๖.๓ ใบงาน ๗. แหลง่ การเรยี นรู้ ๗.๑ ใบความรทู้ ่ี ๑ ๗.๒ อนิ เตอร์เนต็ ๗.๓ นิตยสาร วารสาร ๘. หลกั ฐานการเรยี นรู้ ๘.๑ ใบงานท่ี ๑ ๘.๒ แบบฝกึ หดั ๙. การบรู ณาการ/ความสมั พนั ธก์ ับวชิ าอน่ื ๙.๑ วชิ าเทคนคิ การนาเสนอ ๙.๒ กิจกรรมชมรมวชิ าชพี การตลาด ๑๐. การวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ เครอื่ งมอื ประเมนิ ๑๐.๑ ใบประเมนิ ผลความพงึ พอใจของผรู้ ว่ มกจิ กรรม ๑๐.๒ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานร่วมกนั เป็นกลุม่ ๑๐.๓ การสอบเกบ็ คะแนน แผนการจัดการเรยี นรรู้ าย หนว่ ยท่ี ๔ หนว่ ย สัปดาหท์ ่ี ๖ – ๗ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๖ ชวั่ โมง ช่อื เรอ่ื ง บุคคลทเ่ี ก่ียวข้องกบั การจดั ประชมุ สัมมนา จานวน ๖ ชัว่ โมง ใบงานที่ ๑ คาสัง่ ให้นักศึกษาแบ่งกลมุ่ เป็น ๓ กลุ่ม คอื กลุม่ ผู้ดาเนนิ การ กลมุ่ วิทยากร และกลุม่ ผู้เขา้ รว่ มสมั มนาและใหแ้ สดงบทบาทสมมติใน
การแบง่ หนา้ ทก่ี นั ต่าง ๆ โดยใหร้ ะบหุ น้าที่ลงในกระดาษส่งครูภายใน ๓๐ นาที
แผนการจัดการเรยี นรรู้ าย หนว่ ยท่ี ๔ หนว่ ย สัปดาหท์ ี่ ๖ – ๗ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๖ ชวั่ โมง จานวน ๖ ชัว่ โมง ชื่อเรอ่ื ง บุคคลท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการจดั ประชุมสัมมนา ใบความรทู้ ี่ ๑ วิทยากรทมี่ คี วามรู้ ความสามารถดา้ นการตลาด อาจารย์ รศ.ดร.กณุ ฑลี รนื่ รมย์ อาจารย์รบั เชญิ (Visiting Professor) ดา้ นการตลาดทม่ี หาวทิ ยาลยั ใน ต่างประเทศ การศึกษา Ph.D. (Marketing) University of Alabama, USA. (ทุนของ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย) ๑๙๘๖ Master Degree / ปริญญามหาบณั ฑิต Master of Sciences (Management) Ball State University, USA ๑๙๘๐ พศ.บ.(เกยี รตินยิ มอันดับสอง) จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ๑๙๗๖
expertise ๑.Marketing -- Management ๒.Marketing Research position - หัวหนา้ ภาควชิ าการตลาด คณะพาณิชยศาสตรแ์ ละการบญั ชี จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ๑ มกราคม ๒๕๔๖ - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๓ - เลขาธกิ ารโครงการปริญญาเอกดา้ นบรหิ ารธรุ กิจระหวา่ งจฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ และสถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ าร ศาสตร์ ๑ มกราคม ๒๕๓๗ - ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๓๙ - ผู้อานวยการหลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ ดษุ ฎบี ณั ฑติ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย ๑ มกราคม ๒๕๓๗ - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๓๙ แผนการจดั การเรยี นรรู้ าย หนว่ ยที่ ๕ หนว่ ย สปั ดาหท์ ี่ ๘ - ๑๐ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๙ ชั่วโมง จานวน ๙ ชั่วโมง ชอ่ื เรอื่ ง เอกสารที่เกีย่ วข้องกบั การสมั มนา ๑. สาระสาคญั ก่อนที่จะดาเนินการจัดสัมมนา นอกจากจะตอ้ งประชมุ วาง แผนการดาเนินงานแลว้ ควรจะได้มีการจัดเตรยี มเอกสารสาหรบั การ สัมมนา ซ่ึงเป็นหน้าท่ขี องเลขานุการทีจ่ ะต้องจัดทา หรืออาจตง้ั หน่วย เฉพาะกจิ เพ่อื จัดทาในกรณมี เี อกสารมากข้นึ เปน็ เอกสารท่ีต้องการ ขอ้ มลู มาก ๆ เพอ่ื หาสาระสาคญั เชน่ เอกสารประกอบการสมั มนา เอกสารทต่ี อ้ งการจดั ทาเพอื่ การสมั มนาได้แก่ 1. โครงการสัมมนาและแผนปฏบิ ตั ิ
2. เอกสารประกอบการสมั มนา 3. เอกสารทเี่ ก่ยี วข้องกบั การสมั มนา ๒.สมรรถนะประจาหนว่ ย เอกสารที่เก่ียวขอ้ งกับการสัมมนา ๒.๑ บอกความหมายโครงการสมั มนาได้ ๒.๒ อธบิ ายเอกสารประกอบการสัมมนาได้ ๒.๓ บอกเอกสารที่เก่ียวขอ้ งกับการสมั มนา ๓. จุดประสงค์การเรยี นรปู้ ระจาหนว่ ย เอกสารที่เกีย่ วขอ้ งกบั การสมั มนา ๓.๑ สามารถเขยี นโครงการสมั มนา ๓.๒ สามารถออกแบบเอกสารประกอบการสัมมนา ๓.๓ สามารถจัดทาเอกสารทเี่ กี่ยวข้องกบั การสัมมนา ๔. สาระการเรยี นรู้ (แสดงเฉพาะหวั ขอ้ หลกั หวั ขอ้ รองและหวั ขอ้ ย่อย) เอกสารทเี่ กีย่ วข้องกบั การสัมมนา ๓.๑ โครงการสมั มนา ๓.๒ เอกสารประกอบการสัมมนา ๓.๓ เอกสารทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การสัมมนา โครงการสมั มนา หมายถงึ การเขียนกิจกรรมหรืองานท่ีมี ข้นั ตอนหรือวิธีการท่ที าใหเ้ ห็นแนวทางในการดาเนนิ งานสมั มนาอยา่ งมี เปา้ หมาย มีความรดั กมุ รอบคอบ และสามารถนาไปปฏบิ ตั จิ รงิ ได้ โดยทวั่ ไปจะมแี ผนปฏิบัติงานดว้ ย เพ่อื ให้เหน็ วา่ กระบวนการ ดาเนินงานแตล่ ะขนั้ ตอนจะใช้เวลาในการดาเนนิ งานเทา่ ใดจึงจะแลว้ เสร็จ เอกสารประกอบการสัมมนา มีประโยชน์ต่อผู้เข้าร่วมสัมมนา ทาให้เขา้ ใจเร่ืองที่จะสมั มนาชัดเจนมากยิ่งขนึ้ และสามารถเขา้ รว่ ม สมั มนาไดอ้ ย่างถกู ต้อง
เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้องกับการสมั มนา ได้แก่ หนงั สือเชญิ เขา้ รว่ มสัมมนา คาสั่งแตง่ ตั้งคณะกรรมการดาเนนิ การสัมมนา หนงั สือขอ อนมุ ัติงบประมาณ หนังสอื ขอความอนเุ คราะห์สนบั สนนุ การดาเนนิ งาน หนังสือเชญิ วทิ ยากรและผดู้ าเนินรายการ หนงั สอื คากล่าวรายงาน การประเมินผลการสมั มนา หนงั สอื ขอขอบคณุ วิทยากรและผดู้ าเนิน รายการ และเอกสารรายงานสรุปผลการสมั มนา ๕. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน นาสถานการณ์ที่เป็นข่าว ภาพข่าว จากแหล่งต่าง ๆ ซึ่งเกิดข้ึนจริง บทความ หรือกรณีศึกษามากระตุ้นให้ ผู้เรียนได้ตอบคาถามในประเด็นสาคัญท่ีกาหนด เพื่อให้เกิดความ ตระหนักในปัญหาท่ีเกิดข้ึน หรือเห็นความสาคัญที่จะต้องศึกษาในเร่ือง ทน่ี าเสนอ ซ่ึงเป็นเรอ่ื งที่สอดคลอ้ งกับบทเรียน ๒. ข้นั สอน ครูผูส้ อนบรรยายตามหวั ขอ้ และมีการนาขอ้ มูล มาให้ผเู้ รียน ๑) การรวบรวมขา่ วสาร ขอ้ มลู ข้อเทจ็ จรงิ ความรู้ และ หลกั การ ข้ันตอนนี้เป็นข้ันพื้นฐานของการเผชิญสถานการณ์และการ แก้ปัญหา โดยจะมอบหมายให้ผู้เรียนได้ไปศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เพ่ื อให้ ได้ข้ อมูลเก่ียวกับเรื่องที่ ศึกษา ห รือข่าวสารการกระท าท่ี สอดคล้องกับเรื่องท่ีศึกษา ซึ่งอาจจะหาแหล่งข้อมูล ความรู้หรือแหล่ง ขา่ วสารให้แก่ผเู้ รยี น ๒) การประเมนิ คณุ คา่ และประโยชน์ เม่ือผ้เู รียนได้ศึกษาความรู้ หรอื ข่าวสารข้อมลู หรือ สถานการณท์ ่ีผู้สอนมอบหมายแล้ว จะต้องนามาศกึ ษาวิเคราะห์คณุ คา่ หรอื ประโยชน์ ในขัน้ ตอนน้จี ะตอ้ งฝึกให้ผเู้ รียนรจู้ กั หลักและวธิ กี ารคิด ในรูปแบบตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหไ้ ด้ข้อคิดวา่ สถานการณ์ หรอื ข้อมลู ทไี่ ด้ศกึ ษา น้นั มคี ณุ ค่ามากนอ้ ย หรอื มปี ระโยชนเ์ พียงไร อาจจะใชเ้ กณฑห์ รอื วิธกี ารประเมนิ ตามความเหมาะสม ซึง่ อาจจะใช้เกณฑด์ ้านคณุ ธรรม จริยธรรม เกณฑม์ าตรฐานและคา่ นยิ มของสังคม หรือกรอบทฤษฎี การ คดิ ประเมนิ คา่ มีความสาคญั และมีผลตอ่ การเลอื กการตัดสินใจ ในขนั้ การประเมนิ คุณคา่ นี้ โดยจะจัดทาเป็นแบบฝกึ หรือมีคาถามเพอื่ ฝกึ ให้ ผู้เรยี นไดร้ ูจ้ กั วิเคราะห์ เพือ่ เป็นพ้ืนฐานของการประเมนิ คา่ และ ประโยชน์หรอื โทษของเร่อื งทีศ่ ึกษา
๓) การเลอื กและการตัดสินใจ ขน้ั ตอนนี้ จะเป็นขน้ั ตอนที่ตอ่ เน่ืองจากขน้ั ตอนท่ี ๒ เมอ่ื ผูเ้ รียนไดป้ ระเมนิ คุณค่า และประโยชนจ์ ากขอ้ มลู และขา่ วสารแล้ว จะมองเห็นชอ่ งทางวา่ ถา้ ตนเองไดป้ ระสบกบั สถานการณด์ งั กลา่ วหรอื สถานการณท์ ี่คล้ายคลงึ กัน นน้ั ผเู้ รยี นจะสามารถเลอื กและตดั สนิ ใจอยา่ งไร จงึ จะถกู ตอ้ งหรอื ไดร้ บั ประโยชน์อยา่ งแท้จรงิ เพ่ือจะได้ไมเ่ กิดปญั หาจากการตดั สนิ ใจที่ ผิดพลาด ในขัน้ นจี้ ะสรา้ งสถานการณ์ที่เปน็ กรณตี วั อย่างปัญหาใน ชีวติ จริงของผเู้ รยี น อาจจะเปน็ ปัญหาในครอบครวั โรงเรยี น สังคม และตง้ั ประเดน็ คาถามใหผ้ เู้ รียนได้ฝึกทกั ษะในการเลือกและการ ตดั สนิ ใจในการแก้ปญั หาอย่างมีหลกั การ ๔) การปฏบิ ัติ เมือ่ ผู้เรียนไดฝ้ กึ ทกั ษะต้งั แตข่ น้ั การรวบรวมข่าวสาร ขอ้ มูล ข้อเท็จจรงิ ความรแู้ ละหลักการ ได้ฝกึ การประเมินคุณคา่ และประโยชน์ ตลอดจนการเลอื กและตดั สนิ ใจไปแลว้ ขนั้ ตอนท่ีสาคัญ คอื ควรจะฝกึ ให้ ผ้เู รยี นได้รู้จกั นาไปปฏบิ ตั ิ ซึ่งในบางสถานการณ์ ผูเ้ รยี นสามารถนาไป ปฏิบตั ิไดจ้ รงิ จะทาให้ผู้เรยี นได้พิสูจนว์ ่าการท่ตี นได้ตดั สนิ ใจเลอื กนน้ั เม่อื นาไปปฏบิ ัติจรงิ แลว้ ไดผ้ ลดหี รือไดร้ ับประโยชน์อยา่ งไร ตัดสินใจ ถูกต้องหรือไม่ แต่ในกรณสี ถานการณน์ ั้นไมเ่ หมาะสมกับการนาไป ปฏิบัตดิ ้วยตนเอง โดยจะออกแบบกิจกรรมใหผ้ เู้ รียนไดพ้ สิ ูจน์ความรใู้ น แงป่ ฏบิ ัติ โดยการสมั ภาษณจ์ ากบุคคล ผู้ที่มปี ระสบการณห์ รือผ้มู ีความรู้ หรอื จากผลงานของนักวชิ าการ ทไี่ ดพ้ สิ ูจนห์ รอื ทดลองปฏิบัตแิ ล้วเปน็ การยืนยนั และเป็นการสนับสนนุ การตดั สินใจของผเู้ รยี น ๓. ขน้ั สรปุ เม่อื ไดด้ าเนนิ การให้ผู้เรียนทากิจกรรมจนครบ ทกุ ข้ันตอนของกระบวนการเผชญิ สถานการณ์แลว้ ใหผ้ เู้ รยี นได้ ชว่ ยกนั สรุปแนวคดิ หรอื ความร้แู ละประสบการณ์ทตี่ นไดร้ บั เป็นการยา้ เตือนให้เกิดความกระจา่ งชดั ขน้ึ ๔. ขน้ั การวดั และการประเมนิ ผล มีวธิ ีการวัดและการ ประเมินผลใหค้ รอบคลุมทัง้ ด้านพุทธพสิ ัย จติ พิสยั และทักษะพสิ ยั มกี าร กาหนดเคร่ืองมือวดั และประเมนิ พร้อมท้งั กาหนดเกณฑ์การวดั และการ ประเมนิ ผลใหช้ ดั เจน ๖. ส่ือการเรยี นการสอน/การเรยี นรู้
๖.๑ หนังสือวชิ าสมั มนาการตลาด ๖.๒ เรอ่ื งจากอินเตอรเ์ นต็ ๖.๓ ใบงาน ๗. แหลง่ การเรยี นรู้ ๗.๑ ใบความรทู้ ่ี ๑ ๗.๒ อินเตอรเ์ นต็ ๗.๓ นิตยสาร วารสาร ๘. หลกั ฐานการเรยี นรู้ ๘.๑ ใบงานที่ ๑ ๘.๒ แบบฝกึ หดั ๙. การบรู ณาการ/ความสมั พนั ธ์กับวชิ าอน่ื ๙.๑ วชิ าเทคนคิ การนาเสนอ ๙.๒ กิจกรรมชมรมวิชาชพี การตลาด ๑๐. การวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ เครอ่ื งมอื ประเมนิ ๑๐.๑ ใบประเมนิ ผลความพงึ พอใจของผรู้ ว่ มกิจกรรม ๑๐.๒ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานร่วมกันเปน็ กลุ่ม ๑๐.๓ การสอบเกบ็ คะแนน
แผนการจัดการเรยี นรรู้ าย หนว่ ยที่ ๕ หนว่ ย สัปดาหท์ ี่ ๘ - ๑๐ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๙ ช่วั โมง จานวน ๙ ช่ัวโมง ชือ่ เรอื่ ง เอกสารท่เี กี่ยวข้องกบั การสัมมนา ใบงานที่ ๑ คาสงั่ ให้นกั ศึกษาแบง่ กลุ่ม ๆ ละ ๔ – ๖ คน จัดโครงการ สมั มนาตามเร่ืองทคี่ รใู หน้ ักศึกษาจับฉลากได้ โดยเขยี นโครงการและ ร่างหนงั สอื ต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง แลว้ สง่ ตวั แทนนาเสนอหนา้ ช้ันเรียนกลมุ่ ละ ๑๐ – ๑๕ นาที
แผนการจดั การเรยี นรรู้ าย หนว่ ยที่ ๕ หนว่ ย สปั ดาหท์ ี่ ๘ - ๑๐ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๙ ชวั่ โมง จานวน ๙ ช่วั โมง ช่อื เรอื่ ง เอกสารที่เกีย่ วข้องกบั การสัมมนา ใบความรทู้ ี่ ๑ ตัวอย่างหนังสือเชิญวทิ ยากร
แผนการจัดการเรยี นรรู้ าย หนว่ ยที่ ๖ หนว่ ย สปั ดาหท์ ี่ ๑๑ – ๑๒ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๖ ชวั่ โมง ช่ือเรอ่ื ง การจัดสถานท่ีเพ่ือการสัมมนา จานวน ๖ ชัว่ โมง ๑. สาระสาคญั ก่อนทจ่ี ะดาเนนิ การจดั สมั มนา นอกจากจะตอ้ งประชุมวาง แผนการดาเนนิ งานแลว้ ควรจะได้มีการจัดเตรยี มเอกสารสาหรบั การ สัมมนา ซ่งึ เปน็ หนา้ ที่ของเลขานกุ ารทีจ่ ะตอ้ งจัดทา หรืออาจตงั้ หนว่ ย เฉพาะกิจเพือ่ จัดทาในกรณมี เี อกสารมากขึ้น เป็นเอกสารทีต่ ้องการ ขอ้ มลู มาก ๆ เพอ่ื หาสาระสาคญั เชน่ เอกสารประกอบการสมั มนา เอกสารทีต่ อ้ งการจดั ทาเพอ่ื การสมั มนาไดแ้ ก่ 1. โครงการสมั มนาและแผนปฏิบัติ 2. เอกสารประกอบการสมั มนา 3. เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการสมั มนา ๒.สมรรถนะประจาหนว่ ย การจดั สถานท่ีเพ่ือการสมั มนา ๒.๑ บอกการศึกษาขอ้ มลู เกี่ยวกับการสัมมนาได้ ๒.๒ อธบิ ายการจัดเตรยี มสถานทไี่ ด้ ๒.๓ บอกรูปแบบการจดั หอ้ งสมั มนาได้ ๒.๔ บอกการจดั หอ้ งรบั ประทานอาหารได้ ๓. จุดประสงค์การเรยี นรปู้ ระจาหน่วย การจดั สถานที่เพื่อการสมั มนา ๓.๑ เขา้ ใจขอ้ มลู เกย่ี วกับการสมั มนา ๓.๒ สามารถจัดเตรียมสถานท่ีในการสัมมนา
๓.๓ เข้าใจรปู แบบการจดั หอ้ งสัมมนาได้ ๓.๔ สามารถจัดห้องรับประทานอาหารท่ถี กู ต้อง ๔. สาระการเรยี นรู้ (แสดงเฉพาะหัวขอ้ หลัก หวั ขอ้ รองและหัวข้อย่อย) การจดั สถานทีเ่ พื่อการสมั มนา ๓.๑ การศึกษาขอ้ มูลเกยี่ วกบั การสัมมนา ๓.๒ การเตรยี มสถานที่ ๓.๓ รูปแบบจัดหอ้ งสัมมนา ๓.๔ การจดั ห้องรับประทานอาหาร การศกึ ษาข้อมลู เกยี่ วกับการสัมมนา ไดแ้ ก่ จานวน ผู้เขา้ รว่ มทง้ั หมด เพอื่ ประมาณการทนี่ งั่ ให้ถกู ต้อง การประมาณการว่า จะใช้หอ้ งสมั มนาขนาดใด และจดั ทาปา้ ยแผนผังเดนิ ทางมายัง หอ้ งสมั มนาได้ถกู ตอ้ ง เตรียมปา้ ยชือ่ วทิ ยากร ชอื่ ประธาน ชอ่ื ฝ่ายต่าง ๆ และออกแบบเวทีสมั มนา การเตรยี มสถานที่ ทาได้ดงั น้ี 1. การตดิ ตอ่ ขออนญุ าต 2. สารวจอุปกรณ์ 3. ดแู ลความสะอาด 4. เตรยี มตรวจสอบความเรยี บร้อย รปู แบบการจัดหอ้ งสมั มนา มีหลายรปู แบบดงั นี้ 1. การจัดหอ้ งสัมมนาแบบทน่ี งั่ ในโรงภาพยนต์ 2. การจัดห้องสัมมนาแบบทนี่ ง่ั ในหอ้ งเรยี น 3. การจัดห้องสมั มนาแบบที่นง่ั รปู ตัวย(ู U) หรอื ตวั ว(ี V) 4. การจดั หอ้ งสมั มนาแบบทนี่ ่งั รูปตวั ท(ี T) 5. การจัดหอ้ งสัมมนาแบบที่นงั่ รูปตัวโอ(O) 6. การจัดห้องสมั มนาแบบทน่ี ง่ั รปู ตวั แอล(L) ๕. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน นาสถานการณ์ท่ีเป็นข่าว ภาพข่าว จากแหล่งต่าง ๆ ซึ่งเกิดข้ึนจริง บทความ หรือกรณีศึกษามากระตุ้นให้ ผู้เรียนได้ตอบคาถามในประเด็นสาคัญที่กาหนด เพ่ือให้เกิดความ
ตระหนักในปัญหาท่ีเกิดข้ึน หรือเห็นความสาคัญที่จะต้องศึกษาในเรื่อง ทน่ี าเสนอ ซง่ึ เปน็ เรอื่ งทส่ี อดคล้องกบั บทเรยี น ๒. ขั้นสอน ครผู ู้สอนบรรยายตามหวั ข้อและมีการนาข้อมลู มาให้ผเู้ รยี น ๑) การรวบรวมขา่ วสาร ขอ้ มูล ขอ้ เทจ็ จรงิ ความรู้ และ หลกั การ ขั้นตอนนี้เป็นข้ันพื้นฐานของการเผชิญสถานการณ์และการ แก้ปัญหา โดยจะมอบหมายให้ผู้เรียนได้ไปศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เพ่ื อให้ ได้ข้ อมูลเกี่ยวกับเร่ืองที่ ศึกษา ห รือข่าวสารการกระท าที่ สอดคล้องกับเร่ืองที่ศึกษา ซ่ึงอาจจะหาแหล่งข้อมูล ความรู้หรือแหล่ง ข่าวสารใหแ้ กผ่ ู้เรยี น ๒) การประเมนิ คณุ คา่ และประโยชน์ เม่อื ผู้เรียนไดศ้ ึกษาความรู้ หรือขา่ วสารขอ้ มลู หรอื สถานการณ์ทีผ่ ูส้ อนมอบหมายแลว้ จะตอ้ งนามาศกึ ษาวิเคราะหค์ ณุ คา่ หรอื ประโยชน์ ในขั้นตอนนจี้ ะตอ้ งฝกึ ใหผ้ เู้ รยี นรู้จกั หลกั และวิธกี ารคิด ในรปู แบบตา่ ง ๆ เพือ่ ใหไ้ ด้ข้อคดิ ว่าสถานการณ์ หรอื ขอ้ มลู ทไี่ ด้ศกึ ษา นน้ั มีคุณคา่ มากน้อย หรอื มีประโยชน์เพียงไร อาจจะใช้เกณฑห์ รอื วิธกี ารประเมินตามความเหมาะสม ซ่ึงอาจจะใช้เกณฑ์ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เกณฑม์ าตรฐานและค่านิยมของสังคม หรอื กรอบทฤษฎี การ คดิ ประเมนิ คา่ มีความสาคญั และมผี ลตอ่ การเลอื กการตดั สินใจ ในขนั้ การประเมนิ คณุ ค่านี้ โดยจะจัดทาเป็นแบบฝกึ หรือมีคาถามเพอื่ ฝกึ ให้ ผเู้ รยี นไดร้ จู้ ักวเิ คราะห์ เพื่อเปน็ พนื้ ฐานของการประเมินค่า และ ประโยชนห์ รือโทษของเร่อื งที่ศึกษา ๓) การเลือกและการตัดสนิ ใจ ขน้ั ตอนนี้ จะเป็นขนั้ ตอนทต่ี อ่ เน่ืองจากข้ันตอนที่ ๒ เมื่อ ผูเ้ รยี นไดป้ ระเมนิ คุณคา่ และประโยชน์จากข้อมลู และข่าวสารแล้ว จะมองเหน็ ชอ่ งทางวา่ ถ้า ตนเองไดป้ ระสบกบั สถานการณ์ดังกล่าวหรือสถานการณท์ คี่ ลา้ ยคลึงกัน นน้ั ผเู้ รยี นจะสามารถเลอื กและตดั สนิ ใจอยา่ งไร จงึ จะถกู ตอ้ งหรอื ไดร้ บั ประโยชนอ์ ยา่ งแทจ้ ริง เพอื่ จะได้ไมเ่ กิดปญั หาจากการตดั สินใจท่ี ผิดพลาด ในขั้นนีจ้ ะสร้างสถานการณ์ทีเ่ ปน็ กรณตี วั อย่างปญั หาใน ชีวติ จรงิ ของผูเ้ รียน อาจจะเป็นปัญหาในครอบครัว โรงเรยี น สังคม และต้ังประเดน็ คาถามให้ผเู้ รียนไดฝ้ กึ ทกั ษะในการเลอื กและการ ตดั สินใจในการแกป้ ัญหาอย่างมีหลกั การ ๔) การปฏิบตั ิ
เม่อื ผ้เู รียนไดฝ้ กึ ทกั ษะตงั้ แต่ขั้นการรวบรวมข่าวสาร ข้อมลู ขอ้ เทจ็ จริง ความรแู้ ละหลกั การ ไดฝ้ กึ การประเมินคุณคา่ และประโยชน์ ตลอดจนการเลือกและตดั สนิ ใจไปแลว้ ข้ันตอนที่สาคญั คือควรจะฝกึ ให้ ผู้เรยี นไดร้ ู้จักนาไปปฏิบตั ิ ซง่ึ ในบางสถานการณ์ ผ้เู รยี นสามารถนาไป ปฏิบัตไิ ด้จรงิ จะทาให้ผเู้ รยี นไดพ้ สิ ูจนว์ ่าการที่ตนได้ตดั สนิ ใจเลอื กน้นั เม่ือนาไปปฏบิ ตั จิ รงิ แลว้ ไดผ้ ลดีหรือไดร้ บั ประโยชนอ์ ยา่ งไร ตดั สินใจ ถูกตอ้ งหรอื ไม่ แต่ในกรณีสถานการณ์น้นั ไมเ่ หมาะสมกบั การนาไป ปฏบิ ัติด้วยตนเอง โดยจะออกแบบกจิ กรรมใหผ้ เู้ รยี นได้พสิ ูจน์ความรใู้ น แง่ปฏิบตั ิ โดยการสมั ภาษณ์จากบุคคล ผ้ทู ม่ี ีประสบการณห์ รือผมู้ ีความรู้ หรอื จากผลงานของนกั วิชาการ ท่ีได้พิสจู นห์ รอื ทดลองปฏิบตั ิแล้วเปน็ การยืนยนั และเปน็ การสนบั สนุนการตดั สินใจของผเู้ รียน ๓. ขน้ั สรปุ เม่อื ได้ดาเนินการใหผ้ ูเ้ รียนทากจิ กรรมจนครบ ทุกข้ันตอนของกระบวนการเผชิญสถานการณแ์ ลว้ ใหผ้ เู้ รยี นได้ ชว่ ยกนั สรปุ แนวคดิ หรอื ความร้แู ละประสบการณท์ ตี่ นไดร้ บั เปน็ การย้า เตือนใหเ้ กิดความกระจา่ งชดั ขึ้น ๔. ข้นั การวดั และการประเมนิ ผล มวี ธิ ีการวดั และการ ประเมินผลใหค้ รอบคลุมทงั้ ดา้ นพทุ ธพสิ ยั จิตพิสยั และทกั ษะพิสยั มกี าร กาหนดเคร่ืองมือวัดและประเมิน พรอ้ มทง้ั กาหนดเกณฑก์ ารวดั และการ ประเมนิ ผลให้ชดั เจน ๖. สื่อการเรยี นการสอน/การเรยี นรู้ ๖.๑ หนังสอื วชิ าสมั มนาการตลาด ๖.๒ เรอ่ื งจากอนิ เตอร์เนต็ ๖.๓ ใบงาน ๗. แหลง่ การเรยี นรู้ ๗.๑ ใบความรทู้ ี่ ๑ ๗.๒ อนิ เตอรเ์ นต็ ๗.๓ นิตยสาร วารสาร ๘. หลกั ฐานการเรยี นรู้ ๘.๑ ใบงานที่ ๑
๘.๒ แบบฝกึ หดั ๙. การบรู ณาการ/ความสมั พนั ธก์ ับวชิ าอนื่ ๙.๑ วชิ าเทคนคิ การนาเสนอ ๙.๒ กจิ กรรมชมรมวชิ าชพี การตลาด ๑๐. การวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ เครอื่ งมอื ประเมนิ ๑๐.๑ ใบประเมนิ ผลความพึงพอใจของผรู้ ว่ มกิจกรรม ๑๐.๒ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรว่ มกนั เปน็ กลมุ่ ๑๐.๓ การสอบเก็บคะแนน แผนการจัดการเรยี นรรู้ าย หนว่ ยที่ ๖ หนว่ ย สัปดาหท์ ี่ ๑๑ – ๑๒ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๖ ชั่วโมง ชอ่ื เรอ่ื ง การจัดสถานที่เพ่อื การสมั มนา จานวน ๖ ชัว่ โมง ใบงานที่ ๑ คาส่ัง ให้นักศกึ ษาแบ่งกลุม่ ๆ ละ ๔ – ๖ คน จดั โครงการ สมั มนาตามเรอื่ งทค่ี รูใหน้ กั ศึกษาจบั ฉลากได้ โดยเขยี นโครงการและ รา่ งหนังสอื ตา่ ง ๆ ท่เี กีย่ วขอ้ ง แล้วสง่ ตวั แทนนาเสนอหน้าชน้ั เรียนกลมุ่ ละ ๑๐ – ๑๕ นาที
แผนการจดั การเรยี นรรู้ าย หนว่ ยท่ี ๖ หนว่ ย สปั ดาหท์ ี่ ๑๑ – ๑๒ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๖ ชวั่ โมง ชื่อเรอื่ ง การจัดสถานที่เพ่อื การสมั มนา จานวน ๖ ชวั่ โมง ใบความรทู้ ่ี ๑ รปู แบบการจดั หอ้ งสมั มนา การจดั หอ้ งสมั มนาแบบท่ีนัง่ ในหอ้ งเรียน การจัดห้องสัมมนาแบบทีน่ ง่ั รูปตัวยู(U)
แผนการจัดการเรยี นรรู้ าย หนว่ ยที่ ๖ หนว่ ย สปั ดาหท์ ่ี ๑๑ – ๑๒ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๖ ชว่ั โมง ชื่อเรอ่ื ง การจดั สถานทเี่ พื่อการสมั มนา จานวน ๖ ช่วั โมง ใบความรทู้ ี่ ๑ รูปแบบการจัดห้องสมั มนา การจดั ห้องสมั มนาแบบที่น่งั ในโรงภาพยนต์
การจัดหอ้ งสมั มนาแบบทีน่ ั่งรูปตัวโอ(O) แผนการจัดการเรยี นรรู้ าย หนว่ ยท่ี ๗ หนว่ ย สัปดาหท์ ี่ ๑๓ – ๑๔ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๖ ชว่ั โมง ชอื่ เรอ่ื ง การใช้สอื่ โสตทัศนปู กรณ์ จานวน ๖ ชวั่ โมง ๑. สาระสาคญั ส่ือ(Media) คือ ส่ิงตา่ ง ๆ ท่ผี ู้นาเสนอมาใชใ้ นการนาเสนอ ใหผ้ เู้ ข้ารบั การอบรมเกิดการเรยี นรู้ เกดิ ทักษะและเกดิ ทศั นคตทิ ี่ดี ซ่ึง สอื่ ดงั กล่าวนี้ อาจจะเปน็ บคุ คล กจิ กรรม ตลอดจนวสั ดอุ ปุ กรณ์ต่าง ๆ
ก็ไดท้ ผ่ี ู้นาเสนอสามารถเลือกใช้ส่อื ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม จะเป็นการชว่ ย จูงใจใหผ้ ู้เขา้ รับการสมั มนา สนใจตดิ ตามเนือ้ หาต่าง ๆ เพ่มิ มากขนึ้ สอ่ื ทดี่ ี ควรมีลักษณะดงั น้ี 1. เหมาะสมกับประสบการณ์ของผ้รู บั การฝึกอบรม/ประชมุ 2. กระตุน้ ความสนใจ 3. เร้าใจ ชวนให้ติดตาม 4. สร้างบรรยากาศทด่ี ใี นการสัมมนา ๒.สมรรถนะประจาหนว่ ย การใชส้ ื่อโสตทศั นปู กรณ์ ๒.๑ บอกความหมายของสือ่ ได้ ๒.๒ บอกคณุ คา่ ของส่ือได้ ๒.๓ บอกหลกั การเลอื กใชส้ อ่ื ได้ ๒.๔ อธิบายชนดิ และประเภทของสอื่ ได้ ๒.๕ บอกขอ้ ดแี ละขอ้ จากัดในการใช้สอ่ื ได้ ๓. จดุ ประสงค์การเรยี นรปู้ ระจาหนว่ ย การใชส้ อ่ื โสตทัศนูปกรณ์ ๓.๑ ความหมายของสื่อ ๓.๒ คณุ คา่ ของสือ่ ๓.๓ หลักการเลือกใชส้ อื่ ๓.๔ ชนดิ และประเภทของสอื่ ๓.๕ ขอ้ ดแี ละข้อจากัดในการใช้สอื่ ๔. สาระการเรยี นรู้ (แสดงเฉพาะหวั ขอ้ หลกั หวั ขอ้ รองและหวั ขอ้ ยอ่ ย) การใชส้ อ่ื โสตทศั นปู กรณ์ ๓.๑ ความหมายของสอ่ื ๓.๒ คณุ ค่าของส่อื ๓.๓ หลักการเลือกใชส้ ือ่ ๓.๔ ชนิดและประเภทของสอ่ื ๓.๕ ขอ้ ดแี ละข้อจากัดในการใช้สอ่ื
สอ่ื (Media) คือ ส่ิงต่าง ๆ ทผ่ี นู้ าเสนอมาใชใ้ นการนาเสนอ ให้ผเู้ ขา้ รบั การอบรมเกดิ การเรยี นรู้ เกิดทกั ษะและเกดิ ทศั นคตทิ ด่ี ี ซึ่ง สือ่ ดงั กลา่ วนี้ อาจจะเป็นบุคคล กจิ กรรม ตลอดจนวสั ดอุ ปุ กรณ์ต่าง ๆ กไ็ ดท้ ่ผี นู้ าเสนอสามารถเลือกใชส้ อ่ื ไดอ้ ย่างเหมาะสม จะเป็นการชว่ ย จงู ใจใหผ้ ู้เขา้ รบั การสัมมนา สนใจติดตามเน้อื หาต่าง ๆ เพ่ิมมากข้นึ สื่อท่ีดี ควรมลี ักษณะดงั น้ี 1. เหมาะสมกับประสบการณ์ของผรู้ บั การฝกึ อบรม/ประชมุ 2. กระตนุ้ ความสนใจ 3. เร้าใจ ชวนใหต้ ิดตาม 4. สรา้ งบรรยากาศทดี่ ีในการสัมมนา คุณคา่ ของสอ่ื คือ ช่วยเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการสอ่ื สาร ทา ใหก้ ารถา่ ยทอดนา่ สนใจ สรา้ ความเข้าใจและจดจาไดง้ ่าย หลักการเลือกใช้สอ่ื 1. สัมพนั ธห์ รอื สอดคล้องกับวตุ ถปุ ระสงค์และเนื้อหา 2. มเี นื้อหาถูกต้อง 3. เหมาะสมกับวัยและระดบั พ้ืนฐานความรขู้ องผู้รับฟงั 4. เหมาะกบั ยคุ สมยั 5. มีความสะดวกในการใช้งานและถา่ ยทอด 6. มปี ระสิทธิภาพในการใชง้ าน 7. มคี ณุ ค่า สอดคล้องและเหมาะสมกบั ราคา ชนดิ ของส่อื แบง่ เป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ดงั นี้ 1. สอ่ื ทศั นวัสดุ 2. สื่อโสตวสั ดุ 3. สอื่ โสตทศั น์ 4. สอื่ กิจกรรม ข้อดีและขอ้ เสียในการใชส้ อื่ ในการใช้สอ่ื โสตทัศนปู กรณ์ ต่าง ๆ ผนู้ าเสนอหรอื วทิ ยากรควรทจ่ี ะทราบขอ้ ดี ขอ้ จากัดของอุปกรณ์ ต่าง ๆ เพื่อเลอื กใชไ้ ดอ้ ย่างเหมาะสม ๕. กจิ กรรมการเรยี นรู้
๑. ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน นาสถานการณ์ท่ีเป็นข่าว ภาพข่าว จากแหล่งต่าง ๆ ซ่ึงเกิดข้ึนจริง บทความ หรือกรณีศึกษามากระตุ้นให้ ผู้เรียนได้ตอบคาถามในประเด็นสาคัญที่กาหนด เพื่อให้เกิดความ ตระหนักในปัญหาท่ีเกิดข้ึน หรือเห็นความสาคัญท่ีจะต้องศึกษาในเรื่อง ท่ีนาเสนอ ซง่ึ เป็นเรือ่ งทีส่ อดคลอ้ งกับบทเรียน ๒. ขั้นสอน ครูผสู้ อนบรรยายตามหวั ข้อและมกี ารนาขอ้ มูล มาให้ผเู้ รียน ๑) การรวบรวมขา่ วสาร ขอ้ มลู ขอ้ เทจ็ จรงิ ความรู้ และ หลกั การ ขั้นตอนน้ีเป็นขั้นพ้ืนฐานของการเผชิญสถานการณ์และการ แก้ปัญหา โดยจะมอบหมายให้ผู้เรียนได้ไปศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เพ่ื อให้ ได้ข้ อมูลเก่ียวกับเร่ืองท่ี ศึกษา ห รือข่าวสารการกระท าท่ี สอดคล้องกับเรื่องที่ศึกษา ซึ่งอาจจะหาแหล่งข้อมูล ความรู้หรือแหล่ง ข่าวสารใหแ้ ก่ผเู้ รียน ๒) การประเมนิ คณุ คา่ และประโยชน์ เมือ่ ผเู้ รยี นได้ศึกษาความรู้ หรือขา่ วสารข้อมูล หรอื สถานการณท์ ี่ผสู้ อนมอบหมายแลว้ จะต้องนามาศกึ ษาวเิ คราะห์คุณคา่ หรือประโยชน์ ในขั้นตอนน้ีจะตอ้ งฝึกให้ผูเ้ รยี นร้จู ักหลักและวิธกี ารคดิ ในรูปแบบตา่ ง ๆ เพื่อให้ได้ข้อคิดวา่ สถานการณ์ หรอื ขอ้ มลู ทไ่ี ดศ้ กึ ษา นัน้ มคี ุณคา่ มากน้อย หรือมีประโยชน์เพียงไร อาจจะใชเ้ กณฑห์ รอื วิธีการประเมนิ ตามความเหมาะสม ซง่ึ อาจจะใช้เกณฑ์ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม เกณฑม์ าตรฐานและค่านิยมของสังคม หรือกรอบทฤษฎี การ คดิ ประเมนิ คา่ มคี วามสาคัญและมผี ลต่อการเลอื กการตดั สนิ ใจ ในข้นั การประเมนิ คุณค่านี้ โดยจะจดั ทาเปน็ แบบฝกึ หรอื มีคาถามเพอื่ ฝึกให้ ผูเ้ รียนไดร้ จู้ กั วิเคราะห์ เพอ่ื เป็นพ้นื ฐานของการประเมนิ ค่า และ ประโยชนห์ รอื โทษของเรือ่ งที่ศึกษา ๓) การเลอื กและการตดั สนิ ใจ ข้ันตอนน้ี จะเปน็ ขน้ั ตอนทตี่ อ่ เนื่องจากข้ันตอนที่ ๒ เมือ่ ผู้เรียนได้ประเมนิ คณุ คา่ และประโยชน์จากข้อมลู และขา่ วสารแล้ว จะมองเหน็ ชอ่ งทางวา่ ถ้า ตนเองไดป้ ระสบกบั สถานการณด์ ังกลา่ วหรือสถานการณ์ทีค่ ล้ายคลึงกนั นน้ั ผเู้ รยี นจะสามารถเลอื กและตดั สนิ ใจอยา่ งไร จงึ จะถกู ตอ้ งหรอื ไดร้ ับ ประโยชนอ์ ยา่ งแท้จรงิ เพ่ือจะได้ไมเ่ กดิ ปญั หาจากการตดั สินใจท่ี ผดิ พลาด ในข้นั น้จี ะสร้างสถานการณ์ท่ีเปน็ กรณีตวั อย่างปญั หาใน ชวี ติ จริงของผ้เู รียน อาจจะเป็นปญั หาในครอบครัว โรงเรยี น สงั คม
และตงั้ ประเดน็ คาถามให้ผเู้ รียนไดฝ้ กึ ทกั ษะในการเลือกและการ ตัดสินใจในการแกป้ ญั หาอย่างมหี ลกั การ ๔) การปฏบิ ัติ เมื่อผู้เรียนไดฝ้ ึกทกั ษะตัง้ แตข่ ้นั การรวบรวมขา่ วสาร ข้อมูล ข้อเทจ็ จริง ความรแู้ ละหลักการ ได้ฝึกการประเมินคณุ คา่ และประโยชน์ ตลอดจนการเลอื กและตดั สนิ ใจไปแล้ว ขั้นตอนทสี่ าคญั คือควรจะฝึกให้ ผเู้ รียนได้รูจ้ ักนาไปปฏิบตั ิ ซึง่ ในบางสถานการณ์ ผู้เรยี นสามารถนาไป ปฏิบัตไิ ดจ้ รงิ จะทาใหผ้ ู้เรียนไดพ้ ิสจู น์วา่ การที่ตนไดต้ ดั สนิ ใจเลอื กนนั้ เมอ่ื นาไปปฏิบัตจิ รงิ แล้ว ไดผ้ ลดหี รือไดร้ บั ประโยชนอ์ ยา่ งไร ตัดสนิ ใจ ถกู ต้องหรือไม่ แต่ในกรณสี ถานการณ์นน้ั ไมเ่ หมาะสมกบั การนาไป ปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง โดยจะออกแบบกิจกรรมใหผ้ เู้ รียนได้พสิ จู นค์ วามร้ใู น แง่ปฏิบัติ โดยการสมั ภาษณจ์ ากบคุ คล ผู้ทมี่ ปี ระสบการณห์ รอื ผู้มีความรู้ หรอื จากผลงานของนักวิชาการ ทีไ่ ดพ้ สิ ูจนห์ รือทดลองปฏบิ ตั ิแลว้ เปน็ การยืนยนั และเป็นการสนบั สนุนการตดั สินใจของผเู้ รียน ๓. ขั้นสรปุ เม่ือไดด้ าเนนิ การให้ผเู้ รยี นทากิจกรรมจนครบ ทกุ ขน้ั ตอนของกระบวนการเผชญิ สถานการณ์แลว้ ใหผ้ เู้ รียนได้ ช่วยกนั สรุปแนวคดิ หรือความรแู้ ละประสบการณ์ที่ตนไดร้ บั เปน็ การยา้ เตือนให้เกิดความกระจ่างชดั ขึ้น ๔. ขน้ั การวัดและการประเมนิ ผล มวี ธิ กี ารวัดและการ ประเมินผลให้ครอบคลมุ ทง้ั ดา้ นพุทธพสิ ัย จติ พิสยั และทักษะพสิ ยั มีการ กาหนดเคร่อื งมือวดั และประเมนิ พรอ้ มท้งั กาหนดเกณฑก์ ารวัดและการ ประเมินผลใหช้ ดั เจน ๖. สื่อการเรยี นการสอน/การเรยี นรู้ ๖.๑ หนังสือวชิ าสมั มนาการตลาด ๖.๒ เรอ่ื งจากอินเตอรเ์ นต็ ๖.๓ ใบงาน ๗. แหลง่ การเรยี นรู้ ๗.๑ ใบความรทู้ ี่ ๑ ๗.๒ อนิ เตอร์เนต็ ๗.๓ นิตยสาร วารสาร
๘. หลกั ฐานการเรยี นรู้ ๘.๑ ใบงานที่ ๑ ๘.๒ แบบฝึกหดั ๙. การบรู ณาการ/ความสมั พนั ธ์กับวชิ าอน่ื ๙.๑ วชิ าเทคนิคการนาเสนอ ๙.๒ กิจกรรมชมรมวิชาชพี การตลาด ๑๐. การวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ เครอื่ งมอื ประเมนิ ๑๐.๑ ใบประเมนิ ผลความพึงพอใจของผู้รว่ มกิจกรรม ๑๐.๒ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานร่วมกันเป็นกล่มุ ๑๐.๓ การสอบเก็บคะแนน
แผนการจดั การเรยี นรรู้ าย หนว่ ยท่ี ๗ หนว่ ย สัปดาหท์ ี่ ๑๓ – ๑๔ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๖ ชว่ั โมง ชือ่ เรอ่ื ง การใช้สอื่ โสตทศั นูปกรณ์ จานวน ๖ ชั่วโมง ใบงานที่ ๑ คาสั่ง ใหน้ กั ศึกษาแบง่ กลมุ่ ๆ ละ ๔ – ๖ คน จดั โครงการ สัมมนาตามเรื่องทคี่ รใู หน้ ักศึกษาจบั ฉลากได้ โดยเขยี นโครงการและ รา่ งหนงั สอื ตา่ ง ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ ง แล้วสง่ ตัวแทนนาเสนอหนา้ ช้ันเรียนกลมุ่ ละ ๑๐ – ๑๕ นาที
แผนการจดั การเรยี นรรู้ าย หนว่ ยที่ ๗ หนว่ ย รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ สัปดาหท์ ่ี ๑๓ – ๑๔
ช่อื เรอ่ื ง การใช้สอ่ื โสตทัศนปู กรณ์ รวม ๖ ชั่วโมง จานวน ๖ ชัว่ โมง ใบความรทู้ ี่ ๑ เครื่องฉายขา้ มศีรษะ การจดั นทิ รรศการ
แผนการจัดการเรยี นรรู้ าย หนว่ ยท่ี ๗ หนว่ ย สัปดาหท์ ่ี ๑๓ – ๑๔ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๖ ช่วั โมง ชื่อเรอ่ื ง การใชส้ อ่ื โสตทศั นปู กรณ์ จานวน ๖ ชั่วโมง ใบความรทู้ ่ี ๑ โปรเจคเตอร์ โปสเตอร์
แผนการจดั การเรยี นรรู้ าย หนว่ ยที่ ๘ หนว่ ย สปั ดาหท์ ่ี ๑๕ – ๑๖ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๖ ชว่ั โมง จานวน ๖ ชัว่ โมง ช่ือเรอ่ื ง กระบวนการจัดสมั มนา ๑. สาระสาคญั โดยปกตแิ ลว้ ในองค์กรต่าง ๆ จะมหี น่วยงานทจ่ี ดตั้งขึ้นมา เพื่อพฒั นาบุคลากรในองคก์ ารใหม้ คี วามรู้ ความสามารถท่สี งู ขนึ้ หรือ ปฏิบัตกิ ารได้เชี่ยวชาญมากขนึ้ ซงึ่ หนว่ ยงานนบ้ี างองค์การอาจใช้ หนว่ ยงานแตกต่างกันไป เช่น หน่วยฝกึ อบรมและพฒั นาบุคลากร หรอื หนว่ ยวจิ ัยและพฒั นา ฯลฯ เพอ่ื ดาเนินการจัดสัมมนาและไม่วา่ จะ ใช้ส่อื ย่างไร แต่ภารกจิ หรือพันธกจิ กค็ งหนีไมพ่ ้นการศกึ ษาแน่นอน หรอื การวเิ คราะห์งานทเ่ี กย่ี วข้อง ซง่ึ ข้อมลู ทไ่ี ดห้ รือปัญหาท่ีไดจ้ ะนามา รวมกนั แล้วเสนอเป็นแนวทางแก้ไขปัญหารวมทั้งรูจ้ กั แสดงออก การมี สว่ นร่วมในกิจกรรมกลุ่ม ฯลฯ ซง่ึ มีการดาเนนิ การในข้นั ตอนตา่ ง ๆ ๒.สมรรถนะประจาหนว่ ย กระบวนการจัดสมั มนา ๒.๑ บอกขนั้ ตอนของการจดั ประชมุ สมั มนาได้ ๒.๒ อธบิ ายขั้นตอนดาเนินการจดั ประชมุ สมั มนาได้ ๒.๓ บอกขัน้ หลงั การจดั สมั มนาได้ ๓. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรปู้ ระจาหนว่ ย กระบวนการจดั สัมมนา ๓.๑ เขา้ ใจขน้ั ตอนการจดั สัมมนา ๓.๒ เข้าใจขั้นดาเนนิ การจัดสัมมนา
๓.๓ เขา้ ใจขนั้ หลงั การจดั สมั มนา ๔. สาระการเรยี นรู้ (แสดงเฉพาะหัวขอ้ หลกั หวั ข้อรองและหัวข้อย่อย) กระบวนการจัดสัมมนา ๓.๑ ขนั้ ตอนการจดั สัมมนา ๓.๒ ข้นั ดาเนนิ การจดั สัมมนา ๓.๓ ขนั้ หลงั การจัดสัมมนา ขั้นตอนการจดั สมั มนา มดี ังนี้ 1. ระยะเตรยี มงาน หมายถึง การวางแผนและเตรียมการใน ด้านตา่ ง ๆ เพ่ือให้มีความพร้อมกอ่ นทจ่ี ะดาเนนิ การจดั สัมมนาทาง วชิ าการ ระยะเวลาเตรียมงานแบง่ ออกเปน็ ๒ ระยะ คอื ระยะเตรยี ม งานระยะแรกและระยะเตรียมงานระยะทสี่ อง 2. ข้นั ดาเนนิ การจัดสมั มนา มี ๒ ขั้นตอนคือ เลอื กตง้ั คณะกรรมการดาเนนิ งานและรวบรวมปญั หา เลือกหวั ขอ้ เร่อื ง 3. ข้นั ตอนหลงั การจดั สัมมนา หมายถงึ ระยะท่ีดาเนนิ การจัด สัมมนาจรงิ ไดส้ าเรจ็ แลว้ แตง่ านบางอย่างมไิ ด้สนิ้ สดุ ไปด้วย จะมงี านที่ จาเป็นตอ้ งจดั ทาตามหลักการสัมมนาเพื่อให้งานสาเร็จสมบูรณ์ ได้แก่ การจัดพิมพห์ นังสอื ขอบคุณผลการจัดสัมมนา และการจัดสง่ เอกสาร การสัมมนาไปใหผ้ ู้เขา้ รว่ มสัมมนา ๕. กิจกรรมการเรยี นรู้ ๑. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน นาสถานการณ์ที่เป็นข่าว ภาพข่าว จากแหล่งต่าง ๆ ซ่ึงเกิดข้ึนจริง บทความ หรือกรณีศึกษามากระตุ้นให้ ผู้เรียนได้ตอบคาถามในประเด็นสาคัญท่ีกาหนด เพื่อให้เกิดความ ตระหนักในปัญหาท่ีเกิดข้ึน หรือเห็นความสาคัญท่ีจะต้องศึกษาในเรื่อง ท่ีนาเสนอ ซึง่ เป็นเรือ่ งท่สี อดคลอ้ งกับบทเรยี น ๒. ขั้นสอน ครูผู้สอนบรรยายตามหัวข้อและมกี ารนาข้อมลู มาให้ผเู้ รยี น ๑) การรวบรวมขา่ วสาร ขอ้ มูล ขอ้ เทจ็ จรงิ ความรู้ และ หลกั การ ขั้นตอนนี้เป็นข้ันพื้นฐานของการเผชิญสถานการณ์และการ แก้ปัญหา โดยจะมอบหมายให้ผู้เรียนได้ไปศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เพ่ื อให้ ได้ข้ อมูลเก่ียวกับเรื่ องที่ ศึกษา ห รือข่าวสารการกระท าท่ี
สอดคล้องกับเร่ืองที่ศึกษา ซึ่งอาจจะหาแหล่งข้อมูล ความรู้หรือแหล่ง ข่าวสารให้แกผ่ เู้ รียน ๒) การประเมนิ คณุ คา่ และประโยชน์ เมื่อผเู้ รยี นได้ศกึ ษาความรู้ หรือข่าวสารข้อมลู หรอื สถานการณ์ทผี่ สู้ อนมอบหมายแลว้ จะตอ้ งนามาศกึ ษาวิเคราะหค์ ุณคา่ หรือประโยชน์ ในขั้นตอนนีจ้ ะตอ้ งฝกึ ให้ผเู้ รียนรู้จักหลักและวิธกี ารคดิ ในรูปแบบตา่ ง ๆ เพ่อื ให้ไดข้ อ้ คดิ ว่าสถานการณ์ หรอื ขอ้ มลู ทไี่ ดศ้ กึ ษา นนั้ มีคณุ ค่ามากน้อย หรือมีประโยชนเ์ พียงไร อาจจะใชเ้ กณฑห์ รอื วิธีการประเมินตามความเหมาะสม ซงึ่ อาจจะใชเ้ กณฑ์ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม เกณฑม์ าตรฐานและค่านยิ มของสังคม หรือกรอบทฤษฎี การ คดิ ประเมนิ ค่ามคี วามสาคัญและมีผลตอ่ การเลอื กการตัดสินใจ ในขน้ั การประเมินคณุ คา่ น้ี โดยจะจัดทาเปน็ แบบฝกึ หรือมคี าถามเพื่อฝกึ ให้ ผเู้ รียนไดร้ จู้ ักวเิ คราะห์ เพอ่ื เปน็ พืน้ ฐานของการประเมินค่า และ ประโยชน์หรอื โทษของเร่อื งท่ีศกึ ษา ๓) การเลือกและการตดั สนิ ใจ ขั้นตอนน้ี จะเปน็ ขน้ั ตอนที่ตอ่ เนอื่ งจากขั้นตอนท่ี ๒ เมือ่ ผู้เรียนได้ประเมนิ คณุ คา่ และประโยชน์จากขอ้ มลู และข่าวสารแล้ว จะมองเหน็ ชอ่ งทางวา่ ถา้ ตนเองไดป้ ระสบกบั สถานการณด์ งั กล่าวหรือสถานการณ์ทีค่ ล้ายคลึงกัน นน้ั ผเู้ รยี นจะสามารถเลอื กและตดั สนิ ใจอยา่ งไร จงึ จะถกู ตอ้ งหรอื ไดร้ บั ประโยชนอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ เพื่อจะได้ไมเ่ กดิ ปญั หาจากการตดั สินใจที่ ผดิ พลาด ในข้ันน้ีจะสรา้ งสถานการณท์ ี่เปน็ กรณีตวั อย่างปัญหาใน ชีวติ จรงิ ของผ้เู รยี น อาจจะเปน็ ปัญหาในครอบครวั โรงเรยี น สังคม และต้งั ประเดน็ คาถามให้ผเู้ รยี นไดฝ้ ึกทักษะในการเลือกและการ ตดั สินใจในการแก้ปญั หาอย่างมีหลกั การ ๔) การปฏิบตั ิ เมื่อผเู้ รยี นได้ฝึกทกั ษะตั้งแตข่ ั้นการรวบรวมข่าวสาร ข้อมลู ข้อเทจ็ จริง ความรแู้ ละหลักการ ได้ฝึกการประเมนิ คณุ คา่ และประโยชน์ ตลอดจนการเลอื กและตัดสนิ ใจไปแล้ว ขน้ั ตอนที่สาคญั คือควรจะฝึกให้ ผู้เรยี นไดร้ จู้ กั นาไปปฏิบตั ิ ซ่งึ ในบางสถานการณ์ ผูเ้ รยี นสามารถนาไป ปฏบิ ตั ิไดจ้ ริง จะทาใหผ้ ู้เรยี นไดพ้ สิ ูจน์วา่ การท่ีตนไดต้ ดั สินใจเลอื กน้นั เมือ่ นาไปปฏบิ ัตจิ รงิ แลว้ ไดผ้ ลดีหรอื ไดร้ บั ประโยชน์อยา่ งไร ตดั สินใจ ถกู ตอ้ งหรอื ไม่ แตใ่ นกรณีสถานการณน์ ้นั ไม่เหมาะสมกับการนาไป ปฏบิ ตั ิดว้ ยตนเอง โดยจะออกแบบกจิ กรรมใหผ้ ูเ้ รียนได้พิสูจนค์ วามรใู้ น แง่ปฏิบตั ิ โดยการสมั ภาษณ์จากบคุ คล ผู้ทม่ี ปี ระสบการณห์ รือผูม้ คี วามรู้
หรือจากผลงานของนักวิชาการ ท่ีไดพ้ ิสจู นห์ รอื ทดลองปฏบิ ัติแลว้ เปน็ การยืนยนั และเปน็ การสนบั สนุนการตัดสินใจของผเู้ รยี น ๓. ขัน้ สรปุ เมอื่ ได้ดาเนนิ การใหผ้ เู้ รยี นทากิจกรรมจนครบ ทุกขั้นตอนของกระบวนการเผชญิ สถานการณ์แลว้ ใหผ้ เู้ รยี นได้ ชว่ ยกันสรปุ แนวคดิ หรือความรแู้ ละประสบการณท์ ่ตี นได้รับเป็นการย้า เตอื นให้เกดิ ความกระจ่างชดั ขนึ้ ๔. ขัน้ การวัดและการประเมนิ ผล มวี ธิ กี ารวดั และการ ประเมินผลใหค้ รอบคลุมทั้งดา้ นพุทธพิสัย จิตพิสัยและทกั ษะพสิ ยั มีการ กาหนดเคร่อื งมอื วัดและประเมนิ พรอ้ มทัง้ กาหนดเกณฑ์การวดั และการ ประเมินผลให้ชัดเจน ๖. สือ่ การเรยี นการสอน/การเรยี นรู้ ๖.๑ หนงั สอื วิชาสมั มนาการตลาด ๖.๒ เรอ่ื งจากอนิ เตอร์เนต็ ๖.๓ ใบงาน ๗. แหลง่ การเรยี นรู้ ๗.๑ ใบความรทู้ ี่ ๑ ๗.๒ อนิ เตอร์เนต็ ๗.๓ นติ ยสาร วารสาร ๘. หลกั ฐานการเรยี นรู้ ๘.๑ ใบงานท่ี ๑ ๘.๒ แบบฝึกหดั ๙. การบรู ณาการ/ความสมั พนั ธก์ ับวชิ าอนื่ ๙.๑ วิชาเทคนคิ การนาเสนอ ๙.๒ กิจกรรมชมรมวชิ าชพี การตลาด ๑๐. การวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ เครอ่ื งมอื ประเมนิ
๑๐.๑ ใบประเมนิ ผลความพึงพอใจของผู้รว่ มกิจกรรม ๑๐.๒ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานร่วมกันเปน็ กลุ่ม ๑๐.๓ การสอบเกบ็ คะแนน แผนการจัดการเรยี นรรู้ าย หนว่ ยที่ ๘ หนว่ ย สปั ดาหท์ ่ี ๑๕ – ๑๖ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๖ ชว่ั โมง จานวน ๖ ชว่ั โมง ชอ่ื เรอ่ื ง กระบวนการจัดสัมมนา ใบงานที่ ๑ คาสัง่ ใหน้ กั ศึกษาทดลองเขียนหน้าทข่ี ้ันตอนการจดั ประชุมสมั มนาทางการตลาดจากความเขา้ ใจเพอ่ื รับรหู้ นา้ ทข่ี อง กรรมการดาเนนิ งานสัมมนา โดยใหท้ าเปน็ Mild Map
แผนการจดั การเรยี นรรู้ าย หนว่ ยท่ี ๘ หนว่ ย
รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ สปั ดาหท์ ี่ ๑๕ – ๑๖ ช่อื เรอื่ ง กระบวนการจดั สัมมนา รวม ๖ ช่ัวโมง จานวน ๖ ชั่วโมง ใบความรทู้ ่ี ๑ Mind Map คืออะไร? รูปจาก http://www.mindmapinspiration.com Mind Map (แผนท่ีความคิด) คือ เครอ่ื งมอื ดา้ นความคิดท่ี ออกแบบโดยเลียนแบบการทางานของสมอง คิดค้นโดยชาวอังกฤษชอ่ื Tony Buzan ซ่งึ เคา้ วา่ เครือ่ งมอื นี้ คอื “ภาษาของสมอง” เปน็ วธิ ีเดยี วกบั ทส่ี มองคดิ ใชไ้ ดท้ ัง้ การนาขอ้ มลู เข้า (จดบันทกึ ) และออกจากสมอง (ระดมสมอง แสดงความคิด) มีลกั ษณะสาคญั คือ - มกี ารเชอื่ มโยง จากไอเดยี หลักตรงกลาง แตกกง่ิ ออกไป เรอ่ื ยๆ - ประกอบไปด้วย “คาสาคญั ” และ “รปู ภาพ” โดยองคป์ ระกอบ เหลา่ น้ีมีการเชอ่ื มโยงถงึ กนั ด้วย “เสน้ ” และมกี ารกระต้นุ ดว้ ย การใช้ “ส“ี Mind Map มปี ระโยชน์ยงั ไง? ชว่ ยใหเ้ ราสามารถ… เหน็ ภาพรวมของสิง่ ตา่ งๆ จาสงิ่ ตา่ งๆไดด้ ขี น้ึ (เพราะสมองทาการเข่อื มโยงส่ิงท่ีเราตอ้ งการจา เมื่อ มกี ารเช่อื มโยงจะทาให้จาไดแ้ ม่นขึ้น) สามารถคน้ พบไอเดยี ใหมๆ่ หาขอ้ บกพร่อง/จดุ ออ่ น
วางแผนการทางาน จดั ลาดับ Presentation ผลงาน / Story Board ช่วยตัดสนิ ใจ คดิ ไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ คิดครบ จด/สรปุ สิง่ ทตี่ อ้ งการเรยี นรไู้ ดใ้ นรปู แบบทร่ี วดเรว็ / ทบทวนไดง้ า่ ย การช่วยเรอ่ื งของ Stakeholder Mapping / Networking / Connection Mind Map มคี วามพเิ ศษกวา่ เครอ่ื งมอื อื่นยงั ไง Mind Map เลยี นแบบการทางานของสมอง โดย มกี ารใชภ้ าพ สี และมี การเชอื่ มโยงเหมือนกนั และกระต้นุ ใหใ้ ชส้ มองท้งั ๒ ซกี Mind Map สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้และ Fusion รวมกบั เคร่ืองมอื อ่ืนๆ ไดอ้ ยา่ งแยบยล เรียกไดว้ ่าย่ิงรู้มาก ยงิ่ นาไปประยุกตไ์ ด้มากขน้ึ อกี Mind Map ทายังไง (ใหถ้ กู ตอ้ งตามหลกั การจากตน้ ตารับ) หลายๆคนคิดว่าการทา Mind Map ไม่เหน็ จะตอ้ งศกึ ษาอะไรเลย ใครๆก็ น่าจะทาได้ แตท่ จ่ี ริงแลว้ มันมีเทคนิคการทาทถี่ กู ต้องตามหลกั การอยู่ ครบั ซึง่ ถา้ ทาถกู ตอ้ งจะช่วยใหเ้ ราคดิ ไดด้ ยี ิ่งขน้ึ 1. เตรยี มกระดาษเปลา่ ใหญๆ่ หนอ่ ยกด็ ี (A๓-A๔ กาลังสวยครบั ) ใหเ้ อา แบบไมม่ เี สน้ และใหว้ างในแนวนอน เพราะเสน้ จะทาให้เกดิ การตีกรอบ/ ก้นั ความคิด และการอา่ นแนวนอนนน้ั งา่ ยกวา่ แนวตง้ั (และถา้ คิดจะเกบ็ เป็น Collection กห็ าแฟม้ เจาะหว่ งไวด้ ว้ ยเลยกไ็ ด้ครับ) 2. เตรยี มปากกาสีสวยๆ ไวซ้ กั ๑ Set คุณสามารถวาด Mind Map ได้ ดว้ ยดสี อสีแท่งเดียวก็จรงิ แต่ถ้ามหี ลายสี มนั จะทาให้ Mind Map คุณ สวยขนึ้ และสียงั จะช่วยกระตนุ้ ความคดิ ได้มากกวา่ ด้วย 3. ผอ่ นคลายซกั นิด ก่อนเริ่มวาด… 4. วาดภาพหรอื เขยี นหวั ขอ้ หลกั ทตี่ อ้ งการจะคดิ (Central Idea) ตรงกลาง หนา้ กระดาษ 1. ใหว้ าดภาพ… 1. ขนาดไมเ่ ล็กเกนิ ไป (จนไม่นา่ สนใจ) และไมใ่ หญ่จนไมม่ ที ีใ่ หแ้ ตกกิง่ ออกมาเพม่ิ
2. พยายามอยา่ ลอ้ มกรอบ ซ่งึ จะไปปิดก้ันความคดิ (สมองจะมองกรอบว่า เปน็ การสรปุ เสร็จส้นิ แลว้ ) 2. ถ้าวาดรปู ไม่เป็นใหไ้ ปหารปู มาแปะ 3. ถา้ หารูปไม่ได้อีก กเ็ ขียนเปน็ คากไ็ ด้ แต่ต้องเอาใหเ้ ดน่ !! 4. ทาใหส้ ่งิ ที่อยตู่ รงกลางโดดเดน่ เพื่อสร้างความจดจา และกระตนุ้ ความคดิ 1. สสี ดใส 2. ใสอ่ ารมณ์ เช่น มกุ ตลก 5. วาดกง่ิ ใหญ่ แตกแขนงออกมาจากภาพตรงกลาง ซง่ึ กงิ่ ใหญ่นจ้ี ะเป็น ตวั แทนของหวั ข้อหลกั ที่เกยี่ วกับ Central Idea ตรงกลาง โดยท…่ี 1. แรกเร่มิ ยงั ไม่ตอ้ งคดิ มากกว่าจะแตกกิง่ อะไรดี จะถูกหรอื ไม่ ใหใ้ ช้ หลกั การ Brainstorming คอื ใหพ้ ยายามคิดออกมาเยอะๆ คอื เนน้ ปรมิ าณกอ่ น จากนัน้ คอ่ ยมาคดั ทีหลัง 1. การคัดเลอื ก ให้รวบรวมก่งิ ทีค่ ลา้ ยคลงึ กนั เข้าดว้ ยกนั โดยให้มีอยา่ ง มากไมเ่ กนิ ๙ กง่ิ ใหญ่ (หลกั การจาของสมอง จาได้แบบ Short-Term ได้แค่ ๗+๒ สิง่ ) 2. เทคนิคของการแตกหวั ขอ้ กง่ิ ใหญ่คอื Concept ทีเ่ รียกวา่ No Gap, No Overlap ซง่ึ หมายถึง แต่ละหวั ขอ้ ควรเป็นประเดน็ ทไี่ มซ่ า้ กนั และ เมื่อทกุ หวั ข้อรวมกนั จะทาใหเ้ ราเหน็ ทุกประเดน็ ของ Central Idea จนครบ 3. การที่จะมองวา่ หัวข้อทเี่ ราเขยี นมนั ซา้ ประเด็นกนั หรอื ไม่ ใหล้ องคดิ แบบย้อนกลบั คอื Zoom Out ออกไปวา่ สง่ิ ท่ีเราเขยี นอยู่ใน Category ใหญก่ วา่ ชื่อว่าอะไร เชน่ หากเราเขยี นถึงโคก้ => ใหญ่ กวา่ คอื นา้ อดั ลม => Soft Drink => เครอ่ื งดม่ื => อาหาร เปน็ ตน้ ถ้า Category ใหญ่กว่าซ้ากัน เรากค็ วรใชอ้ ันนั้นเป็นกง่ิ ใหญห่ รอื Central Idea ไปเลย 2. แต่ละกิ่งใหญค่ วรใชส้ ีแยกกนั และกงิ่ ยอ่ ยทแ่ี ตกจากสไี หน กใ็ หใ้ ชส้ ี เดยี วกนั เพือ่ ให้เกดิ การจัดกลุม่ (ถ้ารบี จดกย็ งั ไมต่ ้องแยกสกี ไ็ ด้) 1. เส้นกง่ิ ใหญใ่ ห้วาดเป็นเส้นหนาๆ โค้งๆ รูปตวั s
3. ใหว้ าดภาพหรอื เขียน Keyword หรอื ของหวั ขอ้ กง่ิ ใหญใ่ นตาแหนง่ เหนอื กงิ่ แตล่ ะอนั ใหก้ ่งิ ทาตวั เหมอื นเป็นการขดี เส้นใต้ หา้ มเขียนหวั ขอ้ ไวป้ ิดปลายก่งิ เพราะจะเปน็ การปดิ กน้ั ไอเดยี (ยกเวน้ คิดวา่ จะเสรจ็ แลว้ จรงิ ๆ) 4. ตรงหวั ขอ้ ตรงก่ิงใหญน่ ่แี หละ เราสามารถแตกกิ่งออกเปน็ สิ่งเหล่านไ้ี ด้ ในสถานการณต์ ่างๆ กัน เชน่ 1. หากจะสรปุ หนงั สอื : ก็เปน็ หัวขอ้ สารบัญในหนงั สือท่ตี อ้ งการสรปุ 2. หากเปน็ สรปุ บทความ : ให้ Highlight คาสาคญั ทพี่ บในบทความ แลว้ นามาใช้เป็นกิ่งใหญ่ 3. หากไปประชมุ : Agenda การประชุม/สัมมนา 4. หากทา Process ขนั้ ตอนตา่ งๆ : ใหเ้ รียงจาก กอ่ นไปหลัง 1. จะเร่มิ จากทิศ ๑-๒ นาฬกิ า ไปทิศทางตามเขม็ นาฬิกา (ถ้าถนัดขวา) 2. จะเร่มิ จากทศิ ๑๐-๑๑ นาฬิกา ไปทศิ ทวนเข็มนาฬิกา (ถา้ ถนดั ซ้าย) ๓. ใช้ Framework จากเครอื่ งมอื อ่ืนๆ : เชน่ SWOT, ๔Ps, Decision Tree, อน่ื ๆ อกี มากมาย ๕. ถา้ ยังคดิ เรอ่ื งไดไ้ มค่ รบ ใหแ้ ตกกง่ิ เปลา่ ทงิ้ ไว้ เด๋ยี วสมองเพื่อนๆ จะ ช่วยหาอะไรมาเตมิ ใหเ้ องทหี ลงั 6. แตกกง่ิ รายยอ่ ยเปน็ รายละเอียดออกมาจากกงิ่ ใหญ่ (แตกออกมาไดไ้ มร่ ู้ จบ โดยกงิ่ ยอ่ ยๆ ใหม้ ีขนาดบางกว่ากง่ิ ใหญ่) ทส่ี าคัญ อย่าเอาอะไรไป ปดิ ปลายกง่ิ ถา้ ยงั คิดเรื่องทจี่ ะแตกออกมาไมอ่ อก ใหแ้ ตกก่ิงเปลา่ ทิง้ ไว้ เด๋ยี วสมองเพ่ือนๆ จะช่วยหาอะไรมาเติมให้เองทหี ลงั 1. ใหเ้ ขยี น ๑ คาทเี่ ปน็ Keyword ตอ่ ๑ กงิ่ (อย่าเขียนเปน็ ประโยค) 1. หากคาน้นั แยกเปน็ คาประกอบไดใ้ ห้แยกคาอกี เชน่ คาว่า แมน่ า้ ให้ แยกเปน็ “แม”่ กง่ิ นึง จากนน้ั ต่ออกี กง่ิ กว้ ยคาว่า “นา้ ” เปน็ ต้น 2. ความยาวของเสน้ ใหย้ าวพอดีๆ กบั คาทีอ่ ยู่บนเส้น) 3. เส้นไมต่ อ้ งคดเคีย้ วมากเกินไป เอาให้อ่านง่าย 7. เทคนิคปลกี ยอ่ ย 1. ใหเ้ ว้นชอ่ งวา่ งระหว่างกง่ิ ไว้ดว้ ย เผอ่ื ความคดิ ใหมๆ่ จะโผล่มาอกี
2. การแตกกง่ิ ตรงน้ีอาจใชห้ ลกั การไดท้ ั้งคิดแบบมีหลักการ (เช่นมลี าดบั ขั้น เช่น จากทวีป => ประเทศ => ภาค => จงั หวดั => เขต => อาเภอ…) และคิดแบบฟุ้งซา่ น (หากก่ิงนนั้ ทาใหน้ กึ ถงึ อะไรกเ็ ขยี นเลย) 3. เสน้ ตอ้ งเช่อื มกันอยา่ ให้ขาด (เด๋ียวความคิดวง่ิ ไปไม่ถงึ ) ตวั อย่างกง่ิ ใหญ่จากการประยุกต์ใช้กบั เคร่ืองมืออน่ื เคร่อื งมือ ตวั อยา่ ง SWOT Strength Weakness Opportunity Threat ๔Ps (๗Ps) Product=Service Price Place Promotion (People/personnel) (Process) (Physical Evidence) ๕W๑H What Who When Where Why How
๖ Thinking Hats Blue – Overview White – Facts Red – Emotions Black – Cautions Yellow – Benefits Green – Creativity ๖M หา Root Cause / Solution Machine (technology) Method (process) Material (Includes Raw Material, Consumables and Information.) Man Power (physical work)/Mind Power (brain work): Kaizens, Suggestions Measurement (Inspection) Mother Nature (Environment) แผนการจดั การเรยี นรรู้ าย หนว่ ยที่ ๙ หนว่ ย สปั ดาหท์ ี่ ๑๗ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๓ ช่วั โมง ช่ือเรอื่ ง การตดิ ตามประเมินผลการสัมมนา จานวน ๓ ช่วั โมง ๑. สาระสาคญั การประเมินผลโครงการสมั มนา เป็นกระบวนการทน่ี ยิ ม นามาใช้กนั อย่างแพรห่ ลาย ทงั้ ในองค์กรของรฐั และเอกชน เพื่อ ตรวจสอบคณุ ภาพของโครงการ ว่าไดผ้ ลประการใด บรรลุ วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการหรอื ไม่ มปี ญั หาหรืออปุ สรรคอยา่ งไร เพื่อจะ ไดน้ ามาเปน็ ขอแก้ไขปรบั ปรุงเพื่อเพิม่ ประสทธิ ิภาพของโครงการ สัมมนาในคราวตอ่ ไปใหด้ ยี ิ่งข้นึ ๒.สมรรถนะประจาหนว่ ย
การติดตามประเมินผลการสมั มนา ๒.๑ บอกความหมายของการประเมินผลโครงการสมั มนาได้ ๒.๒ บอกประโยชนข์ องการประเมินผลสมั มนาได้ ๒.๓ อธบิ ายประเภทของการประเมินผลโครงการ สมั มนาได้ ๒.๔ อธบิ ายขน้ั ตอนการประเมนิ ผลโครงการสัมมนาได้ ๓. จุดประสงค์การเรยี นรปู้ ระจาหน่วย การติดตามประเมนิ ผลการสมั มนา ๓.๑ เข้าใจความหมายของการประเมนิ ผลโครงการสัมมนา ๓.๒ ประโยชน์ของการประเมนิ ผลสมั มนา ๓.๓ ประเภทของการประเมินผลโครงการสัมมนา ๓.๔ ขัน้ ตอนการประเมนิ ผลโครงการสัมมนา ๔. สาระการเรยี นรู้ (แสดงเฉพาะหัวขอ้ หลกั หวั ขอ้ รองและหัวข้อยอ่ ย) การติดตามประเมินผลการสมั มนา ๓.๑ ความหมายของการประเมนิ ผลโครงการสมั มนา ๓.๒ ประโยชนข์ องการประเมนิ ผลสัมมนา ๓.๓ ประเภทของการประเมนิ ผลโครงการสมั มนา ๓.๔ ขนั้ ตอนการประเมนิ ผลโครงการสัมมนา การประเมนิ โครงการสมั มนา หมายถงึ กระบวนการ ตรวจสอบอนั ทาให้กจิ กรรมทีว่ างไวใ้ นโครงการสมั มนาประสบ ความสาเร็จตามวัตถปุ ระสงค์หรือไม่ เพยี งใด เพ่ือตดั สนิ ใจวา่ ดหี รือไม่ มปี ัญหาหรืออุปสรรคใด และควรจะไดป้ รับปรุงแกไ้ ขในสว่ นใด เพือ่ ช่วยใหก้ ารบรหิ ารโครงการมปี ระสทิ ธภิ าพสูงสุด ประโยชนข์ องการประเมนิ ผลโครงการสมั มนา 1. เพอื่ ใชใ้ นการตัดสนิ ใจพฒั นาการปฏบิ ัตงิ านดา้ น ตา่ ง ๆ 2. ไดข้ อ้ มลู เชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ อันส่งผลถึง ความคมุ้ คา่ ของโครงการสมั มนา
3. ข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการสมั มนา สามารถนามาพฒั นา แนวคดิ ใหม้ ีประสทิ ธิภาพย่งิ ขึ้น และสามารถ นาไปปฏบิ ัติในชีวติ การทางานได้ ประเภทของการประเมนิ ผลโครงการสมั มนา แบ่งออกได้ ดังนี้ ๑. แบ่งตามลาดับเวลาของการบริหารโครงการ ๑.๑ การประเมินผลก่อนเร่มิ โครงการ ๑.๒ ประเมนิ ผลขณะกาลังดาเนนิ งาน ๑.๓ การประเมินผลโครงการหลงั การดาเนินงาน ๒. แบ่งตามวัตถุประสงคข์ องการประเมนิ ผลโครงการ ๒.๑ การประเมนิ ผลความกา้ วหน้าของโครงการ ๒.๒ การประเมนิ ผลสรปุ เม่ือสิน้ สุดการดาเนนิ โครงการ ขนั้ ตอนการประเมนิ ผลโครงการ 1. การศกึ ษาโครงการสมั มนา เอกสารสัมมนา และบุคลากรท่ี เกีย่ วข้องกับการสมั มนา 2. การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ 3. การประเมินผล 4. การกาหนดแหล่งข้อมูล 5. การสร้างเครือ่ งมือ 6. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและเวลาทเ่ี ก็บรวบรวมข้อมูล 7. การวเิ คราะหข์ ้อมลู 8. การแปรผล 9. การเขยี นรายงาน เอกสารรายงานสรปุ ผลการสมั มนาทีเ่ ตม็ รปู แบบจะเปน็ ขอ้ มลู สาคญั สาหรับฝ่ายบรหิ ารขององคก์ ารเพ่ือใชพ้ ิจารณาในการตดั สนิ ใจ วา่ ควรจะนาไปปรบั ปรุง เปลี่ยนแปลง แก้ไข งานดา้ นการตลาดหรอื พัฒนางานบุตลากรและทรพั ยากรในองค์กรอยา่ งไร นอกจากนีย้ งั เปน็ ประโยชนต์ ่อฝา่ ยพัฒนาองค์กรในการนาข้อมูลทไ่ี ดใ้ ช้เปน็ แนวทางใน การพัฒนางานด้านการบรหิ ารโครงการตอ่ ไป
๕. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑. ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน นาสถานการณ์ท่ีเป็นข่าว ภาพข่าว จากแหล่งต่าง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นจริง บทความ หรือกรณีศึกษามากระตุ้นให้ ผู้เรียนได้ตอบคาถามในประเด็นสาคัญที่กาหนด เพื่อให้เกิดความ ตระหนักในปัญหาท่ีเกิดขึ้น หรือเห็นความสาคัญที่จะต้องศึกษาในเรื่อง ทน่ี าเสนอ ซ่ึงเป็นเรือ่ งท่ีสอดคลอ้ งกับบทเรียน ๒. ข้นั สอน ครูผสู้ อนบรรยายตามหวั ขอ้ และมีการนาขอ้ มูล มาใหผ้ เู้ รียน ๑) การรวบรวมขา่ วสาร ขอ้ มูล ข้อเทจ็ จรงิ ความรู้ และ หลกั การ ขั้นตอนน้ีเป็นขั้นพ้ืนฐานของการเผชิญสถานการณ์และการ แก้ปัญหา โดยจะมอบหมายให้ผู้เรียนได้ไปศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เพ่ื อให้ ได้ข้ อมูลเก่ียวกับเรื่องที่ ศึกษา ห รือข่าวสารการกระท าที่ สอดคล้องกับเร่ืองที่ศึกษา ซึ่งอาจจะหาแหล่งข้อมูล ความรู้หรือแหล่ง ข่าวสารใหแ้ ก่ผูเ้ รยี น ๒) การประเมนิ คณุ คา่ และประโยชน์ เม่อื ผเู้ รียนได้ศกึ ษาความรู้ หรือขา่ วสารขอ้ มูล หรือ สถานการณ์ท่ผี สู้ อนมอบหมายแลว้ จะตอ้ งนามาศกึ ษาวิเคราะห์คุณคา่ หรือประโยชน์ ในขัน้ ตอนน้จี ะตอ้ งฝกึ ให้ผู้เรียนรจู้ กั หลักและวธิ กี ารคดิ ในรปู แบบตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้ไดข้ ้อคดิ วา่ สถานการณ์ หรอื ข้อมูลทไ่ี ด้ศกึ ษา นั้นมีคุณค่ามากน้อย หรือมปี ระโยชนเ์ พียงไร อาจจะใช้เกณฑ์หรือ วธิ ีการประเมินตามความเหมาะสม ซงึ่ อาจจะใช้เกณฑด์ า้ นคณุ ธรรม จริยธรรม เกณฑม์ าตรฐานและคา่ นยิ มของสงั คม หรือกรอบทฤษฎี การ คดิ ประเมนิ คา่ มคี วามสาคัญและมีผลต่อการเลอื กการตัดสนิ ใจ ในขน้ั การประเมนิ คุณค่านี้ โดยจะจดั ทาเปน็ แบบฝึกหรอื มีคาถามเพื่อฝกึ ให้ ผ้เู รียนไดร้ ู้จกั วิเคราะห์ เพอ่ื เป็นพ้นื ฐานของการประเมนิ คา่ และ ประโยชน์หรอื โทษของเร่อื งท่ีศกึ ษา ๓) การเลือกและการตดั สนิ ใจ ขั้นตอนน้ี จะเป็นขน้ั ตอนทีต่ อ่ เนอ่ื งจากข้นั ตอนที่ ๒ เมอ่ื ผเู้ รยี นไดป้ ระเมนิ คุณคา่ และประโยชนจ์ ากข้อมูลและขา่ วสารแลว้ จะมองเหน็ ชอ่ งทางวา่ ถา้ ตนเองไดป้ ระสบกบั สถานการณ์ดังกล่าวหรือสถานการณท์ ่ีคลา้ ยคลงึ กัน นน้ั ผเู้ รยี นจะสามารถเลอื กและตดั สนิ ใจอยา่ งไร จงึ จะถกู ตอ้ งหรอื ไดร้ บั
ประโยชนอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ เพื่อจะไดไ้ มเ่ กดิ ปญั หาจากการตดั สนิ ใจท่ี ผดิ พลาด ในขน้ั นจ้ี ะสรา้ งสถานการณ์ทเี่ ปน็ กรณตี วั อย่างปญั หาใน ชีวติ จริงของผู้เรยี น อาจจะเปน็ ปัญหาในครอบครัว โรงเรยี น สงั คม และตัง้ ประเดน็ คาถามใหผ้ เู้ รยี นไดฝ้ กึ ทกั ษะในการเลือกและการ ตัดสินใจในการแก้ปญั หาอยา่ งมีหลกั การ ๔) การปฏบิ ตั ิ เมื่อผ้เู รยี นได้ฝึกทกั ษะต้งั แต่ข้ันการรวบรวมขา่ วสาร ข้อมูล ข้อเท็จจรงิ ความรแู้ ละหลักการ ได้ฝึกการประเมินคุณคา่ และประโยชน์ ตลอดจนการเลือกและตัดสนิ ใจไปแลว้ ขนั้ ตอนทสี่ าคญั คือควรจะฝึกให้ ผ้เู รียนไดร้ จู้ กั นาไปปฏบิ ัติ ซงึ่ ในบางสถานการณ์ ผ้เู รยี นสามารถนาไป ปฏิบตั ไิ ดจ้ ริง จะทาให้ผ้เู รียนได้พสิ ูจนว์ ่าการที่ตนได้ตดั สินใจเลอื กน้นั เม่อื นาไปปฏบิ ตั ิจรงิ แล้ว ไดผ้ ลดหี รอื ไดร้ ับประโยชนอ์ ยา่ งไร ตัดสนิ ใจ ถกู ต้องหรือไม่ แตใ่ นกรณีสถานการณน์ ้นั ไม่เหมาะสมกับการนาไป ปฏบิ ตั ิด้วยตนเอง โดยจะออกแบบกจิ กรรมใหผ้ เู้ รยี นได้พสิ ูจนค์ วามรู้ใน แง่ปฏิบตั ิ โดยการสมั ภาษณ์จากบุคคล ผูท้ ่มี ปี ระสบการณห์ รือผู้มคี วามรู้ หรอื จากผลงานของนักวิชาการ ทไ่ี ด้พสิ จู นห์ รือทดลองปฏบิ ตั ิแลว้ เปน็ การยนื ยนั และเป็นการสนับสนุนการตัดสนิ ใจของผ้เู รียน ๓. ข้นั สรปุ เมอ่ื ได้ดาเนนิ การให้ผูเ้ รียนทากิจกรรมจนครบ ทกุ ขนั้ ตอนของกระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ลว้ ใหผ้ เู้ รยี นได้ ชว่ ยกนั สรปุ แนวคดิ หรอื ความรแู้ ละประสบการณ์ที่ตนไดร้ ับเปน็ การย้า เตือนให้เกิดความกระจา่ งชดั ขึน้ ๔. ขนั้ การวัดและการประเมนิ ผล มวี ธิ ีการวัดและการ ประเมนิ ผลให้ครอบคลมุ ท้งั ด้านพทุ ธพิสยั จิตพิสยั และทักษะพสิ ยั มีการ กาหนดเคร่ืองมือวดั และประเมิน พร้อมท้งั กาหนดเกณฑ์การวดั และการ ประเมนิ ผลใหช้ ัดเจน ๖. สอื่ การเรยี นการสอน/การเรยี นรู้ ๖.๑ หนงั สอื วิชาสัมมนาการตลาด ๖.๒ เรอื่ งจากอินเตอรเ์ นต็ ๖.๓ ใบงาน ๗. แหลง่ การเรยี นรู้
๗.๑ ใบความรทู้ ี่ ๑ ๗.๒ อินเตอร์เนต็ ๗.๓ นิตยสาร วารสาร ๘. หลกั ฐานการเรยี นรู้ ๘.๑ ใบงานที่ ๑ ๘.๒ แบบฝกึ หดั ๙. การบรู ณาการ/ความสมั พนั ธ์กบั วชิ าอน่ื ๙.๑ วิชาเทคนคิ การนาเสนอ ๙.๒ กิจกรรมชมรมวิชาชีพการตลาด ๑๐. การวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ เครอ่ื งมอื ประเมนิ ๑๐.๑ ใบประเมนิ ผลความพงึ พอใจของผรู้ ว่ มกจิ กรรม ๑๐.๒ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรว่ มกันเปน็ กลุ่ม ๑๐.๓ การสอบเก็บคะแนน
แผนการจัดการเรยี นรรู้ าย หนว่ ยท่ี ๙ หนว่ ย สปั ดาหท์ ี่ ๑๗ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๓ ช่ัวโมง ชือ่ เรอ่ื ง การตดิ ตามประเมินผลการสมั มนา จานวน ๓ ชัว่ โมง ใบงานท่ี ๑ คาสง่ั ใหน้ กั ศึกษาแบง่ กลุ่ม ๆ ละ ๔ – ๖ คน จัดโครงการ สัมมนาตามเรื่องทค่ี รใู หน้ กั ศกึ ษาจับฉลากได้ โดยเขยี นโครงการและ รา่ งหนงั สอื ตา่ ง ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ ง แลว้ สง่ ตัวแทนนาเสนอหน้าช้นั เรยี นกลุ่ม ละ ๑๐ – ๑๕ นาที
แผนการจดั การเรยี นรรู้ าย หนว่ ยที่ ๑๐ หนว่ ย สปั ดาหท์ ่ี ๑๘ รหสั วชิ า ๓๒๐๒-๒๑๐๔ รวม ๖ ช่วั โมง จานวน ๖ ชั่วโมง ชอื่ เรอ่ื ง การวเิ คราะห์ปญั หาการตลาดจาก กรณศี ึกษา ๑. สาระสาคญั การวเิ คราะห์กรณศี กึ ษาจะชว่ ยให้บคุ คลเรียนรู้จาก สถานการณจ์ รงิ บางครง้ั อาจจะต้องวิเคราะหธ์ รุ กจิ ให้ถูกต้อง ไมใ่ ช่ เพยี งแคศ่ กึ ษาปัญหาเท่านน้ั กรณศี ึกษาอาจเปน็ ปญั หาซง่ึ นกั ศกึ ษา กาหนดแล้วแกป้ ญั หา หรือเขยี นโดยอาจารย์หรือบคุ คที่เกยี่ วขอ้ งใน สถานการณ์ที่เกดิ ขึ้นในองค์การการใช้ชือ่ ของสถานศกึ ษา บคุ คล องค์การอาขใชเ้ ปน็ นามแฝงหรือนามจริงกไ็ ด้ วิธกี ารท่ีใชใ้ นการศึกษา กรณศี ึกษาตอ้ งใหเ้ กิดการเรียนรโู้ ดยการปฏิบตั ิ นัน่ คอื Learning by Doing ๒.สมรรถนะประจาหนว่ ย การตดิ ตามประเมินผลการสมั มนา ๒.๑ อธบิ ายวัตถุประสงคข์ องการวิเคราะหป์ ญั หาการตลาด จากกรณีศึกษาได้ ๒.๒ บอกองค์ประกอบของกรณีศกึ ษาได้ ๒.๓ บอกวธิ กี ารเตรยี มตวั ในการวิเคราะห์กรณศี กึ ษา ได้ ๒.๔ เขียนรายงานกรณีศกึ ษาได้ ๓. จดุ ประสงค์การเรยี นรปู้ ระจาหน่วย การวิเคราะห์ปัญหาการตลาดจากกรณีศึกษา
๓.๑ วตั ถปุ ระสงคข์ องการวเิ คราะห์ปญั หาการตลาดจาก กรณีศกึ ษา ๓.๒ ยกตวั อย่างองค์ประกอบของกรณีศึกษา ๓.๓ สามารถบอกวธิ ีการเตรียมตวั ในการวิเคราะห์ กรณศี กึ ษา ๓.๔ สามารถขียนรายงานกรณศี ึกษา ๔. สาระการเรยี นรู้ (แสดงเฉพาะหัวขอ้ หลกั หวั ข้อรองและหัวข้อย่อย) การวเิ คราะหป์ ญั หาการตลาดจากกรณีศกึ ษา ๓.๑ วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิเคราะหป์ ญั หาการตลาดจาก กรณศี กึ ษา ๓.๒ องค์ประกอบของกรณศี ึกษา ๓.๓ การเตรยี มตวั ในการวเิ คราะห์กรณศี กึ ษา ๓.๔ การเขยี นรายงานกรณีศึกษา การวิเคราะหป์ ญั หาการตลาดจากกรณศี ึกษา วธิ กี ารศกึ ษาปัญหาการตลาดจากกรณศี กึ ษาต้องการใหเ้ กิด การเรียนรู้โดยการปฏิบตั ิน่ันคอื Learning by doing วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิเคราะหป์ ญั หาการตลาดจาก กรณศี ึกษา ๑. เพ่อื ให้เกดิ การเรยี นรใู้ นด้านทกั ษาในการตัดสินใจและ การแก้ปญั หาทางการตลาด ๒. เพ่อื ปรบั ปรงุ ทักษะในการติดต่อสือ่ สารในด้านการพดู และ การเขียนของนกั ศกึ ษา ๓. เพอ่ื กระตนุ้ ให้มคี วามกระตอื รือร้นและมีสว่ นร่วมใน ทมี งานการตดิ ตลอดจนการแสดงความคิดเหน็ ภายใน ห้องเรียน ๔. เพื่อชว่ ยใหไ้ ด้มองเหน็ วธิ ีการปฏิบัตจิ รงิ ตลอดจนการใช้ ทฤษฎตี า่ ง ๆ ในการปฏบิ ตั ิ ๕. เพอ่ื ใหไ้ ดร้ ้จู กั การประชุม ประสารความรทู้ างการตลาด ในการนาไปแกป้ ัญหาทางการตลาดและการตดั สินใจ ทางการตลาด
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120