Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore assessment_thasanee

assessment_thasanee

Published by thastri, 2021-02-24 08:01:20

Description: assessment_thasanee

Search

Read the Text Version

กระบวนการพยาบาล การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ ทัศนีย์ ตรศิ ายลักษณ์

บทที่ 3 การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ ทศั นีย์ ตริศายลักษณ์ การประเมนิ สภาพร่างกาย เป็นการคน้ หาปัญหาของผ้ปู ่วยโดยการใช้เทคนิคตา่ ง ๆ ในการ ตรวจหลังจากซกั ประวตั ิผู้ปว่ ย ด้วยเทคนคิ การส่ือสารท่ีเหมาะสมรว่ มกบั การตรวจร่างกายท่ีถูกต้อง การตรวจร่างกายต้องสมั พนั ธ์กบั ประวัตขิ องผู้ป่วย ต้องใหผ้ ้ปู ว่ ยอยู่ในทา่ ทเี่ หมาะสมและสุขสบายใน ท่านงั่ หรือนอน ปิดสว่ นท่ีไม่ต้องการตรวจใหเ้ รียบร้อย ตรวจร่างกายทกุ สว่ นตามลำดับต้งั แตศ่ ีรษะลง มาถึงปลายเท้าโดยไม่เวน้ สว่ นใด ขณะตรวจให้นกึ ถงึ กายวิภาคและสรีรวิทยาของร่างกายด้วย ถ้า อวัยวะมี 2 ขา้ ง ให้เปรียบเทียบแต่ละข้าง อธิบายใหผ้ ปู้ ว่ ยเขา้ ใจถงึ วัตถปุ ระสงค์ และวิธีตรวจ เพื่อให้ ผู้ปว่ ยร่วมมือ การประเมนิ สภาพรา่ งกายมีรายละเอียดดงั น้ี 1. เทคนิคในการประเมนิ ภาวะสุขภาพ และการสอื่ สารทางการพยาบาล การส่ือสารมีความสำคญั ในการดำรงชวี ติ ประจำวนั และการพัฒนาคุณภาพชีวิต ในดา้ นการ พยาบาล การตดิ ต่อสื่อสารกับผรู้ บั บรกิ ารเปน็ พืน้ ฐานของการพยาบาลทุกสาขา โดยจะมีส่วนรวมอยู่ ในกจิ กรรมการพยาบาลทกุ อย่าง การส่ือสารจึงเป็นเคร่อื งมือสำคัญอยา่ งหน่ึงของการพยาบาล ดังน้นั พยาบาลจำเปน็ ต้องมีความรู้และทกั ษะการตดิ ต่อสือ่ สารในการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล เพือ่ ให้การ พยาบาลมีคุณภาพ 1.1. ประเภทของการสือ่ สาร การสอ่ื สาร เปน็ กระบวนการถา่ ยทอดและแลกเปลีย่ นข้อมลู ขา่ วสาร ความคิด ความเชอ่ื ความรสู้ กึ ความรู้และทัศนคติซ่ึงกนั และกนั ระหวา่ งบุคคลอย่างน้อยสองคนได้แก่ผ้สู ง่ ข่าวสาร และ ผู้รับข่าวสาร การสือ่ สารมี 3 ประเภทดังน้ี 1.1.1. การสื่อสารดว้ ยการพูดและการเขยี น (Verbal Communication) ขอ้ มูลที่ แสดงออกโดยการพูดและเขียนจะสอ่ื ให้เข้าใจได้งา่ ยและชัดเจนแต่ผู้สง่ ขา่ วสารอาจจะปกปิดความรู้สกึ นกึ คิดที่แทจ้ ริงไวห้ รือ บรรยายความรู้สึกทแี่ ท้จรงิ ไม่ได้ 1.1.2. การสือ่ สารด้วยภาษาท่าทาง(Nonverbal Communication) หรืออวัจนภาษา เป็นการแสดงกริ ิยาท่าทาง การเคล่ือนไหว การสัมผัส การแสดงออกทางสหี นา้ และการประสาน สายตา น้ำเสียงท่ีพูด การสอื่ สารดว้ ย ภาษาท่าทางสามารถแสดงออกถึงอารมณ์ ความรสู้ กึ ต่างๆท่ีไม่ สามารถอธบิ ายเป็นคำพูดและการเขยี นได้ ปจั จัยด้านสงิ่ แวดลอ้ มของการส่ือสาร การส่ือสารไม่ได้ เกดิ ข้นึ อย่างโดดเดย่ี ว แตก่ ารส่ือสารทุกขณะเกดิ ข้นึ ภายใต้บริบท หรือ ส่งิ แวดล้อมอย่างใดอย่างหน่ึง ดงั น้นั สิ่งแวดลอ้ มการสอ่ื สารจึงมีผลต่อการสื่อสารของมนุษย์ด้วย สง่ิ ที่อาจมี ผลตอ่ การสอื่ สาร ไดแ้ ก่

เวลา สถานท่ี บคุ คล อุปกรณ์ต่างๆ และรวมทัง้ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตวั ผทู้ ่ีมาสอ่ื สารท่จี ะเกิดขึ้น การ ส่อื สารจะราบร่นื และเกิดผลดี ถ้าผู้สือ่ สารทำการส่อื สารไดเ้ หมาะสมกับ กาลเทศะ และสิ่งแวดลอ้ ม การพยาบาลกับอวัจนภาษาได้เข้ามามีบทบาทสำคญั โดยพยาบาลจะต้องตระหนกั ถงึ อวจั นภาษาของตนเองและรบั รทู้ ำความเข้าใจต่ออวจั นภาษาของผรู้ บั บริการ จึงจะทำให้พยาบาลมี ความเข้าใจต่อสภาวะของผ้รู ับบรกิ ารอยา่ งแทจ้ ริง ซึง่ จะมผี ลต่อการปฏิบตั กิ ารพยาบาลทีม่ ี ประสิทธิภาพ สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผ้รู บั บรกิ าร เปน็ เครอ่ื งมือท่ีสำคัญในการปฏิบตั ิการ พยาบาล พยาบาลจงึ ควรมีความร้แู ละความเข้าใจแนวคิดทฤษฎที ีเ่ กีย่ วขอ้ ง สัมพนั ธภาพเพอ่ื การ บำบัดรกั ษา มีลักษณะพเิ ศษที่แตกตา่ งไปจากลักษณะของสัมพันธภาพใน สังคมท่วั ไป คือ 1.1.2.1 Goal directed เป็นการสร้างสัมพันธภาพทีม่ ีจุดประสงค์เฉพาะ เพื่อการ ช่วยเหลือผู้รบั บริการ ใหพ้ ฒั นาความสามารถในการอยู่รว่ มกับผ้อู น่ื ในสงั คมได้ 1.1.2.2 Helping เปน็ สมั พนั ธภาพทพ่ี ยาบาลมุง่ ให้การชว่ ยเหลอื ผรู้ บั บริการเปน็ สำคญั คอื จะเป็นเพยี ง ผู้ใหแ้ ตไ่ มเ่ ป็นผูร้ ับ และไม่หวังผลตอบแทน 1.1.2.3 Process dynamic เปน็ กระบวนการท่ีมีข้ันตอน มีการประเมนิ ผลเป็น ระยะ หากสมั พนั ธภาพดำเนินไปไม่ดหี รือไมเ่ ปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ พยาบาลจะต้องปรับปรงุ รูปแบบ การสร้างสมั พันธภาพ เสียใหม่ 1.1.2.4 Action-oriented ในการสร้างสมั พันธภาพจะนำปฏกิ ริ ยิ าของผู้รบั บริการ มาเปน็ แนววิเคราะห์เพ่ือชว่ ยเสรมิ สร้างและพัฒนาความสามารถในการอยู่ร่วมกนั กับผู้อื่น 1.1.2.5 Satisfaction gain ความพอใจของพยาบาล อย่ทู ีว่ ่าผ้รู ับบรกิ ารได้รบั การ เรียนรแู้ ละพัฒนาบุคลิกภาพและความสามารถในการสร้างสัมพนั ธภาพกับผอู้ ื่นและกลบั เข้าสู่สังคมได้ 1.1.2.6 Terminated-relationship เป็นสมั พันธภาพที่มกี ารเริม่ ตน้ และมีการ ส้ินสุดภายหลงั จากบรรลวุ ัตถุประสงค์ หรอื ส้นิ สดุ ระยะเวลาในการสรา้ งสมั พนั ธภาพแล้ว ท้ังนี้เพ่ือให้ ผู้รับบริการไดเ้ ปน็ ตัวของตวั เอง ได้ตัดสินใจเอง โดยมพี ยาบาลเปน็ เพยี งผแู้ นะนำหรอื เป็นทีป่ รกึ ษาเม่อื จำเป็นเทา่ นั้น 1.1.3 ปจั จัยดา้ นสภาพการสอ่ื สาร สภาพการส่ือสารเองก็เป็นปัจจยั สำคัญอีกประการ หน่งึ ทม่ี สี ่วนกำหนดวา่ การสื่อสารจะปรากฏผล ออกมาชัดเจน เขา้ ใจตรงกนั หรือไม่ 1.2. หลักการสื่อสาร การสือ่ สารที่มีประสิทธภิ าพและประสิทธิผลสูงสุดควรมีลักษณะถูกต้อง น่าเชอื่ ถือ เนอื้ หา สาระเหมาะสม มคี วามชัดเจน เหมาะสมกับกาลเทศะ มีความต่อเนื่องสม่ำเสมอ เลือกใชส้ ื่อได้ เหมาะสม และ คำนึงถงึ ความสามารถของผรู้ ับสาร การพยาบาลมีเป้าหมายในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการพยาบาลต่างๆ เพื่อช่วยผู้รบั บริการ ซ่ึง ปฏบิ ัติการพยาบาลน้ัน ๆ จะต้องทำใหผ้ ูร้ ับบริการมีความรู้สึกถึงคุณคา่ พลังความสามารถของตนเอง

ช่วยใหผ้ ูร้ ับบริการมีสว่ นรว่ มในการรับผดิ ชอบต่อการหายจากความเจ็บปว่ ยของตนเอง ชว่ ยใหผ้ รู้ ับ บริการได้ตดิ ตอ่ สื่อสารกบั บุคลากรทางสุขภาพอนามัย ซึ่งการพยาบาลใหบ้ รรลุเป้าหมาย เหล่านไ้ี ด้นั้น จะข้ึนอยกู่ ับสมั พนั ธภาพระหว่างพยาบาลกับผู้รับบริการทั้งสิ้น และสัมพันธภาพทเ่ี กดิ ขน้ึ นน้ั ขนึ้ อยู่กบั สัมพันธภาพกับผู้รับบริการก็คือสัมพนั ธภาพเพ่ือการชว่ ยเหลือ อาจกล่าวไดว้ ่าการดำเนินสัมพันธภาพ เพอื่ การชว่ ยเหลือเป็นส่วนหน่ึงของการพยาบาล 1.3. คุณลกั ษณะของพยาบาลในการสร้างสัมพันธภาพ การดำเนนิ สมั พันธภาพเพื่อการชว่ ยเหลือจึงเปน็ ทกั ษะที่จำเป็นในการรกั ษาพยาบาล ทักษะ ทางการสื่อสารทเ่ี ป็นองคป์ ระกอบสำคัญในการดำเนินสมั พันธภาพ เพ่อื ช่วยเหลือใหด้ ำเนนิ ไปดว้ ยดี การมีสัมพนั ธภาพทดี่ ีไดพ้ ยาบาลจะมคี ุณลักษณะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1.3.1. ความรักในเพื่อนมนุษย์(Love) พยาบาลจะต้องมคี วามรักในเพื่อนมนุษยแ์ ละใน ผู้รบั บริการ ซ่งึ หมายถึงความห่วงใย (care) และความเอาใจใส่ (concern) ทพ่ี ยาบาลจะพงึ มีต่อเพื่อน มนุษยด์ ว้ ยกัน ถ้าปราศจากสง่ิ เหลา่ นีแ้ ล้วสมั พันธภาพเพ่ือการบำบดั ทางจติ จะไมเ่ กิดข้ึน ความหว่ งใย หมายถงึ การทีบ่ ุคคลหนึ่งได้ใช้ตนเองเข้าไปเกี่ยวข้องกับบุคคลอน่ื โดย ความรูส้ ึกมุ่งมั่นท่ีจะชว่ ยเหลอื สละเวลาและความรสู้ กึ ความสามารถในการที่จะชว่ ยผูอ้ ่นื ดว้ ยความ เตม็ ใจ พร้อมท่ีจะแลกเปลย่ี นความเป็น “ตนเอง ” ของกันและกันให้เกิดประโยชนใ์ นการแก้ปัญหา เป็นการช่วยแบ่งเบาความรสู้ ึกทุกขท์ รมาน และความไมส่ ุขสบายตา่ งๆ ความเอาใจใส่ เปน็ การแสดงออกซง่ึ ความนับถือที่จะพงึ มีต่อบุคคลอืน่ ในฐานะบคุ คล แสดงออกซ่ึงความเคารพในคุณค่าของบุคคลโดยการให้สนใจ ให้ความเป็นกนั เองและแสดงออกซ่ึงผู้ อยู่ใกล้รู้สกึ ผ่อนคลาย เมือ่ พยาบาลแสดงออกถึงความรสู้ ึกหว่ งใยและเอาใจใสต่ อ่ ผู้รบั บรกิ ารน้ัน ผูร้ บั บริการจะเกิดความร้สู กึ มีคุณค่าในตนเอง ความรู้สึกในการมีส่วนรว่ มและเปน็ เจ้าของ ซ่ึง ความรสู้ กึ ดังกล่าวนี้จะก่อใหเ้ กิดความร้สู กึ อบอุน่ เชื่อม่นั เกิดกำลงั ใจและความหวัง ความไว้เน้ือเชื่อใจ จะตามมาอีกด้วย การแสดงออกในความรกั ความห่วงใยท่ีพยาบาลจะพงึ มีต่อผู้รับบริการนัน้ แสดงออก ได้ต้ังแตส่ ิง่ เล็กๆ น้อยๆ และง่ายๆ จนกระทั่งถงึ สิง่ ทซี่ บั ซ้อน ไดแ้ ก่ - การยมิ้ ให้ผ้ปู ว่ ย - การแสดงการยอมรับโดยการพยักหน้าในขณะพบหรือพดู คยุ - การเรียกช่อื ผ้รู ับบรกิ ารได้ถูกต้อง - รูจ้ กั ขอโทษเมอ่ื มีโอกาสจะพึงกระทำ - ใหข้ ้อมูลที่ถกู ต้อง ชัดเจน และจำเปน็ - ตอบคำถามหรอื ขอ้ สงสยั ด้วยความจรงิ ใจ - เอาใจใสผ่ ู้รับบริการ - ให้เวลาในการอธบิ ายสิง่ ต่างๆ ดว้ ยความเต็มใจ

- รับฟังปัญหาท่ีผูร้ บั บรกิ ารระบายได้ แมจ้ ะต้องฟังซ้ำหลายครง้ั - แสดงออกถงึ ความหว่ งใยในความสุขสบาย เช่น การหม่ ผ้าใหผู้รับบรกิ าร - แสดงกิริยาสุภาพ และมน่ั คงต่อผ้รู บั บรกิ าร - เสาะแสวงหาแหลง่ ขอความรว่ มมอื เพอ่ื ช่วยเหลอื ผู้รบั บรกิ ารในการแกป้ ญั หา - รักษาคำมนั่ สญั ญาที่ให้ไว้กบั ผูร้ ับบริการ การกระทำท่ีกลา่ วมาเป็นเคร่อื งแสดงถึงความห่วงใย เอาใจใส่ ทพ่ี ยาบาลจะแสดงออก ไดใ้ นการให้การพยาบาลในกิจกรรมประจำวนั และการแสดงออกในลักษณะนี้ ทำให้งานกจิ วัตรของ พยาบาลกลายเป็นการบำบดั ไปดว้ ย 1.3.2. การเคารพในความเป็นบคุ คล(Respect)ของผอู้ น่ื การเคารพในความเปน็ บุคคล ของผู้อน่ื หมายถงึ การท่ีพยาบาลมคี วามรสู้ กึ และแสดงออกถงึ ความนบั ถอื ในคุณค่าของความเป็น ตนเองในแตล่ ะบุคคลต่อผู้รบั บริการ นั่นคือพยาบาลจะส่ือสารให้ผูร้ บั บรกิ ารรับทราบว่า เขามีคุณค่า และมีความสำคญั เม่ือใดก็ตามท่ีพยาบาลทำใหผ้ รู้ ับบริการรบั รู้ได้ ผู้รับบริการจะร้สู ึกวา่ ตนมี ความหมายไดร้ บั การเอาใจใส่ สนใจ มีผู้กล่าวว่าการเคารพในความเปน็ บคุ คลของผู้อ่ืนเปน็ รากฐานท่ี สำคัญของการดำเนินสมั พนั ธภาพระหว่างบคุ คล เพราะการไดร้ ับความเคารพ การได้รบั เกยี รติเปน็ ความตอ้ งการพื้นฐานทางจิตใจมนุษย์ ท่ีทำใหม้ นุษย์รวู้ า่ ตนเองเปน็ คนมคี ุณคา่ 1.3.3. การเห็นใจเขา้ ใจในความรู้สึกของผู้อนื่ (Empathy) การทพ่ี ยาบาลแสดงให้ ผรู้ บั บรกิ ารเขา้ ใจวา่ พยาบาลเขา้ ถงึ ความรู้สึกและอารมณ์ของผ้รู บั บริการเป็นปัจจัยสำคัญอย่างยิง่ ใน การพยาบาลทีพ่ ยาบาลใชเ้ ป็นเครอ่ื งมอื สำคัญเพื่อการบำบัดรกั ษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกจิ กรรมการ สรา้ งสัมพนั ธภาพระหวา่ งพยาบาลและผรู้ บั บรกิ าร ในหลายโอกาสผูร้ ับบรกิ ารไมส่ ามารถอธิบายหรอื บอกถึงความรู้สกึ ของตนได้ดเี ท่าทคี่ วร การเข้าถงึ ความรู้สึกที่แท้จรงิ ของผรู้ ับบริการจะชว่ ยใหพ้ ยาบาล ไดร้ บั ทราบถงึ ความหมายและความรสู้ กึ ตามความเป็นจรงิ ที่เป็นอยู่ เป็นความไวต่อการรบั ร้คู วามรสู้ ึก ของผูร้ ับบริการท่ีพยาบาลจำเป็นต้องพฒั นา และการเขา้ ถงึ ความรู้สกึ น้เี ปน็ ความเข้าใจที่เกิดจาก ความรสู้ กึ “ภายใน”ของตวั พยาบาลเองมากกวา่ ความรสู้ ึกทีไ่ ด้จากส่วนประกอบ “ภายนอก” ของตวั พยาบาล การเขา้ ใจถึงความรสู้ กึ ของบุคคลอืน่ พยาบาลต้องมีการรับร้ตู นเองเป็นอย่างดแี ละสามารถ แยกความร้สู ึก คา่ นยิ มของตนเองไวค้ นละส่วน ไมน่ ำไปปะปนกบั ความรู้สกึ ท่ผี ูร้ บั บริการมอี ยู่ การ เข้าถงึ ความรสู้ กึ ของบุคคลอ่นื จึงมใิ ช่เพียงเขา้ ใจความหมายทีผ่ ้รู ับบริการบอก หากจะต้องเขา้ ใจและ ตระหนกั ต่อความรสู้ ึกจริงของผรู้ บั บริการโดยอาศัยความไวต่อการรบั ความรสู้ ึก (sensitivity) ของ พยาบาลเอง ทั้งน้พี ยาบาลไม่จำเป็นต้องใส่ความรสู้ ึกน้ันเข้าไปปะปนกับความรสู้ ึกของผ้รู ับบริการ ความรู้สึกของพยาบาลนี้เรียกว่า “internalized” ซึ่งจะทำให้พยาบาลเกดิ ความรู้สึกและอารมณ์ เช่นเดยี วกับทผี่ ู้รับบริการกำลังเปน็ อยู่ และการเกดิ ความรู้สกึ ดงั กลา่ วน้ีจะไมเ่ ปน็ ประโยชนต์ ่อการ ช่วยเหลอื หากแต่พยาบาลจะตอ้ งสามารถ “ตระหนัก” ในความรู้สกึ ตามความเป็นจริงที่ผู้รับบริการมี

อยูน่ ั้นได้ใกล้เคียงกับความเป็นจรงิ ซึ่งเรียกวา่ “การเข้าถึงความรูส้ ึก” โดยท่ไี มไ่ ดน้ ำความรูส้ ึก ค่านิยม ของพยาบาลเข้าไปเกีย่ วข้อง และพยาบาลสามารถฝึกการเขา้ ถึงความรู้สกึ ของผรู้ ับบริการได้ โดยไม่ จำเป็นที่วา่ พยาบาลผู้นั้นจะต้องเคยมีปัญหาอย่างเดียวกันหรือคล้ายๆ กันกบั ปญั หาของผู้รับบรกิ ารมา ก่อน หากแตเ่ ครื่องมือสำคัญทีพ่ ยาบาลจะตอ้ งฝกึ คือ ความไวในการรับความรสู้ กึ และการพฒั นาการ รับรู้ตนเอง หรอื การรู้สตใิ นตนเอง 1.3.4. ความเชอ่ื ถือ ไว้วางใจ (Trust) การที่บคุ คลมีความยอมรับ เชอ่ื ถือ ม่ันใจว่าบุคคล ทเ่ี ขาเช่ือถือน้ันจะกระทำในสิง่ ทด่ี ีท่ีสดุ กบั เขา และไมเ่ ป็นอนั ตรายกบั เขา ในทางการพยาบาลความ เช่ือถอื ไว้วางใจเปน็ สง่ิ สำคัญท่ีจะทำให้การดำเนินสมั พันธภาพเพ่ือการบำบดั ระหว่างพยาบาลกับ ผรู้ ับบริการเป็นไปด้วยดี เน่ืองจาก ผรู้ บั บริการมีความเชอ่ื ถือไว้วางใจ พยาบาลจะมคี วามเชอ่ื ม่ันว่า เมอื่ ใดก็ตามท่เี ขามปี ญั หา พยาบาลสามารถช่วยเขา ได้ 1.3.5. ความจรงิ ใจ (Genuineness) การแสดงตนออกมาอยา่ งเป็นธรรมชาตทิ ี่แท้จริง และเปดิ เผยความร้สู ึก ความคดิ ของตนเองออกมาอยา่ งแท้จริง ไม่เสแสรง้ ตามบทบาทท่ีควรแสดงออก ช่วยให้สมั พนั ธภาพ มปี ระสิทธภิ าพและ เป็นไปโดยธรรมชาติ ในระยะตน้ ๆ ของสัมพนั ธภาพอนั เป็น การช่วยเหลอื นน้ั นอกจากจะตอ้ งการ การแสดงออกซึง่ ความเห็นอกเห็นใจ และการยอมรบั นบั ถือแล้ว ยงั ตอ้ งการปราศจากการเสแสร้ง (phoniness) ในระยะต้นๆ จะรับฟังเงียบๆ ก่อน และไม่มกี ารสื่อ ความหมายทีเ่ ปน็ การตดั สนิ ว่าอะไรถูก อะไรผิด หรือ อะไรไม่ดี ใดๆ ท้งั ส้ิน การแสดงความจริงใจอย่าง ถกู ต้องเหมาะสม จะช่วยเอื้ออำนวยใหเ้ กดิ การสำรวจตนเอง คือ การแสดงความจริงใจที่เป็นประโยชน์ ต่อผูร้ บั บรกิ าร มคี วามปรารถนาที่จะแสดงความรสู้ ึกทแี่ ท้จรงิ ของเขาออกมาอย่างเปน็ ธรรมชาติ และ ในลกั ษณะท่ีเปน็ การช่วยเหลอื ด้วย 1.3.6. ความเขา้ ใจ (Understanding) เปน็ ทั้งระดบั ของความรสู้ ึกของบคุ คล (feeling state) และความสามารถทางสตปิ ัญญาของบคุ คลดว้ ย (intellectual function) ความเข้าใจเป็น ความ สามารถทางสตปิ ญั ญาของบุคคล หมายถึง ความสามารถสะสมทีบ่ ุคคลแสดงออก และเป็น เคร่ืองชถ้ี ึงความตระหนักในตนเอง รวมท้ังการตระหนักในส่ิงตา่ งๆ รอบตัว โดยตระหนัก วา่ สิง่ เหลา่ น้ี มอี ิทธิพลต่อความคิด ความรสู้ กึ และการกระทำที่ตนกำลงั ปฏบิ ัตอิ ยู่ ความเขา้ ใจเปน็ ระดบั ของ ความร้สู ึก หมายถงึ ความสามารถของบุคคลในการรู้สึกตระหนักในความคิด ความรู้สกึ และการกระทำ ของบุคคลอนื่ ทั้งยงั สามารถแสดงออกในความรู้สกึ ใหป้ รากฏ โดยการยอมรบั ในความแตกต่างระหวา่ ง บุคคลและเคารพในเอกลกั ษณ์ของแตล่ ะบุคคล ทง้ั ยังแสดงออกต่อบคุ คลด้านความเหมาะสมตาม ความ “เป็นบุคคล” นน้ั ๆ ซึ่งไม่เหมือนกนั ทัง้ ในด้านความคดิ ระดบั ความเข้าใจทีพ่ ยาบาลแตล่ ะคน จะมไี ดน้ ั้นขึ้นอยู่กบั ความสามารถท่ีจะรักเพื่อนมนุษย์ เข้าถงึ ความรสู้ ึกของบคุ คลอื่นและความ สามารถทจี่ ะเหน็ อกเห็นใจบคุ คลอ่ืนได้ขนาดไหน พยาบาลท่สี ามารถใช้ตนเองเพ่ือการบำบดั รักษาจะ แสดงออกซึง่ ความเข้าใจผู้รับบริการโดยการรับฟังผ้รู ับบริการดว้ ยความสนใจ จะต้องทำความเข้าใจใน

ความเปน็ บุคคลซึ่งไม่เหมือนบุคคลอนื่ ของผู้รับบริการ โดยทำความเข้าใจในขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา ครอบครัว และสังคมของผ้รู บั บรกิ าร จะไม่ตดั สินผู้รบั บรกิ ารแตจ่ ะตอ้ งแสดงออก โดยความเมตตากรุณา อบอุ่นเปน็ กันเอง และจะพยายามหาข้อมลู เพ่ือให้ได้ ข้อเท็จจริงทถี่ ูกต้องใน การแปลความหมายพฤติกรรมและให้ขอ้ วนิ จิ ฉัยปัญหา โดยท่ีพยาบาลเองจะตอ้ งมีความตระหนักและ มีสตใิ นตนเองอยู่ตลอดเวลา 1.3.7. การยอมรบั (Acceptance) เป็นเจตคติในทางสรา้ งสรรคท์ ีบ่ ุคคลแสดงออกซงึ่ การเขา้ ใจยอมรับนบั ถอื ผู้อ่ืน เปน็ ส่งิ สำคญั สำหรบั การพยาบาลในการใช้ตนเองเพื่อการบำบดั รักษา และเป็นสงิ่ ที่พัฒนาได้ แมว้ า่ จะไม่งา่ ยนัก การยอมรับบุคคลอื่นไม่ใชก่ ารแสดงออกโดยผวิ เผนิ แต่ต้อง หมายถึงระดบั ความรสู้ ึกและอารมณ์ของบคุ คลท่ีมาจากใจจรงิ เปน็ เจตคติทบ่ี คุ คลมอี ยู่และแสดงออก ได้โดยปราศจากการปรุงแตง่ หรอื กลบเกล่ือน การแสดงออกกบั การยอมรบั ท่ีเปน็ ธรรม จะเป็นไปอยา่ ง กลมกลืนผสมผสานทัง้ คำพดู กริ ิยาท่าทางและความรู้สึกซ่งึ จะถ่ายทอดให้อีกบคุ คลหน่ึงรบั ได้ เปน็ เคร่ืองแสดงออกซ่ึงระดับของพัฒนาการโดยส่วนรวมของบุคคลน้ัน การยอมรบั ในทนี่ ี้จึงเป็นการตกลง ยนิ ยอม (agreement) เห็นด้วยหรอื รบั หลกั การ (approval) หรอื ความอดทน (tolerance) ท่ี พยาบาลมีต่อผู้รบั บริการโดยการตระหนักในความเปน็ ผรู้ บั บริการอย่างแทจ้ รงิ ตามทเ่ี ป็นอยู่ ให้การ สนบั สนุนช่วยเหลือให้กำลังใจและกระตนุ้ ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารได้ใช้ศักยภาพของตนเองในการตอบสนอง ความต้องการ และช่วยเหลือตนเองเพื่อให้สามารถปรบั ตัวอยู่ใน สภาวะสมดลุ ได้ ปจั จัยดงั กล่าว ท้ังหมด เป็นสงิ่ สำคญั ท่พี ยาบาลจะต้องมี และต้องนำไปใชใ้ นการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล โดยใชต้ นเองเปน็ สือ่ ในการบำบัดรกั ษา การยอมรับเปน็ การยอมรบั ในความเป็นบุคคลของผู้รบั บริการตามความเปน็ จริง ซึ่งรวมท้ังความเขา้ ใจและยอมรบั ถึงสภาพความเจ็บป่วย และความผิดปกตทิ ่ีเกิดข้นึ ลักษณะส่วนของ ผู้รบั บริการซึ่งมที ั้งสว่ นทีเ่ ข้มแข็ง และสว่ นท่ีอ่อนแอ ความรู้สกึ ท้งั ในทางดีและทางไมด่ ีทีม่ ีอย่ใู นตวั ของ ผู้รบั บรกิ าร การที่พยาบาลใหก้ ารยอมรับเป็นการสื่อสารต่อผูร้ บั บริการวา่ เขา้ ใจเขา จะทำให้ ผู้รับบริการคลายความรู้สกึ ท่ไี มด่ ลี ง สมั พันธภาพระหวา่ งพยาบาลกับผู้รับบรกิ ารก็จะดี การทพ่ี ยาบาล จะมีการยอมรบั ผูร้ ับบริการได้น้นั พยาบาลต้องเปิดใจท่ีจะเข้าใจสถานการณ์ของผูร้ บั บริการ ไมด่ ว่ นที่ จะตัดสินใดๆ ต่อผรู้ ับบริการ การแสดงออกถงึ การยอมรับแสดงไดโ้ ดยการท่ีพยาบาลรบั ฟังผรู้ บั บริการ หรอื มีปฏิกิรยิ าโต้ตอบกบั ผูร้ บั บรกิ ารโดยไม่ตดั สินว่าสิง่ ท่ีผรู้ ับบรกิ ารพูดหรือแสดงออกนั้นดี เลว ถูก หรือผิด แตจ่ ะเปิดโอกาสให้ผรู้ ับบริการไดใ้ ห้ข้อมลู เหตุผลต่างๆ ทเี่ กี่ยวข้องและช่วยให้ผรู้ ับบรกิ าร มองเหน็ การกระทำของตนเองจะชว่ ยใหผ้ ูร้ บั บริการจดั การต่อปญั หาของตนเองได้ 1.3.8. การเอาใจใสด่ ูแล (Caring) เปน็ การแสดงออกถึงความสนใจอยา่ งจริงใจที่จะ ชว่ ยเหลือบคุ คลอ่นื ๆ ในทางการพยาบาล หากพยาบาลมคี วามจรงิ ใจท่ีจะเอาใจใส่ชว่ ยเหลอื ผรู้ บั บริการอย่างแทจ้ ริง พยาบาลจะร่วมรับรู้และเขา้ ใจภาวะของผู้รบั บริการ สามารถปฏิบัติการ พยาบาลเพ่ือชว่ ยเหลอื ผู้รับบริการอยา่ งเหมาะสม การแสดงออกถงึ การเอาใจใส่อยา่ งจรงิ ใจน้ี สามารถ

แสดงออกได้ทัง้ วาจาและท่าทางเชน่ เดียวกัน เชน่ การฟังอยา่ งตงั้ ใจเม่ือผู้รับบรกิ ารพูด การปฏบิ ัติ อย่างนมุ่ นวล การดูแลใกล้ชดิ ตอ่ เนอ่ื ง เปน็ ต้น “Nursing is Caring” หรอื “การพยาบาล คอื การเอา ใจใส่ดแู ล” การดูแลเอาใจใส่เพียงอย่างเดยี วน้ันยงั ไม่เพยี งพอทจี่ ะให้การพยาบาลผูร้ บั บรกิ ารได้ อยา่ ง มีคณุ ภาพ จะต้องมีการปฏิบัตกิ ารพยาบาลอยา่ งเป็นระบบระเบียบดว้ ยดังนัน้ การพยาบาลทม่ี คี ุณภาพ จงึ จะตอ้ งประกอบดว้ ยกระบวนการพยาบาลควบคูไ่ ปกบั การเอาใจใสด่ ูแล การเอาใจใสด่ ูแลของ พยาบาลน้ันเป็นปฏบิ ัตกิ ารทางวชิ าชพี ท่ีกระทำด้วยความรู้หลักการ มีเป้าหมายกระบวนการท่จี ะ ชว่ ยเหลือผูร้ ับบรกิ าร พรอ้ มท้ังแสดงออกถงึ เจตคติ ความต้องการที่จะประคับประคองให้ผู้รบั บรกิ ารมี สขุ ภาพดี เนื่องจากผรู้ บั บริการทีม่ คี วามเชอื่ ถือไวว้ างใจพยาบาลจะมีความเชื่อม่ันว่า เมอ่ื ใดกต็ ามทเี่ ขา มีปัญหา พยาบาลสามารถชว่ ยเขาได้ ขน้ั ตอนในการสรา้ งสมั พันธภาพ มีดังน้ี ขนั้ เริ่มดำเนินการสร้างสัมพันธภาพ ดว้ ยการให้ผูร้ บั บริการเข้าใจบทบาทหนา้ ท่ีพยาบาล ถามความตอ้ งการของผรู้ บั บริการ แจง้ ให้ผรู้ บั บรกิ ารเข้าใจอย่างชัดเจนว่า พยาบาลจะช่วยอะไรได้บ้าง และไม่นำความลับของผู้รับบริการไปเปดิ เผย ขน้ั ดำเนินการสร้างสมั พันธภาพ สนองความตอ้ งการ แก้ปัญหาของผ้รู บั บริการในขอบเขต หน้าทค่ี วามรบั ผิดชอบของพยาบาล จดจำเรอื่ งราวของผ้รู ับบริการได้ ไม่นำเรื่องของผู้รบั บรกิ ารอ่นื ๆ มาวพิ ากษว์ ิจารณ์ ให้คำแนะนำสถานท่ีหรือบุคคลท่ีผรู้ ับบริการ จะขอรบั ความช่วยเหลือได้อย่าง เหมาะสม ในขัน้ น้ีพยาบาลสามารถสรา้ งเสริมบรรยากาศที่ดใี นการสนทนากบั ผู้รับบริการไดโ้ ดยแจ้งถงึ ระยะเวลาทีจ่ ะสนทนา นัดหมายเพ่มิ เตมิ ในกรณที ี่เร่อื งทพี่ ูดมีมากจนเวลาไม่พอ สนทนาเร่อื งสว่ นตัว ของผู้รับบรกิ ารในสถานทีท่ เี่ ป็นส่วนตัว ไมใ่ ห้มอี ะไรมาขัดการสนทนา นงั่ สนทนาโดยไม่ตอ้ งมีอะไรมา ขวาง ระหวา่ งพยาบาลกับผู้รบั บรกิ ารสนทนากับผ้รู บั บริการตามเวลาทน่ี ัดไว้ หลกี เลี่ยงการเลอ่ื นนดั และไม่ควรผดิ นดั ในกรณีท่ีจำเปน็ ต้องมาสนทนากับผูร้ ับบริการชา้ กว่าเวลานดั หรอื ต้องเล่อื นนดั ต้อง บอกเหตุผลให้ผรู้ ับบริการเข้าใจ ข้ันส้นิ สุดสัมพันธภาพ ต้องแจ้งการสิ้นสดุ สมั พันธภาพแก่ผู้รบั บรกิ ารลว่ งหน้า มกี ารสรุปวา่ การสนทนาทผี่ า่ นมาโดยตลอดน้นั มเี รื่องอะไรบ้าง ทำอะไรไปแล้วบ้าง และมีอะไรต้องทำอีก สรุป ประเดน็ สำคัญ บันทึกไวใ้ นกรณีที่มกี ารตดิ ต่อกบั ผรู้ ับบริการอกี ในอนาคต ในระหว่างขั้นตอนของการ สิ้นสุดสัมพันธภาพน้ี ส่วนใหญ่เกดิ ขึ้นเมอ่ื ผรู้ ับบริการจะกลับบา้ น พยาบาลต้องเตรียมผรู้ ับบริการให้ พร้อม ใหผ้ ้รู ับบริการได้พดู ถึงความรู้สึกตอ่ การสิ้นสดุ สัมพันธภาพ และพยาบาลกต็ ้องแสดงความรู้สกึ ตอ่ ภาวะน้ี โดยทำใหผ้ ูร้ บั บรกิ ารรู้วา่ พยาบาลยงั เอาใจใสต่ ่อผูร้ บั บริการ ไม่ตัดสินว่าสง่ิ ท่ผี ู้รับบริการพูด หรอื แสดงออกน้ันดี เลว ถูก ผดิ แต่จะเปิดโอกาสให้ผู้รบั บรกิ ารไดใ้ ห้ขอ้ มลู เหตผุ ลตา่ งๆ ท่เี กีย่ วข้อง และชว่ ยใหผ้ ูร้ ับบรกิ ารมองเห็นการกระทำของตนเอง เช่นน้แี ล้วจะชว่ ยให้ ผรู้ ับบรกิ ารจัดการต่อ ปญั หาของตนเองได้ พฤติกรรมการแสดงออกถึงการยอมรับของพยาบาลแสดงออกได้ ท้งั วาจาและ

ทา่ ทาง น้ำเสียง สหี น้า ท่าทาง และคำพดู สามารถบ่งบอกถงึ การตัดสิน ถูก ผดิ ดี เลว ได้โดยไม่ต้อง พูดตรงๆ ว่าทำไมถ่ ูก การสื่อสารเช่นนีข้ องพยาบาลทำให้ผู้รบั บริการรู้ว่าพยาบาลเข้าใจผ้รู ับบริการ ความรูส้ กึ ท่ีไม่ดีกจ็ ะ ไม่เกิดข้ึนผูร้ บั บริการอาจจะได้ระบายปญั หา ความทุกข์กังวลออกมาเพ่ิมเติม ซ่งึ ทำใหก้ ารชว่ ยเหลอื ผ้รู บั บรกิ ารเป็นไปได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 1.4. ทกั ษะในการส่ือสารทางการพยาบาล 1.4.1. ทกั ษะการใส่ใจ (Attending skill) ทกั ษะการใสใ่ จเปน็ ความพยายามที่จะเขา้ ใจ ผรู้ ับบรกิ ารในฐานะบุคคล เป็นการฝกึ ความสนใจ ในทางความคิด ความรูส้ กึ และพฤติกรรมของ ผ้รู บั บรกิ าร เป็นการรวบรวมขอ้ มูลท่ีจำเปน็ ในการตัดสนิ ใจ หรอื ใหค้ ำแนะนำผู้รบั บริการจะใหค้ วาม ร่วมมอื มีความกระตอื รือร้นมากข้ึน และเป็นตัวเสรมิ แรงท่มี ีพลัง อย่างมากในการสื่อสารกบั ผู้รับบริการ จุดม่งุ หมายของทักษะการใสใ่ จ เพ่ือวางรากฐานการตดิ ต่อสัมพันธ์กับผู้รับบรกิ าร สอ่ื สาร ถึง ความสนใจ เอ้ืออาทร และเปน็ การแสดงการยอมรบั นับถอื องคป์ ระกอบของทกั ษะการใส่ใจ การใสใ่ จสามารถสื่อสารออกมาได้ 3 ทางคอื การ แสดงสีหน้า ทา่ ทาง การเคลื่อนไหวรา่ งกายและการตอบสนองด้วยคำพูด 1.4.1.1 การแสดงออกทางสหี นา้ ใบหนา้ ของคนเราเป็นพ้ืนฐานของการสื่อสาร จะ ช่วยใหข้ ้อมูลยอ้ นกลับเก่ียวกับปฎิกริ ิยาของผรู้ ับบริการที่มีต่อเราได้ ผลของการแสดงออกทางสหี น้า เปน็ การเสริมแรงทางบวกหรือลบต่อพฤติกรรมการพูดของผู้รับบรกิ าร สหี นา้ แสดงความต่นื ตัว ตอบสนองการส่ือสารที่กำลังดำเนินอยู่ และสอดคล้องกับเร่ืองราวทผ่ี ู้รับบริการพดู และจะช่วยให้การ ส่ือสารมปี ระสทิ ธภิ าพ การแสดงออกท่ีสามารถสังเกตได้มากทส่ี ุดคือ การย้ิมอย่างเหมาะสมมีอทิ ธิพล อยา่ งมากในการให้ความชว่ ยเหลอื - การผงกศีรษะ การผงกศีรษะพร้อมกบั การประสานสายตาอย่างเหมาะสม เป็นการ แสดงออกถึงการรบั ฟังด้วยความสนใจ และทำให้ผู้รบั บริการเกดิ ความมัน่ ใจ - พฤติกรรมการพูด สิ่งทเี่ ราพูดจะมผี ลตอ่ ผรู้ บั บริการทนั ที การพดู ดว้ ยคำพูดท่เี ขา้ ใจ งา่ ยและเหมาะสมกบั ความสามารถในการรับรูข้ องผรู้ ับบรกิ าร - น้ำเสียง นำ้ เสียงท่นี ่าฟัง ไม่แสดงความตน่ื เต้น เสียงไมส่ งู หรอื ต่ำเกนิ ไป ทำให้ ผู้รับบริการเกิดความแนใ่ จว่าเรามคี วามพรอ้ มในการฟงั เขา หรอื อาจกระตนุ้ ด้วยคำพูดสั้น ๆ โดยมีจุดมุง่ หมายเช่นเดยี วกบั การผงกศีรษะหรือการประสานสายตา และการย้ิม 1.4.1.2. ทกั ษะการฟงั การฟังเป็นการรับเอาเน้ือหาท่ีผ้รู ับบรกิ ารไดส้ ื่อออกมา ซง่ึ เป็นการกระทำดว้ ยความสามารถในการรับรู้ ความสำคัญของทักษะการฟังเป็นยุทธวิธแี ละเป็นการ ตอบสนองส่ิงแรกที่ใช้เปน็ พื้นฐานในการให้การช่วยเหลอื ผ้รู ับบรกิ ารอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การฟังดว้ ย ความใส่ใจเป็นการแสดงถึงการยอมรับ นับวา่ มคี วามสำคัญอย่างแท้จริงและแสดงใหเ้ หน็ ว่าสง่ิ ทเ่ี ขาพูด เป็นสิ่งที่มีความหมาย การรับฟงั อย่างแทจ้ รงิ ดว้ ยความเหน็ อกเห็นใจ ก็อาจชว่ ยใหเ้ กิดความเจริญงอก

งามได้ และแสดงถึงความหมายของการชว่ ยเหลอื อย่างสมบูรณ์ สง่ิ แรกท่เี รารบั ฟงั คือ จติ ใจต้อง ปลอดโปรง่ ไม่หมกมุ่นครุน่ คิดเรอ่ื งใดเร่ืองหนึง่ เพอ่ื ให้ สมาธิ ความสนใจ จดจ่อในการรับฟังอย่างเต็มที่ นอกจากนั้นการฟงั ยงั รวมถงึ ความพยายามที่จะไดย้ ินส่งิ ท่ีไม่ไดพ้ ูด อาจแสดงออกโดยทางอ้อมหรือเกบ็ ซอ่ นสงิ่ ท่ีอย่เู บอ้ื งหลงั การพูดนัน้ ไว้ ซง่ึ เราฟงั ดว้ ยตา ดว้ ยใจ และประสาทสัมผัส พยาบาลจะตอ้ งแสดง พฤติกรรมการรบั ฟงั ท่มี คี วามตืน่ ตวั ย้มิ พยักหนา้ กระตอื รือร้นสนใจ การพยกั หน้า เปน็ การเคลอ่ื นไหว ศรี ษะแสดงการยอมรบั บอกถงึ การตดิ ตามเร่ืองราวทกี่ ำลังเลา่ เปน็ การกระต้นุ ให้ผ้รู ับบริการพดู ต่อไป การประเมนิ สภาวะสุขภาพของผ้รู ับบริการนั้น พยาบาลจะตอ้ งระวงั วา่ ในการถามน้ันควรจะ ใหเ้ ป็น ธรรมชาตมิ ากทสี่ ดุ หลีกเล่ียงการถามที่ทำใหผ้ รู้ ับบรกิ ารจนมุม การสอื่ สารจึงเป็นจดุ เร่ิมตน้ ของการสร้างสัมพนั ธภาพขน้ั พืน้ ฐานของบคุ คล ดังน้นั พยาบาลหรือผใู้ หบ้ รกิ าร จะต้องมี ความรู้ในการ สอื่ สารเพ่ือสรา้ งสมั พันธภาพ และสอ่ื สารกบั ผู้อน่ื ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ในด้านการพยาบาล การ สอื่ สารกบั ผ้รู บั บริการนบั เป็นพนื้ ฐานของการพยาบาลทุกสาขา การสื่อสารจะมีส่วนร่วมอย่ใู นกิจกรรม การพยาบาลทุกอย่าง ดังนั้นพยาบาลจงึ จำเปน็ ต้อง มคี วามรู้และทกั ษะการตดิ ต่อส่อื สารในการ ปฏบิ ตั ิการพยาบาลเพื่อสามารถประเมนิ ภาวะสุขภาพ และให้การปฏิบัติการพยาบาลท่ีมีคณุ ภาพ 2. การซักประวัติ การที่ผู้ป่วยมาพบแพทย์หรือพยาบาลในสถานสุขภาพอนามัยนั้น จุดประสงค์ก็คือ เพื่อ ตอ้ งการทราบปัญหาสุขภาพและรักษาโรคหรืออาการท่ีเขาเป็นอยู่ การทแ่ี พทย์หรอื พยาบาลจะให้การ รกั ษาพยาบาลได้นัน้ จำเป็นจะต้องทราบประวัติผ้ปู ว่ ยกอ่ น ประวัติในทนี่ ้หี มายถึงประวตั ิสขุ ภาพ ซ่ึงจะ รวมทั้ง ชื่อ สกุล ถิ่นที่อยู่ อาชีพ และปัญหาสำคัญที่มาโรงพยาบาล และประวัติอื่นๆ รวมทั้งประวัติ การเจ็บปว่ ยในอดีต ประวัติสว่ นตัว และสงิ่ แวดล้อม เพอื่ หาทางแกไ้ ขสขุ ภาพได้ถูกต้อง การซักประวัติ หมายถึง สนทนาหรือซักถามหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างคน 2 คน หรือมากกว่าอย่างมีจุดมุ่งหมาย การซักประวัติจะต้องประกอบด้วยผู้ซักประวัติ ผู้ถูกซักประวัติ และ จุดมุง่ หมายของการซกั ประวตั ิ 2.1 วิธกี ารเตรยี มซกั ประวัติสขุ ภาพ ความสำเร็จของการซักประวัติ ข้นึ อยู่กบั องค์ประกอบหลายประการ คอื 1.1 มีความรู้และทักษะ ต้องสามารถทำความรู้จักและเข้ากับคนง่าย มีท่าทีเป็นมติ ร ยอมรับและเป็นกันเอง มีความรู้และประสบการณ์กว้างขวาง มีความเฉลียวฉลาด สามารถประเมิน ปัญหาสุขภาพและสติปัญญาของผู้ปว่ ยได้ 1.2 มีบคุ ลกิ ภาพที่น่าศรัทธาและนา่ นบั ถอื ท่าทขี องผซู้ กั ประวัติจะตอ้ งมี 1.3 มคี วามมัน่ คงในอารมณ์ เน่ืองจากผปู้ ่วยทเี่ ราตดิ ตอ่ ด้วยมปี ลายประเภทแต่ละคน ก็มปี ัญหาของตนเองทั้งคำพูดและภาษาที่ผู้ป่วยใช้

1.4 มีทักษะในการพูดและการกระทำ ในที่นี่เรื่องภาษาที่จะใช้ภาษาที่จะใช้ซักถาม ผู้ปว่ ยมีความสำคัญเปน็ อยา่ งยงิ่ ควรใชด้ ลุ ยพนิ จิ ดวู า่ ผ้ปู ว่ ยประเภทใดจะเหมาะสมกบั คำพูดประเภทใด สถานที่เป็นสิ่งสำคัญ เพราะอาการบางชนิดผู้ป่วยอาจไม่ต้องการให้บุคคลอื่นทราบ ดังนั้น สถานที่ควรจัดเป็นสดั ส่วน เป็นที่สงบไม่เปิดเผย สะอาด เรียบร้อย เป็นระเบียบอากาศถ่ายเท ได้ดี มีโต๊ะ เก้าอี้ และเตียงตรวจซึ่งสามารถยกระดับหัวเตียงได้เมื่อต้องการ ผู้ป่วยจะต้องเข้าใจ ยินยอมและให้ความรว่ มมอื เชื่อถือ และไว้วางใจผู้ซักประวัติด้วยเพราะถ้าผู้ปว่ ยไม่รว่ มมือด้วย ไม่ว่า จะเป็นกรณีใดๆ เช่นผู้ป่วยไม่ยอมตอบหรือตอบไม่ตรงคำถามเพราะผู้ป่วยอยู่ในอาการที่เจ็บปวดมาก ผูซ้ ักประวตั ิกค็ วรจัดให้ผปู้ ่วยไดพ้ ัก เมือ่ อาการดีขึ้นแลว้ จึงเรมิ่ มีการซักประวตั ใิ หม่ ในการที่จะประเมินปัญหาสุขภาพได้นั้น ผู้ซักประวัติควรจะทำความเข้าใจกับคำว่า อาการ (Symptom) อาการแสดง (Signs) อาการแสดง (Symptom) หมายถึง อาการแสดงของโรค คืออาการที่เป็นจริง เช่น ผื่นคัน ที่ผิวหนัง เสียงหัวใจผิดปกติของหัวใจ เท้าบวม ท้องโต เป็นอาการที่ตรวจพบทางร่างกาย และการ ตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือการตรวจพิเศษที่ผิดปกติ อาการแสดงนี่อาจเรียกว่า อาการที่ตรวจพบ (objective Signs) อาการ (Signs) หมายถึง ความรู้สึกที่คนไข้บอกเล่าให้ฟัง เช่น ปวดศีรษะ เจ็บในท้อง คลนื่ เหียนอาเจียน เป็นอาการ เป็นความรู้สึกผดิ ปกติเป็นความรสู้ ึกของคนไข้ ซ่งึ อาจมีจริงหรือไม่จริง ก็ได้ เช่น อาการ เหน่ือยหอบ วงิ เวยี น ออ่ นเพลีย เจ็บในอก หัวใจเต้นแรง อาการนี้อาจเรยี กว่า อาการ บอกเลา่ (Subjective Signs) 2.2 ขน้ั ตอนการซกั ประวัติ 2.2.1. ข้อมูลส่วนตัว ได้แก่ ชื่อ อายุ เพศ อาชีพ เชื้อชาติ ศาสนา การศึกษา ที่อยู่คน ใกล้ชดิ ที่จะติดตอ่ เมอ่ื จำเปน็ 2.2.2. อาการสำคัญ หมายถึง อาการ 2-3 อาการที่เด่นชัด ทำให้ผู้ป่วยต้องมา โรงพยาบาล ซึ่งอาการนี้จะคุกคามผู้ป่วยมาก อาการสำคัญช่วยให้ผู้ป่วยได้ระบายปัญหาของตนเอง ออกมาเพื่อต้องการให้ช่วยเหลือ ตัวอย่างประโยคคำถาม เช่น เป็นอะไรมาโรงพยาบาล รู้สึกเป็น อย่างไรบ้าง ผู้ป่วยที่ป่วยเรือ้ รังอาจพูดยาวและไม่ตรงจดุ พยาบาลจะต้องสังเกตว่า อะไรเป็นปัญหาที่ สำคญั ทผ่ี ู้ปว่ ยตอ้ งการให้ขจัดปัดเป่ามากทส่ี ดุ เข้าใจความรู้สกึ ของผู้ปว่ ยขณะที่พูด อาการสำคัญท่ีพบ บ่อย เช่น ปวดท้อง เป็นลม เจ็บหน้าอก ท้องโต นํ้าหนักลด เบื่ออาหาร รับประทานอาหารไม่ได้ มีไข้ หมดสติ เป็นต้น ควรบอกระยะเวลาที่เกิดอาการ หรือเริ่มมีอาการ เช่น หมดสติมา 6 ชั่วโมง ก่อน มาถึงโรงพยาบาล มีไข้มาประมาณ 1 สัปดาห์ ถ้ามีอาการร่วมมากกว่า 1 อาการ ให้ระบุด้วย เช่น ไข้ หนาวสั่น ไอเสมหะสีขาวมา 3 วัน ตัวอย่างที่ไม่ใช่อาการสำคัญ แต่มักนำมาใส่ในอาการสำคัญ เน่ืองจากผ้ปู ว่ ยพดู ไมไ่ ด้ เช่น ย้ายมาจากไอซยี ู รบั ยา้ ยมาจากโรงพยาบาลนครศรีธรรมราช เปน็ ตน้

2.2.3. ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน หมายถึง อาการหรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่เริ่มต้น ของการเจ็บป่วยที่ผู้ป่วยมาโรงพยาบาล ระยะเวลาของการเจ็บป่วยปัจจุบันอาจจะต่อเนื่องกันเป็นปี เนือ่ งจากอยู่ในภาวะเรื้อรัง เป็นๆ หายๆ อาจจะต่อเน่ืองกันเป็นช่วั โมง เปน็ วนั หรือเป็นปีก็ได้ คำถาม มักจะถามว่าเปน็ มาตัง้ แต่เมื่อใด ตัวอย่าง 7-8 ปีก่อนเคยเปน็ นิ่วท่ีไต 1 สัปดาหก์ อ่ นมาน้ี มีอาการคลื่นไส้ อาเจยี นมาก มเี ลอื ดออกตามไรฟนั 2 วนั กอ่ นมาโรงพยาบาล ชกั เกรง็ ไมร่ ู้สกึ ตัวขณะรับประทานอาหาร จากประวัติดังกล่าว จะเห็นได้ว่ามีการเกิดปัญหาอย่างต่อเนือ่ งในผู้ป่วยรายนี้ คือ เป็น นิ่วมาก่อนแล้วนำไปสู่ไตวาย มาโรงพยาบาลด้วยอาการของยูรีเมีย ถ้าผู้ป่วยมีโรคประจำตัวอื่นๆ อยู่ ด้วย แต่มิได้เป็นปัญหาขณะนี้ และไม่ได้ต่อเนื่องกับอาการสำคัญไม่ใช่ประวัติปัจจุบัน การซักถาม ประวัติปัจจุบัน ต้องถามทั้งในเชิงปริมาณ ลักษณะและบริเวณที่เกิดอาการ ความรุนแรง อาการท่ี บรรเทาได้ หรืออาการที่ทำใหท้ ุเลาขึ้น ตัวอย่างเชน่ ไอมีเสมหะสีเขียวจำนวนมาก วันละครึ่งกระป๋อง นม หอบเหนื่อย เจ็บหน้าอกเหมือนถูกเข็มแทง บริเวณทรวงอกซ้ายขณะหายใจเข้า เวลาอากาศเย็น จะเป็นมากขึ้น ต้องนอนศีรษะสูง และไอแรงๆ อาการหอบเหนื่อยดีขึ้นการซักประวัตินั้นต้องซักเพื่อ วินิจฉัยแยกโรคด้วยว่าเป็นที่อวัยวะใด เช่น อาการเจ็บหน้าอก ต้องแยกออกจากโรคหลอดอาหาร อกั เสบ เย่อื หุ้มปอดอกั เสบ โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย กล้ามเนอื้ หน้าอกอักเสบ จึงตอ้ งซักถามอาการร่วม ใหช้ ดั เจนการซักประวตั ิปจั จุบันต้องซักถามถึงการวนิ ิจฉัย การรกั ษาสถานที่รักษาที่ผ่านมาแล้ว ทำให้ ผปู้ ว่ ยเปน็ อยา่ งไรบา้ ง ตวั อยา่ งเช่น 7-8 ปี แพทย์โรงพยาบาลปตั ตานีวนิ ิจฉัยวา่ เปน็ นิว่ ที่ไตท้ัง 2 ข้าง ผ้ปู ว่ ยไม่ยอมทำการผ่าตัด 1 สัปดาห์กอ่ นมาโรงพยาบาลผู้ปว่ ยมีคลนื่ ไส้ อาเจียนมาก มีเลือดออกตาม ไรฟัน แพทย์วินิจฉัยว่าไตวาย และทำการล้างไตทางหน้าท้อง จำนวน 50 ชุด ที่โรงพยาบาลสงขลา นครนิ ทร์ อาการดขี ้นึ จงึ กลบั บ้าน 2.2.4. ประวัตกิ ารเจบ็ ป่วยในอดีต หมายถึง ประวัตกิ ารเจ็บป่วยทยี่ ังไม่ได้ระบุในการ เจ็บป่วยปัจจุบันเป็นการทบทวนภูมิหลังการเจ็บป่วยของผู้ป่วยนอกเหนือจากการเจ็บป่วยครั้งนี้ เช่น ภาวะสุขภาพทั่วไป โรคติดเชื้อ โรคติดต่อ ประวัติการแพ้อาหารและยา ภูมิคุ้มกัน ประวัติการผ่าตัด อุบัติเหตุ ประวัติทางสูตินรีเวช ประวัติทางจิตเวช ประวัติการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ความ พิการ ควรบอกระยะเวลาของเหตกุ ารณด์ ว้ ย 2.2.5. ประวตั สิ ว่ นตวั และครอบครัว

2.2.5.1 ข้อมูลด้านจิตใจ อารมณ์ หมายถึง บุคลิก นิสัยใจคอ กิจวัตร การ ดำรง ชีวิตประจำวัน ตวั อยา่ งเช่น เปน็ คนเงียบขรมึ พดู นอ้ ย โกรธงา่ ย เอาจรงิ เอาจงั สูบบุหรจ่ี ัด วันละ 2ซอง รับประทานอาหารวันละ 2 ม้ือ ไม่เป็นเวลา ไมช่ อบอาหารรสจัด 2.2.5.2 ข้อมูลด้านสังคม หมายถึง ข้อมูลด้านการศึกษารายได้ อาชีพ สมาชกิ ใน ครอบครัว ลกั ษณะที่อยูอ่ าศัย ภาระความรับผิดชอบในครอบครวั จำนวนบุตรการเข้าสังคม ตัวอย่างเช่น ผู้ป่วยอาชีพขับรถรับจ้าง มีบุตร 3 คน เรียนชั้นประถม มัธยมและอาชีวศึกษา ภรรยา ขายของที่ตลาดรายได้ของครอบครัวประมาณเดือนละ 6,000 บาท ขณะเจ็บป่วยรายได้ลดลงเหลือ เดือนละ 3,000 บาท ภรรยาเป็นผ้ดู ูแลขณะอยู่โรงพยาบาล 2.2.5.3 ประวัติการเจ็บปว่ ยของครอบครวั หมายถงึ การเจ็บปว่ ยของพ่อแม่ พี่น้อง เพื่อดูการเจ็บป่วยทางพันธุกรรม โรคติดต่อ และภาระของครอบครัว ตัวอย่างเช่น มีแม่เป็น โรคเบาหวาน พ่อเป็นโรคความดนั โลหิตสูง น้องชายเป็นทาลาสซเี มีย สามีเป็นวัณโรค เป็นต้นประวัติ ผู้ป่วยมีประโยชน์สำหรับพยาบาลมาก เช่น อาการสำคัญ ทำให้ต้องสังเกต และบันทึกอาการต่อเพ่ือ การวินิจฉัยโรค และการรักษาบรรเทาอาการเช่นอาการปวดไข้ คลื่นไส้ อาเจียน ผู้ป่วยต้องการให้ บรรเทา หรือหาย ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบันช่วยให้ทราบว่าผู้ป่วย เจ็บป่วยในระยะเฉียบพลันหรือ เร้อื รัง อย่ใู นระยะใดของโรคเพื่อการวางแผนการพยาบาลได้เหมาะสม ประวตั ิการเจ็บป่วยในอดีตก็มี ความสำคัญที่ช่วยให้พยาบาลระมัดระวังในการให้ยา หรืออันตรายที่อาจเกิดกับผู้ป่วย ซึ่งเป็น ผลกระทบจากการรักษาพยาบาลในปัจจบุ ัน พยาบาล จะต้องคำนึงถงึ เพื่อให้การพยาบาลได้เหมาะสม กับผู้ป่วยแต่ละราย ข้อมูลด้านจิตใจ อารมณ์ ช่วยให้พยาบาลเข้าใจจิตใจผู้ป่วยได้ง่ายขึ้น สร้าง สัมพันธภาพได้ดี ทราบถึงปัจจัยสง่ เสริมและปจั จัยเสี่ยงที่ทำใหเ้ กิดโรคจากพฤติกรรมของผูป้ ่วย ข้อมูล ด้านสังคมก็มีความสำคัญช่วยให้ทราบถึงความเป็นอยู่ สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพอนามัย รายได้ และภาระรับผิดชอบในครอบครัวมีผลกระทบต่อความวิตกกังวลขณะเจ็บป่วยประวัติผู้ป่วยนั้นมี ประโยชน์ในการวางแผนการพยาบาลทกุ ขั้นตอน ช่วยจดั ลำดับความสำคัญของปญั หา ให้การพยาบาล ครอบคลุมทั้งทางด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม มีความเฉพาะเจาะจงเป็นรายบคุ คลมากขึน้ และ พยาบาลจะตอ้ งรักษาประวตั ิของผูป้ ่วยไว้เป็นความลบั 2.3 การทบทวนอาการตา่ ง ๆ ตามระบบอวยั วะ (Review of System) เป็นการถามถึงอาการต่าง ๆ ซึ่งอาจเกยี่ วข้องกับระบบอ่ืน ๆ ของรา่ งกาย โดยมีจุดประสงค์ ที่จะสำรวจภาวะของระบบต่างๆ ในร่างกายทัง้ ในอดีตและปัจจุบัน เพื่อค้นหาอาการผดิ ปกติทีอ่ าจจะ เกี่ยวข้องกับการเจบ็ ป่วยครั้งนี้ นอกจากนั้นยังอาจจะชว่ ยให้คน้ พบอาการหรือความผิดปกติที่อาจจะ ถูกมองข้ามไป หรือผู้ป่วยคิดว่าไม่มีความสำคัญเกี่ยวข้องกับการป่วยครั้งนี้และยิ่งไปกว่านั้นอาจจะ ช่วยใหพ้ บส่ิงทอ่ี าจจะก่อใหเ้ กิดปญั หาแกส่ ขุ ภาพของผปู้ ่วยในภายหลังได้อีกดว้ ย

การถามควรเริ่มตน้ ถามถึงภาวะสุขภาพโดยทั่วไปกอ่ น แล้วเริ่มต้ังแต่ศีรษะเร่ือยไปจนถงึ เทา้ วธิ กี ารถามอาจจะใช้คำถาม เช่น เคยมอี าการผดิ ปกตเิ กย่ี วกับหัวใจหรอื ไม่ มอี าการเหน่ือยง่ายไหม ถามโดยท่วั ไป ให้ถามถึงความรู้สึกของผู้ป่วยเกี่ยวกับภาวะทางสุขภาพของร่างกายโดยทั่วไปรวมทั้งการ เปล่ยี นแปลงของน้ำหนกั ระยะเวลาและปจั จยั ต่าง ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ งเช่น อาหาร เป็นตน้ อาการอน่ื ๆ โดยทวั่ ไป เชน่ อาการอ่อนเพลียหรอื มไี ข้ เปน็ ตน้ ผวิ หนงั ผืน่ คนั ตุ่มหรอื สิ่งผดิ ปกตทเี่ กดิ ขนึ้ บนผิวหนงั อาจจะเป็นการแสดงของโรคบางระบบ ได้ เช่น การแพ้แสงแดดอาจจะเป็นอาการแสดงของโรค SLE ควรจะถามผู้ป่วยว่ามีความผิดปกติของ ผิวหนังบ้างหรือไม่ เช่น การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิสี ความแห้ง เปียก การมีเหงื่อออก ผื่นคัน รวมท้ังประวัติโรคผิวหนงั ในอดีตดวั ย ศีรษะ ที่พบบ่อย คือ อาการปวดศีรษะ อาจจะมีอาการได้จากหลายสาเหตุ เช่น จาก migraine, tension, sinusitis, hypertensionและสายตาผิดปกติ เป็นต้น นอกจากนี้อาจถาม เก่ยี วกบั อาการเวียนศรี ษะ เช่นจาก Vertigo หรอื เปน็ ลม เป็นต้น ตา เคยมคี วามผดิ ปกติของการมองเห็นหรือไม่ เช่นภาพซอ้ น ตาพรา่ มัว ปวดตา ระบบโลหติ ควรถามเกยี่ วกบั - อาการซดี - เลือดออกงา่ ย หยุดยาก ระบบตอ่ มไรท้ ่อ ควรถามเกีย่ วกับอาการ - การเปล่ียนแปลงของต่อมไทรอยด์ - การรับความรูส้ กึ รอ้ น เยน็ ทผ่ี ิดปกติ (ข้ีหนาว ขี้ร้อน) - ประวัตกิ ารเจรญิ เติบโตหรอื พฒั นาการในเด็ก - การถา่ ยปัสสาวะบ่อย ดม่ื น้ำมาก หิวบ่อย - ลักษณะการเปล่ยี นแปลง secondary sex characteristic ประวัติที่ได้จะต้องบันทึกเอาไว้เป็นหลักฐาน โดยบันทึกเรียงตามลำดับเหตูการณ์ที่เกิดข้ึน และย่อให้สั้นแต่ได้ใจความ แต่ต้องระลึกว่า การซักประวัติโดยละเอียดนั้นจะกระทำเมื่อมีเวลาพอถา้ ผู้ป่วยมีอาการที่ต้องการช่วยเหลืออยา่ งเร่งด่วน เราอาจถามอาการนำและถามประวัติในปัจจุบันเพียง เลก็ นอ้ ยเพ่อื เปน็ แนวทาง

2.4 การซักประวตั ิสขุ ภาพในผู้ปว่ ยเด็ก 2.4.1. ประวัติการตั้งครรภ์ และการคลอด ซึ่งสุขภาพของมารดาในระยะตั้งครรภ์ มี ส่วนสัมพันธ์การเจริญเติบโตและสุขภาพของเด็กมาก เช่น มารดามีประวัติเป็นโรคหัดเยอรมันใน ระยะแรกของการตงั้ ครรภ์ คอพอกเป็นพษิ มีประวัติเก่ยี วกับการติดเชื้อ และการได้รับยาตา่ ง ๆ 2.4.2. ประวัติการคลอดและระยะเวลาคลอด การคลอดผิดปกติ เช่นการใช้คีมสูง ช่วยในการคลอด อาจทำใหเ้ กิดอนั ตรายแรกคลอดได้ เดก็ เกิดใหมม่ ีตัวเขยี วหรือตัวเหลอื ง เป็นต้น 2.4.3. ประวัติทางด้านการให้อาหาร ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตของเด็ก ควรถามเกี่ยวกับการให้นมของมารดา ชนิดของนมผงที่ให้ส่วนผสมแลปริมาณต่อวัน อาหารเสริม ตลอดจนถงึ การเตรยี มภาชนะและการเตรยี มอาหารด้วย 2.4.4. ประวัติการเจริญเติบโตของเด็ก พฤติกรรมของเด็กในวัยนั้น ๆ สอดคล้องกับ อายขุ ณะน้นั หรือไม่ เพราะจะช่วยวิเคราะห์สุขภาพทั่วไปของเด็กในเด็กเลก็ ให้ถามนำ้ หนักและส่วนสูง และเปรียบเทยี บกบั พ่ีน้อง ถา้ เปน็ เด็กโตให้ถามการเล่นกบั เพื่อนหรือความก้าวหนา้ ในการเรยี น 2.4.5. ประวัติการได้รับภูมิคุ้มกัน ว่าได้ครบถ้วนตามระดับอายุหรือไม่ ถ้ายังไม่ครบ ขาดอะไรบ้างทจี่ ำเปน็ สำหรับอายนุ นั้ ๆ เช่น เดก็ อายุ 12 ปี วคั ซนี ทีจ่ ำเป็นได้แก่ วคั ซนี ที่จำเปน็ ได้แก่ วคั ซีนปอ้ งกนั โรควัณโรค บาดทะยัก และไทฟอยด์ 2.4.6. ความประพฤติและอุปนิสัย ควรถามอุปนิสัยในการกิน การนอน การออกกำลัง กาย ความพฤติ และนสิ ยั การเล่น ความสัมพนั ธ์ระหว่างพน่ี ้องและบุคคลในครอบครัวในรายที่มีปัญหา ทางสุขภาพจิต ต้องซกั ประวตั ิในสว่ นนอ้ี ยา่ งละเอียด 2.4.7. ประวตั คิ รอบครัว ควรถามอย่างละเอียด โดยเฉพาะผู้ป่วยทม่ี ีปญั หาการสืบทอด ทางพันธุกรรม หรอื โรคตดิ ต่อภายในครอบครัว ควรเขยี นแผนผงั ลำดับญาติพี่น้องในครอบครัว จะทำ เข้าใจถงึ การสืบทอดพันธุกรรมไดด้ ีขน้ึ 2.4.8. ประวัติการป่วยในอดีต ต้องซักถามอย่างละเอียดพร้อมทั้งถามและบันทึกอายุ และเวลาที่เป็น ซึ่งการซักถามนี้ จะรวมถึงประวัติการผ่าตัด ประวัติการบาดเจ็บ การแพ้ยา การให้ เลอื ดเปน็ ตน้ ส่ิงท่ีควรจะระลกึ ถงึ คือ ผใู้ ห้ประวตั ิเด็ก ใหถ้ ามด้วยว่า ถา้ ไม่ใช่บิดามารดาแล้วใครเป็น ผู้ใกลช้ ิดหรอื เลี้ยงดูเดก็ และจะใหป้ ระวตั ไิ ด้เชอื่ ถือถูกต้องกเ่ี ปอรเ์ ซ็นต์ สำหรับเด็กโตอาจจะให้ประวัติ ได้ชัดเจนจากตัวเดก็ เองมากกว่าคนที่พามาและการซักประวตั ิน้ันตอ้ งให้ผู้พามาเล่าอาการจนจบก่อน แลว้ จึงค่อยถามเพิ่มเติม สรุป การซักประวตั ิสุขภาพที่ดี เปน็ แนวทางในการวนิ ิจฉัยโรคได้ถึง 50% นอกนั้นต้องอาศัย จากการตรวจร่างกาย บางครงั้ อาจจะอาศัยการตรวจทางห้องปฏบิ ัติการด้วย

2.5 การบนั ทกึ ประวตั ิสขุ ภาพ การเขยี นบันทกึ ประวัตสิ ุขภาพ เป็นการเขยี นคำบอกเล่าของผปู้ ว่ ยและรายงานการซักประวัติ โดยผู้สอบถาม การเขียนรายงานต้องประณีต ตัวสะกดถูกต้องตามหลักไวยากรณ์วรรคตอนกะทัดรัด ไมใ่ ช่คำยา่ มากเกินไป เพราะผอู้ ่านอาจไม่เข้าใจ ลำดบั การเขียนบนั ทึกประวัตสิ ขุ ภาพก็เชน่ เดียวกับตอนซกั ประวตั ิ ดงั ต่อไปนี้ 2.5.1 รายละเอียดพนื้ ฐานของผ้ปู ว่ ย 2.5.2 สาเหตสุ ำคัญทีม่ ารับการตรวจ 2.5.3 ประวัติปัจจุบัน ได้จากใคร เชื่อถือได้หรือไม่ การเขียนประวัติปัจจุบันมี หลกั การ ดังนี้ คือ - จัดประวัตปิ จั จุบนั ตามลำดบั เหตุการณ์ - เรม่ิ บันทึกเวลาเริ่มมอี าการ - เขียนระยะเวลาท่เี กิดก่อนหลังโดยใชว้ ันทแ่ี นน่ อน หรือใช้จำนวน วนั สัปดาหเ์ ดอื น ปี หรือใช้อายุของผู้ป่วย ย่อหน้าตามลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แต่ละครั้งบันทึกอาการให้สมบูรณ์รวมทั้งชนิดของยา และการรักษาทกุ อยา่ ง ท่ีได้รับระยะเวลาทไี่ ด้รบั การรกั ษา ผลของการรักษา และสถานที่รบั การรักษา ถ้ามีการเจ็บป่วยต้องอยู่โรงพยาบาล ด้วยอาการที่มาเช่นเดียวกับครั้งนี้ ต้องบันทึกไว้ในประวัติ ปัจจุบนั ดว้ ย เก่ียวกบั วนั ท่ี อาการโรคสงิ่ ตรวจพบ การดำเนนิ ของโรคการรกั ษา วนั ทจ่ี ากโรงพยาบาล บันทกึ สขุ นสิ ยั ประจำวัน การเปล่ยี นแปลงนิสัยในตวั ของผู้ปว่ ยที่เกี่ยวกับการเจ็บป่วยครั้งน้ีการสังเกต สภาวะร่างกายและจติ ใจทัว่ ไปสภาวะร่างกายท่ัวไป 1. ลักษณะสุขภาพทั่วไปเท่าที่สังเกตได้ ผู้ป่วยมีความแข็งแรง สมบรูณ์ดี หรือ อยู่ในภาวะ เจ็บปวด หรือท่าทางเจ็บปวดฉับพลันหรือเรื้อรัง หรือมีอาการแสดงของความเจ็บป่วยหรือมีอาการไม่ สบายต่าง ๆ เช่น ความไม่สบายด้านระบบหายใจและหัวใจ เช่น หายใจลำบาก หายใจมีเสียงวี๊ดๆ หรืออยใู่ นภาวะวติ กกังวล โดยแสดงท่าทางกระวนกระวายฝ่ามือเยน็ ชน้ื ดูสขี องผิวหนัง สังเกตดูสัดส่วน เช่น สังเกตดูความสูงสัมพันธ์กับโครงสร้างของร่างกายหรือไม่ เช่น แขนขา ยาวใน hypogonadism สังเกตดูสัดส่วน เช่น สังเกตดูความสูงกว่าสัมพันธ์กับโครงสร้างของร่างกาย ดูไขมั นว่า กระจายอยู่ส่วนใดของร่างกายในคนอ้วนจะอ้วนทั้งตัวแต่ถ้าตัวอ้วน แขน ขา ผอม พบใน cushing,s syndrome แลว้ ใหช้ ง่ั นำ้ หนกั เปรยี บเทียบกบั น้ำหนักมาตรฐาน 2. ลักษณะการเคลอ่ื นไหวและการทรงตวั สังเกตการณเ์ ดนิ ดกู ารเคลอื่ นไหวของแตล่ ะส่วน คือ แขน ขา เท้า และมือ เช่น ผู้ป่วยที่เดินช้าๆ ไม่มีความมั่นใจและมักจะเซไปทางที่มีคนอยู่ ก่อนจะ

ก้าวขาต้องคิดนาน เป็นลักษณะของ Hysteria Gait หรือผู้ป่วยท่ีเดินตัวแข็งหลังโกง มือไม่แกว่ง ก้าว ส้ัน เอาศีรษะไปกอ่ น เปน็ ลักษณะของผู้ป่วยทเี่ ปน็ ดากนิ สนั นิซม่ึ (Parkinsonism) ผู้ป่วยเดินมาเองได้ ให้สังเกตว่าเดินเซ หรือเดินตรง หรือเดินงอตัว เอามือกุมท้อง เช่น ผู้ป่วยปวดท้องไส้ตงิ่ อกั เสบ ผู้ป่วยนั่งรถเข็นหรือรถนอน มีอาการมากจนเดินไม่ได้ ปวดมาก จะพบว่ารุนแรงของโรค มากขึ้น 3. เครอื่ งแตง่ กาย ควรสงั เกตเอาไว้ด้วย เช่นผู้ป่วยโรคจติ มกั จะแตง่ ตวั ผดิ ปกติ 4. ลกั ษณะหนา้ ตา เป็นสหี น้าแสดงออก สีหน้าอดโรย สหี น้าอ่อนเพลยี สหี น้าวติ กกงั วล 5. ลักษณะความรู้สึกตวั และการให้ความช่วยเหลือ เชน่ ผปู้ ว่ ยไมร่ ู้สกึ ตัว มึนงง ครึ่งหลับครึ่ง ต่ืน หรือแสดงลกั ษณะอาการโกรธ และไม่ใหค้ วามร่วมมือในการตรวจ 6. ลักษณะการพูด สนทนาได้ตามปกติ หรือฟังไม่รู้เรื่อง หรือพูดเร็ว พูดช้า พูดไม่ชัด ออก เสียงไม่ถูกต้อง พูดสั่น ติดอ่างหรือขาดตอน พูดเร็ว มักพบในโรคไทรอยด์เป็นพิษ ลิ้นแข็งพบใน Myxaedema 7. อารมณ์ ดูจากการแสดงออกทางสีหน้า ความประพฤติและคำพูด ว่าแสดงถึง การกระวน กระวาย เศร้าซมึ ไม่สนใจ พอใจ ดใี จ เสียใจ ผดิ หวัง 8. การหายใจ หายใจหอบ เงียบหรือดงั หรือหายใจลำบาก 9. มารยาทและอารมณ์ที่แสดงออกต่อผู้สนทนา เช่น ความไม่ร่วมมือ ท่าทางไม่เป็นมิตร โกรธ ไม่พอใจ ขุ่นเคือง เศรา้ ซมึ ฟมู ฟาย ร่าเรงิ หรอื ทา่ ทางไม่ไวใ้ จ 10. กลน่ิ คนดม่ื เหลา้ จะมีกลิ่นแอลกอฮอล์ คนเปน็ เบาหวานจะมกี ลิ่น acetone สภาวะจิตใจ ในระหว่างการซักประวัติสุขภาพและการสังเกตร่างกายทั่วไป ผู้ตรวจควรใช้ความสังเกต อารมณ์จิตใจของผูป้ ่วยด้วย สภาวะทางด้านจิตใจกน็ ่าจะเป็นรายละเอียดส่วนหนึ่งในการที่จะบอกว่า ผู้ป่วยนั้นเป็นโรคระบบประสาทหรือมีข้อบกพร่องทางด้านอารมณ์และสติปัญญา สภาวะจิตใจน้ัน อาจจะแสดงออกทาง 1. พฤติกรรม เช่นผู้ป่วยที่พูดช้า พูดซ้ำๆ กันไม่มีระดับเสียงสูงต่ำ พบในผู้ป่วยที่มีภาวะจิต ซึมเศรา้ การพูดมาก และพูดเรว็ พบใน manic conditions 2. อารมณ์ นอกจากจะสังเกตทางพฤติกรรมแล้ว ทางอารมณ์กจ็ ะต้องอาศัยคำถามด้วยโดยใช้ คำถามงา่ ย ๆ เช่น คณุ มีความรู้สึกเกีย่ วกับเร่ืองนี้อย่างไรบา้ ง หรอื ตอนนจ้ี ิตใจคุณเป็นอย่างไร ในกรณี ที่สงสยั ทผ่ี ปู้ ่วยมีอาการซึมเศร้าควรจะตอ้ งประเมนิ ให้ไดอ้ ยา่ งถอ่ งแท้เพราะอาจจะมคี วามเส่ยี งต่อการ ทีผ่ ูป้ ว่ ยจะฆา่ ตัวตาย โดยใชค้ ำถามเหล่าน้ีช่วยเพ่ือผูป้ ่วยได้แสดงออกถึงความรูส้ ึกตา่ ง ๆ จากการตอบ คำถาม

“คุณวางแผนในอนาคตว่าคุณจะเปน็ อะไร” “คณุ มีความรูส้ ึกวา่ ชีวติ ไมม่ ีค่าหรอคณุ รู้สกึ อยากตาย อยา่ งนัน้ หรือ” “คณุ เคยมีความคิดที่จะทำลายตัวเองหรือไม่” 3. กระบวนการคิด ความคดิ ไมต่ อ่ เนอ่ื ง ประติดประตอ่ ไม่ได้ พบอยใู่ นกลุ่มจติ เภท 4. การรบั รู้ มกั จะสมั พนั ธ์กบั เวลา สถานที่ บคุ คล ความจำ 5. ความคดิ และเหตุผลทางนามธรรม ให้ถามความสามารถความจำปัจจุบัน และเหตุการณ์ใน ปจั จุบนั 6. ความคิดและเหตุผลทางนามธรรม ให้ถามความสามารถในการคิดเกี่ยวกับนามธรรม โดย ถามความหมายของภาษติ 7. ความคลา้ ยคลงึ กัน โดยให้ผปู้ ว่ ยบอกความคล้ายคลงึ กนั เชน่ แมวกับหนู 8. การตัดสินใจ ประเมินความสามารถในการตัดสินใจของผู้ป่วยทั้งในด้านสถานการณ์และ เหตุผล 9. ความสามารถในการรับรู้และความร่วมมือ บอกให้ผู้ป่วยเขียนชื่อบนกระดานดำ แล้วให้ วาดภาพตามท่ีผูต้ รวจบอก ถา้ ไมค่ รบถว้ นจะเกิดความผิดปกตขิ องการรบั รู้ 3. การตรวจรา่ งกาย ผู้ป่วยส่วนใหญ่เมื่อต้องรับการตรวจร่างกายมักตื่นเต้น รู้สึกว่าตนเองจะได้รับความเจ็บปวด รา่ งกายจะตอ้ งถูกเปดิ เผย และจะรสู้ กึ ไมส่ บายใจวา่ ผู้ตรวจพบอะไรหรืออาจพบสง่ิ ผิดปกติในรา่ งกาย ผตู้ รวจควรปฏิบัตดิ ังนี้ 1. บอกเลา่ ให้ผู้ป่วยฟงั ทุกครง้ั วา่ เราจะทำอะไร 2. ความสุภาพ ออ่ นโยน และมีความม่นั ใจในการตรวจ 3. ต้องรบกวนผู้ป่วยนอ้ ยที่สุด เมื่อผู้ป่วยมีอาการไม่สุขสบาย เชน่ ปวด 4. การเปิดหรือเปลื้องเสือ้ ผ้าผู้ป่วย ควรพจิ ารณากระทำกระทำเฉพาะในรายท่ีจำเป็น ถา้ เป็น ผู้ป่วยหญิงและผู้ตรวจเป็นผู้ชายตอ้ งมีบคุ คลทส่ี ามอยูด่ ว้ ยและมีผ้าคลุมใหม้ ิดชิด 5. การตรวจร่างกายท่ีดี ควรตรวจให้สมบูรณ์ทุกระบบ ผตู้ รวจตอ้ งไมเ่ ลือกตรวจระบบท่ีเป็น ปัญหาเท่าน้ัน 6. การตรวจร่างกายผู้ปว่ ยเด็กจะแตกต่างกับผูป้ ว่ ยผูใ้ หญ่มาก ผู้ต้องผูกมิตรกับเด็กกอ่ นท่จี ะ ลงมอื ตรวจ 7. ควรสงั เกตสีหน้าผ้ปู ว่ ยเสมอขณะตรวจ โดยเฉพาะผปู้ ่วยเด็ก 8. ผู้ป่วยเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 3-4 ปี อาจจะให้นั่งตัก หรืออุ้มพาดบ่า เนื่องจากเด็กวัยนี้จะ กลัวคนแปลกหน้า การพูดปลอดประโลมและบอกเด็กว่าจะทำอะไร เลือกใช้คำพูดที่เหมาะสมการ ตรวจควรเลอื กจดุ ท่ไี ม่เจ็บกอ่ น

9. การตรวจบางอย่างทำให้ผู้ป่วยเจ็บควรบอกผู้ป่วยก่อนทุกครั้ง เช่น การทำ Tourniquet test 10. เมื่อตรวจเสรจ็ ต้องบอกถงึ ผลการตรวจและอาจบอกแผนการรักษาวา่ จะทำอย่างไรต่อไป ใหค้ ำแนะนำการปฏิบตั ติ ัว 11. เมือ่ ตรวจเสรจ็ ควรใหเ้ วลาผปู้ ว่ ยไดแ้ ตง่ ตวั ใหเ้ รียบรอ้ ย ระบบการตรวจรา่ งกาย มหี ลายระบบ ไดแ้ ก่ 1. Head – to - toe assessment criteria เริ่มจากตรวจดูสภาพทั่ว ๆ ไป สัญญาณ ชพี ศรี ษะ และหน้า ตา หู จมูก ชอ่ งปาก ลำคอ หนา้ อก เร่อื ยไปจนถงึ สว่ นของแขนขา 2. Body systems assessment criteria เริ่มจากตรวจดูสภาพทั่ว ๆ ไป สัญญาณชีพ และตรวจตามระบบต่าง ๆ ได้แก่ ระบบประสาท ระบบการหายใจ ระบบหัวใจ ระบบทางเดิน อาหาร เป็นตน้ หลกั การและวธิ กี ารตรวจร่างกาย มี 4 วธิ ี ไดแ้ ก่ 3.1. การดู (Inspection) สำรวจด้วยสายตา อาจดูด้วยตาเปล่า (unaid eyes) หรือใช้ เครื่องมือช่วย (aid eyes) เช่น Otoscope สิ่งที่ควรดูเป็นประจำคือ สีต่าง ๆ ขนาด ความสูง ต่ำ รปู ร่าง ความเหมือนกนั 2 ข้าง เป็นตน้ 3.2. การคลำ (Palpation) สัมผัสด้วยมือ ฝ่ามือ หรือหลังมือ อาจคลำเบา ๆ จะทำให้ แยกได้ถงึ - ความหยาบละเอยี ด (texture) - ขนาด (dimention) - ความแข็งอ่อน (consistency) - อณุ หภูมิ (temperature) - การกดเจ็บ (tenderness) - การเคล่อื นไหว (movable) หรือยดึ แนน่ (fixed) 3.3. การเคาะ (percusstion) มี 2 วิธคี อื 3.3.1 Direct percussion เป็นการเคาะโดยตรง ใช้มือที่งองุ้มเล็กน้อย เคาะลง ไปตรง หรือใช้เพียงบางนิ้วเคาะ 3.3.2 Indirect percussion เป็นวิธีที่ใช้มากที่สุด ถ้าถนัดมือขวาใช้มือทาบน ผิวหนังของผู้ป่วย แล้วใช้ปลายนิ้วกลางข้างขวาเคาะลงไปบนนิ้วกลางข้างซ้ายตรงบริเวณรอยต่อ ระหวา่ งขอ้ นว้ิ กลางกบั ปลายสดุ เสยี งทไี่ ดจ้ ากการเคาะจะต่างกันตามความหนาแนน่ เชน่ - Flatness เป็นเสยี งทึบมากเทยี บไดก้ ับเสียงเคาะบริเวณตน้ ขา - Dullness เป็นเสยี งทบึ เทยี บกบั เสยี งเคาะตรงตำแหนง่ ของตับ

- Resonance เป็นเสียงโปร่งเทียบกับเสยี งเคาะบริเวณปอดทปี่ กติ - Tympany เปน็ เสียงโปร่งมาก เทยี บได้กับเสียงเคาะหน้าทอ้ งในรายท่ีมแี ก๊ส 3.4. การฟัง (Auscultation) สังเกตเกี่ยวกับความถี่ (frequency) ความหนาแน่น หรอื ความดัง (intensity) ระยะเวลา (duration) และคุณภาพ (quality) ของเสียงนน้ั ๆ การฟัง มี 2 วธิ ีคือ 3.4.1 การฟังโดยตรง (Direct auscultation) การฟังด้วยหูโดยตรง ไม่ผ่าน ตัวกลางหรอื เครอื่ งมอื เชน่ ฟงั เสยี งพดู เสยี งหายใจท่ีดังผิดปกติ 3.4.2 การฟังโดยใช้เครื่องมือ (Indirect auscultation) การฟังโดยผ่านตัวกลาง ทำให้รับฟังความแตกต่างได้ชัดเจน เครื่องมือที่นิยมใช้ เรียกว่า หูฟัง (Stethoscope) ซ่ึง ประกอบด้วย 3 สว่ นคอื a) สว่ นอก (Chest piece) ใช้วางแนบตรงตำแหนง่ ทีจ่ ะฟัง มี 2 ดา้ น คือ - ด้านกรวย (Bell) ใช้ฟงั เสยี งความถีต่ ่ำ - ดา้ นตลับ (Diaphragm) ใชฟ้ งั เสียงความถ่ีสงู b) ส่วนหู (Ear piece) มขี นาดเหมาะสมกบั รูหู และใสใ่ นแนวทีถ่ ูกตอ้ ง c) ท่อยาง (Tubing) ควรมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1/8 นิ้วฟุต ยาวไม่เกิน 1 ฟุต เพ่ือการนำเสียงท่ีดี การสำรวจทั่ว ๆ ไป(general survey) 1. state of health 2. state of distress 3. stature and posture 4. weight 5. personal hygiene 6. speech, mood, state of awareness and conciousness 7. vital signs - heart rate คา่ ปกติ 80-100 ครง้ั ตอ่ นาที - respiratory rate คา่ ปกติ 14-20 ครั้ง ตอ่ นาที - blood pressure คา่ ปกติ 140-90/90-60 มม.ปรอท - temperature คา่ ปกติ 36-37.5 องศาเซลเซยี ส

Head and neck head ดู scalp หรือ skull ว่ามีก้อนหรือรอยโรคหรอื ไม่ ดู ความเปราะ ความมัน หลุด ง่ายของเส้นผม การแสดงออกของสหี นา้ eyes ดูตำแหน่งและความเท่ากันของตาและขนคิ้ว สังเกตรอยโรคบริเวณเปลือกตา กระจกตา เลนส์ตาและรมู ่านตา ears ดรู ูปรา่ งและตำแหนง่ ตรวจความสามารถในการได้ยนิ nose ดูรูปร่างภายนอกและภายในโดยใช้ไฟสอ่ ง mouth and pharynx ตรวจให้ครบทั้งsoft tissueและhard tissue โดยเริ่มดูจาก รมิ ฝีปาก กระพงุ้ แก้ม เหงือก ฟนั vestibule ลิน้ พน้ื ชอ่ งปาก เพดานปาก คอหอย neck ดูขนาด รูปร่าง การเคลื่อนไหวของตอ่ มน้ำเหลือง การเบีย่ งเบนของหลอดลม ขนาดของตอ่ ม thyroid Thorax and lung การดู - รูปรา่ งปกตจิ ะกลมแบน antero-posterior : lateral มีค่าประมาณ 1 : 2 - ลักษณะการหายใจดูอตั ราการหายใจสงั เกตการณ์หายใจลำบากโดยดบู รเิ วณปีกจมูก การคลำ เปรียบเทียบกันสองข้างเช่นพบการสั่นสะเทือนผิดปกติเมื่อเปล่งเสียงในผู้ป่วย ปอดอักเสบ การเคาะ เปรียบเทียบกันสองข้างเช่นเสียงทึบพบได้ในผู้ป่วยที่มีก้อนเนื้อ ของเหลวหรือ การแข็งตัวของปอดเสยี งโปร่งเกิดจากการมลี มในช่องปอดเป็นต้น การฟัง เสียงปอดโดยใช้ stethoscope เพื่อประโยชน์ในการประเมินถึงลมที่ผ่านหลอดลม และสว่ นตา่ ง ๆ ของทางเดนิ หายใจทอ่ี ุดตนั สภาพปอดและช่องเย่ือหมุ้ ปอด Heart การดู ดกู ารทำงานของหวั ใจโดยสังเกตท่าทางของผปู้ ่วย ดูการเต้นของเส้นเลอื ดที่คอและ แขนดูสขี องเย่อื บตุ ่าง ๆ และสีของเลบ็ การคลำ จะสามารถบอกเกยี่ วกบั จงั หวะ อัตราและความแรงของการเตน้ ของหัวใจ การเคาะ ไม่นิยมใชก้ ารเคาะในการตรวจหวั ใจ การฟัง เสียงที่ได้ยินเป็นเสียงที่เกิดจากการปิดของลิ้นหัวใจ เสียงผิดปกติที่พบบ่อยคือ murmur ทีพ่ บในผูป้ ว่ ยล้นิ หวั ใจร่ัว ตบี หรือผนงั ล้ินหัวใจรัว่

Abdomen การดู รูปรา่ ง ความป่องนูน การฟงั เสียงที่อาจได้ยนิ เช่น bowel sound และ splashing sound การเคาะ สามารถบอกภาวการณ์มีน้ำในช่องท้องหรอื ขอบเขตของอวยั วะเช่น ตับ การคลำ ดู rigidity garding rebound tenderness Genitalia, anus , rectum Male - pennis ตรวจ urethal mentus glan pennies prepuce - scrotum - hernia Female - external genitalia - labia minora - critoris - urethal orifice - vaginal opening - anus rectum Nervous system Conciousness ผู้ป่วยที่มี conscious ผิดไปจากปกติอาจเกิดจากพยาธิสภาพในระบบ ประสาทสว่ นกลางหรือโรคทางระบบท่มี ีผลต่อการทำงานของระบบประสาทสว่ นกลาง Cranial nerve CN 1 olfactory nerve CN 2 optic nerve CN 3 oculomotor nerve CN 4 throchear nerve CN 5 trigeminal nerve CN 6 abducens nerve CN 7 facial nerve CN 8 acoustic nerve CN 9 glossopharygeal nerve CN 10 vagus nerve

CN 11 spinal accessory nerve CN 12 hypoglossal nerve Motor system Grade 0 ไมส่ ามารถเคลือ่ นไหวไดเ้ ลย Grade 1 สามารถเคลื่อนไหวไดเ้ ล็กนอ้ ยเฉพาะในแนว horizontal Grade 2 สามารถเคลื่อนไหวต้านแรงดึงดดู ของโลกได้ Grade 3 สามารถเคล่อื นไหวตามแนว vertical และสามารถต้านแรงผูต้ รวจได้ Grade 4 มีอาการอ่อนแรงเล็กนอ้ ย Grade 5 ปกติ Sensory system สงั เกตความสามารถในการรับร้สู ง่ิ กระต้นุ โดยเปรียบเทยี บสองขา้ ง Pain Temperature Touch Vibration Position Streregonosis Reflex Deep tendon reflex Grade 0 ไม่มีการตอบสนองเลย Grade 1 มีการตอบสนองเล็กน้อย Grade 2 ปกติ Grade 3 ไวกว่าปกติ Grade 4 ไวมาก Superficial reflex Meningeal sign Neck stiffness ผปู้ ว่ ยไมส่ ามารถกม้ คอมาจรดหน้าอกขณะนอนหงายได้ Kernig’s sign

4. การวัดสัญญาณชพี สัญญาณชีพเป็นสิ่งที่บ่งบอกความมีชีวิตของบุคคล ประกอบด้วย อุณหภูมิ(temperature) ชีพจร(pulse) การหายใจ (respiration) และความดันโลหิต (blood pressure) สามารถตรวจสอบวัดได้ ถ้าสัญญาณชีพปกติจะบ่งบอกถึงสภาวะร่างกายที่เป็นปกติ ถ้า สญั ญาณชีพมีการเปล่ียนแปลง สามารถบอกได้ถึงการเปล่ยี นแปลงในการทำหน้าทขี่ องร่างกาย ความ รุนแรงของการเจ็บป่วย และความรีบด่วนที่ต้องการรักษา ดังนั้นจึงต้องให้ความสนใจเก่ียวกับการ ตรวจสอบและแปลความหมายสัญญาณชีพให้ได้ว่าบุคคลอยู่ในสภาวะใดเพื่อเป็นแนวทางในการวาง แผนการรกั ษาได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม 4.1 ความหมายของสัญญาณชพี สัญญาณชีพ (Vital signs) เปน็ ส่ิงท่แี สดงใหท้ ราบถึงการมีชีวิต สามารถสงั เกตและตรวจพบได้ จาก อุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต สิ่งเหล่านี้เกิดจากการทำงานของอวัยวะของ รา่ งกายที่สำคัญมากต่อชีวิต ไดแ้ ก่ หัวใจ ปอด สมอง รวมถึงการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด และ ระบบหายใจ ซึ่งในภาวะปกติสัญญาณชีพอาจมีการเปลีย่ นแปลงได้บ้างเล็กน้อย เมื่อใดที่สัญญาณชีพ ผิดปกติ ผู้ป่วยจะต้องได้รับการสังเกตและค้นหาสาเหตุอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากแสดงให้เห็นว่ากำลัง เกดิ ความผดิ ปกติกับร่างกาย เช่น ร่างกายอาจได้ออกซเิ จนไม่เพียงพอ มกี ารเสยี เลือด เสียความสมดุล ของน้ำและอิเล็กโทรไลต์ เกิดการติดเชื้อ หรือปัญหาในการปรับตัวของร่างกายและการเปลี่ยนแปลง ทางอารมณ์ เป็นตน้ 4.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการวดั สญั ญาณชีพ 4.2.1. เพื่อประเมินระดับอุณหภูมิของร่างกาย อัตราการเต้น ลักษณะชีพจร การ หายใจ และความดันโลหติ 4.2.2. เพือ่ สังเกตอาการทวั่ ไปของผปู้ ่วย และเปน็ การประเมินสภาพผูป้ ว่ ยเบอื้ งตน้ 4.3 กรณที ี่ตอ้ งตรวจสญั ญาณชีพ 4.3.1 เม่อื แรกรบั ผู้ป่วยไวใ้ นโรงพยาบาล 4.3.2 วัดตามระเบยี บแบบแผนที่ปฏิบตั ขิ องโรงพยาบาลหรือตามแผนการรกั ษาของ แพทย์ 4.3.3 ก่อนและหลงั การผา่ ตัด 4.3.4 ก่อนและหลังการตรวจวินิจฉัยโรคที่ต้องใส่เครื่องมือตรวจเข้าไปภายใน ร่างกาย 4.3.5 ก่อนและหลังให้ยาบางชนิดท่ีมผี ลต่อหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular) การหายใจ และการควบคุมอณุ หภมู ิร่างกาย

4.3.6 เม่อื สภาวะทวั่ ไปของร่างกายผปู้ ่วยมีการเปล่ียนแปลง เช่น ความรสู้ ึกตัวลดลง หรือความรุนแรงของอาการปวดเพมิ่ ขึ้น 4.3.7 ก่อนและหลังการให้การพยาบาลที่มีผลต่อสัญญาณชีพ เช่น ก่อนให้ผู้ป่วยที่ bed rest มกี าร ambulate หรือก่อนใหผ้ ู้ป่วยออกกาลงั กาย สัญญาณชีพ ประกอบด้วย อุณหภูมิ(temperature) ชีพจร(pulse) การหายใจ (respiration) และความดนั โลหติ (blood pressure) มรี ายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี 4.4 อุณหภูมิ (temperature) อณุ หภมู ิของรา่ งกาย เป็นระดบั ความรอ้ นของรา่ งกาย ซง่ึ เกิดจากความสมดลุ ของการสร้างความ รอ้ นของร่างกายและการสญู เสยี ความร้อนออกจากรา่ งกาย มหี น่วยเปน็ องศาเซลเซยี ส (°C) หรอื องศา ฟาเรนไฮต์ (F) อุณหภูมิในร่างกายของมนุษย์ จะคงที่จะไม่ค่อยเปลี่ยนแปลงมากนักถึงแม้อุณหภูมิ ภายนอกอาจจะเปลีย่ นไปอณุ หภูมิในรา่ งกายจะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คอื 4.4.1. อุณหภูมิแกน (core temperature) คืออุณหภูมิบริเวณอวัยวะภายในร่างกาย ทั้งหมด เช่น อุณหภูมิบริเวณหัวใจ สมอง ไต ตับ ทางเดินอาหาร ฯลฯ เซลล์อวัยวะเหล่านี้จะมีอัตรา การเผาผลาญอาหารค่อนข้างสูง มีอุณหภูมิกายค่อนข้างคงท่ี เราสามารถจะวัดอุณหภูมิแกนได้ทาง ทวารหนกั (rectal temperature) และทางปาก (oral temperature) 4.4.2. อุณหภูมิเปลือก (shell temperature) อุณหภูมิภายนอกร่างกาย มีการกำหนด อณุ หภมู ดิ งั น้ี 37.5 – 38.3 °C เรียกว่า ไขต้ ำ่ (low fever) 38.4 – 39.4 °C เรยี กว่า ไข้ปานกลาง (moderate fever) 39.5 – 40.5 °C เรียกว่า ไข้สูง (high fever) สงู กวา่ 40.5 °C ขน้ึ ไป เรียกว่า ไข้สูงมาก (very high fever) ปจั จัยทม่ี ผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงอณุ หภูมิ 1. การเปลี่ยนแปลงในรอบวัน (circadian rhythm หรือ diurnal variation) ในช่วง 24 ชวั่ โมงของวัน อณุ หภมู ขิ องร่างกายจะไม่คงที่ แตเ่ บ่ยี งเบนไปจากคา่ เฉล่ียประมาณ 1-2 องศาเซลเซียส (°C) 2. การออกกำลังกาย ขณะออกกำลังกายพลังงานความร้อนจะถูกผลิตออกมาจากการหด ตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อ และมีการทำงานเพิ่มขึ้นของระบบอื่นๆ เช่น ระบบไหลเวียน ระบบ หายใจมีผลทำใหค้ วามรอ้ นสะสมในร่างกายมากขึ้น อณุ หภูมิในร่างกายจึงสูงข้นึ 3. อายุ อุณหภูมิกายของเด็กทารกแรกเกิดจะไม่คงที่ เนอ่ื งจากศนู ยค์ วบคุมอุณหภูมิกายซ่ึง อยู่ในสมองบริเวณ hypothalamus ยังทำงานไม่ดีพอ การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมจึงมีผลต่อ

อุณหภูมิกายเด็ก ส่วนผู้สูงอายุเนื้อเยื่อใต้ผวิ หนังมีน้อย และมีการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด ทำให้ เลือดมาเลีย้ งผวิ หนังลดลง ทำใหอ้ ณุ หภมู กิ ายต่ำเส่ยี งตอ่ ภาวะ hypothermia ได้งา่ ย 4. การเปลี่ยนแปลงของรอบเดือน (menstruation cycle) ในระยะที่ร่างกายมี ประจำเดือน อุณหภูมิของร่างกายโดยเฉลี่ยจะต่ำสุด ต่อมาจะค่อยๆ เพิ่มขึ้นเล็กน้อยในระยะ 14 วัน ถัดมาในวันที่มีการตกไข่ อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้น เนื่องจากฤทธิ์ของ progesterone ซึ่งเพิ่ม ประมาณ 0.3-0.5 °C การวัดอณุ หภูมิ การวดั อณุ หภมู ิของรา่ งกาย มีจดุ ประสงคเ์ พ่ือตรวจสอบอุณหภูมขิ องรา่ งกาย ในทารกแรกเกิด นอกจากจะดูระดับอุณหภูมิของร่างกายแล้ว ยังเป็นการตรวจสอบว่ามีทวารหนักหรือไม่ โดยทั่วไป สามารถวดั อณุ หภมู ขิ องร่างกายได้ 4 ทาง คอื 1. การวัดอุณหภูมิทางปาก เป็นวิธีที่นิยมกันมาก โดยใช้ปรอทวัดไข้ทางปากหรือทางรักแร้ มาสลัดให้ลำปรอทลงตำ่ กวา่ ขีด 35 °C แล้วให้ผูป้ ่วยอ้าปากและกระดกลนิ้ ข้นึ วางกระเปาะปรอทไว้ใต้ ลิ้น (ระหว่างลิ้นกับพื้นปาก) แล้วให้ผู้ป่วยปล่อยลิ้นลงบนพื้นปากตามเดิม และหุบปากให้สนิท เป็น เวลาประมาณ 2-3 นาที หลังจากนั้นจึงนำปรอทออกจากปากผู้ป่วย และอ่านอุณหภูมิที่วัดได้ โดยค่า ปกติประมาณ 36.7-37 °C หรือ 98.6 F จากนัน้ นำปรอทไปทำความสะอาดก่อนเก็บเขา้ ท่เี ดิม 2. การวัดอุณหภูมิทางรักแร้ การวัดวิธีนี้ใช้ในผู้ป่วยที่หมดสติไม่รู้สึกตัว โดยการใช้ปรอท ปรอทวัดไข้ทางปากหรือทางรักแร้ มาสลัดให้ลาปรอทลงตำ่ กวา่ ขีด 35 °C แลว้ ให้ผู้ปว่ ยกางแขนข้างใด ข้างหนึ่งออก วางกระเปาะปรอทลงไปในซอกรักแร้ แล้วให้ผู้ป่วยหุบแขนและหนีบปรอทไว้ในซอก รักแร้ เป็นเวลา 5 นาที จึงนำปรอทออกจากซอกรักแร้มาอ่านค่าอุณหภูมิที่วัดได้ ซึ่งค่าที่วัดได้จะต่ำ กวา่ คา่ ทวี่ ัดทางปาก ประมาณ 0.5-1 °C จากนน้ั นำปรอทไปทำความสะอาดกอ่ นเก็บเขา้ ท่ีเดิม 3. การวัดอุณหภูมิทางทวารหนัก มักจะใช้วัดในเด็กเล็กที่ไม่สามารถอมปรอทได้ (เด็กอายุ น้อยกว่า 3 ปี) หรือผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว (unconscious) วัดโดยการใช้ปรอทวัดไข้ทางก้น มาสลัดให้ลำ ปรอทลงต่ำกว่าขีด 35 °C แล้วทำด้วยวาสลิน ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงงอเข่าขึ้นจรดหน้าอก ใช้มือดึงก้น ด้านบนขึ้น เปิดให้เห็นทวารหนัก ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึกๆช้าๆ แล้วสอดปรอทเข้าไปในรูทวาร หนักลึกประมาณ 0.5-1 นิ้ว หรือ 1.5-2 เซนติเมตร ทิ้งไว้นาน 1-2 นาที จึงดึงปรอทออกมาอ่าน อุณหภูมิที่วัดได้ โดยค่าที่วัดได้จะสูงกว่าอุณหภูมิที่วัดทางปาก 0.6 °C หรือ 1 ฟาเร็นไฮน์ (F)จากนั้น นำปรอทไปทำความสะอาดกอ่ นเกบ็ เขา้ ที่เดมิ 4. การวัดโดยการใช้เทอร์โมมิเตอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นวิธีที่ง่ายและแม่นยำ ใช้สะดวก และรวดเร็ว ไดแ้ ก่ การวดั อุณหภูมิทางหู โดยใช้แสงอินฟลาเรด ถ้าเป็นผปู้ ่วยเดก็ ให้ดึงใบหูข้ึน ถ้าเป็น วยั ผใู้ หญใ่ หด้ ึงใบหูลง

ขอ้ ควรระวงั ในการวดั อุณหภูมิ 1. ไม่ควรวัดอุณหภูมิทางปากเมื่อผู้ป่วยดื่มน้ำร้อนหรือน้ำเย็นใหม่ๆ ต้องรออย่างน้อย 15 นาที การอมปรอทต้องอมไวใ้ ตล้ ิ้นและหุบปากให้สนทิ 2. ห้ามนำปรอทวัดทางปากไปวัดทางทวารหนัก หรือนำปรอทวัดทางทวารหนักมาวัดทาง ปาก 3. ปรอทวัดทางปากและปรอทที่วัดทางทวารหนักให้แยกใส่ภาชนะไม่ปนกัน และทำความ สะอาดแยกกันด้วย 4. ถา้ ใชป้ รอทวดั ทางรักแร้ ตอ้ งเช็ดผิวหนังบริเวณนนั้ ให้แหง้ เสยี กอ่ นและหบุ รักแรใ้ ห้แน่น 5. ถา้ ใช้ปรอทวดั ทางทวารหนักตอ้ งทำวาสลินให้ล่ืนก่อน 6. ต้องสลัดปรอทให้ต่ำลงถึง 35 °C ก่อนวัดทุกครงั้ 7. ถ้าวดั อณุ หภมู ิไดส้ ูงหรือตำ่ กว่าปกติมาก ควรวดั ใหมอ่ ีกครั้งเพ่อื ความแน่นอน เพราะอาจ เปน็ สงิ่ บ่งบอกถึงภาวะช็อก ตกเลอื ด หรอื การทางานในรา่ งกายผิดปกติได้ 8. ในทารกแรกเกิด ถ้าวัดอุณหภูมิร่างกายได้สูงกว่า 38 °C หรือต่ำกว่า 36 °C ควรระวัง ถงึ ภาวะผดิ ปกติ นอกจากนกี้ ารวัดอณุ หภมู ใิ นขณะเด็กร้องไห้ อาจไดอ้ ุณหภูมิสูงกว่าปกติเล็กนอ้ ย 4.5 ชีพจร (Pulse) ชีพจร เป็นการหดและขยายตัวของผนังหลอดเลือด ซึ่งเกิดจากการบีบตัวของหัวใจ ทำให้ คลื่นความดนั โลหติ ไปดนั ผนงั เสน้ เลือดแดงให้ขยายออกเป็นจังหวะ ในขณะท่ีเลือดไหลผา่ นไปตามเส้น เลอื ด จังหวะการเตน้ ของเสน้ เลอื ดจะสมั พนั ธก์ ับการเต้นของหัวใจโดยตรง บรเิ วณทคี่ ลำชีพจรได้ง่าย ไดแ้ ก่ 1. ชีพจรเท็มพอรัล (temporal pulse) จับที่เหนือและข้างๆ ตา ซึ่งหลอดเลือดแดงเท็ม พอรลั ทอดผา่ นเหนอื กระดกู เทม็ พอรลั ของศีรษะ 2. ชีพจรคาโรทิด (carotid pulse) อยู่ด้านข้างของคอ คลำได้ชัดเจนที่สุดบริเวณมุม ขากรรไกรลา่ ง 3. ชีพจรเบรเคียล (brachial pulse) อยู่ด้านในของกล้ามเนื้อไบเซ็พซ์ (bicep) คลาได้ที่ บรเิ วณข้อพบั แขนดา้ นใน เป็นตำแหนง่ ที่คลำเม่ือจะวัดความดันโลหิต 4. ชีพจรเรเดยี ล (radial pulse) อยทู่ ่ขี อ้ มอื ด้านใน บรเิ วณกระดกู ปลายแขนด้านนอกหรือ ดา้ นหวั แม่มอื เป็นตำแหนง่ ที่นิยมจบั ชพี จรมากท่ีสดุ เพราะเป็นท่ที ่จี บั ได้ง่ายและไม่รบกวนผปู้ ่วย 5. ชพี จรฟีโมรลั (femoral pulse) อย่บู ริเวณขาหนีบตรงกลางๆ ส่วนของเอน็ ทย่ี ดึ ขาหนบี 6. ชีพจรพ็อพลิเทียล (popliteal pulse) อยู่บริเวณข้อพับเข่า หาค่อนข้างยาก แต่ถ้างอ เข่าก็สามารถคลำได้งา่ ยข้ึน อย่ตู รงกลางๆ ข้อพบั เขา่

7. ชพี จรดอรเ์ ซลสี เพดดสี (dorsalis pedis pulse) อยู่บริเวณหลงั เท้า ให้ดตู ามแนวกลาง ต้ังแตห่ วั เขา่ ลงไป ชีพจรทจ่ี บั ไดอ้ ยกู่ ลางหลงั เทา้ ระหว่างนิ้วหวั แม่เทา้ กับนิ้วชี้ 8. ชีพจรแอ็พพิคัล (apical pulse) อยู่ที่ยอดของหัวใจ หน้าอกด้านซ้ายบริเวณที่ตั้งของ หัวใจ มักใช้กบั เด็กทารกและเดก็ เลก็ ๆ ทอี่ ายุต่ำกว่า 2-3 ขวบ 9. ชีพจรโพสทีเรีย ทิเบียล (posterior tibial pulse) อยู่บริเวณหลังปุ่มกระดกู ข้อเทา้ ดา้ น ใน ปจั จยั ที่มีผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงชีพจร 1. อายุ อัตราความเร็วของชีพจรในแต่ละช่วงวัยจะมีความแตกต่างกัน โดยเมื่ออายุเพิ่มข้ึน อัตราความเรว็ ของชพี จรจะค่อยๆลดลง 2. เพศ หญงิ จะเรว็ กวา่ ชายเลก็ นอ้ ยในชว่ งวยั รุ่นและวยั ผใู้ หญ่ 3. การออกกำลังกาย ปกติชีพจรจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อได้ออกกำลังกาย เนื่องจากในระหว่าง การออกกำลังกาย กล้ามเนื้อต้องการออกซิเจนเพิ่มขึ้น จึงทำให้เพิ่มการเต้นของหัวใจ เพื่อจะได้นำ ออกซิเจนไปกับกระแสเลือด 4. อารมณอ์ ตั ราการเต้นของหัวใจขึน้ อยู่กับระบบประสาทอตั โนมัติ ซงึ่ มี 2 สว่ น คือ ระบบ ประสาทซิมพาทีตคิ (sympathetic) และพาราซิมพาทตี ิค (parasympathetic) อารมณ์ทเ่ี กดิ ขึน้ เชน่ ความกลัว ความโกรธ ความวิตกกังวล การรับรู้ความเจ็บปวด จะไปกระตุ้นระบบประสาทซิมพาทีติ คทาให้หัวใจบีบตัวเร็วขนึ้ สำหรบั การกระตนุ้ ระบบประสาทพาราซิมพาทตี ิคทำให้หวั ใจเตน้ ชา้ ลง 5. ความร้อน การนำความร้อนมาใชภ้ ายนอกรา่ งกายเปน็ เวลานานๆ จะทำให้ชีพจรเต้นเรว็ ขึ้น และชีพจรจะเร็วขึ้นเมื่อความดันของเลือดลดลงจากผลของหลอดเลือดส่วนปลายขยายออกเม่ือ ถูกความร้อน 6. ยา ยาบางชนดิ ลดอัตราความเร็วของชพี จรและบงชนิดเพ่ิมอตั ราความเรว็ ของชพี จร 8 ท่าทาง เมื่ออยู่ในท่ายืนชีพจรจะเร็วกว่าเมื่ออยู่ในท่านั่งหรือนอน ทั้งนี้เพราะหัวใจตอ้ งบีบตวั ให้เรว็ ข้นึ เพ่ือฉดี เลือดไปเล้ียงร่างกาย การวัดชพี จร การวัดชีพจร มีจุดประสงค์เพ่ือตรวจสอบจังหวะเต้นของหัวใจ ดูการทำงานของหัวใจ โดยทั่วไปการวัดชพี จรสามารถตรวจวัดไดด้ ว้ ยการคลำ ซ่งึ มีขน้ั ตอนในการปฏบิ ัติ ดังนี้ 1. ใช้ปลายนิ้วช้ี นิ้วกลาง นิ้วนาง วางแตะลงบนตำแหน่งเส้นเลือดแดงที่ข้อมือด้านนอก (แนวเดยี วกบั หวั แม่มือ) กดเบาๆ พอให้รู้สกึ ถึงการเตน้ ของเส้นเลือด ไมค่ วรใชห้ ัวแม่มือในการคลำชีพ จร เพราะหลอดเลอื ดท่นี วิ้ หวั แม่มอื เตน้ แรง อาจทำให้เกิดความสับสนได้

2. นบั การเต้นของชีพจรให้เต็ม 1 นาที พรอ้ มกบั สังเกตจังหวะการเตน้ ความหนกั ความเบา ของชีพจรด้วย ถ้าชีพจรไม่สม่ำเสมอหรือมีอัตราการเต้นที่ผดิ ปกติ หรือความหนักเบาผิดปกติควรนับ ใหมอ่ กี ครั้งใหแ้ น่ใจ เพื่อประเมินการทำงานของหวั ใจ 3. การนับอัตราการเต้นของหัวใจ (heart rate) ในเด็ก อาจต้องใช้วิธีฟังอัตราการเต้นของ หวั ใจแทนการคลำชพี จร เพราะในเด็กเลก็ คลำชพี จรได้ไมช่ ัดเจน 4. บันทึกจำนวนครั้งของชีพจร ความหนัก/เบา และจังหวะการเต้นชีพจร เพื่อใช้ เปรียบเทียบลักษณะการเต้นของชีพจรแต่ละครั้ง ซึ่งแสดงถึงการทำงานของหัวใจเพือ่ เปน็ แนวทางใน การวางแผนให้การดูแลตอ่ ตอ่ ไป ส่ิงทต่ี อ้ งสังเกตในขณะคลำชพี จร ในการคลำชีพจรแตล่ ะคร้ัง ส่ิงทีต่ ้องสงั เกตในขณะคลำชพี จร มีดังตอ่ ไปน้ี 1. อัตราความเร็วของชีพจร หมายถึงอัตราการเต้นของหัวใจต่อ 1 นาที โดยทั่วไปอัตรา ความเร็วของชีพจรปกติในผู้ใหญ่ ประมาณ 60-100 ครั้งต่อนาที ส่วนอัตราความเรว็ ของชีพจรในเดก็ ประมาณ 90-130 ครั้งต่อนาที ในผู้ใหญ่ถ้าชีพจรเต้นเร็วกว่า 100 ครั้งต่อนาที (tachycardia) ถือว่า เร็วกว่าปกติ ชีพจรที่เต้นช้ากว่า 60 ครั้งต่อนาที (bradycardia) ถือว่าช้ากว่าปกติ เนื่องจากอัตรา ความเรว็ ของชีพจร ขน้ึ อยกู่ ับการบบี ตัว 2. ความแรงของชีพจร ความแรงหรือความหนักเบาของชีพจรในแต่ละจังหวะควรเท่ากัน ซ่ึง ความหนักเบาของชพี จรท่ีคลำได้ จะข้นึ อยกู่ บั ปริมาณเลือดในร่างกาย ถา้ ปริมาณเลือดในร่างกายปกติ ชพี จรจะเต้นแรง (full) ถ้าปริมาณเลอื ดนอ้ ยลง ชีพจรกจ็ ะเตน้ เบาตามไปดว้ ย (weak, soft) 3. จังหวะ แสดงถงึ ลักษณะการบีบตัวของหัวใจ จงั หวะท่ปี กติจะต้องสม่ำเสมอ (regular) ชว่ ง ห่างระหว่างชีพจรแต่ละครั้งต้องเท่ากัน ถ้าจังหวะการเต้นไม่สม่ำเสมอ (irregular) หรือช่วงห่างไม่ เท่ากัน เหมือนมีการหยุดเต้นเป็นช่วงๆ (intermittent) แสดงถึงการบีบตวั ที่ผิดปกติของหวั ใจ หรือมี ความพกิ ารของหัวใจ 4.6 การหายใจ (Respiration) การหายใจ เป็นการนำเอาออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายและนำคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกาย การหายใจแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ขน้ั ตอน ดังนี้ 4.6.1. การหายใจเพื่อแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ ระหว่างปอดกับ อากาศภายนอก (external respiration) แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 4.6.1.1 การสูดเอาอากาศเขา้ ไปในถงุ ลมของปอด เรียกว่า การหายใจเขา้ (inspiration or inhalation) จังหวะนี้จะมีการยกตัวของกระดูกซี่โครงพร้อมๆกับกระบังลมมีการหย่อนต่ำลงในท้อง ทาให้มีการขยายตัวของทรวงอกและหน้าท้อง ปอดจึงขยายตัวรับอากาศจากภายนอกเข้ามาได้ ซึ่งใน

อากาศมีก๊าซออกซิเจนประมาณ ร้อยละ 21 เข้าไปถึงในถุงลมในปอด ออกซิเจนจะซึมเข้าเส้นเลือด แดงทีห่ ุ้มถงุ ลมอย่เู ขา้ สูร่ ะบบไหลเวียนเลอื ด 4.6.1.2 การไล่อากาศออกจากปอด เรียกว่า การหายใจออก (expiration or exhalation) ในจังหวะนี้จะมีการหดตัวเข้าหากันของกระดูกซี่โครง ทาให้หน้าอกบุ๋มลง พร้อมๆกับ กระบังลมจะดันตัวสูงข้ึนไปในช่องอก ทำให้ช่องอกแคบเข้า ปอดจะถูกบังคับให้แฟบลง อากาศจะถูก ขับออกมาทางจมกู ซ่งึ ประกอบดว้ ยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ท่ีเกิดจากการเผาผลาญภายในเซลล์ และ มีก๊าซออกซเิ จนเหลือประมาณร้อยละ 16-18 4.6.2. การแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งอยู่ในเลือด กับเซลล์ของ เนื้อเยื่อต่างๆในร่างกาย (internal respiration) ออกซิเจนที่ได้จากการหายใจเข้าถูกนำไปสู่เซลล์ ต่างๆ โดยเส้นเลือดแดง ส่วนคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเกิดจากการเผาผลาญของเซลล์นั้นๆ จะซึมผ่าน เข้าเสน้ เลอื ดดำ เพอ่ื นำกลบั ไปฟอกทป่ี อด เม่ือถงึ ถงุ ลมคารบ์ อนไดออกไซดจ์ ะซมึ ออกจากเสน้ เลือดดำ เขา้ สถู่ ุงลมในปอด แลว้ ขบั ออกพรอ้ มลมหายใจออก ปจั จยั ท่ีมีผลตอ่ การเปล่ยี นแปลงการหายใจ การหายใจเป็นการทำงานแบบอัตโนมัติ แต่อย่างไรก็ตาม จังหวะและความลึกของการหายใจ บางขณะก็สามารถควบคุมได้เป็นพักๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ หรือสภาวะแวดล้อม หรือ ได้รับอิทธิพลจากความเจ็บป่วย ซึ่งอาจมีผลทาให้หายใจตื้นหรือลึกกว่าปกติได้ ดังนั้นการนับการ หายใจ จงึ ไมค่ วรใหผ้ ปู้ ว่ ยรู้สึกตวั โดยมากนิยมนับตอ่ จากการคลำชีพจร การนบั การหายใจ การนับการหายใจ มีจุดประสงค์เพ่ือตรวจสอบการทำงานของปอดและทางเดินของลมหายใจ โดยมขี นั้ ตอนในการปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. ควรนับต่อจากการคลำชีพจรโดยไม่ต้องบอกให้ผู้ป่วยทราบ เพื่อผู้ป่วยจะได้ไม่ตั้งใจ หายใจ ทำให้ไมท่ ราบสภาวะการหายใจทแ่ี ทจ้ ริงของผปู้ ่วยในขณะนัน้ 2. นับการหายใจเข้าและออก โดยดูจากการขยายและหดตัวของทรวงอก 1 รอบ เป็นการ หายใจ 1 ครั้ง นับเต็ม 1 นาที ในเด็กเล็กอาจดูจากการขยายตัวของหน้าท้องแทน ในขณะนับการ หายใจใหส้ ังเกตลักษณะการหายใจและความลึกของการหายใจควบคู่ไปดว้ ย 3. บนั ทึกจำนวนคร้งั ต่อนาที พร้อมทั้งบันทึกความผดิ ปกติของการหายใจท่สี งั เกตพบ เพ่ือ เป็นแนวทางในการประเมนิ การหายใจและเปน็ ประโยชนใ์ นการวางแผนการดูแลผู้ป่วย ส่ิงท่ตี ้องสงั เกตในขณะนบั การหายใจ ในการนบั การหายใจแต่ละครั้ง ส่ิงทตี่ อ้ งสงั เกตในขณะ นับการหายใจ มีดังตอ่ ไปน้ี -. อัตราเร็วของการหายใจ มีหน่วยเป็นครั้งต่อนาที ซึ่งการหายใจ 1 ครั้ง หมายถึง การหายใจเข้าและหายใจออก 1 รอบ อัตราการของการหายใจจะแตกต่างกันตามวัยและ

อายุ โดยเดก็ จะหายใจเร็วกว่าผูใ้ หญ่ เนื่องจากเป็นการปรับตวั ของร่างกายให้ได้รับออกซิเจน ให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ในเด็ก 1 เดือนแรก อาจมีการหยุดหายใจเป็นช่วง สั้นๆ ในบางครงั้ ถอื ว่าเป็นอาการปกติ อัตราเร็วของการหายใจเฉลีย่ ตามวยั และอายุ แสดงดัง ตาราง ตารางแสดงอัตราเร็วของการหายใจเฉล่ีย อัตราการหายใจ (ครั้ง/นาที) ตามวัยและอายุ วัยและอายุ แรกเกิด (ภายในเดือนแรก) 30-50 ทารก (2 เดือน-2 ปี) 30-40 วัยเด็ก (3 ป-ี 12 ป)ี 20-25 วยั รุน่ (12 ป-ี 18 ปี) 18-20 ผูใ้ หญ่ (มากกวา่ 18 ปี) 14-30 การแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งอยู่ในเลือด กับเซลล์ของเนื้อเย่ือ ต่างๆในร่างกาย (internal respiration) ออกซิเจนที่ได้จากการหายใจเข้าถูกนำไปสู่เซลล์ต่างๆ โดย เส้นเลือดแดง ส่วนคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเกิดจากการเผาผลาญของเซลล์นั้นๆ จะซึมผ่านเข้าเส้น เลอื ดดำ เพ่ือนำกลับไปฟอกที่ปอด เม่ือถึงถุงลมคาร์บอนไดออกไซดจ์ ะซึมออกจากเสน้ เลอื ดดำเข้าสู่ถุง ลมในปอด แลว้ ขับออกพร้อมลมหายใจออก ปจั จยั ท่มี ีผลต่อการเปล่ยี นแปลงการหายใจ การหายใจเป็นการทำงานแบบอัตโนมัติ แต่อย่างไรก็ตาม จังหวะและความลึกของการ หายใจ บางขณะก็สามารถควบคุมไดเ้ ป็นพักๆ เชน่ การเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ หรอื สภาวะแวดล้อม หรือได้รบั อิทธิพลจากความเจ็บปว่ ย ซึง่ อาจมีผลทำให้หายใจต้นื หรือลึกกว่าปกติได้ ดังนั้นการนับการ หายใจ จึงไมค่ วรใหผ้ ปู้ ่วยรูส้ กึ ตัว โดยมากนยิ มนับตอ่ จากการคลำชพี จร การนบั การหายใจ การนับการหายใจ มีจุดประสงค์เพื่อตรวจสอบการทำงานของปอดและทางเดินของลม หายใจ โดยมขี ้ันตอนในการปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. ควรนับต่อจากการคลำชีพจรโดยไม่ต้องบอกให้ผู้ป่วยทราบ เพื่อผู้ป่วยจะได้ไม่ตั้งใจ หายใจ ทำให้ไมท่ ราบสภาวะการหายใจที่แท้จริงของผปู้ ว่ ยในขณะน้นั

2. นบั การหายใจเข้าและออก โดยดูจากการขยายและหดตัวของทรวงอก 1 รอบ เป็นการ หายใจ 1 ครั้ง นับเต็ม 1 นาที ในเด็กเล็กอาจดูจากการขยายตัวของหน้าท้องแทน ในขณะนับการ หายใจให้สงั เกตลักษณะการหายใจและความลึกของการหายใจควบค่ไู ปดว้ ย 3. บันทึกจำนวนครงั้ ตอ่ นาที พรอ้ มทั้งบนั ทึกความผดิ ปกตขิ องการหายใจทส่ี ังเกตพบ เพ่ือ เป็นแนวทางในการประเมินการหายใจและเป็นประโยชน์ในการวางแผนการดูแลผ้ปู ่วย สง่ิ ท่ตี อ้ งสังเกตในขณะนบั การหายใจ ในการนบั การหายใจแตล่ ะครั้ง ส่งิ ท่ีต้องสังเกตในขณะนับการหายใจ มีดังต่อไปนี้ 1. อัตราเร็วของการหายใจ มีหน่วยเป็นครั้งต่อนาที ซึ่งการหายใจ 1 ครั้ง หมายถึงการ หายใจเข้าและหายใจออก 1 รอบ อัตราการของการหายใจจะแตกต่างกนั ตามวัยและอายุ โดยเด็กจะ หายใจเร็วกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากเป็นการปรับตัวของร่างกายให้ได้รับออกซิเจนให้เพียงพอกับความ ต้องการของร่างกาย ในเด็ก 1 เดือนแรก อาจมีการหยุดหายใจเป็นช่วงสั้นๆ ในบางครั้งถือว่าเป็น อาการปกติ อตั ราเร็วของการหายใจเฉลี่ยตามวัยและอายุ แสดงดังตาราง ตารางแสดงอัตราเร็วของการหายใจเฉล่ีย อตั ราการหายใจ (ครั้ง/นาที) ตามวัยและอายุ วัยและอายุ แรกเกดิ (ภายในเดอื นแรก) 30-50 ทารก (2 เดือน-2 ปี) 30-40 วยั เดก็ (3 ปี-12 ป)ี 20-25 วยั รุน่ (12 ป-ี 18 ปี) 18-20 ผใู้ หญ่ (มากกวา่ 18 ป)ี 14-30 2. ความลึกของการหายใจ ให้สังเกตความเคลื่อนไหวของทรวงอก สามารถบอกได้ว่า หายใจลึกหรือตื้น ภาวะที่มีการหายใจลึกกว่าปกติ (hyperpnea) มักเป็นการหายใจเพื่อต้องการ อากาศเข้าออกมากขึ้น แต่ถ้ามีการหายใจตื้นกว่าปกติอาจมีสาเหตุเนื่องมาจากทางเดินหายใจแคบ หรอื ภาวะทางอารมณ์ เป็นต้น 3. ลักษณะการหายใจ การหายใจปกติ (eupnea) ทรวงอกจะต้องขึ้นลงสม่ำเสมอ (smooth) ไม่มีการดึงรั้งของช่องระหว่างซี่โครงและกระดูกหน้าอก ไม่ใช้แรงมาก ไม่มีเสียงดัง ไม่ เจ็บปวด 4.7 ความดันโลหติ (Blood pressure) ความดันโลหิต เป็นแรงดันของเลือดที่ไปกระทบกับผนังเส้นเลือดแดง มีหน่วยเป็นมิลลิเมตร ปรอท (มม.ปรอท หรือ mm.Hg.) ค่าความดันโลหิตที่วัดมี 2 อย่าง คือ ความดันซิสโตลิค (systolic pressure) ซ่งึ เป็นความดันที่เกิดจากการหดรดั ตัวของหวั ใจห้องลา่ งซา้ ย เพ่ือฉีดเลือดออกจากหัวใจจึง เป็นความดันที่สูงสุด สาหรับความดันไดแอสโตลิค (diastolic pressure) เป็นความดันที่วัดเมื่อหัวใจ

ห้องล่างซ้ายคลายตัวจึงเป็นความดันที่ต่ำสุดและจะอยู่ระดับนี้ตลอดเวลาภายในหลอดเลือดแดง ความแตกต่างระหว่างความดันซิสโตลิคกับความดันไดแอสโตลิค เรียกว่า ความดันชีพจร (pulse pressure) มคี า่ ประมาณ 30-50 มลิ ลิเมตรปรอท ซงึ มคี วามสัมพนั ธโ์ ดยตรงกบั จำนวนเลอื ดทอี่ อกจาก หัวใจในระหว่างที่หัวใจบีบตัว เช่น ค่าความดันเลือด 120/80 มิลลิเมตรปรอท หมายถึง ความดันซิส โตลิค 120 มิลลิเมตรปรอท และความดันไดแอสโตลิค 80 มิลลิเมตรปรอท ค่าความดันชีพจรจะ เทา่ กับ 40 มลิ ลิเมตรปรอท (120-80=40) สง่ิ ที่ควบคุมความดนั โลหติ มดี งั นี้ 1. การทำงานของหัวใจ ถ้าหัวใจถูกกระตุ้นให้มกี ารบบี ตัวแรงขึ้น เลือดที่ถูกส่งออกจากหัวใจมี ปริมาณมากขึ้น จะมีผลทำให้ความดันซิสโตลิคสูงขึ้น แต่ถ้าหัวใจเพียงแต่บีบตัวเร็วขึ้น แต่ความแรง ของการบีบตัวเท่าเดิม จะมีผลทำให้ความดันเลือดไดแอสโตลิคสงู ขึ้น โดยที่ความซิสโตลิคเท่าเดิม ใน กรณีที่หัวใจมีการเพิ่มทั้งอัตราเร็วและความแรงในการบีบตัวก็จะทำใหค้ วามดันโลหิตสูงขึ้น ทั้ง 2 ค่า ซ่ึงหมายถงึ ขณะนัน้ หัวใจกำลงั ทำงานอยา่ งหนัก 2. ปริมาณเลือดในร่างกาย การเพิ่มหรือลดปริมาณของเลือดย่อมมีผลต่อความดันโลหิต ผู้ใหญ่ ปกติจะมีเลือดอยู่ประมาณ 6 ลิตร ที่อยู่ในระบบการไหลเวียนของเลือด ถ้าจำนวนเลือดลดลง เช่น การเสยี เลอื ด 3. ความหนืดของเลือด ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดง และเกล็ดเลือด เลือดที่มีความ หนืดสูงทำให้เลอื ดไหลชา้ ตอ้ งใชค้ วามดนั สงู ดังนัน้ จงึ ทำใหเ้ กิดความดันโลหิตสูงขนึ้ ดว้ ย 4. ขนาดของเส้นเลอื ด ถา้ ขนาดของเส้นเลือดเล็กลง เช่น มีการเกาะตวั ของโคเลสเตอรอลในเส้น เลือด ความต้านทานของเส้นเลือดก็จะมีมากขึ้น มีผลทำให้หัวใจบีบตัวแรงขึ้น จึงจะมีเลือดไปเลี้ยง ร่างกายเพียงพอ ซึ่งมีผลทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น แต่ถ้าผู้ป่วยอยู่ในภาวะที่มีการขยายตัวของเส้น เลอื ดในรา่ งกาย ทาใหห้ ัวใจใช้แรงบีบตวั ให้เลือดไปเล้ียงส่วนตา่ งๆ ของร่างกายลดลง มีผลทำให้ความ ดนั โลหติ ตำ่ ลง 5. ความยืดหยุน่ ของเส้นเลือด ความยดื หยนุ่ ของเส้นเลือดทีน่ ้อยลง มกั พบในผ้สู งู อายุ ซึ่งจะทำ ใหค้ ่าความดนั ซิสโตลคิ สูงขึ้นเพราะว่าหลอดเลอื ดไมส่ ามารถจะยืดไดแ้ ละค่าความดันไดแอสโตลิคจะ ลดลงเพราะหลอดเลือดจำกดั การหดรัดตัว ปจั จัยทม่ี ีผลต่อการเปล่ยี นแปลงความดันโลหิต คา่ ความดันโลหติ ปกติในแตล่ ะบคุ คลไมเ่ ทา่ กัน ขนึ้ อยู่กบั ปจั จัยหลายอยา่ ง ดังนี้ 1. อายุ เด็กแรกเกิดจะมีความดันซิสโตลิคประมาณ 40-70 มิลลิเมตรปรอท ในผู้ใหญ่ปกติจะ มีความดันซิสโตลิคระหว่าง 90-140 มิลลิเมตรปรอท และความดันไดแอสโตลิคระหว่าง 60-90 มิลลิเมตรปรอท ส่วนผู้สูงอายุความดันโลหิตจะสูงขึ้นเนื่องจากความยืดหยุ่นของหลอดเลือดลดลง หลักการคำนวณค่าสูงสุดของความดันซิสโตลิคในผู้สูงอายุ สามารถคำนวณประมาณค่าได้ คือ ความ

ดันซสิ โตลิคของผสุ้ ูงอายุไม่ควรเกิน (100 + อายุ )ดงั นน้ั การพิจารณาว่าความดนั โลหิตผิดปกติหรือไม่ นอกจากจะต้องพิจารณาทั้งค่าความดัน ซิสโตลิค และค่าความดันไดแอสโตลิค แล้วยังต้องพิจารณา ตามอายุด้วย 2. อิริยาบถขณะวัดความดันโลหิตและการออกกำลังกาย การวัดความดันโลหิตควรวัดใน ขณะทีร่ ่างกายผ่อนคลาย เช่น ก่อนทจี่ ะวัดความดันโลหิตควรใหผ้ ู้ปว่ ยนั่งพักอย่างน้อย 5 นาที เพราะ ผู้ป่วยอาจเหนื่อยจากการเดิน ซึ่งการเดินถือว่าทาให้ร่างกายได้มีการออกกำลังกาย จะมีผลทำให้ ร่างกายมีการเผาผลาญสูงขึ้น การสูบฉีดเลือดในร่างกายจะมากขึ้น มีผลทำให้ความดันดลหิตสูงกว่า ยามปกตไิ ด้ นอกจากนที้ ่าน่ัง นอน ยืน ยงั มสี ่วนสัมพนั ธ์ทำให้ค่าความดันโลหิตตา่ งกนั ได้ โดยท่ัวไปมัก นยิ มวัดในทา่ นอนและนั่ง ในขณะนอนการไหลเวยี นของเลือดสะดวกทสี่ ุด การวัดความดันโลหิตในท่า นัง่ และยนื มักจะทำใหค้ า่ ความดนั โลหติ ของรา่ งกายสงู กวา่ ทา่ นอน 3. ลักษณะของร่างกายและปจั จยั อน่ื ๆ ไดแ้ ก่ - รูปรา่ ง คนอว้ นความดันโลหติ มักสูงกว่าคนผอม - เพศ เพศชายมักมีความดันโลหิตสงู กว่าเพศหญิงในวัยเดียวกัน ยกเว้นเพศหญิงในวัยหมด ประจาเดือน การเปล่ยี นแปลงของระดับฮอร์โมน จึงมีผลใหค้ วามดันโลหติ สูงกวา่ เพศชายในวัยเดียว - ยาที่มีผลต่อการหดรัดตัวของหลอดเลือดจะทำให้ความดันโลหิตสูง ตรงข้ามกับยาขยาย หลอดเลือดจะทำใหค้ วามดันโลหติ ตำ่ การวัดความดนั โลหติ การวัดความดันโลหิต มีจุดประสงค์เพื่อช่วยในการวินิจฉัย และเพื่อทราบปริมาณของเลือด วธิ ีวัดความดนั โลหติ มี 2 วิธี คอื การวดั โดยทางตรง และการวัดโดยทางอ้อม ซึ่งมรี ายละเอยี ด ดังนี้ 1. การวัดความดันโลหิตโดยทางตรง (central venous blood pressure: C.V.P) โดย วิธีใส่สายสวนเข้าไปในหลอดเลือดดำใหญ่บน (superior vena cava) และใช้เครื่องมือวัดความดัน ของเลอื ดทจ่ี ะเขา้ หวั ใจหอ้ งบนขวา 2. การวดั ความดนั โลหติ โดยทางออ้ ม เปน็ การวัดความดันของหลอดเลือดแดง มี 2 วธิ ี คือ วิธีการฟัง และวิธีการคลำ เครื่องมือที่ใช้สาหรับวัดความดันโลหิต ได้แก่ หูฟัง (stethoscope) และ เครื่องวัดความดันโลหิต (sphygmomanometer) มี 2 ชนิด คือ แบบแท่งปรอท (mercury column) และแบบแป้นกลม ใช้ความดันอากาศแทนปรอท (aneroid) ซึ่งมีความแม่นยำน้อยกว่า แบบแท่งปรอท โดยขั้นตอนในการวดั ความดนั โลหติ ทางออ้ ม มีขน้ั ตอนในการปฏบิ ัติดังน้ี 2.1 แจ้งให้ผู้ปว่ ยทราบว่าจะวดั ความดนั โลหิตทบ่ี รเิ วณใด เพ่อื ให้ผู้ป่วยให้ความรว่ มมอื 2.2 วางเครื่องวัดให้อยู่ในระดับเดียวกับหัวใจของผู้ป่วย ผู้วัดควรอยู่ในท่านั่งหรือยืน โดยเครื่องวัดอยู่ตรงระดับสายตาห่างจากตาไม่เกิน 3 ฟุต เพื่อที่จะได้มองเส้นระดับของปรอทได้ ถูกตอ้ ง ชัดเจน การอ่านคา่ ไม่คลาดเคล่ือน

2.3 ไลล่ มออกจากผ้าพนั แขนใหห้ มด เพ่ือปอ้ งกนั การอา่ นค่าคลาดเคลอื่ น 2.4 คลำชีพจรที่ข้อพับแขนด้านใน เป็นการหาตำแหน่งของเส้นเลือดแดงที่จะวัด เพราะเม่อื ดันลมเขา้ ไปในผ้าพนั แขนจะทำใหเ้ สน้ เลอื ดตบี เลือดผ่านไปเลีย้ งปลายแขนไมไ่ ด้ 2.5 พนั ผา้ พันรอบแขนเหนือข้อพับขน้ึ ไป 1 นิว้ ไมใ่ ห้แนน่ หรือหลวมจนเกินไป โดยให้ ตำแหน่งชพี จรที่คลำได้อยู่ระหวา่ งสายยาง 2 สาย เพอ่ื ฟงั เสยี งความดันเลือดไดช้ ดั เจน 2.6 เหน็บปลายผ้าให้เรียบร้อย แรงดันปรอทที่บีบขึ้นไปไม่ควรมากเกินไป จะทำให้ ผูป้ ว่ ยร้สู ึกปวดเพราะจะรดั แขนมาก 2.7 ใส่หูฟังและวางแป้นของหูฟังตรงตำแหน่งชีพจรที่คลำได้ 2.8 บีบลูกยางด้วยอุ้งมือให้ลมเข้าไปในผ้าพันแขน ดันให้ปรอทในเครื่องวัดสูงกว่าค่า ปกตขิ องความดนั ซิสโตลคิ ประมาณ 20 มิลลิเมตรปรอท (140+20=160) 2.9 ค่อยๆคลายเกลียวลูกยางปล่อยลมออกจากผ้าพันแขน โดยให้ระดับปรอทค่อยๆ ลดลงช้าๆ และให้ตั้งใจฟังเสียงเต้นของผนังเส้นเลือด ซึ่งในตอนแรกจะยังไม่ได้ยินเสียงการเต้นของ ผนังเส้นเลือด แต่เมื่อปรอทถึงระดับหนึ่งจะได้ยินเสียงตุบๆ ของแรงดันเลือด เสียงตุบแรกที่ได้ยิน ระดับปรอทอยู่ที่ตำแหน่งใด กค็ ือค่าความดันสูงสุด ขณะทีห่ ัวใจบบี ตวั หรอื ความดนั ซสิ โตลิค 2.10 คอ่ ยๆปล่อยลมออกจากลูกยาชา้ ๆ สงั เกตเสียงทด่ี ังเป็นระยะๆ เรียกว่า เสียงโครอท คอฟ (Korotkoff’s sound) จนถึงระยะหนึ่ง เสียงจะเริ่มเป็นเสียงฟู่ๆ หรือหยุดหายไปเลย ให้นับค่า ความดันปรอทที่เสียงเริ่มเปลี่ยน หรือเสียงหยุดหายไปเลย เป็นค่าความดันขณะที่หัวใจคลายตัวหรอื ความดนั ไดแอสโตลิค 2.11 ทำความสะอาดหูฟังและแป้นของหูฟังด้วยสาลีชุบด้วย 70 % แอลกอฮอล์ เพื่อ ปอ้ งกนั การแพร่กระจายของเช้ือโรค 2.12 ลา้ งมือให้สะอาดปอ้ งกนั การแพร่กระจายของเชือ้ โรคและลดการสมั ผสั เช้ือ 2.13 บันทึกผลเพือ่ ประโยชน์ในการวางแผนการดแู ลและให้การดูแลได้อยา่ งตอ่ เนื่อง ข้อควรระวงั ในการวดั ความดันโลหิต 1. การรัดผา้ พันแขนตอ้ งใหแ้ นวของสายยางทงั้ สองของผ้าพันแขนอยรู่ ะหวา่ งตำแหน่งของ เสน้ เลือดแดงพอดี (ตำแหน่งทีค่ ลำชพี จรได้) 2. ขณะปล่อยลมออก สายตาควรจับอยู่ที่เครื่องวัดตลอดเวลา เพื่อจะได้อ่านค่าได้ทันทีที่ ได้ยินเสียงตุบ ถ้าอ่านได้ไม่ทันหรืออ่านค่าได้ผิดปกติ ควรวัดซ้ำโดยปล่อยลมออกจากผ้าพันแขนให้ หมดกอ่ นแลว้ จึงบีบลมเข้าใหม่ 3. ผ้าพันแขนต้องเลือกใช้ให้ถูกขนาดกับผู้ป่วย กว้างประมาณ 3 ใน 4 ของความยาวช่วง แขนตอนตน้ หรือประมาณ 4- 5 น้ิว โดยกำหนดขนาดความกวา้ ง ดังน้ี - ขนาดความกวา้ งของผ้าพนั แขน 1.5 นิ้ว ใช้กบั เด็กอายไุ มเ่ กนิ 1 ปี

- ขนาดความกวา้ งของผา้ พนั แขน 3 น้ิว ใชก้ ับเดก็ อายุ 2-8 ปี - ขนาดความกวา้ งของผ้าพันแขน 4 นว้ิ ใช้กับเดก็ อายุ 7-12 ปี ในเด็กโตหรอื ผู้ใหญ่ ผา้ พันแขนกค็ วรกว้างและยาวมากขน้ึ การพิจารณาความกวา้ งของผ้า อาจ ประมาณคร่าวๆ ได้ว่าควรมีความกว้างประมาณเส้นผ่านศูนย์กลางของต้นแขน ถ้าใช้ขนาดผ้าเล็ก เกินไปอาจทาให้อ่านค่าความดันโลหิตได้สูงกว่าค่าที่ถูกต้องและถ้าใช้ผ้าขนาดใหญ่เกินไป อาจทำให้ อา่ นคา่ ความดันโลหติ ได้ตำ่ กว่าความเปน็ จริง 4. ลำของปรอทท่ีวดั ตอ้ งตั้งฉากในขณะอ่านคา่ ความดันโลหติ ถ้าเอียงไปดา้ นใดด้านหนึ่งจะ ไดค้ า่ ที่ผดิ พลาด 5. ก่อนพันผ้าเพื่อวัดความดันโลหิตทุกครั้ง ควรพิจารณาแขนที่พันผ้าก่อนว่ามีข้อห้าม หรอื ไม่ ถ้าแขนทง้ั สองขา้ งไมส่ ามารถใช้วัดความดันโลหิตได้ ตอ้ งพจิ ารณาวดั ทางขาแทน โดยให้ผู้ป่วย นอนคว่ำฟังเสียงจากเส้นเลือดที่ข้อพับขา (popliteal artery) และขนาดของผ้าต้องยาวและกว้าง เหมาะสมกบั ต้นขาดว้ ย 6. การเก็บเครื่องวัดความดันโลหิต ต้องบีบลมออกจากผ้าพันให้หมด พันให้เรียบร้อยเก็บ เข้าที่ โดยระวังไม่ใหส้ ายยางหกั พับงอ ถ้ามีกลอ่ งใส่ซึง่ มีทล่ี ็อคก็ควรปดิ ให้สนิท เพื่อปอ้ งกันการกระทบ แตกของลำปรอทหรอื หน้าปัดสาหรับอา่ นค่าความดนั โลหิต สำหรบั เครอ่ื งฟงั ควรเช็ดดว้ ยสาลีชุบ 70% แอลกอฮอล์ ทกุ ครั้งกอ่ นและหลังใช้ 5. การประเมนิ การตรวจทางห้องปฏบิ ตั กิ ารและการตรวจพิเศษ การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษต่าง ๆ เป็นสิ่งที่สำคัญที่ช่วยสนับสนุน ข้อมูลทำให้การวินิจฉัยโรคได้ถูกต้องมากขึ้น ซึ่งหากวิธีการเก็บตัวอย่าง การเก็บรักษา และปริมาณ ตัวอย่างไม่เพียงพอหรือไม่มีประสิทธิภาพ จะทำผลการตรวจไม่แม่นยำ ผู้ป่วยต้องเจ็บและเสียค่าใช้ เพ่ิม หรือบางคร้งั อาจทำให้ผปู้ ว่ ยเสยี ชีวติ ได้ โดยการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการจะเก่ยี วกับระบบตา่ ง ๆ เช่น ระบบเลอื ด ระบบทางเดนิ อาหาร ระบบหายใจ ระบบหวั ใจ ระบบไต เป็นต้น ประโยชน์ของการตรวจทางหอ้ งปฏิบัติการ 1. เปน็ การตรวจเพอื่ คัดกรอง ใช้หาความผิดปกติในผทู้ ไ่ี ม่มลี ักษณะทีส่ งสัยว่าจะเปน็ โรค จะใช้เมอ่ื เป็นการตรวจที่ง่าย ถกู ความผิดปกติท่พี บมีอุบตั ิการณก์ ารเกดิ สงู และคมุ้ คา่ 2. การตรวจเพื่อวินิจฉัย และประเมนิ ปัญหาสุขภาพของผู้ปว่ ย 3. การตรวจเพือ่ ตดิ ตามการดำเนนิ ของโรค และผลการรกั ษา วิธีการเก็บตัวอย่าง 1. การเก็บตวั อย่างปสั สาวะ

1. ปัสสาวะที่เก็บครั้งเดียว (Random specimens ) เป็นการเก็บแบบทั่วไป เก็บเวลา ใดก็ได้ กระป๋องปัสสาวะเป็นถาชนะที่แห้งสะอาดปราศจากสิ่งปนเปื้อนต่างๆ มีปากกว้างและฝาปิด มดิ ชดิ รวมทงั้ เปน็ ภาชนะท่ใี ชแ้ ล้วทิ้ง 1.1 เพศหญิง 1.1.2 ล้างมือใหส้ ะอาด 1.1.3 ทำความสะอาดบริเวณอวยั วะสืบพนั ธ์ุ ดว้ ยน้ำสะอาด และเชด็ ให้แหง้ ด้วย กระดาษชำระ โดยตอ้ งเช็ดจากสว่ นบนลงไปส่วนล่าง เพื่อป้องกนั การปนเปือ้ นจากช่องทวารหนกั หาก ตอ้ งการถา่ ยอุจจาระ ควรเก็บปัสสาวะกอ่ น 1.1.4 ใหป้ ัสสาวะท้งิ ช่วงต้นไปเล็กน้อย เก็บปัสสาวะในชว่ งกลางประมาณครง่ึ กระปอ๋ งโดยหา้ มสัมผัสดา้ นใน ของภาชนะ และ ปัสสาวะชว่ งสุดทา้ ยทง้ิ ไป 1.2 เพศชาย 1.2.1 ลา้ งมอื ใหส้ ะอาด 1.2.2 ทำความสะอาดโดยเช็ดบริเวณรอบ ๆ ปลายองคชาติ ด้วยน้ำสะอาด และ เช็ดให้แหง้ ด้วยกระดาษชำระ 1.2.3 ให้ปัสสาวะทิ้งช่วงต้นไปเล็กน้อย เก็บปัสสาวะช่วงกลางประมาณครึ่ง กระปอ๋ งโดยหา้ มสัมผัสด้านใน ของภาชนะ และ ปัสสาวะช่วงสุดทา้ ยทิ้งไป 1.2.4 ระวังไม่ให้ปนเปื้อนอุจจาระ หากต้องการถ่ายอุจจาระ ควรเก็บปัสสาวะ ก่อน 2. การเก็บปัสสาวะเพาะเชอ้ื (urine culture) 2.1 แนะนำผปู้ ว่ ยให้เก็บแบบ mid-stream urine ดังน้ี 2.1.1 ทำความสะอาดบรเิ วณอวัยวะขบั ถ่ายกอ่ นการเกบ็ 2.1.2 ถ่ายปัสสาวะช่วงแรกทิ้งไปก่อนเลก็ นอ้ ย และเกบ็ ปัสสาวะช่วงกลาง ประมาณ 2- 10 ซซี ี 2.1.3 ปัสสาวะชว่ งสุดทา้ ยทิ้งไป 2.1.4 นำสง่ ห้องปฏบิ ตั กิ ารภายใน 1 ชว่ั โมง 3. การเกบ็ ปัสสาวะ 24 ช่วั โมง 3.1 นำภาชนะ ซึง่ ภายในจะมสี ารกนั บดู รกั ษาสภาพปสั สาวะ 3.2 แนะนำผูป้ ่วยใหเ้ ข้าใจวิธีการเกบ็ ให้ถกู ตอ้ ง 3.2.1 ถา่ ยปสั สาวะท้งิ ก่อนเริม่ นบั เวลา 3.2.2 เริ่มนับเวลาใหค้ รบ 24 ชวั่ โมง เช่น 06.00 – 06.00 น.วันรุ่งขึ้น

3.2.3 ระหว่างนั้นให้เก็บปัสสาวะที่ถ่ายทุกครั้งใส่ในภาชนะที่ตรียมไว้ต้องเก็บ ให้ครบตลอด 24 ชวั่ โมง เพราะหากลมื เก็บคร้ังใดครงั้ หนงึ่ จะทำให้ผลการตรวจไม่ถกู ต้อง 3.2.4 เมื่อครบเวลา 24 ชั่วโมง ให้ถ่ายปัสสาวะครั้งสุดท้ายเก็บใส่ภาชนะแล้ว นำส่งห้องปฏิบตั ิการ 4. การเก็บปสั สาวะผ้ปู ่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ ทำความสะอาดสายสวนด้วยนำ้ ยาฆ่าเชอ้ื ใชเ้ ข็มเบอร์เล็กแทงดดู ปัสสาวะออกมา ใส่ในภาชนะทเ่ี ตรียมไว้ 2. การเก็บตวั อย่างอจุ จาระ การเกบ็ ตัวอย่างอจุ จาระสำหรบั การตรวจหาพยาธแิ ละไข่พยาธิ (stool exam) ควรเก็บใสใ่ น ภาชนะที่สะอาดและมีฝาปดิ มิดชิด ปริมาตรเท่าปลายนิว้ ก้อย ควรนำส่งทันที กรณีมีมูกเลือดควรเกบ็ บริเวณที่มีมูกเลือดมาตรวจ สำหรับตัวแก่พยาธิชนิดที่มีขนาดใหญ่และมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ถ้ามี จำนวนมากอาจจะออกมาปะปนอยู่กับอุจจาระ ให้นำตัวพยาธิทั้งหมดแช่นํ้าสะอาดใส่ในขวดหรือ ภาชนะที่มีฝาปิดแล้วนำส่งทันทีสำหรับการย้อม การเพาะเชื้อ และการตรวจหา Toxin อาจเก็บได้ 3 แบบดังน้ี 2.1. เก็บโดยใช้ swab ปราศจากเชอื้ ปา้ ยเนื้ออุจจาระบรเิ วณทม่ี ีเลือดหรือมูกปน 2.2. Rectal swab โดยสอด swab เขา้ ไปในทวารหนักลึกประมาณ 1 – 2 นว้ิ แลว้ หมุน ไปมา 2 – 3 ครั้ง 2.3. เก็บโดยใส่ขวดปราศจากเช้ือ (ขวดปากกว้างท่ใี ช้เก็บ urine culture) จะใช้ในกรณี ท ี ่ ส ่ ง modified AFB stain for Cryptosporidium Oocyte, Campylobacter Species แ ล ะ Clostridium difficile Toxin/culture (ถ้าตรวจเฉพาะ C. diffcile toxin สามารถเก็บ stool freeze ไว้รอสง่ วนั รุ่งขน้ึ ได้) การเกบ็ โดยวิธีทใี่ ช้ swab จะตอ้ งใช้ swab ทงั้ 2 อนั ใส่ในหลอด Carry Blairmedium (เพราะจะใช้ท้ัง 2 อันนน้ั มาลงในอาหารเลีย้ งเชื้อที่ต่างกัน) ถ้าปา้ ยมาเพียง 1 อนั ก็จะไม่สามารถเพาะ เชื้อที่เกี่ยวกับโรคได้ครบทุกเชื้อ(ไม่ควรส่งเป็นอุจจาระ เพราะเชื้อ Salmonella, Shigella จะถูก ทำลายโดย bacteria อน่ื ท่มี ตี ามปกตใิ นอจุ จาระน้นั ) 3. การเก็บตวั อย่างเสมหะ การเก็บเสมหะควรทำตอนเช้าหลังต่ืนนอน ให้ผู้ปว่ ยแปรงฟันบว้ นปากด้วยน้ำยาฆ่าเช้ือเพื่อ ลดจำนวนแบคทีเรียที่มีอยูต่ ามปกติในช่องปาก แล้วบ้วนต่อด้วยน้ำสะอาดหลายๆ ครั้ง ให้ผู้ป่วยขาก หรือไอลึก ๆ เพื่อเอาเสมหะออกมาเก็บเสมหะใส่ในภาชนะที่ปราศจากเชื้อแล้วรีบนำไปยังส่งห้อง ปฏิบัติการ หากส่งไม่ได้ทันทีให้เก็บในตู้เย็นที่ 40 °C ถ้าเก็บเสมหะโดยให้ผู้ป่วยไอเองไม่ได้หรือกรณี

ผู้ป่วยเด็กไม่สามารถขากเสมหะออกมาได้ให้ใชก้ ารดูดเสมหะหรือ swab ป้ายเสมหะแล้วใช้swab ให้ จมอย่ใู น Amies transport media นำสง่ การแปลผล 1. การแปลผลของการรายงานผลทางคุณภาพ ( Qualitative result ) เป็นการรายงาน แบบ positive และ negative แตต่ ้องระวงั วา่ จะมี positive และ negative จรงิ หรือไม่ False positive หมายถึง การตรวจพบว่ามีความผดิ ปกติทง้ั ท่ีความจริงไมม่ ี False negative หมายถึง การตรวจไม่พบความผิดปกติทั้งที่ความจริงมีความผิดปกติใน ผู้ปว่ ย 2. การแปลผลของการรายงานผลทางปริมาณ (Quantitive result) การรายงานผลจะ แสดงเปน็ คา่ ตวั เลข ซ่ึงการแปลผลจะต้องเทียบกบั คา่ ปกติ การเทยี บมี 2 วธิ คี อื - การเทียบเคยี งกับคา่ ปกติของบุคคลน้นั ๆ เช่น การตรวจสอบระบบภมู ิคุม้ กนั บางโรค - การเทยี บกบั ค่าปกติทไี่ ด้จากกลุ่มอื่น การวเิ คราะห์ผลการตรวจ 1. การตรวจปสั สาวะ 1.1 Urinary Analysis (U/A) คอื การตรวจวิเคราะหป์ สั สาวะ ลกั ษณะของปัสสาวะทัว่ ไป สี ความขุ่น ความถว่ งจำเพาะ(คา่ ปกติประมาณ 1.015 –1.025) ความเป็นกรด ดา่ ง (pH ) น้ำตาล คโี ตน เม็ดเลือดแดง เมด็ เลอื ดขาว Albumin หรือ Protein Cast Crystals Bacteria การแปลผล 1) สี ปสั สาวะมีสีแดง hematuria อาจมสี าเหตุจากอบุ ัตเิ หตุ เนอ้ื งอก ทางเดินปัสสาวะ นิ่วในทางเดินปัสสาวะหรอื การผ่าตดั เปน็ ต้น 1.1 สีแดงสด มภี าวะเลอื ดออกทางเดินปสั สาวะส่วนล่าง 1.2 สีแดงเขม้ เลือดออกจากไต 1.3 สีเหลอื งเข้ม มภี าวะขาดนำ้ 1.4 สีขาวขุ่นคล้ายนม มีการตดิ เช้อื ในทางเดนิ ปสั สาวะ 1.5 เกอื บไมม่ สี ี เบาจดื 1.6 สนี ้ำตาล ฟ้าเขยี ว ส้ม เกิดจากยาที่รับประทาน 2) กล่นิ 2.1 กลนิ่ แอมโมเนีย พบในปสั สาวะท้งิ ไว้นาน 2.2 กลน่ิ ผลไม้ ( fruity odor) ผู้ป่วยเบาหวาน 2.3 กลิ่นอุจจาระ ลำไสใ้ หญอ่ กั เสบทะลถุ ึงกระเพาะปสั สาวะ

2.4 กล่ินเหมน็ มีการตดิ เชอื้ ในทางเดินปัสสาวะ 3) ความขุน่ ของปสั สาวะ 3.1 ขนุ่ เลก็ น้อย อาจมแี บคทีเรีย 3.2 ขุน่ มาก มีหนอง กรดยรู ิค 4) ความเป็นกรด ด่าง ค่าความเปน็ กรดและด่างของปสั สาวะมผี ลตอ่ การออก ฤทธ์ิ ของยาบางอย่างและการตกตะกอนของสารบางอย่าง ในปสั สาวะทำให้เกิดนิว่ ได้ 4.1 เปน็ กรดมาก รับประทานเนื้อสัตวม์ ากไป ขาดนำ้ ผู้ปว่ ยเบาหวาน มีไข้สงู 4.2 เป็นดา่ งมาก รับประทานยาบางชนดิ เช่น นีโอมยั ซนิ คานามัยซนิ 5) ความถว่ งจำเพาะ 5.1 ถ้าสงู เกินไป อาจจะเกดิ จากร่างกายขาดนำ้ เชน่ ดืม่ นาน้อย ทอ้ งรว่ ง รุนแรง หรือในเด็กเป็นไข้เลือดออกที่กำลังช็อค และได้นาชดเชยน้อยเกินไปทำให้ขาดน้ำในกระแส เลอื ด จะทำใหป้ ัสสาวะเขม้ ขน้ 5.2 ถ้าตำ่ ไป อาจจะเกดิ จากดม่ื น้ำมากเกนิ รา่ งกายจงึ กำจดั นาออกมา ทางปัสสาวะมาก หรือเปน็ โรคท่ีทำให้มปี สั สาวะมีน้ำออกมา มากผดิ ปกติ เชน่ โรคเบาจดื 6) นํ้าตาล ถ้าน้ำตาลในเลือด สูงเกิน 150-170 mg/เลือด100 ml. น้ำตาล จะออกมาทางปัสสาวะ (glucosuria)ถ้าตรวจพบจะสงสยั วา่ ผูป้ ่วยอาจจะเป็นเบาหวาน ค่าน้ำตาลใน ปัสสาวะมีตั้งแต่ trace จนถึง 4+ นอกจากนี้อาจพบน้ำตาลในปัสสาวะสูงในคนที่หลังรับประทาน อาหารใหม่ ๆ ได้หรือคนทก่ี ำลังเครยี ดได้ 7) Ketone เป็น end product ของการเผาผลาญไขมัน เนื่องจากมาใช้ แทนคาร์โบไฮเดรต ในผู้ป่วยเบาหวานทขี่ าดอินซลู ินจะมีการเผาผลาญคารโ์ บไฮเดรตน้อยลง จะเกิดคี โตนมากเพราะตอ้ งใช้ไขมันมาเป็นพลังงานทดแทน นอกจากน้ียังพบในผู้ป่วยที่มีอาการท้องเสียรุ่นแรง อดอาหารหรืออาเจียนเปน็ เวลานาน (หญงิ ตงั้ ครรภ)์ มกี ารเจ็บปว่ ยเรอ้ื รัง เป็นต้น 8) เลือด 8.1 Hematuria ตรวจโดยกล้องจลุ ทรรศน์จะพบเม็ดเลอื ดแดง บ่งบอกถึง ภาวะไตอักเสบเฉียบพลัน เลือดคั่งในไต นิ่วในไต มะเร็งที่ไต วัณโรคไต ติดเชื้อเรื้อรัง หรือได้ยา sulfonamide 8.2 Hemoglobinuria มกี ารสลายตัวของฮีโมโกลบิน หรอื RBC พบในผู้ ป่วยที่ได้รับสารพิษทำลายเม็ดเลือดแดง เช่น พิษงู เห็ดเมา สารเคมี Burn ติดเชื้อมาลาเรียชนิด plasmodium falciparum ให้เลอื ดผิดหมู่ หรอื มีไขส้ ูง

9) Albumin หรือ Protein ถ้ามีโปรตีน trace หรือ+ ( proteinuria) พบ ในไตทำงานผิดปกติ โรคไตชนิดNephrotic Syndrome ไตอักเสบ นิ่วในไต ถุงน้ำที่ไต มะเร็ง หรือ ถ้าเป็นในคนท้อง ถ้าพบ Albumin ก็จะต้องระวังภาวะครรภ์เป็นพิษ (ซึ่งจะพบมีอาการบวม และ ความดนั สูงรว่ มไปด้วย) 10) Cast เป็นโปรตีนหรอื สารที่รวมตวั กันเป็นแท่ง ลักษณะของcast จะ ช่วยวินิจฉัยตำแหน่งท่ีมีการอักเสบหรือผิดปกติได้ เชน่ blood cast แสดงว่ามเี ลือดออกในท่อไตและ ไตมากกว่าทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง ถ้ามี blood cell cast มักเกิดจากการอักเสบ เช่น acute glomeru-lonephritis Nephrotic syndrome ถ้ามี red blood cell cast เกิดจากเส้นเลือด ฝอยglomerulus อักเสบ หรือมีการรบั เลอื ดท่เี ขา้ กนั ไม่ได้ 11) WBC ปกติไม่เกิน 0-2 cell/High power field ถ้าพบมากอาจเกิด การติดเช้ือในทางเดินปสั สาวะ และพบไดใ้ นโรคไตทกุ ชนดิ 12) RBC ปกติไม่เกิน 0-2 cell/High power field ถ้าพบมากอาจเกิด จากการติดเชื้อหรือกรวยไตอักเสบ กระเพาะปัสสาวะอักเสบ นิ่วในไต มะเร็งทางเดินปัสสาวะ ต่อม ลูก หมากอักเสบ SLE แต่ถ้าพบเม็ดเลือดแดงจำนวนมากร่วมกับเม็ดเลือดขาว แสดงว่ามีเลือดออก ในทาง เดนิ ปสั สาวะ เช่น บาดเจบ็ ได้ยาละลายลิ่มเลอื ด เปน็ ตน้ 13) Hyaline cast เป็นโปรตีนท่ีไม่มีสี เกิดจากการทำลายของglomerular capillary membrane ซ่ึงเกดิ การซมึ ผา่ นของโปรตีน พบใน Nephrotic syndrome 14) Epithelial cell ปกตไิ มเ่ กิน 0-2 cell/High power field ถา้ พบมาก อาจเกดิ จาก acute tubular damage 1.2 Urine culture and sensitivity เป็นการนำปสั สาวะไปเพาะเชื้อเพื่อหาการติดเช้ือในระบบทางเดนิ ปัสสาวะ โดยจะมี การทำ sensitivity test เพื่อดูยาปฏิชีวนะที่สามารถใช้ฆ่าเชื้อที่พบได้ ผลปกติ คือ No growth ถ้า พบเชอื้ มากกวา่ 105 colonies/ml ( CPU/ml) แสดงวา่ มกี ารติดเช้อื 2. การตรวจอุจจาระ การตรวจอุจจาระโดยทว่ั ไปจะตรวจดูลกั ษณะอจุ จาระ ไขพ่ ยาธิ เลือดท่ีมองไม่เหน็ ดว้ ย ตาเปล่า 2.1 stool exame อุจจาระ (stool หรอื feces ) ปกตอิ ุจจาระหนงึ่ ในสส่ี ว่ นจะแข็งและสามในสี่ส่วนจะ เป็นน้ำ ส่วนที่เป็นน้ำหนักอุจจาระ ประมาณ 30% เป็นแบคทีเรียที่ตายแล้ว และ 70% เป็นกาก อาหารที่เหลอื จากการย่อยของคารโ์ บไฮเดรท ไขมัน โปรตนี และอน่ื ๆ อุจจาระปกตมิ นี ำ้ สีน้ำตาลอ่อน จนถึงน้ำตาลเข้ม ลักษณะอ่อนและมีรูปร่าง ตั้งแต่เด็กโตจนเป็นผู้ใหญ่สำหรับเด็กเล็กอุจจาระอาจจะ

เป็นสีเหลืองเข้มขึ้นยู่ชนิดของอาหารที่รับประทาน การที่อุจจาระมีสีเกิดจากน้ำดี (bile) ถ้าไม่มีการ ขับน้ำดีเข้าสู่ลำไส้อาจเกิดจากมีการอุดกั้นทางเดินน้ำดี จะทำให้อุจจาระมีสีซีด ลักษณะของอุจจาระ ขึ้นอย่กู ับอาหารทร่ี บั ประทานเขา้ ไป 2.1.1 สีของอจุ จาระ 2.1.2 เลือดในอุจจาระ (occult blood) เป็นตัวบ่งบอกว่ามีการสูญเสียเลือดจาก ระบบทางเดินอาหารได้ เลือดที่ออกจากกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กที่ละน้อย จะไม่สามารถ มองเหน็ ดว้ ยตาเปลา่ 2.1.3 ไข่พยาธิและพยาธิ ( ova and parasites) เพื่อตรวจหาไข่และตวั พยาธทิ ่หี ลุด ออกมากับอจุ จาระ 2.2 stool culture เป็นการเพาะเช้ืออุจจาระเพอื่ หาเชื้อแบคทีเรยี ไวรัส พยาธิ เพือ่ ดูเชื้อที่ทำให้เกิดโรค และดู sensitivity test ร่วมด้วยเพื่อหายาที่เหมาะในการฆ่าเชื้อนั้น ๆ แต่ถ้าผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะ หรอื ยาซลั โฟนาไมดจ์ ะทำให้ผลลบลวงได้ 3. เลือด Hematologic test 3.1 Complete blood count and differential count (CBC) ลกั ษณะเม็ดเลอื ดแดงผดิ ปกติอื่น ๆ ทพี่ บบ่อย ชนดิ ของความผิดปกติ ลกั ษณะ โรคทีพ่ บ Poikilocytosis เมด็ เลอื ดมีรปู ร่างต่างกัน โรคโลหิตจาง Hypochromia เมด็ เลือดแดงติดสจี างจากมีHbตำ่ โรคโลหิตจางจากการขาดธาตเุ หล็ก Anisocytosis เม็ดเลอื ดมขี นาดต่างกัน โรคโลหติ จาง macrocyte เมด็ เลือดมขี นาดใหญ่ megaloblastic anemia microcyte เมด็ เลือดมขี นาดเลก็ โรคโลหติ จางจากการขาดธาตุเหล็ก ธาลสั ซีเมีย Target cell เม็ดเลือดแดงติดสีตามขอบและมีจุด โรคโลหติ จางจากการขาดธาตุเหล็ก ตรงกลางเหมอื นเบ้าตาววั ทาลาสซเี มยี Ovalocyte เมด็ เลอื ดแดงท่มี รี ูปไข่ ทาลาสซเี มยี Spherocyte เม็ดเลือดแดงที่มีรูปร่างเป็นทรงกลม ทาลาสซเี มีย เหมอื นลกู เทนนิส

3.2 Blood culture เป็นการเพาะเชื้อจากเลือดเพ่ือดูการแบ่งตวั Aerobic และ Anaerobic bacteria รวมท้ัง sensitivity test เพื่อหายาปฏิชวี นะที่สามารถฆา่ เชอ้ื ได้ 3.3 Blood Chemistry Test การตรวจสารเคมีในเลือด 3.3.1 Electrolyte เปน็ การตรวจหาสารประกอบในเลอื ด เพอ่ื รักษาสมดลุ การทำงานของร่างกาย ไดแ้ ก่ Sodium (Na) Potassium (K) Chloride (Cl) Bicarbonate (HCO3) เป็นต้น 3.3.2 Blood urea nitrogen (BUN) เป็นการวัดปริมาณไนโตรเจนท่ีพบในกระแสเลือด โดยปกติร่างกายจะยอ่ ยสลาย โปรตีนที่ตับและจะนำไปกำจัดผ่านไตเพื่อออกเป็นปัสสาวะต่อไป ซึ่งสารของเสียนี้เรียกว่า ยูเรีย (urea) ซึง่ ส่วนประกอบของยเู รีย คือไนโตรเจน ดงั น้ันหากไตไม่สามารถกำจดั ของเสยี หรอื ยูเรยี ได้ จะ ทำให้พบปริมาณไนโตรเจนในเลือดมีปริมาณสูงขึ้น นอกจากนั้นหากร่างกายมีปริมาณไนโตรเจนสูง อาจเนื่องมาจาก การขาดน้ำ มีภาวะโรคหวั ใจล้มเหลว หรือได้รับอาหารที่มปี ริมาณโปรตีนสูง เป็นต้น การตรวจ BUN สามารถคัดกรอง ตรวจวินจิ ฉยั ภาวะความผิดปกตกิ ารทำงานของไต และตรวจตดิ ตาม ในการรักษาภาวะโรคไตได้ 3.3.3 Creatinine (Cr) ครีเอตินินเกิดจากการออกแรงยืดหดหรือการใช้กล้ามเนื้อในชีวิตประจำวัน โดย สารครเี อตนิ นิ จะเกดิ ขึ้นทกุ วันและมีคา่ คงทีป่ ริมาณเทา่ ๆกันทุกวนั ซง่ึ สารนี้จะถูกขับออกจากร่างกาย ผ่านไต หากไตทำงานผิดปกติ หรือไตเสื่อมการกำจัดสารครเี อตนิ ินจะลดลง ตามความสามารถของไต นั้นคือ ปริมาณครีเอตินินในเลอื ดจะสูงขึ้นนั้นเอง จึงได้นำค่าครีเอตินินนีม้ าวัดสมรรถภาพการทำงาน ของไต ค่าปกติ 0.7-1.4 mg/dl 3.3.4 Fasting blood sugar (FBS) เป็นการตรวจระดับนำ้ ตาลในเลอื ดหลังจากอดอาหาร 8 ชม. (โดยสามารถดื่มน้ำ ได้ตามปกติ) เปน็ การบอกระดับนำ้ ตาลที่อยใู่ นเลือด ปกติแล้วหลังจากการรบั ประทานอาหาร รา่ งกาย จะดูดซึมที่ลำไส้เล็กและนำไปใช้ทั่วร่างกาย โดยน้ำตาลกลูโคส (glucose) เป็นแหล่งพลังงานแรกท่ี ร่างกายนำไปใช้ โดยเฉพาะอวัยวะสำคัญคือ ระบบสมองและระบบประสาท ซึ่งฮอร์โมนที่เป็นตัวนำ น้ำตาลไปให้ร่างกายใช้เป็นพลังงานได้นั้นคือ ฮอร์โมนอินซูลิน แต่หากร่างกายขาดฮอร์โมนอินซูลินนี้ หรือดื้อต่ออินซูลิน (insulin resistance) ซึ่งพบในผู้ป่วยเบาหวาน จะทำให้น้ำตาลอยู่ในกระแสเลอื ด ไมส่ ามารถนำไปให้อวัยวะต่างๆในร่างกายใช้ได้

3.3.5 Glycosylated hemoglobin หรือ HbA1c เป็นการตรวจค่าเฉลี่ยระดับ นำ้ ตาลในเลอื ดในชว่ ง 2-3 เดือนท่ผี า่ นมา เพ่อื พิจารณาและประเมนิ ผลการรักษาในภาพรวมช่วง 2-3 เดือนท่ผี ่านมา ว่าคุณสามารถควบคมุ ระดบั น้ำตาลได้หรือไม่ และใช้เพอื่ การคัดกรองและวินิจฉัยภาวะ เบาหวานในปัจจุบันด้วย การตรวจ Hb A1c สามารถดูผลการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในช่วงท่ี ผ่านมาเป็นเดือนๆได้ เนื่องจาก เป็นการนำผลของระดับน้ำตาลที่เกาะอยู่ที่ส่วนประกอบในเม็ดเลือด แดง ทเ่ี รียกว่า ฮีโมโกลบนิ (hemoglobin) ซ่ึงนำ้ ตาลน้ีจะเกาะอยู่นานจนสนิ้ อายุขยั ของเม็ดเลือดแดง ซง่ึ ระยะเวลานานถึง 3 เดือน มาตรวจหาคา่ เฉลย่ี น้นั เอง 3.3.6 Liver function test เป็นการตรวจเพื่อประเมินการทำงานของตับ ซึ่งตับมีหน้าที่ในการสร้างสารหลาย อย่าง เช่น albumin, protein, fibrinogen, prothrombin, bile, enzyme หลายชนิด ซึ่งสาร เหล่านีใ้ ชด้ กู ารทำงานของตับได้ 3.3.7 coagulation test เป็นกลุ่มการทดสอบเพื่อประเมินการทำงานของปัจจัยการแข็งตัวของเลือด และ วินิจฉัยภาวะเลือดออกผิดปกติ ประกอบด้วย 2 การทดสอบ คือPartial Thromboplastin Time (PTT) และ Prothrombin Time (PT) 3.3.8 Lipid profile 1) Cholesterol เป็น lipoprotein ซึ่งเป็นองค์ประกอบเยื่อหุ้มเซลล์ทั่วร่างกาย เป็นวัตถุดิบ ให้รา่ งกายผลติ น้ำดี (Bile) เพ่อื ใช้ในการยอ่ ยอาหารประเภทไขมัน และดดู ซมึ วติ ามินท่ลี ะลายในไขมัน เช่น วิตามินเอ ดี อี และ เค นอกจากนั้น ร่างกายยังนำคลอเลสเตอรอลไปใช้ในการผลิตฮอร์โมนที่ จำเป็นต่อการเจริญเติบโต และฮอร์โมนเพศอีกด้วย ส่วนใหญ่ได้จากอาหาร เช่น ไข่แดง ไขมันต่าง ๆ โดยเฉพาะไขมันจากสตั ว์ 2) LDL – C ( Low-density lipoprotein cholesterol ) เป็นไขมันชนิดเลว เป็นตัวนำไขมันคลอเลสเตอรอล (cholesterol) ไปส่วน ต่างๆของร่างกาย หากมี LDL-c ปริมาณสูงเกิน จะนำไขมันคลอเลสเตอรอล ไปเกาะอยู่ที่หลอดเลือด ท่วั ร่างกาย จนในทสี่ ุดอดุ ตดั หลอดเลือด นำไปสโู รคหลอดเลอื ดหัวใจ หลอดเลอื ดสมองตามมา การเตรียมตรวจ ต้องงดอาหาร ก่อนเจาะเลือดนาน 12 ชม. และแอลกอฮอล์ควรงด 24 ชม.ก่อน เจาะเลอื ด

3) HDL – C (High-density lipoprotein cholesterol) เป็นตัวนำไขมันคลอเลสเตอรอล (cholesterol) จากส่วนต่างๆของร่างกายที่ ไม่ได้ใช้ ไปกำจัดที่ตับ หาก HDL-c ต่ำ ไม่เพียงพอต่อการนำไขมันคลอเลสเตอรอลในร่างกายโดย เฉพาะท่ีเกาะผนังหลอดเลือดยังคงอยู่ ไปกำจัดทตี่ บั ไดแ้ ละนำไปส่โู รคหลอดเลือดหวั ใจตามมา การเตรียมตรวจ ต้องงดอาหาร ก่อนเจาะเลือดนาน 12 ชม. และแอลกอฮอล์ควรงด 24 ชม.ก่อน เจาะเลือด 4 ) Triglycerides (TG) อาหารที่รับประทานจะถูกดูดซึมทีล่ ำไส้เล็ก และ บริเวณผนังด้านในลำไส้เล็กจะ มี chylomicron ซง่ึ เป็นไลโปโปรตนี ความหนาแน่นต่ำท่ีสุด (VLDL ) ซงึ่ ทำหนา้ ท่ีในการขนส่งลำเลียง สารอาหารประเภทไขมันจากลำไส้เล็กผ่านระบบท่อน้ำเหลือง (lymphatic system) เข้าสู่การ ไหลเวียนของเลือดทางหลอดเลือดดำ เมื่อ chylomicron ออกจากผนังลำไส้เล็กจะอยู่ในกระแส เลือด 12 ชั่วโมง Triglycerides ถูกขนส่งโดย VLDL จากตับไปในเลือดเพื่อให้พลังงานแก่ร่างกาย ส่วนเกินก็จะส่งไปเก็บยังเนื้อเยื่อไขมัน (adipose tissue) เพื่อเป็นพลังงานสำรอง หากมีมากเกิน ความจำเป็นของร่างกาย ก็จะมีTriglyceridesหรือไขมันไปเก็บที่เนื้อเยื่อไขมันปริมาณมากทำให้เกิด ภาวะอ้วนลงพุงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จึงนำไปสู่โรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือด สิ่งท่ี อันตรายคือตัว VLDL ที่ขนส่ง Triglyceridesไปสู่เนื้อเยื่อไขมันแล้วนั้น จะเปลี่ยนแปลงตัวเองให้เป็น LDL ซ่ึงส่งผลใหน้ ำไปสู่โรคหลอดเลือดหวั ใจ 3.3.9 Cardiac enzyme จะช่วยวนิ ิจฉยั เฉพาะกลา้ มเนื้อหวั ใจตาย (Acute Myocardial infarction: AMI) เท่าน้ัน ถ้าหวั ใจขาดเลือดโดยที่กลา้ มเนื้อหัวใจยังไมต่ าย ค่า cardiac enzyme จะยังไม่เพิ่มขนึ้ 3.3.10 หมูเ่ ลอื ด (Blood Group) การรายงานผลหมู่เลือดแบ่งเป็นสองระบบคือ ABO System และ Rh Systemโดย จำแนกตาม Antigen บนเม็ดเลอื ดแดงท่ีมอี ยู่ ในระบบ ABO จะแบ่งออกได้ส่ีกลุ่มคือ A , B , AB และ O ซึ่งGroup O พบมากสุด A กับ B พบปริมาณเท่า ๆ กัน และ AB มีน้อยที่สุด ในระบบ Rh จะ รายงานไดเ้ ปน็ สองกลุ่มคอื 1) +ve หรือ Rh+ve คือ กลุ่มที่มี Rh (Rhesus) Antigen บนเม็ดเลือดแดง กลมุ่ นพี้ บได้มาก เกอื บทง้ั หมดของคนไทยเป็นกลมุ่ น้ี 2) -ve หรือ Rh-ve คือ กลุ่มที่ไม่มี Rh (Rhesus) Antigen บนเม็ดเลือดแดง กลุ่มนพี้ บได้นอ้ ยมาก คนไทยพบประมาณ 0.3% พบได้มากในชาวไทยซิกข์

3.3.11 HIV HIV หรือ การตรวจเอดส์ ปกติในการตรวจทั่วไป มักเป็นการตรวจหา Antibody ของเอดส์ในเลือดด้วยวิธี Elisa หรือ RPHA ซึ่งตรวจได้ง่าย ราคาไม่แพง ทราบผลไวพบ Antibody ด้วยวิธดี ังกลา่ ว อาจจะตอ้ งส่งเลือดเพื่อตรวจยืนยันด้วยวธิ ี Western's blot ซ่ึงจะยนื ยัน ได1้ 00% วา่ เป็น HIV 3.3.12 VDRL เป็นการตรวจหา Antibody ของเชือ้ ซิฟิลสิ การแปลผล 1. Nonreactive ( -ve ) ไม่เป็นหรอื ไมพ่ บAntibodyของเชื้อ 2. Reactive ( +ve) พบ Antibody รายงานเป็นระดบั ความแรงของปฏิกิริยา เช่น 1:1 ,1:2, 1:4 ,1:8 ,1:16 ,1:32 3. โรคอ่ืนๆ ที่ทำให้ VDRL ให้ผลเปน็ บวกได้ เช่น โรคทางภมู ิตา้ นทานของ ร่างกายผิดปกติ (Autoimmune Disease) เช่น SLE ถ้าจะยืนยันวา่ เป็น ซิฟิลิสจริงจะส่งตรวจหาเช้อื ซฟิ ิลสิ ด้วยวธิ ี TPHA เพ่อื ยืนยนั ให้แนน่ อนอกี ที 3.3.13 ไวรัสตบั อักเสบบี เป็นการตรวจหาเชื้อไวรัส ตับอักเสบชนิด B ในเลือด เมื่อเชื้อเข้าสู่ร่างกายจะเกิด ปฏิกิรยิ าตอบโต้ เกดิ เปน็ antibody ซง่ึ ใช้เวลาในการสร้าง 5 เดอื นหลังไดร้ ับเชือ้ ค่าปกติ Negative ( - ve ) การแปลผล การตรวจเลือด ผล การแปรผล HBsAg negative anti-HBc negative เสย่ี งต่อการตดิ เชอื้ anti-HBs negative HBsAg negative มภี ูมิปอ้ งกนั การติดเชื้อแลว้ จาก anti-HBc positive ธรรมชาติ anti-HBs positive HBsAg negative มภี ูมจิ ากการฉดี วัคซนี anti-HBc negative anti-HBs positive

การตรวจเลอื ด ผล การแปรผล HBsAg positive ติดเชอื้ ไวรัสตับอักเสบ บีเฉยี บพลนั anti-HBc positive ติดเชื้อไวรัสตับอกั เสบบเี รือ้ รัง IgM anti-HBc positive การแปรผลไม่ชัดเจน อาจจะเกิดได้จาก เหตดุ งั ตอ่ ไปน้ี anti-HBs negative 1. หายจากการตดิ เชอ้ื (most common) 2. False-positive anti-HBc, thus HBsAg positive susceptible 3. \"Low level\" chronic infection anti-HBc positive 4. Resolving acute infection IgM anti-HBc negative anti-HBs negative HBsAg negative anti-HBc positive anti-HBs negative 1. Hepatitis B surface antigen (HBsAg) เป็นโปรตีนที่อยู่บนผิวของเชื้อไวรัสตับ อกั เสบบี HBV จะพบโปรตีนน้ใี นปรมิ าณที่คอ่ นสูงสงู ในผปู้ ว่ ยที่เป็นไวรสั ตบั อักเสบเฉยี บพลัน หรอื เป็น โรคตบั อักเสบเรือ้ รัง การพบโปรตนี น้จี ะบง่ บอกวา่ ผนู้ น้ั ยังสามารถแพร่สผู่ ้อู ่นื ได้ 2. Hepatitis B surface antibody (anti-HBs) การตรวจพบภูมิต่อเชื้อไวรัสตับ อักเสบ บีร่างกายสร้างภูมิต่อเชื้อไวรัสตับอักเสบ บีซึ่งแสดงว่าร่างกายเริ่มจะหายจากโรคตับอักเสบ การพบภมู ติ ่อไวรสั ตับอกั เสบ บียังพบไดใ้ นผปู้ ่วยท่ีฉดี วัคซีนปอ้ งกนั ไวรัสตบั อกั เสบ 3. Total hepatitis B core antibody (anti-HBc) โปรตีนชนิดนี้จะเริ่มพบตั้งแต่ เริ่มต้นการติดเชื้อ และจะพบตลอดชีวิต การตรวจพบโปรตีนชนิดนี้แสดงถึงว่าเคยติดเชื้อไวรัสตับ อกั เสบ บี มากอ่ น 4. IgM antibody to hepatitis B core antigen (IgM anti-HBc) การตรวจพบ โปรตีนชนิดนี้หมายถงึ ว่าเพิ่งจะติดเชือ้ ไวรสั ตบั อกั เสบ บีไมเ่ กนิ 6 เดือน

3.3.14 Uric Acid เปน็ กรดยรู คิ ในกระแสเลือด พบสงู ได้ในโรคเก็าต์ นอกจากน้ียังพบในโรคอื่นๆอีก หลายอย่างเชน่ โรคที่มกี ารทำลายของเม็ดเลือดมากผดิ ปกติ เป็นต้น ปกติผชู้ ายสูงไมเ่ กนิ 8.5 mg% หญงิ ไมเ่ กิน 8.0 mg% 4. เสมหะ sputum 4.1 การตรวจเสมหะ (Sputum examination) วิธีการเก็บเสมหะ ควรเก็บเสมหะ ในตอนเช้าหลังตื่นนอน โดยการทำความสะอาดในช่องปากด้วยการบ้วนปากแล้วไอลึกๆ เอาเน้ือ เสมหะ บ้วนใสภ่ าชนะทีเ่ ก็บส่งตรวจ 4.1.1 ตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยไม่ย้อมสี จะช่วยแยกเสมหะที่ติดเชื้อ แบคทเี รีย และไมใ่ ชแ่ บคทเี รยี 4.1.2 ตรวจดว้ ยกล้องจลุ ทรรศนโ์ ดยย้อมสี โดย Gram’s strain ดูรูปรา่ งลักษณะ เชื้อแบคทีเรียเพราะสามารถจำแนกกลุ่มแบคทีเรียตามลักษณะการติดสี ซึ่งสามารถแบ่งแบคทีเรีย ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ gram positive bacteria จะย้อมติดสีม่วงของ crystral violet ซึ่งเป็นสีแรก ท่ี ใชย้ อ้ ม และ Gram negative bacteria จะยอ้ มติดสีแดงของ safranin ซึ่งเป็นสที ี่สอง 4.2 Sputum examination for fast bacillus: AFB เป็นการเก็บเสมหะผู้ที่สงสัยว่าเป็นวัณโรคปอด (Pulmonary Tuberculosis) เพ่ือ หาเชื้อMycobacterium tuberculosisโดยเก็บเสมหะติดต่อกันอย่างน้อย 3 วัน ในช่วงเช้าหลังตื่น นอน ก่อนให้ยาปฏิชีวนะให้ผู้ป่วยไออย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ได้เสมหะที่อยู่ลึกถึง ไม่เก็บน้ำลา ย หรือนำ้ มูกปนมา เพราะอาจทำให้ ผลผิดพลาด 4.3 sputum culture การเพาะเช้ือและทดสอบความไวของยา (Culture and sensitivity) บอกชนดิ ของแบคทีเรียทเ่ี ป็นสาเหตขุ องการติดเช้ือ ยาปฏชิ ีวนะท่ไี วต่อเช้อื นนั้ 4.4 การสง่ เสมหะสง่ ตรวจ Cytology เพอ่ื หาเซลล์มะเรง็ 6. การตรวจพเิ ศษ การตรวจท่พี บบ่อย คือ การตรวจโดยใชค้ ล่ืนไฟฟ้า การตรวจทเ่ี ก่ยี วกับการใชส้ ารรังสี และ สารทึบรังสี การ การตรวจที่เกี่ยวกับการใช้กล้องส่องเข้าไปดู อวัยวะภายใน (endoscopy) และการ ตรวจพิเศษอน่ื ๆ 6.1. การตรวจโดยใช้คล่นื ไฟฟ้า

6.1.1 การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (electrocardiography, E.K.G, E.C.G) เพื่อดูการ เต้นของหัวใจ การตรวจจะไม่เจ็บปวด ใช้เวลาตรวจประมาณ 10 นาที หลักการคือ จะมีแผ่นโลหะซึ่ง เป็นอิเล็กโตรดต่อมาจากเครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแล้วต่อกับร่างกายผู้ป่วย โดย 4 จุดแรกต่อกับ แขนขาทงั้ 2 ข้าง และอกี 6 จดุ อยทู่ ี่หน้าอกของผู้ป่วย ดงั นี้ V1 ชอ่ งซ่ีโครงท่ี 4 ขอบขวาของกระดกู sternum V2 ช่องซีโ่ ครงที่ 4 ขอบซ้ายของกระดกู sternum V3 อยู่ก่ึงกลางระหวา่ ง V2 และV4 V4 ช่องซ่ีโครงที่ 5 แนวกง่ึ กลาง clavicle ข้างซา้ ย V5 ระดบั เดยี วกับ V4 แนว anterior axillary line V6 ระดับเดียวกับ V4 แนว midaxillary line การเตรยี มตัวผูป้ ว่ ย ระยะก่อนตรวจ บอกให้ผู้ป่วยทราบวตั ถุประสงค์และ วิธีการตรวจโดยเฉพาะการนอน น่ิงๆ ไม่พดู หรือขยบั ตัวขณะตรวจ เพือ่ ใหผ้ ปู้ ว่ ยคลายความวิตกกังวลและให้ความร่วมมือ ระหว่างตรวจ 1. กั้นมา่ นใหผ้ ูป้ ว่ ย ถอดเส้ือโดยหากเปน็ ผู้หญิงให้ถอดเสือ้ ช้นั ในและใช้ผา้ คลมุ บริเวณหนา้ อกเพ่ือไม่เปน็ การเปดิ เผยผู้ปว่ ยมากเกนิ ควร 2. จัดใหผ้ ้ปู ว่ ยนอนหงาย ไม่หนุนหมอนสูงมากนกั เพ่อื ป้องกันไมใ่ ห้มีผลต่อการเตน้ ของหวั ใจ 3. ตดิ แผ่นอเิ ล็กโตรดทีแ่ ขนหรือขาห้ามไมใ่ ห้สัมผัสกับโลหะใดๆ เช่น เตยี ง เน่อื ง จากจะทำให้รบกวนคลื่นไฟฟา้ ได้ ระยะหลงั ตรวจ ผ้ปู ่วยสามารถปฏบิ ตั ิตวั ไดต้ ามปกติ 6.1.2 การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมอง (electroencephalography, E.E.G.) เป็นการ ตรวจเพ่ือดูความ ผิดปกติของเนื้อสมองโดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีประวัติชักมาก่อน รวมทั้งติดตามผลของ การรักษาและช่วยแยก ชนิดของโรคลมชักได้ หลักการคือ จะมีแผ่นอีเล็กโตรดจากเครื่องบันทึก คลื่นไฟฟ้าสมองมาสัมผัสกับหนังศีรษะด้วย เข็มเล็กๆ คลื่นไฟฟ้าจากสมองจะผ่านอีเล็กโตรดมาสู่ เครอ่ื งเขียนบันทกึ ซ่งึ จะบนั ทกึ ลงกระดาษท่ีหมนุ ผา่ นเขม็ ดว้ ยความเร็วสม่ำเสมอ 6.1.3 การบันทึกคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ (Electromyography,E.M.G.) การตรวจชนิด นี้มีวัตถุ- ประสงค์ เพื่อวิเคราะห์โรคของกล้ามเนื้อหรือประสาทที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อ การตรวจชนิดน้มี ี หลกั การคลา้ ยๆกับการ ตรวจคลืน่ หวั ใจ แตต่ ่างกันท่ีอเี ล็กโตรดที่ต่อกับผู้ป่วยเป็นเข็มแหลมคล้ายเข็ม ฉีดยาแต่มีแกนเป็นลวดเพื่อนำคลื่นไฟฟ้า เข็มนี้จะแทงเข้าในกล้ามเนื้อของผู้ป่วยโดย คล่ืนไฟฟ้าจาก

กล้ามเนื้อจะผ่านอีเล็กโตรดมาสู่เครื่อง บันทึกซึ่งจะบันทึกผลเป็นรูปกราฟคล้ายๆกับคลื่น หัวใจ การ ตรวจวิธนี ้ีจะใช้เวลาประมาณ 45-60 นาที 6.2. การตรวจท่เี กี่ยวกับการใช้สารรงั สแี ละสารทึบรังสี 6.2.1 การตรวจระบบทางเดนิ อาหารส่วนบน (upper G.I series) เป็นการกลืนสารทึบ รงั สีเข้าไป เชน่ แป้งแบเรยี มประกอบกบั การถา่ ยภาพเอ็กซ์เรย์ เพอื่ ดูเยอื่ บุอาหารสว่ นต้นวา่ มีบาดแผล หรอื การอกั เสบ อาจตรวจดูกระเพาะอาหาร หลอดอาหาร ลำไสเ้ ล็ก 6.2.2 การตรวจระบบทางเดินอาหารส่วนลา่ ง (lower G.I series, barium edema) เป็นการสวนแบเรียมเข้าไปในลำไส้ใหญ่แล้วถ่ายภาพเอ็กซ์เรย์เพื่อดูผนังลำไส้ว่ามีบาดแผล มีการ อกั เสบหรอื อุดตนั 6.2.3 การตรวจถงุ นำ้ ดี เปน็ การตรวจการทำงานของถุงนำ้ ดี เพ่อื วนิ จิ ฉัยโรคนิ่วถุงน้ำดี (gall stone) เพื่อดูขอบเขต ขนาด ลักษณะและการทำหน้าที่ของถุงน้ำดี โดยการถ่ายภาพเอ็กซ์เรย์ ผ่านสารทบึ รงั สี 6.2.4 การตรวจกรวยไต (pyelography) เป็นการตรวจดูขอบเขต ขนาด รูปร่างและ หน้าที่ของไต ท่อ ไต กระเพาะปัสสาวะ เพื่อดูลักษณะที่ผิดปกติหรือการอุดตันของระบบทางเดิน ปสั สาวะ 6.2.4.1 Intravenous pyelography (IVP) เพ่ือดรู ปู ร่างลกั ษณะ และการทำงาน ของไต ท่อไตกระเพาะปัสสาวะ ในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น มีนิ่วใน ระบบทางเดินปัสสาวะ ปัสสาวะปนเลือด ก้อนในอุ้งเชิงกราน เป็นต้น โดยการฉีดสารทึบรังสีเข้าเส้น เลือดดำ และถ่ายภาพเอกซเรย์หลาย ๆ ภาพ ซึ่งสารทึบรังสีจะไปขับออกที่ไตทำให้เมื่อเอกซเรย์จะ เหน็ ภาพไต การทำงานของไต และระบบทางเดนิ ปสั สาวะได้ชดั เจน 6.2.4.2 Retrograde pyelography เป็นการตรวจเพื่อดูขอบเขตและขนาดของ ท่อไต และกระเพาะปัสสาวะโดยการฉีดสารทึบแสงเข้าทางสายสวนปัสสาวะใส่ย้อนขึ้นไปถึงกรวยไต แล้วถ่าย ภาพรังสี การตรวจวิธีนี้อาจใช้ร่วมกับการตรวจโดยฉีดสารทึบแสงทางหลอดเลือดดำและ ตรวจจากสาเหตุที่เกดิ การอุดกัน้ จากทอ่ ไตข้างเดียวหรอื ท่อไตด้านนอกมีการกดทับ จึงทำให้อดุ ตันจะ แสดงให้เห็นตำแหน่งที่มีปัญหาเกิดขึ้น การตรวจวิธีนี้ต้องใช้กล้องส่องกระเพาะปัสสาวะแล้วใส่สาย ยางเข้าไปถึงท่อไต ฉีดสารทึบแสงถ่ายภาพรังสี 1 ภาพ ภายหลังจากดึงสายยางออก ถ่ายอีก 1 ภาพ รวมเป็น 2 ภาพ ใช้เวลาในการตรวจประมาณ 1 ชั่วโมง (สารทึบแสงที่ใช้เหมือนกับสารที่ใช้ในการ ตรวจไอวีพี) 6.3. การตรวจท่เี ก่ยี วกับการใช้กลอ้ งส่องเข้าไปดอู วยั วะภายใน (endoscopy)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook