คูม่ ือและแนวปฏบิ ัติ สำ�หรบั การจัดการศึกษาแก่บคุ คล ที่ไมม่ ีหลกั ฐานทะเบยี นราษฎรหรอื ไมม่ สี ัญชาติไทย (ฉบับปรบั ปรงุ ใหม่ พ.ศ. 2560) กระทรวงศึกษาธกิ าร
คมู่ อื และแนวปฏิบัตสิ �ำหรบั การจัดการศกึ ษาแก่บุคคลท่ีไม่มีหลกั ฐานทะเบยี นราษฎรหรือไม่มีสญั ชาติไทย (ฉบบั ปรับปรุงใหม่ พ.ศ. 2560) คณะทำ� งานรวบรวมขอ้ มูลและจดั พิมพ์ สำ� นกั ส่งเสริมกิจการการศึกษา สป.ศธ. 1. นายชยั ชาญ ชว่ ยโพธก์ิ ลาง ผอู้ ำ� นวยการส�ำนกั สง่ เสรมิ กจิ การการศึกษา สป.ศธ. 2. นางรจนา สินที หัวหนา้ กลุ่มโครงการพระราชด�ำริ 3. นางสาวนันทน์ ภสั เขยี วเกษม หัวหนา้ กลุ่มความมัน่ คงและส่งเสริมคุณธรรม 4. นางสาวนันทวนั ตง้ั มน่ั นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ตั ิการ 5. นายอนุพงศ์ บสุ ทพิ ย ์ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนปฏิบัติการ 6. นายสดายทุ ธ นกั ดนตร ี เจา้ หนา้ ทบี่ รหิ ารงานทั่วไป 7. นายศิรศิ ักด์ิ เฮงพทิ ักษ์วานชิ เจ้าหนา้ ทีบ่ รหิ ารงานทวั่ ไป จัดพิมพ์ ครั้งท่ี 1 เดือนมีนาคม 2561 โดย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จ�ำนวน 500 เลม่ โรงพมิ พ์ : องคก์ ารคา้ ของ สกสค. ลาดพรา้ ว หนว่ ยประสานงานและแจกจา่ ย สำ� นักสง่ เสริมกจิ การการศกึ ษา สำ� นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร โทรศพั ท/์ โทรสาร 0 - 2628 - 6399 เว็บไซตส์ �ำหรับดาวนโ์ หลด www.skp.moe.go.th
ค�ำ น�ำ กระทรวงศึกษาธิการได้พิจารณาเห็นว่าบุคคลทุกคนควรจะมีโอกาสได้รับการศึกษาเพ่ือพัฒนาตนเอง และชวี ติ ใหด้ ขี น้ึ ไดเ้ รยี นรภู้ าษาไทย ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วฒั นธรรม และเปน็ พลเมอื งทดี่ ขี องประเทศโดยไมจ่ ำ� กดั เช้ือชาติและภาษา ซ่ึงคณะรัฐมนตรีมีมติเม่ือวันที่ 28 มกราคม 2535 เห็นชอบให้กระทรวงศึกษาธิการ จดั การศกึ ษาให้แก่เด็กทไี่ มม่ หี ลักฐานทะเบยี นราษฎรหรือไมม่ สี ญั ชาตไิ ทย โดยไดย้ กเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยหลักฐาน วัน เดือน ปีเกิดในการรับนักเรียนเข้าเรียนในโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนราษฎร์ พ.ศ. 2522 และประกาศใชร้ ะเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยหลกั ฐาน วนั เดอื น ปเี กดิ ในการรบั นกั เรยี น นกั ศกึ ษาเขา้ เรยี น ในสถานศึกษา พ.ศ. 2535 เมื่อด�ำเนินการได้ในระยะหน่ึงจึงเก็บข้อมูลจากการน�ำไปปฏิบัติท่ียังเป็นปัญหา และจากสถานการณ์ท่ีเปล่ียนไป และเสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาอีกครั้งหนึ่งซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติ เม่ือวันที่ 5 กรกฎาคม 2548 เห็นชอบให้จัดการศึกษาแก่บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือ ไม่มีสัญชาติไทยตามที่กระทรวงศึกษาธิการเสนอ โดยประกอบด้วยระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย การรับนักเรียน นักศึกษา เข้าเรียนในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 และประเด็นต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องหน่วยงาน จัดการศึกษาจึงได้รับไปด�ำเนินการปรับปรุงกฎ ระเบียบให้สอดคล้องกับระเบียบกระทรวงศึกษาธิการดังกล่าว เพ่ือให้การด�ำเนินงานเป็นไปอย่างครบถ้วน ท้ังน้ี ต้องใช้หนังสือกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ศธ 0208/777 ลงวันท่ี 18 กุมภาพันธ์ 2548 และหนังสือส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร 0503/ว (ล) 8990 ลงวันท่ี 7 กรกฎาคม 2548 ประกอบด้วยเสมอ โดยหลักการแล้วการรับบุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทยเข้าเรียนให้ปฏิบัติ เช่นเดียวกับบุคคลท่ีมีสัญชาติไทยทุกประการ ท้ังการรับเข้าเรียนและการออกหลักฐานการศึกษา เพ่ือให้ การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดการศึกษาแก่บุคคลท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย มีความถูกต้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน จึงได้จัดท�ำคู่มือและแนวปฏิบัติส�ำหรับการจัดการศึกษาแก่บุคคล ที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทยคร้ังแรกเมื่อ พ.ศ. 2552 และฉบับน้ีเป็นฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ. 2560 ซง่ึ มกี ารแก้ไขปรบั ปรงุ ระเบยี บ กฎหมายและเนื้อหา เพ่อื ให้มีความสมบูรณแ์ ละเป็นปัจจุบันมากขนึ้ กระทรวงศึกษาธิการ จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือและแนวปฏิบัติส�ำหรับการจัดการศึกษาแก่บุคคลท่ี ไมม่ หี ลกั ฐานทะเบยี นราษฎรหรอื ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทยฉบบั น้ี จะเปน็ ประโยชนส์ ำ� หรบั ผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษา แก่บุคคลท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติ และเป็นเคร่ืองมือให้กับครู อาจารย์ และผู้บริหาร สถานศกึ ษาในการปฏิบัติงาน ตอ่ ไป ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ตุลาคม 2560
สารบัญ หน้า บทท่ี 1 สทิ ธิทางการศกึ ษาของบุคคลทไ่ี ม่มหี ลักฐานทะเบยี นราษฎรหรอื ไม่มีสัญชาตไิ ทย 1 กบั นโยบายของประเทศไทย 1.1 บทนำ� : ความเปน็ มา 2 1.2 ยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การและแกไ้ ขปัญหาสถานะและสิทธขิ องบคุ คล 4 1.3 มติคณะรฐั มนตรีเม่ือวนั ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 24 1.4 ระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ ารวา่ ดว้ ยหลกั ฐานในการรบั นกั เรียนนกั ศกึ ษาเขา้ เรยี น 31 ในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 1.5 ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ ง การรับนกั เรยี น นักศกึ ษาทไี่ ม่มีหลักฐาน 37 ทะเบียนราษฎรหรอื ไม่มีสญั ชาตไิ ทย 1.6 การดำ� เนนิ การของหน่วยงานต่าง ๆ เพอื่ ใหส้ อดคล้องกบั ยุทธศาสตรก์ ารจดั การปัญหา 38 สถานะและสิทธขิ องบุคคล มติคณะรัฐมนตรลี งวนั ท่ี 5 กรกฎาคม 2548 และระเบยี บ กระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ด้วยหลกั ฐานในการรับนักเรียน นักศึกษาเขา้ เรยี นในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 บทที่ 2 แนวทางในการจัดการศึกษาแกบ่ คุ คลท่ไี ม่มหี ลกั ฐานทางทะเบยี นราษฎร 45 หรือไมม่ ีสัญชาตไิ ทย แยกตามระดบั และประเภทการศึกษา 47 69 2.1 การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 79 2.2 การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 85 2.3 การอาชวี ศึกษา 90 2.4 การอดุ มศึกษา 2.5 สถานศกึ ษาอื่น ๆ ภาคผนวก 93 ภาคผนวก ก สถานะและสิทธิทางกฎหมายของบุคคลที่ไม่มหี ลักฐานทางทะเบยี นราษฎร 111 หรือไมม่ สี ัญชาติไทย 123 ภาคผนวก ข คำ� ถาม - ค�ำตอบ ภาคผนวก ค หนังสอื เสนอความเหน็ จากหนว่ ยงาน กฎหมาย กฎ ระเบียบ หนังสอื ประกาศ และคำ� ส่งั ทเี่ ก่ียวขอ้ ง
บทที่ 1 สิทธทิ างการศกึ ษาของบุคคลทไ่ี มม่ หี ลักฐานทะเบียนราษฏร หรือไมม่ ีสัญชาตไิ ทยกับนโยบายของประเทศไทย
1.1 บทน�ำ : ความเปน็ มา วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชด�ำรัสต่อคณะรัฐมนตรี ที่เข้าเฝา้ ถวายสัตยป์ ฏิญาณ ดังนี้ คอื ประชาชนทอ่ี ยใู่ นประเทศเขามมี านานแลว้ แตก่ ไ็ มเ่ ปน็ คนไทย คอื เขาไมถ่ อื วา่ เปน็ คนไทยแทจ้ รงิ เขาอยู่ และเกิดในเมืองไทย แต่ก็ไม่ได้รับประโยชน์ของความเป็นไทย สิ่งน้ีเป็นส่ิงที่จะต้องปฏิบัติเหมือนกัน เพราะว่า ถ้าหากว่ามีคนท่ีอยู่ในเมืองไทย และก็มีความน้อยใจมาก ไม่มีใครเอาใจใส่ ก็จะท�ำให้ความมั่นคงของ ประเทศด้อยไป...” พระราชด�ำรัส สะท้อนให้เห็นถึงความห่วงใย และการไม่ควรเลือกปฏิบัติต่อคนอื่นท่ีไม่มีสัญชาติไทย ท่ีอาศัยอยู่ในเมืองไทย นอกจากจะเป็นความล้ําหน้าในความเป็นสากลอย่างแท้จริงของสิทธิมนุษยชนแล้ว ยังเป็นบทพิสูจน์ท่ีดีในความจริงใจของรัฐบาลไทย รวมทั้งประชาชนชาวไทยตามสัญญาที่ให้ไว้กับประชาคมโลก เม่ือวันที่ 10 ธันวาคม 1948 ดังปรากฏในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ในค�ำปรารภ และข้อ 1 ในส่วนตน้ ของปฏญิ ญา ดังน้ี ค�ำปรารภ : “ด้วยเหตุที่การยอมรับศักด์ิศรีประจ�ำตัว และสิทธิซึ่งเสมอกันและไม่อาจโอนให้แก่กันได้ของสมาชิก ทงั้ ปวงแหง่ ครอบครวั มนษุ ยเ์ ปน็ รากฐานของเสรภี าพ ความยตุ ธิ รรม และสนั ตภิ าพในภภิ พ ดว้ ยเหตทุ กี่ ารเฉยเมย และดูหม่ินเหยยี ดหยามสิทธมิ นุษยชนได้ก่อใหเ้ กิดการกระท�ำอนั ปา่ เถื่อนโหดร้าย ทารุณ ซึง่ ได้กระทบกระเทอื น มโนธรรมของมนุษยชาติอย่างรุนแรง และโดยเหตุท่ีได้มีการประกาศปณิธานอันสูงสุดของสามัญชนว่า ถึงวาระแห่งโลกแล้วท่ีมนุษย์จะมีเสรีภาพในการพูดและในความเช่ือถือ รวมท้ังมีเสรีภาพจากความกลัว และความตอ้ งการ” ข้อ 1 : “มนุษย์ท้ังหลายเกิดมามีอิสระเสรีและเสมอภาคกันในเกียรติศักด์ิและสิทธิ ต่างมีเหตุผลและ มโนธรรมและควรปฏิบัติตอ่ กนั ดว้ ยเจตนารมณแ์ ห่งภราดรภาพ” รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 ก็ได้ให้การรบั รองหลักการดงั กล่าวไว้ในมาตรา 4 ดังนี้ “ศกั ดิศ์ รีของความเป็นมนุษย์ สทิ ธเิ สรภี าพ และความเสมอภาคของบุคคล ย่อมได้รับความคุ้มครอง” ศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์จะมีได้ก็ต่อเมื่อสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ทุกคนบนโลกได้รับความคุ้มครอง อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกันโดยไม่มีข้อจ�ำกัดเร่ืองเช้ือชาติ สีผิว เพศ อายุ ศาสนา ความเชื่อ ภาษา และวัฒนธรรม 2
รัฐบาลไทยตระหนักถึงข้อเท็จจริงดังกล่าวรวมทั้งหน้าที่ของรัฐเองที่ต้องปกป้องและธ�ำรงไว้ซึ่งศักด์ิศรี ความเป็นมนุษย์แม้บุคคลดังกล่าวจะไม่มีสัญชาติไทย อย่างไรก็ดีในทางปฏิบัติก็มิใช่เร่ืองง่ายเน่ืองจากสิทธิ บางเรื่องของบุคคลบางกลุ่มบางจ�ำพวกอาจได้รับการคุ้มครองไม่เท่ากันไม่ว่าจะโดยกฎหมายระหว่างประเทศ หรือภายในประเทศ โดยอาจขน้ึ อยกู่ ับสถานะทางกฎหมาย อายุ และเพศ เช่น เด็กอาจตอ้ งไดร้ ับความคุม้ ครอง มากกว่าผู้ใหญ่เน่ืองจากความรู้ผิดชอบนั้นยังไม่เท่าผู้ใหญ่ ผู้หญิงก็ควรได้รับความคุ้มครองเป็นพิเศษเนื่องจาก เป็นกลุ่มที่เปราะบางในการท่ีจะถูกล่วงละเมิดทางเพศ หรือผู้ที่เกิดในประเทศไทยก็ควรได้รับสิทธิที่จะพัฒนา สถานะให้ไดร้ ับสญั ชาตไิ ทยมากกวา่ ผู้ที่ไม่ไดเ้ กดิ ในประเทศไทย เปน็ ตน้ ปญั หาสถานะทางกฎหมายของบคุ คลในประเทศไทยเปน็ อกี ปญั หาทเ่ี รอื้ รงั มานาน อนั สบื เนอื่ งจากปญั หา ความขดั แยง้ ทางการเมอื งของประเทศเพอื่ นบา้ นของไทยทท่ี ำ� ใหม้ บี คุ คลสญั ชาตอิ น่ื เดนิ ทางเขา้ มายงั ประเทศไทย บ้างก็ไม่สามารถเดินทางกลับประเทศเดิมของตนได้อีกต่อไป บ้างก็ต้ังรกรากอยู่ในประเทศไทย ปัญหาการขาด ความรคู้ วามเขา้ ใจถงึ กฎหมายวา่ ดว้ ยสญั ชาติ กฎหมายวา่ ดว้ ยการทะเบยี นราษฎรและความสำ� คญั ในการมสี ถานะ บุคคลของกลุ่มชนบนพ้ืนท่ีสูงกลุ่มคนชายขอบ และตัวเจ้าหน้าท่ีของรัฐเอง ท�ำให้บุคคลจ�ำนวนมากตกส�ำรวจ จากทางราชการ ปญั หาขาดการวางแผนและการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ทะเบยี นราษฎรทด่ี ี ปญั หากฎหมายไทยหลายฉบบั ไมส่ อดคลอ้ งกบั สภาพสงั คมทเี่ ปลยี่ นแปลงไป รวมไปถงึ แนวนโยบายของรฐั บาลไทยทไ่ี มเ่ ออื้ ตอ่ การพฒั นาสถานะ ของบุคคลที่ไม่มีสัญชาติไทย นอกจากนี้ยังรวมไปถึงปัญหาที่ทั่วโลกก�ำลังประสบในยุคโลกาภิวัฒน์หรือ โลกไร้พรมแดน คอื ปัญหาการยา้ ยถนิ่ และการหลบหนีเขา้ เมอื งของแรงงานข้ามชาติ ปัญหาต่าง ๆ เหล่าน้ีต่างมีความเกี่ยวเน่ืองเชื่อมโยงกัน ท�ำให้ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล ในประเทศไทยมคี วามซับซอ้ นมากข้นึ และสง่ ผลกระทบโดยตรงต่อสทิ ธมิ นษุ ยชนขั้นพืน้ ฐานอนื่ ๆ ของกลมุ่ คนเหลา่ นี้ ไม่ว่าจะเป็นสิทธิในชีวิตและร่างกาย สิทธิในการศึกษา สิทธิในการที่จะได้รับการรักษาพยาบาลท่ีเหมาะสม หรือแมก้ ระทัง่ สทิ ธใิ นกระบวนการยตุ ิธรรม ประเทศไทยได้เล็งเห็นว่าสถานภาพการด�ำรงชีวิตของบุคคลดังกล่าวไม่เอื้ออ�ำนวยต่อความมั่นคง และสิทธิข้ันพื้นฐานของมนุษย์ และมีแนวโน้มท่ีจะเป็นปัญหาที่กระทบต่อความม่ันคงของชาติในระยะยาว และรุนแรงหากไม่ได้รับการแก้ไขท่ีเหมาะสม เพ่ือก�ำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน โดยต้ังอยู่บนพื้นฐานของการยอมรับข้อเท็จจริงท่ีเกิดขึ้นและการยอมรับในสิทธิข้ันพ้ืนฐานของกลุ่มคน ดังกล่าว น�ำมาสู่การจัดท�ำยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล ตามมติคณะรัฐมนตรี เมอื่ 18 มกราคม 2548 3
1.2 ยุทธศาสตร์การจัดการและแก้ไขปัญหาสถานะ และสิทธิ ของบุคคล 1.2.1 ยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การปญั หาสถานะและสิทธิของบุคคล (มติสภาความม่นั คงแหง่ ชาตเิ มื่อ 12 มกราคม 2548 / มตคิ ณะรฐั มนตรีเมือ่ 18 มกราคม 2548) 1. ความส�ำคญั ของปญั หา 1.1 ปัจจุบันประเทศไทยมีกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาเก่ียวกับสถานะและสิทธิอาศัยอยู่ในประเทศไทย หลายกลุ่ม ซึ่งบุคคลเหล่าน้ีมีท้ังในส่วนที่อาศัยอยู่ดั้งเดิมแต่ตกส�ำรวจจากทางราชการ และกลุ่มท่ีอพยพมาจาก ประเทศเพื่อนบ้านด้วยเหตุผลท้ังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และความไม่ปลอดภัยในชีวิต โดยบางส่วนไม่สามารถ ส่งกลับประเทศต้นทางได้จ�ำนวนประมาณ 1-2 ล้านคนเศษ และมีแนวโน้มจะเพ่ิมจ�ำนวนมากย่ิงขึ้น ท้ังน้ี สถานภาพการด�ำรงชีวิตของบุคคลดังกล่าวไม่เอื้อต่อความมั่นคงและสิทธิข้ันพ้ืนฐานของมนุษย์ ดังน้ัน หากปล่อยไว้ โดยไม่ด�ำเนินการแก้ไขปัญหา จะส่งผลกระทบต่อความม่ันคงของชาติในระยะยาวอย่างรุนแรงโดยผลกระทบดังกล่าว ไมจ่ ำ� กดั เฉพาะทจี่ ะเกดิ จากกลมุ่ บคุ คลกลมุ่ นโ้ี ดยตรงเทา่ นนั้ แตจ่ ะรวมถงึ กลมุ่ บตุ รหลานทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ในภายหลงั ซงึ่ จะมปี ัญหาดา้ นสังคมตามมา อันจะเปน็ การเพิ่มความรุนแรงของสภาพปญั หาใหม้ ากยงิ่ ข้ึนอีกด้วย 1.2 อยา่ งไรกต็ ามในชว่ งทผี่ า่ นมาแมท้ างราชการจะไดด้ ำ� เนนิ การแกไ้ ขปญั หามาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ซงึ่ มี ความคืบหน้าไประดับหนึ่ง แต่การแก้ไขปัญหายังขาดวิธีการจัดการอย่างเป็นระบบ และยังคงมีปัญหาอุปสรรค ในการด�ำเนินการอีกหลายประการ อาทิ ปัญหาในเร่ืองกฎระเบียบและแนวทางปฏิบัติที่ไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริง รวมถงึ ปญั หาในเรอ่ื งทศั นคตขิ องเจา้ หนา้ ท่ี ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน จงึ จำ� เปน็ ทท่ี กุ ฝา่ ยตอ้ งรว่ มกนั พจิ ารณากำ� หนดแนวทาง ดำ� เนินงานให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ 1.3 การก�ำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาท่ีมีประสิทธิภาพและยั่งยืนภายใต้พ้ืนฐานของการยอมรับ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทเี่ กดิ ขนึ้ และการยอมรบั ในสทิ ธขิ นึ้ พนื้ ฐานของคนกลมุ่ ดงั กลา่ ว โดยจดั ทำ� เปน็ ยทุ ธศาสตร์ และมาตรการ ที่เหมาะสมครอบคลุมในทุกประเด็นที่เกี่ยวข้อง จะน�ำไปสู่การแก้ไขปัญหาในภาพรวมอย่างเป็นเอกภาพ และมปี ระสิทธิภาพ รวมท้ังมีความโปร่งใสสามารถตรวจสอบได้ 2. กรอบความคิดในการก�ำหนดยทุ ธศาสตร์ 2.1 แนวทางตามพระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่ีทรงมีต่อคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 ว่า “...ประชาชนท่ีอยู่ในประเทศเขามีมานานแล้ว แต่ก็ไม่เป็นคนไทย คือ เขาไมถ่ อื วา่ เปน็ คนไทยแทจ้ รงิ เขาอยแู่ ละเกดิ ในเมอื งไทย แตก่ ไ็ มไ่ ดร้ บั ประโยชนข์ องความเปน็ ไทย สง่ิ นเี้ ปน็ สง่ิ ท่ี จะต้องปฏิบัติเหมือนกัน เพราะว่าถ้าหากว่ามีคนท่ีอยู่ในเมืองไทย และก็มีความน้อยใจมาก ไม่มีใครเอาใจใส่ กจ็ ะท�ำให้ความม่ันคงของประเทศด้อยไป...” 4
2.2 แนวคดิ ยทุ ธศาสตรส์ นั ตวิ ธิ เี พอ่ื การอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ตสิ ขุ บนพน้ื ฐานของการยอมรบั ความจรงิ เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียมกัน ทัศนคติท่ีดีต่อกัน และตระหนักในคุณค่าความหลากหลาย ของความคดิ วิถชี วี ติ และวฒั นธรรม 2.3 หลกั การเคารพสิทธิขัน้ พื้นฐานของบคุ คลและความม่นั คงของชาติ 2.4 การยอมรับความจริงว่ามีกลุ่มคนท่ีมีปัญหาสถานะและสิทธิบางกลุ่มที่ไม่สามารถส่งกลับไปยัง ประเทศต้นทางได้ การบริหารจัดการจึงอยู่บนพื้นฐานของความสมดุลระหว่างหลักสิทธิมนุษยชน ความม่ันคง ของมนษุ ย์ และความม่นั คงของชาติ 2.5 การรับรองสถานะบุคคลตามกฎหมายไทยแก่กลุ่มเป้าหมายที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และใหส้ อดคล้องกับพันธกรณีทผ่ี กู พนั ประเทศไทยตามกฎหมายระหวา่ งประเทศ 2.6 ครอบคลมุ การแกไ้ ขปญั หาทงั้ ในปจั จบุ นั และปอ้ งกนั ปญั หาในอนาคตโดยมแี นวทางการบรหิ าร จดั การทเี่ ปน็ ระบบชัดเจนและแกไ้ ขปญั หาอยา่ งยั่งยนื 2.7 การมฐี านขอ้ มลู กลมุ่ บคุ คลเปา้ หมายทช่ี ดั เจนอนั จะนำ� ไปสกู่ ารแกไ้ ขปญั หาอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และการมีเอกสารแสดงตนเพอ่ื การใช้สิทธขิ ัน้ พ้ืนฐานระหวา่ งรอการพสิ ูจนส์ ถานะ 2.8 การเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนในสังคม รวมถึงประชาคมระหว่างประเทศและประเทศต้นทาง เขา้ มามีส่วนรับรูแ้ ละร่วมมือในการแก้ปัญหา 3. วัตถุประสงค์ 3.1 เพ่ือเร่งรัดก�ำหนดสถานะท่ีเหมาะสมให้แก่กลุ่มคนท่ีไม่มีสถานะชัดเจน หรือมีสถานะที่ ไม่เอ้ือต่อการใช้สิทธิในการพัฒนาท่ีเหมาะสมตามศักยภาพของตน ท้ังนี้ เพื่อให้กลุ่มคนดังกล่าวสามารถเข้าถึง สิทธิที่พึงได้รับและสามารถด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคม รวมทั้งสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศได้ ตามศกั ยภาพทต่ี นมี 3.2 เพ่ือให้การคุ้มครองดูแลด้านสิทธิมนุษยชนต่อกลุ่มคนที่ไม่มีสถานะใด ๆ สามารถด�ำเนินการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสมดุลทั้งทางด้านความม่ันคงและสิทธิมนุษยชน ไม่เกิดปัญหา ผลกระทบต่อ ประเทศในระยะยาวในทุกด้าน รวมท้ังน�ำไปสู่การตัดสินใจทางนโยบายเพ่ือก�ำหนดสถานะ และสิทธิรองรับ ท่ีเหมาะสม 3.3 เพอ่ื ให้มแี นวทางการจัดการปญั หาสถานะและสิทธขิ องบุคคลอย่างเป็นระบบ ไม่ส่งผลกระทบ กับผลประโยชนส์ ว่ นรวมของชาตแิ ละไมก่ ระทบตอ่ ศกั ดิ์ศรคี วามเปน็ มนุษย์ 3.4 เพื่อปรับทัศนคติของเจ้าหน้าที่รัฐให้ลดความหวาดระแวง ความไม่ไว้วางใจ จนส่งผลให้เกิด การปฏบิ ตั ติ อ่ กลมุ่ บคุ คลดงั กลา่ วในเชงิ ลบ อาทิ การมที ศั นคตวิ า่ บคุ คลไรส้ ถานะสว่ นใหญจ่ ะเกย่ี วพนั กบั พฤตกิ รรม ในการลักลอบค้ายาเสพติดหรือตัดไม้ท�ำลายป่า การมองว่าบุคคลไร้สถานะเป็นภาระท่ีสังคม จะต้องคอยดูแล เปน็ ตน้ 3.5 เพื่อสร้างหลักประกันให้แก่เจ้าหน้าท่ีของรัฐท่ีปฏิบัติงานโดยสุจริตให้เกิดความม่ันใจ ในการปฏบิ ัตงิ านและลดโอกาสในการแสวงประโยชนโ์ ดยทุจริตทอ่ี าจจะเกิดข้ึน 5
3.6 เพ่ือป้องกันการอพยพเข้ามาใหม่ของกลุ่มคนที่ไม่มีสถานะ โดยการก�ำหนดมาตรการ ด�ำเนินการเชิงสร้างสรรค์ท่ีไม่ส่งผลกระทบในด้านสิทธิมนุษยชน ภาพลักษณ์ของประเทศ และสอดคล้องกับ สถานการณ์ความสัมพนั ธก์ ับประเทศเพ่ือนบา้ นในปัจจุบัน 4. ยุทธศาสตร์ 4.1 ยทุ ธศาสตร์การกำ� หนดสถานะ 4.1.1 ส�ำรวจและจัดท�ำทะเบียนประวัติและเอกสารแสดงตนส�ำหรับบุคคลที่ไม่มีช่ืออยู่ ในทะเบียนราษฎรเพ่ือให้ทราบที่มาและสถานะการด�ำรงอยู่ของคนกลุ่มนี้ อันจะน�ำไปสู่การพิจารณาก�ำหนด สถานะที่เหมาะสม 4.1.2 ปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณากล่ันกรองค�ำร้องขออนุมัติสถานะ โดยการลดกระบวนการและขน้ั ตอนการพิจารณาทีซ่ �้ำซอ้ น รวมท้งั ลดการใช้ดลุ ยพนิ ิจท่เี กนิ สว่ นของเจา้ หน้าท่ี 4.1.3 กำ� หนดกรอบการพจิ ารณากำ� หนดสถานะใหแ้ กบ่ คุ คลทมี่ ปี ญั หาในเรอื่ งสถานะและสทิ ธิ ดังน้ี 1) กรณบี คุ คลท่ีอพยพเข้ามาในประเทศ (1) ดำ� เนนิ การแปลงสญั ชาตเิ ปน็ ไทยใหแ้ กบ่ คุ คลทม่ี เี ชอ้ื สายไทยทม่ี ชี อื่ อยใู่ นระบบ ทะเบยี นและไมส่ ามารถเดนิ ทางกลับประเทศตน้ ทางได้ ตามหลกั เกณฑ์ท่ีทางราชการก�ำหนด (2) ให้สัญชาติไทยแก่บุตรท่ีเกิดในประเทศไทยของคนต่างด้าวตามข้อ (1) ท่ีไดร้ บั แปลงสญั ชาตเิ ป็นไทย หากพิสูจนไ์ ด้วา่ เป็นผสู้ ืบสายโลหิตของบคุ คลดงั กลา่ ว (3) ให้สถานะเป็นบุคคลต่างด้าวเข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายแก่บุคคลที่มีช่ือ อย่ใู นระบบทะเบียนซึ่งอาศยั อย่ใู นประเทศไทยตดิ ต่อกันเปน็ เวลานานไมต่ �ำ่ กวา่ 10 ปี จนกลมกลนื กับสงั คมไทย และไม่สามารถเดินทางกลับประเทศต้นทาง หรือไม่มีจุดเกาะเกี่ยวใด ๆ กับประเทศต้นทางตามหลักเกณฑ์ ทีท่ างราชการก�ำหนด (4) ให้สัญชาติไทยแก่บุตรของคนต่างด้าวตามข้อ (3) ท่ีเกิดในราชอาณาจักรไทย ตามหลกั เกณฑท์ ี่ทางราชการก�ำหนด 2) กรณเี ดก็ และบคุ คลทเี่ รยี นอยใู่ นสถานศกึ ษาของประเทศไทยแตไ่ มม่ สี ถานะทถี่ กู ตอ้ ง ตามกฎหมาย (1) ให้สัญชาติไทยแก่บุคคลท่ีเกิดหรืออาศัยอยู่ในประเทศและจบการศึกษา ในสถาบันอดุ มศกึ ษาของประเทศไทย ทั้งน้ี กระบวนการให้สญั ชาติใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย (2) ส�ำหรับเด็กท่ียังไม่จบการศึกษาในระดับอุดมศึกษาให้น�ำเข้าสู่กระบวนการ พจิ ารณากำ� หนดสถานะตามข้อ 1) 3) กรณีบคุ คลท่ไี รร้ ากเหงา้ ใหส้ ัญชาติไทยแก่บคุ คล ดังตอ่ ไปน้ี (1) บุคคลที่ขาดบุพการีหรือบุพการีทอดท้ิงตั้งแต่วัยเยาว์และมีชื่ออยู่ในระบบ ทะเบียนของทางราชการและอาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นเวลานานอย่างน้อย 10 ปี จนกลมกลืนกับสังคมไทย และมีคุณสมบัตอิ ืน่ ๆ ตามหลกั เกณฑ์ท่ีทางราชการก�ำหนด 6
(2) บุคคลที่ขาดบุพการีหรือบุพการีทอดท้ิงที่ได้รับสถานะเป็นบุตรบุญธรรมตามค�ำส่ัง ของศาล เมื่อผู้รับบุตรบุญธรรมเป็นบคุ คลทมี่ ีสญั ชาตไิ ทย 4) กรณีบุคคลท่มี คี ณุ ประโยชนแ์ ก่ประเทศชาติ ให้สัญชาติไทยแก่บุคคลซ่ึงมีผลงาน/ความรู้ ความเช่ียวชาญที่เป็นประโยชน์ ในการพัฒนาประเทศในด้านการศึกษา ศิลปวัฒนธรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการกีฬา รวมทั้ง ด้านอ่นื ๆ ซงึ่ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยเหน็ สมควร 5) กรณีแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชาท่ีได้รับการจดทะเบียน แต่ไม่สามารถเดินทางกลับได้ เนื่องจากประเทศต้นทางไม่ยอมรับให้ได้รับสิทธิอาศัยอยู่ในประเทศช่ัวคราว และเข้าสู่กระบวนการพิจารณาก�ำหนดสถานะตามข้อ 1) - 4) หากไม่สามารถก�ำหนดสถานะได้ให้น�ำเข้าสู่ กระบวนการพิจารณาสถานะโดยก�ำหนดให้มีคณะอนุกรรมการซ่ึงมีองค์ประกอบจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้ง ภาคราชการ ภาควิชาการ และภาคประชาชนพิจารณาก�ำหนดแนวทางการให้สถานะท่ีเหมาะสมตามมาตรการ ระยะยาวแนบท้ายยทุ ธศาสตร์น้ี 6) กรณคี นต่างดา้ วอื่น ๆ ทไี่ ม่มคี ณุ สมบัติตามขอ้ 1) - 5) และไมส่ ามารถเดินทางกลับ ประเทศต้นทาง ให้ดำ� เนนิ การ ดงั น้ี (1) ใหส้ ทิ ธกิ ารอาศยั อยชู่ ว่ั คราวแกก่ ลมุ่ คนตา่ งดา้ วทง้ั ในสว่ นทไี่ ดร้ บั การจดทะเบยี น ไว้แล้วและท่ีจะมีการส�ำรวจจดทะเบียนเพิ่มเติม ซึ่งไม่มีคุณสมบัติในการขอรับสถานะตามหลักเกณฑ์ข้างต้น ดังกล่าวและไม่สามารถเดินทางกลับประเทศต้นทางได้ โดยบุคคลดังกล่าว ต้องไม่มีพฤติกรรมที่เป็นภัยต่อ ความมั่นคง (2) ก�ำหนดให้คณะอนุกรรมการซ่ึงมีองค์ประกอบจากทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องทั้ง ภาคราชการ ภาควชิ าการ และภาคประชาชน พจิ ารณากำ� หนดแนวทางการใหส้ ถานะทเ่ี หมาะสมดงั ปรากฏตาม มาตรการระยะยาวแนบทา้ ยยทุ ธศาสตร์ เชน่ เดียวกบั กรณีในขอ้ 5) 4.1.4 ใหใ้ ชแ้ นวทางการใหส้ ถานะกอ่ นและใหด้ ำ� เนนิ การถอนสถานะไดใ้ นภายหลงั ตามกฎหมาย ปกครองหากมพี ฤติกรรมเป็นภยั ต่อความมัน่ คงของชาติ 4.1.5 มอบอำ� นาจในการอนมุ ตั สิ ถานะลงไปสใู่ นระดบั ทเี่ หมาะสมเพอื่ รองรบั ในการดำ� เนนิ การ ตอ่ กลุม่ เป้าหมายท่มี ีอยู่เปน็ จำ� นวนมาก 4.1.6 เปิดโอกาสให้ภาควิชาการและองค์กรพัฒนาเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในข้ันตอน การพิจารณาคำ� ร้องขอสถานะอยา่ งเปน็ ระบบในรปู ของคณะกรรมการทม่ี ีผเู้ กีย่ วขอ้ งร่วมเป็นกรรมการ 4.1.7 สรา้ งความเขา้ ใจทกุ ฝา่ ยทเี่ กย่ี วขอ้ งเกยี่ วกบั นโยบายและมาตรการดำ� เนนิ การตอ่ กลมุ่ คน ที่ไม่มสี ถานะและการได้รบั สิทธขิ นั้ พ้นื ฐาน เพ่อื ให้สามารถอาศยั อยใู่ นสังคมไทยได้อย่างสมานฉันท์ 4.2 ยทุ ธศาสตรก์ ารใหส้ ทิ ธิขน้ั พ้ืนฐานแกบ่ คุ คลทม่ี ปี ญั หาสถานะและสทิ ธิ 4.2.1 กรณีมีช่ืออยู่ในทะเบียนของทางราชการแต่ยังไม่มีสถานะท่ีถูกต้องตามกฎหมาย หรอื คำ� ร้องขอสถานะอยูร่ ะหวา่ งการพจิ ารณา หรือภาครัฐอย่รู ะหวา่ งการพิจารณาก�ำหนดนโยบายใหห้ นว่ ยงาน ที่เก่ยี วขอ้ งทุกหน่วยด�ำเนนิ การเพอื่ ให้คนเหล่าน้ีไดร้ บั สิทธิข้ันพน้ื ฐานเพอ่ื ใหส้ ามารถดำ� รงชวี ิตอยไู่ ด้ 7
4.2.2 กรณีไม่มีช่ืออยู่ในระบบทะเบียนให้ด�ำเนินการส�ำรวจจัดท�ำทะเบียนประวัติควบคุม โดยในเบ้ืองต้นสมควรให้สิทธิข้ันพื้นฐานเท่าท่ีจ�ำเป็นตามหลักมนุษยธรรม อย่างไรก็ตาม ในภายหลังเม่ือตรวจ พบวา่ มภี มู ลิ ำ� เนาทช่ี ดั เจนในประเทศตน้ ทางใหด้ ำ� เนนิ การสง่ กลบั แตใ่ นกรณไี มส่ ามารถสง่ กลบั ได้ หรอื อยรู่ ะหวา่ ง กระบวนการก�ำหนดสถานะ หรืออยู่ระหว่างการประสานประเทศต้นทางเพ่ือตรวจสอบสถานะและภูมิล�ำเนา ให้พิจารณาให้สทิ ธิขนั้ พืน้ ฐานเช่นเดยี วกันกับกรณี 4.2.1 4.3 ยุทธศาสตร์การดำ� เนินการเชงิ รกุ และเชิงสร้างสรรคเ์ พ่อื ปอ้ งกนั การอพยพเข้ามาใหม่ 4.3.1 ประสานความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการพัฒนาคนและชุมชนชายแดน ในประเทศเพ่ือนบ้าน เพื่อให้ประชาชนชายแดนของประเทศเพ่ือนบ้านด�ำรงชีวิตอยู่ได้ในพ้ืนท่ีถ่ินก�ำเนิด โดยไมจ่ �ำเป็นต้องอพยพเข้ามาในเขตไทย 4.3.2 ใช้ประโยชน์จากบทบาทขององค์กรระหว่างประเทศในการให้ความช่วยเหลือแก่ ประชาชนในประเทศต้นทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตของชุมชน เพอ่ื ปอ้ งกนั การอพยพเข้ามาในประเทศไทย 4.3.3 เพิ่มความเข้มงวดกวดขันในการป้องกันและสกัดก้ันการเดินทางเข้ามาในประเทศ อยา่ งไมถ่ กู ตอ้ ง 4.3.4 เพ่ิมความเข้มข้นในการปฏิบัติและการควบคุมทางทะเบียนโดยเฉพาะการแจ้งเกิด และการยา้ ยถน่ิ ท่อี ยู่ เพอื่ ประโยชน์ในการพิสูจน์ตัวบุคคลและการก�ำหนดสถานะในอนาคต 4.4 ยุทธศาสตร์การบรหิ ารจดั การ 4.4.1 กำ� หนดใหม้ มี าตรการรองรบั การดำ� เนนิ การตามยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ ใหห้ นว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง ดำ� เนนิ การตามแนบทา้ ยยุทธศาสตรน์ ี้ 4.4.2 ใหส้ ำ� นกั งานสภาความมน่ั คงแหง่ ชาตเิ ปน็ หนว่ ยงานหลกั ในการอำ� นวยการ ประสานงาน ตดิ ตาม และประเมินผล รวมท้ังการพฒั นาระบบการปฏิบัติงานตามยทุ ธศาสตร์นี้ 4.4.3 ให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องหลัก ได้แก่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน กระทรวง การต่างประเทศ ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ กระทรวงกลาโหม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงยุติธรรม และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ประสานการด�ำเนินการร่วมกัน เพ่อื มุง่ ไปสูก่ ารบรรลวุ ตั ถุประสงค์ของยทุ ธศาสตร์ 4.4.4 ให้มีคณะท�ำงานเฉพาะกิจ มีองค์ประกอบจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ท้ังจากภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน และผู้แทนชุมชนท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือเร่งพิจารณาด�ำเนินการให้สถานะตามมาตรการเร่งด่วน แนบทา้ ยยทุ ธศาสตรน์ ี้ 4.4.5 ก�ำหนดแผนงาน/โครงการและสรา้ งระบบตดิ ตามแก้ไขปญั หา รวมท้งั มกี ารประเมินผล การดำ� เนินงานตามยทุ ธศาสตรด์ ังกลา่ วอยา่ งเปน็ ระบบโดยมีเป้าหมายการดำ� เนนิ การท่ชี ดั เจน 8
4.4.6 สร้างระบบเช่ือมโยงข้อมูลสถานะบุคคลระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยใช้ระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้ครอบคลุมถึงระดับอ�ำเภอและให้มีการจัดจ้างบุคลากรเพ่ือพัฒนาระบบ รวมทั้ง ชุดปฏิบัตกิ ารในอ�ำเภอและหน่วยเคลือ่ นที่ 4.4.7 ปรับทัศนคติของทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นด้าน สิทธิมนุษยชนโดยการใช้แนวทางตามยุทธศาสตร์สันติวิธีท่ีอยู่บนพ้ืนฐาน การเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ท่เี ทา่ เทียมกัน การมีทศั นคตทิ ด่ี ตี ่อกัน และการให้คณุ คา่ ของความหลากหลายของวถิ ีชวี ิต และวฒั นธรรม 4.4.8 ให้มีแนวทางบริหารจัดการอย่างโปร่งใสที่สามารถตรวจสอบได้เพ่ือสร้างความเชื่อม่ัน และใหค้ วามค้มุ ครองแก่เจ้าหนา้ ทผี่ ้ปู ฏิบตั งิ านโดยสุจรติ มิใหไ้ ดร้ บั ผลกระทบจากการดำ� เนินการ 4.4.9 ให้ประเทศเพื่อนบ้านเห็นความส�ำคัญในความร่วมมือเพ่ือการแก้ไขปัญหาบุคคล ท่ีไม่มีสถานะ และให้องค์กรระหว่างประเทศให้ความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ประชาชนและ ชุมชนชายแดนในประเทศตน้ ทาง 4.4.10 บังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังกับผู้หลบหนีเข้าเมืองท่ีอพยพเข้ามาใหม่และขบวนการ น�ำพา 4.4.11 จัดล�ำดับความส�ำคัญของกลุ่มเป้าหมายตามความรุนแรงของปัญหา เพื่อเร่งรัด การด�ำเนนิ การตามยทุ ธศาสตร์ 5. ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ 5.1 มีแนวทางการบริหารจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลที่มีประสิทธิภาพครบวงจร ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยการจัดส�ำดับความส�ำคัญในการด�ำเนินการมีการมอบหมายการด�ำเนินการ ที่ชัดเจน รวมทั้งก�ำหนดให้มีแผนงานและงบประมาณรองรับอย่างเหมาะสม และมีเป้าหมายชัดเจน รวมท้ัง มกี ารติดตามและประเมินผลอยา่ งเป็นระบบและต่อเน่อื ง 5.2 ด�ำเนินการให้เกิดการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนการปฏิบัติงานของภาครัฐ โดยภาคเอกชน และภาคประชาชนใหเ้ ข้ามาสนบั สนุนการดำ� เนนิ การตามยุทธศาสตรใ์ ห้บรรลผุ ล 5.3 รายงานผลการด�ำเนนิ การต่อนายกรฐั มนตรแี ละสภาความมั่นคงแหง่ ชาติ หมายเหตุ ส�ำหรับผู้หนีภัยการสู้รบจ�ำนวน 110,000 คน ท่ีอาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีพักพิงเพื่อรอการส่งกลับและ แรงงานต่างด้าว (พม่า ลาว และกัมพูชา) ที่ได้รับการจดทะเบียน และสามารถปรับเข้าสู่ระบบ การจ้างงาน ท่ีถกู ต้อง โดยได้รับการยอมรับจากประเทศต้นทาง จะอยูภ่ ายใตย้ ุทธศาสตร์น้ีเฉพาะข้อ 4.1.1 9
1.2.2 ยุทธศาสตร์แกป้ ญั หาผู้หลบหนเี ขา้ เมอื งท้ังระบบ 1. ความส�ำคัญของปญั หา ปัจจุบันปัญหาผู้หลบหนีเขา้ เมอื งซ่ึงสว่ นใหญ่มาจากประเทศเพอ่ื นบ้านเปน็ ปัญหาสำ� คญั ทก่ี อ่ ให้เกิด ผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติในด้านต่าง ๆ อย่างกว้างขวางเน่ืองจากส่วนใหญ่ไม่สามารถกลับประเทศและ ตกค้างอยู่ในประเทศไทยน�ำมาซึ่งปัญหาความไม่ชัดเจนเกี่ยวกับสถานภาพตามกฎหมายและสิทธิของบุคคล ส่งผลกระทบต่อการด�ำรงชีวิตการถูกล่วงละเมิดสิทธิและปัญหาความม่ันคงต่างๆ โดยเฉพาะปัญหาด้านสังคม ในระยะยาวนอกจากน้ันยังมีส่วนหน่ึงที่เดินทางเข้ามาอย่างถูกต้องแต่อาศัยอยู่เกินก�ำหนดหรือไม่ยอมเดินทาง กลับไปรวมท้ังอีกส่วนหนึ่งท่ีพยายามลักลอบเข้าประเทศไทยเพื่อขายแรงงานโดยอาศัยช่องว่างของการอนุญาต เขา้ เมอื งจดุ ออ่ นในการสกดั กนั้ ผลกั ดนั และการตดิ ตามตวั บคุ คลของเจา้ หนา้ ทท่ี ำ� ใหบ้ างสว่ นตกเปน็ เหยอ่ื ขบวนการ ค้ามนุษย์และเช่ือมโยงไปถึงขบวนการอาชญากรรมข้ามชาติน�ำมาซ่ึงผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยช่ือเสียง เกียรติภูมิและความมั่นคงของประเทศผู้หลบหนีเข้าเมืองท่ีเป็นประเด็นปัญหาและผลกระทบต่อประเทศไทย ในปัจจุบันคาดว่ามจี �ำนวนไม่ต่�ำกว่า 3 ล้านคน แยกไดเ้ ปน็ 4 ประเภทใหญ่ ดังน้ี ประเภทที่ 1 ชนกลุ่มน้อย/กลุ่มชาติพันธุ์ท่ีคณะรัฐมนตรีมีมติในห้วงเวลาต่าง ๆ รับรองสถานะ ใหอ้ าศัยอยถู่ าวรในประเทศไทย ประกอบดว้ ย (1) กลุ่มท่ีอพยพเข้ามาและอาศัยอยู่มานานจำ� นวน 19 ชนกลมุ่ น้อย/ กลุ่มชาติพันธุ์ ซ่ึงได้รับการส�ำรวจและจัดท�ำทะเบียนประวัติตั้งแต่อดีตจนถึงปี 2542 (2) กลุ่มเด็กนักเรียน (3) บุคคลไร้รากเหง้าและ (4) ผู้ท�ำคุณประโยชน์ซึ่งได้รับการส�ำรวจจัดท�ำทะเบียนประวัติภายใต้ยุทธศาสตร์ การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลในช่วงปี 2550 - 2552 จ�ำนวนรวมท้ังหมด 5.6 แสนคนโดยคนกลุ่มนี้ จะได้รับสถานะเปน็ บุคคลตา่ งด้าวเขา้ เมืองโดยชอบด้วยกฎหมายกรณมี เี ชื้อสายไทยจะไดร้ บั การแปลงสัญชาตเิ ป็นไทย ส�ำหรับบุตรท่ีเกิดในประเทศไทยสามารถยื่นค�ำขอมีสัญชาติไทยตามท่ีกฎหมายก�ำหนดท้ังนี้ยังมีการส�ำรวจใหม่ ในช่วงปี 2552 - 2554 ตามมติคณะรัฐมนตรี 3 พฤศจิกายน 2552 อีกจ�ำนวนหนึ่ง ซึ่งกระทรวงมหาดไทย อยรู่ ะหวา่ งประมวลผลและจ�ำแนกกลุ่มเป้าหมาย ประเภทท่ี 2 ชนกลุ่มน้อย/กลุ่มชาติพันธุ์ท่ีคณะรัฐมนตรีผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราวและอยู่ระหว่าง การแก้ปัญหา ซ่ึงได้รับการส�ำรวจจัดท�ำทะเบียนประวัติในช่วงปี 2550 - 2552 ภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดการ ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลในฐานะกลุ่มที่อพยพเข้ามาและอาศัยอยู่มานานซึ่งไม่สามารถเดินทาง กลบั ประเทศตน้ ทางไดแ้ ละตกคา้ งอยใู่ นประเทศไทยจำ� นวน 1.2 แสนคน ปจั จบุ นั อยรู่ ะหวา่ งการตรวจสอบสถานะ ทีช่ ดั เจนและเพิกถอนสถานะบุคคลแอบแฝง ประเภทท่ี 3 กลุ่มที่มีประเด็นปัญหาและผลกระทบด้านความมั่นคงซึ่งมีนโยบายดูแลเป็นการเฉพาะ จำ� นวนประมาณ 2.1 ลา้ นคน กลมุ่ ใหญท่ สี่ ดุ คอื กลมุ่ แรงงานตา่ งดา้ วหลบหนเี ขา้ เมอื ง 3 สญั ชาติ (พมา่ ลาวและ กมั พชู า) โดยเปน็ ผทู้ ไ่ี ดร้ บั การจดทะเบยี นผอ่ นผนั ใหท้ ำ� งานในปี 2554 ประมาณ 1.9 ลา้ นคนและมแี รงงานลกั ลอบ อกี จำ� นวนหนง่ึ นอกจากนนั้ เปน็ ผหู้ นภี ยั การสรู้ บจากพมา่ ในพน้ื ทพ่ี กั พงิ 9 แหง่ บรเิ วณชายแดนไทย-พมา่ ประมาณ 1.2 แสนคน ผู้หลบหนีเขา้ เมอื งชาวโรฮงิ ญารวมทั้งผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวเกาหลเี หนอื อกี จำ� นวนหน่งึ 10
ประเภทที่ 4 กลุ่มผู้หลบหนีเข้าเมืองทั่วไป หมายถึง กลุ่มที่ลักลอบเข้าเมืองรายใหม่ ซึ่งจากผล การจับกุมส่งกลับบางปีมีจ�ำนวนถึง 2 - 3 แสนคน กลุ่มท่ีเข้าเมืองถูกต้องแต่อยู่อาศัยเกินก�ำหนดบางปี มีจ�ำนวนถึง 4 - 5 หม่ืนคน กลุ่มท่ีถือบัตรผ่านแดนซ่ึงอนุญาตให้เข้ามาเฉพาะพ้ืนที่ชายแดนแล้วไม่กลับออกไป รวมทั้งกลมุ่ ที่เดนิ ทางเข้าประเทศโดยการปลอมแปลงเอกสารเดนิ ทางหรอื ใช้หนังสือเดนิ ทางปลอม ประเด็นปญั หาผลกระทบทสี่ �ำคญั ดงั น้ี 1) ผลกระทบด้านบวก การที่ประเทศไทยจ้างแรงงานต่างด้าว ฯ ส่งผลให้เศรษฐกิจโดยรวมของ ประเทศขยายตัวมากข้ึนสามารถทดแทนแรงงานไทยท่ีขาดแคลนในบางประเภทกิจการโดยเฉพาะงานประเภท 3D (Dirty, Difficult, Dangerous) ซง่ึ คนไทยไมย่ อมทำ� เช่น งานในภาคอุตสาหกรรมประมงและอุตสาหกรรม ต่อเน่ืองประมง ซ่ึงต้องใช้แรงงานในการผลิตอย่างเข้มข้นหากมองผลดีด้านมูลค่าทางเศรษฐกิจจากข้อมูล สถาบันวจิ ยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย (TDRI) เมอื่ ปี 2546 พบว่าการจ้างแรงงานตา่ งด้าวประมาณ 4 แสนคน จะท�ำให้ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) เพม่ิ ขนึ้ ร้อยละ 0.64 2) ผลกระทบดา้ นลบ (1) ด้านสังคม ปัญหาใหญ่ท่ีสุด คือ ปัญหาสถานภาพตามกฎหมายและสิทธิขั้นพื้นฐาน เริ่มจากสภาพการเข้าเมืองที่ไม่ถูกต้องและไม่สามารถกลับประเทศต้นทางได้น�ำไปสู่ปัญหาสถานะบุคคล ของท้ังตัวเองและบุตรหลานที่เกิดข้ึนภายหลังการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะการถูกกดขี่ข่มเหง ขูดรีด การตกเป็นเหย่ือขบวนการค้ามนุษย์ และการเข้าไม่ถึงสิทธิมนุษยชนขั้นพ้ืนฐานท่ีรัฐจัดให้ปัญหาผลกระทบ ด้านสังคมรองลงมา คือ ปัญหาความไม่สงบเรียบร้อยในพื้นท่ี โดยเฉพาะจากผู้หลบหนีเข้าเมืองที่เป็นแรงงาน ต่างด้าว เนอื่ งจากมจี �ำนวนมากอาศยั อยู่อย่างแออัด บางแหง่ มกี ารรวมตวั เปน็ ชมุ ชนต่างดา้ วขนาดใหญ่นำ� มาซ่ึง ปัญหาอาชญากรรมปัญหาความไม่ไว้วางใจความขัดแย้งกับคนในพ้ืนที่นอกจากน้ันผู้หลบหนีเข้าเมืองที่เป็นผู้หนี ภัยจากการสู้รบจากพม่า ซ่ึงอยู่ในพ้ืนที่พักพิงช่ัวคราวบริเวณชายแดนมีพฤติกรรมลักลอบออกนอกพื้นที่พักพิง การรับจ้างตัดไม้ท�ำลายป่า ท�ำลายส่ิงแวดล้อม รวมทั้งยังมีปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติท่ีเกิดจากผู้หลบหนีเข้า เมืองประเภทอน่ื ๆ ในหลายพนื้ ท่ีโดยเฉพาะในพ้นื ท่ที ่องเทยี่ วส�ำคญั (2) ดา้ นเศรษฐกจิ เกดิ การพงึ่ พาการใชแ้ รงงานตา่ งดา้ วราคาถกู ทำ� ใหส้ ว่ นหนงึ่ สง่ ผลกระทบตอ่ การจา้ งแรงงานไทยและไมส่ ง่ เสรมิ ใหม้ กี ารพฒั นาฝมี อื ทกั ษะการทำ� งานรวมทง้ั ไมพ่ ยายามพฒั นาหรอื ใชเ้ ทคโนโลยี ทันสมัยในการผลิตกระทบต่อความเข้มแข็ง และขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศ ในระยะยาว นอกจากน้ันการใช้แรงงานต่างด้าวโดยขาดการควบคุมดูแลคุ้มครองอย่างเหมาะสม ยังอาจท�ำให้ ไทยถกู กดี กันทางการค้า จากการใช้แรงงานผิดกฎหมายและการละเมิดสทิ ธิมนุษยชน (3) ด้านสาธารณสุข ผู้หลบหนีเข้าเมืองเป็นภาระต่อภาครัฐในการรักษาพยาบาลตามหลัก มนุษยธรรม โดยเฉพาะอย่างย่ิงในพื้นที่ชายแดนท�ำให้กระทบต่อการดูแลรักษาคนไทยในพื้นที่ นอกจากนั้น ผู้หลบหนีเข้าเมืองที่เข้ามาเป็นแรงงานต่างด้าวบางส่วนน�ำโรคติดต่อเข้ามาในไทย และการท่ีแรงงานมักอยู่อาศัย อย่างแออัดผดิ สุขลกั ษณะ นำ� มาซึง่ ปญั หาสขุ อนามัยสาธารณสขุ และการคมุ ก�ำเนดิ 11
(4) ด้านการศึกษา จากนโยบายของรัฐท่ีเปิดโอกาสให้บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน หรือไม่มีสัญชาติสามารถเข้ารับการศึกษาได้จนจบการศึกษาภาคบังคับโดยรัฐจัดสรรงบประมาณอุดหนุน เป็นค่าใช้จ่ายรายหัวในอัตราเดียวกันกับท่ีจัดสรรให้กับเด็กไทย (มติคณะรัฐมนตรีเมื่อ 5 กรกฎาคม 2548) ท�ำให้เกิดปัญหาภาระค่าใช้จ่ายท่ีรัฐต้องจัดหาให้แก่เด็กท่ีไม่มีสัญชาติไทยในสถานศึกษาจ�ำนวน 6 หม่ืนคนเศษ (ส�ำรวจในช่วงปี 2549 - 2551) กระทบต่อทัศนคติของคนไทยในพื้นที่ท่ีไม่ต้องการให้ลูกหลานเข้าเรียน กบั เด็กตา่ งด้าว รวมทงั้ กระทบต่อคุณภาพในการเรยี นการสอนของสถานศึกษาโดยเฉพาะในพนื้ ที่ชายแดน (5) ดา้ นการเมอื งเกดิ ปญั หาการเรยี กรอ้ งขอมสี ถานะและสทิ ธิ ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ขององคก์ ร พัฒนาเอกชนนักวิชาการบางส่วนและองค์กรด้านสิทธิมนุษยชนสร้างความกดดันต่อภาครัฐ ปัญหาภาพลักษณ์ ทางลบด้านสิทธิมนุษยชนของไทยในประชาคมโลก เนื่องจากมีกลุ่มคนบางกลุ่มแสวงประโยชน์จากกลุ่มคน หลบหนเี ขา้ เมอื งเหลา่ นโี้ ดยเฉพาะขบวนการนำ� พาขบวนการคา้ มนษุ ยน์ ายจา้ งและเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ทล่ี ว่ งละเมดิ แรงงาน นอกจากนั้นการที่ถูกจ�ำกัดสิทธิบางประการ เช่น การเดินทาง เนื่องจากมีสถานะเป็นผู้หลบหนีเข้าเมืองมักเป็น ประเด็นที่องคก์ รดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนหยิบยกข้นึ โจมตีไทยในเวทปี ระชาคมระหวา่ งประเทศ (6) ปัญหาบริเวณชายแดนที่ส�ำคัญคือความหวาดระแวงของประเทศเพื่อนบ้าน จากการท่ีผู้หลบหนีเข้าเมืองท่ีพักพิงอยู่ในประเทศไทยบางส่วนเป็นกลุ่มต่อต้านหรือเป็นปฎิปักษ์ต่อรัฐบาลของ ประเทศเพื่อนบ้าน ได้ใช้ประเทศไทยเป็นฐานในการเคลื่อนไหวทางการเมือง รวมท้ังการเข้าไปปฏิบัติการ ในประเทศเพ่ือนบ้าน นอกจากน้ันการสู้รบระหว่างชนกลุ่มน้อยกับกองก�ำลังของประเทศเพื่อนบ้านที่เกิดข้ึน เปน็ ระยะกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาการรกุ ลำ้� อธปิ ไตยและความไมป่ ลอดภยั บรเิ วณชายแดน ทำ� ใหม้ ผี หู้ นภี ยั การสรู้ บอพยพ เข้ามาในประเทศไทยจำ� นวนมาก เปน็ ภาระทีไ่ ทยต้องดูแลควบคุมและมปี ญั หาในการสง่ กลบั กรอบแนวคดิ ในการก�ำหนดยทุ ธศาสตร์ พิจารณาก�ำหนดทิศทางมาตรการที่ชัดเจนในการป้องกันและแก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมือง ทุกกลุ่มของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องอย่างเป็นระบบสอดคล้องกับสถานการณ์ในห้วงเวลาโดยค�ำนึงถึง ผลประโยชน์แห่งชาติ ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งไทยกบั ประเทศเพอื่ นบา้ น ผลกระทบดา้ นความมนั่ คงตา่ ง ๆ รวมทงั้ การดแู ลสทิ ธมิ นษุ ยชน ซง่ึ สำ� นกั งานสภาความมน่ั คงแหง่ ชาตไิ ดน้ ำ� เสนอตอ่ ทปี่ ระชมุ สภาความมนั่ คงแหง่ ชาตเิ มอ่ื วนั ท่ี 17 สงิ หาคม 2552 มีนายกรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) ในขณะนั้นเป็นประธานพิจารณาให้ความเห็นชอบกรอบความคิด ยุทธศาสตรแ์ ก้ปญั หาผ้หู ลบหนีเข้าเมอื งทงั้ ระบบแล้ว ดงั นี้ 1) คำ� นงึ ถงึ ผลประโยชนแ์ หง่ ชาตภิ ายใตค้ วามสมดลุ ทงั้ ในดา้ นเศรษฐกจิ ความมน่ั คงและสทิ ธมิ นษุ ยชน 2) บรู ณาการทุกภาคสว่ นร่วมแก้ปัญหา 3) กระจายอ�ำนาจการบรหิ ารจดั การลงสู่ระดบั พน้ื ท่ีอยา่ งเหมาะสม 4) ด�ำเนนิ การทง้ั มาตรการเชิงรุกและเชงิ รับ 5) ป้องกนั การอพยพเข้ามาใหมอ่ ย่างเป็นระบบ 6) จดั ระบบฐานข้อมลู เพอื่ สนบั สนุนการแก้ปญั หา 12
3. วตั ถปุ ระสงค์ 1) เพ่อื บูรณาการการบรหิ ารจดั การปญั หาผู้หลบหนีเขา้ เมอื งท่ตี กค้างอยใู่ นประเทศไทย 2) เพอ่ื ลดระดบั ความรนุ แรงของปญั หา ลดผลกระทบดา้ นความมนั่ คงและเสรมิ สรา้ งประสทิ ธภิ าพ การป้องกนั การอพยพเขา้ มาใหม่ 4. กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายครอบคลุม 2 กลุ่มหลัก คือ กลุ่มที่อยู่ในประเทศไทยและกลุ่มที่ จะลักลอบเขา้ มาใหม่ 4.1 กลุ่มท่อี ยู่ในประเทศไทย 1) กลุ่มท่ีอาศัยอยู่มานานและมีปัญหาในการส่งกลับส่วนหนึ่งมีความกลมกลืนกับสังคมไทย และสว่ นหนง่ึ มีความเก่ียวข้องกับประเทศไทยในอดีต ไดแ้ ก่ ชนกล่มุ นอ้ ย/กลมุ่ ชาติพันธ์ุ จำ� นวน 19 กลุ่มรวมถงึ กลมุ่ ทม่ี คี วามเกย่ี วขอ้ งกบั 19 ชนกลมุ่ นอ้ ย/กลมุ่ ชาตพิ นั ธด์ุ งั กลา่ ว แตต่ กสำ� รวจและมปี ญั หาสถานะซง่ึ ยทุ ธศาสตร์ การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล (มติคณะรัฐมนตรี 18 มกราคม 2548) ก�ำหนดให้ส�ำรวจบุคคล เป้าหมายเฉพาะที่อพยพเข้ามาจนถึง 18 มกราคม 2538 เพื่อจัดท�ำทะเบียนประวัติแยกประเภทตาม ยุทธศาสตร์ ฯ และน�ำเขา้ สกู่ ระบวนการแกป้ ัญหาภายใต้ยทุ ธศาสตรฯ์ 2) กลมุ่ ทมี่ คี วามจ�ำเปน็ ตอ่ เศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ กลมุ่ แรงงานตา่ งดา้ วหลบหนเี ขา้ เมอื ง 3 สญั ชาติ (พม่า ลาว และกัมพูชา) 3) กลุ่มท่ีมีปัญหาความมั่นคงเฉพาะ เช่น ผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่า ผู้หลบหนีเข้าเมือง ชาวโรฮิงญาและชาวเกาหลเี หนือ เป็นต้น 4) ผู้หลบหนีเข้าเมืองอ่ืน ๆ ได้แก่ ผู้ที่เข้าเมืองถูกต้องแต่อยู่เกินก�ำหนดหรือไม่ยอมกลับ ออกไปรวมท้งั กลมุ่ ท่เี ดินทางเข้ามาโดยปลอมแปลงเอกสารเดนิ ทางหรอื ใชห้ นงั สือเดินทางปลอม 4.2 กล่มุ ทีจ่ ะลกั ลอบเขา้ มาใหม่ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ประชากรจากประเทศเพื่อนบ้านและประเทศ ใกล้เคียง รวมทั้งผู้ท่ีจะลักลอบเข้ามาเพื่อต้องการไปประเทศที่สาม และผู้ท่ีต้องการเข้ามาเพ่ือประกอบธุรกิจ ผดิ กฎหมายในประเทศไทย 5. กลไกบรหิ ารจดั การ กำ� หนดใหม้ อี งคก์ รบรหิ ารจดั การทช่ี ดั เจนทงั้ ระดบั ชาตแิ ละระดบั พนื้ ทที่ ส่ี ามารถ ขับเคลอื่ นและบรู ณาการการแกป้ ัญหาอยา่ งรวดเร็วมเี อกภาพ ดงั นี้ 5.1 กลไกระดบั ชาติ คอื คณะกรรมการอำ� นวยการบรหิ ารยทุ ธศาสตรแ์ กป้ ญั หาผหู้ ลบหนเี ขา้ เมอื ง ทั้งระบบมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานและมีส�ำนักงานเลขานุการคณะกรรมการอ�ำนวยการบริหารยุทธศาสตร์ แกป้ ญั หาผหู้ ลบหนเี ขา้ เมืองท้ังระบบมเี ลขาธกิ ารสภาความมนั่ คงแหง่ ชาตเิ ปน็ ผ้อู �ำนวยการสำ� นัก 5.2 กลไกระดับนโยบายและยุทธศาสตร์ ในรูปของคณะกรรมการบริหาร 5 คณะ ได้แก่ 1) คณะกรรมการบริหารการแกป้ ญั หาสถานะและสิทธขิ องบคุ คลมปี ลัดกระทรวงมหาดไทยเปน็ ประธาน อธบิ ดี กรมการปกครองเปน็ เลขานกุ าร 2) คณะกรรมการบรหิ ารฐานขอ้ มลู ผหู้ ลบหนเี ขา้ เมอื ง มปี ลดั กระทรวงมหาดไทย เป็นประธาน อธิบดีกรมการปกครองเป็นเลขานุการ 3) คณะกรรมการบริหารแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง 13
มปี ลดั กระทรวงแรงงานเปน็ ประธาน อธบิ ดกี รมการจดั หางาน เปน็ เลขานกุ าร 4) คณะกรรมการบรหิ ารการแกป้ ญั หา ผู้หลบหนีเข้าเมืองกลุ่มเฉพาะมีเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติเป็นประธาน รองเลขาธิการสภาความม่ันคง แห่งชาติเป็นเลขานุการ และ 5) คณะกรรมการบริหารฐานข้อมูลคนเข้าเมืองมีผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติเป็น ประธาน ผู้บัญชาการส�ำนกั งานตรวจคนเข้าเมอื งเปน็ เลขานกุ าร 5.3 กลไกระดบั ปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ ศนู ยป์ ระสานงานแกป้ ญั หาผหู้ ลบหนเี ขา้ เมอื งระดบั ภาค มกี องอำ� นวยการ รักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรรับผิดชอบ ศูนย์สารสนเทศผู้หลบหนีเข้าเมือง มีกระทรวงมหาดไทย รบั ผิดชอบ ศนู ยส์ ารสนเทศแรงงานตา่ งดา้ วมกี ระทรวงแรงงานรบั ผดิ ชอบ ศนู ย์สารสนเทศขอ้ มลู สขุ ภาพแรงงาน ต่างด้าวมีกระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบ และศูนย์สารสนเทศคนเข้าเมืองมีส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมือง รับผิดชอบ 5.4 กลไกการประสานการปฏิบัติและรายงานผล มีกองอ�ำนวยการรักษาความม่ันคงภายใน ราชอาณาจักรรับผิดชอบโดยมกี ารรายงานผลทุก 6 เดือน 6. สาระส�ำคัญของยุทธศาสตร์แก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองท้ังระบบ ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ย่อย รองรบั 4 ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยทุ ธศาสตร์การจัดการปญั หาผูห้ ลบหนเี ข้าเมอื งที่อยใู่ นประเทศไทย ครอบคลมุ กลมุ่ เปา้ หมาย 4 กลุ่มดังนี้ กลุ่มเป้าหมาย 1 ชนกลุ่มน้อยและกลุ่มชาติพันธุ์ที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่เป็นเวลานานและ กลบั ประเทศต้นทางไม่ได้ ประกอบด้วย 3 กลยทุ ธ์ดังน้ี กลยุทธ์ท่ี 1 การก�ำหนดสถานะกลุ่มเป้าหมายท่ีอาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็นเวลานานและมีชื่อ อยู่ในระบบทะเบยี นราษฎร ให้มีการเร่งรัดตรวจสอบกลุ่มเป้าหมายท่ีได้รับการส�ำรวจจัดท�ำทะเบียนประวัติและบัตรประจ�ำตัว จากทางราชการภายใตย้ ทุ ธศาสตรก์ ารจดั การปญั หาสถานะและสทิ ธขิ องบคุ คล (มตคิ ณะรฐั มนตรี เมอ่ื วนั ที่ 18 มกราคม 2548 , 20 กมุ ภาพนั ธ์ 2550 และ 3 พฤศจิกายน 2552) และคัดกรองบุคคลเพอ่ื ด�ำเนนิ การ ดงั น้ี 1) กลมุ่ เปา้ หมายทอ่ี พยพเขา้ มาจนถงึ วนั ท่ี 18 มกราคม 2538 ใหเ้ รง่ รดั พจิ ารณากำ� หนดสถานะ ภายใตห้ ลกั เกณฑก์ ารก�ำหนดสถานะ ซ่งึ คณะรัฐมนตรีเหน็ ชอบเมื่อ 7 ธันวาคม 2553 2) กลุ่มที่อพยพเข้ามาตั้งแต่ 19 มกราคม 2538 จนถึง 18 มกราคม 2548 หากมีหลักฐาน และผา่ นกระบวนการตรวจสอบชดั เจนวา่ ไมส่ ามารถกลบั ประเทศตน้ ทางไดแ้ ละอาศยั อยใู่ นประเทศไทยตดิ ตอ่ กนั 10 ปี นับจากวันที่ได้รับการจัดท�ำทะเบียนประวัติและบัตรประจ�ำตัว ฯ ให้ก�ำหนดสถานะเป็นบุคคลต่างด้าว เข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมายและบุตรที่เกิดในประเทศไทยสามารถยื่นค�ำขอมีสัญชาติไทยตามท่ีกฎหมาย ก�ำหนด 3) กลุ่มที่เข้ามาหลัง 18 มกราคม 2548 ให้ถือวา่ มีสถานะเป็นบุคคลต่างด้าวเข้าเมืองโดยมิชอบ ด้วยกฎหมายที่ต้องด�ำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง ท้ังนี้ ให้มีการประสานประเทศต้นทางอย่างต่อเน่ือง เพือ่ รับกลบั 14
กลยุทธ์ท่ี 2 การก�ำหนดสิทธิข้ันพ้ืนฐานของกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณา ก�ำหนดสถานะของทางราชการ 1) สทิ ธดิ า้ นการศกึ ษา ใหเ้ ปน็ ไปตามมตคิ ณะรฐั มนตรี 5 กรกฎาคม 2548 รวมทง้ั พจิ ารณาใหอ้ งคก์ ร ปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทยเขา้ มีส่วนรว่ ม 2) สิทธิด้านสาธารณสุข พิจารณาก�ำหนดระบบประกันสุขภาพท่ีเหมาะสมโดยกลุ่มเป้าหมาย มสี ่วนรว่ มรับผิดชอบ 3) สทิ ธดิ า้ นการประกอบอาชพี ใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั กิ ารทำ� งานของคนตา่ งดา้ ว พ.ศ. 2551 4) สิทธิในการเดินทาง พิจารณาก�ำหนดพื้นที่ควบคุมเป็นระดับจังหวัดการก�ำหนดพ้ืนท่ีและ การเดนิ ทางออกนอกพนื้ ทใ่ี ห้เป็นไปตามประกาศกระทรวงมหาดไทย 5) สทิ ธิอืน่ ๆ อาทิ สิทธิในการครอบครองสังหาริมทรัพยใ์ หเ้ ป็นไปตามกฎหมาย กลยทุ ธท์ ี่ 3 การทบทวนปรบั ปรงุ พฒั นาก�ำหนดกฎหมาย กฎ ระเบยี บและหลกั เกณฑท์ เี่ กยี่ วขอ้ ง กบั การก�ำหนดสถานะและสทิ ธิ 1) ทบทวนปรบั ปรงุ และพฒั นากฎหมายทม่ี อี ยเู่ พอ่ื ขจดั ปญั หาอปุ สรรคหรอื การขดั กนั ของกฎระเบยี บ และหลักเกณฑ์ 2) ทบทวนปรบั ปรงุ กฎระเบยี บและหลกั เกณฑก์ ระบวนการในการพสิ จู นต์ วั บคุ คลการจดั ทำ� ทะเบยี น ประวัติการออกบัตรแสดงตนและการบันทึกข้อมูลในระบบทะเบียนราษฎรและซักซ้อมความเข้าใจเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนอื่ งเพ่ือความชดั เจนและลดการใชด้ ุลยพินจิ ของเจ้าหน้าท่ี 3) พิจารณาปรับปรุงหรือทบทวนหลักเกณฑ์ในการพิจารณาก�ำหนดสถานะให้เหมาะสมสอดคล้อง กับสถานการณ์ที่เกย่ี วขอ้ ง กลมุ่ เปา้ หมาย 2 แรงงานตา่ งดา้ วหลบหนเี ขา้ เมอื ง 3 สญั ชาติ (พมา่ ลาว และกมั พชู า) ประกอบดว้ ย 4 กลยทุ ธ์ กลยทุ ธ์ท่ี 1 การปรบั นโยบายด้านแรงงานตา่ งดา้ วหลบหนเี ขา้ เมอื ง 3 สญั ชาติ (พมา่ ลาว กมั พูชา) 1) นโยบายการจา้ งแรงงานตา่ งดา้ วหลบหนเี ขา้ เมอื ง 3 สญั ชาตคิ วรเปน็ มาตรการระยะสน้ั เฉพาะกจิ การทจ่ี ำ� เปน็ ทางเศรษฐกจิ ไมก่ ระทบตอ่ การจา้ งแรงงานไทยและสอดคลอ้ งกบั การสรา้ งสมดลุ ระหวา่ งผลประโยชน์ ทางเศรษฐกจิ และการรกั ษาความมนั่ คงของชาติ รวมทงั้ การดแู ลสทิ ธมิ นษุ ยชนใหเ้ ปน็ ไปตามกรอบมาตรฐานสากล 2) นโยบายการจา้ งแรงงานตา่ งดา้ วหลบหนเี ขา้ เมอื ง 3 สญั ชาตคิ วรดำ� เนนิ การควบคไู่ ปกบั การปรบั โครงสร้างการผลิตท่ีสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของโครงสร้างประชากรและการผลิตแรงงานที่ตรงกับ ความต้องการของตลาดแรงงานในประเทศเพื่อยกระดับฐานการผลิตให้มีผลิตภาพสูงข้ึน (Productivity) และ ลดการพง่ึ พงิ ฐานการผลติ และอตุ สาหกรรมทมี่ ลี กั ษณะ 3D ทใ่ี ชแ้ รงงานไรฝ้ มี อื อยา่ งเขม้ ขน้ (Intensive labour) 3) ส่งเสริมการพัฒนาทักษะแรงงานการฝึกอบรมเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพแรงงานไทยควบคู่กับ การส่งเสริมวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีทดแทนแรงงานต่างด้าวอย่างเหมาะสมเพ่ือลดการพ่ึงพาแรงงาน ตา่ งดา้ วในระยะยาวโดยผ้ปู ระกอบการมสี ่วนรว่ ม 15
4) ให้มีการศึกษาวิจัยทางวิชาการเก่ียวกับความต้องการแรงงานต่างด้าวท่ีชัดเจน เพ่ือน�ำไปสู่ การก�ำหนด ทิศทางการก�ำหนดนโยบายการจ้างแรงงานต่างด้าวในภาคเศรษฐกิจอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับ ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร และโครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศ ในระยะยาว กลยุทธท์ ี่ 2 การจัดระเบียบแรงงานตา่ งดา้ วหลบหนีเข้าเมือง 3 สัญชาติเพ่ือการจ้างงานอย่าง ถกู กฎหมาย 1) การจดั ระเบยี บแรงงานตา่ งดา้ วหลบหนเี ขา้ เมอื ง 3 สญั ชาตคิ รอบคลมุ เฉพาะบคุ คลทเี่ ปน็ แรงงาน ต่างด้าวและบุตรของแรงงานดังกล่าวท่ีอายุไม่เกิน 15 ปี ซ่ึงได้รับการจดทะเบียนล่าสุดตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวนั ที่ 26 เมษายน 2554 ภายใต้หลักเกณฑแ์ ละกฎหมายทเี่ กี่ยวข้อง 2) เพิ่มประสิทธิภาพการพิสูจน์สัญชาติแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง 3 สัญชาติเพื่อปรับ สถานภาพให้เป็นแรงงานท่ีถูกต้องตามกฎหมายให้แล้วเสร็จในเวลาท่ีคณะรัฐมนตรีก�ำหนดโดยปรับปรุง กระบวนการพสิ จู นส์ ญั ชาติให้เกดิ ความรวดเร็วและมีคา่ ใชจ้ า่ ยทีเ่ หมาะสมรวมทัง้ พิจารณาสนับสนนุ ให้มกี ารเพมิ่ จุดพสิ จู นส์ ญั ชาตใิ นไทยใหม้ ากขึ้น 3) หารือกับประเทศต้นทางในการทบทวนบันทึกความเข้าใจว่าด้วยการจ้างงานระหว่างรัฐบาล ไทย-พม่าไทย-ลาวและไทย - กัมพูชา (MOU) รวมถึงข้อตกลงท่ีเกี่ยวข้องกับการพิสูจน์สัญชาติและการน�ำเข้า แรงงานเพอ่ื ขจดั ปญั หาอปุ สรรคในการนำ� แรงงานเขา้ สรู่ ะบบการจา้ งงานทถี่ กู ตอ้ งและการนำ� เขา้ แรงงานตาม MOU รวมท้ังเร่งรัดความร่วมมือในการจัดระบบแรงงานมาเช้า - กลับเย็น และแรงงานตามฤดูกาลให้เป็นไปตาม มาตรา 14 แหง่ พระราชบญั ญตั ิการท�ำงานของคนตา่ งด้าว พ.ศ. 2551 4) หารือประเทศต้นทางในการพิจารณาขยายเวลาการอนุญาตท�ำงานให้แรงงานต่างด้าวที่ผ่าน การพิสูจน์สัญชาติและแรงงานท่ีน�ำเข้าอย่างเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจของประเทศและ ไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ความมน่ั คง เชน่ อาจพจิ ารณาขยายเวลาการอนญุ าตทำ� งานใหแ้ รงงานตา่ งดา้ วทผ่ี า่ นการพสิ จู น์ สัญชาติเป็น 3 ปี ต่อได้อีก 2 ครั้งครั้งละ 1 ปี เป็นต้น แต่ทั้งน้ีแรงงานต่างด้าวจะต้องกลับประเทศต้นทาง อย่างนอ้ ย 1 เดือนจงึ จะสามารถกลบั มาท�ำงานได้ใหมเ่ พ่ือป้องกันการตงั้ รกรากในประเทศไทย 5) พิจารณาให้มีการแลกเปล่ียนแรงงานประเภทเดียวกันในสาขาท่ีมีความขาดแคลนอย่างแท้จริง ได้แก่ สาขาก่อสร้างและสาขาประมง เพ่ือให้แรงงานสามารถเคล่ือนย้ายเข้าท�ำงานในแหล่งหรือบริษัทอื่น ในสาขาเดยี วกนั ทม่ี คี วามตอ้ งการแรงงานไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบโดยมมี าตรการควบคมุ ทรี่ ดั กมุ ตามระเบยี บทกี่ ำ� หนด 6) ควบคุมให้นายจ้างต้องท�ำสัญญาจ้างแรงงานต่างด้าวซ่ึงก�ำหนดระยะเวลาการจ้างงานอัตรา ค่าจ้างและการให้สวัสดิการแก่แรงงานต่างด้าวอย่างชัดเจนและให้นายจ้างรับผิดชอบจัดหาท่ีอยู่อาศัยให้กับ แรงงานต่างดา้ วและแจ้งเจ้าหน้าทที่ ราบตามกฎหมายเพ่ือการตรวจสอบและคมุ้ ครองดูแล 7) พจิ ารณากำ� หนดแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการจดั หาแรงงานเพอื่ ปอ้ งกนั ปญั หาการละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน และการค้ามนุษย์ การควบคุมและจัดระเบียบแรงงานประมงที่สอดคล้องกับลักษณะของงานเป็นการเฉพาะ โดยให้ผปู้ ระกอบการร่วมรับผดิ ชอบ 16
8) แรงงานต่างด้าวที่ไม่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติในคร้ังแรก เน่ืองจากกรอกข้อมูลไม่ถูกต้องให้เจรจา กับประเทศต้นทางให้พิสูจน์สัญชาติอีกคร้ัง ในระหว่างน้ันแรงงานดังกล่าวรวมท้ังกลุ่มท่ีอยู่ระหว่างกระบวนการ พิสูจน์สัญชาติให้ถือว่ามีสถานะเป็นผู้หลบหนีเข้าเมืองท่ีได้รับการผ่อนผันให้อยู่ช่ัวคราวเพ่ือท�ำงานได้จนถึง ระยะเวลาที่กำ� หนด สว่ นกล่มุ ทีส่ ุดทา้ ยแลว้ ไม่ผา่ นการพสิ จู น์สญั ชาติใหด้ �ำเนนิ การสง่ กลบั ตามกฎหมาย 9) แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองจดทะเบียนที่ไม่ย่ืนขอพิสูจน์สัญชาติหรือไม่ไปพิสูจน์สัญชาติ ให้ด�ำเนินการผลักดันและส่งกลับตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองโดยไม่ใช้ความรุนแรงโดยมีระบบการส่งกลับ ท่ีชัดเจนและโปร่งใสบนพ้ืนฐานความปลอดภัยและค�ำนึงถึงศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิมนุษยชนของ แรงงาน กลยทุ ธ์ท่ี 3 การคุ้มครองสิทธิข้ันพ้ืนฐานของแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง 3 สัญชาติ ในระบบผอ่ นผัน 1) สิทธิด้านการศึกษา ให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี 5 กรกฎาคม 2548 รวมท้ังให้พิจารณา ให้องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ กระทรวงมหาดไทยเขา้ มสี ว่ นร่วม 2) สิทธิด้านการสาธารณสุข ให้เป็นไปตามระบบประกันสุขภาพท่ีก�ำหนด ทั้งนี้ อาจก�ำหนด ให้แรงงานซอื้ บัตรประกันสขุ ภาพใหแ้ กบ่ ตุ รตามเง่ือนไขที่กระทรวงสาธารณสุขกำ� หนด 3) สิทธิในการเดินทาง พิจารณาก�ำหนดพ้ืนที่ควบคุมเป็นระดับจังหวัดการก�ำหนดพ้ืนที่และ การเดินทางออกนอกพื้นทใ่ี ห้เปน็ ไปตามประกาศกระทรวงมหาดไทย 4) สทิ ธิอื่น ๆ อาทิ สทิ ธใิ นการครอบครองสงั หารมิ ทรัพยใ์ ห้เปน็ ไปตามกฎหมาย 5) กรณีท่ีพิสูจน์ได้ว่าแรงงานต่างด้าวเป็นผู้เสียหายจากการกระท�ำผิดฐานค้ามนุษย์ให้ด�ำเนินการ ตามพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ พ.ศ. 2551 กลยุทธท์ ี่ 4 การใชก้ ระบวนการชมุ ชนและทุกภาคสว่ นท่เี กีย่ วขอ้ งสนบั สนนุ การแก้ปัญหา 1) ส่งเสริมให้แรงงานต่างด้าวร่วมมือกับชุมชนไทยในการจัดระเบียบและดูแลชุมชนร่วมกัน เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของชุมชนการดูแลทรัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดล้อมและการรักษา ความมั่นคง 2) เสริมสร้างจิตส�ำนึกทัศนคติท่ีดีและความรับผิดชอบของแรงงานต่างด้าวต่อชุมชนสังคมไทย และประเทศไทยเพอื่ ไมใ่ ห้เกดิ ผลกระทบในเชิงสงั คมจิตวทิ ยาและสามารถอย่รู ่วมกบั สงั คมได้อยา่ งปกติสขุ 3) ประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเข้าใจต่อสาธารณชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงต่อชุมชนนายจ้าง และผู้ประกอบการในพื้นที่ให้ตระหนักถึงภัยและผลกระทบท่ีเกิดจากปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองและการจ้าง แรงงานผิดกฎหมาย เพ่ือสร้างจิตส�ำนึกสาธารณะในการสอดส่องเฝ้าระวัง และรับผิดชอบแก้ปัญหาร่วมกับ ภาครฐั 4) นายจ้าง/ผู้ประกอบการแรงงานท่ีฝ่าฝืนกฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ท่ีก�ำหนดในการจ้างแรงงาน ตา่ งดา้ วรวมทั้งเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั ทที่ ุจรติ ประพฤติมชิ อบให้ได้รับโทษอยา่ งเฉยี บขาดจริงจัง 17
กลุ่มเป้าหมาย 3 กลุ่มที่มีนโยบายเฉพาะ อาทิ ผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่าผู้หลบหนีเข้าเมือง ชาวโรฮิงญา ชาวเกาหลีเหนอื ประกอบด้วย 2 กลยทุ ธ์ กลยทุ ธ์ที่ 1 การควบคุมทวั่ ไป 1) ผอ่ นปรนสถานภาพบคุ คลเหลา่ นใ้ี หเ้ ปน็ ผทู้ ไี่ ดร้ บั การผอ่ นผนั ใหอ้ ยชู่ ว่ั คราวตามหลกั มนษุ ยธรรม เพือ่ รอการเดนิ ทางกลบั หรือไปประเทศที่สามแล้วแต่กรณี 2) ปรับปรุงฐานข้อมูลผู้หลบหนีเข้าเมืองทุกกลุ่มที่มีนโยบายดูแลเป็นการเฉพาะให้มีความถูกต้อง เปน็ ปจั จบุ นั และสามารถเชอื่ มโยงกบั ระบบฐานขอ้ มูลอนื่ ๆ 3) ก�ำหนดมาตรการลงโทษต่อผู้ที่เคลื่อนไหว ซึ่งสร้างผลกระทบต่อประเทศไทยและความสัมพันธ์ กบั ประเทศเพ่อื นบา้ นรวมถงึ สง่ ผลต่อภาพลกั ษณ์ของไทยต่อประชาคมโลก 4) ให้สทิ ธขิ น้ั พื้นฐานดา้ นการรกั ษาพยาบาลและการศกึ ษาตามหลักมนุษยธรรม 5) สรา้ งความเข้าใจกับภาคสว่ นทเี่ กยี่ วขอ้ งอยา่ งชดั เจนเกีย่ วกบั ผลกระทบที่ไทยได้รบั และนโยบาย ของไทยไมม่ ีการเพิ่มพืน้ ที่รองรับผู้หนภี ยั การสรู้ บและผ้หู ลบหนีเขา้ เมอื งอนื่ ๆ อกี 6) พิจารณาเจรจากับประเทศต้นทางและประเทศทางผ่านในระดับทวิภาคีและพหุภาคี เพื่อปอ้ งปราม และสกัดกน้ั การเดนิ ทางเข้าสปู่ ระเทศไทย 7) เจรจากบั องคก์ รพฒั นาเอกชนตา่ งประเทศและองคก์ รระหวา่ งประเทศเพอื่ รว่ มมอื ในการฝกึ อาชพี รองรับการเดนิ ทางกลบั ประเทศ การสง่ ไปประเทศทสี่ ามและการส่งกลบั อยา่ งปลอดภยั กลยทุ ธ์ท่ี 2 การควบคุมเป็นการเฉพาะ 1) มาตรการตอ่ ผูห้ นีภยั การสูร้ บจากพม่า (1) ใช้กลไกประชาคมอาเซียนและองค์กรระหว่างประเทศผลักดันให้มีการจัดตั้งศูนย์พักพิง ชว่ั คราวในเขตพมา่ และเจรจากับพม่าให้รับผู้หนภี ัยการสรู้ บกลบั ประเทศ โดยมีหลักประกันความปลอดภัย ท้ังน้ี เพื่อให้เป็นไปตามหลักการไม่ผลักดัน (Non-refoulement) การให้ความดูแลด้านมนุษยธรรม และการเคารพ ในศักดิศ์ รีความเปน็ มนุษยต์ ามหลักสากล (2) ส่งเสริมและสนับสนุนการเดินทางกลับถ่ินฐานเดิมหรือการไปต้ังถ่ินฐานในประเทศที่สาม โดยสมัครใจ โดยประสานองค์กรระหว่างประเทศทเ่ี กีย่ วขอ้ งเพ่อื ช่วยเหลือด�ำเนินการ (3) สง่ เสรมิ การฝกึ ทกั ษะวชิ าชพี เพอื่ รองรบั การทำ� งานเมอื่ เดนิ ทางกลบั ถนิ่ ฐานหรอื ไปตง้ั ถนิ่ ฐาน ในประเทศที่สามและพิจารณาอนุญาตให้ทำ� งานไดใ้ นพื้นที่พกั พงิ ตามทีก่ ำ� หนด (4) อนุญาตให้จัดการศึกษาได้ในพ้ืนที่พักพิงตามมติคณะรัฐมนตรี 5 กรกฎาคม 2548 ภายใต้ การควบคมุ ดูแลของทางการ 2) มาตรการต่อผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวโรฮงิ ญาและชาวเกาหลีเหนือ (1) เพิม่ ความเข้มข้นในการสกดั กน้ั และป้องกนั การหลบหนีเขา้ เมืองเปน็ พเิ ศษ (2) ให้มีระบบการตรวจสอบและติดตามการเคลื่อนไหวที่จะมีผลกระทบต่อความมั่นคง และปัญหาความสมั พันธ์ระหวา่ งประเทศอย่างใกล้ชิด (3) ประสานทำ� ความเขา้ ใจกบั ประเทศทเ่ี กย่ี วขอ้ งและองคก์ รระหวา่ งประเทศเกยี่ วกบั การดำ� เนนิ การ ของฝา่ ยไทยเพ่ือไมใ่ หเ้ กดิ ภาพลักษณท์ างลบต่อประเดน็ ปัญหาสทิ ธมิ นุษยชน 18
กลมุ่ เปา้ หมาย 4 กลมุ่ ผหู้ ลบหนเี ขา้ เมอื งอน่ื ๆ นอกเหนอื จากกลมุ่ เปา้ หมายตามยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 (กลุ่มเป้าหมาย 1 - 3) ประกอบด้วย 3 มาตรการ 1) ดำ� เนนิ การตามกฎหมายวา่ ดว้ ยคนเขา้ เมอื งตอ่ ผหู้ ลบหนเี ขา้ เมอื งผใู้ หท้ พี่ กั พงิ และขบวนการนำ� พา รวมทง้ั เจา้ หน้าทีท่ ีท่ จุ รติ อยา่ งเด็ดขาดจรงิ จัง 2) พฒั นาและเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบสารสนเทศการตรวจคนเขา้ เมอื งใหท้ นั สมยั และเชอื่ มโยงขอ้ มลู สารสนเทศระหว่างส่วนราชการไทยท่ีเก่ียวข้องท้ังภายในประเทศและภายนอกประเทศ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ ในการตรวจสอบติดตามบุคคลต่างดา้ วทีเ่ ดินทางเข้า-ออกและพำ� นักในประเทศไทย 3) ติดตามและเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดส�ำหรับบุคคลจากประเทศท่ีสามท่ีขอรับการตรวจลงตรา เพอื่ เขา้ ประเทศไทยโดยเฉพาะจากประเทศเพอื่ นบา้ นประเทศรอบบา้ นและประเทศในกลมุ่ แอฟรกิ า ซงึ่ อาจขอรบั การตรวจลงตราผิดประเภทหรืออาจอยู่ต่อในประเทศไทยอย่างผิดกฎหมายที่เคยมีฐานข้อมูลการเข้าเมือง อยา่ งถูกตอ้ งแต่ลกั ลอบอย่ตู ่อและมีพฤติการณท์ ี่เปน็ ภัยตอ่ ความสงบเรียบรอ้ ยของประเทศ ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ยทุ ธศาสตรก์ ารป้องกันการลกั ลอบหลบหนีเขา้ มาใหม่ กลุม่ เปา้ หมายกลมุ่ ท่จี ะลกั ลอบเขา้ มาใหม่ ประกอบด้วย 7 มาตรการ 1) เพม่ิ ความเขม้ งวดในการปอ้ งกนั และสกดั กนั้ การลกั ลอบเขา้ เมอื งอยา่ งจรงิ จงั และตอ่ เนอ่ื งพฒั นา ระบบสารสนเทศการตรวจคนเข้าเมืองให้ทันสมัยเชื่อมโยงทุกด่าน และสามารถติดตามตรวจสอบตัวบุคคลและ การเดนิ ทางไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 2) บังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังกับผู้หลบหนีเข้าเมืองที่ลักลอบเข้ามาใหม่นายจ้างผู้ประกอบการ ผู้ใหท้ พ่ี ักพิงรวมท้งั ขบวนการนำ� พาขบวนการค้ามนษุ ย์และเจา้ หนา้ ที่ทีม่ ีสว่ นเกีย่ วข้อง 3) พิจารณาทบทวนและปรับปรุงกฎหมายให้มีบทลงโทษท่ีชัดเจนทันสมัยเพ่ือเป็นการป้องกัน และป้องปรามการกระท�ำผิดและลดการใชด้ ลุ ยพินจิ ของเจ้าหน้าท่ี 4) เผยแพร่ความรู้เก่ียวกับกฎหมายท่ีเก่ียวข้องต่อทุกภาคส่วนโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อเจ้าหน้าท่ีรัฐ ที่เก่ยี วข้อง 5) จัดท�ำแนวทางในการจัดเก็บข้อมูลประวัติบุคคลพร้อมลายพิมพ์นิ้วมือและรูปถ่ายของผู้หลบหนี เข้าเมือง (ข้อมูลชีวภาพ) เพ่ือตรวจสอบการกลับเข้ามาใหม่และด�ำเนินการตามกฎหมายโดยให้สามารถ แลกเปลี่ยนเชื่อมโยงฐานข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ท้ังน้ี รวมถึงการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ตามหว้ งเวลา 6) พัฒนาระบบการเข้า - ออกบริเวณชายแดนโดยเฉพาะการใช้บัตรผ่านแดน (Border pass) หรือเอกสารผ่านแดนอ่ืน ๆ เพ่ือให้สามารถติดตามตรวจสอบตัวบุคคลและตรวจสอบการเดินทางกลับได้อย่าง ชดั เจน 7) ส่งเสริมและสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนและภาคประชาสังคมในพื้นที่ชายแดนและชายฝั่งทะเล ในการรว่ มมอื กับภาครัฐเพือ่ ป้องกันและสกัดกัน้ การลกั ลอบเข้าเมอื ง 19
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความร่วมมือกับประเทศเพ่ือนบ้านเพื่อป้องกันและ แก้ปญั หาผหู้ ลบหนเี ขา้ เมอื ง ประกอบดว้ ย 5 มาตรการ 1) ประสานความร่วมมือกับประเทศเพ่ือนบ้านในการใช้กลไกระดับภูมิภาคท้ังระดับพหุภาคี และระดับทวิภาคีในระดับชาติและระดบั ทอ้ งถ่นิ ที่มีอยเู่ พ่อื ป้องกนั และแกป้ ญั หาผ้หู ลบหนีเขา้ เมอื ง 2) ส่งเสริมความสัมพันธ์ความร่วมมือด้านการข่าวและการประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่ระดับท้องถ่ิน ในการป้องกนั และแก้ปัญหาผหู้ ลบหนเี ข้าเมือง 3) ส่งเสริมความร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและทรัพยากรมนุษย์ของประเทศเพื่อนบ้าน อย่างต่อเนื่องเพ่ือให้ประชากรของประเทศเพื่อนบ้านด�ำรงชีวิตอยู่ได้ในถิ่นก�ำเนิดโดยไม่จ�ำเป็นต้องอพยพเข้ามา ในประเทศไทย 4) ร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศ ประชาคมอาเซียน และประชาคมโลก ให้ความช่วยเหลือ ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ประชากรและสภาพแวดลอ้ มในประเทศตน้ ทางอยา่ งเหมาะสมเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาแรงงาน ยา้ ยถน่ิ และปอ้ งกนั การโยกยา้ ยถิน่ ฐานท่ีไม่ปกติเข้ามาในประเทศไทย 5) ช้ีแจงและสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องชัดเจนแก่ประเทศเพ่ือนบา้ น ประชาคมอาเซียน ประชาคม ระหว่างประเทศ และองค์กรพัฒนาเอกชนทั้งในและต่างประเทศเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก ผู้หลบหนีเข้าเมืองรวมถึงการด�ำเนินการของประเทศไทยเพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบในเชิงลบต่อภาพลักษณ์ ด้านสทิ ธมิ นษุ ยชนของประเทศไทย ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ยทุ ธศาสตร์การบริหารจดั การ ดำ� เนนิ การในระยะเร่งดว่ นและระยะตอ่ ไป ดังนี้ ระยะเรง่ ดว่ น 1) ใหจ้ ดั ตง้ั คณะกรรมการระดบั ชาตภิ ายใตส้ ภาความมนั่ คงแหง่ ชาตเิ รยี กวา่ “คณะกรรมการอ�ำนวยการ บริหารยทุ ธศาสตรแ์ ก้ปญั หาผหู้ ลบหนเี ข้าเมอื งทั้งระบบ” เรยี กชือ่ ย่อวา่ กอ.ปร. มีนายกรัฐมนตรเี ป็นประธาน เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติเป็นเลขานุการ ท�ำหน้าท่ีก�ำหนดนโยบายมาตรการแนวทางและอ�ำนวยการ ก�ำกับดูแลการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์รวมท้ังรายงานผลการด�ำเนินงานต่อสภาความมั่นคงแห่งชาติ และคณะรฐั มนตรี 2) ใหจ้ ดั ตงั้ ส�ำนกั งานเลขานกุ ารคณะกรรมการอ�ำนวยการบรหิ ารยทุ ธศาสตรแ์ กป้ ญั หาผหู้ ลบหนี เข้าเมืองท้ังระบบ เรียกช่ือย่อว่า สอ.ปร. มีเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติเป็นผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน และผแู้ ทนจากสว่ นราชการทเ่ี กยี่ วขอ้ งรว่ มปฏบิ ตั งิ านทำ� หนา้ ทชี่ ว่ ยเหลอื และสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของ กอ.ปร. 3) ให้จัดตั้งคณะกรรมการสนับสนุนและช่วยเหลือการปฏิบัติงานของ กอ.ปร. และประสาน การปฏบิ ตั กิ ับหน่วยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ งรวม 5 คณะ คือ (1) คณะกรรมการบรหิ ารการแกป้ ญั หาสถานะและสทิ ธขิ องบคุ คล มปี ลดั กระทรวงมหาดไทย เป็นประธาน อธิบดีกรมการปกครองเป็นเลขานุการ ท�ำหน้าที่เสนอแนะนโยบายยุทธศาสตร์มาตรการ การแก้ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลต่อ กอ.ปร. รวมท้ังพิจารณากล่ันกรองแผนงานงบประมาณตลอดจน อำ� นวยการให้มกี ารปฏบิ ตั ติ ามนโยบาย/ยุทธศาสตร์ของสว่ นราชการท่เี กย่ี วขอ้ ง 20
(2) คณะกรรมการบรหิ ารฐานขอ้ มลู ผหู้ ลบหนเี ขา้ เมอื ง มปี ลดั กระทรวงมหาดไทย เปน็ ประธาน อธิบดีกรมการปกครองเป็นเลขานุการ ท�ำหน้าท่ีพิจารณาเสนอแนะนโยบายยุทธศาสตร์และแนวทาง การบริหารจัดการในการจัดท�ำระบบฐานข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง พร้อมทั้งอ�ำนวยการก�ำกับดูแลการเชื่อมโยงข้อมูล จากสว่ นราชการทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ศนู ยส์ ารสนเทศผหู้ ลบหนเี ขา้ เมอื งศนู ยส์ ารสนเทศแรงงานตา่ งดา้ วศนู ยส์ ารสนเทศ ขอ้ มลู สขุ ภาพแรงงานตา่ งดา้ วและศนู ยป์ ระสานงานแกป้ ญั หาผหู้ ลบหนเี ขา้ เมอื งระดบั กองอำ� นวยการ รกั ษาความ มั่นคงภายในภาค (3) คณะกรรมการบรหิ ารแรงงานตา่ งดา้ วหลบหนเี ขา้ เมอื ง มปี ลดั กระทรวงแรงงาน เปน็ ประธาน อธิบดีกรมการจัดหางานเป็นเลขานุการ ท�ำหน้าท่ีพิจารณาเสนอแนะนโยบายยุทธศาสตร์แนวทางและมาตรการ ในการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองต่อ กอ.ปร. รวมทั้งประสานงานกับ สว่ นราชการท่ีเกยี่ วขอ้ งเพ่อื ขบั เคล่อื นการแก้ปญั หาภายใต้ยุทธศาสตรท์ ่กี �ำหนด (4) คณะกรรมการบรหิ ารการแกป้ ญั หาผหู้ ลบหนเี ขา้ เมอื งกลมุ่ เฉพาะ มเี ลขาธกิ ารสภาความมนั่ คง แห่งชาติเป็นประธาน รองเลขาธิการสภาความม่ันคงแห่งชาติท่ีได้รับมอบหมายเป็นเลขานุการ ท�ำหน้าที่เสนอแนะ นโยบายยทุ ธศาสตร์มาตรการการแก้ปญั หาผหู้ ลบหนีเข้าเมอื งกลุม่ เฉพาะต่อ กอ.ปร. รวมทั้งพิจารณากลน่ั กรอง แผนงานงบประมาณตลอดจนอ�ำนวยการและประสานงานกับส่วนราชการและภาคส่วนอืน่ ๆ ท่เี กย่ี วข้อง (5) คณะกรรมการบริหารฐานข้อมูลคนเข้าเมือง มีผู้บัญชาการต�ำรวจแห่งชาติเป็นประธาน ผู้บัญชาการส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมืองเป็นเลขานุการ ท�ำหน้าที่พิจารณาเสนอแนะนโยบายยุทธศาสตร์และ แนวทางการบริหารจัดการในการจัดท�ำระบบฐานข้อมูลคนเข้าเมืองให้เป็นปัจจุบัน พร้อมทั้งอ�ำนวยการประสานงาน ก�ำกับดูแลการเช่ือมโยงข้อมูลจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับศูนย์สารสนเทศผู้หลบหนีเข้าเมืองศูนย์สารสนเทศ แรงงานตา่ งดา้ วศนู ยส์ ารสนเทศขอ้ มลู สขุ ภาพแรงงานตา่ งดา้ ว และศนู ยป์ ระสานงานแกป้ ญั หาผหู้ ลบหนเี ขา้ เมอื ง ระดบั กองอ�ำนวยการรักษาความม่ันคงภายในภาค 4) ใหก้ องอำ� นวยการรกั ษาความมน่ั คงภายในราชอาณาจกั ร (กอ.รมน.) เปน็ หนว่ ยงานหลกั ในการประสาน การปฏิบตั ิการติดตามและประเมินผลการด�ำเนนิ งานตามยทุ ธศาสตรร์ ายงานตรงต่อ กอ.ปร. ทกุ 6 เดอื นโดยให้จัดต้งั และบริหารจัดการศูนย์ประสานงานแก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองระดับกองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน ภาค 1 - 4 (กอ.รมน. ภาค 1 - 4) ใหส้ ามารถประสานการปฏิบัติกบั ศูนยส์ ารสนเทศอ่นื ๆ ที่เกย่ี วข้องอย่างใกลช้ ดิ 5) ให้กระทรวงแรงงานจัดต้ังศูนย์สารสนเทศแรงงานต่างด้าว และประสานการปฏิบัติกับ ศูนยส์ ารสนเทศอื่น ๆ ของกระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข สำ� นกั งานตรวจคนเขา้ เมือง และ กอ.รมน. เพื่อสนับสนนุ และด�ำเนินการอย่างประสานสอดคล้องกนั 6) ให้กระทรวงมหาดไทยจัดต้ังศูนย์สารสนเทศผู้หลบหนีเข้าเมืองภายใต้ความรับผิดชอบของ ส�ำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ท�ำหน้าที่ประมวลรวบรวมข้อมูลผู้หลบหนีเข้าเมือง โดยประสาน หน่วยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพ่ือขอรับและจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลเพื่อสามารถเชื่อมโยงแลกเปล่ียนข้อมูล และใชป้ ระโยชนร์ ะหว่างหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง 21
7) ให้ส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมืองจัดต้ังศูนย์สารสนเทศคนเข้าเมือง ท�ำหน้าท่ีรวบรวมข้อมูลคนเข้าเมือง อยา่ งเป็นระบบ และเชื่อมโยงเพื่อการตรวจสอบและประสานขอ้ มลู กบั หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องอยา่ งมีประสิทธิภาพ 8) ให้กระทรวงสาธารณสุขพัฒนาและปรับปรุงศูนย์สารสนเทศข้อมูลสุขภาพแรงงานต่างด้าว เพอ่ื ใหส้ ามารถเชอ่ื มโยงขอ้ มลู สนบั สนนุ การดำ� เนนิ งานของหน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งอย่างมีประสทิ ธิภาพ 9) หน่วยงานหลักและหน่วยงานร่วมรับผิดชอบบูรณาการและจัดท�ำแผนปฏิบัติการรองรับ การด�ำเนินงาน ภายใต้ยุทธศาสตร์โดยก�ำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดความส�ำเร็จที่สามารถประเมินผลได้ อย่างเปน็ รปู ธรรม 7. ปจั จัยแหง่ ความส�ำเรจ็ 1) รัฐบาลให้ความสำ� คญั และสนับสนนุ การดำ� เนินงานรวมทง้ั งบประมาณอยา่ งเหมาะสมเพยี งพอ 2) หน่วยงานและภาคส่วนท่เี กี่ยวขอ้ งให้ความรว่ มมอื และสนบั สนุนการดำ� เนินงานอย่างจริงจงั 3) มีกลไกท่ีชัดเจนในการบูรณาการแผนงานงบประมาณและระบบฐานข้อมูลท่ีมีประสิทธิภาพ ในการแก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองท้ังระบบที่ครอบคลุมและสอดคล้องกับสภาพข้อเท็จจริงของแต่ละพ้ืนที่ และมีการติดตามและประเมนิ ผลอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเน่ือง 4) กฎหมายหลักเกณฑต์ ่าง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้องไม่ขัดแย้งกนั และเออ้ื ตอ่ การแก้ปญั หา 5) ความรว่ มมอื จากประเทศตน้ ทาง องคก์ รระหวา่ งประเทศ ประชาคมอาเซยี น และประชาคมโลก ในการป้องกนั และแก้ปญั หาผู้หลบหนเี ข้าเมอื ง ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล ได้ก�ำหนดกรอบการพิจารณาก�ำหนด สถานะใหแ้ กบ่ คุ คลที่มีปัญหาในเรอื่ งสถานะและสทิ ธไิ ว้ 6 กลุม่ โดยกลมุ่ เดก็ และบคุ คลท่ีเรียนอยู่ในสถานศึกษา ของประเทศไทยแต่ไม่มีสถานะที่ถูกต้องตามกฎหมายเป็นหนึ่งในกลุ่มยุทธศาสตร์ที่สามารถพัฒนาสถานะทาง กฎหมายได้ มแี นวทาง คือ (1) ให้สัญชาติไทยแก่บุคคลที่เกิดหรืออาศัยอยู่ในประเทศและจบการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ของประเทศไทย ทัง้ น้ี กระบวนการให้สญั ชาติใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย (2) ส�ำหรับเด็กท่ียังไม่จบการศึกษาในระดับอุดมศึกษาให้น�ำเข้าสู่กระบวนการพิจารณาก�ำหนด สถานะตามขอ้ (1) โดยมกี ารกำ� หนดยุทธศาสตร์การให้สิทธขิ ั้นพื้นฐานแกบ่ ุคคลเหลา่ น้ตี ามยุทธศาสตร์ขอ้ 4.2 คือ 4.2.1 “...ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกหน่วยด�ำเนินการเพ่ือให้คนเหล่านี้ได้รับสิทธิขั้นพ้ืนฐาน เพอื่ ให้สามารถด�ำรงชีวติ อยู่ได.้ ..” 4.2.2 “...โดยในเบอื้ งตน้ สมควรใหส้ ิทธิขนั้ พืน้ ฐานเทา่ ทีจ่ ำ� เป็นตามหลกั มนุษยธรรม...” ซึ่งมีวัตถุประสงค์ส�ำคัญประการหนึ่ง คือ เพ่ือให้กลุ่มคนดังกล่าวสามารถเข้าถึงสิทธิท่ีพึงได้รับ และสามารถด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคม รวมทั้งสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไต้ตามศักยภาพ ทต่ี นมี 22
ยทุ ธศาสตรแ์ กป้ ญั หาผหู้ ลบหนเี ขา้ เมอื งทงั้ ระบบ แยกผหู้ ลบหนเี ขา้ เมอื งทเี่ ปน็ ประเดน็ ปญั หาและ ผลกระทบต่อประเทศไทย เป็น 4 ประเภทใหญ่ โดยในประเภทท่ี 1 ชนกลุ่มนอ้ ย/กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุท่ีคณะรัฐมนตรี มมี ตใิ นหว้ งเวลาตา่ ง ๆ รบั รองสถานะใหอ้ าศยั อยถู่ าวรในประเทศไทย ซง่ึ หนง่ึ ในนน้ั ประกอบดว้ ย กลมุ่ เดก็ นกั เรยี น ไดก้ ำ� หนดสทิ ธขิ นั้ พน้ื ฐานของชนกลมุ่ นอ้ ยและกลมุ่ ชาตพิ นั ธท์ุ อ่ี พยพเขา้ มาอาศยั อยเู่ ปน็ เวลานานและกลบั ประเทศ ต้นทางไม่ได้ และการคุ้มครองสิทธิขั้นพ้ืนฐานของแรงงานต่างด้าว แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง 3 สัญชาติ (พม่า ลาว และกัมพชู า) ในด้านการศกึ ษา ให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี 5 กรกฎาคม 2548 รวมทงั้ พิจารณา ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทยเขา้ มามสี ว่ นรว่ มและกลมุ่ ทมี่ นี โยบายเฉพาะ อาทิ ผหู้ นภี ยั การ สู้รบจากพมา่ ผหู้ ลบหนีเข้าเมืองชาวโรฮงิ ญา ชาวเกาหลเี หนอื ก�ำหนดใหส้ ิทธิข้ันพื้นฐานด้านการรกั ษาพยาบาล และการศึกษาตามหลักมนุษยธรรมและอนุญาตให้จัดการศึกษาได้ในพ้ืนที่พักพิงตามมติคณะรัฐมนตรี 5 กรกฎาคม 2548 ภายใต้การควบคุมดูแลของทางการ ซ่ึงตรงกับกรอบความคิดยุทธศาสตร์ คือ การค�ำนึงถึง ผลประโยชนแ์ ห่งชาติภายใต้ความสมดลุ ท้ังในดา้ นเศรษฐกจิ ความมั่นคง และสิทธิมนษุ ยชน สิทธิขั้นพ้ืนฐานด้านการศึกษาน้ัน สอดคล้องกับพระราชด�ำรัสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ท่ีทรงเป็นองค์ปาฐกในงานประชุมสัมมนาซึ่งจัดข้ึน ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในฐานะองค์สมาชกิ สภากองทนุ การศึกษาเพื่อผูล้ ี้ภยั ว่า “...ยังมีกลุ่มคนอีกกลุ่มหน่ึงซึ่งคนกลุ่มน้ีไม่มีชื่อปรากฏอยู่ในทะเบียนราษฎร เป็นคนไร้สัญชาติ คนท่ีไม่ได้ถือสัญชาติไทย และคนที่ไม่ได้ถือสัญชาติใด ๆ เลย รวมทั้งคนที่มาจากอีกฟากหนึ่งของชายแดน เด็ก ๆ ท่ีเข้าข่ายกรณีเหล่าน้ีไม่สามารถเข้าเรียนในโรงเรียนได้ และถ้าเข้าเรียนได้เขาจะไม่ได้รับใบรับรอง จากโรงเรียน หลังจากเรียนจบการศึกษาไม่ว่าจะเป็นการศึกษาในระดับใดก็ตาม สิ่งเหล่าน้ีท�ำให้ยากต่อ การเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในสถาบนั การศกึ ษาในระดบั หลงั ประถมศกึ ษา และยากตอ่ การไดท้ ำ� งานทดี่ เี มอ่ื พวกเขาเตบิ โตขนึ้ การจัดการศึกษาเป็นงานที่ย่ิงใหญ่เกินกว่าจะมีใครสามารถท�ำคนเดียวตามล�ำพังได้ เป็นงานท่ีต้อง ใช้ความพยายามอย่างเป็นจริงเป็นจังท่ีสุด พร้อมท้ังความมุ่งมั่นท่ีมีความต้ังใจจริงจากทุกฝ่าย และสิ่งเหล่าน้ีจะ เป็นจริงได้ต้องอาศัยน้�ำใจที่โอบอ้อมอารีและจิตใจที่เอื้ออาทรต่อผู้อ่ืน ข้าพเจ้าเคยได้ยินทูลกระหม่อมพ่อและ สมเดจ็ แมต่ รสั ว่า จงให้โดยไม่เลอื กที่รักมกั ท่ีชัง จงเลอื กท�ำในสง่ิ ทด่ี ที ่ีสุด หรอื ใหค้ วามเอือ้ อ�ำนวยอยา่ งดที ่ีสดุ แก่ ทกุ ๆ คน โดยไม่ค�ำนงึ ว่าเปน็ คนเผา่ พันธใ์ุ ด ศาสนาใด และมสี ถานะทางสังคมและเศรษฐกจิ อย่างไร ขอใหเ้ ราได้ ร่วมมือกันเพ่ือช่วยกนั สรรคส์ รา้ งโลกใบนใ้ี ห้ดยี ่งิ ขึ้นกว่าเดมิ ….” สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ยังทรงมีรับสั่งเก่ียวกับมุมมองด้านเศรษฐศาสตร์ ในการจัดการศึกษาให้กับผู้ลี้ภัยในระดับหลังประถมศึกษา แนวคิดดังกล่าวสามารถน�ำมาปรับใช้กับการจัดการศึกษา ใหก้ บั ผู้ไม่มีสถานะทางทะเบยี นราษฎรหรือไมม่ สี ัญชาติไทยได้ ดงั นี้ “....ในเชิงเศรษฐศาสตร์ การตั้งค�ำถามเกี่ยวกับการศึกษาในระดับหลังประถมศึกษาคงไม่ใช่ ลักษณะค�ำถามที่ว่า “เราจะมีงบประมาณมาสนับสนุนหรือไม่” แต่เป็น “เราจะไม่สนับสนุนได้หรือไม่” มากกว่า ในขณะที่ผู้ล้ีภัยอาศัยอยู่ในประเทศที่ดูแลพวกเขา ความรู้สึกถึงคุณคา่ ในตัวเองของเขาจะสูงข้ึนไปตาม สดั สว่ นความสามารถของการเรยี นรู้ทกั ษะการทำ� งานใหม่ ๆ ทีไ่ ด้รับ และการยอมรบั จากคนในสังคม ในขณะท่ี ประเทศทต่ี นเปน็ ผูด้ แู ลจะได้รับประโยชนจ์ ากการมจี �ำนวนแรงงานในประเทศเพม่ิ มากขึ้น...” 23
1.3 มตคิ ณะรัฐมนตรี เม่อื วันท่ี 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 กระทรวงศึกษาธิการน�ำเร่ืองเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาการจัดการศึกษาให้แก่บุคคลที่ไม่มี หลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย ตามหนังสือ ที่ ศธ 0208/777 ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2548 โดยมเี นอ้ื หา ดงั น้ี ท่ี ศธ 0208/777 18 กมุ ภาพนั ธ์ 2548 กระทรวงศึกษาธิการ กทม. 10300 เรอ่ื ง การจัดการศึกษาแกบ่ คุ คลท่ีไมม่ ีหลักฐานทะเบยี นราษฎรหรือไมม่ ีสัญชาติไทย เรยี น เลขาธิการคณะรัฐมนตรี อ้างถงึ หนังสอื ส�ำนกั เลขาธิการคณะรฐั มนตรี ที่ นร 0202/1950 ลงวันที่ 31 มกราคม 2535 สิ่งท่สี ง่ มาด้วย 1. แนวปฏบิ ตั ิการจดั การศกึ ษาแกบ่ คุ คลทไี่ มม่ ีหลกั ฐานทะเบียนราษฎรหรอื ไม่มีสญั ชาติไทย จำ� นวน 60 ชดุ 2. ความเห็นของหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง จ�ำนวน 1 ชดุ ตามหนงั สอื ทอี่ า้ งถงึ คณะรฐั มนตรมี มี ติ เมอ่ื วนั ที่ 28 มกราคม 2535 เหน็ ชอบการจดั การศกึ ษาแกเ่ ดก็ ที่ ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรและเด็กท่ีไม่มีสัญชาติไทย ท้ังการรับเข้าเรียนและการออกหลักฐานทางการศึกษา เมอ่ื สำ� เรจ็ การศกึ ษา และเหน็ ชอบระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยหลกั ฐานวนั เดอื น ปเี กดิ ในการรบั นกั เรยี น นักศึกษาเข้าเรียนในสถานศึกษา พ.ศ. 2535 ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้ระเบียบ ฯ ดังกล่าว ตั้งแต่ วนั ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2535 เปน็ ต้นมา น้นั กระทรวงศึกษาธิการ ขอเรียนว่าเนื่องจากสภาวการณ์เปล่ียนแปลงไปท�ำให้เกิดปัญหาในการปฏิบัติต่อ กลมุ่ บุคคลดังกลา่ ว จึงได้ประชุมกับหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้อง เพือ่ ปรับปรุงระเบียบ ฯ และแนวปฏิบัติ และไดจ้ ัดทำ� รา่ งระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฯ ทม่ี กี ารปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหม่ ซงึ่ ระเบยี บ ฯ และแนวปฏบิ ตั กิ ารจดั การศกึ ษาแก่ เด็กท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือเด็กที่ไม่มีสัญชาติไทย เดิมจัดการศึกษาตามกลุ่มชนชาติที่กระทรวง มหาดไทยก�ำหนด และระดับการศึกษาไม่เท่าเทียมกันคือบางกลุ่มให้เรียนได้เพียงระดับการศึกษาภาคบังคับ แต่ร่างระเบียบ ฯ และแนวปฏิบัติใหม่เป็นการเปิดโอกาสให้ท้ังบุคคลท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มี สัญชาติไทยทุกคนท่ีอยู่ในประเทศไทยศึกษาได้ทุกระดับการศึกษา ทุกประเภท และทุกพื้นที่ (ยกเว้นกลุ่ม ที่หลบหนีภัยจากการสู้รบจัดให้เรียนได้ในพื้นที่) อนึ่ง เพ่ือให้การด�ำเนินงานจัดการศึกษาให้แก่บุคคลท่ี ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทยด�ำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ กระทรวงศึกษาธิการได้ ขอความเหน็ ไปยังหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งซงึ่ เหน็ ดว้ ยกับประเดน็ ทก่ี ระทรวงศกึ ษาธิการเสนอ ดังนี้ 24
1. การขยายโอกาสทางการศึกษาแก่บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทยที่เดิม เคยจ�ำกัดไว้ให้บางกลุ่ม บางระดับการศึกษา เป็นการเปิดกว้างให้ทุกคนที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยสามารถ เข้าเรียนได้โดยไม่จ�ำกัดระดับ ประเภท หรือพ้ืนที่การศึกษา ท้ังการรับเข้าเรียน ลงทะเบียนนักเรียน นักศึกษา และการออกหลกั ฐานทางการศกึ ษา เมือ่ ส�ำเรจ็ การศกึ ษาแต่ละระดับตามร่างระเบยี บ ฯ และแนวปฏบิ ัติ 2. การจดั สรรงบประมาณอดุ หนนุ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยรายหวั ใหแ้ กส่ ถานศกึ ษาทจ่ี ดั การศกึ ษาใหแ้ กก่ ลมุ่ บคุ คล ทไ่ี มม่ หี ลกั ฐานทะเบยี นราษฎรหรอื ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทย ตงั้ แตร่ ะดบั กอ่ นประถมศกึ ษาถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ในอัตราเดียวกนั กบั คา่ ใชจ้ า่ ยรายหัวทจี่ ดั สรรใหแ้ กเ่ ดก็ ไทย 3. ให้กระทรวงมหาดไทยจัดท�ำฐานข้อมูล (เลขประจ�ำตัว 13 หลัก) เกี่ยวกับบุคคลที่ไม่มีหลักฐาน ทะเบยี นราษฎรหรอื ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทย เพอ่ื ประโยชนต์ อ่ การจำ� แนกสถานะ รวมทง้ั อนญุ าตและอำ� นวยความสะดวก ให้เด็กและเยาวชนที่มีข้อก�ำหนดระเบียบปฏิบัติ หรือมีกฎหมายควบคุมเฉพาะให้จ�ำกัดพ้ืนที่อยู่อาศัยสามารถ เดินทางไปศึกษาได้เป็นระยะเวลาตามหลักสูตรการศึกษาระดับน้ัน โดยไม่ต้องขออนุญาตเป็นครั้งคราว ยกเว้น ผู้หนภี ยั จากการสู้รบและบคุ คลในความหว่ งใย (POC) 4. ใหก้ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร จดั การศกึ ษาในรปู แบบทเ่ี หมาะสมแกเ่ ดก็ และเยาวชนทห่ี นภี ยั จากการสรู้ บ เพื่อพฒั นาคุณภาพชีวิตและการอย่รู ่วมกันอยา่ งสมานฉันท์ เน่ืองจากร่างระเบียบ ฯ แนวปฏิบัติดังกล่าวเก่ียวข้องกับส่วนราชการหลายหน่วยงาน เห็นสมควร เสนอคณะรฐั มนตรีเพือ่ พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบและถอื เป็นแนวปฏิบตั ิตอ่ ไป จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและพจิ ารณา ดำ� เนินการต่อไปด้วย จะขอบคุณย่ิง ขอแสดงความนบั ถอื (นายอดิศัย โพธารามกิ ) รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ส�ำนกั งานปลดั กระทรวง สำ� นักนโยบายและยุทธศาสตร์ โทร. 0-2280-6217 โทรสาร 0-2280-6218 25
หนังสือของกระทรวงศึกษาธิการดังกล่าว อธิบายถึงสภาวการณ์ท่ีเปลี่ยนไปในปัจจุบันท�ำให้การด�ำเนินการ จัดการศึกษาแก่เด็กที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรและเด็กที่ไม่มีสัญชาติไทยตามมติคณะรัฐมนตรีเดิม ลงวันท่ี 28 มกราคม 2535 ท่ีเห็นชอบระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานวัน เดือน ปีเกิด ในการรับนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียนในสถานศึกษา พ.ศ. 2535 ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้ ระเบียบฯ ดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2535 เป็นต้นมานั้น ไม่สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบัน เน่ืองจากมติดังกล่าวอนุญาตให้มีการจัดการศึกษาตามกลุ่มชนชาติที่กระทรวงมหาดไทยก�ำหนด และจ�ำกัด การใหก้ ารศกึ ษาเพียงบางระดับการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้มีการเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือขยายโอกาสทางการศึกษาแก่บุคคลที่ ไม่มีหลักฐานทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย โดยเปิดกว้างให้ทุกคนท่ีอาศัยอยู่ในประเทศไทย สามารถเข้าเรียนได้โดยไม่จ�ำกัดระดับ ประเภท หรือพ้ืนที่การศึกษา ทั้งการรับเข้าเรียน ลงทะเบียน นักเรียน นักศึกษา และการออกหลักฐานการศึกษา เม่ือส�ำเร็จการศึกษาแต่ละระดับตามร่างระเบียบฯ และแนวปฏิบัติ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงศึกษาธิการเสนอในวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 โดยมสี าระส�ำคญั โดยสรุป คอื คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามมติคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะท่ี 3.1 (ฝ่ายการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม) ที่มีมติอนุมัติหลักการตามที่กระทรวงศึกษาธิการเสนอร่างระเบียบ กระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ด้วยหลักฐานวัน เดอื น ปีเกดิ ในการรบั นักเรยี น นกั ศกึ ษาเขา้ เรียนในสถานศึกษา พ.ศ. ... และให้ส่งคณะกรรมการตรวจสอบรา่ งกฎหมายและร่างอนุบญั ญัตทิ ี่เสนอคณะรฐั มนตรี คณะที่ 5 พจิ ารณาแลว้ ด�ำเนินการต่อไปได้ และเห็นชอบแนวปฏิบัติการจัดการศึกษาแก่บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มี สัญชาตไิ ทย โดยใหร้ ับประเดน็ อภปิ รายของคณะกรรมการกลัน่ กรอง ฯ ไปดำ� เนินการ ดังนี้ 1. เห็นควรอนุมัติงบประมาณเพ่ิมเติมเพื่ออุดหนุนจัดการศึกษาแก่นักเรียน นักศึกษาในความดูแล ของส�ำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เป็นเงิน 6.5 ล้านบาทไปก่อน โดยให้เบิกจ่าย ตามจำ� นวนนกั เรยี น นกั ศกึ ษาทม่ี ตี วั เรยี นจรงิ และเมอ่ื สำ� นกั งานสภาความมนั่ คงแหง่ ชาตแิ ละกระทรวงมหาดไทย ด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล และส�ำรวจจ�ำนวนนักเรียน นักศึกษาท่ี ไม่มีหลักฐานทางทะเบยี นราษฎรหรอื ไม่มีสัญชาติไทยแลว้ เสรจ็ 2. ให้กระทรวงศึกษาธิการรวบรวมเหตุผลและข้อเท็จจริงเพื่อทบทวนมาตรการอุดหนุนงบประมาณ รายการน้ีต่อไป 26
3. ให้ส�ำนักงานสภาความม่ันคงแห่งชาติเร่งรัดด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะ และสิทธิของบุคคลตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี 18 มกราคม 2548 ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์การก�ำหนด สถานะและยุทธศาสตร์การให้สิทธิขั้นพ้ืนฐานแก่บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิให้สัมฤทธิ์ผลโดยด่วน และให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของเด็กรับไปพิจารณาด�ำเนินการออกระเบียบให้สอดคล้อง กับร่างระเบียบ ฯ รวมท้ังให้หน่วยงานฝึกอาชีพของทุกส่วนราชการยอมรับหลักฐานทางการศึกษาที่ออกให้แก่ เด็กตามรา่ งระเบียบฯ 4. ใหก้ ระทรวงมหาดไทยเรง่ รดั สำ� รวจจำ� นวนนกั เรยี น นกั ศกึ ษาทไี่ มม่ หี ลกั ฐานทางทะเบยี นราษฎรหรอื ไมม่ สี ัญชาติไทย ให้แล้วเสร็จภายในก�ำหนด 2 เดอื น 5. ให้กระทรวงกลาโหมส�ำรวจสถานศึกษาท่ีตั้งในหน่วยท่ีมีข้อจ�ำกัดด้านการรักษาความปลอดภัย และมีผลกระทบต่อความมั่นคงเพ่ือประสานงานกับกระทรวงศึกษาธิการในการจัดนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียน ในสถานศกึ ษาทเ่ี หมาะสม 27
ที่ นร 0503/ว(ล) 8990 สำ� นกั เลขาธิการคณะรฐั มนตรี ทำ� เนียบรฐั บาล กทม. 10300 7 กรกฎาคม 2548 เรื่อง ร่างระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานวัน เดือน ปีเกิดในการรับนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียน ในสถานศกึ ษา พ.ศ... (การจดั การศกึ ษาแกบ่ ุคคลท่ีไม่มหี ลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย) เรียน รฐั -ศธ./กค./กต./ผบ.-ตซ./กห/พม/มท/รง/ผอ.-สงป/เลขา-สมช อา้ งถงึ หนังสอื คณะกรรมการกล่ันกรองเรอ่ื งเสนอคณะรฐั มนตรี คณะที่ 3.1 ดว่ นทส่ี ุด ท่ี นร 0505 (คกก. 3.1)/6745-6754 ลงวนั ท่ี 30 พฤษภาคม 2548 ตามท่ีได้ขอให้ไปช้ีแจงหรือส่งผู้แทนไปช้ีแจงเก่ียวกับรา่ งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐาน วัน เดือน ปีเกิดในการรับนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียนในสถานศึกษา พ.ศ. ... (การจัดการศึกษาแก่บุคคลท่ีไม่มี หลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย) ในที่ประชุมคณะกรรมการกล่ันกรองเร่ืองเสนอคณะรัฐมนตรี คณะท่ี 3.1 (ฝา่ ยการศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม) นัน้ ในคราวประชุมคณะกรรมการกล่ันกรองเร่ืองเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ 3.1 (ฝ่ายการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม) เมื่อวนั ที่ 2 มิถนุ ายน 2548 ไดพ้ จิ ารณาแลว้ มปี ระเด็นอภปิ รายและมติ ดงั น้ี ประเดน็ อภิปราย 1. เน่อื งจากระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการวา่ ดว้ ยหลักฐานวัน เดอื น ปีเกิดในการรับนักเรยี น นกั ศึกษา เขา้ มาเรยี นในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2535 ไดใ้ ชม้ าเปน็ เวลานาน สมควรปรบั ปรงุ ขอ้ ความใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ ในปัจจุบันกล่าวคือ 1.1 ปรับปรุงข้อความตามร่างระเบยี บขอ้ 8 ใหส้ ถานศกึ ษาไมต่ อ้ งลงรายงานด้วยหมกึ สแี ดงว่าไมม่ ี หลักฐานตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรไว้ในหลักฐานทางการศึกษาเฉพาะตัวของนักเรียน นักศึกษา เปน็ รายบุคคลเพ่ือป้องกันมิใหเ้ ปน็ การแบง่ แยกใหเ้ กดิ ความแตกตา่ งขึ้น 1.2 ยกเลกิ เอกสารแนวปฏบิ ตั ทิ า้ ยระเบยี บ ฯ พ.ศ. 2535 ทก่ี ำ� หนดกลมุ่ เดก็ ทไี่ มม่ หี ลกั ฐานทะเบยี นราษฎร และเด็กท่ีไม่มีสัญชาติไทย รวม 9 กลุ่ม คือ บุตรชาวเขา บุตรชาวลาว ผู้อพยพเช้ือสายไทยจากจังหวัดเกาะกง กัมพูชา เนปาลอพยพ ญวณอพยพ จีนฮ่ออพยพ และผู้หลบหนีเข้าเมืองสัญชาติพม่าเพราะปัจจุบัน กลมุ่ เดก็ เหลา่ นน้ั ไดร้ บั การเปลยี่ นแปลงสถานะจากเดมิ ขณะเดยี วกนั ไทยไดเ้ ขา้ เปน็ ภาคเี กย่ี วกบั อนสุ ญั ญาสทิ ธเิ ดก็ ซง่ึ รับรองการคมุ้ ครองสทิ ธิของเด็กทุกคนเรือ่ งการศึกษาแลว้ 28
ดังน้ัน จงึ เหน็ ควรอนมุ ัติรา่ งระเบียบ ฯ ตามข้อเสนอของกระทรวงศึกษาธิการ 2. ควรขยายโอกาสทางการศึกษาแก่บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย ซึ่งเดิมเคยจ�ำกัดไว้ให้เฉพาะบางกลุ่ม บางระดับการศึกษา เป็นเปิดกว้างให้ทุกคนท่ีอาศัยในประเทศสามารถ เขา้ เรยี นได้โดยไมจ่ ำ� กดั ระดับ ประเภท หรอื พ้ืนท่ีการศึกษา (ยกเว้นกลุ่มที่หลบหนีภยั จากการสรู้ บ จดั ใหเ้ รียนได้ ในพืน้ ท่)ี ซ่งึ จะสอดคล้องกับการเป็นภาคีอนสุ ญั ญาสิทธิเดก็ และเพ่อื ใหน้ กั เรียน นักศกึ ษาเหล่าน้นั มคี วามเขา้ ใจ มที ศั นคตทิ ด่ี ตี อ่ ประเทศไทย เพอื่ การเสรมิ สรา้ งความมนั่ คงของชาตใิ นระยะยาวตอ่ ไป ทงั้ นใ้ี หห้ นว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ดำ� เนนิ การ ดังนี้ 2.1 ให้ส�ำนักงานสภาความม่ันคงแห่งชาติเร่งรัดด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์การจัดการปัญหา สถานะและสิทธิของบุคคลตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 18 มกราคม 2548 โดยในยุทธศาสตร์ดังกล่าว ประกอบด้วยยุทธศาสตร์การก�ำหนดสถานะและยุทธศาสตร์การให้สิทธิข้ันพ้ืนฐานแก่บุคคลท่ีมีปัญหาสถานะ และสิทธิซึ่งจะเป็นปัจจัยส�ำคัญประการหน่ึงท่ีจะสนับสนุนการบริหารจัดการศึกษาแก่บุคคลท่ีไม่มีหลักฐาน ทะเบียนราษฎรหรือไม่มสี ัญชาตไิ ทยได้เป็นอยา่ งดี 2.2 ใหก้ ระทรวงมหาดไทยเรง่ รดั สำ� รวจจำ� นวนนกั เรยี น นกั ศกึ ษาทไ่ี มม่ หี ลกั ฐานทางทะเบยี นราษฎร หรอื ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทย ซง่ึ ผแู้ ทนกระทรวงมหาดไทยรายงานวา่ ขณะนก้ี ระทรวงมหาดไทยกำ� ลงั จะดำ� เนนิ การสำ� รวจ ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2548 เพ่ือใช้เป็นข้อมูลจัดท�ำเลขประจ�ำตัว 13 หลัก แยกเป็นอีกประเภทหน่ึงให้แล้วเสร็จ ภายในก�ำหนด 2 เดือน นอกจากนั้น กระทรวงมหาดไทย จะด�ำเนินการ ท�ำบัตรประจ�ำตวั ใหแ้ ก่ผไู้ ม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎรในขั้นตอนตอ่ ไปด้วย 2.3 ใหก้ ระทรวงกลาโหมสำ� รวจสถานศกึ ษาทต่ี งั้ ในหนว่ ยทม่ี ขี อ้ จำ� กดั ดา้ นการรกั ษาความปลอดภยั และมีผลกระทบต่อความม่ันคงเพื่อประสานงานกับกระทรวงศึกษาธิการในการจัดนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียน ในสถานศึกษาทเ่ี หมาะสม 3. ควรจดั สรรงบประมาณอดุ หนนุ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยรายหวั ใหแ้ กส่ ถานศกึ ษาทจี่ ดั การศกึ ษาใหแ้ กก่ ลมุ่ บคุ คล ทไ่ี มม่ หี ลกั ฐานทะเบยี นราษฎรหรอื ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทย ตงั้ แตร่ ะดบั กอ่ นประถมศกึ ษาถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ในอัตราเดียวกบั คา่ ใชจ้ า่ ยรายหวั ทีจ่ ัดสรรใหแ้ ก่เด็กไทย 4. เน่ืองจากขณะนี้มีนักเรียน นักศึกษาที่ไม่มีหลักฐานทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย จ�ำนวน 1,269 คนในโรงเรียนเอกชน (ตัวเลขส�ำรวจในปี พ.ศ. 2548) ซ่ึงนับว่ารัฐได้รับประโยชน์จากเอกชน ที่ได้ใช้ทรัพยากรของเอกชนมาช่วยจัดการศึกษาของรัฐ ดังน้ัน จึงควรอนุมัติงบประมาณเพ่ิมเติมเพ่ืออุดหนุน จัดการศึกษาแก่นักเรียน นักศึกษาในความดูแลของส�ำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เป็นเงิน 6.5 ล้านบาทไปก่อน โดยให้เบิกจ่ายตามจ�ำนวนนักเรียน นักศึกษาท่ีมีตัวเรียนจริง และเมื่อส�ำนักงาน สภาความม่ันคงแห่งชาติ และกระทรวงมหาดไทยได้ด�ำเนินการตามข้อ 2.1 และ 2.2 ตามล�ำดับแล้วเสร็จ ให้กระทรวงศึกษาธิการรวบรวมเหตุผลและข้อเท็จจริง เพ่ือทบทวนมาตรการอุดหนุนงบประมาณรายการนี้ ต่อไป 29
มตคิ ณะกรรมการกล่นั กรองฯ 1. เห็นควรอนุมัติหลักการร่างระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานวัน เดือน ปีเกิดในการรับ นักเรียน นักศึกษาเข้าเรียนในสถานศึกษา พ.ศ. ... ตามที่กระทรวงศึกษาธิการเสนอและให้ส่งคณะกรรมการ ตรวจสอบรา่ งกฎหมายและร่างอนบุ ัญญตั ทิ ่ีเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ 5 พจิ ารณาแล้วด�ำเนนิ การตอ่ ไปได้ 2. ให้ความเห็นชอบแนวปฏิบัติการจัดการศึกษาแก่บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มี สัญชาติไทย รวม 4 ข้อ ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการเสนอ โดยให้กระทรวงศึกษาธิการรับประเด็นอภิปราย ตามข้อ 4 ไปดำ� เนินการดว้ ย 3. ให้ส�ำนักงานสภาความม่ันคงแห่งชาติและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเร่งด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ ตามประเด็นอภปิ รายขอ้ 2.1 ให้สัมฤทธผ์ิ ลโดยด่วน 4. ให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาของเด็ก เช่น กระทรวงมหาดไทย กรุงเทพมหานคร กระทรวงกลาโหม สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ กระทรวงวฒั นธรรม กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า กระทรวงคมนาคม กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และสภากาชาดไทยรบั ไปพจิ ารณาดำ� เนนิ การออกระเบยี บใหส้ อดคลอ้ งกบั รา่ งระเบียบ ฯ 5. ให้หน่วยงานฝึกอาชีพของทุกส่วนราชการยอมรับหลักฐานทางการศึกษาที่ออกให้แก่เด็กตาม ร่างระเบยี บ ฯ 6. ใหก้ ระทรวงมหาดไทยรบั ประเด็นอภิปรายตามขอ้ 2.2 ไปดำ� เนินการให้แล้วเสรจ็ ภายในกำ� หนด 2 เดอื น 7. ใหก้ ระทรวงกลาโหมรบั ประเดน็ อภปิ รายตามขอ้ 2.3 ไปดำ� เนินการโดยดว่ นดว้ ย คณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันท่ี 5 กรกฎาคม 2548 อนุมัติตามมติคณะกรรมการกล่ันกรองเร่ืองเสนอ คณะรัฐมนตรี คณะที่ 3.1 (ฝา่ ยการศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม) จึงเรียนยืนยันมา/จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และโปรดด�ำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีต่อไป ทั้งน้ี ได้ส่งร่างระเบียบกระทรวงศึกษาธิการในเรื่องนี้เพื่อคณะกรรมการตรวจสอบร่างกฎหมายและร่างอนุบัญญัติ ทเี่ สนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ 5 ตรวจพิจารณาตามมติคณะรฐั มนตรีตอ่ ไปแล้ว ขอแสดงความนับถอื (นางโฉมศรี อารยะคริ ี) รองเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ปฏบิ ัติราชการแทน สำ� นกั นติ ิธรรม เลขาธิการคณะรัฐมนตรี โทร. 0-2280-9000 ต่อ 306-7 โทรสาร 0-2280-9058 30
1.4 ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยหลกั ฐานในการรบั นกั เรยี น นกั ศึกษาเข้าเรยี นในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบเก่ียวกับหลักฐานในการรับนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียน ในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติและกฎหมายว่าด้วยการศึกษาภาคบังคับ เพือ่ เปน็ การเปดิ โอกาสแก่บคุ คลใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษาอย่างทว่ั ถึง อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 ประกอบกับมาตรา 5 และมาตรา 31 แหง่ พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กระทรวงศึกษาธิการ โดยความเหน็ ชอบของคณะรัฐมนตรีจึงวางระเบยี บไว้ ดังตอ่ ไปนี้ ขอ้ 1 ระเบยี บน้ี เรยี กวา่ “ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยหลกั ฐานในการรบั นกั เรยี น นกั ศกึ ษา เข้าเรียนในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548” ข้อ 2 ระเบียบน้ีให้ใชบ้ ังคบั ตั้งแตว่ นั ถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นตน้ ไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานวัน เดือน ปีเกิด ในการรับนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียนในสถานศึกษา พ.ศ. 2535 ขอ้ 4 ในระเบยี บน้ี “สถานศกึ ษา” หมายความวา่ สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั โรงเรยี น ศนู ยก์ ารเรยี น วทิ ยาลยั สถาบนั มหาวทิ ยาลยั หนว่ ยงานการศึกษาหรือหนว่ ยงานอนื่ ของรัฐหรอื ของเอกชนท่มี อี ำ� นาจหน้าท่หี รอื มีวัตถปุ ระสงค์ ในการจัดการศึกษา “หลกั ฐานทางการศกึ ษา” หมายความวา่ เอกสารอนั เปน็ หลกั ฐานทางการศกึ ษาของนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ไดแ้ ก่ ทะเบยี นนกั เรยี น นกั ศกึ ษา สมดุ ประจำ� ตวั นกั เรยี น นกั ศกึ ษา สมดุ ประจำ� ชนั้ บญั ชเี รยี กชอื่ ใบสง่ ตวั นกั เรยี น นักศึกษา หลักฐานแสดงผลการเรียน ประกาศนียบัตร หรือเอกสารอ่ืนใดในลักษณะเดียวกัน หรือเอกสาร ท่กี ระทรวงศึกษาธิการกำ� หนดให้เปน็ หลกั ฐานทางการศึกษาตามระเบียบน้ี “องคก์ รเอกชน” หมายความวา่ สมาคม มูลนธิ ิ หรือองค์กรทเ่ี รยี กช่ืออยา่ งอ่นื ซึง่ จดทะเบียนเปน็ นติ ิบคุ คล ข้อ 5 ให้สถานศึกษาถือเป็นหน้าท่ีในการที่จะรับเด็กที่อยู่ในวัยการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วย การศกึ ษาภาคบังคับเข้าเรยี นในสถานศกึ ษา กรณเี ดก็ ยา้ ยทอ่ี ยใู่ หม่ สถานศกึ ษาตอ้ งอำ� นวยความสะดวก และตดิ ตามใหเ้ ดก็ ไดเ้ ขา้ เรยี นในสถานศกึ ษา ท่ใี กลก้ ับทีอ่ ย่ใู หม่ ข้อ 6 การรับนักเรียน นักศึกษาในกรณีท่ีไม่เคยเข้าเรียนในสถานศึกษามาก่อน ให้สถานศึกษา เรยี กหลักฐานอย่างใดอย่างหนง่ึ ตามล�ำดับเพ่ือน�ำมาลงหลกั ฐานทางการศกึ ษา ดงั ต่อไปนี้ 31
(1) สูตบิ ตั ร (2) กรณีที่ไม่มีหลักฐานตาม (1) ให้เรียกหนังสือรับรองการเกิด บัตรประจ�ำตัวประชาชน ส�ำเนาทะเบียนบ้านฉบบั เจา้ บา้ น หรือหลักฐานทที่ างราชการจดั ทำ� ขนึ้ ในลกั ษณะเดยี วกนั (3) ในกรณที ไี่ มม่ หี ลกั ฐานตาม (1) หรอื (2) ใหเ้ รยี กหลกั ฐานทท่ี างราชการออกให้ หรอื เอกสาร ตามทีก่ ระทรวงศึกษาธกิ ารก�ำหนดให้ใชไ้ ด้ (4) ในกรณที ี่ไม่มหี ลักฐานตาม (1) (2) และ (3) ใหบ้ ดิ ามารดา ผู้ปกครอง หรอื องคก์ รเอกชน ท�ำบันทึกแจ้งประวัติบุคคลตามแบบแนบทา้ ยระเบยี บนเ้ี ป็นหลกั ฐานที่จะน�ำมาลงหลักฐานทางการศึกษา (5) ในกรณีที่ไม่มีบุคคล หรือองค์กรเอกชนตาม (4) ให้ซักถามประวัติบุคคลผู้มาสมัครเรียน หรอื ผู้ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง เพอื่ นำ� ลงรายการบันทึกแจง้ ประวัติบุคคลตามแบบแนบทา้ ยระเบยี บนเ้ี ปน็ หลกั ฐานท่จี ะนำ� มา ลงหลกั ฐานทางการศึกษา ข้อ 7 ให้สถานศึกษาจัดเก็บส�ำเนาเอกสารหลักฐานตามข้อ 6 (1) (2) และ (3) ซ่ึงได้รับรอง ความถูกต้องแลว้ ไวเ้ ป็นหลักฐาน และคืนตน้ ฉบบั แกผ่ ปู้ กครอง สำ� หรบั หลักฐานบันทกึ แจง้ ประวัติบุคคลตามขอ้ 6 (4) และ (5) ให้เกบ็ ตน้ ฉบบั ไว้ท่ีสถานศกึ ษานั้น ขอ้ 8 ในขณะที่นักเรียน นักศึกษายังศึกษาอยู่ในสถานศึกษา เม่ือปรากฏว่ามีหลักฐานตามกฎหมาย ว่าด้วยการทะเบียนราษฎรมาแสดงภายหลัง ให้สถานศึกษาแก้ไขหลักฐานทางการศึกษาให้เป็นไปตามหลักฐาน ดังกลา่ ว โดยถอื ปฏิบัตติ ามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ ดว้ ยการนน้ั ข้อ 9 การบันทึกในหลกั ฐานทางการศึกษา ใหส้ ถานศึกษาปฏิบัติ ดังน้ี (1) ในกรณที เ่ี ปน็ หลกั ฐานทางการศกึ ษาเปน็ รายบคุ คล เชน่ สมดุ ประจำ� ตวั นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ใบส่งตวั ประกาศนียบัตร เปน็ ตน้ ไมต่ อ้ งบันทึกหมายเหตุใด ๆ (2) ในกรณีที่เป็นหลักฐานทางการศึกษาเป็นหลักฐานรวมท่ีใช้บันทึกข้อมูลของนักเรียน นกั ศึกษา ทั้งชั้นเรยี นหรอื จำ� นวนมากกว่าหน่งึ คน เชน่ ทะเบียนนกั เรยี น นักศึกษา สมดุ ประจ�ำช้นั บญั ชีเรยี กชอื่ เปน็ ตน้ ใหห้ วั หนา้ สถานศกึ ษาหรอื ผไู้ ดร้ บั มอบหมายบนั ทกึ ไว้ เฉพาะในสมดุ ทะเบยี นนกั เรยี น นกั ศกึ ษาโดยบนั ทกึ ลงในชอ่ งหมายเหตุพรอ้ มกับลงนามก�ำกบั ข้อความวา่ “ไม่มีหลักฐานตามกฎหมายวา่ ด้วยการทะเบียนราษฎร” ขอ้ 10 ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี และให้มีอ�ำนาจตีความและ วินิจฉยั ปัญหาเกี่ยวกับการปฏบิ ัตติ ามระเบยี บนี้ ประกาศ ณ วนั ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2548 (ลงชือ่ ) จาตรุ นต์ ฉายแสง (นายจาตุรนต์ ฉายแสง) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 32
บันทกึ แจง้ ประวัตบิ ุคคล เขยี นท่ี............................................................... วนั ท.ี่ ........เดอื น..................พ.ศ. ......................... ขา้ พเจา้ ............................................................... เกยี่ วกับผ้สู มัครเข้าเรยี นในฐานะ........................................................... อยู่บ้านเลขท่ี...................หม่ทู ่.ี ..............ตรอก/ซอย........................ถนน..............................ต�ำบล/แขวง.......................... อ�ำเภอ/เขต.................................จังหวดั ..............................รหสั ไปรษณีย์...........................โทรศัพท.์ ............................... โทรสาร.................................... ขอแจ้งรายละเอียดเก่ียวกับประวัติบุคคล เพื่อการสมัครเข้าเรียนตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐาน ในการรบั นกั เรียน นกั ศกึ ษาเขา้ เรยี นในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 ดงั ต่อไปน้ี 1. ช่อื -สกลุ ผ้สู มคั รเรียน.................................................................เกิดวนั ท.ี่ ......เดอื น......................พ.ศ. ...................... เชื้อชาต.ิ ...................สัญชาติ......................เกดิ ทตี่ �ำบล/แขวง......................................อ�ำเภอ/เขต.............................. จงั หวดั ..............................................ประเทศ..................เลขประจำ� ตัวประชาชน....................................................... 2. ชอ่ื -สกลุ บดิ า...........................................................................อาชีพ...........................เชื้อชาติ..................................... สญั ชาติ................อย่บู า้ นเลขท.่ี .....................หมู่ที่....................ตรอก/ซอย............................ถนน............................. ตำ� บล/แขวง..................................................อำ� เภอ/เขต...........................................จงั หวดั ....................................... ประเทศ............................................................เลขประจำ� ตวั ประชาชน....................................................................... 3. ช่อื -สกุลมารดา.......................................................................อาชีพ..............................เชอ้ื ชาติ.................................. สญั ชาติ...............อยบู่ ้านเลขท.่ี .....................หมูท่ ่.ี ...................ตรอก/ซอย.............................ถนน............................. ตำ� บล/แขวง.................................................อำ� เภอ/เขต............................................จังหวดั ....................................... ประเทศ............................................................เลขประจำ� ตวั ประชาชน....................................................................... 4. ชือ่ -สกลุ ผ้ปู กครอง.......................................................................................เช้อื ชาติ.................................................... สัญชาติ..............อาชพี ..................ความสัมพนั ธ์กบั ผู้สมัคร......................................อยบู่ า้ นเลขที่.............หม่ทู .่ี ......... ตรอก/ซอย..............................................ถนน..................................................ต�ำบล/แขวง........................................ อ�ำเภอ/เขต.................................จงั หวัด.................................เลขประจ�ำตัวประชาชน................................................ รหัสไปรษณยี ์...........................................โทรศพั ท์................................................ 5. ช่ือองค์กรเอกชนที่ให้การอุปการะผู้สมัคร............................................................................................................ สำ� นักงานตง้ั อยู่ท่ี.......................หมูท่ ี.่ ......................ตรอก/ซอย......................................ถนน.................................... ตำ� บล/แขวง.....................................................อ�ำเภอ/เขต..........................................จงั หวัด..................................... รหัสไปรษณีย.์ .................................................โทรศพั ท.์ ....................................... ขา้ พเจา้ ขอรบั รองวา่ ข้อมลู ที่ได้แจง้ ไว้ข้างตน้ เปน็ ความจริงทกุ ประการ (ลงชอ่ื )................................................ ผูแ้ จง้ /ผู้เรียน (...............................................) รูปถา่ ย ลายพมิ พ์น้ิวหัวแมม่ ือขวา (ลงชื่อ)................................................ ผู้รบั แจ้ง ผสู้ มคั ร หรือหวั แมม่ อื ซ้าย (...............................................) เขา้ เรียน ของผสู้ มคั รเขา้ เรียน (ลงช่อื )................................................ ผพู้ มิ พล์ ายมอื ชอื่ (...............................................) (ลงชือ่ )................................................ พยาน (...............................................) หมายเหตุ : ระบเุ ทา่ ที่ทราบ 33
สรปุ สาระส�ำคญั ของระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ ว่าดว้ ยหลักฐานในการรบั นกั เรียน นกั ศึกษาเขา้ เรยี นในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 สรุปสาระส�ำคัญของระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานในการรับนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียน ในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 ตามมติคณะรฐั มนตรี 5 กรกฎาคม 2548 1. ยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยหลักฐานวัน เดือน ปีเกิดในการรับนักเรียน นักศึกษา เข้าเรียนในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2535 และแนวปฏบิ ตั ิทแี่ นบทา้ ย 2. เพอื่ เปิดโอกาสแกท่ กุ คนให้ไดร้ ับการศึกษาอย่างทัว่ ถงึ • ทุกคนตอ้ งไดเ้ รยี น • เรยี นไดถ้ ึงระดบั อดุ มศกึ ษา • เรยี นแลว้ ตอ้ งไดห้ ลกั ฐานทางการศกึ ษา • สถานศึกษาได้คา่ ใช้จา่ ยรายหวั • ขอออกนอกเขตก�ำหนดคร้งั เดยี วเรียนได้ตลอดหลกั สตู ร 3. ขยายโอกาสทางการศึกษาของบคุ คลทไี่ ม่มหี ลักฐานทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย ขยายโอกาสทางการศึกษาแก่บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย ซ่ึงเดิมเคยจ�ำกัดไว้ให้เฉพาะบางกลุ่ม บางระดับการศึกษา เป็นเปิดกว้างให้ทุกคนที่อาศัยในประเทศสามารถ เขา้ เรยี นได้ โดยไมจ่ ำ� กดั ระดบั ประเภท หรอื พน้ื ทกี่ ารศกึ ษา (ยกเวน้ กลมุ่ ทห่ี ลบหนภี ยั จากการสรู้ บ จดั ใหเ้ รยี นได้ ในพื้นท่พี ักพิง) 4. เงินอุดหนุนการศกึ ษา จัดสรรงบประมาณอุดหนุนเป็นค่าใช้จ่ายรายหัวให้แก่สถานศึกษาที่จัดการศึกษาให้แก่กลุ่มบุคคล ที่ไม่มีหลักฐานทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย ตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย ในอัตราเดยี วกับค่าใชจ้ า่ ยรายหัวทีจ่ ดั สรรให้แก่เด็กไทย 5. การขออนุญาตออกนอกเขตพน้ื ท่ี กรณีมีกฎหมายควบคุมเฉพาะให้จ�ำกัดพ้ืนที่อยู่อาศัยสามารถเดินทางไปศึกษาได้เป็นระยะเวลา ตามหลักสูตรการศึกษาระดับนั้น โดยไม่ต้องขออนุญาตเป็นคร้ังคราว หลักเกณฑ์การออกนอกเขตเป็นไปตาม ท่กี ระทรวงมหาดไทยกำ� หนด 6. หนว่ ยงานที่เกย่ี วขอ้ ง ให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาด�ำเนินการออกระเบียบให้สอดคล้องกับระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยหลกั ฐานในการรบั นักเรียน นักศึกษาเขา้ เรยี นในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 34
7. หน่วยงานฝกึ อาชีพ ให้หน่วยงานฝึกอาชีพทุกส่วนราชการยอมรับหลักฐานทางการศึกษาที่ออกให้แก่เด็กตาม ระเบียบ ฯ 8. การรบั นกั เรยี น นกั ศกึ ษาในกรณที ไี่ มเ่ คยเขา้ เรยี นในสถานศกึ ษามากอ่ น ใหส้ ถานศกึ ษาเรยี กหลกั ฐาน อย่างใดอย่างหน่งึ ตามลำ� ดับเพ่อื นำ� มาลงหลักฐานทางการศึกษา ดังตอ่ ไปน้ี (1) สูติบตั ร (2) กรณีที่ไม่มีหลักฐานตาม (1) ให้เรียกหนังสือรับรองการเกิด บัตรประจ�ำตัวประชาชนหรือ ส�ำเนาทะเบียนบา้ นฉบบั เจ้าบา้ น หรอื หลกั ฐานทีท่ างราชการจัดทำ� ขึ้นในลักษณะเดยี วกัน (3) ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานตาม (1) หรือ (2) ให้เรียกหลักฐานท่ีทางราชการออกให้หรือเอกสาร ตามท่กี ระทรวงศึกษาธิการกำ� หนดใหใ้ ช้ได้ (4) ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานตาม (1) (2) และ (3) ให้บิดามารดา ผู้ปกครอง หรือองค์กรเอกชน ท�ำบนั ทกึ แจ้งประวตั ิบคุ คลตามแบบแนบท้ายระเบยี บนี้เป็นหลกั ฐานท่จี ะน�ำมาลงหลักฐานทางการศึกษา (5) ในกรณีท่ีไม่มีบุคคลหรือองค์กรเอกชนตาม (4) ให้ซักถามประวัติบุคคลผู้มาสมัครเรียน หรอื ผ้ทู เ่ี กี่ยวข้อง เพ่ือน�ำลงรายการบนั ทกึ แจ้งประวัติบคุ คลตามแบบแนบทา้ ยระเบียบน้ีเป็นหลักฐานที่จะน�ำมา ลงหลกั ฐานทางการศกึ ษา 9. การแก้ไขหลกั ฐานตามทะเบยี นราษฎร ในขณะทน่ี กั เรยี น นกั ศกึ ษายงั ศกึ ษาอยใู่ นสถานศกึ ษา เมอ่ื ปรากฏวา่ มหี ลกั ฐานตามกฎหมายวา่ ดว้ ย การทะเบยี นราษฎรมาแสดงภายหลงั ใหส้ ถานศกึ ษาแกไ้ ขหลกั ฐานทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั ฐานดงั กลา่ ว โดยถอื ปฏบิ ตั ติ ามระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการนนั้ 10. หนา้ ทขี่ องสถานศกึ ษา ให้สถานศึกษาถือเป็นหน้าท่ีในการที่จะรับเด็กท่ีอยู่ในวัยการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษา ภาคบงั คับเขา้ เรียนในสถานศึกษา 11. สถานศึกษาท่อี ย่ใู นบงั คับของระเบยี บ ฯ สถานศึกษาท่ีอยู่ในบังคับของระเบียบ ฯ คือ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงานการศึกษาหรือหน่วยงานอื่นของรัฐหรือเอกชนท่ีมีอ�ำนาจหน้าที่ หรอื มีวัตถุประสงค์ในการจัดการศกึ ษา 12. หลักฐานทางการศกึ ษา ไดแ้ ก่ เอกสารอนั เปน็ หลกั ฐานทางการศกึ ษาของนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ไดแ้ ก่ ทะเบยี นนกั เรยี น นกั ศกึ ษา สมุดประจ�ำตัวนักเรียน นักศึกษา สมุดประจ�ำช้ัน บัญชีเรียกช่ือ ใบส่งตัวนักเรียน นักศึกษา หลักฐานแสดง ผลการเรยี น ประกาศนียบัตร หรือเอกสารอืน่ ใดในลักษณะเดยี วกัน หรือเอกสารทก่ี ระทรวงศึกษาธิการ กำ� หนด ให้เปน็ หลักฐานทางการศกึ ษาตามระเบียบนี้ 35
13. การบนั ทกึ หลกั ฐานทางการศกึ ษา การบนั ทึกในหลกั ฐานทางการศึกษา ใหส้ ถานศกึ ษาปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี (1) ในกรณีท่ีเป็นหลักฐานทางการศึกษาเป็นรายบุคคล เช่น สมุดประจ�ำตัวนักเรียน นักศึกษา ใบสง่ ตัว ประกาศนียบัตร เปน็ ต้น ไม่ตอ้ งบันทกึ หมายเหตใุ ด ๆ (2) ในกรณีที่เป็นหลักฐานทางการศึกษาเป็นหลักฐานรวมที่ใช้บันทึกข้อมูลของนักเรียนนักศึกษา ท้ังช้ันเรียนหรือจ�ำนวนมากกว่าหนึ่งคน เช่น ทะเบียนนักเรียน นักศึกษา สมุดประจ�ำช้ัน บัญชีเรียกชื่อ เป็นต้น ให้หัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมายบันทึกไว้เฉพาะในสมุดทะเบียนนักเรียน นักศึกษาโดยบันทึก ลงในช่องหมายเหตพุ ร้อมกบั ลงนามก�ำกบั ข้อความว่า “ไม่มหี ลักฐานตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการทะเบยี นราษฎร” 14. องค์กรเอกชน องค์กรเอกชน หมายความว่า สมาคม มูลนิธิ หรือองค์กรท่ีเรียกชื่ออย่างอื่นซ่ึงจดทะเบียน เป็นนิตบิ คุ คล 15. กรณนี ักเรียน นกั ศกึ ษายา้ ยทอี่ ยู่ สถานศึกษาตอ้ งอ�ำนวยความสะดวกและตามใหเ้ ดก็ ไดเ้ ขา้ เรียน 36
1.5 ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง การรับนกั เรยี น นักศึกษา ทไี่ มม่ ีหลักฐานทะเบยี นราษฎรหรือไม่มสี ญั ชาตไิ ทย โดยท่ี คณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันที่ 5 กรกฎาคม 2548 ก�ำหนดให้กระทรวงศึกษาธิการด�ำเนินการ จดั การศกึ ษาแกบ่ คุ คลทไ่ี มม่ หี ลกั ฐานทะเบยี นราษฎรหรอื ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทย และออกระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าด้วยหลักฐานในการรับนักเรียน นักศึกษาเข้าเรียนในสถานศึกษา พ.ศ. 2548 เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษา แก่บุคคลที่ไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทย และเปิดกว้างให้ทุกคนเข้าเรียนได้โดยไม่จ�ำกัด ระดับ ประเภท หรือพ้ืนท่ี และได้ประสานการด�ำเนินการแก้ปัญหาการก�ำหนดสถานะของนักเรียน นักศึกษา ในสถานศกึ ษาร่วมกับกระทรวงมหาดไทยมาอย่างตอ่ เนอื่ ง เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาสถานะทางทะเบียนราษฎรของนักเรียนนักศึกษาในสถานศึกษาสังกัด กระทรวงศึกษาธกิ าร จึงออกประกาศไว้ให้สถานศกึ ษาน�ำไปปฏิบัตติ ัง้ แต่ปกี ารศกึ ษา 2561 เป็นตน้ ไป ดงั น้ี 1) ให้สถานศึกษารับเด็กหรือบุคคลท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มีสัญชาติไทยเข้าเรียน ตามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ดว้ ยหลกั ฐานในการรบั นกั เรยี น นกั ศกึ ษา เขา้ เรยี นในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 และตรวจสอบเอกสาร หลักฐานทางทะเบียนราษฎรของเด็กหรือบุคคลที่สมัครเข้าเรียน หากมีเอกสารหลักฐาน ทะเบียนราษฎรหรือเลขประจ�ำตัว 13 หลัก ให้ด�ำเนินการตามข้ันตอนปกติของสถานศึกษา หากไม่มีเอกสาร หลกั ฐานทะเบยี นราษฎรหรอื เลขประจำ� ตวั 13 หลกั ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอนในการกำ� หนดรหสั ประจำ� ตวั ผเู้ รยี นตาม ที่หน่วยงานต้นสังกัดก�ำหนด (G,P หรืออ่ืน ๆ) และให้ใช้เลขรหัสประจ�ำตัวนั้น (G,P หรืออ่ืน ๆ) ไปจนกว่าจะ ได้รบั การจดั ทำ� ทะเบียนราษฎร และไดเ้ ลขประจ�ำตัว 13 หลัก ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการทะเบียนราษฎร 2) ให้สถานศึกษาประสานผู้ปกครองของเด็กหรือบุคคลท่ีไม่มีหลักฐานทะเบียนราษฎรและ เลขประจ�ำตัว 13 หลัก เพื่อรวบรวมเอกสารหลักฐานท่ีเกี่ยวข้อง ประสานกับส�ำนักทะเบียนอ�ำเภอ/ ส�ำนักทะเบียนท้องถ่ิน เพ่ือแจ้งขอจัดท�ำเอกสารทะเบียนราษฎร และบัตรประจ�ำตัวในระบบฐานข้อมูลการ ทะเบยี นราษฎรตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการทะเบยี นราษฎร และนำ� เลขประจำ� ตวั 13 หลกั นนั้ มาใชเ้ ปน็ ฐานขอ้ มลู ผเู้ รยี น ในกรณีตรวจสอบแล้วพบว่าเป็นบุคคลที่ไม่สามารถก�ำหนดสถานะและเลขประจ�ำตัว 13 หลัก ตามกฎหมาย ว่าด้วยการทะเบียนราษฎรได้ อาทิ กรณีมีภูมิล�ำเนาอยู่ต่างประเทศหรือเดินทางไปกลับบริเวณชายแดนหรือ เป็นบุคคลที่ไมม่ ีตวั ตน ใหส้ ถานศกึ ษาก�ำหนดรหัสประจ�ำตวั ผเู้ รยี นตามที่ตน้ สังกัดกำ� หนด (G,P หรอื อืน่ ๆ) 3) เมอ่ื นกั เรยี น นกั ศกึ ษาไดร้ บั การจดั ทำ� เอกสารทะเบยี นราษฎร และบตั รประจำ� ตวั ในระบบฐานขอ้ มลู การทะเบยี นราษฎร (ได้รบั เลขประจำ� ตัว 13 หลกั ) เรียบรอ้ ยแลว้ ใหส้ ถานศึกษาแกไ้ ขข้อมลู ในทะเบียนนักเรียน ท่ีเปน็ ตวั อกั ษรสแี ดงออก ประกาศ ณ วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2561 (ลงช่ือ) ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศลิ ป์ (นายธรี ะเกยี รติ เจริญเศรษฐศลิ ป)์ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ 37
1.6 การด�ำเนนิ การของหน่วยงานตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์การจัดการปญั หาสถานะและสทิ ธิของบคุ คล มตคิ ณะรฐั มนตรี ลงวันท่ี 5 กรกฎาคม 2548 และระเบยี บ กระทรวงศึกษาธกิ ารว่าด้วยหลักฐานในการรับนกั เรยี น นกั ศกึ ษาเข้าเรียนในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548 หน่วยงาน การด�ำเนนิ การ กรมการปกครอง 1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอนุญาตให้บุคคลซึ่งไม่มีสัญชาติไทย กระทรวงมหาดไทย ออกนอกเขตควบคุมเป็นการชั่วคราว เพ่ือเข้าเรียนในสถานศึกษา พ.ศ. 2553 (ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ได้ก�ำหนดให้สามารถเดินทางไปศึกษาได้เป็นระยะเวลาตามหลักสูตรการศึกษา ว่าด้วยการอนุญาตให้บุคคลซึ่ง ระดับน้ัน ๆ โดยไมต่ อ้ งขออนุญาตเปน็ คร้ัง ๆ ไป โดยมแี นวทางดังนี้ คอื ไม่มีสัญชาติไทยออกนอกเขต 1.1 การยน่ื ค�ำร้อง ควบคุมเป็นการชั่วคราวเพ่ือ กรณีมีภูมิล�ำเนาอยู่ในกรุงเทพมหานคร: โดยส�ำนักกิจการความม่ันคงภายใน เขา้ เรยี นในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2553 กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ลงวันท่ี 2 กุมภาพันธ์ 2553 และ กรณีมีภูมิล�ำเนาอยู่ในเขตจังหวัดอ่ืน: ท่ีว่าการอ�ำเภอ/กิ่งอ�ำเภอท่ีผู้ร้อง ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง มีภูมิล�ำเนาโดยผู้ร้องต้องแจ้งสถานท่ีท่ีจะประสงค์ขอเดินทางไปศึกษา ช่ือสถานศึกษา การก�ำหนดเขตพื้นที่ควบคุมและ ชื่อหลักสูตร ระยะเวลา ที่ศึกษาตามหลักสูตร ระยะเวลาที่ขออนุญาต และสถานท่ี การอนุญาตให้คนต่างด้าวบาง พักอาศัยระหวา่ งศกึ ษา พรอ้ มเอกสารดังนี้ จำ� พวกทเี่ ขา้ มาอยใู่ นราชอาณาจกั ร 1) ส�ำเนาทะเบียนประวัตหิ รอื บัตรประจำ� ตวั เปน็ การชวั่ คราวออกนอกเขตพน้ื ท่ี 2) หนงั สอื รับรองการเป็นนกั เรยี น นักศึกษาของสถานศกึ ษา ควบคมุ ลงวนั ท่ี 15 มถิ นุ ายน 2559) 3) รปู ถา่ ยขนาด 1 น้ิว จ�ำนวน 4 รูป 4) หลักฐานทางการศึกษาอื่น ๆ (ถา้ มี) (การขออนญุ าตออกนอก เขตอ�ำเภอ/กงิ่ อ�ำเภอ ใหย้ ืน่ กอ่ นวันเดินทาง อย่างนอ้ ย 5 วนั ท�ำการ หากเป็นการขออนุญาตออกนอกเขตจังหวัด/กรุงเทพมหานคร ให้ยื่นก่อน วนั เดินทางอยา่ งน้อย 10 วันทำ� การ) 1.2 การอนญุ าตให้ออกนอกเขต ผู้มีอ�ำนาจใหอ้ นญุ าต 1.2.1 ออกนอกเขตกรุงเทพมหานคร-อธิบดีกรมการปกครอง หรือผู้ซึ่งอธิบดี มอบหมายออกนอกเขตอ�ำเภอ/กิ่งอำ� เภอ-นายอ�ำเภอ/ปลดั อำ� เภอ ผเู้ ป็นหวั หนา้ ประจ�ำ กิง่ อำ� เภอ 1.2.3 ออกนอกเขตจงั หวดั - ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั (โดยการเสนอของอำ� เภอ/กงิ่ อำ� เภอ) ระยะเวลาในการอนุญาต ให้อยู่ในดุลพินิจของผู้มีอ�ำนาจอนุญาต โดยให้พิจารณา จากระยะเวลาทีผ่ ูน้ น้ั ศึกษาตามหลักสูตรและระยะเวลาเดนิ ทางไป-กลับเป็นส�ำคัญ 38
หน่วยงาน การด�ำเนินการ กรณีจ�ำเป็นและมีเหตุผลพิเศษ เช่น กรณีขอออกนอกเขตเกินกว่าระยะเวลาตาม หลกั สูตรให้ผู้มอี �ำนาจอนญุ าตพิจารณาเป็นราย ๆ ไป การออกหนงั สอื อนญุ าต หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบจดั ทำ� สมดุ บนั ทกึ ควบคมุ การอนญุ าต ออกนอกเขต เพื่อกรอกรายละเอียดต่าง ๆ พร้อมทั้งมีช่องหมายเหตุส�ำหรับผู้ได้รับ อนุญาตลงลายมือช่ือหรือพิมพ์ลายนิ้วมือ เมื่อเดินทางกลับมารายงานตัวตามแบบ แนบทา้ ยแนวปฏบิ ัติ 1.3 การรายงานตวั 1.3.1 ผู้ได้รับอนุญาตต้องน�ำหนังสืออนุญาตและบัตรประจ�ำตัวพกพา ติดตัว ไปดว้ ยเพ่อื แสดงต่อเจา้ หน้าทรี่ ะหว่าง เดนิ ทางออกนอกเขต 1.3.2 การรายงานตวั เมอื่ ไปถงึ ทอ้ งทอี่ นั เปน็ สถานทพ่ี กั อาศยั อยรู่ ะหวา่ งการศกึ ษา กรณีท่ีพักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร - กรมการปกครอง โดยส�ำนักกิจการ ความมน่ั คงภายใน กระทรวงมหาดไทย กรณีท่ีพักอาศัยในเขตอ�ำเภอ/ก่ิงอ�ำเภอ - นายอ�ำเภอ/ปลัดอ�ำเภอผู้เป็นหัวหน้า ประจ�ำก่ิงอ�ำเภอ 1.3.3 กรณไี ดร้ บั อนญุ าตออกนอกเขต ฯ เกนิ กวา่ 1 ปี ตอ้ งรายงานตวั ทกุ 6 เดอื น นับแตว่ นั รายงานตวั ครัง้ แรก 1.3.4 หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบจดั ทำ� สมดุ บนั ทกึ ควบคมุ การรายงานตวั เพอ่ื กรอก รายละเอียดต่าง ๆ พร้อมทั้งมีช่องหมายเหตุส�ำหรับผู้มารายงานตัว ลงลายมือชื่อ หรือพิมพ์ลายนิว้ มือตามแบบแนบทา้ ยแนวปฏิบตั ิ ฯ นี้ 1.3.5 กรณเี ปลยี่ นแปลงทีพ่ ักอาศยั ให้แจง้ ทอ้ งที่ที่ผ้รู ายงานตัวมารายงานตัว เดิมทราบ เพื่อท่ีท้องท่ีดังกล่าวจะได้ออกหนังสือ เพ่ือให้ผู้แจ้งน�ำไปแจ้งท้องท่ีอันเป็น สถานทพี่ กั อาศยั ระหวา่ งการศกึ ษาใหมท่ ราบ นอกจากนี้ ทอ้ งทอ่ี นั เปน็ สถานทท่ี พ่ี กั อาศยั อยู่เดิมต้องแจ้งท้องที่อันเป็นสถานท่ีพักอาศัยระหว่างการศึกษาใหม่ รวมท้ังจังหวัด อันเปน็ เขตควบคุมของผทู้ ่ไี ดร้ ับอนญุ าต ออกนอกเขตฯ ทราบ ส�ำหรบั ผ้ทู ่ไี ด้รบั อนญุ าต ออกนอกเขต ฯ มหี น้าท่ีด�ำเนินการ ตาม 1.3.2 1.3.6 เมื่อระยะเวลาที่ได้รับอนุญาตให้ออกนอกเขตฯ สิ้นสุดลง ผู้ท่ีได้รับอนุญาต ออกนอกเขต ฯ ต้องกลบั ไปรายงานตวั ณ ทอ้ งทท่ี ่ีตนยนื่ คำ� รอ้ งขอออกนอกเขต ฯ ไว้ (หมายเหต:ุ รายละเอยี ดของเขตควบคมุ ของนักเรียน นกั ศกึ ษา ทเี่ ป็นบตุ รชนกลุ่มน้อย และไมม่ สี ญั ชาตไิ ทยซง่ึ ไดจ้ ดั ทำ� ทะเบยี นประวตั แิ ละบตั รประจำ� ตวั ไวแ้ ลว้ ใหเ้ ปน็ ไปตาม เขตควบคุมแนบท้ายระเบยี บกระทรวงมหาดไทยท่ีแนบทา้ ยแนวปฏิบตั ิ ฯ น้ี ส�ำหรับเขตควบคุมของนักเรียน นักศึกษาที่ไม่มีสัญชาติไทยกลุ่มอ่ืน ๆ ที่ไม่ใช่บุตร ชนกลุ่มน้อย รวมทั้งนักเรียน นักศึกษา ซ่ึงเป็นบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนและ ได้ส�ำรวจจัดท�ำทะเบียนประวัติและบัตรประจ�ำตัวตามระเบียบ ส�ำนักทะเบียนกลาง ที่ออกตามกฎหมายวา่ ด้วยทะเบยี นราษฎร ได้แก่ ทอ้ งที่ อำ� เภอ หรือกรุงเทพมหานคร ที่ได้ส�ำรวจจัดท�ำทะเบียนประวัติและบัตรประจ�ำตัวตามระเบียบส�ำนักทะเบียนกลาง ท่ีออกตามกฎหมายว่าด้วยทะเบียนราษฎร ให้แก่นักเรียน นักศึกษา ซึ่งเป็นบุคคล ที่ไม่มีสัญชาติไทย) 39
หน่วยงาน การด�ำเนนิ การ 1.4 บทลงโทษผู้ฝา่ ฝนื กรณนี กั เรยี น นกั ศกึ ษาไดเ้ ดนิ ทางออกนอกเขตควบคมุ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต หรอื ไม่ไปรายงานตัวตามท่ีก�ำหนดเม่ือไปถึงท้องท่ีอันเป็นสถานท่ีพักอาศัยอยู่ระหว่าง การศึกษา หรือเมื่อเปลี่ยนแปลงสถานท่ีพักอาศัยอยู่ระหว่างการศึกษาแห่งใหม่ หรือ เมื่อกลับถึงเขตควบคุมภายในก�ำหนดเวลาแล้วแต่กรณี ให้ถือว่าเป็นผู้ออกนอก เขตควบคมุ โดยไม่ได้รบั อนุญาต และมคี วามผดิ ตามกฎหมาย 2. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรอื่ ง การก�ำหนดเขตพนื้ ที่ควบคุมและการอนุญาต ให้คนตา่ งดา้ วบางจ�ำพวกท่ีเข้ามาอยใู่ นราชอาณาจกั รเป็นการช่วั คราวออกนอก เขตพื้นที่ควบคุม ก�ำหนดให้การออกนอกเขตพ้ืนท่ีควบคุมของคนต่างด้าวที่ ได้รบั อนุญาตเข้ามาอยู่ราชอาณาจักรเปน็ การชว่ั คราวให้ถอื ปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 2.1 การยื่นค�ำขอ (1) ในเขตท้องทจ่ี ังหวัด ใหย้ น่ื ค�ำขอต่อนายอ�ำเภอท่ีผ้ขู ออนุญาตมีภูมิล�ำเนา (2) ในเขตท้องที่กรุงเทพมหานคร ให้ย่ืนค�ำขอต่อผู้อ�ำนวยการส�ำนักกิจการ ความมน่ั คงภายใน กรมการปกครอง (การย่ืนค�ำขออนุญาตออกนอกเขตพ้ืนที่ตาม (1) หรือ (2) ต้องมาย่ืนก่อนวันท่ีจะออก นอกพื้นที่อย่างน้อย 3 วันท�ำการในเวลาราชการตามแบบที่ก�ำหนด และแนบรูปถ่าย ขนาด 1 นิ้ว จำ� นวน 2 รปู พรอ้ มแสดงหลักฐานทเี่ กยี่ วข้องให้แกเ่ จ้าหนา้ ท่ที ่รี ับผิดชอบ เพื่อใชป้ ระกอบการอนุญาต) 2.2 การอนญุ าตใหอ้ อกนอกเขต (1) กรณเี มอ่ื มเี หตจุ ำ� เปน็ ตอ้ งออกนอกเขตพนื้ ทคี่ วบคมุ คนตา่ งดา้ ว เพอ่ื ปฏบิ ตั ิ ตามกฎหมายระเบยี บ ขอ้ บงั คบั เปน็ พยานศาล ไดร้ บั หมายเรยี กจากพนกั งานสอบสวน มีหนังสือเรียกตัวจากหน่วยงานของรัฐเพื่อการรักษาพยาบาล หรือเหตุจ�ำเป็นอย่างอ่ืน จะอนญุ าตให้ออกนอกพ้นื ท่ีได้ครั้งละไมเ่ กนิ 15 วัน (กรณีขออนุญาตออกนอกเขตพ้ืนที่ควบคุมคนต่างด้าวเกิน 15 วัน ให้นายอ�ำเภอ ที่ผู้ขออนุญาตมีภูมิล�ำเนาในเขตท้องที่จังหวัด ผู้อ�ำนวยการส�ำนักกิจการความม่ันคง ภายใน กรมการปกครอง ในเขตทอ้ งท่ีกรุงเทพมหานคร พิจารณาอนุญาตเปน็ รายๆ ไป สว่ นในกรณเี พือ่ การรักษาพยาบาลให้เปน็ ไปตามความเห็นของแพทยท์ ่ที �ำการรกั ษา) (2) กรณีออกนอกเขตพ้ืนท่ีควบคุมคนต่างด้าวเพ่ือไปท�ำงาน ระยะเวลาใน การอนุญาตให้อยู่ในดุลพินิจของนายอ�ำเภอท่ีผู้ขออนุญาตมีภูมิล�ำเนาในเขตท้องท่ีจังหวัด ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั กจิ การความมนั่ คงภายในกรมการปกครอง ในเขตทอ้ งทกี่ รงุ เทพมหานคร โดยให้พิจารณาจากระยะเวลาท่ีผู้น้ันได้รับอนุญาตให้ท�ำงานจากกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน (พิจารณาจากประเภทของการท�ำงานและฐานะการด�ำรงชีพของผู้ขอ เป็นสำ� คัญ) 40
หน่วยงาน การด�ำเนนิ การ (3) การอนุญาตออกนอกเขตควบคุมคนต่างด้าวนอกเหนือ (1) และ (2) ให้เสนอปลดั กระทรวงมหาดไทย พจิ ารณาเปน็ ราย ๆ ไป (4) กรณรี ะยะเวลาการขออนญุ าตสน้ิ สดุ หากประสงคจ์ ะอาศยั อยตู่ อ่ เนอ่ื งดว้ ย เหตจุ ำ� เปน็ ใหข้ ออนญุ าตตอ่ นายอำ� เภอแหง่ ทอ้ งทท่ี ไี่ ปพกั อาศยั อยหู่ รอื ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั กิจการความม่ันคงภายใน กรมการปกครอง กรณีอาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ท้ังนี้ อนญุ าตได้ครั้งเดียวและไม่เกนิ 15 วนั 2.3 การรายงานตวั (1) กรณีออกนอกเขตพื้นที่ควบคุมคนต่างด้าวเกิน 7 วัน ให้ไปรายงานตัว ภายใน 48 ชัว่ โมง นบั ต้ังแตท่ ่ีเดินทางไปถึง ต่อผ้มู อี ำ� นาจดังต่อไปน้ี (ก) จงั หวดั อน่ื ใหร้ ายงานตัวต่อนายอ�ำเภอแห่งทอ้ งทีท่ ่ีไปพกั อาศัยอยู่ (ข) กรุงเทพมหานคร ให้รายงานตัวต่อผู้อ�ำนวยการส�ำนักกิจการ ความมั่นคงภายใน กรมการปกครอง (2) กรณไี ดร้ บั อนญุ าตใหอ้ อกนอกเขตพนื้ ทคี่ วบคมุ คนตา่ งดา้ วเกนิ 6 เดอื น ให้ รายงานตวั ตอ่ ผู้มีอ�ำนาจตาม (1) ทกุ 6 เดือน (3) เม่ือส้ินสุดระยะเวลาการออกนอกเขตพื้นที่ควบคุมคนต่างด้าวให้กลับไป รายงานตัวต่อผู้มีอ�ำนาจที่ออกหนังสืออนุญาตภายใน 3 วันนับแต่วันสิ้นสุดระยะเวลา การอนุญาต 2.4 ขอ้ ก�ำหนดในการอนญุ าต คนต่างด้าวที่ออกนอกเขตพ้ืนท่ีควบคุมคนต่างด้าวโดยไม่ปฏิบัติตามประกาศน้ี อาจเปน็ ความผิดตามกฎหมายว่าดว้ ยคนเข้าเมอื ง กรมการปกครอง 3. หนังสือ มท ท่ี 0309/ว 3993 ลงวันท่ี 28 ก.พ. 2560 เรื่อง การปฏิบัติในการ กระทรวงมหาดไทย พจิ ารณาใหส้ ญั ชาตไิ ทยตามมาตรา 7 ทวิ วรรคสอง แหง่ พระราชบญั ญตั สิ ญั ชาติ (ตามหนงั สอื มท ที่ 0309/ว 3993 พ.ศ. 2508 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2551 และมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 28 ก.พ. 2560 เรอ่ื ง การ วนั ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ปฏบิ ตั ใิ นการพจิ ารณาใหส้ ญั ชาตไิ ทย ตามมาตรา 7 ทวิ วรรคสองแห่ง ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 7 ธันวาคม 2559 อนุมัติหลักเกณฑ์การได้สัญชาติไทย พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. 2508 ส�ำหรับเดก็ นักเรยี น นักศกึ ษาและบุคคลไร้สัญชาติทเ่ี กิดในราชอาณาจักรไทย แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2551 1. หลกั เกณฑก์ ารได้สญั ชาติไทย และมตคิ ณะรฐั มนตรี วนั ท่ี 7 ธนั วาคม 1.1 การได้สัญชาติไทยของกลุ่มบุคคลท่ีเกิดในราชอาณาจักรโดยมีบิดา พ.ศ. 2559 และหนังสือ มท. หรือมารดาเป็นชนกลุ่มน้อยหรือกลุ่มชาติพันธุ์ท่ีเข้ามาอาศัยอยู่ในราชอาณาจักรและ ท่ี 0309/ว3008 ลงวนั ท่ี 1 ม.ิ ย. 2560 อยู่ต่อเนื่องเป็นเวลานานไม่น้อยกว่า 15 ปี นับถึงวันท่ีบุตรยื่นค�ำขอมีสัญชาติไทย เรอื่ ง การแกไ้ ขปญั หาสถานะบคุ คล ซ่ึงหมายความรวมถึงบิดาหรือมารดาท่ีได้รับการจัดท�ำทะเบียนประวัติและต่อมา และสญั ชาตขิ องเดก็ นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ได้เสียชีวิตในราชอาณาจักรภายหลังบุตรเกิด หรือถูกจ�ำหน่ายรายการทะเบียนราษฎร โดยไม่ได้เกดิ จากการทจุ ริตหรอื การกระท�ำโดยมิชอบดว้ ยกฎหมายดว้ ย ที่ไร้สญั ชาติไทย) 41
หน่วยงาน การด�ำเนนิ การ 1.2 การได้สัญชาติไทยของกลุ่มบุคคลท่ีเกิดในราชอาณาจักรโดยมีบิดา และมารดาเป็นคนต่างด้าวอื่น จะขึ้นอยู่กับสถานะของบุคคลและการศึกษาเล่าเรียน ของผู้ที่จะขอมีสัญชาติไทยเป็นส�ำคัญ โดยผู้ที่จะได้รับสัญชาติไทยจะต้องเป็นผู้ท่ีเกิด และอาศัยอยู่ในราชอาณาจักร และศึกษาเล่าเรียนในราชอาณาจักรจนจบการศึกษา ไม่ต่�ำกว่าระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการ ให้การรบั รอง 2. สถานทยี่ ่ืนค�ำขอมสี ญั ชาติไทย 2.1 ผู้ขอมีสัญชาติไทยท่ีมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านหรือทะเบียน ประวัติอยู่ในจังหวัดอ่ืนนอกกรุงเทพมหานคร ให้ย่ืนค�ำขอที่อ�ำเภอท้องที่ที่มีชื่อ ในทะเบียนบ้าน (ท.ร.13) หรือทะเบียนประวัติ ท.ร. 38 หรือ ท.ร. 38 ก แล้วแต่ กรณี 2.2 ผขู้ อมสี ญั ชาตไิ ทยทม่ี ชี อื่ และรายผขู้ อมสี ญั ชาตไิ ทยทม่ี ชี อื่ และรายการบคุ คล ในทะเบียนบ้านหรือทะเบียนประวัติอยู่ในกรุงเทพมหานคร ให้ย่ืนค�ำขอที่ส่วน การทะเบยี นราษฎร สำ� นกั บรหิ ารการทะเบยี น ชนั้ 3 อาคารกรมการปกครอง (คลอง 9) อ.ล�ำลกู กา จ.ปทมุ ธานี 3. ผู้มอี �ำนาจพิจารณาคณุ สมบัตแิ ละอนุมตั ิใหล้ งรายการสัญชาตไิ ทย 3.1 นายอ�ำเภอ และผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารการทะเบียน แล้วแต่กรณี เป็นผู้อนุมัติให้ลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบ้านส�ำหรับผู้ขอที่มีอายุไม่เกิน 18 ปบี รบิ รู ณใ์ นวันทีย่ นื่ ค�ำขอมีสญั ชาตไิ ทย 3.2 ผ้วู ่าราชการจังหวดั และอธบิ ดกี รมการปกครอง แลว้ แต่กรณี เปน็ ผู้อนมุ ตั ิ ให้ลงรายการสัญชาติไทยในทะเบียนบ้านส�ำหรับผู้ขอที่มีอายุเกินกว่า 18 ปีบริบูรณ์ใน วนั ทย่ี ื่นคำ� ขอมีสญั ชาตไิ ทย 4. ระยะเวลาด�ำเนินการ 4.1 ขั้นตอนในความรับผิดชอบของอ�ำเภอ ต้ังแต่การรับค�ำขอมีสัญชาติไทย จนถึงการส่งค�ำขอมีสัญชาติไทยให้จังหวัดหรือส�ำนักบริหารการทะเบียน ให้แล้วเสร็จ ภายใน 90 วัน หากมีเหตุจ�ำเป็นสามารถขยายระยะเวลาได้อีก 30 วัน รวมไม่เกิน 120 วนั 4.2 ขน้ั ตอนในความรบั ผิดชอบของจังหวัด ก�ำหนดให้แลว้ เสร็จภายใน 60 วัน หากมีเหตจุ ำ� เป็นสามารถขยายระยะเวลาได้อีก 30 วนั รวมไม่เกนิ 90 วนั 4.3 ขั้นตอนในความรับผิดชอบของส�ำนักบริหารการทะเบียน ต้ังแต่การรับ คำ� ขอจากอำ� เภอหรอื จงั หวดั จนถงึ การแจง้ เลขประจำ� ตวั ประชาชน กำ� หนดใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายใน 30 วนั 42
หน่วยงาน การด�ำเนนิ การ หนงั สอื มท. ท่ี 0309/ว3008 ลงวนั ท่ี 1 มิ.ย. 2560 เรื่อง การแกไ้ ขปญั หาสถานะ บคุ คลและสัญชาตขิ องเด็กนกั เรยี น นกั ศึกษาทีไ่ รส้ ญั ชาตไิ ทย กระทรวงมหาดไทยได้เร่งรัดการด�ำเนินงานตามโครงการการก�ำหนดสถานะให้แก่ บุคคลไร้สัญชาติ โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาสัญชาติและสถานะบุคคลให้แก่เด็ก และเยาวชนท่ีก�ำลังศึกษาเล่าเรียน โดยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การให้สัญชาติไทย แก่เด็กนักเรียน นักศึกษาและบุคคลไร้สัญชาติที่เกิดในราชอาณาจักรไทย ตามมติ คณะรฐั มนตรี เมอ่ื วนั ที่ 7 ธนั วาคม 2559 ไดข้ อใหจ้ งั หวดั สง่ั การทกุ อำ� เภอดำ� เนนิ การ 1. ให้น�ำบัญชีรายช่ือเด็กนักเรียน นักศึกษาที่ไม่มีสัญชาติไทยตามที่อ�ำเภอได้รับ จากกรมการปกครอง หรือโรงเรียนหรือสถานศึกษาในพ้ืนที่ กลับมาตรวจสอบใหม่ โดยเฉพาะรายการบคุ คลทเ่ี คยพจิ ารณาวา่ ไมม่ คี ณุ สมบตั ทิ จ่ี ะไดส้ ญั ชาตไิ ทยตามกฎหมาย และมติคณะรัฐมนตรี เพ่ือตรวจสอบว่าเป็นบุคคลกลุ่มเป้าหมายตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 7 ธันวาคม 2559 หรอื ไม่ อย่างไร 2. ให้อ�ำเภอแจ้งประชาสัมพันธ์ เรื่อง การปรับปรุงหลักเกณฑ์การให้สัญชาติไทย ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 7 ธันวาคม 2559 ให้ประชาชนทราบอย่างท่ัวถึง และ ให้นายอ�ำเภอจัดท�ำแผนปฏิบัติงานในการแก้ไขปัญหาสัญชาติของกลุ่มเป้าหมาย ใหช้ ดั เจนและเหมาะสม 43
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258