Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทย พท21001 ม.ต้น

ภาษาไทย พท21001 ม.ต้น

Description: ภาษาไทย พท21001 ม.ต้น

Search

Read the Text Version

42 การใชภ าษาในการเขียน การใชภาษาในการเขยี น มีหลกั การเขยี น ดังน้ี 1. เขียนใหอานงา ย และเขา ใจงา ย 2. เขียนตรงตามตัวสะกด การันต วรรณยุกตใหถูกตอ ง เชน พรามณ เขียนผดิ ควรเปน พราหมณ โจษจรรย เขยี นผดิ ควรเปน โจษจนั อฒั จรรย เขียนผดิ ควรเปน อัฒจันทร หนา รัก เขียนผิด ควรเปน นารกั โนต เขยี นผดิ ควรเปน โนต 3. เขียนใหไดใจความชัดเจน ไมวกวน เขา ใจยาก เชน เขามารบั ประทานขา วเย็น ควรแกเปน เขามารบั ประทานขา วมอ้ื เย็น ท่นี ีเ่ สมอ ทน่ี ่เี สมอ จะทําอะไรก็ทําเสยี หมด ควรแกเปน จะทําอะไรก็เสียหายหมด คนนม้ี ือแขง็ เหลือเกิน ควรแกเ ปน คนนีม้ ือแข็งไมน ุม เลย 4. ใชภ าษางาย ๆ สัน้ กะทดั รดั ไดใ จความ ไมเขยี นเยน่ิ เยอ ฟมุ เฟอยเกินความจาํ เปน เชน รฐั บาลไดท าํ ความตกลงเร่ืองขายขาวกบั ประเทศในยุโรปแลว (ผิด) รฐั บาลตกลงเร่อื งขายขา วกับประเทศในยโุ รปแลว (ถกู ) การขัดแยง กนั และกันจะนาํ มาซ่ึงการแตกความสามัคคี (ผิด) การขดั แยง กนั ทาํ ใหแ ตกความสามคั คี (ถกู ) ชาวนามกี ารตกลงกันเรือ่ งราคาขา วกบั โรงสแี ลว (ผิด) ชาวนาตกลงเรื่องราคาขาวกบั โรงสีแลว (ถูก)

43 5. ใชภาษาใหถ ูกตองตามแบบแผน หลกี เลีย่ งใชคําหรอื สํานวนมาปะปนกับภาษาตางประเทศ หรอื ภาษาทีใ่ ชใ นสือ่ มวลชน เชน เขามีสไตลใ นการพดู ท่เี อ็กไซตมาก (ไมด)ี เขามีลีลาในการพูดสนุกตน่ื เตนมาก (ด)ี เธอไปกรุงเทพฯ โดยรถทัวรป รับอากาศ (ไมด)ี เธอโดยสารรถประจาํ ทางปรบั อากาศไปกรงุ เทพฯ (ดี) กจิ การคา ของเธอเจง เพราะแชรล ม (ไมด )ี กจิ การคาเธอลมเพราะมปี ญ หาเงินนอกระบบ (ดี) 6. ใชถอยคาํ ท่สี ภุ าพไพเราะ เหมาะสม มีความหมายดี หรือใชภาษาเขียนปนภาษาพดู ฉนั ถกู หมาขบหลายแผล (ไมดี) ฉันถูกสนุ ัขกัดหลายแผล (ด)ี หมูทบ่ี านฉนั โปรดรําขาวมาก (ไมดี) หมทู ่บี านฉันชอบราํ ขา วมาก (ดี) พส่ี าวฉนั ออกลูกท่ีโรงพยาบาล (ไมดี) พ่ีสาวฉนั คลอดลกู ท่ีโรงพยาบาล (ด)ี เรื่องท่ี 2 หลกั การเขียนแผนความคิด แผนภาพความคิด เปนการแสดงความรูความคิด โดยใชแผนภาพในการนําความรูหรือ ขอเท็จจรงิ มาจัดเปน ระบบ สรา งเปน ภาพหรือจดั ความคดิ รวบยอด นําหวั ขอเรอ่ื งใดเรอื่ งหนง่ึ มาแยกเปน หัวขอ ยอ ยและนาํ มาจัดลําดบั เปน แผนภาพ เชน เมือ่ ผเู รยี นอานหนงั สือเรอื่ งใดเรอ่ื งหนง่ึ หรอื ฟงเรอื่ งใด เรื่องหนงึ่ มา กน็ าํ ขอมลู ความรูเรื่องราวตา ง ๆ มาจดั เปน แผนภาพความคดิ เราอาจใชแ ผนภาพความคดิ ในการเตรียมการอาน เตรียมการเขียน ใชพฒั นาความรูใ นการใหเ หตุผล ใชจ ัดขอบเขตสิ่งทีจ่ ะตอ งเขียน หรอื ใชร วบรวมความรทู ีต่ อ งการ แนวคดิ เก่ยี วกบั แผนภาพความคดิ 1. เราใชแ ผนภาพความคิด เม่ือเราพบวาขอมูล ขาวสารตาง ๆ อยูกระจัดกระจาย นําขอมูล ตา ง ๆ น้ันมาเชอ่ื มโยงเปน แผนภาพความคดิ ทาํ ใหเกิดความเขา ใจเปนความคิดรวบยอด

44 2. แผนภาพความคิดจะจัดความคดิ ใหเปนระบบ รวบรวมและจัดลาํ ดบั ขอเทจ็ จรงิ นํามาจัดให เปนหมวดหมู หรอื ทเ่ี รียกวา แผนภาพเปน ความคดิ รวบยอดทีช่ ัดเจนจนเกิดเปน ความรูใหม 3. การนําความคิดหรือขอเทจ็ จริงมาเขยี นเปนแผนภาพ จะทําใหจําเร่ืองราวตาง ๆ ไดงายข้ึน ดีกวาการอานตําราหลาย ๆ เรื่อง เพราะหนังสือบรรยายดวยตัวอักษร แตแผนภาพจัดเรื่องราวเปน เคร่ืองหมาย หรอื เปนภาพ ทาํ ใหจาํ เรือ่ งราวไดแ มนยาํ ข้นึ 4. แผนภาพความคิดจะใชภาษาผังท่ีเปนสัญลักษณและคําพูดมาสรางแผนภาพ ทําใหเกิด การเรยี นรูดว ยตนเอง เปนการเรยี นโดยยึดผเู รียนเปนสาํ คญั การจัดทําแผนภาพความคดิ ผูเรียนจะตอง อาศยั การฟง การพดู การอาน การเขยี น และใชค วามคดิ รวบรวมความรู ขอเท็จจริง มาจัดทําแผนภาพ เปน การเสรมิ แรงการเรยี น ทาํ ใหก ารเรียนรูม ีความหมายมากข้ึน รปู แบบของแผนภาพความคดิ มี 4 รูปแบบ คอื 1. รูปแบบการจัดกลุม รูปแบบน้ีจะยึดความคิดเปนสําคัญ และจัดกลุมตามลําดับความคิด รวบยอด ยอยเปน แผนภาพ มกั เขียนเปน แผนภาพนิ่ง ตัวอยา งเรอื่ งส่งิ แวดลอ ม

45 2. รูปแบบความคิดรวบยอด รูปแบบน้ีจะมีความคิดหลักและมีขอเท็จจริงที่จัดแบงเปน ระดับช้ันมาสนับสนุนความคิดหลัก เชน การกลาวถึงลักษณะการบรรยาย การรวบรวมปญหา การแกป ญ หา การเปรยี บเทียบเปน รปู แบบความคดิ รวบยอด ดังตัวอยางตอไปน้ี การจัดความคดิ

46 3. รูปแบบการจัดลาํ ดับ รูปแบบการจัดลาํ ดับตามเหตุการณ การจัดลาํ ดับตาม กาลเวลา การจดั ลาํ ดับการกระทํากอนหลังหรือการจัดลาํ ดบั ตามกระบวนการ มีการเรมิ่ ตน และการสน้ิ สดุ ตวั อยางแผนภาพเสนตรงแสดงเหตกุ ารณ แผนภาพเสนโคง แสดงเหตุการณ

47 4. รปู แบบวงกลม รูปแบบนเ้ี ปน ชดุ เหตุการณภายใตกระบวนการไมมีจดุ เริ่มตน และจุดสิ้นสุด แตเปนเหตกุ ารณท่ีเปนลําดับตอ เน่อื งกนั ดงั ตวั อยา งเชน แผนภาพวงกลม ประโยชนของแผนภาพความคดิ 1. ชว ยบรู ณาการความรูเดมิ กบั ความรใู หม 2. ชวยพฒั นาความคดิ รวบยอดใหช ัดเจนขน้ึ 3. ชวยเนน องคป ระกอบลาํ ดบั ของเรื่อง 4. ชวยพัฒนาการอา น การเขียนและการคิด 5. ชวยวางแผนในการเขยี น และการปรับปรงุ การเขยี น 6. ชว ยวางแผนการสอนของครู โดยการสอนแบบบรู ณาการเนือ้ หา 7. ชวยในการอภิปราย 8. เปน เครอื่ งมอื ประเมินผล วธิ ีการสรา งแผนภาพความคดิ การสรางแผนภาพความคิด หรือการออกแบบแผนภาพความคิดเปนการสรางสรรคอยาง หนึ่ง ผูสรางแผนภาพความคิดอาจใชงานศิลปะเขามาชวย โดยวาดภาพประกอบใหแผนภาพ

48 ความคิดนาสนใจและทาํ ใหเห็นภาพของแผนภาพชัดเจนข้ึน การสรางแผนภาพความคิดจะนํามาใช ในการทาํ งานรวมกันรวมคิดรวมทํา รวมกันแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณทําใหผูเรียนรูจัก การวางแผนงาน การกาํ หนดงานที่จะตองปฏิบัติ และเรยี นรกู ารทํางานรว มกับผูอ ่นื ขน้ั ตอนการสรา งแผนภาพความคิด มีดังน้ี 1. กาํ หนดช่อื เรอ่ื ง หรอื ความคิดรวบยอดสําคญั 2. ระดมสมองทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั ชอ่ื เรื่อง หรอื ความคดิ รวบยอดสาํ คญั เปนคาํ หรอื วลีน้นั ๆ แลวจดบนั ทกึ ไว 3. นําคําหรอื วลีท่ีจดบันทกึ ท่เี กีย่ วเนื่องสมั พนั ธก นั มาจัดกลุม แลวตัง้ ช่ือกลุมคําเปนหัวขอยอย และเรยี งลําดบั กลุมคาํ 4. ออกแบบแผนภาพความคิด โดยเขียนช่ือเรื่องไวกลางหนากระดาษ แลววางช่ือกลุมคํา หวั ขอ ยอ ย รอบชอ่ื เรอื่ ง นําคาํ ที่สนับสนุนวางรอบชื่อกลมุ คํา แลวใชเ สนโยงกลุมคําใหเห็นความสัมพันธ เสนโยงอาจเขยี นคําอธิบายได กลุมคําอาจแสดงดวยภาพประกอบ ตวั อยางเรือ่ งส่งิ มชี วี ติ ในบึง

49 สรุป แผนภาพความคิด เปนการแสดงความรู ความคิดโดยใชแผนภาพเปนวิธีการนําความรู หรือ ขอเทจ็ จริงมาจดั เปน ระบบสรางเปน ภาพ หรือจดั ความคิดรวบยอดนําหวั ขอ เรือ่ งใด เรื่องหน่งึ มาแยกเปน ขอ ยอ ย และนํามาจดั ลาํ ดบั เปน แผนภาพ รูปแบบแผนภาพความคิด มี 4 รูปแบบ คือ (1) รูปแบบการจัดกลุม (2) รูปแบบความคิด รวบยอด (3) รูปแบบการจดั ลาํ ดบั (4) รปู แบบวงกลม เรือ่ งที่ 3 การเขยี นเรียงความและยอ ความ การเขียนเรียงความ คือ การนําเอาคํามาประกอบแตงเปนเร่ืองราวอาจใชวิธีการเขียนหรือ การพูดก็ได การเขียนจดหมาย รายงาน ตอบคําถาม ขาว บทความ ฯลฯ อาศัยเรียงความเปนพ้ืนฐาน ท้ังนั้น ดังน้ันการเรียงความจึงมีความสําคัญ ชวยใหพูดหรือเขียนในรูปแบบตาง ๆ ไดดี นอกจากนี้ กอ นเรียงความเราตองคนควา รวบรวมความรู ความคดิ และนํามาจัดเปนระเบียบ จึงเทากับเปนการฝก สง่ิ เหลา นี้ใหก ับตนเองไดอ ยางดีอีกดว ย องคป ระกอบของเรียงความ การเรยี งความเรอื่ งหนงึ่ ประกอบดว ยสว นสําคญั 3 สว นคือ สวนนาํ สว นเน้ือเรือ่ งและสวนทา ย หรอื สรุป สว นนํา เปนสวนที่แสดงประเด็นหลกั หรือจดุ ประสงคของเรื่อง สวนเน้ือเรื่อง เปนสวนขยาย โครงเร่ืองท่ีวางเอาไว สวนนี้จะประกอบดวยยอหนา สวนทาย เปนการเนนยํ้าประเด็นหลักหรือ จดุ ประสงค 1. การเขยี นสว นนํา ดังไดกลาวแลววาสวนนําเปนสวนที่แสดงประเด็นหลักหรือจุดประสงค ของเรื่อง ดังน้ันสวนนําจึงเปนการบอกผูอานถึงเนื้อหาท่ีนําเสนอและยังเปนการเราความสนใจให อยากอา นเรือ่ งจนจบ การเขียนสวนนําเพื่อเราความสนใจน้ันมีหลายวิธี ข้ึนอยูกับผูเขียนจะเลือกตาม ความเหมาะสม อาจนําดวยปญหาเรงดวน หรือหัวขอที่กําหนดเปนเร่ืองที่นาสนใจ การเลาเร่ืองท่ีจะ เขียน การยกคําพูดขอความ หรือสุภาษิตท่ีนาสนใจ บทรอยกรอง การอธิบายความเปนมาของเรื่อง การบอกจุดประสงคข องการเขยี น การใหค ําจาํ กัดความของคําสาํ คัญของเร่ืองที่จะเขียน แรงบันดาลใจ ฯลฯ ดงั ตวั อยา ง เชน 1.1 นาํ ดวยปญ หาเรง ดว น หรือหวั ขอ ทกี่ าํ ลังเปน เรือ่ งทน่ี า สนใจ เด๋ยี วนไี้ มว า จะเดนิ ไปทางไหน จะพบกลมุ สนทนากลุมยอ ย ๆ วสิ ชั ณากนั ดวยเรือ่ ง “วสิ ามัญ ฆาตกรรม” ในคดียาเสพติด บางก็วาเปนความชอบธรรม บางก็วารุนแรงเกินเหตุ หลายคนจึงตั้ง คําถามวา ถา ไมท ําวิสามัญฆาตกรรมกรณียาเสพติด แลว จะใชวิธกี ารชอบธรรมอนั ใดทจ่ี ะลางบางผูค า หรือบอนทาํ ลายเหลานล้ี งไดใ นเวลารวดเรว็

50 1.2 นาํ ดว ยคาํ ถาม ถาถามหนุมสาวท้ังหลายวา “อยากสวย” “อยากหลอหรือไม” คาํ ตอบท่ีไดคงจะเปน คําตอบเดียวกันวา “อยาก” จากนั้นก็คงมีคาํ ถามตอไปวา แลวทําอยางไรจึงจะสวยจะหลอไดสมใจ ในเมื่อธรรมชาติของหลาย ๆ คนก็มิไดหลอมาตั้งแตเกิด จะตองพ่ึงพาเครื่องสําอาง หรือการ ทาํ ศัลยกรรมหรอื ไรแลว จึงจะสวยหลอ แบบธรรมชาตไิ ดห รือไม ถา ได จะทําอยา งไร 1.3 นําดวยการเลาเรื่องท่ีจะเขียน งานมหกรรมหนังสือนานาชาติจัดข้ึนเปนประจําในวันพุธแรกของเดือนตุลาคมของ ทกุ ปท เี่ มอื งแฟรงเฟร ต ประเทศเยอรมนี สาํ หรับป พ.ศ. 2545 นับเปน ครงั้ ท่ี 53 1.4 นําดว ยการยกคาํ พดู ขอความ สุภาษิตที่นาสนใจ ในอดีตเมื่อกลาวถึงครูหรือคนหาคุณคาของครู หลายคนมักนึกถึงความเปรียบ ทงั้ หลายทมี่ ักไดย นิ จนชินหู ไมว าจะเปนความเปรียบทว่ี า “ครูคอื เรือจาง” “ครูคือปูชนียบุคคล” หรือ “ครูคือผูใหแสงสวา งทางปญ ญา” ฯลฯ ความเปรียบเหลา นี้แสดงใหเ ห็นถงึ คณุ คา ความเสียสละและการ เปน นักพฒั นาของครู ในขณะท่ีปจจุบนั ทศั นคตใิ นการมองครูเปล่ียนไป หลายคนมองวาครูเปนแคผูท่ีมี อาชพี รบั จางสอนหนงั สือเทานัน้ เพราะครสู มยั นไี้ มไดอบรมความประพฤติใหแกผูเรียนควบคูไปกับการ ใหค วามรู ไมไดเปนตวั อยางท่ดี ีจะเรียกวา “แมพิมพของชาติ” อาชีพครูเปนอาชีพตกต่ํา และดูตอยต่ํา ในสายตาของคนทั่วไป ท้ัง ๆ ท่ีอาชีพนั้นเปนอาชีพที่ตองทําหนาท่ีในการพัฒนาคนท่ีจะไปเปนกําลัง สําคัญของการพัฒนาประเทศชาติตอไป จึงถึงเวลาแลวที่จะตองมีการทบทวนหนาท่ี คุณธรรมและ อุดมการณของความเปน ครกู นั เสยี ที 1.5 นําดว ยบทรอ ยกรอง “ความรกั เปนเหมอื นโรคา บันดาลตาใหม ดื มน ไมยินและไมย ล อุปสรรคใดใด ความรักเหมือนโคถึก กําลงั คึกผิขังไว ก็จะโลดจากคอกไป บยอมอยู ณ ทขี่ ัง ถา ปลอ ยไว ก็ดึงไปดวยคําสงั่ ยง่ิ หา มก็ย่งิ คลั่ง บหวนคดิ ถึงเจบ็ กาย” จากบทละครเรอ่ื ง “มัทนพาธา” ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยหู วั อธบิ ายความหมายของบทรอ ยกรอง ความรกั เปน อารมณธรรมชาติอยา งหน่ึงของมนษุ ย มที ั้งประโยชนแ ละเปน โทษในเวลาเดียวกัน ความรกั ที่อยูบนพ้ืนฐานของความบริสุทธิ์ จรงิ ใจและความมเี หตผุ ล ยอ มนาํ พาเปนเจาของความรกั ไป ในทางท่ีถูกท่ีควร แตถ า ความรกั น้นั เปนเพยี งอารมณอันเกดิ จากความหลงใหลในรูปกายภายนอก ความ ชืน่ ชมตามกระแสและความหลงผิด ความรักก็จะกอ ใหเกิดโทษ จึงเปนผูเปรียบเปรยวา \"ความรักทําให คนตาบอด\" ดวยพระราชนพิ นธของพระบาทของสมเด็จพระมงกฏุ เกลา เจาอยูหัวในเร่ืองมัทนพาธา ซ่ึงได

51 แสดงใหเห็นภาพของความลุมหลง อันเกิดจากความรักและทุกขสาหัสอันเกิดจากความรักไดเปนอยางดี สมกบั ชอ่ื เร่ือง มัทนพาธา ที่แปลวา ความบาดเจ็บแหง ความรัก 1.6 นําดว ยการอธิบายความเปน มาของเรอ่ื ง เม่ือสปั ดาหทแี่ ลว ขา พเจา ไดไ ปรว มงานพระราชทานเพลิงศพของผูใหญท านหนง่ึ ทา นเปน อดีตรองผวู าราชการจังหวัด จังหวดั หน่งึ ทางภาคเหนือ ศพของทานไดรบั การบรรจุไวในโกศ ขาพเจาจึง ไดค นควาเร่ืองนมี้ าเปน ความรแู กผูสนใจท่ัวไป 1.7 นาํ ดว ยการบอกจดุ ประสงคของการเขียน สามกก ที่ผูอานท้ังในประเทศจีนและในประเทศไทยรูจักกันดีน้ันเปนนวนิยาย สวนสามกกท่ีเปน ประวัติศาสตรมีคนรูนอ ยมาก แมแ ตค นจนี แผน ดนิ ใหญท ่ีไดเรยี นจบข้ันอุดมศึกษาแลว ก็มีนอยคนมากท่รี ูบทความเรือ่ งน้จี ึงขอเร่มิ ตนจากสามกก ที่เปน ประวัตศิ าสตร 2. การเขียนสว นเนอื้ เรอ่ื ง เนอื้ เรือ่ งเปนสวนสาํ คัญทส่ี ุดของเรยี งความ เพราะเปนสวนที่ตองแสดงความรู ความคิดเหน็ ใหผูอานทราบตามโครงเรื่องที่วางไว เน้ือเร่ืองที่ตองแสดงออกถึงความรูความคิดเห็นอยางชัดเจน มีรายละเอียดที่เปนขอเท็จจริงและมีการอธบิ ายอยางเปนลําดับข้ัน มีการหยิบยกอทุ าหรณ ตัวอยาง ทฤษฎี สถิติ คํากลา วหลักปรชั ญา หรอื สภุ าษติ คําพงั เพย ฯลฯ สนบั สนุนความรูความคิดเห็นน้ัน เน้ือเร่ืองประกอบดวยยอหนาตาง ๆ หลายยอหนาตามสาระสําคัญท่ีตองการกลาวคือ เปรยี บกันวา เน้อื เร่ืองเหมอื นสวนลําตัวของคนทีป่ ระกอบดวยอวยั วะตา ง ๆ แตรวมกันแลวเปนตัวบุคคล ดงั นนั้ การเขียนเนื้อเรื่องถึงจะแตก แยกยอยออกไปอยางไร จะตองรักษาสาระสําคัญใหญของเร่ืองไว การแตกแยกยอ ยเปนเรอื่ ง ๆ ไป เพ่อื ประกอบสาระสาํ คัญใหญของเรือ่ งซึง่ เปรียบเหมือนตัวคนสมบูรณ ในแตละยอหนาประกอบดวยสวนที่เปนเนื้อหา คือ ความรูหรือความคิดเห็นท่ีตองการแสดงออก การอธิบายและอุทาหรณ คือ การอางตัวอยา ง ฯลฯ ท่สี นับสนนุ ใหเหน็ จรงิ เห็นจัง สวนสํานวนโวหารจะ ใชแ บบใดบา ง โปรดศึกษาเรื่องสาํ นวนโวหารในหวั ขอตอ ไปนี้ ตัวอยางการเขียนเนอ้ื เรอ่ื งแตละยอหนา “อํา” เปนเด็กชายตัวเล็ก ๆ อายุแค 12 ป คร้ังท่ีลืมตาดูโลกไดแค 3 เดือน แมก็ทอดทิ้งไป สวนพอนั้นไมเคยรักและหวงใยอาํ เลย สง่ิ เดียวทีม่ ีคาที่สุดในชีวติ ของพอ คอื เฮโรอนี ยา ลงุ ปา และอา ตอกย้ําใหอ าํ ฟง เสมอวา “อยา ทาํ ตัวเลว ๆ เหมือนพอแกท่ตี ิดเฮโรอีนจนตาย” หรอื “กลวั แกจะเจริญรอย ตามพอเพราะเช้ือมันไมท้ิงแถ ติดคุกหัวโตเหมือนพอแก”คําพูดสารพัดที่อํารับฟงมาตั้งแตจําความได ซ่งึ อาํ พยายามคิดตามประสาเดก็ วา “เปนคําสั่งสอน”...หรอื “ประชดประชนั ” กันแน ช่ือเสยี งวงศตระกูลของอําถาเอยไปหลายคนคงรูจัก เพราะเปนพวกเศรษฐีท่ีคาขายเปนหลัก อยูในเขตอาํ เภอเมือง จังหวัดชลบรุ ี มาหลายชัว่ อายุคนแลว ปูกบั ยามีลกู ทงั้ หมด 9 คน ทกุ คนรํ่าเรียน กันสูง ๆ และออกมาประกอบธรุ กจิ รํา่ รวยเปนล่าํ เปนสนั ยกเวน พอ ของอาํ ซึง่ ไมย อมเรยี น..ประพฤติตน เสียหาย....คบเพอื่ นชว่ั ...จนติดเฮโรอีน และฉดี เขา เสน จนตายคาเขม็ ผลาญเงินปกู บั ยา ไปมากมาย

52 ยังทําใหชื่อเสียงวงศตระกูลปนป ปูชํ้าใจจนตาย สวนยาอกตรมจมทุกขอยูจนทุกวันน้ี พวกลุง...ปา และอา ตางพากนั เกลียดพอมากและกล็ ามมาถงึ “อาํ ” ซ่งึ เปรยี บเสมือน “ลกู ตุม” ถว งวงศต ระกูล คัดจากจันทิมา “ไอเลือดช่ัว” คอลัมน อนาคตไทย ฐานสัปดาหวิจารณ ฉบับท่ี 61 (71) วันที่ 9 - 15 มิ.ย. 37 หนา 88 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน หลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ. 2530 จากเน้อื หาในยอ หนาตา ง ๆ ขา งตน จะแบงเปนสวนตาง ๆ ไดด ังนี้ 1. สว นท่เี ปนเน้อื หา 2. สวนที่เปนการอธบิ าย 3. สว นทเ่ี ปนอทุ าหรณ หรอื การอางอิง 4. สว นท่ีเปนตัวอยาง 3. การเขียนสวนทายหรือสรุป สวนทายหรือสวนสรุป หรือสวนปดเรื่อง เปนสวนที่มีความสัมพันธเก่ียวเน่ืองกับเน้ือหา สวนอ่ืน ๆ โดยตลอด และเปนสวนที่บอกผูอานวาเรื่องราวท่ีเสนอมาน้ันไดส้ินสุดลงแลว วิธีการเขียน สวนทายมดี ว ยกันหลายวิธี เชน เนนยํ้าประเด็นหลัก เสนอคําถามหรือขอผิด สรุปเรื่อง เสนอความคิด ของผูเขียน ขยายจุดประสงคของผูเขียน หรือสรุปดวยสุภาษิต คําคม สํานวนโวหาร คําพังเพย อา งคําพดู ของบคุ คล อางทฤษฎหี ลักภาษา หรือคาํ สอนและบทรอ ยกรอง ฯลฯ 3.1 เนนยาํ้ ประเด็นหลัก หนวยงานของเราจะทําหนาทีเ่ ปนผูใหบ ริการทรี่ วดเร็ว ทซ่ี อ่ื ตรง โปรง ใส ตรวจสอบได เชนนต้ี อไป แมก ารปฎริ ูประบบราชการจะสง ผลใหห นว ยงานของเรา ตองเปลย่ี นสังกัดไปอยางไรก็ตาม นั่นเพราะเราตระหนักในบทบาทของเราในฐานะ “ขาราชการ” แมวาปจจุบันเราจะถูกเรียกวา “เจา หนาท่ีของรัฐ” ก็ตาม 3.2 เสนอคาํ ถามหรอื ขอ คิดใหผูอานใชว จิ ารณญาณ เคราะหกรรมทง้ั หลายอนั เกิดกับญาตพิ นี่ อ งและลกู หลานของผูค นในบานเมืองของเรา อันเกิดจากความอํามหิตมักไดของผูคายาเสพติดเหลาน้ี เปนส่ิงสมควรหรือไมกับคําวา “วิสามัญ ฆาตกรรม” ทานทีอ่ า นบทความนี้จบลง คงมคี าํ ตอบใหกับตวั เองแลว 3.3 สรปุ เรอ่ื ง การกินอาหารจืด รางกายไดรับเกลือเล็กนอย จะทําใหชีวิตจิตใจ ราเริงแจมใส น้าํ หนักตวั มาก ๆ จะลดลง หัวใจไมตอ งทําหนาท่หี นกั ไตทาํ หนาทีไ่ ดดี ไมมีบวมตามอวยั วะตา ง ๆ และ เปนการปอ งกันโรคหวั ใจ โรคไต หลอดเลือดแขง็ ความดันโลหิตสงู ขอ อักเสบ แผลกระเพาะอาหารและ จะมอี ายุยนื ดวย 3.4 เสนอความเห็นของผูเขยี น การปฏริ ปู กระบวนการเรียนการสอนประสบผลสําเรจ็ หรอื ไม คงไมใ ชแ คก ารเขารบั การอบรมเทคนคิ วิธีการสอนเพยี งอยางเดยี ว ยงั ขน้ึ อยกู บั องคป ระกอบอันสําคญั ยงิ่ กวา สง่ิ ใดคือ

53 ตวั ผสู อนมใี จและพรอมจะรับความเปลีย่ นแปลงทเี่ กิดขน้ึ พรอ ม ๆ กับความกระตอื รอื รน ทจี่ ะพฒั นา ตนเองเพ่ือกลมุ เปา หมาย คอื ผเู รยี น การปฏริ ูปกระบวนการเรยี นการสอนกจ็ ะประสบความสําเรจ็ ได 3.5 ขยายจดุ ประสงคข องผูเ รยี น ควบคกู บั บทรอ ยกรอง แมอาหารการกนิ และการออกกําลังกายจะทําใหคนเราสวยงามตามธรรมชาติอยูได นานแตว ันหนง่ึ เราก็คงหนีไมพ น วฏั จักรธรรมชาติ คือ การเกิด แก เจ็บและตาย รางกายและความงาม กค็ งตอ งเส่ือมส้ินไปตามกาลเวลา ฉะน้ันก็อยาไปยึดติดกบั ความสวยงามมากนัก แตควรยึดถือความงาม ของจิตใจเปน เร่อื งสําคญั เพราะสงิ่ ท่จี ะเหลอื อยใู นโลกน้ีเมื่อความตายมาถงึ คือ ความดี ความชั่วของเรา เทานั้น ดังพระราชนิพนธของพระมหาสมณเจากรมพระปรมานุชิตชิโนรส ในเรื่องกฤษณาสอนนอง คําฉันทวา พฤษภกาษร อีกกญุ ชรอันปลดปลง โททนตเ สนง คง สาํ คญั หมายในกายมี นรชาตวิ างวาย มลายสิน้ ท้ังอินทรีย สถติ ทว่ั แตชวั่ ดี ประดบั ไวใ นโลกา แนวทางการเขียนเรียงความ เมื่อไดศึกษาองคประกอบอันจะนําไปใชในการเขียนเรียงความแลว กอนท่ีจะลงมือเขียน เรยี งความผูเขยี นตองเลอื กเรือ่ งและประเภทของเรอ่ื งที่จะเขียน หลังจากน้ันจึงวางโครงเร่ืองใหชัดเจน เพ่ือเรียบเรียงเน้ือหา ซึ่งการเรียบเรียงเนื้อหานี้ตองอาศัยความสามารถในการเขียนยอหนาและการ เช่อื มโยงยอหนา ใหเ ปน เนือ้ หาเดียวกัน 1. การเลอื กเรอื่ ง ปญหาสาํ คญั ประการหนึง่ ของผเู ขยี นทีไ่ มสามารถเริ่มตน เขียนได คือ ไมท ราบจะเขียนเร่ือง อะไร วิธีการแกปญ หาดงั กลา วคือ หัดเขยี นเร่ืองใกลตัวของผูเขียน หรือเรื่องที่ผูเขียนมีประสบการณดี รวมท้ังเรื่องท่ีผเู ขยี นมีความรเู ปน อยางดี หรอื เขยี นเรอ่ื งท่สี นใจ เปน เรื่องราวหรือเหตกุ ารณท ี่กาํ ลงั อยูใ น ความสนใจของบคุ คลทัว่ ไป นอกจากนผ้ี เู ขยี นอาจพจิ ารณาองคประกอบ 4 ประการ เพอ่ื เปน แนวทางใน การตดั สนิ ใจเลอื กเรื่องท่ีจะเขียนดังตอไปน้ี 1.1 กลุมผูอาน ผูเขียนควรเลือกเขียนเร่ืองสําหรับกลุมผูอานเฉพาะและควรเปนกลุม ผูอานที่ผเู ขยี นรูจกั ดี ท้งั ในดา นการศึกษา ประสบการณ วยั ฐานะ ความสนใจและความเชอื่ 1.2 ลักษณะเฉพาะของเร่ือง เร่ืองที่มีลักษณะพิเศษจึงดึงดูดใจใหผูอานสนใจ ลักษณะ พิเศษดงั กลาว ไดแ ก ความแปลกใหม ความถกู ตองแมนยาํ แสดงความมรี สชาติ 1.3 เวลา เรื่องท่ีจะเขียนหากเปนเร่ืองที่อยูในกาลสมัยหรือเปนปจจุบัน จะมีผูสนใจ อานมาก สวนเรื่องทพ่ี นสมยั จะมผี ูอา นนอย นอกจากนก้ี ารใหเวลาในการเขยี นของผเู ขียนก็เปนสงิ่ สาํ คญั ถาผูเขียนมีเวลามาก ก็จะมีเวลาคนควาหาขอมูลเพื่อการเขียนและการอางอิงไดมาก ถาผูเขียนมี เวลานอ ย การเขยี นดวยเวลาเรง รัดกอ็ าจทาํ ใหเ นือ้ หาขาดความสมบูรณด วยการอา งอิง

54 1.4 โอกาส การเขยี นเรอื่ งประเภทใดข้ึนอยูก ับโอกาสดวย เชน ในโอกาสเทศกาลและวัน สําคัญทางราชการและทางศาสนา กเ็ ลือกเขยี นเร่ืองทเี่ กยี่ วกบั โอกาสหรอื เทศกาลนน้ั ๆ เปนตน 2. ประเภทของเรื่องทีจ่ ะเขยี น การแบง ประเภทของเร่อื งท่ีจะเขียนนั้นพจิ ารณาจากจุดมุงหมายในการเขยี น ซ่ึงแบงไดเปน 3 ประเภท คือ 2.1 เร่อื งทเ่ี ขยี นเพอื่ ความรู เปนการถายทอดความรูและประสบการณ รวมท้ังหลักการ ตลอดจนขอเทจ็ จรงิ ตาง ๆ ใชวิธเี ขยี นบอกเลา หรอื บรรยายรายละเอยี ด 2.2 เรื่องท่ีเขียนเพ่ือความเขาใจ เปนการอธิบายใหผูอ่ืนเขาใจความรู หลักการหรือ ประสบการณตา ง ๆ การเขยี นเพื่อความเขาใจมักควบคูไปกบั การเขยี นเพ่อื ใหเ กิดความรู 2.3 การเขียนเพื่อโนม นา วใจ เปน การเขียนเพ่ือใหผ อู านเชื่อถือและยอมรับ เพ่ือใหผูอาน ไดร บั อรรถรสทางใจ ใหสนุกสนาน เพลิดเพลนิ ไปกบั ขอเขยี นนั้น ๆ 3. การวางโครงเรอ่ื งกอ นเขยี น การเขียนเรียงความเปนการเสนอความคดิ ตอ ผอู าน ผเู ขียนจงึ ตอ งรวบรวมเลอื กสรรและจดั ระเบียบความคดิ แลวนํามาเรียบเรียงเปนโครงเร่ือง การรวบรวมความคิดอาจจะรวบรวมขอมูลจาก ประสบการณของผูเขียนเอง นําสวนที่เปนประสบการณตรงและประสบการณทางออม ซ่ึงเกิดจาก การฟง การอาน การพูดคุย ซักถาม เปนตน เม่ือไดขอมูลแลวก็นําขอมูลน้ันมาจัดระเบียบความคิด โดยจัดเรียงลําดับตามเวลา เหตุการณ ความสําคัญและเหตุผล แลวจึงเขียนเปนโครงเร่ือง เพ่ือเปน แนวทางใหงานเขียนอยูในกรอบ ไมออกนอกเรื่อง และสามารถนํามาเขียนขยายความเปนเน้ือเร่ืองที่ สมบูรณ เขียนชื่อเรื่องไวกลางหนากระดาษ เลือกหัวขอที่นาสนใจท่ีสุดเปนคํานํา และเลือกหัวขอ ท่นี าประทับใจที่สุดเปน สรุป นอกนั้นเปน เนื้อเรอื่ ง 3.1 ชนดิ ของโครงเร่ือง การเขียนโครงเรอื่ งนยิ มเขยี น 2 แบบ คือ โครงเรื่องแบบหวั ขอและโครงเร่อื งแบบประโยค 3.1.1 โครงเรอ่ื งแบบหวั ขอ เขยี นโดยใชคําหรือวลสี น้ั ๆ เพ่อื เสนอประเดน็ ความคิด 3.1.2 โครงเรือ่ งแบบประโยค เขียนเปนประโยคที่สมบูรณ โครงเรื่องแบบน้ี มรี ายละเอียดทชี่ ดั เจนกวา โครงเรือ่ งแบบหัวขอ 3.2 ระบบในการเขยี นโครงเรอ่ื ง การแบงหัวขอในการวางโครงเรื่องอาจแบง เปน 2 ระบบ คือ 3.2.1 ระบบตวั เลขและตวั อักษร เปนระบบที่นิยมใชกันทั่วไป โดยกําหนดตัวเลข หรือประเด็นหลกั และตวั อักษรสําหรบั ประเด็นรอง ดงั นี้ 1) ................................................................................................ (1) ........................................................................................ (2) ........................................................................................

55 2) ................................................................................................ (1) ........................................................................................ (2) ........................................................................................ 3.2.2 ระบบตัวเลข เปน การกาํ หนดตวั เลขหลักเดียวใหกับประเด็นหลักและตัวเลขสอง หลกั และสามหลัก ใหก ับประเด็นรอง ๆ ลงไป ดังน้ี 1) ................................................................................................ (1.1) ..................................................................................... (1.2) ..................................................................................... 2) ................................................................................................ (2.1) ..................................................................................... (2.2) ..................................................................................... 3.3 หลักในการวางโครงเร่อื ง หลักในการวางโครงเรื่องน้ันควรแยกประเด็นหลักและประเด็นยอจากกันใหชัดเจน โดยประเดน็ หลักทุกขอควรมีความสําคัญเทากัน สวนประเด็นยอยจะเปนหัวขอที่สนับสนุนประเด็นหลัก ทัง้ นี้ ทกุ ประเดน็ ตอ งตอ เนอ่ื งและสอดคลองกนั จงึ จะเปนโครงเรือ่ งที่ดี ตวั อยางโครงเรอ่ื งแบบหวั ขอ เรือ่ ง ปญ หาการติดยาเสพตดิ ของวยั รุนไทย 1. สาเหตขุ องการตดิ ยาเสพติด ก. ตามเพ่ือน ข. การหยารา งของบิดา มารดา ค. พอ แมไมม เี วลาใหลูก ง. การบังคบั ขเู ขญ็ 2. สภาพปญ หาของการติดยาเสพตดิ ของวยั รุน ไทย ก. จํานวนผูต ดิ ยา ข. การกอ อาชญากรรม ค. การคา ประเวณี 3. แนวทางการแกไขปญหา ก. การสรางภูมติ า นทานในครอบครวั ข. การสรางชมุ ชนใหเ ขม แข็ง ค. กระบวนการบาํ บดั รักษาแบบผสมผสาน

56 ตวั อยา งโครงเรื่องแบบประโยค เร่อื ง ปญหาการตดิ ยาเสพตดิ ของวัยรุน ไทย 1. สาเหตขุ องการติดยาเสพติด มหี ลายสาเหตุทง้ั สาเหตุทเ่ี กิดจากตวั เองและจากส่งิ แวดลอ ม ก. เสพตามเพอ่ื น เพราะความอยากลอง คดิ วา ลองคร้งั เดียวคงไมต ดิ ข. บดิ า มารดา หยารา งกนั ลกู ตองอยูกับฝายใดฝา ยหนงึ่ ทาํ ใหร สู กึ วา เหว เหงา และเศรา ลกึ ๆ ค. พอ แมใ หเ วลากับการทํางานหาเงินและการเขา สังคม ไมม เี วลาใหครอบครวั ง. ในโรงเรียนมีกลุม นกั เรียนที่ทั้งเสพและคา ยาเสพติดเอง ใชก าํ ลังขม ขบู ีบบังคับใหซือ้ ยา 2. สภาพปญหาของการติดยาเสพติดของวยั รุนไทย ก. จํานวนวยั รุนทีต่ ิดยาเสพตดิ ในปจจบุ ันมจี ํานวนเพมิ่ ข้นึ อยา งรวดเรว็ ข. ปญหาทต่ี ามมาของการตดิ ยาเสพติด คอื การกอ อาชญากรรมทกุ ประเภท ค. ในหมูวยั รุนหญิงท่ตี ดิ ยาเสพติด มักตกเปนเหยอื่ ของการคา ประเวณีในที่สดุ 3. แนวทางการแกไขปญ หา ก. การใหค วามรกั ความอบอนุ และความเออื้ อาทร รวมทง้ั การมีเวลาใหก ับคนใน ครอบครัวเปนภูมติ านทานปญหายาเสพตดิ ไดอยา งดี ข. การทําใหค นในชุมชนรักชมุ ชน ชว ยเหลอื แกป ญ หาในชุมชนจะเปน เกราะปองกันปญหา ยาเสพติดไดอยางดี เพราะเขารวมกนั สอดสอ งดแู ลปองกนั ชมุ ชนของตนเองจาก ยาเสพตดิ ค. สังคมใดทม่ี ผี คู นสนใจใฝรู ใฝแสวงหาขอมูลขาวสาร ผูคนจะมคี วามรูเ พยี งพอทจี่ ะพาตวั ใหพนจากภัยคุกคามทุกรปู แบบดวยปญญาความรทู ม่ี ี ง. กระบวนการบําบัดผตู ดิ ยามิใหกลับมาติดใหม ทําไดดวยการใหการรักษาทางยาควบคู กบั การบําบดั ทางจติ ใจ ดว ยการใชก ารปฏบิ ัติทางธรรม ซง่ึ จะเปน ภูมติ า นทานทางใจท่ีถาวร 4. การเขยี นยอหนา การยอ หนาเปนสิ่งจาํ เปน อกี อยางหนง่ึ เพราะจะชวยใหผอู า น อา นเขาใจงา ยและอานไดเ รว็ มีชอ งวางใหไดพักสายตา ผเู ขียนเรยี งความไดดีตองรหู ลักในการเขียนยอหนา และนํายอหนาแตละหนา มาเชือ่ มโยงใหสัมพันธกนั ในยอ หนา หน่ึง ๆ ตองมีสาระเพียงประการเดียว ถาจะขึ้นสาระสําคัญใหม ตองข้ึนยอหนาใหม ดังนั้น การยอหนาจะมากหรือนอยข้ึนอยูกับสาระสําคัญท่ีตองการเขียนถึง ในเนือ้ เรื่อง แตอ ยางนอยการเขยี นเรียงความตอ งมี 3 ยอหนา คอื ยอหนา ทเ่ี ปน คํานาํ เนอื้ เรอื่ งและสรปุ 4.1 สวนประกอบยอหนา 1 ยอหนา ประกอบดวย ประโยคใจความสําคัญและประโยคขยายใจความสําคัญ หลาย ๆ ประโยค มาเรยี บเรียงตอ เนอื่ งกัน 4.2 ลักษณะของยอ หนา ท่ดี ี ยอ หนา ท่ีดคี วรมลี ักษณะ 3 ประการ คอื เอกภาพ สมั พนั ธภาพ และสารตั ถภาพ 1. เอกภาพ คือ ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน มีประโยคใจความสําคัญในยอหนา เพยี งหนึ่ง สว นขยายหรอื สนับสนุนตองกลาวถงึ ใจความสาํ คัญนั้น ไมกลาวนอกเรือ่ ง

57 2. สัมพันธภาพ คือ การเรียบเรียงขอความในยอหนาใหเก่ียวเนื่องสัมพันธกัน มีการลําดบั ความอยา งมีระเบียบ นอกจากนี้ ยังควรมคี วามสมั พันธก ับยอ หนาทีม่ มี ากอนหรือยอ หนาที่ ตามมาดวย 3. สารัตถภาพ คือ การเนนความสําคัญของยอหนาแตละยอหนาและของเร่ือง ท้ังหมดโดยใชประโยคสั้น ๆ สรุปกินความทั้งหมด อาจทาํ ไดโดยการนาํ ประโยคใจความสําคัญมาไว ตอนตนหรือตอนทาย ยอ หนา หรือใชส รปุ ประโยคหรอื วลีทมี่ ีลักษณะซํา้ ๆ กัน 5. การเชอ่ื มโยงยอหนา การเชอื่ มโยงยอหนา ทําใหเกิดสัมพันธภาพระหวางยอหนา การเรียงความเรื่องหนึ่งยอม ประกอบดวยหลายยอหนา การเรยี งลาํ ดับยอหนาตามความเหมาะสมจะทําใหขอความเก่ียวเนื่องเปน เร่ืองเดยี วกัน วธิ ีการเชือ่ มโยงยอ หนาแตละยอหนา ก็เชน เดยี วกับการจดั ระเบยี บความคิดในการวางโครง เรื่อง ซึง่ มีดว ยกนั 3 วิธี คอื 5.1 การลาํ ดบั ยอหนาตามเวลา อาจลาํ ดับตามเวลาในปฏทิ ินหรือตามเหตุการณท่เี กิดขึ้น กอ นไปยงั เหตกุ ารณท ่เี กิดข้นึ ภายหลงั 5.2 การลําดับยอหนาตามสถานที่ เรียงลําดับขอมูลตามสถานท่ีหรือตามความเปนจริง ที่เกดิ ขนึ้ 5.3 การลาํ ดับยอหนา ตามเหตผุ ล อาจเรยี งลาํ ดบั จากเหตไุ ปหาผล หรือผลไปหาเหตุ 6. สาํ นวนภาษา 6.1 ใชภาษาใหถูกหลักภาษา เชน การใชลักษณะนาม ปากกาใชวา “ดาม” รถใชวา “คนั ” พระภกิ ษุใชว า “รปู ” เปน ตน นอกจากนไี้ มค วรใชสาํ นวนภาษาตา งประเทศ เชน ขณะท่ีขาพเจา จับรถไฟไปเชียงใหม ควรใชว า ขณะทีข่ า พเจา โดยสารรถไฟไปเชยี งใหม บดิ าของขา พเจาถกู เชญิ ไปเปนวทิ ยากร ควรใช บิดาของขา พเจา ไดร บั เชญิ ไปเปนวิทยากร 6.2 ไมค วรใชภ าษาพดู เชน ดจี งั เมอ่ื ไหร ทาน ฯลฯ ควรใชภ าษาเขยี น ไดแก ดีมาก เม่ือไร รับประทาน 6.3 ไมควรใชภาษาแสลง เชน พน ฝอย แจวอาว สดุ เหวยี่ ง ฯลฯ 6.4 ควรหลกี เลยี่ งการใชค าํ ศพั ทย ากท่ีไมจ าํ เปน เชน ปรเิ วทนากร ฯลฯ ซ่ึงมีคําที่งายกวา ท่ีควรใชคือคําวา วิตก หรือใชคําท่ีตนเองไมทราบความหมายท่ีแทจริง เชน บางคนใชคําวาใหญโต รโหฐาน คาํ วา รโหฐาน แปลวา ที่ลับ ที่ถกู ตองใช ใหญโ ตมโหฬาร เปน ตน 6.5 ใชค ําใหถกู ตองตามกาลเทศะและบคุ คล เชน คาํ สภุ าพ คําราชาศพั ท เปนตน 6.6 ผูกประโยคใหก ระชบั รดั กมุ เชน “ถา เจาเดนิ ชาเชนนี้ เมื่อไรจะไปถึงท่ีที่จะไปสักที” ควรใชใหก ระชับวา “ถาเจา เดินชาเชน น้เี มอ่ื ไรจะไปถงึ ท่ีหมายสกั ท”ี หรือประโยควา “อนั ธรรมดาคนเรา เกดิ มาในโลกน้ี บา งกเ็ ปนคนดี บา งก็เปนคนช่ัว” ควรใชว า “คนเรายอ มมที ้งั ดแี ละชวั่ ” เปน ตน

58 7. การใชหมายเลขกํากบั หัวขอ ในเรยี งความจะไมใชหมายเลขกํากับ ถาจะกลาวแยกเปนขอ ๆ จะใชวา ประการที่ 1........ประการท่ี 2.............หรือประเภทที่ 1..............ประเภทท่ี 2.............แตจะไมใชเปน 1............2............เรียงลาํ ดบั แบบการเขียนทัว่ ไป 8. การแบงวรรคตอนและเครอ่ื งหมายวรรคตอน เครือ่ งหมายวรรคตอน เชน มหพั ภาค ( . ) อัฒภาค (; ) จลุ ภาค ( , ) นัน้ ไทยเลียนแบบฝรั่งมา จะใชหรือไมใชก็ได ถาใชตองใชใหถูกตอง ถาไมใชก็ใชแบบไทยเดิม คือ การเวนวรรคตอนโดยเวน เปนวรรคใหญ วรรคนอย ตามลกั ษณะประโยคทใี่ ช 9. สํานวนกับโวหาร สํานวนกับโวหารเปน คาํ ท่ีมีความหมายอยา งเดียวกนั นาํ มาซอนกัน หมายถงึ ชน้ั เชิง ในการเรยี บเรียงถอ ยคาํ ในการเขียนเรียงความสํานวนโวหารที่ใชมี 5 แบบ คอื 9.1 แบบบรรยาย หรือที่เรียกกันวาบรรยายโวหาร เปนโวหารเชิงอธิบายหรือเลาเร่ือง อยางถี่ถวนโวหารแบบนี้เหมาะสําหรับเขียนเร่ืองประเภทใหความรู เชน ประวัติ ตํานาน บันทึก เหตุการณ ฯลฯ ตัวอยาง บรรยายโวหาร เชน “ขณะทเ่ี ราขบั รถขึน้ เหนอื ไปนครวดั เราผานบา นเรือนซ่ึงประดับดวยธงสีนํ้าเงินและสีแดง ไวนอกบาน เราไปหยดุ ที่หนาวดั ซึ่งประตูทางเขาตกแตง ดวยดอกไมและเครือเถาไม ในเขตวัด พระสงฆ หมจวี รสีสม สนทนาปราศรยั กบั ผคู นทไี่ ปนมัสการอยูในปะรําไมป ลูกขน้ึ เปน พเิ ศษ ความประสงคท ี่เราไป หยุดท่ีวัดก็เพ่ือกอพระทรายอันเปนเร่ืองท่ีสําคัญท่ีสุดในวันขึ้นปใหมตามศรัทธาของพุทธศาสนิกชน การกอพระทรายเปนพิธีบุญ อธิษฐานขอพรอยางหน่ึง งานเทศกาลน้ีเปนเวลาท่ีวัดทุก ๆ วัด จะตอง เก็บกวาดใหสะอาดท่ีสุด มีการสรงน้ําพระพุทธรูปเปนประจําปเพื่อขอใหฝนตกโดยเร็ว” จาก สมโรจน สวัสดกิ ลุ ณ อยธุ ยา “วันปใ หมท นี่ ครวัด” งานเทศกาลในเอเชีย เลม 1 โครงการความรวมมือทางดาน การพิมพ ชุดที่ 2 ศนู ยว ัฒนธรรมแหง เอเชยี ของยูเนสโก 9.2 แบบพรรณนา หรือท่ีเรียกวา พรรณนาโวหาร คือ โวหารที่กลาวเปนเร่ืองราว อยา งละเอียดใหผ ูอา นนกึ เหน็ เปน ภาพ โดยใชถอ ยคาํ ที่ทาํ ใหผ อู า นเกิดภาพในใจ มโนภาพขนึ้ โวหาร แบบน้สี ําหรบั ชมความงามของบา นเมือง สถานท่ี บุคคล เกยี รติคุณ คณุ ความดีตาง ๆ ตลอดจนพรรณนา อานุภาพของกษตั รยิ และพรรณนาความรูส กึ ตาง ๆ เชน รัก โกรธ แคน ริษยา โศกเศรา เปนตน ตวั อยา ง พรรณนาโวหาร เชน “เม่ือถึงตอนนา้ํ ต้ืนพวกฝพายตางชวยกันถอ ทางน้าํ คอ ยกวางออกไปเปนหนองนาํ้ ใหญ แตนาํ้ สงบน่งิ นาประหลาด ปารนแนวไปจากริมหนองปลอยใหตน หญาสีเขียวจาํ พวกออคอยรับแสง สะทอนสีนํา้ เงินแกจากทองฟา ปุยเมฆสีมวงลอยไปมาเหนือศีรษะทอดเงาลงมาใตใบบัวและดอกบัว สีเงิน เรอื นเล็กหลังหน่งึ สรางไวบนเสาสงู แลดูดําเม่ือมมาแตไกล ตัวเรอื นมีตน ชะโอนสองตน ซ่ึงดูเหมือนจะข้ึนอยูในราวปาเบอ้ื งหลัง เอนตนลงเหนือหลังคา ท้ังตนและใบคลายจะเปนสัญญาณ วามีความเศราโศกสุดประมาณ” จากทองสุก เกตุโรจน “ทะเลใน” แปลและเรยี บเรียงจากเร่ือง “The Lagoon” ของ Joseph Conrad การเขียนแบบสรา งสรรค มหาวิทยาลยั รามคําแหง 2519

59 9.3 แบบอุปมา หรือท่ีเรียกวาอุปมาโวหาร คือ โวหารที่ยกเอาขอความมาเปรียบเทียบ เพือ่ ประกอบความใหเ ดน ชัดขนึ้ ในกรณที หี่ าถอ ยคาํ มาอธบิ ายใหเขา ใจไดย าก เชน เร่อื งที่เปน นามธรรม ท้ังหลาย การจะทาํ ใหผ อู า นเขา ใจเดนชัด ควรนําสิง่ ที่มตี วั ตนหรอื ส่งิ ท่คี ดิ วาผอู านเคยพบมาเปรียบเทียบ หรอื อาจนํากริ ยิ าอาการของสงิ่ ตา ง ๆ มาเปรยี บเทียบก็ได เชน เย็นเหมือนน้ําแข็ง ขาวเหมือนดั่งสําลี ไวเหมือนลิง บางทีอาจนําความรูสึกท่ีสัมผัสไดทางกายมาเปรียบเทียบเปนความรูสึกทางใจ เชน รอนใจดังไฟเผา รักเหมือนแกวตา เปนตน โวหารแบบน้ีมักใชแทรกอยูในโวหารแบบอ่ืน ตัวอยาง อุปมาโวหาร เชน ความสวยเหมือนดอกไม เม่อื ถงึ เวลาจะรว งโรยตามอายุขยั แตความดีเหมือนแผนดิน ตราบใดท่ีโลกดํารงอยู ผืนดินจะไมมีวันสูญหายไดเลย ความดีจึงเปนของคูโลก และถาวรกวาความสวย ควรหรอื ไมถ า เราจะหนั มาเทดิ ทูนความดีมากกวาความสวย เราจะไดทําแตสิ่งที่ถกู เสยี ที 9.4 แบบสาธก หรือสาธกโวหาร สาธก หมายถึง ยกตัวอยางมาอางใหเห็น สาธกโวหาร จึงหมายถึงโวหารท่ียกตัวอยางมาประกอบอาง เพ่ือใหผูอานเขาใจเร่ืองไดชัดเจนข้ึน ตัวอยางที่ยกมา อาจจะเปน ตวั อยา งบุคคล เหตุการณหรือนทิ าน โวหารแบบน้ีมักแทรกอยูโวหารแบบอ่ืน เชนเดียวกับ อุปมาโวหาร ตวั อยาง สาธกโวหาร เชน “....พึงสงั เกตการบูชาในทางทผี่ ดิ ใหเ กดิ โทษ ดงั ตอไปนี้ ในสํานักอาจารยท ศิ าปาโมกข เมืองตักศิลา มีเด็กวัยรุนเปนลูกศิษยอยูหลายคน เรียนวิชา ตางกันตามแตเขาถนัด มีเด็กวัยรุนคนหน่ึงชื่อ สัญชีวะ อยูในหมูน้ันเรียนเวทยมนตเสกสัตวตาย ใหฟนคนื ชีพไดต ามธรรมเนียมการเรียนเวทยมนตตองเรียนผูกและเรียนแกไปดวยกัน แตเขาไมไดเรียน มนตแ ก” มาวันหน่ึง สัญชีวะกับเพื่อนหลายคนพากันเขาปาหาฟนตามเคย ไดพบเสือโครงตัวหน่ึง นอนตายอยู “น่แี นะ เพื่อน เสอื ตาย” สญั ชีวะเอยข้ึน “ขาจะเสกมนตใหเสือตัวน้ีฟนคืนชีพข้ึนคอยดูนะ เพอื่ น” “แนเทียวหรอื ” เพอื่ นคนหน่ึงพดู “ลองปลุกมันใหคืนชีพลุกข้ึนดูซิ ถาเธอสามารถ” แลวเพ่ือน ๆ คน อนื่ ๆ ปน ขึน้ ตนไมค อยดู “แนซนี า ” สัญชวี ะยนื ยัน แลว เรม่ิ รายมนตเ สกลงทรี่ า งเสอื พอเจาเสือฟนคืนชีพขึ้นยืนรูสึกหิว มองเห็นสัญชีวะพอเปนอาหารแกหิวได จึงสะบัดแยกเขี้ยวอวด สญั ชวี ะและคาํ รามวง่ิ ปราดเขา กดั กา นคอสญั ชวี ะลม ตายลง เมื่ออาจารยไดทราบขาวก็สลดใจและอาลัยรักในลูกศิษยมาก จึงเปลงอุทานขึ้นวา “นี่แหละผลของการยกยอ งในทางที่ผดิ ผูย กยองคนเลวรา ย ยอมรับนับถือเขาในทางมิบังควรตองไดรับ ทุกขถ ึงตายเชนนี้เอง” จาก ฐะปะนีย นาครทรรพ การประพันธ ท 041 อกั ษรเจรญิ ทัศน 2519 หนา 9 9.5 แบบเทศน หรอื เทศนาโวหาร คอื โวหารท่ีอธิบายชี้แจงใหผูอานเชื่อถือตาม โดยยก เหตผุ ลขอ เท็จจรงิ อธบิ ายคณุ โทษ แนะนาํ สง่ั สอน ตวั อยางเชน “คนคงแกเรียนยอมมีปรีชาญาณ ฉลาดคิด ฉลาดทํา ฉลาดพูดและมีความรูสึกสูง สาํ นกึ ในผดิ ชอบชัว่ ดี ไมกลาทําในส่ิงท่ีผิดทช่ี ว่ั เพราะรสู กึ ละอายขวยเขนิ แกใ จและรูสึกสะดุงหวาดกลัว ตอผลรา ยอันพงึ จะไดร ับ รสู ึกอ่มิ ใจในความถูกตอ ง รูสกึ เสียใจในความผดิ พลาด และรเู ทาความถูกตอง

60 นัน้ วา มไิ ดอยูท ่ีดวงดาวประจําตัว แตอยูท่ีการกระทําของตัวเอง พึงทราบวา ความฉลาดคิด ฉลาดทํา ฉลาดพูดและความรูสึกสูงทําใหคดิ ดี ท่ีจรงิ และคิดจริงท่ีดี ทาํ ดที ีจ่ ริง ทาํ จริงทดี่ ี และพดู ดีทจี่ รงิ พดู จริง ทีด่ ี นี่คือวธิ จี รรยาของคนแกเรียน จากฐะปะนยี  นาครทรรพ การประพันธ ท 041 อักษรเจริญทศั น 2519 หนา 8 โวหารตา ง ๆ ดงั กลา ว เมือ่ ใชเขยี นเรียงความเรอื่ งหน่ึง ๆ ไมไ ดหมายความวาจะใชเพียงโวหาร ใดโวหารหนึ่งเพียงโวหารเดียว การเขียนจะใชหลาย ๆ แบบประกอบกันไป แลวแตความเหมาะสม ตามลักษณะเน้อื เรอ่ื งทเี่ ขียน การเขยี นเรียงความเปน ศิลปะ หลกั การตา ง ๆ ทวี่ างไมไ ดเปน หลกั ตายตวั ตวั อยา ง คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ดังน้ัน จึงเปนเพียงแนวปฏิบัติและขอเสนอแนะ ในการเขียนอาจพลิกแพลงได ตามความเหมาะสมทีเ่ ห็นสมควร ตวั อยา ง เรยี งความเร่ือง สามเสา ครวั ไทยแตกอ นครัง้ หงุ ขา วดว ยฟน นนั้ มีส่ิงสําคัญอยางหน่ึง คือ กอนเสา เรายังหาครัวอยางน้ี ดไู ดในชนบท กอ นเสา น้นั อาจเปนดนิ หรอื กอ นหิน มสี ามกอนตัง้ ชนกันมีชองวางสําหรับใสฟน กอนเสา สามกอ นนี้เองเปนทีส่ ําหรับต้ังหมอ ขา วหมอ แกงอันเปนอาหารประจําชีวิตของคนไทย ดู ๆ ไปกอนเสา สามกอนน้ันก็เปนสัญลักษณของชาติไทย เพราะชาติไทยแตไหนแตไรก็ตั้งอยูบนกอนเสาสามกอนนั้น มีชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย พระพุทธศาสนาก็ประกอบดวยกอนเสาสามกอน คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ กอ นเสาสามกอ นหรอื สามเสานี้ เม่ือคิดไปอีกทีก็เปนคติอันดีท่ีเรานาจะยึดเปนเครื่องเตือนใจ ภาษิตจีนมีวา คนเราจะมีชีวิตม่ันคง จะตองน่ังบนมาสามขา มาสามขาตามภาษิตจีนนั้น หมายถึง ส่งิ สาํ คัญสามอยางที่พยุงชวี ิตเรา ส่งิ สําคญั นั้นจะเปนอะไรก็ไดแ ตตองมีสามขา ถามเี พียงสองชีวิตกย็ งั ขาดความม่ันคง ภาษิตจีนนี้ฟงคลาย ๆ “สามเสา” คือวาชีวิตของเราต้ังอยูบนกอนสามกอน จึงมี ความมน่ั คง ก็กอนเสา ทง้ั สามสาํ หรับชวี ิตนี้คอื อะไร ตา งคนอาจหากอนเสาทั้งสามสาํ หรบั ชีวติ ของตัวเองได บางทานอาจยึดพระไตรลักษณ คือ ความทุกข 1 ความไมเท่ียง 1 และความไมใชตัวของเรา 1 เปนการยึดเพื่อทาํ ใจมิใหชอกช้ําขุนมัวในยามท่ีตกทุกขไดยาก หรือจะใชเปนเครื่องเตอื นมิใหเ กิด ความทะเยอทะยานตน ทาํ ลายสันตสิ ขุ ของชวี ติ ก็ได บางคนยดึ ไตรสิกขาเปนกอนเสา ท้งั สามแหง การยัง มีชวี ิต คอื ศลี สมาธิ ปญ ญา เปนหลกั การเขียนยอความ คือ การเก็บใจความสําคัญของเร่ืองที่อานหรือฟงมาเรียบเรียงใหม อยา งยอ ๆ โดยไมทาํ ใหสาระสาํ คัญของเร่ืองนั้นคลาดเคลื่อน หรอื ขาดหายไป การยอ ความเปน วธิ กี ารหนึ่งทีช่ ว ยใหเ ราบนั ทกึ เรอ่ื งราวตา ง ๆ ที่ไดอานหรือฟง มานนั้ ไวโดยยอ ๆ โดยเก็บรวบรวมไวเพื่อมิใหหลงลืม หรือเพ่ือนําเรื่องท่ีบันทึกไวน้ันไปใชในโอกาสตาง ๆ นอกจากน้ัน การยอ ความยงั ชว ยใหถา ยทอดเร่ืองราวตอ ไปยังผอู นื่ ไดถ ูกตอ งรวดเร็วอีกดว ย

61 หลักการยอความ การยอ ความมีหลกั การท่ัวไป ดังตอไปนี้ 1. ยอความตามรปู แบบการยอความแบบตาง ๆ กาํ หนดไวใ นหัวขอ แบบการยอความ 2. อานเรอ่ื งราวทจ่ี ะยอ อยา งนอ ย 2 เทีย่ ว เทีย่ วแรกจับใจความใหไดวา เรอื่ งอะไร หรอื ใครทํา อะไรที่ไหน อยางไร เทย่ี วทีส่ องจับใจความใหละเอยี ดข้นึ และพิจารณาวา อะไรเปน ใจความสําคัญ อะไร เปนใจความประกอบหรือพลความ หรือขอความทเ่ี สริมแตงใจความสําคัญใหเดนชัด ชัดเจน อะไรเปน กลวิธีการแตง ถาจบั ใจความไมไดใ หอ า นอีกจนกวาจะสามารถจับใจความสําคญั ได 3. พจิ ารณาเกบ็ เฉพาะใจความสาํ คญั หรือเกบ็ ใจความประกอบท่ีจาํ เปน 4. นําเฉพาะใจความที่เกบ็ ไวม าเรียบเรยี งใหมด วยภาษาของตนเองตามรูปแบบทกี่ ําหนด 5. ความสัน้ ยาวของการยอความไมส ามารถกําหนดเปนอัตราสวนได ขึ้นอยูกบั จุดประสงคของ การยอและลักษณะของเรื่องที่ยอ ลักษณะของเรื่องก็คือ เร่ืองใดที่มีใจความประกอบมากถาเราเก็บ เฉพาะใจความสําคัญก็ยอไดสั้น ถาเก็บใจความประกอบที่จําเปนดวย อัตราสวนความยาวจะเพิ่มข้ึน ดงั นน้ั จึงไมม เี กณฑก ําหนดเรือ่ งอตั ราสว นของยอ ความ 6. เปลี่ยนคําสรรพนามจากบุรุษที่ 1 บุรุษท่ี 2 เปนบุรุษท่ี 3 เพราะผูยอทําหนาที่เลาตอและ เครอ่ื งหมายใด ๆ ท่ีมีอยูในขอความเดิม จะไมใชในยอความ เชน มาลีพูดวา “พอมาแลว” เปลี่ยนเปน เธอพดู วาพอ มาแลว คือ ใหย อ รวมกันไป ไมแยกกลาวหรือข้นึ บรรทัดใหม 7. ใชถอยคําภาษางา ย ๆ ไดใจความชดั เจน เชน อันมวลบุปผามาลีอยูในไพรสนฑเ ปลีย่ นเปน ดอกไมอยใู นปา แตถา มคี าํ ราชาศพั ทยงั คงใชอยู 8. เลอื กใชค ําไดความหมายครอบคลุม เชน เพื่อกลาวถึงหนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน ควรใช คําวา “สื่อสารมวลชน” แทน หรือเม่ือกลาวถึงสมุด ดินสอ ปากกา ยางลบ ไมบรรทัด ควรใชคําวา “เครือ่ งเขยี น” แทน เปน ตน 9. ไมใ ชอ กั ษรยอ หรอื คาํ ยอ เวน แตอ กั ษรยอ หรอื คํายอนัน้ เปนท่เี ขาใจและยอมรับใชก ันท่ัวไป แลว เชน พ.ศ. ร.ส.พ. ส.ป.อ. ฯลฯ 10. ขอความที่ยอแลวใหเขียนตอเนื่องกันโดยใชคําเชื่อม เพื่อใหความกระชับไมเยิ่นเยอ แตขอ ความทไ่ี มสมั พันธกนั ใหยอหนา เปนตอน ๆ 11. การยอความเปนรอยกรอง ก็ใชวิธีเดียวกับรอยแกว แตเปล่ียนขอความจากรอยกรอง เปนรอ ยแกว ธรรมดากอ น รูปแบบการเขยี นยอความ เรือ่ งทีจ่ ะยอ มหี ลายรปู แบบ เชน บทความ จดหมาย โอวาท ฯลฯ แตละรูปแบบมีแบบ การขึ้นตนเฉพาะ ดงั ตอไปน้ี

62 1. แบบของบทความ สารคดี ตาํ นาน นิทาน นิยาย เร่อื งสน้ั ฯลฯ ยอ (บทความ สารคดี ตํานาน นิทาน นยิ าย เร่ืองส้นั ) เร่ือง ........................................................ ของ ..................(ผแู ตง ) ..............................จาก........................(แหลง ที่มา).................................ความวา (ขอ ความ)...................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 2. แบบของจดหมาย สาสน หนงั สือราชการ ยอ (จดหมาย สาสน หนังสือราชการ) ฉบบั ท่.ี ............................ของ............................................ ..........................................................ลงวนั ท่ี ความวา ................................................................................ (ขอ ความ)...................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 3. แบบของประกาศ แจง ความ แถลงการณ ระเบยี บคาํ สง่ั ฯลฯ ยอ (ประกาศ แจง ความ แถลงการณ ระเบียบคําสง่ั ) เร่อื ง ......................................................... ของ.........................................ลงวนั ที่ .....................................................ความวา (ขอความ) .................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 4. แบบของขา ว ยอ ขา วเร่อื ง...................................................จาก........................................................................ ลงวนั ท.ี่ .................................................ความวา........................................................................................ (ขอ ความ) .................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................

63 5. แบบของโอวาท คําปราศรัย สนุ ทรพจน ยอ (โอวาท คาํ ปราศรัย สุนทรพจน) ของ................................แก. .............................................. .......................เน่ืองใน......................(โอกาส)...................................................ท.ี่ ....................................... ณ วนั ที่..................................................................................ความวา (ขอความ) .................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 6. แบบปาฐกถา คาํ สอน คําบรรยาย ถอ ยแถลง ยอ (ปาฐกถา คําสอน คําบรรยาย ถอ ยแถลง) ของ..................................................................... เรือ่ ง.....................................................................แก. ..........................................ท.่ี .................................... ...........................ณ วันท.่ี .........................................เวลา..................................ความวา (ขอ ความ) .................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 7. แบบพระบรมราโชวาท เทศนา ยอ (พระบรมราโชวาท เทศนา) ใน..................................................................พระราชทานแก ...................................................................ใน..........................................ที่.............................................. ณ วนั ที.่ ....................................ความวา (ขอความ) .................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 8. แบบทีเ่ ปน รอ ยกรอง ใหถ อดเปนรอ ยแกว กอ นแลว ยอ ตามรูปแบบ คือ ยอ กลอนสุภาพ (หรอื รอยกรองแบบอ่นื ทีย่ อ) เร่ือง...................................................................... ตอน................................................................ความวา (ขอความ) .................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................

64 9. ความเรยี งท่ีตดั ตอนมา ยอเร่ือง...............................ของ..............................คดั จากเรือ่ ง ................................................. ................................จากหนงั สือ........................................................................ความวา (ขอความ) .................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ขอความทย่ี อถาเรือ่ งเดมิ ไมมชี ่ือเรอ่ื งใหต ง้ั ชอื่ เร่อื งใหต รงกับความสําคญั ของเรื่องนั้น ๆ ตวั อยา งยอ ความ (รอ ยแกว ) เรอ่ื ง เปรียบเทียบนามสกุลกับชอ่ื แซ คนเรายังมีอยูเปนอันมาก ซ่ึงยังมิไดสังเกตวา นามสกุลกับช่ือแซของจีนน้ันผิดกันอยางไร ผทู ่ีแลดูแตเผิน ๆ หรือซึ่งมิไดเอาใจใสสอบสวนในขอนี้ มักจะสําคัญวาเหมือนกันและมีพวกจีนพวก นิยมจีนพอใจจะกลาววา การทพ่ี ระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระราชปรารภออกพระราชบัญญัติ นามสกลุ ข้ึนน้ัน โดยทรงพระราชนิยมตามประเพณีช่ือแซของจีน ซ่ึงถาจะตรองดูก็จะเห็นวาคงจะไม เปน เชน น้ันโดยเหตุทีจ่ ะอธบิ ายตอไปนี้ แซของจีนนน้ั ตรงกับ “แคลน” ของพวกสกอตคอื เปน คณะหรอื พวก หรือถาจะเทียบทาง วดั กค็ ลา ยสํานัก เชน ท่ีเราไดยินเขากลา ว ๆ กนั อยูบ อย ๆ วา คนนั้นเปนสํานักวัดบวรนิเวศ คนน้ีเปน สํานักวัดโสมนัส ดังนี้เปนตัวอยาง สวนสกุลนั้นตรงกับคําอังกฤษวา “แฟมิล่ี” ขอผิดกันอันสําคัญ ในระหวางแซกับนามสกุลนั้นก็คือ ผูรวมแซไมไดเปนญาติสายโลหิตกันก็ได แตสวนที่รวมสกุลน้ัน ถาไมไดเปนญาติสายโลหติ ตอกันโดยแทแลวกร็ ว มสกุลกันไมได นอกจากที่จะรับเปนบุตรบุญธรรมเปน พเิ ศษเทาน้นั ตดั ตอนจากเรื่องเปรียบเทยี บนามสกลุ กบั แซ จากหนังสือปกณิ กคดี พระราชนิพนธ ของ พระบาทสมเดจ็ พระรามาธบิ ดีศรีสินทรมหาวชริ าวุธ พระมงกุฎเกลา เจาอยหู วั ศิลปบรรณาคาร 2515 หนา 75 - 76

65 การยอ ความจะเก็บเฉพาะใจความสําคัญและใจความประกอบทีจ่ าํ เปนบางสวนเพ่อื ใหใ จความ ยอความสมบรู ณ ยอหนา ที่ 1 ใจความสาํ คญั วา “คนเรายงั มีอยเู ปน อันมาก ซง่ึ ยังมิไดส ังเกตวานามสกลุ กับ ชือ่ แซข องจนี น้นั ผดิ กนั อยางไร” นอกน้ันเปนใจความประกอบ ใจความประกอบยอ หนาน้ีไมเก็บเพราะเห็นวาไมจาํ เปน เนื่องจากใจความสําคัญสมบูรณที่จะ นําไปยอ ไดอ ยูแลว ยอหนาที่ 2 ใจความสําคญั “ขอ ผดิ กนั อันสําคญั ในระหวางแซกับนามสกุลน้ันก็คือ ผูรวมแซ ไมไดเปนญาตสิ ายโลหิตกันกไ็ ด แตผรู ว มสกลุ น้นั ถา ไมไ ดเปน ญาติสายโลหิตตอกนั โดยแทแ ลวกร็ ว มสกุล กนั ไมได” ใจความประกอบท่ีจําเปนที่ควรเก็บเพ่ือเสริมใจความสําคัญใหยอความไดใจความสมบูรณ ครบถว น คอื “แซของจีนเปน คณะหรือพวก หรอื ถา จะเทยี บทางวดั ก็คลายสํานกั ” “..............นอกจากที่จะรับเปนบุตรบญุ ธรรมเปน พิเศษเทา นนั้ ” เม่ือไดศึกษาหลักการยออื่น ๆ ครบถวนกับดูรูปแบบการยอท่ีใชแลว นําใจความที่เก็บไวมา เรียบเรียงใหมดวยถอยคําของตนเอง รูปแบบการยอเปนความเรียงที่ตัดตอนมา ดังนั้น จึงเขียน ยอ ความไดด งั น้ี ยอ เรอ่ื ง เปรียบเทยี บนามสกลุ กบั ช่อื แซ ของพระบาทสมเดจ็ พระมหารามาธิบดีศรสี ินทรมหา วชริ าวธุ พระมงกฎุ เกลา เจา อยหู วั คัดจากเรือ่ งเปรียบเทียบนามสกลุ กบั ชอ่ื แซ จากหนังสอื ปกณิ กคดี ความวา มีคนจาํ นวนมากไมไดส ังเกตวา นามสกลุ กับแซของจีนนั้นตางกัน ผูรวมแซของจีนไมไดเปนญาติ สายโลหิตกนั ก็ได แตเปนคณะหรือพวกเหมือนสํานักวัดหน่ึง สวนรวมสกุลตองเปนญาติสายโลหิตกัน โดยแทเทา น้นั หรือไมเ ชนนนั้ ก็ตองเปนบุตรบญุ ธรรมที่รับไวเ ปน พเิ ศษ ถา เปน การยอท่มี งุ เกบ็ เฉพาะใจความสําคญั ขนึ้ ตน รูปแบบเหมือนกัน แตใจความจะส้ันเขา ดังน้ี มีคนจํานวนมากไมไดส งั เกตวา นามสกลุ กบั แซข องจีนนน้ั ตา งกนั ผรู วมแซของจนี ไมไ ดเปนญาติ สายโลหิตกไ็ ด แตผูร วมสกลุ ตอ งเปน ญาติสายโลหติ หรือบตุ รบุญธรรมทีร่ ับไวเ ปน พเิ ศษเทาน้นั

66 ตัวอยางยอ ความ (รอ ยกรอง) ทหารเอกสยามสูเศรษฐสงคราม กับสทิ ธกิ ารจดั การศึกษาสําหรบั ประเทศ (กาพยฉบัง) “ถามหนอยเถิดหนผู ูเพียร เสรจ็ จากโรงเรียน แลว เจา จกั ทาํ อะไร” “ฉนั เปนพอ คา กไ็ ด ใหเ ตยี่ หัดให ตัง้ หา งอยางเถา แกฮ ง” ถามทวั่ ทกุ คนกค็ ง ใหคาํ ตอบลง รอยกันมพิ ลันสงสยั จากโรงเรยี นจนี จงไป ถามโรงเรียนไทย จกั ไดค าํ ตอบนาน “ผมคิดเขาทําราชการ เชน ทา นขุนชาญ ลูกบานเดยี วกันม่ันหมาย” คิดเขา คา ขาย “หนูอยา นกึ วา งายดาย พอคาคอยนา ม่งั มี” “ผมรักราชการงานดี ตาํ แหนงหนาที่ ยศศกั ดบ์ิ ฎั ตรานา แสวง” “บัดยามสยามตองการแรง ไทยฉลาดทุกแขนง ท้ังนอกและในราชการ” “เศรษฐกิจกก็ ิจแกน สาร นักเรยี นรกั งาน ควรเลอื กประกอบเหมอื นกนั ” “ผมชอบราชการเทา น้ัน ต้ังใจหมายมน่ั แตจ ะเขารบั ราชการ” คาํ ตอบเชน นม้ี ีประมาณ กี่สวนรองวาน คาํ นึงจะพึงพิศวง นึกไปไมนา งวยงง การคาขายคง ไมคนุ ไมคอ ยเคยทํา เคยแตรงั เกียจดว ยซาํ้ นายไพรดว ยชาํ นาญลวนงานเรยี ก “ราชการ” ........................................................ ครเู ทพ โคลงกลอนของครเู ทพ เลม 1 คุรสุ ภา 2515

67 ขอ ความท่ียอ ไดดงั น้ี ยอ กาพยฉ บงั เรื่องโครงกลอนของครูเทพ ตอน ทหารเอกสยามสเู ศรษฐสงครามกับสทิ ธิการ จัดการศกึ ษาสําหรบั ประเทศ ความวา ถาถามนกั เรียนในโรงเรยี นจนี กับโรงเรียนไทยวา เมอื่ สําเร็จการศึกษาแลวจะไปประกอบอาชีพ อะไร นกั เรยี นในโรงเรียนจีนตอบวาจะไปเปนพอคา และนักเรียนในโรงเรียนไทยจะตอบวาจะทํางาน ราชการ คําตอบเชนน้ีเปนเพราะคนไทยไมคุนเคยและไมคอยเคยคาขายจึงไมเห็นความสําคัญทั้ง ๆ ท่ีเรือ่ งคาขายเปนเรื่องสําคัญที่ควรเลือกเปนอาชีพไดเหมือนกันและเหมาะสมกับประเทศไทยท่ีกําลัง ตอ งการคนฉลาดทํางานทุกประเภทไมใ ชเพยี งงานราชการเทา น้ัน สรุป ยอ ความเปนการเขียนแบบหน่งึ ทเ่ี กบ็ ใจความสําคญั ของเร่ืองเดิมมาเขียนใหมใ หส ั้นกวา เดิมเพื่อ สะดวกแกการเขาใจและการนําไปใช การยอความตองบอกลักษณะและท่ีมาของขอความที่จะยอและ ยอ ใหไ ดใ จความครบถวนใจความของขอความเดมิ เรื่องท่ี 4 การเขียนเพอ่ื การสือ่ สาร 1. การเขยี นจดหมาย เปน การสอื่ สารโดยตรงระหวา งบคุ คลหรอื ระหวา งหนว ยงานตา ง ๆ ชวยทาํ ใหระยะทางไกลเปน ใกล เพราะไมวาบุคคลหรอื หนว ยงานจะหา งไกลกันแคไหนกส็ ามารถใช จดหมายสงขา วคราวและแจง ความประสงคไดตามความตองการ การสง สารหรอื ขอความในจดหมาย ตองเขยี นใหแ จม แจง ชัดเจนเพ่อื จะไดเขาใจตรงกันทัง้ สองฝา ย องคประกอบและรปู แบบของจดหมาย ผเู รียนคงเคยเขยี นจดหมายหรอื อานจดหมายมาบางแลว คงจะสงั เกตเหน็ วาจดหมายน้นั ไมว า ประเภทใด จะตอ งประกอบดวยสงิ่ ตา ง ๆ ดงั น้ี 1. ทีอ่ ยูของผเู ขียน เรม่ิ กึ่งกลางหนากระดาษระหวา งเสนคนั่ หนากบั รมิ ของขอบกระดาษ 2. วัน เดือน ป ที่เขียนจดหมาย ใหเ ยอ้ื งมาทางซายของตาํ แหนง ที่เขยี นท่อี ยเู ล็กนอ ย 3. คาํ ขนึ้ ตน หา งจากขอบกระดาษดานซาย 1 นิ้ว 4. เนื้อหา ขึ้นอยกู บั ยอ หนา ตามปกติ อาจจะอยูห างจากขอบกระดาษดา นซา ย 2 นวิ้ 5. คาํ ลงทา ยอยูแ นวเดยี วกับท่อี ยขู องผเู ขียน 6. ชือ่ ผเู ขียน อยูใตค าํ ลงทาย ลํา้ เขา ไปเลก็ นอย

68 ตัวอยา ง รูปแบบการเขยี นจดหมายทัว่ ไป ฀ สถานทเ่ี ขยี นจดหมาย ............................. ฀ วนั ..........เดอื น......................ป. .............. ระยะ 1 นวิ้ ฀ คําข้นึ ตน ................................................................................................. ประมาณ 2 นว้ิ ฀ เน้อื หา ................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ฀ คาํ ลงทา ย ............................................... ฀ ชือ่ ผเู ขียน ............................................... หลักการทัว่ ไปในการเขียนจดหมาย การเขียนจดหมายควรคํานึงถงึ สง่ิ ตอ ไปน้ี 1. การใชถอยคํา จดหมายที่ดี ตองใชถอยคําในการเขียนใหถูกตองเหมาะสมกับประเภท ของจดหมายและผูร บั จดหมายดวย ไดแ ก จดหมายสวนตัว การเขียนจดหมายสวนตัวไมมีขอกําหนดเก่ียวกับการใชคําขึ้นตนและ คําลงทายที่ตายตัวเพียงแตเลือกใชใหเหมาะสมเทาน้ัน คําข้ึนตนและลงทายสําหรับบุคคลทั่วไป มแี นวทางการเขยี นสาํ หรับเปนตัวอยา งใหเ ลือกใช ดงั นี้ บุคคลที่ติดตอ คาํ ขน้ึ ตน คําลงทาย ญาตผิ ใู หญ เชน พอ แม กราบเทา............................ กราบเทา ดวยความเคารพ ปู ยา ตา ยาย ทเ่ี คารพอยา งสงู อยา งสงู หรือกราบมาดวยความ เคารพรกั อยา งยง่ิ ญาตลิ าํ ดับรองลงมา เชน กราบ....................ทีเ่ คารพ กราบมาดว ยความเคารพ ลงุ ปา นา อา หรือ กราบ......................... ดวยความเคารพ ทีเ่ คารพอยางสงู ดว ยความเคารพอยา งสงู

69 พหี่ รอื ญาติช้ันพ่ี พ.่ี .....................ท่รี ัก ดวยความรกั ถงึ ....................ทรี่ ัก หรือ รักหรือคิดถึง ครู อาจารยห รอื ....................เพือ่ นรกั หรอื หรือรักและคดิ ถึง ผบู ังคบั บญั ชาระดับสูง ........................นองรัก กราบเรียน...........ที่เคารพ ดว ยความเคารพอยางสงู อยางสงู ผบู ังคบั บญั ชาระดบั ใกลต ัว เรียน................ที่เคารพ ดวยความเคารพ ผูเ ขียน 2. มารยาทในการเขียนจดหมาย 2.1 เลือกกระดาษ ซอง ท่ีสะอาดเรียบรอย หากเปนไปไดควรใชกระดาษท่ีทาํ ข้ึน เพอื่ การเขียนจดหมายโดยตรง แตถ าหาไมไ ดก ค็ วรใชกระดาษท่ีมสี สี ุภาพ กระดาษที่ใชเ ขยี นควรเปน กระดาษเตม็ แผน ไมฉีกขาด ไมย ยู ยี่ บั เยนิ ไมสกปรก 2.2 ซองจดหมายท่ดี ที ส่ี ุด คือ ซองท่กี ารส่อื สารแหง ประเทศไทยจดั ทําข้ึน เพราะมีขนาด และคุณภาพไดมาตรฐาน ซองประเภทนี้มีจําหนายตามที่ทําการไปรษณียโทรเลขทุกแหง ถาหาซอง จดหมายของการสอ่ื สารแหงประเทศไทยไมได กอ็ าจเลอื กซอ้ื ซองท่ีเอกชนทําขึ้นจําหนาย ซึ่งถาเปนใน กรณีหลังน้ีควรเลือกซองที่มีสีสภุ าพ ไมควรมลี วดลาย 2.3 ไมควรใชซองท่ีมตี ราครฑุ สง จดหมายท่มี ิใชหนังสือราชการ 2.4 ไมควรใชซองท่ีมีขอบซองเปนลายขาวแดงนํ้าเงินสลับกัน ซึ่งเปนซองสําหรับสง จดหมายไปรษณียอ ากาศไปยังตางประเทศ 2.5 เขยี นหนงั สอื ใหชดั เจน อา นงา ย การเขียนตัวอักษรคอนขางโตและเวนชอ งไฟคอ นขา ง หา งจะชว ยใหจดหมายนน้ั อา นงาย 2.6 ไมควรเขียนดวยดินสอดาํ ดินสอสีตาง ๆ หรือหมึกสีแดง เพราะถือวาไม สุภาพ สีทีเ่ หมาะสม คอื หมึกสีนา้ํ เงนิ และสีดํา 2.7 จะตองศึกษาใหถูกตองถองแทกอนวา ผูท่ีเราจะเขียนจดหมายไปถึงน้ันเปนใคร มีตําแหนงหนาที่อะไร การเขียนขอความในจดหมายก็ดี การจาหนาซองก็ดี จะตองระบุตาํ แหนง หนา ทีช่ ั้นยศของผนู ั้นใหถ กู ตอ งและตอ งสะกดช่ือ นามสกลุ ยศ ตําแหนง ของผูน ัน้ ใหถูกตองดว ย 2.8 เมื่อเขยี นจดหมายเสรจ็ แลว ตอ งพับใหเ รียบรอ ยแลวบรรจซุ อง จาหนาซองใหถูกตอง ครบถวน ปด ดวงตราไปรษณียากรใหครบถว นตามราคาและถูกตาํ แหนง กอนทีจ่ ะนาํ ไปสง

70 2.9 เขียนจาหนาซองจดหมาย 2.9.1 เขยี นช่ือ นามสกลุ ของผูรบั ใหถ ูกตอง ชดั เจน อา นงาย ถาผูรบั เปนแพทย เปนอาจารย หรือตํารวจ ทหาร หรือคาํ นําหนานามแสดงเกียรติยศหรือฐานันดรศักดิ์ เชน บ.จ. ม.ร.ว. ม.ล. ก็ใชถ อ ยคาํ พเิ ศษเหลานั้นนาํ หนา ชื่อ คํานาํ หนาชื่อควรเขียนเตม็ ไมค วรใชคาํ ยอ ถา ทราบ ตําแหนงกร็ ะบตุ ําแหนง ลงไปดว ย ในกรณที ่ไี มท ราบรายละเอยี ดดงั กลา ว ควรใชค ําวา คุณ นําหนา ชอื่ ผรู บั ในการจา หนา ซองจดหมายนนั้ 2.9.2 ระบสุ ถานที่ของผูรบั ใหถกู ตอง ชัดเจนและมีรายละเอียดพอทีบ่ ุรุษไปรษณีย จะนําจดหมายไปสงไดไมผิดพลาด ระบุเลขท่ีบาน หางรานหรือสํานักงาน ซอย ตรอก ถนน หมูบาน ตําบล อําเภอ ในกรณีตางจังหวัด หรือแขวง เขต ในกรณีกรุงเทพมหานคร ที่สําคัญคือจะตองระบุ รหัสไปรษณียใหถ กู ตอ งทกุ ครง้ั จดหมายจะถึงผรู ับเร็วขนึ้ หมายเหตุ การสื่อสารแหงประเทศไทยไดจ ดั ทําเอกสารแสดงรหสั ไปรษณยี ข องอําเภอ และจงั หวดั ตาง ๆ สําหรับแจกจายใหประชาชน ทานจะติดตอขอรับไดจากที่ทําการไปรษณียโทรเลข ทุกแหง 2.9.3 การจา หนาซอง การสอื่ สารแหงประเทศไทย แนะนําใหเขียนนามและท่ีอยู พรอมดวยรหัสไปรษณียของผูสงไวที่มุมบนดานซายมือของซองและเขียนช่ือผูรับพรอมที่อยูและ รหสั ไปรษณียใ หไ วตรงกลาง ดงั ตัวอยา ง ตัวอยางการเขียนจาหนาซองจดหมาย (ช่ือท่ีอยูผสู ง ) ทผ่ี นึก นายวิศิษฎ ดรุณวัด ตราไปรษณยี ากร 708/126 ถนนจรัสเมือง แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ฀1 ฀0 ฀3 ฀3 ฀0 (ชื่อและทอ่ี ยูของผรู ับ) นายสัญญา ทองสะพัก 364 ก 1 หมู 1 ถนนริมคลองรดั หลวง ตําบลตลาด อําเภอพระประแดง จังหวัดสมทุ รปราการ รหสั ไปรษณยี  ฀1฀0 ฀1 ฀3 ฀0

71 หมายเหตุ การส่ือสารแหงประเทศไทยมีบริการพิเศษตาง ๆ ที่จะชวยปองกันมิใหจดหมาย สูญหายหรือชวยใหจดหมายถึงมือผูรับไดรวดเร็ว ทันเวลา เชน บริการ EMS เปนตน ผูสนใจจะใช บริการตาง ๆ ดังกลาว จะตองไปติดตอท่ีท่ีทาํ การไปรษณียโทรเลขโดยตรง เพราะจะตองกรอกแบบ รายการบางอยาง การเขียนขอความในทํานองที่วา “ขอใหสงดวน” ลงบนซองจดหมายไมทําให จดหมายถงึ เร็วข้ึนแตอยา งใด ประเภทของจดหมาย จดหมายแบงออกเปน 4 ประเภท คือ จดหมายสว นตวั จดหมายกิจธรุ ะ จดหมายธรุ กิจ และจดหมายราชการหรือหนังสอื ราชการ 1. จดหมายสวนตัว คือ จดหมายท่ีบุคคลซึ่งรูจักคุยเคยกันติดตอกันดวยวัตถุประสงค ทเ่ี ปน การสวนตัว เชน เพอื่ สง ขา วคราว ถามทุกขสุข เลาเรอื่ งราว ฯลฯ เปน การติดตอ อยา งไมเปน ทางการ เชน จดหมายเลาเร่ืองราวทกุ ขสุข จดหมายแสดงความรูสึกยนิ ดี เสยี ใจ ขอบคณุ หรอื ขอโทษ ในกรณตี าง ๆ เปน ตน การเขียนจดหมายสวนตัวแมจะยินยอมใหใชถอยคําท่ีแสดงความสนิทสนมเปนกันเองได แตก ็ควรระมัดระวังอยาใหผ อู า นเขา ใจผิด และควรแสดงความสาํ ราญมากกวาการพดู กนั โดยปกติ จดหมายสวนตัวทีม่ ีเนือ้ หาเปนการขอบคณุ หรือแสดงความยินดีอาจเขียนลงในบตั รที่ออกแบบ ไวอยา งสวยงาม แทนการเขียนในกระดาษกไ็ ด การเขียนจดหมายสว นตวั นิยมใหเขยี นดว ยลายมือท่อี า นงาย แสดงความตั้งใจเขียนไมนิยมใช การพิมพด ีดจดหมายหรอื จา หนาซองจดหมายสว นตวั ตวั อยา งจดหมายสวนตวั ฀ บรษิ ัทเกษตร จาํ กัด 4/21 สขุ มุ วทิ กรงุ เทพมหานคร 10110 ฀ 12 เมษายน 2538 ฀ กราบเทา คณุ พอคณุ แมท เ่ี คารพอยางสูง ฀฀฀฀ ผมไดมารายงานตัวเขาทํางานท่ีบริษัทนี้เรียบรอยแลวต้ังแตวันท่ี 10 บริษัทนี้มี สํานกั งานใหญอยูตามที่อยูขางบนน้ี แตมีเรือนเพาะชําและสวนกลาไมขนาดใหญมากอยูท่ีเขตมีนบุรี ทุกเชาพนกั งานทกุ คนจะตอ งมาลงเวลาปฏิบตั งิ านและรับทราบคําส่ัง หรือรับมอบหมายงาน จากนั้น จงึ แยกยา ยกันไปปฏบิ ตั งิ าน ผมไดร ับมอบหมายใหดูแลสวนกลา ไมท ีเ่ ขตมีนบรุ ี ผมรับผดิ ชอบพน้ื ที่เขต 9 ซงึ่ เปนเขต เพาะเลี้ยงดแู ลกลา ไมไผ มคี นงานชวยผมทาํ งาน 3 คน ทกุ คนเปน คนดแี ละขยนั งานทท่ี ําจึงเปนไป ดว ยดี ผมสขุ สบายดี เพราะท่พี กั ซง่ึ อยูชนั้ บนของสาํ นักงานบริษทั ซง่ึ บริษทั จัดให มีความสะอาดดี และกวางขวางพอสมควรทั้งอยูไมไกลยานขายอาหาร ผมจึงหาซื้ออาหารมารับประทานไดสะดวก นับไดว าผมไดทํางานทด่ี ี และมีทพ่ี กั ท่สี ะดวกสบายทกุ ประการ

72 หวังวา คุณพอคุณแมและนองทั้งสองคงสบายดีเชนกัน ผมจะกลับมาเย่ียมบานถามี วนั หยุดติดตอ กันหลายวัน และจะเขียนจดหมายมาอกี ในไมชานี้ ฀ ดวยความเคารพอยา งสงู ฀ เสมา ธรรมจักรทอง 2. จดหมายกจิ ธุระ คือ จดหมายติดตอ ระหวางบุคคลกับบุคคลหรอื บุคคลกับหนวยงาน ดว ยเรอ่ื งท่มี ใิ ชเร่ืองสว นตัว แตเ ปน เร่ืองที่เก่ยี วกับงาน เชน การสมคั รงาน การติดตอ สอบถาม การขอความรว มมอื ฯลฯ ภาษาท่ีใชจึงตอ งสภุ าพและกลา วถึงแตธุระเทา นั้น ไมม ขี อ ความที่แสดง ความสมั พนั ธเปนการสว นตัวตอ กนั ตวั อยางจดหมายกจิ ธรุ ะ ฀ โรงเรยี นลําปางกลั ยาณี ถนนพหลโยธิน อ.เมือง จ.ลาํ ปาง 52000 ฀ 24 กนั ยายน 2528 ฀ เรยี น ผจู ัดการวสั ดกุ ารศกึ ษา 1979 จาํ กัด ฀ ดว ยทางโรงเรียนลําปางกัลยาณี มีความประสงคจ ะซอ้ื สไลดประกอบการสอนวิชาภาษาไทย ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน ตามรายการตอไปน้ี 1. ชดุ ความสนุกในวัดเบญจมบพติ ร จาํ นวน 1 ชดุ 2. รามเกียรต์ติ อนศึกไมยราพ จํานวน 1 ชดุ 3. แมศ รีเรือน จาํ นวน 1 ชุด 4. ขอ คิดจากการบวช จํานวน 1 ชุด 5. หนงั ตะลงุ จํานวน 1 ชุด ตามรายการท่ีส่ังซื้อมาขางตน ดิฉันใครขอทราบวา รวมเปนเงินเทาไร จะลดไดกี่เปอรเซ็นต และถา ตกลงซอ้ื จะจดั สง ทางไปรษณยี ไดห รอื ไม ฀ หวังวา ทา นคงจะแจงเก่ยี วกบั รายละเอยี ดใหท ราบโดยดว น จึงขอขอบคณุ มาในโอกาสน้ี ฀ ขอแสดงความนับถอื ฀ สมใจ หย่ิงศกั ดิ์ ฀ (น.ส.สมใจ หยิง่ ศกั ด์)ิ ฀ ผชู ว ยพสั ดหุ มวดวชิ าภาษาไท

73 3. จดหมายธรุ กิจ คือ จดหมายติดตอในเร่อื งทเี่ กยี่ วกบั ธุรกจิ เชน การเสนอขายสนิ คา การขอทราบรายละเอียดเพมิ่ เตมิ เกี่ยวกบั สินคา หรือบรกิ าร การสงั่ ซ้ือสินคา การตดิ ตามทวงหน้ี ฯลฯ จดหมายกิจธุระและจดหมายธุรกิจ มีลักษณะการติดตอท่ีเปนทางการมากกวาจดหมาย สวนตัว จึงตองใชคําสุภาพ งาย และมีเน้ือความกะทัดรัด เขาใจไดตรงกันท้ังผูเขียนและผูอาน ในการใชภาษา เขียนใหถูกกับระดับของจดหมาย โดยท่ัวไปแลวถาเขียนจดหมายสวนตัวถึงบุคคลที่ สนิทสนมกัน ก็จะใชคําระดับที่ไมเปนทางการ แตถาเขียนจดหมายธุรกิจตาง ๆ ก็ใชคําระดับท่ีเปน ทางการ ตัวอยาง เปรยี บเทียบคําเดิมท่เี ปนทางการกบั คาํ ระดับทีไ่ มเ ปน ทางการ ที่เปนทางการ ทไ่ี มเปนทางการ (สาํ หรบั เขยี นจดหมายธุรกิจและหนงั สอื ราชการ) (สําหรบั เขียนจดหมายสว นตวั ถงึ ผทู ี่คุนเคย) 1. เขาขบั ขีร่ ถจักรยานยนตไ ปชมภาพยนตร 1. เขาขีร่ ถเครอ่ื งไปดหู นงั 2. บดิ ามารดาตองการใหข าพเจามีอาชีพเปน แพทย 2. พอแมอ ยากใหฉนั เปน หมอ แตฉ นั อยากเปน แตขาพเจาตองการเปนครูชนบท ครบู า นนอก 3. หนงั สอื เลม นี้คงขายไดห มดในเวลาอนั รวดเร็ว 3. หนงั สือเลมนม้ี หี วงั ขายไดเ กล้ยี ง เพราะรวม เพราะรวบรวมวาทะสาํ คญั ๆ ของผูมีชื่อเสยี งไว ช่ือของคนดังไวหลายคน หลายคน

74 ตัวอยางจดหมายธุรกจิ ฀ รา นบรรณพภิ พ 42-44 ถนนบญุ วาทย อ.เมือง จ.ลําปาง 5200 โทร. 054 218888 ฀ 3 สิงหาคม 2528 ฀ เรอ่ื ง สง กระดาษอัดสําเนา เรยี น หวั หนา ฝายพสั ดุ สํานกั งานนํา้ คางและเพ่ือน ฀ ตามทสี่ ัง่ กระดาษอดั สําเนายหี่ อไดโต จาํ นวน 50 รีม น้ัน ทางรานไดจัดสงมาเรียบรอยแลว พรอมท้งั ไดแนบใบสงของมาดวย ฀ หากทางสํานักงานของทา นไดร บั ส่ิงของดังกลาวครบถวนแลว กรุณาตอบใหทางรานทราบ ดว ย จะเปน พระคุณอยา งสูง ฀ ขอแสดงความนบั ถือ ฀ ธาดา บรรณพิภพ ฀ (นายธาดา บรรณพภิ พ) ฀ ผูจดั การ ตวั อยาง การจา หนาซองจดหมายธุรกจิ รา นบรรณพิภพ 42-44 ถนนบญุ วาทย อ.เมือง จ.ลําปาง 52000 โทร. 054 218888 เรียน หวั หนา ฝา ยพัสดุ สํานักงานนาํ้ คา งและเพ่อื น สํานกั งานน้ําคางและเพื่อน ถนนเจรญิ ประเทศ จงั หวดั ลําปาง 52000

75 2. จดหมายราชการหรอื หนังสอื ราชการ คือ สวนทถ่ี ือเปนหลกั ฐานในราชการ ไดแ ก หนงั สอื ที่มีไปมาระหวางสวนราชการหรือหนังสอื ทส่ี วนราชการมีไปถึงหนวยงานอ่ืน ซ่ึงมิใชสวนราชการหรอื มไี ปถึงบุคคลภายนอก หรือหนังสอื ทหี่ นว ยงานอ่นื ซ่ึงมใิ ชส ว นราชการ หรอื บุคคลภายนอกเขียนมาถึง สว นราชการ จดหมายราชการ ตอ งใชถอยคําและรูปแบบการเขยี นใหถูกตองตามระเบียบท่ีทางราชการ กาํ หนดไว ระเบียบดังกลาวเรยี กวา ระเบียบงานสารบรรณ รูปแบบหนังสือราชการจึงมีรูปแบบเฉพาะ ดงั น้ี 1. ตอ งใชกระดาษของทางราชการ เปนกระดาษตราครฑุ สขี าว 2. บอกลาํ ดับทกี่ ารออกหนังสือของหนวยงานนั้น โดยใหลงรหัสพยัญชนะและเลขประจําตัว ของเจาของเรื่องทับเลขทะเบียนหนังสือสง เชน นร 0110/531 รหัสพยัญชนะ นร คือ สํานัก นายกรัฐมนตรี 0110 คือ เลขประจาํ ของเจา ของเรือ่ ง 531 คอื ทะเบยี นหนังสอื ที่สง ออก 3. สว นราชการของหนังสือ ใหลงชื่อสวนราชการ สถานที่ราชการ หรือคณะกรรมการ ซ่ึง เปนเจา ของหนงั สอื นน้ั และลงสถานท่ีตงั้ ไวดวย 4. วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขบอกวันที่ ชื่อเต็มของเดือนและตัวเลขของปพุทธศักราช ที่ออกหนังสือ 5. เรอ่ื ง ใหล งเร่อื งยอ ที่เปน ใจความสน้ั ทสี่ ดุ ของหนงั สือนัน้ 6. คําขน้ึ ตน ใหใ ชค ําข้นึ ตน ตามฐานะของผรู ับหนงั สอื ตามดวยตาํ แหนงของผูท่ีหนังสือนน้ั มถี ึง 7. อา งถึง (ถา ม)ี ใหอ า งถึงหนงั สอื ทเ่ี คยมตี ิดตอกนั เฉพาะหนงั สือทส่ี ว นราชการผรู บั หนงั สอื นั้นไดร ับมากอ นแลว โดยใหล งชอ่ื สวนราชการของหนังสือ เลขทีอ่ อกหนังสอื วนั ท่ี เดือน ปพ ทุ ธศกั ราช ของหนงั สอื 8. สง่ิ ทส่ี งมาดว ย (ถา ม)ี ใหลงชอ่ื ส่งิ ของหรอื เอกสารทสี่ ง ไปพรอ มกับหนังสือน้นั ถา ไมส ง ไปใน ซองเดยี วกนั ใหแจง วา สง ไปโดยทางใด 9. ขอ ความ ใหล งสาระสาํ คัญของเรอ่ื งใหช ดั เจนและเขาใจงา ย หากมีความประสงค หลายประการใหแ ยกเปนขอ ๆ 10. คาํ ลงทาย ใหใ ชค ําลงทา ยตามฐานะของผูร บั หนังสอื 11. ลงช่ือ ใหล งลายมือเจา ของหนงั สือและใหพิมพชอ่ื เตม็ ของเจา ของลายมือไวใ ตลายมือช่ือ 12. ตําแหนง ใหล งตาํ แหนงเจาของหนังสือ เชน อธบิ ดี ผูวาราชการจงั หวดั ผบู ัญชาการกองพล ฯลฯ 13. สวนราชการเจาของเรื่อง ใหล งชอ่ื สว นราชการเจาของเร่ืองหรือหนวยงานที่ออกหนังสือ พมิ พไวมุมลางซา ยแนวเดียวกับตําแหนง ผูออกหนงั สือหรอื ตํา่ กวา 14. โทร. ใหลงหมายเลขโทรศพั ทข องหนว ยงานเจาของเรือ่ ง

76 ตัวอยา งแบบจดหมายราชการ 1 ฀ ตราครุฑ 2 ท่.ี ............ 3 ชอ่ื สว นราชการเจา ของหนงั สือ 4 วนั .......เดอื น...................พ.ศ............. 5 เรือ่ ง................................. 6 เรยี น หรอื กราบเรยี น....................... 7 อา งถงึ ..................................... (ถา ม)ี 8 ส่งิ ทีส่ งมาดวย......................... (ถา ม)ี 9 ขอ ความ .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................... สรุป .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................... 10 คําลงทาย............................................................ 11 ลายเซน็ ต. ................................................ ชอ่ื ตวั บรรจง............................................... 12 ตําแหนง................................. 13 สว นราชการเจาของเรอ่ื ง........................................ 14 โทรศัพท (ถา ม)ี .......................................................

77 ตัวอยางรปู แบบจดหมายราชการ 1 2 3 ที่ ศธ 0210.06/4 ศูนยเ ทคโนโลยที างการศกึ ษา กรมการศึกษานอกโรงเรียน 5 4 ถนนศรอี ยุธยา กทม. 10400 เรือ่ ง ขอเชญิ เปน วิทยากร 11 มกราคม 2554 6 เรยี น คณบดคี ณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร วิทยาเขตกาํ แพงแสน 7 89 ดวยศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา สาํ นักงาน กศน. กําลังดําเนินการจัดและผลิตรายการ โทรทัศนเสริมหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 วิชา วิทยาศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตนเพ่ือออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศนเพ่ือการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV) ศนู ยเทคโนโลยที างการศึกษาจงึ ขอเรยี นเชญิ อาจารยป ระสงค ตันพิชยั อาจารยป ระจาํ ภาควชิ า อาชวี ศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร ซึง่ เปนผมู ีความรูและประสบการณ เรอื่ งเทคโนโลยใี นการขยายพนั ธพุ ืช เปนวิทยากร บรรยายเร่ืองดังกลาว โดยจะบันทึกเทปในวันอังคาร ท่ี 31 มกราคม 2554 เวลา 10.00 - 11.00 น. จงึ เรียนมาเพอ่ื ขอความอนเุ คราะห และขอขอบคุณเปน อยางสงู มา ณ โอกาสนี้ 10 ขอแสดงความนับถือ 11 รชั ดา คล่ีสุนทร (นางรชั ดา คลสี่ ุนทร) 12 ผูอ าํ นวยการศนู ยเทคโนโลยีทางการศึกษา 13 ฝายรายการโทรทัศนเพอ่ื การศึกษาตามหลักสตู ร 14 โทร. 02-3545730-40

78 การเขียนขา ว ประกาศและแจง ความ การเขียนขา ว ประกาศและแจง ความ เปนสว นหนึ่งของจดหมายราชการ หรือหนังสือราชการ ซงึ่ ก็คือ หนังสือที่ใชติดตอ กนั ระหวางเจา หนาท่ีของรฐั กบั บุคคลภายนอกดวยเรอื่ งเกี่ยวกบั ราชการ จดหมายราชการแบง ไดเ ปน 5 ประเภท คือ 1. หนงั สอื ภายนอก 2. หนังสอื ภายใน 3. หนังสือประทบั ตราแทนการลงชอ่ื 4. หนังสอื สัง่ การและโฆษณา 5. หนังสือที่เจาหนา ทีท่ ําขนึ้ หรอื รับไวเ ปน หลกั ฐานในราชการ การเขียนขาว ประกาศและแจง ความ จดั อยใู นจดหมายราชการประเภทท่ี 4 คือ หนังสือสัง่ การ และโฆษณา ซึ่งแบงเปน 9 ประเภท คือ ขอบังคับ ระเบียบ คําสั่ง คําแนะนํา คําช้ีแจง ประกาศ แจงความ แถลงการณและขาว ในทีน่ ี้จะกลา วถึงการเขียนขาว ประกาศและแจงความ การเขยี นขา ว คือ บรรดาขอความทที่ างราชการเห็นสมควรเปด เผย เพอื่ แจง เหตกุ ารณท ่คี วรสนใจใหท ราบ แบบการเขียนขาว ขา ว..............................................ชอื่ สวนราชการที่ออกขาว.................................................. เรอื่ ง ..................................................................................................................................................... ขอ ความทีเ่ ปนขาว ……………………………………………………………………….………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………….……… สวนราชการเจา หนา ที่ วนั เดอื น ป

79 การเขยี นประกาศ คอื บรรดาขอ ความท่ีทางราชการประกาศใหทราบเพอื่ ปฏิบตั ิ แบบประกาศ ประกาศ.....................................ชื่อสว นราชการทอี่ อกประกาศ .................................................. เรอ่ื ง ........................................................................................................................................................... ประกาศและขอความท่สี ัง่ ใหป ฏิบตั ิ ............................................................................................. …………........................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... ประกาศ ณ วันท่.ี ............................................... ลงช่อื .................................................... พิมพช ื่อเตม็ (ตาํ แหนง ) การเขยี นแจงความ คือ บรรดาขอ ความใด ๆ ทท่ี างราชการแจง ใหท ราบ แบบแจง ความ แจง ความ..........................................ชือ่ สว นราชการท่แี จง ความ.............................................. เรือ่ ง ...................................................................................................................................................... ขอความท่ตี องการใหท ราบ .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................. แจงความ ณ วันที่.................................................... ลงชื่อ........................................................ พิมพช ่ือเตม็ (ตําแหนง)

80 มารยาทในการเขยี น 1. ความรับผิดชอบ ไมวาจะเกิดผลดีหรือผลเสีย รวมท้ังขอบกพรองตาง ๆ ถือเปนมารยาท ทส่ี ําคญั ท่ีสุด 2. การตรวจสอบความถูกตอ ง เพ่ือใหผอู า นไดอ า นงานเขยี นที่ถูกตอง 3. การอางอิงแหลงขอมูล เพ่ือใหเกียรติแกเ จาของความคิดที่อางถึง 4. ความเท่ียงธรรม ตองคาํ นงึ ถึงเหตมุ ากกวาความรสู กึ สว นตน 5. ความสะอาดเรียบรอ ย เขยี นดวยลายมอื อา นงา ย รวมท้งั การเลือกใชก ระดาษและสีน้าํ หมึกดวย เรือ่ งท่ี 5 การสรา งนิสัยรกั การเขยี นและการศึกษาคนควา การเขยี นหนงั สือจรงิ ๆ เปนเร่อื งที่ไมย าก ถา ไดเขยี นบอย ๆ จะรสู กึ สนุกแตค นสวนใหญม กั มอง วาการเขียนเปนเรื่องยาก เปนเรื่องของคนที่มีพรสวรรคเทาน้ันจึงจะเขียนได อันท่ีจริงถาหากผูเรียน รกั ทีจ่ ะเขียนและเขียนใหไ ดดแี ลว ไมต อ งพงึ่ พาพรสวรรคใด ๆ ท้ังสิ้น ในการเขียนพรแสวงตางหากท่ีจะ เปน พลังผลกั ดันเบ้ืองตนทจ่ี ะทําใหผูสนใจการเขียนหนังสือไดดี พรแสวงในท่ีน้ีก็คือ การหม่ันแสวงหา ความรูน ่ันเองประกอบกับมใี จรกั และมองเหน็ ประโยชนข องการเขียน รวมทั้งการฝก ฝนการเขยี นบอย ๆ จะทาํ ใหความชํานาญเกดิ ขึน้ ได หมัน่ แสวงหาความรู (พรแสวง) ในการเรม่ิ ตน ของการเขียนอะไรกต็ าม ผูเขียนจะเขียนไมออกถาไมตั้งเปาหมายในการเขียนไว ลว งหนาวา จะเขยี นอะไร เขยี นทาํ ไม เพราะการเขียนเรอ่ื ยเปอ ยไมท ําใหงานเขียนนาอานและทําใหงาน ชน้ิ นั้นไมม คี ุณคา ที่ควร งานเขียนทีม่ ีคุณคา คือ งานเขียนทเ่ี ขยี นอยางมีจุดหมาย มขี อมูลทนี่ า เช่ือถอื และ อางอิงไดซ่ึงเกิดจากการขยันหมั่นคนควาขอมูลโดยเฉพาะในยุคขอมูลขาวสารไรพรมแดน ดังเชน ในปจจุบันการมีขอมูลยอมทําใหเปนผูที่ไดเปรียบผูอ่ืนเปนอันมาก เพราะยุคปจจุบันเปนยุค แหงการแขงขันกันในทกุ ทางโดยเฉพาะในทางเศรษฐกจิ ใครมีขอ มลู มากจะเปน ผไู ดเปรยี บคูแ ขงขันอ่ืน ๆ เพราะการนําขอมูลมาใชประโยชนไดเร็วกวาน่ันเอง การหม่ันแสวงหาความรูเพ่ือสะสมขอมูลตาง ๆ ใหตัวเองมาก ๆ จึงเปนความไดเปรียบ และควรกระทําใหเปนนิสัยติดตัวไป เพราะการกระทําใด ๆ ถา ทําบอย ๆ ทาํ เปนประจําในวันหนึ่งกจ็ ะกลายเปนนิสัยและความเคยชนิ ท่ตี องทาํ ตอ ไป การคนควารวบรวมขอมูลเปนกิจกรรมท่ีจะทําใหเกิดความสนุกสนานทางวิชาการเพราะย่ิง คน ควา กจ็ ะยิ่งทาํ สงิ่ ทน่ี า สนใจมากขนึ้ ผทู ี่ฝก ตนใหเปน ผูใ ครร ูใ ครเ รียน ชอบแสวงหาความรูจะมีความสุข มากเม่ือไดศึกษาคนควาและไดพบส่ิงแปลก ๆ ใหม ๆ ในภาษาไทยหรือในความรูแขนงอ่ืน ๆ บางคน เมือ่ คน ควาแลวจะรวบรวมไวอยา งเปน ระบบ ซ่งึ จะใหประโยชนห ลายประการดังตอ ไปนี้ 1. เปนการสนองความอยากรูอยากเห็น ใครรูใครเรียนของตนเอง กลาวคือ การเรียน ในช้นั เรยี น ผเู รียนจะรบั รูหรอื ทราบกฎเกณฑท่ีสําคัญและการยกตัวอยางเพียงเล็กนอย ผูเรียนอาจไม

81 เขาใจแจมแจงชัดเจนพอ การศึกษาคนควาเพ่ิมเติมจะทําใหไดขอมูลที่สนใจมากข้ึน ทําใหเกิดความ เขา ใจเน้ือหาท่เี รียนไดแจมชัดขึ้น 2. เปนการสะสมความรูใหเพ่ิมพูนย่ิงข้ึน ในขณะท่ีผูเรียนอานหรือทาํ การบรรยาย เพ่ือหา ความรแู มจะชดั เจนดีแลว แตเ พอื่ ใหไดรบั ความรูกวา งขวางข้นึ จึงศึกษาคน ควา เพ่มิ เตมิ แลวเกบ็ รวบรวม สะสมความรไู ว 3. คนควา รวบรวมเพ่อื ใชอ างอิงในการจัดทํารายงานการคนควา ทางวิชาการ การอา งอิงความรู ในรายงานทางวิชาการ จะทําใหง านน้นั มีคุณคาเช่อื ถอื ยงิ่ ขึ้นเปน การแสดงความสามารถ ความรอบรู และความอุตสาหะวิริยะของผูจัดทํารายงานนั้น การคนควาเพ่ือการอางอิงนี้ผูเรียนจะคนควาจาก แหลงวิชาการตาง ๆ ยิ่งคนก็ย่ิงพบสรรพวิทยาการตาง ๆ ทําใหเกิดความสุขสนุกสนาน เพราะไดพบ เนอื้ หาท่นี า สนใจเพ่ิมขนึ้ 4. ใชความรูที่ไดคนควารวบรวมไวสําหรับประกอบในการพูดและเขียน การรวบรวมมี ประโยชนเ พื่อประกอบการพดู และการเขียนใหมีน้าํ หนกั นา เช่ือถือยิ่งขึ้น เชน เม่ือจะกลาวถงึ การพูด กอ็ าจยกคําประพันธท่ีแสดงแงคิดเกี่ยวกบั การพดู ขนึ้ ประกอบดวย เชน ถึงบางพูดพูดดีเปน ศรศี กั ดิ์ มคี นรักรสถอยอรอ ยจติ แมพูดช่ัวตวั ตายทาํ ลายมติ ร จะชอบผดิ ในมนษุ ยเ พราะพูดจา จะไดยากโหยหวิ เพราะชิวหา เปนมนษุ ยส ุดนิยมทลี่ มปาก จะพดู จาจงพิเคราะหใ หเหมาะความ แมพดู ดมี คี นเขาเมตตา แตลมปากหวานหูมิรหู าย อนั ออ ยตาลหวานล้นิ แลวสิ้นซาก เจบ็ จนตายนั่นเพราะเหน็บใหเจ็บใจ แมเจบ็ อื่นหม่ืนแสนจะแคลนคลาย (สนุ ทรภ)ู 5. เพอ่ื ความจรรโลงใจของตนเอง การคน ควา หาความรแู ละเกบ็ รวบรวมและสะสมไว นับเปน ความสุขและเปนการสรา งความจรรโลงใจใหแ กตนเองเปนอยางยงิ่ เพราะผูเขียนบางคนเม่ือพบคําหรือ ขอ ความประจาํ ใด ๆ กม็ ักจะจดบนั ทกึ ไว โดยเฉพาะโคลงกลอนตา ง ๆ เชน ตวั อยา งการรวบรวมขอคดิ คําถามเกยี่ วกบั ความรัก ความรักเหมือนโรคา บันดาลตาใหมืดมน ไมยนิ และไมยล อุปสรรคคะใดใด ความรกั เหมอื นโคถึก กําลังคกึ ผขิ ังไว ยอ มโลดจากคอกไป บยอมอยู ณ ทข่ี ัง (มัทนะพาธา)

ตราบขนุ ครี ีขน 82 รกั บหายตราบหาย ขาดสลาย แลแม สุริยันจนั ทรขจาย หกฟา ไฟแลนลา งสีห่ ลา จากโลก ไปฤา หอ นรา งอาลยั โอว าอนจิ จาความรกั ต้ังแตจ ะเชีย่ วเปนเกลยี วไป (นิราศนรินทร) เพ่ิงประจักษด ่ังสายนา้ํ ไหล รกั ชาติยอมสละแม ที่ไหนเลยจะไหลคนื มา รกั เกียรติจงเจตนพ ลี รกั ราชมงุ ภักดี (อเิ หนา) รักศาสนรานเศิกไส ชีวี ชพี ได รองบาท กอ เกอื้ พระศาสนา (สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ) มใี จรกั การจะทาํ กิจกรรมใด ๆ ก็ตาม ถาจะใหไดผลดีจะตองมีใจรักในส่ิงน้ัน เรียกวา มีความรัก ความพอใจท่ีจะเขียน หม่ันฝกฝนบอย ๆ มีความเขาใจที่จะเขียนใหไดดี และเม่ือเขียนแลวก็กลับมา ทบทวนพิจารณาถึงคณุ คาและประโยชนทไ่ี ดจากการเขยี น และการจะเขียนใหผูอ ืน่ อา นพจิ ารณาดวย ใจเปนธรรมและดวยเหตุดว ยผล ท่เี รยี กวา ตองมอี ิทธบิ าท 4 อนั เปนธรรมะของผรู ักความเจริญกา วหนา เปน เรอ่ื งนํา น้นั คอื มีฉันทะ วิริยะ จติ ตะ และวมิ งั สา เหน็ ประโยชน การที่ผูเขียนจะเขียนหนังสือใหผูอื่นอานและอานสนุกหรืออานดวยความพอใจ ผูเขียน ตองตระหนักรใู นตนเองเสียกอนวา เปนผูม ีความรทู างภาษาไทยเพียงพอที่จะกอใหเกิดประโยชนแกตน ในดา นตาง ๆ เชน ชวยใหติดตอ ส่อื สารกับผอู ื่นไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ มีความเชอื่ มั่นในตนเอง สามารถ ใชความรูที่มีเพื่อประโยชนแกผูอื่นได และมีความพรอมที่จะขยายความรูหรือขอมูลที่สะสมในตนเอง ใหผูอื่นอานไดอันจะเปนชองทางของการแลกเปล่ียนขาวสารขอมูลระหวางกัน ซ่ึงจะสงผลใหขอมูล ขา วสารและความรูตาง ๆ ท่ีมีขยายออกไปอยางกวางขวาง ทําใหความรูท่ีมีอยูในโลกไมสูญหายไปได งาย ๆ การกระทําใด ๆ ก็ตาม ในทางจิตวิทยากลาววา ถาทําซ้ํา ๆ ทําบอย ๆ การกระทํานั้น ๆ จะกลายเปนนสิ ยั การหม่นั ฝกฝนการเขียน ไมวาจะเขียนอะไรก็ตาม ก็ตองหม่ันฝกฝนใหเกิดเปนนิสัย ขนึ้ มาใหได อาจเร่ิมจากการฝกฝนบันทึกขอความ หรือเรื่องราวท่ีชื่นชอบหรือที่เปนความรู ฝกเขียน บันทกึ ประจาํ วนั ฝก เขียนเรยี งความจากเร่ืองใกลตัว เร่ืองที่ตัวเรามีความรูมากที่สุด มีขอมูลมากท่ีสุด กอ น แลวคอย ๆ เขียนเร่ืองที่ไกลตัวออกไป โดยเขียนเร่ืองที่อยากเขียนกอนแลวขยายออกไปสูเร่ืองที่

83 เปนวิทยาการความรตู าง ๆ เพอ่ื เปนการสรา งความเชอื่ มัน่ ใหแกตนเองทลี ะนอ ย ถา ปฏบิ ตั ไิ ดเชน นี้จะทํา ใหผ เู รียนเกิดความรกั ในการเขยี นและการคนควาขนึ้ มาได การเขยี นแสดงความคดิ เห็น การเขียนแสดงความคิดเห็น หมายถึง การเขียนที่ประกอบดวยขอมูลอันเปนขอเท็จจริงกับ การแสดงความคิดเหน็ ตอ เร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง ความคดิ เห็นควรจะมเี หตุผล และเปนไปในทางสรางสรรค หลกั การเขียนแสดงความคดิ เห็น 1. การเลือกเร่ือง ผูเขียนควรเลือกเรื่องท่ีเปนที่สนใจของสังคมหรือเปนเร่ืองที่ทันสมัย อาจเกี่ยวกบั เหตุการณท างการเมือง เศรษฐกิจ สงั คม การศกึ ษา ศาสนา ศิลปะ วทิ ยาศาสตร หรอื ขา ว เหตุการณป ระจําวนั ท้ังนผ้ี เู ขียนควรมีความรแู ละความเขาใจเร่ืองที่ตนจะแสดงความคิดเหน็ เปนอยา งดี เพื่อจะแสดงความคดิ เหน็ ไดอ ยางลึกซง้ึ 2. การใหขอเท็จจริง ขอมูลที่เลือกมานั้นจะตองมีรายละเอียดตาง ๆ เชน ที่มาของเร่ือง ความสาํ คญั และเหตุการณ เปน ตน 3. แสดงความคิดเห็น ผเู ขยี นอาจแสดงความคิดเห็นตอเรอื่ งท่จี ะเขยี นได 4 ลกั ษณะ คอื 3.1 การแสดงความคิดเหน็ ในลกั ษณะตั้งขอสงั เกต 3.2 การแสดงความคดิ เหน็ เพอ่ื สนบั สนนุ ขอเทจ็ จรงิ 3.3 การแสดงความคิดเห็นเพอ่ื โตแยง ขอ เทจ็ จรงิ 3.4 การแสดงความคิดเหน็ เพือ่ ประเมินคา 4. การเรยี บเรียง 4.1 การตัง้ ชือ่ ควรตัง้ ช่อื เรือ่ งใหเรา ความสนใจผอู าน และสอดคลองกบั เน้ือหาทจี่ ะเขยี น 4.2 การเปด เรอ่ื ง ควรเปด เร่ืองใหนาสนใจชวนใหผ ูอา นตดิ ตามเร่ืองตอ ไป 4.3 การลําดับเรื่อง ควรลําดับใหม คี วามตอเนือ่ งสอดคลอ งกนั ตงั้ แตตน จนจบ ไมเ ขยี นวกไปวนมา 4.4 การปด เรอื่ ง ใชห ลักการเดยี วกับการเขียนสรปุ และควรปด เร่อื งใหผ อู านประทบั ใจ 5. การใชภาษา ควรใชภาษาอยางสละสลวย ชัดเจน ไมเยิ่นเยอ ใชสาํ นวนโวหาร อยางเหมาะสมกับเรอ่ื ง ใชถอยคําท่ีส่ือสารความหมายไดตรงตามอารมณ และความรูสกึ ของผูเขียน ทง้ั นี้พึงหลกี เล่ียงการใชถอยคําทแี่ สดงอารมณร ุนแรง และควรใชถอ ยคําในเชงิ สรางสรรคด วย การเขยี นโตแยง การเขียนโตแยง เปนการเขียนแสดงความคิดเห็นลักษณะหน่ึง โดยมุงที่จะโตแยงขอเท็จจริง หรอื เหตกุ ารณท่ีเกิดขนึ้ ตลอดจนโตแยงความคดิ ของผอู น่ื ดว ยความคิดเห็นในการสรา งสรรค วิธีการเขียนโตแยง ตองต้ังประเด็นวาจะโตแยงในเร่ืองใดก็ช้ีใหเห็นจุดดอยของเร่ืองท่ีจะ โตแ ยง นั้น พรอ มทง้ั หาเหตผุ ลมาสนบั สนนุ ความคดิ ของตนแลวเรยี บเรียงใหเ ปน ภาษาของตนทเ่ี ขาใจงาย และใชค ําท่มี พี ลงั ในการกระตนุ ใหเ กดิ ความคิดเห็นคลอ ยตาม

84 ขอ ควรระวังในการเขียนโตแ ยง ไมควรเขียนใหเ กดิ ความแตกแยก ควรใชเ หตุผล และควรเขียน เชงิ สรา งสรรค มารยาทในการเขยี นโตแยง ตอ งจริงใจ ใชภ าษาสภุ าพ การเขียนคาํ ขวญั คาํ ขวญั คือ ขอ ความส้ัน ๆ เขียนดว ยถอยคําท่ีเลอื กสรรเปนพิเศษเพ่ือใหประทับใจผูฟง จูงใจ ใหคิดหรอื ปฏิบัติ เชน คําขวัญวันเด็ก พ.ศ. 2554 รอบคอบ รูคดิ มจี ิตสาธารณะ คําขวัญวันครู ยกยอ งพระคุณครู เชดิ ชูความเปนไทย คําขวัญของการสือ่ สารแหง ประเทศไทย จา หนาถว นถ่ี ไปรษณยี หางา ย จดหมายถึงเร็ว คําขวัญโรงพยาบาลสมุทรสาคร บริการดจุ ญาตมิ ติ ร ทุกชีวติ มคี ณุ คา ประโยชนของคําขวญั คอื ใชเ ปนเคร่อื งเตอื นใจใหปฏิบัตติ าม องคประกอบของคาํ ขวัญ มี 3 สว น คอื 1. ความมงุ หมายหรอื แนวคิด 2. ขอ ความหรือเนือ้ หา 3. ศิลปะแหงการใชถ อยคํา องคประกอบทง้ั 3 สวนน้ี จะประสมกลมกลืนกนั ในตัวคําขวญั น้นั อยางเหมาะสม

85 ลกั ษณะของคําขวญั ที่ดี มีดงั ตอไปน้ี 1. มีเจตนาท่ีดีตอผูฟง ผูปฏิบัติ หรือผลประโยชนของสวนรวม เชน คําขวัญ เชิญชวน งดการสบู บุหร่ี คาํ ขวัญเชญิ ชวนใหป ระหยดั นํา้ ประหยดั ไฟ ฯลฯ 2. มีเปาหมายชัดเจนเพียงเปาหมายเดียว เชน เพ่ือใหเคารพกฎจราจร เพื่อใหชวยรักษา ความสะอาดของถนน ฯลฯ 3. มเี นอ้ื หาครอบคลมุ เปาหมาย 4. ไพเราะ สมั ผัสคลองจอง มีพลงั โนม นา วใจผูฟง ใหจาํ และปฏบิ ตั ิตาม ขนั้ ตอนในการเขียนคําขวญั คําขวญั ที่ดีตองเปนขอความส้ัน ๆ ไพเราะ มีพลังในการโนมนาว ใจผฟู ง หรืออานเขยี นครอบคลมุ เปาหมายทก่ี ําหนดไวอยางชดั เจน มีขัน้ ตอนดงั น้ี ขนั้ เตรียม 1. กาํ หนดจุดมุงหมายใหชัดเจนวา จะใหผ ูฟ งคดิ หรือปฏบิ ตั ิเร่ืองอะไร อยางไร 2. กาํ หนดกลุมผูใชคําขวัญวาเปนคนกลุมใด เชน คําขวัญสําหรับเด็ก ตองเขียนใหเขาใจงาย กวาคาํ ขวญั สาํ หรับผูใ หญ 3. ศึกษาหาความรเู กี่ยวกับเรื่องที่จะเขยี นคําขวัญ ขั้นลงมอื เขยี น 1. เรยี บเรียงขอความทจ่ี ะเปนรอ ยแกว ใหมีเน้อื หาครอบคลุมเปา หมายที่กาํ หนดไว 2. เรียบเรียงขอความในขอ 1 ใหเปนขอความท่ีมีสัมผัสและมีถอยคําที่มีพลังโนมนาวใจ โดยลองเขียนดูหลาย ๆ ขอความ แลวพิจารณาตัดขอความท่ีไมเหมาะสมออกไป จนเหลือขอความที่ พอใจประมาณ 3 - 4 ขอความ 3. เลอื กขอ ความทดี่ ีทส่ี ุดเอาไวใ ช ขน้ั ตรวจทาน นาํ คําขวัญที่ไดมา พจิ ารณาตรวจทานการใชค ําทีถ่ กู ตอ งตามความหมายและ ความนิยม และการเขยี นตัวสะกดการนั ต การเขียนคาํ โฆษณา การเขียนคาํ โฆษณา เปนการใชภาษาเพื่อทาํ ใหผูอานเกิดความสนใจส่ิงท่ีผูเขียนนําเสนอ การเขยี นโฆษณามกี ลวิธตี า ง ๆ ที่ควรศกึ ษา เพือ่ พฒั นาทักษะการคิดและการเขยี น เปนการเขียนท่ใี ช ในวงการธุรกจิ การคา การใชถอ ยคํามลี กั ษณะดึงดูดความสนใจจากผบู รโิ ภค เพอ่ื ใหจ ดจําสนิ คาไดงาย ซงึ่ จําเปน กับกจิ การในการขยายตัวทางการคาของธรุ กิจบริษทั นั้น ๆ จุดประสงคข องการเขียนคาํ โฆษณา 1. เพื่อใหผบู รโิ ภครจู กั สนิ คา หรอื บริการของบรษิ ัทและสนใจอยากซ้อื มาใชหรอื อยากใชบรกิ าร 2. เพื่อเตือนใจผูบริโภคใหจดจาํ สินคาไดแมนยําทําใหยอดขายสินคาชนิดน้ัน ๆ อยูตัวหรือ เอาชนะคแู ขงทางการคา ได

86 กลวิธใี นการเขียนคําโฆษณา 1. การเนนความสาํ คญั เฉพาะบุคคล เชน “เอกลักษณสาํ หรบั บุรุษ”“นํา้ หอมประจํากาย สําหรบั ผูมรี สนิยม” การเขียนโฆษณาวิธีน้เี ปนการสรา งความรูสกึ ใหผ บู ริโภคอยากเปนบุคคลเดน ทม่ี ี ความสําคัญ 2. การสรางความเปนพวกเดียวกัน การเขียนโฆษณาวิธีนี้นิยมใชคําวา “เรา” เพื่อสราง ความรสู ึกวา เปน พวกเดียวกนั เชน “เราหว งใยดวงใจดวงนอยของทาน” “เราสามารถชวยทานได” 3. การสรางความกลวั การเขียนโฆษณาวธิ นี ใ้ี ชไดผ ลกับผบู ริโภคท่ีไมม ีความมนั่ ใจตนเองและ หว่ันเกรงเหตุการณในอนาคต เชน “ระวัง ยาลดความอวนท่ีทานใชอยู” “คุณกําลังตกอยูใน อันตราย” “บตุ รหลานของทา นอยูทามกลางพิษภยั ของโรคไขห วัดนก” 4. การเนน ความเปนชาตนิ ิยม การเขียนโฆษณาวิธีนีเ้ ปนการสรางความรสู ึกรกั ชาติใหเ กิดขน้ึ ใน สาํ นกึ ผูบริโภค เชน “ไทยทํา ไทยใช ไทยเจรญิ ” “ใชสนิ คาไทย เงนิ ตราไมร ัว่ ไหลไปตางประเทศ” 5. การใชอิทธิพลของกลุม การโฆษณาวิธนี ีใ้ ชห ลกั ธรรมชาติของมนุษย ซึ่งนิยมทําตามอยาง กันมาเปนจุดโฆษณา เชน “ใคร ๆ ก็นิยมใช.....” “ทุกสังคมตางชื่นชอบ....” “นางงาม 9 ใน 10 คน ใช....” 6. การปดบังบางสวน การเขียนโฆษณาวิธีนจ้ี ะไมแ จง ความจรงิ ท้ังหมด ภาษาท่ใี ชมีลักษณะไม ชัดเจนตองใหผูบริโภคเขาใจเอาเอง เชน “สบายไปลานเจ็ดเคล็ดลับในการดูแลบาน” “ดาวนนอย ผอ นนาน” 7. การเนน ประสาทสัมผัส การเขียนโฆษณาวิธนี ใ้ี ชห ลักธรรมชาตขิ องมนษุ ยทพ่ี อใจในรูป รส กลิน่ เสียง และสมั ผัส จึงใชถ อ ยคําท่ีสอ่ื ความหมายเกี่ยวกับประสาทสมั ผัสซึ่งสว นใหญเ ปนคาํ กริยาหรือ คําวิเศษณ เชน “เคร่อื งดื่มคนรนุ ใหม สดใส ซาบซา ” “เพียงคาํ เดยี ว เคี้ยวเพลินใจ” 8. การใชค าํ ภาษาตางประเทศ การเขยี นโฆษณาวิธีใชหลักการตอบสนองคานิยมของคนไทย ที่นิยมใชภาษาตางประเทศในการส่ือสาร จึงนําคําภาษาตางประเทศมาใชเขียนคําโฆษณา เชน “สกินโลช่ัน เบา นมุ ขาว บริสทุ ธ์”ิ “แปง เดก็ สูตรผสมมลิ คโ ปรตนี ” 9. การใชภาษาแสลง หรือภาษาปาก การเขยี นโฆษณาวิธนี ี้ เปน การนําภาษาแสดงหรือภาษาปาก ซึ่งผูใชสินคากลุมนี้นิยมใชเพื่อสรางความรูสึกคุนเคย วางใจ เชน “หรอยยังไง ไปชิมเอง” “จะปวดเฮดทําไม ใชบ ริการเราดีกวา ” 10. การกลาวเกินจริง การโฆษณาวิธีน้ีเนนความสนใจโดยไมคํานึงถึงหลักความจริงและ ผูบริโภคสวนใหญก็ยอมรับสินคานั้น โดยไมพยายามไตรตรองวาความเปนจริงเปนอยางไร เชน “คณุ ภาพลานเปอรเ ซ็นต” “น้าํ หอมทห่ี อมจนเทวดาตามตือ้ ” นอกจากนี้ ยังพบวาภาษาโฆษณานิยมใชคําคลองจองและคําสั้น ๆ ท่ีสื่อความหมายชัดเจน เพ่ือใหผ ูบรโิ ภคจาํ สินคาไดขึ้นใจและนยิ มใชส นิ คา ชนดิ นน้ั

87 การเขยี นรายงานการคน ควา การเขียนรายงานเปนการเขียนเน้ือหาทางวิชาการท่ีไดศึกษาคนความาเปนอยางดี และเรียบเรยี งอยางมรี ะเบียบแบบแผน ทาํ ใหเกิดความรสู กึ ความเขา ใจเร่ืองที่ศกึ ษาดยี ่ิงข้ึน สวนประกอบของรายงาน มี 3 สว น คอื 1. สวนนํา กลา วถึง วตั ถปุ ระสงค และขอบเขตรายงานเรื่องนี้ 2. สว นเนอ้ื เรอื่ ง กลา วถงึ สาระสําคัญของเรอ่ื งอยางละเอยี ด ทําใหผูอานมีความเขาใจวาใคร ทาํ อะไร ทไ่ี หน เมอ่ื ไร ทําไม และมขี นั้ ตอนในการทาํ อยา งไร 3. สวนสรุป กลาวถึง ผลของการดําเนินงาน รวมท้ังขอเสนอแนะ หรือ ความคิดเห็นท่ีเปน ผลจากการกระทาํ น้นั ดว ย ลกั ษณะของรายงานทดี่ ี 1. ขอมลู เชอื่ ถอื ได มีแหลงอางอิงชัดเจน 2. สอดคลอ งกบั จุดมงุ หมายทต่ี ้งั ไว 3. มรี ายละเอียดครบถว น 4. มกี ารใชต าราง แผนภมู ิ ภาพประกอบ ฯลฯ ทช่ี วยใหเขา ใจงาย 5. มวี ธิ ีการเรียนท่ีนา อาน 6. เน้อื หาทนั สมัย ทนั เหตกุ ารณ ขั้นตอนในการเขียนรายงาน 1. เลือกเรอ่ื ง เปน เรื่องทผี่ ูเขยี นมคี วามรู หรอื สนใจเปนพเิ ศษ มีแหลง ขอ มลู เปน ประโยชนแกผูอา น 2. กําหนดจุดมุงหมายของรายงาน ตองกําหนดใหชัดเจนและสามารถเขียนใหเกิดผลตาม จดุ มุงหมายได 3. กําหนดขอบเขตของเร่ือง โดยใหสมั ผัสกบั จดุ มงุ หมาย 4. ทําโครงเรื่อง เพ่ือชวยใหรายงานมีการจัดหัวขออยางเปนลําดับไมสับสน และมีประเด็น เนอ้ื เรือ่ งท่ีจะเขียนครบถว น โครงเร่ืองจะประกอบดวย ความนํา หวั ขอ ใหญและหัวขอ ยอ ย การแบงหัวขอมหี ลัก ดังน้ี 1. เรยี งลาํ ดับหัวขอใหญ และจดั แบง หวั ขอใหดี อยา ใหม หี ัวขอยอยท่ีไมเก่ียวของเขาไปปะปน อยูในหัวขอใหญ 2. การใชช่ือหัวขอยอย ไมควรยาวเกินไป ควรใชใหกะทัดรัด ใจความครอบคลุมเนื้อหา ตอนนนั้ ๆ โดยเฉพาะ 3. ไมค วรแบง เนอื้ เรือ่ งออกเปน หัวขอ ยอ ยๆ มากเกินไป 4. แตละหัวขอ ในโครงเร่ืองจะตองมีความสัมพันธตอเน่ืองกันโดยลําดับในการจัดเรียงลําดับ หวั ขอ อาจทําไดห ลายวธิ ี เชน เรยี งตามลําดบั เวลาหรอื ตามความสมั พนั ธระหวางหวั ขอ โดยดลู ักษณะ

88 ของเน้ือเรือ่ งเปน หลัก เชน การเขียนรายงานเรื่องประวัติการพัฒนาหมูบานเฉลิมพระเกียรติ ควรวาง โครงเรื่องตามลําดับ เวลา เพราะผลของการพัฒนาในระยะแรก มีสวนสําคัญเก่ียวของกับการพัฒนา ในระยะหลัง เราอาจวางโครงเร่อื ง ดังนี้ 1. ความนาํ 2. สภาพท่วั ไปของหมบู านเฉลิมพระเกียรติกอ น พ.ศ. 2505 3. การพฒั นาหมบู านเฉลมิ พระเกียรติ ระยะท่ี 1 พ.ศ. 2505 – 2515 3.1 เปาหมายของการพัฒนา 3.2 วิธกี ารใช 3.3 ปญหาและอุปสรรค 3.4 ผลการพฒั นาและผลกระทบ 4. การพฒั นาหมูบ านเฉลมิ พระเกยี รติ ระยะที่ 2 พ.ศ. 2515 – 2525 หัวขอยอยเปน ลกั ษณะเดยี วกับขอ 3 5. การพัฒนาหมูบา นเฉลิมพระเกยี รติ ระยะที่ 3 พ.ศ. 2525 – 2535 หัวขอยอยเปนลกั ษณะเดียวกบั ขอ 3 6. การพัฒนาหมูบ า นเฉลิมพระเกยี รติ – สภาพปจ จุบัน 6.1 เปาหมายของการพัฒนา 6.2 วธิ ีการใช 6.3 ปญ หาอปุ สรรค 6.4 การคาดการณผ ลการพัฒนา 7. ขอสรปุ การเรียงเน้ือหา เมือ่ ทาํ โครงเรอ่ื งเรียบรอยแลว ผูเขยี นจึงคนควา รวบรวมขอมูลจากแหลง ตา ง ๆ แลวบันทกึ ไว จากน้ันนาํ มาเรียบเรียงตามลําดับท่ีกําหนดไวในโครงเรื่อง โดยใชถอยคําสํานวน ของตวั เองใหม ากท่สี ดุ ถา คัดลอกขอความจากเอกสารหรอื หนงั สอื เลม ใดตองอา งถึงแหลง ทีม่ าดวย การกรอกแบบพมิ พแ ละใบสมัครงาน แบบรายการ แบบพมิ พ แบบฟอรม หมายถงึ เอกสารทีท่ าํ ขึ้นโดยพิมพข อความไวบางสวนและ เวน ทีว่ า งไวบ างสว นสําหรับใหผ ูทีเ่ กย่ี วขอ งกรอกขอ ความลงไปในที่วาง ซ่ึงเวน ไวนน้ั ประโยชนข องแบบรายการ มดี งั นี้ 1. ประโยชนสาํ หรบั ผูกรอก แบบรายการชวยใหผูกรอกไมตองเขียนขอความท่ียืดยาวตาง ๆ ลงไปท้ังหมด จะเขยี นแตเฉพาะรายละเอียดที่ผจู ัดทาํ แบบรายการตอ งการเทา นั้น ทาํ ใหเกิดความสะดวก รวดเร็ว 2. ประโยชนสําหรับผูจัดทํา แบบรายงานชวยใหสามารถเก็บขอมูลที่ตองการไดรวดเร็ว เปน ระเบียบสะดวกทจ่ี ะนําขอ มลู น้ันกลบั มาใชอีก รวมทง้ั ใชเ ปนหลกั ฐานเอกสารไดดวย

89 ความสาํ คญั ของการกรอกแบบรายการ การกรอกแบบรายการมีความสําคัญมากเพราะแบบรายการใชเปนหลักฐานเอกสารได แบบรายการที่กรอกแลว มีผลผกู พันทางกฎหมาย ซ่ึงผูกรอกจะตองรับผิดชอบแบบรายการบางอยาง เชน สัญญาซ้ือขาย สัญญาคํ้าประกัน ฯลฯ อาจมีผลผกู พนั ตอทรพั ยสนิ เงนิ ทองจํานวนมาก ขอควรระวังในกรณีที่แบบรายการตองลงลายมือชื่อ หามลงนามในแบบรายการท่ีเขียนหรือ พิมพข อ ความไมครบถว น หรอื ขอ ความทย่ี ังไมเ ขา ใจชัดเจนเด็ดขาด ไมว าในเรื่องใด ๆ ตวั อยางการกรอกแบบรายการ 1. การกรอกแบบรายการ สําหรบั สง ธนาณตั ิ

90 2. การกรอกแบบรายการหนงั สอื มอบอาํ นาจ

91 3. การกรอกแบบหนงั สอื สญั ญาเชา ทด่ี ิน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook