ถาผูพูด สามารถพดู ไดป ระทบั ใจ จะกอ เกดิ เปน ความนิยมชมชอบตามมาและจะกอใหเกิดเปนความสําเร็จของ อาชีพในท่สี ุด 6. ดานการพัฒนาองคความรูในตนเอง พิธีกรตองหม่ันแสวงหาความรูท่ีเก่ียวของกับ การประกอบอาชีพ เพ่ือนําไปสูการพัฒนาอาชีพของตนเอง เชน เรื่องของการวัดผลประเมินผล การทาํ หนาท่ีของตนเองดวยรูปแบบวิธีการตา ง ๆ ซ่งึ จะกอใหเกดิ การพัฒนาอาชีพใหดยี งิ่ ข้ึน แหลงทคี่ วรศึกษาพ่มิ เตมิ แหลงที่ควรศึกษาเพม่ิ เตมิ เพอ่ื เพิ่มพนู ความรูใ นอาชีพนี้ ไดแ ก 1. สถาบันฝก อบรมของเอกชน ซึง่ ผูเรยี นสามารถหาขอมูลรายช่อื ไดจ ากอนิ เตอรเนต็ 2. หนว ยงานของทางราชการ ไดแ ก กรมประชาสมั พนั ธ สถาบันสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยภาคตา ง ๆ 3. สถานศกึ ษาตาง ๆ ของรัฐบาล เชน ผูที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน ตองศึกษา ตอในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย และเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา คณะนิเทศศาสตร คณะวารสาร- ศาสตร คณะศลิ ปศาสตร คณะอักษรศาสตร ถาเขาศึกษาในคณะศิลปศาสตรหรืออักษรศาสตรตองอบรม เพ่ิมเติมในเรอ่ื งเทคนคิ การจัดรายการวิทยเุ พิม่ เติม

177 กจิ กรรมทา ยบท กิจกรรมท่ี 1 ใหผ เู รียนสรุปคณุ คาของภาษาไทยมาพอสงั เขป ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. กิจกรรมท่ี 2 ใหผูเรยี นตอบคําถามตอไปนสี้ ้ัน ๆ ใหไดใ จความ 1. ภาษาไทยเปน มรดกทางวัฒนธรรมอยา งไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2. ภาษาไทยกอใหเ กดิ ความจรรโลงใจไดอยางไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ 3. อาชีพใดตอ งอาศยั การพูดเปนชอ งทางในการประกอบอาชีพ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4. อาชพี ใดตอ งอาศยั การเขียนเปน ชองทางการประกอบอาชพี ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 5. ความรแู ละทกั ษะเร่อื งใดบางท่ผี ปู ระกอบอาชพี พธิ ีกรตอ งเรียนรแู ละฝกฝนเพม่ิ เตมิ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

178 กจิ กรรมท่ี 3 จงวงกลมลอมรอบขอทีถ่ ูกตอ งทสี่ ดุ 1. อาชพี ใดทีจ่ ดั เปน อาชีพทใี่ ชภ าษาไทยในทางสรา งสรรคแ ละเปน ศลิ ปะรปู แบบหนึ่ง ก. กวี ข. พิธกี ร ค. นักจัดรายการวิทยุ ง. นกั ประชาสมั พันธ 2. อาชีพใดทีต่ อ งใชค วามสามารถทัง้ การพดู และการเขียน ก. บรรณาธิการ ข. นักเขยี นสารคดี ค. นกั พสิ ูจนอ กั ษร ง. นักจดั รายการวิทยุ 3. อาชพี ใดทีต่ องอาศยั ความสามารถในการพูดและตอ งมบี คุ ลกิ ภาพท่ีดี ก. พิธีกร ข. นกั เขยี นบทโทรทศั น ค. ผสู อ่ื ขาวหนงั สือพิมพ ง. นักโฆษณา - ประชาสัมพันธ 4. อาชีพใดทตี่ องมีความสามารถในการเขียนเปนพเิ ศษ ก. พธิ กี ร ข. นักเขียน ค. บรรณาธกิ าร ง. นกั จัดรายการวทิ ยุ 5. การศกึ ษาในสาขาใดทําใหสามารถประกอบอาชพี ท่ใี ชภาษาเพ่อื การสอ่ื สารมวลชนได ก. ครศุ าสตร ข. ศิลปะศาสตร ค. นิเทศศาสตร ง. อักษรศาสตร

179 บทท่ี 1 เรอื่ งการฟง การดู เฉลยแบบฝกหดั กิจกรรมที่ 1 ใหผูเรียนตอบคําถามตอไปนี้ 1.1 การฟง และการดู หมายถงึ การท่ีมนษุ ยรบั รูเรื่องราวตา ง ๆ จากแหลง ของเสียงหรือภาพ หรือเหตุการณซ่ึงเปนการฟงจากผูพูดโดยตรง หรือฟงและดูผานอุปกรณหรือส่ิงตาง ๆ แลวเกิด การรับรูและนาํ ไปใชป ระโยชนไดโ ดยตองศึกษาจนเกดิ ความถกู ตอ ง วองไว ไดป ระสทิ ธิภาพ 1.2 จุดมุงหมายของการฟงและการดู 1. ฟง เพื่อจับใจความสําคัญไดวาเรื่องที่ฟงน้ันเปนเร่ืองเก่ียวกับอะไร เกิดขึ้นที่ไหน เม่อื ไร หรอื ใครทําอะไรทไี่ หน เม่อื ไร 2. ฟง เพื่อจับใจความโดยละเอียด ผูฟงตองมีสมาธิในการฟง มีการบันทึกยอ เพื่อชวย ความจาํ 3. ฟงและดู เพ่ือความเพลิดเพลิน ไดแก การฟงเพลง ฟงดนตรี ดูภาพยนตร ดูภาพ สวยงาม ฟง นิทาน เปนตน กิจกรรมที่ 3 เลอื กคาํ ตอบท่ถี กู ตองทส่ี ุดเพยี งคําตอบเดยี ว 1. ก 2. ง 3. ค 4. ข 5. ก ฀฀฀ เฉลย บทที่ 2 การพดู กจิ กรรมที่ 1 ใหผ ูเรยี นเลอื กคําตอบท่ถี ูกที่สดุ เพียงขอเดยี ว 1. ง 2. ข 3. ข 4. ค 5. ค กจิ กรรมท่ี 2 ใหผ ูเรยี นยกตวั อยา งการกระทาํ ทีไ่ มม มี ารยาทในการพูดมา 5 ตวั อยาง 1. พูดใหรายผูอ่ืน 2. พดู หยาบคาย 3. พดู ยกตนขม ทา น 4. พดู ดุดัน พูดเสยี งดงั 5. พูดไมถกู กาลเทศะ ฀฀฀

180 เฉลย บทที่ 3 การอาน กจิ กรรมท่ี 1 1. การอา นในใจมจี ุดมุง หมาย คือ 1) จบั ใจความไดถูกตอ งรวดเร็ว 2) เกิดความรู ความเขา ใจ และความคดิ 3) ใชเวลาวางใหเ ปนประโยชน 4) ถา ยทอดความรใู หผ ูอ นื่ ได 2. การอานออกเสียงมีหลกั การ 1) ออกเสยี งถูกตอ งชัดเจน 2) เสยี งดังใหผ ูฟ ง ไดยนิ 3) เปน เสยี งพดู โดยธรรมชาติ 4) เขาถงึ ลักษณะของเนือ้ เรื่อง 5) รูจกั ทอดจงั หวะและหยุดหายใจ 3. จงยกตวั อยา งการอา นออกเสียงทเ่ี ปนทางการ คือ การอา นในชนั้ เรียน อานในที่ประชมุ อา นรายงาน อา นคําปราศรัย อานสารในโอกาสทีส่ าํ คญั ตาง ๆ กจิ กรรมที่ 2 การนําขอความหรอื ประโยคทเ่ี ปนหวั ใจของเร่ืองออกมา กจิ กรรมที่ 3 วิทยุ โทรทัศน เทปเสียง วีดิทัศน ซีดี คอมพวิ เตอร อนิ เทอรเนต็ กิจกรรมท่ี 4 การอานเพอ่ื การวิเคราะหว จิ ารณ เปน การอธบิ ายลกั ษณะของงานเขียน โดยแยกแยะ รายละเอียดสิง่ ทสี่ าํ คัญของงานเขียนนั้นออกมาใหเ ดนชดั เพือ่ ชีใ้ หเหน็ สวนทง่ี ดงาม หรอื จดุ บกพรอง ทีแ่ ฝงอยเู พอ่ื ใหเห็นคณุ คา ของหนังสือเลม นัน้ การวจิ ารณห นงั สือ เปนการหาความรปู ระเภท และลกั ษณะของงานเขียนเรือ่ งน้นั ๆ ใหเ ขาใจ กอนวิจารณ มีการแยกประเด็นขอดี ขอบกพรองที่ควรนํามากลาวถึงไวตางหากใหชัดเจน และเปรียบเทียบกบั ผลงานของนักเขียนท่เี ขยี นเร่อื งในแนวเดยี วกนั กิจกรรมท่ี 5 มารยาทในการอาน มดี ังน้ี 1. ไมอา นออกเสียงดงั ในทที่ ีต่ อ งการความสงบ 2. ไมท าํ ลายหนังสือ โดยขูด ขดี พับ หรอื ฉกี สวนท่ตี องการ 3. ไมควรอา นเรอื่ งที่เปนสว นตัวของผูอนื่ 4. อานอยางตัง้ ใจ มีสมาธิ และไมทาํ ลายสมาธิผูอ่นื 5. เม่ืออา นหนงั สือเสรจ็ แลวควรเก็บหนังสอื ไวท ี่เดิม

181 เฉลย บทที่ 5 หลักการใชภ าษา กจิ กรรมท่ี 1 แยกคําตอ ไปนตี้ ามตาราง คาํ ประสม ผลไม พลเรอื น นพเกา คําสมาส รฐั บาล ศลิ ปกรรม รูปธรรม มหาชน อัคคภี ัย พระเนตร พุทธกาล คหกรรม ภูมิศาสตร คาํ สนธิ วทิ ยาลัย สัญญาณ นโยบาย กิจกรรมท่ี 2 ใหผ เู รยี นพิจารณาประโยคตอไปน้วี าเปน ประโยคชนิดใด 1. ประโยคความเดียว 2. ประโยคความซอ น 3. ประโยคความเดยี ว 4. ประโยคความรวม 5. ประโยคความเดยี ว กิจกรรมที่ 5 จบั คูสาํ นวนใหต รงกบั ความหมาย 1. ฒ 2. ฉ 3. ซ 4. จ 5. ก 6. ญ 11. ฎ 12. ช 7. ฐ 8. ฑ 9. ณ 10. ข กจิ กรรมที่ 6 เขยี นคาํ พงั เพยใหตรงกับความหมาย 1. รําไมดีโทษปโ ทษกลอง 2. มอื ไมพายเอาเทารานา้ํ 3. ขชี่ างจับต๊กั แตน 4. ฟน ฝอยหาตะเข็บ 5. กระเชอกันรัว่ กจิ กรรมที่ 7 1. กลอนสภุ าพ 2. กาพยย านี 11 ฀฀฀

182 เฉลย บทท่ี 6 วรรณคดีและวรรณกรรม 1. การพินิจ หมายถึง การพจิ ารณาตรวจสอบ พรอ มทั้งวเิ คราะหแยกแยะและประเมินคาได 2. หลกั เกณฑใ นการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม 1) ความเปนมาหรือประวัตหิ นังสือและผูแตง 2) ลกั ษณะคาํ ประพนั ธ 3) เร่ืองยอ 4) เน้ือเรอ่ื ง 5) แนวคดิ จดุ มงุ หมาย 6) คุณคา ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม 3. เพลงพน้ื บาน หมายถึง เพลงที่เกิดจากคนทอ งถน่ิ ตา ง ๆ ที่คิดรูปแบบการเลน ทวงทาํ นอง ภาษาเรยี บงา ยไมซับซอ น 4. เพลงพ้ืนบาน จะแบงเปนภาคตามภูมิศาสตร คือ เพลงพื้นบานภาคกลาง เพลงพื้นบาน ภาคเหนือ เพลงพน้ื บานภาคใต และเพลงพ้ืนบา นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 5. – 6. 1. ข 2. ก 3. ข 4. ก 5. ค 6. ค 7. ค 8. ค 9. ง 10. ง ฀฀฀ เฉลย บทที่ 7 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชพี กิจกรรมที่ 1 ใหผูเรียนสรุปคุณคา ของภาษาไทยมาพอสงั เขป คุณคาของภาษาไทยมหี ลายประการ ดงั น้ี 1. คณุ คาทางวัฒนธรรม ภาษาไทยเปน ภาษาทม่ี ที ั้งภาษาพูด และภาษาเขียน ซ่ึงเขียนโดยใช ตัวอักษรของไทยที่ประดิษฐข้ึนใชเองโดยพอขุนรามคําแหงมหาราชในสมัยสุโขทัย ซ่ึงการที่ชาติใด ก็ตามมีอักษรในภาษาใชเองได แสดงวาชาตินั้นเปนชาติที่มีวัฒนธรรมสูง มีความเจริญ จึงมีอักษร ในภาษาใชเอง และถือเปนมรดกทางวฒั นธรรมท่ีใชส บื ทอดมาจนทุกวนั น้ี 2. เปนเคร่ืองมือในการติดตอส่ือสารของคนในชาติ เพราะประเทศไทยมีวัฒนธรรมและ ภาษาถิ่นแตกตางกันใน 5 ภูมิภาค โดยมีภาษาไทยภาคกลางเปนภาษาเพื่อการสื่อสารของคน ทัง้ 5 ภูมภิ าค เปน ภาษาราชการ

183 3. เปนเครอ่ื งมือในการเรียนรแู ละแสวงหาความรู ในการเรียนรวู ชิ าอื่น ๆ หรอื เรื่องราวตา ง ๆ ตองอาศยั ภาษาไทยภาคกลาง ซึ่งบางครง้ั เรียกภาษามาตรฐาน เปน ภาษาในการเรยี นรูว ชิ าอ่ืน ๆ ทั้งการ อานและการเขียน 4. เปน เครอื่ งมอื ในการสรางความเขาใจอันดตี อกนั ของคนในทกุ ภมู ภิ าค 5. เปนเคร่ืองมือในการสรางเอกภาพของชาติ เพราะภาษาไทยภาคกลางเปนภาษาที่ใช ในการสื่อสารความเขาใจของคนในภูมิภาคตาง ๆ ซ่ึงเปนส่ือรวมใจใหคนไทยในแตละภาค ไดติดตอ สือ่ สารแลกเปล่ียนความรู ขาวสาร ขอมูล และการแลกเปลย่ี นวฒั นธรรม ทําใหตระหนักระลึก ถึงความเปน เช้อื ชาตเิ ผาพนั ธุเดยี วกัน 6. เปน เคร่อื งจรรโลงใจ ภาษาไทยเปนภาษาดนตรี มีเสียงวรรณยกุ ต 5 เสยี ง ทําใหภาษาไทย มเี สยี งสูง ตา่ํ ไพเราะ เม่ือนํามาแตง เปนคาํ ประพนั ธ ไมวาจะเปน โคลง ฉันท กาพย กลอน จึงกอใหเกิด ความจรรโลงใจ ความบันเทิงใจ กิจกรรมที่ 2 ใหผ ูเรยี นตอบคาํ ถามตอไปนีส้ ้ัน ๆ ใหไ ดใจความ 1. ภาษาไทยเปนมรดกทางวัฒนธรรมอยา งไร ภาษาไทยเปนภาษาทีม่ อี กั ษรเปนของตนเอง ท้ังภาษาพูด และภาษาเขียน ซึ่งชาติที่สามารถ ประดิษฐอักษรในภาษาใชเองได มีแตชาติที่มีความเจริญทางวัฒนธรรมเทานั้น จึงจะมีอักษรในภาษา เปนของตนเองและคนไทยไดใชสบื ทอดมาจนทุกวันนี้ 2. ภาษาไทยกอใหเกิดความจรรโลงใจไดอยางไร ภาษาไทยเปนภาษาทมี่ วี รรณยุกตเ พอ่ื ผันใหคําในภาษามเี สียงสูง ตา่ํ ไดถ ึง 5 เสยี ง ทําให ภาษาไทยเปน ภาษาดนตรี เมอ่ื นํามาแตงเปนคําประพนั ธทงั้ รอยแกว และรอ ยกรอง ทําใหไดอ รรถรส ของภาษา กอใหเ กดิ ความสนกุ สนาน เพลดิ เพลินจรรโลงใจแกผอู าน 3. อาชพี ใดตองอาศัยการพูดเปน ชองทางในการประกอบอาชพี อาชีพพิธกี ร อาชพี นักโฆษณา - ประชาสมั พันธ อาชพี นกั รายการวทิ ยุ - โทรทศั น 4. อาชพี ใดตองอาศัยการเขยี นเปน ชองทางในการประกอบอาชพี อาชพี กวี นักเขยี น ท้งั เขียนนวนยิ าย เรือ่ งสั้น บทละคร นักเขยี นสารคดี 5. ความรแู ละทักษะเร่อื งใดบา งทีผ่ ปู ระกอบอาชพี พธิ ีกรตองเรยี นรแู ละฝกฝนเพมิ่ เติม 1. ศลิ ปะการพดู และศลิ ปะการเขยี น 2. ระดับของภาษา 3. เรือ่ งของนาํ้ เสยี งในภาษา 4. เรือ่ งของหลักการใชภาษา 5. เรื่องของการพฒั นาบุคลกิ ภาพและการแตง กาย 6. การพฒั นาองคค วามรูในตนเอง กจิ กรรมที่ 3 1. ก 2. ง 3. ก 4. ข 5.ค

184 บรรณานุกรม การศึกษานอกโรงเรยี น, กระทรวงศึกษาธิการ, หมวดวชิ าภาษาไทย (สองระดับ) ชุดที่ 1 การรับสารดวย การอาน และการฟง ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน หลักสูตร การศึกษานอกโรงเรียน กรุงเทพฯ โรงพมิ พค รุ สุ ภา 2541 การศกึ ษานอกโรงเรียน กทม : ชุดการเรยี นทางไกล หมวดวชิ าภาษาไทย ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน โรงพิมพค ุรสุ ภา, 2546 กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น, กระทรวงศึกษาธกิ าร. แบบเรยี นวชิ าภาษาไทย (วชิ าบังคับ) ตอนที่ 2 ภาษาไทยเพ่ือพัฒนาการสงสารตามหลักสูตรการศกึ ษานอกโรงเรยี น ระดับมัธยมศึกษาตอนตน พทุ ธศกั ราช 2530 กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น, กระทรวงศึกษาธกิ าร. หนงั สอื อานเพิม่ เติม วชิ าภาษาไทย (วิชาบงั คับ) ตอนที่ 1 ภาษาไทยเพ่อื พัฒนาการรบั สาร หลักสูตรการศึกษา นอกโรงเรยี น ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน พทุ ธศกั ราช 2530 กรมการศึกษานอกโรงเรียน, กระทรวงศึกษาธิการ. แบบเรียนภาษาไทย (วชิ าเลือก) ตอนที่ 2 ศิลปศกึ ษาตามหลกั สตู รการศึกษานอกโรงเรียน ระดับมธั ยมศึกษา ตอนตน พุทธศกั ราช 2530 โรงพมิ พครุ ุสภาลาดพราว 2540 กรมการศึกษานอกโรงเรยี น, กระทรวงศึกษาธิการ. หมวดวิชาภาษาไทย (วชิ าบงั คับ) ชุดท่ี 3 การพูด ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน หลักสตู รการศกึ ษานอกโรงเรยี น พิมพค รั้งที่ 2 พ.ศ.2539. กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น, กระทรวงศึกษาธิการ. ชุดวชิ าภาษาไทย หมวดวิชาภาษาไทย ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน โรงพมิ พค รุ สุ ภาลาดพราว 2546 ณัฐยา อาจมงั กร, ภาษาไทย ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน หลกั สตู รการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2544 สามเจรญิ พาณิชย การพมิ พ (กรงุ เทพฯ) จํากดั 2548 ประพันธ เรอื งณรงค กลมุ สาระการเรยี นรู ภาษาไทยชว งช้ันที่ 3 ม.1 - 3 (เลม 1) กรุงเทพฯ : ประสานมิตร 2545. ประพนธ เรอื งณรงค รศ. และคณะ ชดุ ปฏริ ปู การเรียนรู กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย ชวงชน้ั ท่ี 3 ม.1 - ม.3 วราภรณ บํารงุ กลุ อานถูก - สะกดถูก - คํา - ความหมาย - ประโยค.กรุงเทพฯ : ตน ออ 2536.252 หนา . ศกึ ษาธกิ าร, กระทรวง. หมวดวชิ าภาษาไทย (วิชาบังคับ) ชดุ ที่ 5 ภาษาพาสนุก ระดับ มัธยมศกึ ษาตอนตน หลักสตู รการศึกษานอกโรงเรียน กรงุ เทพฯ ครุ ุสภา 2538. สาํ นกั งาน กศน. จงั หวัดปราจนี บรุ .ี ชุดวชิ าภาษาไทย.ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน โรงพมิ พค รุ ุสภา 2546 อมั รา บญุ าทิพย และบปุ ผา บญุ าทพิ ย, ภาษาไทย 1 กรุงเทพ : ประสานมิตร, 2540

185 หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 รายชื่อผูเ ขารว มประชมุ ปฏบิ ตั ิการพฒั นาหนังสอื เรียนวิชาภาษาไทย ระหวางวนั ที่ 10 – 13 กมุ ภาพนั ธ 2552 ณ บานทะเลสคี รมี รีสอรท จังหวดั สมุทรสงคราม 1. นางสาวพมิ พใ จ สทิ ธสิ รุ ศักดิ์ ขา ราชการบํานาญ 2. นางพิมพาพร อนิ ทจักร สถาบัน กศน. ภาคเหนือ 3. นางกานดา ธวิ งศ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ 4. นายเรงิ กองแกว สํานกั งาน กศน. จงั หวดั นนทบุรี รายชื่อผูเขา รวมประชมุ บรรณาธิการหนังสอื เรียนวิชาภาษาไทย คร้ังที่ 1 ระหวางวนั ท่ี 7 – 10 กนั ยายน 2552 ณ โรงแรมอูท องอนิ น จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา 1. นางสาวพมิ พใจ สทิ ธิสรุ ศักดิ์ ขาราชการบาํ นาญ สํานักงาน กศน. จังหวัดนนทบุรี 2. นายเรงิ กองแกว กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางนพรัตน เวโรจนเ สรวี งศ ครง้ั ท่ี 2 ระหวางวนั ท่ี 12 – 15 มกราคม 2553 ณ โรงแรมอูทองอินน จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา 1. นางสาวพิมพใจ สิทธสิ รุ ศกั ด์ิ ขาราชการบํานาญ สํานักงาน กศน. จังหวัดนนทบรุ ี 2. นายเริง กองแกว กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางนพรตั น เวโรจนเสรวี งศ

186 คณะผูจัดทาํ ทีป่ รกึ ษา จรี วฒุ ิ เลขาธิการ กศน. อ่มิ สวุ รรณ รองเลขาธกิ าร กศน. 1. นายอภชิ าติ จําป รองเลขาธิการ กศน. 2. ดร.ชัยยศ 3. นายวชั รนิ ทร แกว ไทรฮะ ท่ีปรกึ ษาดานการพฒั นาหลักสูตร กศน. ตณั ฑวุฑโฒ ผอู ํานวยการกลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. ดร.ทองอยู 5. นางรักขณา คณะทํางาน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 1. นายสุรพงษ มน่ั มะโน 2. นายศุภโชค ศรรี ัตนศลิ ป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 3. นางสาววรรณพร ปท มานนท กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวศรญิ ญา กลุ ประดษิ ฐ 5. นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจิตวัฒนา ผพู มิ พต น ฉบบั 1. นางปย วดี คะเนสม กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 2. นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจติ วฒั นา กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางสาวกรวรรณ กวีวงษพ พิ ัฒน กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวชาลีนี ธรรมธิษา 5. นางสาวอรศิ รา บานชี ผูออกแบบปก ศรรี ตั นศิลป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน นายศภุ โชค

187 รายช่อื ผเู ขา รวมประชมุ ปฏบิ ตั ิการปรบั ปรงุ เอกสารประกอบการใชหลักสตู ร และสอ่ื ประกอบการเรียนหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระหวา งวนั ท่ี 4 – 10 พฤศจิกายน 2554 ณ โรงแรมมริ ามา กรุงเทพมหานคร สาระความรูพื้นฐาน (รายวิชาภาษาไทย) ผูพ ัฒนาและปรับปรุง หนว ยศึกษานเิ ทศก ประธาน 1. นางอัชราภรณ โควคชาภรณ หนว ยศกึ ษานเิ ทศก 2. นางเกลด็ แกว เจรญิ ศกั ดิ์ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน เลขานุการ 3. นางนพรัตน เวโรจนเสรวี งศ ผชู วยเลขานุการ กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวสมถวิล ศรีจนั ทรวิโรจน กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 5. นางสาววันวสิ าข ทองเปรม

188 คณะผปู รบั ปรงุ ขอ มูลเก่ยี วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริย ป พ.ศ. 2560 ที่ปรึกษา จําจด เลขาธิการ กศน. หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ 1. นายสุรพงษ ปฏบิ ัติหนา ทรี่ องเลขาธิการ กศน. 2. นายประเสรฐิ สุขสเุ ดช ผอู ํานวยการกลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบ 3. นางตรีนชุ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ผปู รบั ปรงุ ขอมลู นางสาวสุลาง เพ็ชรสวา ง กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย คณะทํางาน 1. นายสุรพงษ มัน่ มะโน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 2. นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 3. นางสาวเบ็ญจวรรณ อําไพศรี กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 4. นางเยาวรัตน ปน มณีวงศ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 5. นางสาวสลุ าง เพช็ รสวาง กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 6. นางสาวทิพวรรณ วงคเรอื น 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน 8. นางสาวชมพนู ท สังขพิชยั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook