Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานุ7

รายงานุ7

Published by meaw2424, 2022-03-04 13:20:52

Description: รายงานุ7

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพครู คณะศกึ ษาศาสตร์และศิลปะศาสตร์วทิ ยาลัยบัณฑิตเอเซยี รายงาน นวัตกรรมทางการศกึ ษา ความรเู้ บอ้ื งต้นเกี่ยวกบั นเทคโนโลยีสารสนเทศและ เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การเรียนรู้ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชานวตั กรรมและเทคโนโลยี นวัตกรรมสารสนเสทาศรสแนลเะทเศททคาโงนกโาลรยศี ึกษา เรอ่ื ง จคัดวทาโมดยรูท้ ่ัวไปสารสนเทศกบั คอมพวิ เตอร์ นางสาวสพุ ชิ ชา ปักสงั คะเณย์ เสนอ ด.ร.กฤษฎาพันธ์ พงษ์บรจบิ รูดั ณท์ าโดย นางสาวสพุ ิชชา ปักสังคะเณย์

รายงาน นวัตกรรมสารสนเทศและเทคโนโลยี เร่อื ง ความรู้ทัว่ ไปสารสนเทศกบั คอมพิวเตอร์ จดั ทาโดย นางสาวสุพชิ ชา ปกั สังคะเณย์ เสนอ ด.ร.กฤษฎาพันธ์ พงษ์บริบูรณ์ หลกั สตู รปกาศนยี บัตรวิชาชีพ คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยบัณเอเซีย

คานา รายงานเร่ือง “ความรู้ทั่วไปสารสนเทศกับคอมพิวเตอร์” ฉบับน้ี เป็นส่วนหนึ่งของนวัตกรรม สารสนเทศและเทคโนโลยี รหัสวิชา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์บัณฑิต หลักสูตรปกาศนียบัตรวิชาชีพ คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บัณฑติ เอเชีย มีจุดประสงค์เพอ่ื ศึกษาหาความรู้จากการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่อื นามาใชใ้ นการเรียนการสอน สามารถบอกความหมาย หรือรู้ข้อมูลทั่วไปของสารสนเทศ และประโยชน์ จากการศกึ ษาได้ ข้าพเจ้าหวงั เป็นอย่างยิง่ วา่ เนื้อหาในรายงานฉบับน้ที ีไ่ ด้เรียบเรียงมาจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้สนใจเป็น อยา่ งดี หากมีส่งิ ใดในรายงานฉบบั นี้ต้องปรับปรุง ขา้ พเจา้ ขอน้อมรับในขอ้ ชีแ้ นะ และจะนาไปแก้ไขหรือ พั ฒ น า ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ส ม บู ร ณ์ ต่ อ ไ ป นางสาวสพุ ิชชา ปักสงั คะเณย์ ผูจ้ ัดทา

สารบัญ หนา้ เรือ่ ง 1 3 บทท่ี 1 3 1. ประวตั ทิ ม่ี าท่ีมาและความสาคัญ 5 1.1ความหมายของนวัตกรรมการศกึ ษาและเทคโนโลยที างการศึกษา 6 1.2ความหมายของนวตั กรรมการศกึ ษา 7 1.3ความหมายของเทคโนโลยี 7 1.4เป้าหมายของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา 8 แนวคดิ พน้ื ฐานของนวัตกรรมทางการศกึ ษา 8 2. นวตั กรรมทางการศึกษาท่สี าคัญของไทยในปัจจบุ ัน (2546) 9 ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษา 10 2.1การจาแนกตามลกั ษณะของนวตั กรรม 11 2.2 การจาแนกตามจุดเนน้ ของนวัตกรรม 11 2.3ลกั ษณะของนวตั กรรม 12 2.4กระบวนการสร้างและพฒั นานวตั กรรมทางการศึกษา 12 2.5 นวัตกรรมแบ่งออกเป็น 3 ระยะ 13 3.นวัตกรรมทางการศกึ ษาที่สาคัญของไทยในปัจจุบัน 13 3.1ประเภทของการใชน้ วตั กรรมการศกึ ษาในประเทศไทย 13 3.2 นวตั กรรมทางดา้ นหลกั สตู ร 14 3.3นวตั กรรมการเรยี นการสอน 14 3.4นวตั กรรมสอ่ื การสอน 14 3.5นวตั กรรมทางด้านการประเมนิ ผล 15 3.6 นวตั กรรมการบรหิ ารจัดการ 18 นวตั กรรมทางการศึกษาตา่ งๆ ทก่ี ลา่ วถงึ กันมากในปัจจุบนั 19 - E-learning 19 3.7ลกั ษณะสาคญั ของ e-Learning (Feature of e-Learning) 3.8ข้อไดเ้ ปรียบ และข้อจากดั ของ e-Learning (advantage of e-Learning) 3.9ขอ้ จากัด

สารบัญ(ต่อ) เรอ่ื ง หน้า 4. ระดับของสื่อสาหรับ e-Learning (Level of media for e-Learning) 20 4.1ระดับของการนา e-Learning ไปใชใ้ นการเรียนการสอน 21 4.2 m-Learning 23 4.3การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนซึง่ สามารถจัดเป็นประเภทของอุปกรณค์ อมพวิ เตอร์ 23 แบบพกพาได้ 3 กลุ่มใหญ่ หรือจะเรยี กว่า 3Ps 4.4เครื่องเลน่ MP3 23 กระบวนการเรยี นรแู้ บบ M – Learning 24 4.5 ประโยชน์และขอ้ จากดั ของ M – Learning 24 4.6ข้อดีของ M – Learning 24 4.7ข้อดอ้ ยของ M – Learning 25 4.8 บทบาทของ M-Learning 25 4.9 ผลกระทบตอ่ การศึกษา และการเรียนการสอน 26 4.10 สรุปบทบาทของ M-Learning กบั การศกึ ษา 26 5. การเปล่ยี นแปลงเทคโนโลยีการศึกษา 26 5.1การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยที ่ีมีผลตอ่ สถานศึกษา 27 5.2แนวโน้มการเปลย่ี นแปลงท่สี าคญั ท่ีเกดิ จากเทคโนโลยี 29 5.3ปัญหาและอปุ สรรคในการใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา 29 5.4 สภาพปัจจบุ ันและปญั หาการใชเ้ ทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทย 30 5.5ปัญหาท่พี บในการใช้นวัตกรรมการศึกษา 31 5.6ปัญหา อุปสรรค การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของสถานศึกษา 31 5.7 คอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เทอร์เนต็ 33 5.8 ระบบการสบื คน้ ผ่านเครอื ขา่ ยเพ่ือการเรียนรู้ 33 5.9 ระบบเครือข่ายในโรงเรยี น คืออะไร 34

สารบัญ(ตอ่ ) หน้า 35 เรอื่ ง 36 6.ประโยชน์ของการใช้ระบบเครือขา่ ย ( LAN ) ในโรงเรียน 37 6.1การสบื คน้ และรบั ส่งข้อมูล แฟม้ ข้อมูล และสารสนเทศเพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ 38 6.2ประโยชน์ของการรับ-ส่งข้อมูลทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ 38 6.3เว็บไซต์ทีใ่ ห้บริการฟรีอเี มล 39 6.4ววิ ัฒนาการของสารสนเทศ 41 6.5พนื้ ฐานเกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์ 42 7.ระบบสารสนเทศในปัจจุบนั และอนาคต 43 7.1ววิ ัฒนาการของสารสนเทศ 43 7.2สาเหตุทท่ี าใหเ้ กดิ สารสนเทศ 44 7.3ความหมายของคาวา่ ขอ้ มลู 45 7.4ชนดิ ของข้อมลู (Types of Data) 46 7.5กรรมวธิ ีการจดั การขอ้ มูล (Datamanipulation) (ให้มคี ุณค่าเป็นสารสนเทศ) 47 8. ความหมายของสารสนเทศ (Information) 48 8.1หลักเกณฑก์ ารประเมินผลลัพธ์ หรอื ผลผลิต (Criterias to Evaluated Outputs) 50 8.2คณุ ลกั ษณะของสารสนเทศทดี่ ี (Characteristics of Information) 52 8.3คณุ ภาพของสารสนเทศ (Quality of Information/Information Quality) 52 8.5ความสาคัญของสารสนเทศ 53 8.6บทบาทของสารสนเทศ (Role of Information) 56 8.7องคป์ ระกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 56 8.8ความสาคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 57 8.9ปัจจยั ที่ทาให้เกิดความลม้ เหลวในการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ 58 8.10ผลของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 62 8.11เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การใช้ชวี ติ ในสงั คมปัจจุบนั 8.12ประโยชน์ของระบบสารสนเทศ

สารบญั (ต่อ) หน้า 62 บทท่ี 3 คอมพิวเตอร์และอิน-เทอร์เนต็ กับเทคโนโลยสี ารสนเทศ 68 9. เทคโนโลยีและสารสนเทศเพือ่ การเรียนรู้ 75 9.1สอ่ื เพอ่ื การเรียนรู้ 80 9.2หลกั ารออกแบบนวตั กรรมและสอื่ เพ่ือการเรยี นรู้ 90 9.3การเรียนรู้ แหล่งเรยี นรู้ เครือข่ายการเรยี นรู้ 96 9.4การจัดการเรยี นรูบ้ นเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ 97 9.5ระบบการสืบค้นผา่ นเครอื ข่ายเพ่ือการเรียนรู้ 97 9.6การสบื คน้ และรับส่งขอ้ มลู แฟม้ ขอ้ มูล 105 9.79.8สารสนเทศเพอ่ื ใช้ในการจดั การเรยี นรู้ 107 9.9การวเิ คราะหป์ ญั หาทเ่ี กดิ จากการใช้นวตั กรรม ขอ้ สอบท้ายบทเรยี น บรรณานกุ รรม

1 บทที่ 1 1. ประวตั ิความเป็นมาและความสาคัญ นวัตกรรมมคี วามสาคัญต่อการศึกษาหลายประการ เนื่องจากในโลกยุคโลกาภิวัตน์โลกมีการ เปล่ียนแปลงในทุกด้านอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างย่ิงความก้าวหน้าในด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ การศึกษาจึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงจากระบบการศึกษาที่มีอยู่เดิม เพ่ือให้ทันสมัยต่อการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมท่เี ปล่ยี นแปลงไป อกี ทงั้ เพ่ือแก้ไขปัญหาทางด้านศึกษาบางอย่าง ท่ีเกิดข้ึนอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งการเปลี่ยนแปลงทางด้านการศึกษาจึงจาเป็นต้องมีการศึกษาเก่ียวกับ นวัตกรรมการศึกษาท่ีจะนามาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาทางการศึกษาในบางเร่ือง เช่น ปัญหาท่ีเกี่ยวเน่ืองกัน จานวนผูเ้ รียนที่มากขนึ้ การพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมยั การผลิตและพฒั นาสื่อใหม่ๆ ข้ึนมาเพื่อตอบสนองการ เรียนรขู้ องมนษุ ยใ์ ห้เพ่มิ มากข้นึ ด้วยระยะเวลาที่ส้นั ลง การใช้นวตั กรรมมาประยกุ ต์ในระบบการบริหารจัดการ ด้านการศึกษาจงึ มีสว่ นช่วยให้การใชท้ รัพยากรการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เกิดการเรียนรู้ด้วย ตนเอง นวัตกรรมการศึกษาเกดิ ข้ึนตามสาเหตุใหม่ๆ ดังต่อไปน้ี 1. การเพิ่มปริมาณของผเู้ รียนในระดบั ช้ันประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทาให้นัก เทคโน โลยีการ ศึก ษาต้องหานวั ตกร ร มใหม่ๆ มาใช้ เพื่ อให้สามาร ถสอ น นัก เรียน ได้มาก ขึ้น 2. การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว การเรียนการสอนจึงต้องตอบสนองการเรียน การสอนแบบใหม่ๆ ท่ีช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้เร็วและเรียนรู้ได้มากในเวลาจากัดนัก เทคโนโลยี การศึกษาจงึ ต้องคน้ หานวัตกรรมมาประยกุ ต์ใช้เพ่อื วัตถุประสงค์น้ี 3. การเรียนรู้ของผู้เรียนมีแนวโน้มในการเรียนรู้ด้วยตนเองมากข้ึน ตามแนวปรัชญาสมัยใหม่ที่ยึด ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง นวัตกรรมการศึกษาสามารถช่วยตอบสนองการเรียนรู้ตามอัตภาพ ตามความสามารถ ของแต่ละคน 4. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีโทรคมนาคมที่ส่วนผลักดันให้มีการใช้ นวัตกรรมการศกึ ษาเพ่ิมมากขนึ้ 2. ความหมายของนวตั กรรมการศึกษาและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา “นวตั กรรม” หมายถงึ ความคดิ การปฏบิ ัติ หรอื สิง่ ประดษิ ฐใ์ หมๆ่ ทีย่ งั ไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการ พฒั นาดัดแปลงมาจากของเดิมทมี่ ีอยู่แลว้ ใหท้ ันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งข้ึน เม่ือนานวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การ ทางานนั้ นไ ด้ผลดีมีปร ะสิ ทธิ ภาพ และประ สิทธิ ผลสูง กว่ าเดิมทั้ งยังช่ วย ปร ะ หยัดเวลาและ แรง งานไ ด้ด้ ว ย “นวัตกรรม” (Innovation) มรี ากศัพทม์ าจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทาสิ่งใหม่ข้ึนมา ความหมาย ของนวตั กรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนาแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งท่ีมีอยู่แล้วมาใช้ใน รูปแบบใหม่ เพ่ือทาให้เกดิ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือกค็ ือ ”การทาในสิ่งที่แตกต่างจากคนอ่ืน โดยอาศัยการ

2 เปล่ียนแปลงต่าง ๆ (Change) ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และถ่ายทอดไปสู่ แนวความคิดใหม่ท่ีทาให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม” แนวความคิดนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาในช่วงต้น ศตวรรษท่ี 20 โดยจะเห็นได้จากแนวคิดของนักเศรษฐอุตสาหกรรม เช่น ผลงานของ Joseph Schumpeter ใน The Theory of Economic Development,1934 โดยจะเน้นไปท่ีการสร้างสรรค์ การวิจัยและพัฒนา ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันจะนาไปสู่การได้มาซึ่ง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี ( Technological Innovation) เพ่อื ประโยชน์ในเชิงพาณชิ ย์เป็นหลกั นวัตกรรมยงั หมายถึงความสามารถในการเรียนรู้และนาไป ปฎิบัติให้เกิดผลไดจ้ รงิ อีกดว้ ย (พนั ธุอ์ าจ ชยั รัตน์ , Xaap.com) คาว่า “นวัตกรรม” เป็นคาที่ค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทย คานี้ เป็นศัพท์บัญญัติของ คณะกรรมการพิจารณาศัพทว์ ิชาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจาก คากริยาวา่ innovate แปลวา่ ทาใหม่ เปล่ียนแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ ในภาษาไทยเดิมใช้คาว่า “นวกรรม” ต่อมา พบว่าคานี้มคี วามหมายคลาดเคล่ือน จงึ เปล่ยี นมาใชค้ าว่า นวัตกรรม (อ่านว่า นะ วัด ตะ กา) หมายถึงการนา ส่ิงใหม่ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการท่ีทาอยู่เดิม เพ่ือให้ใช้ได้ผลดียิ่งข้ึน ดังน้ันไม่ว่าวงการหรือ กจิ การใด ๆ ก็ตาม เมอ่ื มีการนาเอาความเปลย่ี นแปลงใหมๆ่ เข้ามาใช้เพ่ือปรับปรงุ งานให้ดขี ึ้นกว่าเดิมก็เรียกได้ ว่าเป็นนวัตกรรมของวงการน้ันๆ เช่นในวงการศึกษานาเอามาใช้ ก็เรียกว่า “นวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) สาหรับผู้ที่กระทา หรือนาความเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ มาใช้นี้ เรียกว่าเป็น “นวัตกร” (Innovator) (boonpan edt01.htm) ทอมสั ฮิวช์ (Thomas Hughes) ไดใ้ ห้ความหมายของ “นวัตกรรม” ว่า เป็นการนาวิธีการใหม่ ๆ มา ปฏิบตั ิหลงั จากไดผ้ า่ นการทดลองหรอื ไดร้ ับการพฒั นามาเป็นข้นั ๆ แลว้ เรม่ิ ตั้งแต่การคิดค้น (Invention) การ พัฒนา (Development) ซึง่ อาจจะเปน็ ไปในรปู ของ โครงการทดลองปฏบิ ตั กิ ่อน (Pilot Project) แล้วจึงนาไป ปฏิบัติจริง ซง่ึ มคี วามแตกตา่ งไปจากการปฏบิ ัติเดิมทเ่ี คยปฏบิ ัตมิ า (boonpan edt01.htm) มอร์ตัน (Morton,J.A.) ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ว่าเป็นการทาให้ใหม่ข้ึนอีกคร้ัง(Renewal) ซึ่ง หมายถึง การปรับปรุงสิ่งเก่าและพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรือองค์การนั้น ๆ นวัตกรรม ไม่ใช่การขจัดหรือล้มล้างส่ิงเก่าให้หมดไป แต่เป็นการ ปรับปรุงเสริมแต่งและพัฒนา ( boonpan edt01.htm) ไชยยศ เรอื งสวุ รรณ (2521 : 14) ไดใ้ ห้ความหมาย “นวัตกรรม” ไว้ว่าหมายถงึ วิธีการปฎิบัติใหม่ๆ ท่ี แปลกไปจากเดิมโดยอาจจะไดม้ าจากการคิดคน้ พบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมาหรือมีการปรับปรุงของเก่าให้เหมาะสม และส่ิงทง้ั หลายเหล่าน้ีไดร้ ับการทดลอง พฒั นาจนเป็นท่ีเช่ือถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฎิบัติ ทาให้ระบบก้าว ไปสจู่ ุดหมายปลายทางได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพขน้ึ จรูญ วงศ์สายัณห์ (2520 : 37) ได้กล่าวถึงความหมายของ “นวัตกรรม” ไว้ว่า “แม้ในภาษาอังกฤษ เอง ความหมายก็ต่างกันเป็น 2 ระดับ โดยทั่วไป นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใด ๆ จะเป็นผลสาเร็จ หรอื ไม่ มากน้อยเพียงใดก็ตามที่เป็นไปเพื่อจะนาส่ิงใหม่ ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงวิธีการที่ทาอยู่เดิมแล้ว กับอีก ระดับหน่ึงซงึ่ วงการวิทยาศาสตร์แห่งพฤตกิ รรม ไดพ้ ยายามศึกษาถงึ ทีม่ า ลักษณะ กรรมวิธี และผลกระทบที่มี

3 อยู่ต่อกลุ่มคนท่ีเก่ียวข้อง คาว่า นวัตกรรม มักจะหมายถึง ส่ิงที่ได้นาความเปล่ียนแปลงใหม่เข้ามาใช้ได้ ผลสาเรจ็ และแผ่กวา้ งออกไป จนกลายเป็นการปฏิบัติอยา่ งธรรมดาสามญั (บุญเก้อื ควรหาเวช , 2543) ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา “นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation )” หมายถึง นวัตกรรมท่ีจะช่วยให้การศึกษา และ การเรยี นการสอนมีประสิทธิภาพดีย่ิงข้ึน ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกดิ แรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมการศกึ ษา และประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย ในปัจจุบันมีการใช้ นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่าง ซึ่งมีทั้งนวัตกรรมที่ใช้กันอย่างแพร่หลายแล้ว และประเภทท่ีกาลัง เผยแพร่ เช่น การเรียนการสอนท่ีใช้คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผ่นวิดีทัศน์ เชิงโตต้ อบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ ( Hypermedia ) และอินเทอร์เน็ต [Internet] เหล่าน้ี เป็นต้น (วารสารออนไลน์ บรรณปัญญา.htm) “นวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation) หมายถึง การนาเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ใน รูปของความคิดหรือการกระทา รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพ่ือมุ่งหวังที่จะ เปล่ยี นแปลงส่ิงทีม่ อี ย่เู ดมิ ให้ระบบการจดั การศึกษามีประสิทธิภาพยงิ่ ขนึ้ ทาให้ผูเ้ รียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้ อยา่ งรวดเรว็ เกิดแรงจงู ใจในการเรยี น และชว่ ยให้ประหยัดเวลาในการเรียน เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ ชว่ ยสอน การใชว้ ดี ิทัศนเ์ ชงิ โต้ตอบ(Interactive Video) สอื่ หลายมิติ (Hypermedia) และอนิ เตอร์เน็ต เหล่านี้ เป็นตน้

4 ความหมายของเทคโนโลยี ความเจริญในด้านต่างๆ ท่ีปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน เป็นผลมาจากการศึกษาค้นคว้าทดลอง ประดิษฐค์ ิดค้นสง่ิ ตา่ งๆ โดยอาศยั ความรทู้ างวิทยาศาสตร์ เมื่อศึกษาค้นพบและทดลองใช้ได้ผลแล้ว ก็นาออก เผยแพรใ่ ช้ในกจิ การด้านต่างๆ ส่งผลใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพในกิจการต่างๆ เหล่าน้ัน และวิชาการท่ีว่าด้วยการนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ในกิจการด้านต่างๆ จึงเรียกกันว่า “วิทยาศาสตร์ประยกุ ต์” หรือนิยมเรยี กกันท่ัวไปว่า “เทคโนโลยี” (boonpan edt01.htm) เทคโนโลยี หมายถงึ การใชเ้ ครื่องมอื ให้เหมาะสมกบั สถานการณ์ในการแก้ปัญหา ผู้ที่นาเอาเทคโนโลยี มาใช้ เรยี กว่านักเทคโนโลยี (Technologist) (boonpan edt01.htm) เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology) ตามรูปศัพท์ เทคโน (วิธีการ) + โลยี(วิทยา) หมายถึง ศาสตร์ท่ีว่าด้วยวิธีการทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนาวิธีการ มาปรับปรุงประสิทธิภาพของ การศกึ ษาให้สงู ข้นึ เทคโนโลยีทางการศึกษาครอบคลุมองค์ประกอบ 3 ประการ คือ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ (boonpan edt01.htm) สภาเทคโนโลยีทางการศึกษานานาชาติได้ให้คาจากัดความของ เทคโนโลยีทางการศึกษา ว่าเป็นการ พัฒนาและประยกุ ต์ระบบเทคนิคและอุปกรณ์ ให้สามารถนามาใช้ในสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม เพื่อสร้าง เสรมิ กระบวนการเรียนรู้ของคนใหด้ ียงิ่ ข้ึน (boonpan edt01.htm) ดร.เปร่อื ง กุมทุ ไดก้ ล่าวถึงความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาว่า เป็นการขยายขอบข่ายของการใช้ สือ่ การสอน ให้กวา้ งขวางขึ้นท้ังในด้านบุคคล วัสดุเคร่ืองมือ สถานท่ี และกิจกรรมต่างๆในกระบวนการเรียน การสอน (boonpan edt01.htm) Edgar Dale กล่าวว่า เทคโนโลยีทางการศึกษา ไม่ใช่เคร่ืองมือ แต่เป็นแผนการหรือวิธีการทางาน อย่างเป็นระบบ ให้บรรลผุ ลตามแผนการ (boonpan edt01.htm) นอกจากนเี้ ทคโนโลยที างการศกึ ษา เป็นการขยายแนวคิดเก่ียวกับโสตทัศนศึกษา ให้กว้างขวางย่ิงข้ึน ทงั้ น้ี เน่ืองจากโสตทศั นศึกษาหมายถงึ การศึกษาเกีย่ วกับการใช้ตาดหู ูฟงั ดังนั้นอปุ กรณ์ในสมัยก่อนมักเน้นการ ใช้ประสาทสัมผัส ด้านการฟังและการดูเป็นหลัก จึงใช้คาว่าโสตทัศนอุปกรณ์ เทคโนโลยีทางการศึกษา มี ความหมายท่กี ว้างกว่า ซ่งึ อาจจะพจิ ารณาจาก ความคิดรวบยอดของเทคโนโลยไี ดเ้ ปน็ 2 ประการ คอื 1. ความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ ตามความคิดรวบยอดนี้ เทคโนโลยีทางการศึกษา หมายถงึ การประยกุ ต์วิทยาศาสตร์กายภาพ ในรูปของสิ่งประดิษฐ์ เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์ โทรทัศน์ ฯลฯ มาใช้สาหรับการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นส่วนใหญ่ การใช้เครื่องมือเหล่าน้ี มักคานึงถึงเฉพาะการควบคุมให้ เครื่องทางาน มกั ไม่คานงึ ถงึ จติ วทิ ยาการเรยี นรู้ โดยเฉพาะเรือ่ งความแตกต่างระหว่างบุคคล และการเลือกสื่อ ให้ตรงกับเน้ือหาวิชา ความหมายของเทคโนโลยีทางการศึกษา ตามความคิดรวบยอดนี้ ทาให้บทบาทของ เทคโนโลยีทางการศกึ ษาแคบลงไป คือมเี พียงวสั ดุ และอุปกรณเ์ ท่าน้ัน ไม่รวมวิธีการ หรือปฏิกิริยาสัมพันธ์อื่น ๆ เข้าไปด้วย ซ่ึงตามความหมายนีก้ ็คอื “โสตทศั นศกึ ษา” น่ันเอง

5 2. ความคดิ รวบยอดทางพฤตกิ รรมศาสตร์ เป็นการนาวิธีการทางจิตวิทยา มนุษยวิทยา กระบวนการ กลมุ่ ภาษา การส่อื ความหมาย การบรหิ าร เครือ่ งยนต์กลไก การรับรู้มาใชค้ วบค่กู ับผลติ กรรมทางวิทยาศาสตร์ และวศิ วกรรม เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี น เปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึนมิใช่เพียงการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์เท่าน้ัน แต่รวมถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้าไปด้วย มิใช่วัสดุ หรือ อุปกรณ์ แต่เพียงอย่างเดียว (boonpan edt01.htm) 3. เปา้ หมายของเทคโนโลยกี ารศึกษา การขยายพสิ ยั ของทรัพยากรของการเรยี นรู้ กล่าวคอื แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ มไิ ดห้ มายถงึ แตเ่ พยี ง ตารา ครู และอุปกรณก์ ารสอน ทโ่ี รงเรียนมอี ยู่เท่านนั้ แนวคิดทางเทคโนโลยีทางการศกึ ษา ต้องการให้ผู้เรียนมี โอกาสเรียนจากแหล่งความรู้ที่กว้างขวางออกไปอีก แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ครอบคลุมถึงเรื่องต่างๆ เช่น 1. คนเป็นแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ท่ีสาคัญซึ่งได้แก่ ครู และวิทยากรอ่ืน ซ่ึงอยู่นอกโรงเรียน เช่น เกษตรกร ตารวจ บุรษุ ไปรษณยี ์ เปน็ ต้น 2. วัสดุและเครื่องมือ ได้แก่ โสตทัศนวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ เครื่อง วดิ โี อเทป ของจริงของจาลองส่ิงพมิ พ์ รวมไปถงึ การใชส้ อื่ มวลชนต่างๆ 3. เทคนิค-วิธีการ แต่เดิมน้ันการเรียนการสอนส่วนมากใช้วิธีให้ครูเป็นคนบอกเนื้อหาแก่ผู้เรียน ปัจจุบันนั้น เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองได้มากท่ีสุด ครูเป็นเพียง ผู้วางแผนแนะแนวทาง เท่านนั้ 4. สถานที่ อันได้แก่ โรงเรียน ห้องปฏิบัติการทดลอง โรงฝึกงาน ไร่นา ฟาร์ม ที่ทาการรัฐบาล ภูเขา แม่น้า ทะเล หรือสถานทใ่ี ด ๆ ทช่ี ว่ ยเพ่มิ ประสบการณ์ท่ดี ีแก่ผูเ้ รียนได้ การเน้นการเรียนรู้แบบเอกัตบุคคล ถึงแม้นักเรียนจะล้นชั้นและกระจัดกระจาย ยากแก่การจัด การศกึ ษาตามความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ นักการศึกษาและนักจิตวิทยาได้พยายามคิดหาวิธีนาเอาระบบ การเรียนแบบตัวต่อตัวมาใช้แต่แทนท่ีจะใช้ครสู อนนกั เรียนทีละคน เขาก็คิด ‘แบบเรยี นโปรแกรม’ ซึ่งทาหน้าท่ี สอน ซ่ึงเหมือนกับครูมาสอน นักเรียนจะเรียนด้วยตนเอง จากแบบเรียนด้วยตนเองในรูปแบบเรียนเป็นเล่ม หรือเครื่องสอนหรอื ส่ือประสมหลายๆ อย่าง จะเรียนช้าหรือเร็วก็ทาได้ตามความสามารถของผู้เรียนแต่ละคน การใช้วิธีวิเคราะห์ระบบในการศึกษา การใช้วิธีระบบ ในการปฏิบัติหรือแก้ปัญหา เป็นวิธีการที่เป็น วิทยาศาสตร์ ท่เี ช่ือถอื ได้ว่าจะสามารถแก้ปญั หา หรือชว่ ยใหง้ านบรรลุเป้าหมายได้ เนื่องจากกระบวนการของ วธิ ีระบบ เป็นการวิเคราะหอ์ งค์ประกอบของงานหรือของระบบ อย่างมเี หตผุ ล หาทางให้สว่ นต่าง ๆ ของระบบ ทางาน ประสานสัมพนั ธ์กันอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การพัฒนาเคร่อื งมอื -วสั ดุอุปกรณ์ทางการศึกษา วัสดุและเครื่องมือต่าง ๆ ท่ีใช้ในการศึกษา หรือการ เรยี นการสอนปัจจบุ นั จะต้องมีการพฒั นา ใหม้ ศี ักยภาพ หรือขีดความสามารถในการทางานใหส้ งู ยิ่งขนึ้ ไปอกี

6 4. แนวคิดพื้นฐานของนวตั กรรมทางการศกึ ษา ปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลอย่างมาก ต่อวิธีการศึกษา ได้แก่แนวความคิดพ้ืนฐานทางการศึกษาที่ เปลีย่ นแปลงไป อนั มผี ลทาใหเ้ กดิ นวัตกรรมการศกึ ษาทส่ี าคญั ๆ พอจะสรปุ ได้4 ประการ คือ 1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ให้ความสาคัญ ในเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไว้อย่างชัดเจนซึ่งจะเห็นได้จากแผนการศึกษาของชาติ ให้มุ่งจัด การศึกษาตามความถนัดความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดเจนได้แก่ การจัดระบบห้องเรยี นโดยใช้อายุเป็นเกณฑ์บา้ ง ใช้ความสามารถเป็นเกณฑ์บ้าง นวัตกรรมที่เกิดข้ึนเพ่ือสนอง แนวความคดิ พื้นฐานนี้ เช่น การเรยี นแบบไม่แบง่ ชัน้ (Non-Graded School) แบบเรยี นสาเรจ็ รูป (Programmed Text Book) เครือ่ งสอน (Teaching Machine) การสอนเปน็ คณะ (TeamTeaching) การจัดโรงเรยี นในโรงเรยี น (School within School) เครอ่ื งคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction) 2. ความพร้อม (Readiness) เดิมทีเดียวเช่ือกันว่า เด็กจะเร่ิมเรียนได้ก็ต้องมีความพร้อมซึ่งเป็น พฒั นาการตามธรรมชาติ แต่ในปัจจบุ ันการวิจยั ทางด้านจติ วิทยาการเรยี นรู้ ช้ใี ห้เหน็ ว่าความพร้อมในการเรียน เป็นสิ่งท่ีสร้างขึ้นได้ ถ้าหากสามารถจัดบทเรียน ให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาที่ เคยเชื่อกันว่ายาก และไม่เหมาะสมสาหรับเด็กเล็กก็สามารถนามาให้ศึกษาได้ นวัตกรรมที่ตอบสนอง แนวความคดิ พน้ื ฐานนี้ได้แก่ ศูนย์การเรยี น การจัดโรงเรียนในโรงเรียน นวัตกรรมที่สนองแนวความคิดพื้นฐาน ดา้ นนี้ เช่น ศนู ยก์ ารเรยี น (Learning Center) การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School) การปรบั ปรุงการสอนสามชน้ั (Instructional Development in 3 Phases) 3. การใช้เวลาเพื่อการศึกษา แต่เดิมมาการจัดเวลาเพ่ือการสอน หรือตารางสอนมักจะจัดโดยอาศัย ความสะดวกเป็นเกณฑ์ เช่น ถือหน่วยเวลาเป็นช่ัวโมง เทา่ กนั ทุกวชิ า ทกุ วนั นอกจากน้นั ก็ยงั จดั เวลาเรียนเอาไว้ แนน่ อนเป็นภาคเรียน เป็นปี ในปัจจุบันได้มีความคิดในการจัดเป็นหน่วยเวลาสอนให้สัมพันธ์กับลักษณะของ แตล่ ะวชิ าซึ่งจะใชเ้ วลาไมเ่ ท่ากนั บางวิชาอาจใช้ช่วงสั้นๆ แต่สอนบ่อยครั้ง การเรียนก็ไม่จากัดอยู่แต่เฉพาะใน โรงเรียนเทา่ น้ัน นวัตกรรมท่ีสนองแนวความคดิ พนื้ ฐานด้านน้ี เช่น การจัดตารางสอนแบบยืดหยุน่ (Flexible Scheduling) มหาวิทยาลยั เปดิ (Open University)

7 แบบเรยี นสาเร็จรปู (Programmed Text Book) การเรียนทางไปรษณีย์ 4. ประสิทธิภาพในการเรียน การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทาให้มีสิ่ง ต่างๆ ท่ีคนจะต้องเรียนรู้เพิ่มข้ึนมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอจึง จาเป็นตอ้ งแสวงหาวิธีการใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ท้ังในด้านปัจจัยเก่ียวกับตัวผู้เรียน และปัจจัยภายนอก นวัตกรรมในดา้ นน้ีท่เี กิดข้ึน เชน่ มหาวิทยาลัยเปิด การเรียนทางวิทยุ การเรียนทางโทรทัศน์ การเรียนทางไปรษณยี ์ แบบเรยี นสาเรจ็ รปู ชุดการเรียน นวัตกรรมทางการศึกษาท่ีสาคญั ของไทยในปัจจบุ นั (2546) นวตั กรรม เป็นความคิดหรือการกระทาใหม่ๆ ซึ่งนักวิชาการหรือผู้เช่ียวชาญในแต่ละวงการจะมีการ คดิ และทาสิง่ ใหมอ่ ยเู่ สมอ ดงั นัน้ นวัตกรรมจงึ เป็นส่งิ ท่ีเกิดข้ึนใหม่ได้เรื่อยๆ ส่ิงใดท่ีคิดและทามานานแล้ว ก็ถือ ว่าหมดความเป็นนวัตกรรมไป โดยจะมีส่ิงใหม่มาแทนในวงการศึกษาปัจจุบัน มีส่ิงท่ีเรียกว่านวัตกรรมทาง การศึกษา หรือนวัตกรรมการเรียนการสอน อยู่เป็นจานวนมาก บางอย่างเกิดขึ้นใหม่ บางอย่างมีการใช้มา หลายสบิ ปีแลว้ แต่ก็ยังคงถือวา่ เปน็ นวัตกรรม เนือ่ งจากนวัตกรรมเหลา่ น้ันยังไมแ่ พร่หลายเป็นที่รู้จักทั่วไป ใน วงการศึกษา 5. ประเภทของนวัตกรรมทางการศกึ ษา นวัตกรรมท่ีนามาใช้ทั้งท่ีผ่านมาแล้ว และที่จะมีในอนาคตมีหลายประเภทข้ึนอยู่กับการประยุกต์ใช้ นวัตกรรมในด้านต่างๆ ซง่ึ จะขอแนะนานวัตกรรมการศกึ ษา 5 ประเภทดังน้ี 1. นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมในท้องถ่ิน และตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากขึ้น เน่ืองจากหลักสูตรจะต้องมีการ เปล่ยี นแปลงอยู่เสมอ เพ่ือใหส้ อดคล้องกบั ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และของโลก นวัตกรรมทางด้านหลักสูตรได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการ หลักสูตรรายบุคคล หลักสูตร กจิ กรรมและประสบการณ์ และหลักสูตรทอ้ งถิ่น 2. นวตั กรรมการเรยี นการสอน เป็นการใชว้ ธิ รี ะบบในการปรบั ปรุงและคิดค้นพฒั นาวิธสี อนแบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การ เรียนรู้แบบแก้ปัญหา การพัฒนาวิธีสอนจาเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและ สนับสนุนการเรยี นการสอน 3. นวตั กรรมส่อื การสอน เนือ่ งจากมคี วามก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่าย และเทคโนโลยโี ทรคมนาคม ทาให้นักการศึกษาพยายามนาศกั ยภาพของเทคโนโลยีเหล่าน้ีมาใช้ในการผลิตสื่อ

8 การเรียนการสอนใหม่ๆ จานวนมากมาย ทงั้ การเรยี นดว้ ยตนเอง การเรยี นเป็นกลุ่ม และการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสอ่ื ทีใ่ ช้เพื่อสนับสนนุ การฝึกอบรมผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 4. นวัตกรรมทางดา้ นการประเมินผล เปน็ นวตั กรรมทใ่ี ชเ้ ป็นเคร่อื งมอื เพ่ือการวัดผลและประเมินผลได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และทาได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการ ประยกุ ต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรม์ าสนับสนุนการวดั ผล ประเมินผลของสถานศกึ ษา ครู อาจารย์ 5. นวัตกรรมการบริหารจัดการ เป็นการใช้นวัตกรรมที่เก่ียวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการ บริหารจดั การ เพ่อื การตัดสนิ ใจของผูบ้ ริหารการศกึ ษา ให้มคี วามรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของโลก นวัตกรรมการศึกษาที่นามาใช้ทางด้านการบริหารจะเก่ียวข้องกับระบบการจัดก ารฐานข้อมูลใน หนว่ ยงานสถานศึกษา (https://www.l3nr.org/posts/224964) การจาแนกตามลกั ษณะของนวตั กรรม 1. เทคนิควิธีการ วิธีการจัดกิจกรรมพัฒนา การจัดกิจกรรมสาหรับผู้เรียน เช่น การจัด บรรยากาศในห้องเรียนใหเ้ หมาะสมกบั ผูเ้ รยี น และเหมาะกับวิธกี ารสอนของครู 2. ส่ือการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้เป็นตัวกลาง หรือเคร่ืองมือที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความ เขา้ ใจ สือ่ การเรยี นร้แู บ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังน้ี 2.1 สื่อประเภทวัสดุ สื่อการเรียนรู้ท่ีมีลักษณะเก็บความรู้ หรือถ่ายทอดความรู้ โดยใช้ ภาพ เสียง ตัวอกั ษร ในรูปแบบต่างๆ แบ่งเปน็ 2 ประเภทคอื 2.1.1วสั ดทุ เ่ี สนอความร้จู ากตัวส่อื 2.1.2 วสั ดุท่ีตอ้ งอาศัยสอื่ ประเภทเครื่องกลเป็นตวั นาเสนอความรู้ 2.2 ส่ือประเภทเครื่องมือหรือโสตทัศนูปกรณ์ เป็นสื่อที่เป็นตัวกลางหรือตัวผ่านของความรู้ ทถี่ า่ ยทอดไปยงั ผ้รู ับ เชน่ เครอื่ งชว่ ยสอน เคร่อื งฉาย คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน ฯลฯ การจาแนกตามจุดเนน้ ของนวตั กรรม 1. นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผลผลิต เป็นนวัตกรรมที่เป็นวัสดุ อุปกรณ์ หรือเคร่ืองมือท่ีช้ใน การจัดการเรยี นรู้ เช่น วดี ทิ ศั น์ ซดี ี สไลด์ ฯลฯ 2. นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นเทคนิค วิธีการ หรือกระบวณการในการจัดการเรียนรู้ เช่น โครงงาน ผังมโนทัศน์ บทบาทสมมตุ ิ ฯลฯ 3. นวัตกรรมทีเ่ นน้ ทัง้ ผลผลติ และเทคนิคกระบวณการ เช่น ระบบการผลิตและสร้างสื่อการ เรียนรู้ กระบวณการทสี่ ามารถให้นกั เรยี นเรยี นรู้ดว้ ยตัวเองอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 6. ลักษณะของนวัตกรรม ลกั ษณะของนวัตกรรม คือ เป็นส่ิงใหม่ท่ีไม่เคยมีผู้ใดเคยทามาก่อนเลย อีกทั้งยังเป็นส่ิงใหม่ที่เคยทา มาแล้วในอดีตแตไ่ ด้มกี ารร้อื ฟืน้ ข้ึน มาใหม่ รวมถงึ สิง่ ใหมท่ ่ีมีการพัฒนามาจากของเก่าท่ีมีอยู่เดิม ลักษณะของ นวัตกรรม แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท

9 1. นวัตกรรมใหม่อย่างส้ินเชิง (Radical Innovation) หมายถึง ขบวนการเสนอสิ่งใหม่ท่ีใหม่อย่าง แท้จรงิ สู่สังคม โดยการเปลี่ยนแปลงค่านิยม (value), ความเชื่อ (belief ) เดิม ตลอดจนระบบคุณค่า(value system)ของสังคม อย่างสิน้ เชิง ตัวอย่างเชน่ อินเตอร์เนท็ (Internet) จดั ว่าเป็นนวัตกรรมหน่ึงในยุคโลกข้อมูล ข่าวสาร การนาเสนอระบบอนิ เตอรเ์ น็ท ทาให้ค่านิยมเดิมทีเ่ ชอ่ื ว่า โลกข้อมูลข่าวสารจากัดอยู่ ในวงเฉพาะท้ัง ในด้านเวลา และ สถานท่นี ัน้ เปลี่ยนไป อนิ เตอร์เน็ทเปดิ โอกาส ใหค้ วามสามารถในการเข้าถงึ ขอ้ มูลไร้ขีดจากัด ท้งั ในดา้ นของเวลา และระยะทาง การเปลยี่ นแปลงในครงั้ น้ี ทาใหร้ ะบบคุณค่าของข้อมลู ขา่ วสาร เปลี่ยนแปลง ไป บางคนเช่ือว่า อินเตอร์เน็ทจะเข้ามาแทนท่ีระบบการส่งข้อมูลข่าวสารในระบบเดิม อย่างส้ินเชิงในไม่ช้า อาทเิ ชน่ ระบบไปรษณีย์ 2. นวัตกรรม ท่ีมีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป เป็นขบวนการการค้นพบ (discover) หรือ คิดค้นส่ิงใหม่ (invent)โดยการประยุกต์ ใช้แนวคิดใหม่ (new idea) หรือ ความรู้ใหม่ (new knowledge) ท่ีมีลักษณะ ต่อเน่ืองไม่สิ้นสุด โดยการประยุกต์ใช้ แนวคิดใหม่ หรือความรู้ใหม่ ของมนุษย์ และการค้นค้น เทคนิค (technique) หรือ เทคโนโลยี (technology) ใหม่ นวัตกรรมทม่ี ีลกั ษณะค่อยเปน็ คอ่ ยไป จงึ มีลักษณะของการ สะสมการเรียนรู้ (cumulative learning) อย่ใู นบรบิ ท ของสังคมหนึ่ง ในปจั จบุ ันสังคมไดเ้ ปลยี่ นแปลงไปอย่าง มาก เพราะผลของขบวนการโลกาภวิ ัตน์ ทาใหส้ งั คมมลี ักษณะไร้ขอบเขต (borderless) เปน็ สังคมของชาวโลก ท่มี ีความหลากหลายทางดา้ นสังคมวัฒนธรรมและการเมือง ส่งผลให้นวัตกรรม มีแนวโน้มท่ีจะเป็น ขบวนการ ค้นพบใหม่อย่างตอ่ เนอ่ื งในระดับนานาชาติ มากกว่า ท่ีจะเป็นนวัตกรรมใหมโ่ ดยสนิ้ เชงิ สาหรับสังคมหน่งึ ๆ กระบวนการสร้างและพฒั นานวตั กรรมทางการศกึ ษา กระบวนการสร้างและพัฒนานวัตกรรมทางการศกึ ษา มี 5 ข้นั ตอน ขัน้ ตอนท่ี 1 การศึกษาเอกสารแนวคิดหลักการ เปน็ ข้ันตอนของการสารวจว่าในทางวชิ าการมพี ฒั นาเรื่องนไี้ ว้ว่าอยา่ งไร มใี ครท่เี คยประสบปัญหาการ พฒั นาการเรียนรหู้ รอื การบรหิ ารสถานศึกษาเชน่ เดียวกันนม้ี าก่อน และคนทห่ี าปัญหาเช่นเดียวกันนี้มีแนวทาง ในการแก้ไขปัญหานี้ในห้องเรียนของตนเองอย่างไร เพื่อให้ได้แนวคิดและแนวทางท่ีจะนามาแก้ปัญหาของ ตนเองต่อไป 1.1 การแลกเปลีย่ นเรียนรู้และการแสวงหาแนวคดิ และหลักการ 1.2 การศกึ ษาเอกสารงานวิจยั และประสบการของผู้เกย่ี วข้อง ข้นั ตอนท่ี 2 การเลือกและการวางแผนสร้างนวตั กรรม โดยพจิ ารณาเลือกจากลักษณะของนวตั กรรมการเรยี นรูท้ ีด่ ี ดังน้ี 1. เป็นนวตั กรรมการเรยี นร้ทู ต่ี รงกบั ความตอ้ งการและความจาเปน็ 2. มีความหน้าเชือ่ ถือและเปน็ ไปได้สงู ทีจ่ ะสามารถแกป้ ญั หา และพฒั นาการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น 3. เป็นนวัตกรรมท่ีมีแนวคิดหรือหลักการทางวชิ าการรองรบั จนนา่ เชื่อถือ 4. สามารถนาไปใช้ในห้องเรยี นไดจ้ รงิ ใช้ไดง้ า่ ย สะดวกตอ่ การใช้และการพัฒนานวัตกรรม

10 5. มีผลการพิสูจน์เชิงประจักษ์ว่าได้ใช้ในสถานการณ์จริงแล้วสามารถแก้ปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพ การจดั การเรียนรไู้ ดอ้ ยา่ งน่าเพง่ิ พอใจ ขัน้ ตอนท่ี 3 สรา้ งและพฒั นานวตั กรรม จากแผนการสรา้ งนวตั กรรม ครูต้องศึกษาถงึ รายละเอียดของนวัตกรรมที่จะสร้างและดาเนินการตาม ขน้ั ตอน เชน่ การสร้างนวตั กรรมท่เี ป็นชดุ การเรียนรู้ ครอู าจดาเนนิ การสร้างตามขน้ั ตอนต่อไปน้ี เชน่ - วเิ คราะหจ์ ดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ - กาหนดและออกแบบชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง - ออกแบบสือ่ เสริม - ลงมอื ทา - ตรวจสอบคณุ ภาพคร้ังแรกโดยผู้เชีย่ วชาญ - ทดลองใชร้ ะยะส้นั เพื่อปรับปรงุ เน้ือหาสาระ - นาไปใช้เพ่อื แกป้ ญั หาหรือการพัฒนาการเรียนรู้ ขน้ั ตอนท่ี 4 การหาประสิทธิภาพของนวตั กรรม ข้ันตอนน้ีเป็นข้ันตอนที่พิสูจน์ว่านวัตกรรมท่ีสร้างขั้นน้ันเม่ือนาไปใช้จะได้ผลตามท่ีต้องการหรือไม่ สามารถแก้ปัญหาในช้ันเรียนหรือพัฒนาผู้เรียนได้จริงหรือไม่การประสิทธิภาพของนวัตกรรมมีหลายวิธี เช่น 1. การตรวจสอบโดยผ้เู ชย่ี วชาญ 2. การบรรยายคุณภาพ 3. การคานวณคา่ ร้อยละของผเู้ รยี น 4. การหาประสทิ ธฺ ิภาพของนวตั กรรม 5. การประเมินสอื่ มลั ตมิ ีเดยี ขน้ั ตอนที่ 5 ปรบั ปรุงนวัตกรรม หลังจากท่ีหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมที่สร้างข้ัน ไม่ว่าจะโดยวิธีการใดก็ตามควรนาความคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะเล่านั้นมาปรับปรุงนวัตกรรมให้มีคุณภาพเหมาะสมที่จะนาไปใช้ในห้องเรียนได้มากขึ้น โดยเฉพาะคา่ หาประสทิ ธิภาพโดยการใหผ้ ู้เชี่ยวชาญชว่ ยตรวจและการบรรยายคุณภาพก่อนการทดลองใช้และ หลงั การทดลองใช้กับผูเ้ รยี นกลุ่มเลก็ จะทาให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนและเป็นรายละเอียดท่ีจะปรับปรุงนวัตกรรมได้ ง่ายขึน้ นวัตกรรมแบ่งออกเปน็ 3 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) หรือเป็นการปรุงแต่งของเก่าให้เหมาะสมกับกาลสมัย ระยะท่ี 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทาอยู่ในลักษณะของ โครงการทดลองปฏบิ ตั ิก่อน (Pilot Project) ระยะท่ี 3 การนาเอาไปปฏิบัตใิ นสถานการณท์ ่ัวไป ซึง่ จัดวา่ เป็นนวัตกรรมขั้นสมบูรณ์

11 7. นวัตกรรมทางการศึกษาทสี่ าคญั ของไทยในปัจจบุ นั นวัตกรรม เป็นความคิดหรือการกระทาใหม่ๆ ซึ่งนักวิชาการหรือผู้เชี่ยวชาญในแต่ละวงการจะมีการ คิดและทาสง่ิ ใหมอ่ ย่เู สมอ ดังน้นั นวตั กรรมจึงเปน็ ส่ิงที่เกิดข้ึนใหม่ได้เรื่อยๆ ส่ิงใดท่ีคิดและทามานานแล้วก็ถือ ว่าหมดความเป็นนวัตกรรมไป โดยจะมีส่ิงใหม่มาแทน ในวงการศึกษาปัจจุบัน มีสิ่งที่เรียกว่า นวัตกรรมทาง การศกึ ษา หรอื นวัตกรรมการเรียนการสอน อย่เู ปน็ จานวนมาก บางอย่างเกิดขึ้นใหม่ บางอย่างมีการใช้มา หลายสบิ ปีแล้ว แต่กย็ ังคงถือวา่ เปน็ นวตั กรรม เนือ่ งจากนวตั กรรมเหล่าน้ันยังไมแ่ พร่หลายเป็นทร่ี ู้จกั ทว่ั ไปในวง การศกึ ษา ประเภทของการใช้นวัตกรรมการศกึ ษาในประเทศไทย ประเภทของนวัตกรรมการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้มีบทบัญญัติท่ี เก่ียวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษาไว้หลายมาตรา มาตราท่ีสาคัญ คือ มาตรา 67 รัฐ ต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา รวมท้ังการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพ่ือให้เกิดการใช้ท่ีคุ้มค่าแล ะเหมาะสมกับ กระบวนการเรยี นรู้ของคนไทยและในมาตรา 22 \"การจดั การศกึ ษาตอ้ งยดึ หลักว่าผเู้ รยี นทุกคนมีความสามารถ เรยี นรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตนเองได้และถือว่า ผ้เู รยี นมีความสาคัญทีส่ ดุ กระบวนการจดั การศกึ ษาตอ้ งส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม ตามศักยภาพ\" การดาเนินการปฏิรูปการศึกษาให้สาเร็จได้ตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ดงั กล่าว จาเป็นต้องทาการศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาใหม่ๆ ที่จะเข้ามาช่วยแก้ไข ปญั หาทางการศึกษาทั้งในรูปแบบของการศึกษาวจิ ยั การทดลองและการประเมินผลนวัตกรรมหรือเทคโนโลยี ที่นามาใช้ว่ามีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด นวัตกรรมที่นามาใช้ท้ังท่ีผ่านมาแล้วและท่ีจะมีในอนาคตมี หลายประเภทข้ึนอยู่กบั การประยกุ ต์ใช้นวัตกรรมในด้านตา่ งๆ ในทน่ี ี้จะขอกล่าวคือ นวัตกรรม 5 ประเภท คือ 1. นวตั กรรมทางด้านหลกั สูตร นวตั กรรมทางดา้ นหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมในท้องถ่ินและตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากข้ึน เน่ืองจากหลักสูตรจะต้องมีการ เปล่ียนแปลงอยู่เสมอเพ่ือให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และของโลก นอกจากนกี้ ารพฒั นาหลกั สูตรยงั มีความจาเป็นทจี่ ะต้องอยู่บนฐานของแนวคิดทฤษฎีและปรัชญา ทางการจัดการสัมมนาอีกด้วย การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการดังกล่าวต้องอาศัยแนวคิดและ วิธีการใหม่ๆ ท่ีเป็นนวัตกรรมการศึกษาเข้ามาช่วยเหลือจัดการให้เป็นไปในทิศทางท่ีต้องการ นวัตกรรม ทางด้านหลกั สูตรในประเทศไทย ได้แก่ การพฒั นาหลกั สตู รดังต่อไปน้ี 1.หลักสูตรบูรณาการ เป็นการบูรณาการส่วนประกอบของหลักสูตรเข้าด้วยกันทางด้าน วทิ ยาการในสาขาต่างๆ การศกึ ษาทางด้านจริยธรรมและสังคม โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนดีสามารถใช้ประโยชน์ จากองคค์ วามรู้ในสาขาต่างๆ ให้สอดคล้องกบั สภาพสงั คมอยา่ งมจี รยิ ธรรม 2.หลักสูตรรายบุคคล เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการศึกษาตามอัตภาพ เพื่อ

12 ตอบสนองแนวความคดิ ในการจัดการศึกษารายบุคคล ซึ่งจะต้องออกแบบระบบเพ่ือรองรับความก้าวหน้าของ เทคโนโลยดี ้านตา่ งๆ 3.หลกั สตู รกิจกรรมและประสบการณ์ เปน็ หลักสตู รท่มี ุ่งเนน้ กระบวนการในการจัดกิจกรรม และประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพื่อนาไปสู่ความสาเร็จ เช่น กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในบทเรียน ประสบการณก์ ารเรียนรู้จากการสบื คน้ ด้วยตนเอง เปน็ ตน้ 4.หลักสูตรท้องถิ่น เป็นการพัฒนาหลักสูตรท่ีต้องการกระจายการบริหารจัดการออกสู่ ทอ้ งถ่ิน เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกับศลิ ปวฒั นธรรมสิง่ แวดลอ้ มและความเป็นอยู่ของประชาชนท่ีมีอยู่ในแต่ละท้องถิ่น แทนที่หลกั สูตรในแบบเดิมทใ่ี ช้วธิ ีการรวมศูนยก์ ารพัฒนาอยใู่ นสว่ นกลาง 2.นวตั กรรมการเรยี นการสอน เป็นการใช้วิธรี ะบบในการปรบั ปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนอง การเรียนรายบุคคล การสอนแบบผูเ้ รียนเปน็ ศนู ย์กลาง การเรยี นแบบมีส่วนรว่ ม การเรยี นรแู้ บบแก้ปัญหา การ พัฒนาวิธีสอนจาเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนุนการเรียนการสอน ตัวอยา่ งนวตั กรรมท่ใี ช้ในการเรียนการสอน ได้แก่ การสอนแบบศนู ยก์ ารเรยี น การใชก้ ระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การสอนแบบเรยี นรู้ร่วมกัน และการเรยี นผา่ นเครือขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ น็ต การวจิ ยั ในชน้ั เรียน ฯลฯ 3.นวัตกรรมสือ่ การสอน เน่ืองจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี โทรคมนาคม ทาให้นักการศึกษาพยายามนาศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่าน้ีมาใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการ สอนใหม่ๆ จานวนมากมาย ทง้ั การเรียนดว้ ยตนเองการเรยี นเป็นกลุ่มและการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนส่ือท่ี ใชเ้ พื่อสนับสนุนการฝกึ อบรม ผา่ นเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ตัวอย่าง นวัตกรรมส่อื การสอน ไดแ้ ก่ - คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI) - มัลติมเี ดยี (Multimedia) - การประชุมทางไกล (Teleconference) - ชดุ การสอน (Instructional Module) - วดี ีทัศนแ์ บบมีปฏสิ มั พนั ธ์ (Interactive Video) 4.นวตั กรรมทางดา้ นการประเมนิ ผล เป็นนวตั กรรมทใี่ ช้เป็นเคร่อื งมือเพอ่ื การวดั ผลและประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและทา ได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถงึ การวจิ ัยทางการศึกษา การวิจยั สถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มา สนบั สนุนการวดั ผล ประเมนิ ผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตวั อย่าง นวัตกรรมทางดา้ นการประเมนิ ผล ได้แก่ - การพฒั นาคลงั ขอ้ สอบ - การลงทะเบียนผ่านทางเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต

13 - การใช้บตั รสมาร์ทการ์ด เพ่ือการใชบ้ ริการของสถาบนั ศกึ ษา - การใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการตัดเกรด - ฯลฯ 5.นวัตกรรมการบรหิ ารจัดการ เป็นการใช้นวัตกรรมที่เก่ียวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพื่อการ ตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก นวัตกรรม การศึกษาที่นามาใช้ทางด้านการบริหารจะเก่ียวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลในหน่วยงานสถานศึกษา เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบุคลากร ในสถานศึกษา ด้านการเงิน บัญชี พสั ดุ และครภุ ัณฑ์ ฐานขอ้ มลู เหลา่ น้ีตอ้ งการออกระบบทส่ี มบรู ณ์มีความปลอดภยั ของข้อมูลสูง นอกจากนี้ยังมีความเก่ียวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย พระราชบัญญตั ิ ทเี่ กี่ยวกบั การจดั การศกึ ษา ซ่ึงจะตอ้ งมกี ารอบรม เกบ็ รักษาและออกแบบระบบการสืบค้นที่ดี พอซึง่ ผู้บรหิ ารสามารถสบื คน้ ข้อมลู มาใชง้ านได้ทนั ทีตลอดเวลาการใชน้ วัตกรรมแต่ละด้านอาจมีการผสมผสาน ท่ีซอ้ นทับกนั ในบางเร่อื ง ซ่งึ จาเปน็ ต้องมกี ารพฒั นาร่วมกนั ไปพรอ้ มๆ กันหลายด้าน การพัฒนาฐานข้อมูลอาจ ตอ้ งทาเปน็ กลมุ่ เพือ่ ให้สามารถนามาใช้รว่ มกันไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

14 นวตั กรรมทางการศึกษาต่างๆ ที่กลา่ วถึงกนั มากในปจั จุบนั E-learning ความหมายของ e-Learning คือ การเรยี นทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ หรือ e-Learning รปู แบบการเรียนการ สอน ซึ่งใช้การถ่ายทอดเนื้อหา(delivery methods) ผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณ ดาวเทยี ม และใช้รูปแบบการนาเสนอเนื้อหาสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ซ่ึงอาจอยู่ในรูปแบบการเรียนที่เรา คุ้นเคยกันมาพอสมควร เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(Computer-Assisted Instruction) การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) การเรยี นออนไลน์ (On-line Learning) การเรยี นทางไกลผ่านดาวเทียม หรืออาจ อย่ใู นลกั ษณะท่ียังไม่ค่อยเป็นท่ีแพร่หลายนัก เช่น การเรียนจากวิดีทัศน์ตามอัธยาศัย (Video On-Demand) เป็นตน้ อย่างไรก็ดี ในปจั จุบนั เม่อื กลา่ วถึง e-Learning คนส่วนใหญจ่ ะหมายเฉพาะถึง การเรียนเน้ือหาหรือ สารสนเทศซึ่งออกแบบมาสาหรับการสอนหรือการอบรม ซ่ึงใช้เทคโนโลยีของเว็บ (Web Technology) ใน การถา่ ยทอดเนอ้ื หา และเทคโนโลยรี ะบบการบรหิ ารจดั การการเรยี นรู้ (Learning Management System)ใน การบรหิ ารจัดการการเรยี นรู้ของผู้เรยี นและงานสอนด้านต่างๆ โดยผู้เรียนที่เรียนจาก e-Learning น้ีสามารถ ศึกษาเน้ือหาในลักษณะออนไลน์ นอกจากน้ี เนื้อหาสารสนเทศของ e-Learning จะถูกนาเสนอโดยอาศัย เทคโนโลยมี ลั ตมิ ีเดยี (Multimedia Technology) และเทคโนโลยีเชิงโต้ตอบ (Interactive Technology)จาก ความหมายทค่ี นสว่ นใหญน่ ยิ าม e-Learning นั้น จาเปน็ ต้องทาความเขา้ ใจใหช้ ัดเจนว่า e-Learningไม่ใช่เพียง แค่การสอนในลกั ษณะเดมิ ๆ และนาเอกสารการสอนมาแปลงให้อยู่ในรูปดิจิตัล และนาไปวางไว้บนเว็บ หรือ ระบบบริหารจัดการการเรยี นรูเ้ ทา่ นน้ั แต่ครอบคลุมถึง กระบวนการในการเรียนการสอน หรือการอบรมท่ีใช้ เครอ่ื งมือทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือให้เกิดความยืดหยุน่ ทางการเรียนรู้ (flexible learning) สนับสนุน การเรียนรู้ในลักษณะที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (learner-centered) และการเรียนในลักษณะตลอดชีวิต (life- long learning) ซึ่งอาศัยการเปลี่ยนแปลงด้านกระบวนทัศน์ (paradigm shift) ของทั้งกระบวนการในการ เรียนการสอนด้วย นอกจากนี้ e-Learning ไม่จาเป็นต้องเป็นการเรียนทางไกลเสมอ คณาจารย์สามารถ นาไปใชใ้ นลักษณะการผสมผสาน (blended) กบั การสอนในชัน้ เรยี นได้ ลกั ษณะสาคัญของ e-Learning (Feature of e-Learning) ลกั ษณะสาคญั ของ e-Learning ท่ดี ี ควรจะประกอบไปด้วยลกั ษณะสาคัญ 4 ประการ ดงั น้ี 1. ทุกเวลาทุกสถานที่ (Anywhere, Anytime) หมายถึง e-Learning ควรต้องช่วยขยายโอกาสใน การเข้าถงึ เนือ้ หาการเรยี นรขู้ องผู้เรียนได้จริง ในท่ีนีห้ มายรวมถงึ การที่ผู้เรียนสามารถเรียกดูเนื้อหาตามความ สะดวกของผเู้ รยี น เช่น ผู้เรียนมีการเข้าถงึ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชือ่ มตอ่ กับเครือขา่ ยไดอ้ ย่างยืดหย่นุ 2. มลั ติมีเดยี (Multimedia) หมายถึง e-Learning ควรตอ้ งมีการนาเสนอเนือ้ หาโดยใช้ประโยชน์จาก สือ่ ประสมเพ่ือช่วยในการประมวลผลสารสนเทศของผู้เรียนเพื่อให้เกิดความคงทนในการจดจาและ/หรือการ เรยี นรู้ได้ดขี ้ึน

15 3. การเช่ือมโยง (Non-linear) หมายถึง e-Learning ควรต้องมีการนาเสนอเนื้อหาในลักษณะท่ีไม่ เป็นเชิงเส้นตรง กล่าวคือ ผู้เรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหาตามความต้องการ โดย e-Learning จะต้องจัดหาการ เชื่อมโยงที่ยืดหยุน่ แก่ผู้เรียน นอกจากนี้ยังหมายถึงการออกแบบให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามจังหวะ(pace) การเรยี นของตนเองด้วย เช่น ผเู้ รยี นทเ่ี รยี นช้าสามารถเลือกเนอื้ หาที่ต้องการเรียนซ้าได้บ่อยครั้งผู้เรียนที่เรียน ดสี ามารถเลอื กทจี่ ะข้ามไปเรียนในเน้อื หาท่ตี ้องการไดโ้ ดยสะดวก 4. การโต้ตอบ (Interaction) หมายถึง e-Learning ควรต้องมีการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนโต้ตอบ(มี ปฏสิ ัมพันธ์) กบั เน้ือหา หรือกบั ผ้อู ืน่ ได้ กล่าวคือ 1) e-Learning ควรต้องมีการออกแบบกิจกรรมซึ่งผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับเน้ือหา (InteractiveActivities) รวมทั้งมีการจดั เตรียมแบบฝึกหัดและแบบทดสอบให้ผู้เรียนสามารถตรวจสอบความ เข้าใจดว้ ยตนเองได้ 2) e-Learning ควรต้องมกี ารจัดหาเคร่อื งมือในการใหช้ อ่ งทางแก่ผู้เรียนในการติดต่อสื่อสาร (Collaboration Tools) เพอ่ื การปรึกษา อภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็นกับผู้สอน วิทยากรผู้เช่ียวชาญ หรือเพอ่ื น ๆ ร่วมชั้นเรียนโดยในส่วนของการโต้ตอบนี้ จะต้องคานึงถึงการให้ผลป้อนกลับท่ีทันต่อเหตุการณ์ (ImmediateResponse) ซ่งึ อาจหมายถึง การท่ผี ้สู อนต้องเข้ามาตอบคาถามหรือให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่าง สม่าเสมอและทันเหตุการณ์ รวมถึง การที่ e-Learning ควรต้องมีการออกแบบให้มีการทดสอบ การวัดผล และการประเมินผล ซึง่ สามารถใหผ้ ลป้อนกลบั โดยทันทแี กผ่ ู้เรียน ไม่ว่าจะอยู่ในลักษณะของแบบทดสอบก่อน เรยี น (pre-test) หรอื แบบทดสอบหลงั เรียน (posttest) กต็ าม 1. เนื้อหา (Content) เน้ือหาเป็นองคป์ ระกอบสาคัญท่ีสุดสาหรับ e-Learning คุณภาพของการเรียนการสอน ของ e-Learningและการที่ผู้เรียนจะบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนในลักษณะน้ีหรือไม่อย่างไร ส่ิงสาคัญที่สุดก็ คอื เนอ้ื หาการเรียนซ่ึงผู้สอนได้จัดหาให้แก่ผู้เรียน ซ่ึงผู้เรียนมีหน้าท่ีในการใช้เวลาส่วนใหญ่ศึกษาเนื้อหาด้วย ตนเอง เพื่อทาการปรับเปลี่ยน (convert) เนื้อหาสารสนเทศที่ผู้สอนเตรียมไว้ให้เกิดเป็นความรู้ โดยผ่านการ คิดคน้ วเิ คราะหอ์ ย่างมีหลกั การและเหตุผลดว้ ยตวั ของผเู้ รยี นเอง คาว่า “เนอื้ หา” ในองค์ประกอบแรกของ e-

16 Learning นี้ ไม่ไดจ้ ากดั เฉพาะสื่อการสอน และ/หรอื คอร์สแวร์ เทา่ นน้ั แต่ยงั หมายถึงส่วนประกอบสาคัญอ่ืน ๆ ท่ี e-Learning จาเป็นจะต้องมีเพ่ือให้เนื้อหามีความสมบูรณ์ เช่น คาแนะนาการเรียน ประกาศสาคัญต่าง 2. ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System) องค์ประกอบท่ีสาคัญมากเช่นกัน สาหรับ e-Learning ได้แก่ ระบบบรหิ ารจัดการการเรียนรู้ ซึง่ เป็นเสมือนระบบที่รวบรวมเคร่ืองมือซึ่งออกแบบ ไว้เพื่อให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการจัดการกับการเรียนการสอนออนไลน์น่ันเอง ซ่ึงผู้ใช้ในที่นี้ แบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ผู้สอน (instructors) ผู้เรียน (students) ผู้ช่วยสอน(course manager) และผู้ที่จะเข้ามาช่วย ผู้สอนในการบริหารจัดการด้านเทคนิคต่าง ๆ (network administrator)ซึ่งเคร่ืองมือและระดับของสิทธิใน การเขา้ ใชท้ ีจ่ ัดหาไว้ให้ก็จะมีความแตกต่างกันไปตามแต่การใช้งานของแต่ละกลุ่ม ตามปรกติแล้ว เคร่ืองมือท่ี ระบบบรหิ ารจดั การการเรียนรู้ต้องจัดหาไว้ให้กับผู้ใช้ ได้แก่ พื้นท่ีและเคร่ืองมือสาหรับการช่วยผู้เรียนในการ เตรียมเนอื้ หาบทเรยี น พน้ื ทแี่ ละเคร่ืองมือสาหรบั การทาแบบทดสอบ แบบสอบถาม การจัดการกับแฟ้มข้อมูล ตา่ ง ๆ นอกจากนร้ี ะบบบรหิ ารจัดการการเรียนรู้ท่ีสมบูรณ์จะจดั หาเคร่ืองมือในการติดต่อสื่อสารไว้สาหรับผู้ใช้ ระบบไม่ว่าจะเป็นในลักษณะของ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) เว็บบอร์ด(Web Board) หรือ แช็ท (Chat) บางระบบกย็ ังจัดหาองคป์ ระกอบพิเศษอ่ืน ๆ เพ่ืออานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้อีกมากมาย เช่น การ จัดให้ผู้ใช้สามารถเข้าดูคะแนนการทดสอบ ดูสถิติการเข้าใช้งานในระบบ การอนุญาตให้ผู้ใช้สร้างตารางการ เรยี น ปฏิทินการเรียน เป็นต้น

17 3. โหมดการติดต่อสื่อสาร (Modes of Communication) องค์ประกอบสาคัญของ e-Learning ที่ขาดไม่ได้ อีกประการหน่ึง ก็คือ การจัดให้ผู้เรียนสามารถติดต่อส่ือสารกับผู้สอน วิทยากร ผู้เชี่ยวชาญอื่น ๆ รวมทั้ง ผู้เรียนด้วยกัน ในลักษณะท่ีหลากหลาย และสะดวกต่อผู้ใช้ กล่าวคือ มีเครื่องมือที่จัดหาไว้ให้ผู้เรียนใช้ได้ มากกวา่ 1 รปู แบบ รวมทงั้ เคร่อื งมือนั้นจะตอ้ งมีความสะดวกในการใช้งาน (user-friendly) ด้วย ซึ่งเครื่องมือ ที่ e-Learning ควรจัดหาใหผ้ เู้ รยี น ไดแ้ ก่ 3.1 การประชุมทางคอมพิวเตอร์ ในท่ีน้ีหมายถึง การประชุมทางคอมพิวเตอร์ท้ังในลักษณะของการ ตดิ ต่อส่อื สารแบบตา่ งเวลา(Asynchronous) เชน่ การแลกเปลย่ี นขอ้ ความผา่ นทางกระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ท่ีรู้จักกันในช่ือของเว็บบอร์ด (Web Board) เป็นต้น หรือในลักษณะของการติดต่อสื่อสารแบบเวลา เดียวกัน(Synchronous) เช่น การสนทนาออนไลน์ หรือท่ีคุ้นเคยกันดีในชื่อของ แช็ท (Chat) และ ICQ หรือ ในบางระบบ อาจจัดให้มีการถ่ายทอดสัญญาณภาพและเสียงสด (Live Broadcast / Videoconference) ผ่านทางเว็บ เป็นต้น ในการนาไปใช้ดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอนสามารถเปิดสัมมนาในหัวข้อที่ เกี่ยวข้องกับเน้ือหาในคอร์ส ซึ่งอาจอยู่ในรูปของการบรรยาย การสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญ การเปิดอภิปราย ออนไลน์ เป็นตน้ 3.2 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นองค์ประกอบสาคัญเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถ ติดต่อสื่อสารกับผู้สอนหรือผู้เรียนอื่น ๆ ในลักษณะรายบุคคล การส่งงานและผลป้อนกลับให้ผู้เรียน ผู้สอน สามารถให้คาแนะนาปรึกษาแก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ทั้งนี้เพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการ เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ผู้สอนสามารถใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ในการให้ความคิดเห็น และผลป้อนกลับทที่ ันต่อเหตุการณ์ 4. แบบฝึกหัด/ แบบทดสอบ องค์ประกอบสุดท้ายของ e-Learning แต่ไม่ได้มีความสาคัญน้อยที่สุดแต่อย่างใด ได้แก่ การจัด ใหผ้ เู้ รยี นไดม้ ีโอกาสในการโต้ตอบกับเนอ้ื หาในรูปแบบของการทาแบบฝกึ หัด และแบบทดสอบความรู้ 4.1 การจดั ใหม้ ีแบบฝกึ หดั สาหรบั ผูเ้ รยี น เน้อื หาท่นี าเสนอจาเปน็ ตอ้ งมีการจดั หาแบบฝึกหัดสาหรับผู้เรียนเพ่ือ ตรวจสอบความเข้าใจไว้ดว้ ยเสมอ ท้งั นเ้ี พราะ e-Learning เป็นระบบการเรียนการสอนซ่ึงเน้นการเรียนรู้ด้วย ตนเองของผู้เรียนเปน็ สาคัญ ดังน้นั ผ้เู รยี นจึงจาเป็นอย่างย่ิงทจี่ ะต้องมีแบบฝึกหัดเพ่อื การตรวจสอบว่าตนเข้าใจ และรอบรใู้ นเรือ่ งทศ่ี ึกษาด้วยตนเองมาแลว้ เปน็ อย่างดหี รือไม่ อย่างไร การทาแบบฝึกหัดจะทาให้ผู้เรียนทราบ ไดว้ ่าตนนนั้ พร้อมสาหรับการทดสอบ การประเมนิ ผลแลว้ หรอื ไม่ 4.2 การจัดให้มีแบบทดสอบผู้เรียน แบบทดสอบสามารถอยู่ในรูปของแบบทดสอบก่อนเรียน ระหว่างเรียน หรือหลังเรียนก็ได้ สาหรับ e-Learning แล้ว ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ทาให้ผู้สอนสามารถสนับสนุนการ ออกขอ้ สอบของผู้สอนไดห้ ลากหลายลักษณะ กล่าวคือ ผสู้ อนสามารถออกแบบการประเมินผลในลักษณะของ อัตนัย ปรนัย ถูกผิด การจับคู่ ฯลฯ นอกจากน้ียังทาให้ผู้สอนมีความสะดวกสบายในการสอบเพราะผู้สอน สามารถที่จะจัดทาข้อสอบในลักษณะคลังข้อสอบไว้เพ่ือเลือกในการนากลับมาใช้ หรือปรับปรุงแก้ไขใหม่ได้ อย่างง่ายดาย นอกจากนี้ในการคานวณและตัดเกรด ระบบ e-Learning ยังสามารถช่วยให้การประเมินผล ผู้เรียนเปน็ ไปได้อย่างสะดวก เน่ืองจากระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ จะช่วยทาให้การคิดคะแนนผู้เรียน การ ตัดเกรดผู้เรียนเป็นเร่ืองง่ายข้ึนเพราะระบบจะอนุญาตให้ผู้สอนเลือกได้ว่าต้องการที่จะประเมินผลผู้ เรียนใน

18 ลักษณะใด เชน่ อิงกล่มุ องิ เกณฑ์ หรอื ใช้สถิตใิ นการคดิ คานวณในลกั ษณะใด เช่น การใช้ค่าเฉล่ีย ค่า T-Score เปน็ ตน้ นอกจากนีย้ งั สามารถท่ีจะแสดงผลในรปู ของกราฟไดอ้ ีกดว้ ย ข้อได้เปรยี บ และขอ้ จากัดของ e-Learning (advantage of e-Learning) ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับจากการนา e-Learning ไปใช้ในการเรยี นการสอนมี ดังนี้ 1. e-Learning ช่วยให้การจัดการเรยี นการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะการถ่ายทอดเนื้อหา ผ่านทางมัลติมีเดียสามารถทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีกว่าการเรียนจากสื่อข้อความเพียงอย่างเดียว หรือ จากการสอนภายในห้องเรียนของผู้สอนซึ่งเน้นการบรรยายในลักษณะ Chalk and Talk แต่เพียงอย่างเดียว โดยไม่ใช้สื่อใด ๆ ซ่ึงเม่ือเปรียบเทียบกับ e-Learning ที่ได้รับการออกแบบและผลิตมาอย่างมีระบบ e- Learning สามารถช่วยทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า ในเวลาท่ีเร็วกว่า นอกจากนี้ยังเปน็ การสนบั สนุนให้เกดิ การเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางได้เป็นอย่างดี เพราะผู้สอนจะสามารถ ใช้ e-Learning ในการจัดการเรยี นการสอนท่ลี ดการบรรยาย (lecture)ได้ และสามารถใช้ e-Learning ในการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง (autonomous learning) ได้ดยี ่งิ ข้ึน 2. e-Learning ช่วยทาให้ผู้สอนสามารถตรวจสอบความก้าวหน้าพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนได้ อย่างละเอียดและตลอดเวลา เนื่องจาก e-Learning มีการจัดหาเคร่ืองมือที่สามารถทาให้ผู้สอนติดตามการ เรยี นของผเู้ รียนได้ 3. e-Learning ช่วยทาให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได้ เนื่องจากการนาเอา เทคโนโลยี Hypermedia มาประยุกต์ใช้ ซึ่งมีลักษณะการเช่ือมโยงข้อมูลไม่ว่าจะเป็นในรูปของข้อความ ภาพน่ิง เสียงกราฟิก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ที่เก่ียวเนื่องกันเข้าไว้ด้วยกันในลักษณะที่ไม่เป็นเชิงเส้น (Non- Linear) ทาให้ Hypermedia สามารถนาเสนอเนื้อหาในรูปแบบใยแมงมุมได้ ดังนั้นผู้เรียนจึงสามารถเข้าถึง ข้อมูลใดกอ่ นหรือหลงั กไ็ ด้ โดยไมต่ ้องเรยี งตามลาดบั และเกิดความสะดวกในการเขา้ ถึงของผู้เรียนอีกดว้ ย 4. e-Learning ช่วยทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามจังหวะของตน (Self-paced Learning) เนื่องจากการนาเสนอเนอื้ หาในรูปแบบของ Hypermedia เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนรู้ของ ตนในด้านของลาดับการเรียนได้ (Sequence) ตามพื้นฐานความรู้ ความถนัด และความสนใจของตน นอกจากน้ีผู้เรียนยังสามารถ ทดสอบทักษะตนเองก่อนเรียนได้ทาให้สามารถชี้ชัดจุดอ่อนของตน และเลือก เนื้อหาให้เข้ากับรูปแบบการเรยี นของตัวเอง เช่นการเลอื กเรียนเน้อื หาเฉพาะบางสว่ นที่ต้องการทบทวนได้ โดย ไมต่ ้องเรยี นในส่วนท่ีเขา้ ใจแล้ว ซึ่งถือวา่ ผเู้ รียนไดร้ ับอิสระในการควบคุมการเรยี นของตนเอง จึงทาให้ผู้เรียนได้ เรยี นรูต้ ามจังหวะของตนเอง 5. e-Learning ชว่ ยทาใหเ้ กดิ ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งผเู้ รยี นกับครูผูส้ อน และกับเพื่อน ๆ ได้ เนื่องจาก e- Learning มีเคร่ืองมือต่าง ๆ มากมาย เช่น Chat Room, Web Board, E-mail เป็นต้น ที่เอ้ือต่อการโต้ตอบ (Interaction) ที่หลากหลาย และไม่จากัดว่าจะต้องอยู่ในสถาบันการศึกษาเดียวกัน (Global Choice) นอกจากนนั้ e-Learning ทีอ่ อกแบบมาเปน็ อย่างดจี ะเอ้อื ให้เกิดปฏสิ ัมพนั ธ์ระหว่างผู้เรียนกับเน้ือหาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ เชน่ การออกแบบเนือ้ หาในลักษณะเกม หรอื การจาลอง เป็นต้น

19 ข้อจากัด 1. ผสู้ อนทน่ี า e-Learning ไปใช้ในลกั ษณะของส่ือเสริม โดยไม่มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอน เลย กล่าวคือ ผูส้ อนยังคงใชแ้ ตว่ ธิ กี ารบรรยายในทุกเนื้อหา และส่ังให้ผู้เรียนไปทบทวนจาก e-Learning หาก e-Learning ไมไ่ ดอ้ อกแบบใหจ้ ูงใจผ้เู รยี นแล้ว ผ้เู รยี นคงใชอ้ ยู่พักเดยี วก็เลกิ ไปเพราะไม่มีแรงจูงใจใด ๆ ในการ ใช้ e-Learning กจ็ ะกลายเปน็ การลงทนุ ท่ีไม่คมุ้ คา่ แต่อย่างใด 2. ผู้สอนจะต้องเปล่ียนบทบาทจากการเป็นผู้ให้ (impart) เนื้อหาแก่ผู้เรียน มาเป็น (facilitator) ผ้ชู ว่ ยเหลอื และให้คาแนะนาต่าง ๆ แก่ผู้เรียน พร้อมไปกับการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง จาก e-Learning ท้งั นี้ หมายรวมถึง การท่ผี ู้สอนควรมีความพร้อมทางด้านทักษะคอมพิวเตอร์และรับผิดชอบ ตอ่ การสอนมคี วามใส่ใจกบั ผเู้ รยี นโดยไม่ท้ิงผูเ้ รยี น 3. การลงทุนในด้านของ e-Learning ตอ้ งครอบคลุมถึงการจดั การให้ผู้สอนและผู้เรียนสามารถเข้าถึง เน้ือหาและการติดต่อส่ือสารออนไลน์ได้สะดวก สาหรับ e-Learning แล้ว ผู้สอนหรือผู้เรียนที่ใช้รูปแบบการ เรียนในลักษณะนี้จะต้องมีส่ิงอานวยความสะดวก (facilities) ต่าง ๆ ในการเรียนที่พร้อมเพรียงและมี ประสิทธิภาพ เช่น ผู้สอนและผู้เรียนสามารถติดต่อส่ือสารกับผู้อื่นได้ และสามารถเรียกดูเน้ือหาโดยเฉพาะ อย่างยิ่งในลกั ษณะมลั ติมีเดีย ได้อย่างครบถ้วน ด้วยความเร็วพอสมควร เพราะหากปราศจากข้อได้เปรียบใน การติดต่อส่ือสารและการเข้าถึงเนื้อหาได้สะดวก รวมทั้งข้อได้เปรียบส่ืออ่ืน ๆ ในลักษณะในการนาเสนอ เนือ้ หา เช่น มัลติมเี ดยี แล้วน้นั ผู้เรียนและผูส้ อนก็อาจไมเ่ ห็นความจาเปน็ ใด ๆ ที่ต้องใช้ e-Learning ระดบั ของสอื่ สาหรับ e-Learning (Level of media for e-Learning) สาหรบั e-Learning แล้ว การถ่ายทอดเนอื้ หาสามารถแบ่งไดเ้ ปน็ 3 ลกั ษณะดว้ ยกัน กลา่ วคอื 1. ระดับเน้นข้อความออนไลน์ (Text Online) หมายถึง เนื้อหาของ e-Learning ในระดับน้ีจะอยู่ใน รูปของข้อความเป็นหลัก e-Learning ในลักษณะนี้จะเหมือนกับการสอนบนเว็บ (WBI) ซึ่งเน้นเนื้อหาท่ีเป็น ข้อความ ตัวอักษรเป็นหลัก ซ่ึงมีข้อดี ก็คือการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการผลิตเน้ือหาและการบริหาร จัดการการเรยี นรู้

20 2. ระดบั รายวชิ าออนไลนเ์ ชิงโต้ตอบและประหยัด (Low Cost Interactive Online Course)หมายถึง เน้ือหา ของ e-Learning ในระดับนี้จะอยู่ในรูปของตัวอักษร ภาพ เสียง และวิดีทัศน์ ท่ีผลิตขึ้นมาอย่างง่าย ๆ ประกอบการเรียนการสอน e-Learning ในระดับหน่ึงและสองน้ี ควรจะต้องมีการพัฒนา LMS ท่ีดี เพ่ือช่วย ผ้ใู ชใ้ นการสรา้ งและปรับเน้อื หาใหท้ ันสมยั ไดอ้ ย่างสะดวกดว้ ยตนเอง 3. ระดับรายวิชาออนไลน์คุณภาพสูง (High Quality Online Course) หมายถึง เน้ือหาของ e- Learning ในระดับนี้จะอยู่ในรูปของมัลติมีเดียท่ีมีลักษณะมืออาชีพ กล่าวคือ การผลิตต้องใช้ทีมงานในการ ผลติ ท่ีประกอบดว้ ย ผู้เชี่ยวชาญเนือ้ หา (content experts) ผู้เช่ียวชาญการออกแบบการสอน (instructional designers) และ ผ้เู ช่ียวชาญการผลิตมลั ตมิ เี ดยี (multimedia experts) ระดับของการนา e-Learning ไปใชใ้ นการเรียนการสอน การนา e-Learning ไปใช้ในการเรยี นการสอน สามารถทาได้ 3 ระดบั ดังนี้ 1. ใช้ e-Learning เปน็ ส่ือเสริม (Supplementary) หมายถึงการนา e-Learning ไปใช้ในลักษณะสื่อ เสรมิ กล่าวคอื นอกจากเนอื้ หาท่ปี รากฏในลกั ษณะ e-Learning แลว้ ผ้เู รยี นยงั สามารถศกึ ษาเนอ้ื หาเดียวกันน้ี ในลกั ษณะอืน่ ๆ เช่น จากเอกสาร(ชที ) ประกอบการสอน จากวิดีทัศน์ (Videotape) ฯลฯ การใช้ e-Learning ในลักษณะน้ีเท่ากับว่าผู้สอนเพียงต้องการใช้ e-Learning เป็นอีกหน่ึงทางเลือกสาหรับผู้เรียนในการเข้าถึง เน้ือหาเพอ่ื ใหป้ ระสบการณพ์ เิ ศษเพ่ิมเตมิ แก่ผู้เรียนเทา่ น้นั 2. ใช้ e-Learning เป็นส่ือเติม (Complementary) หมายถึงการนา e-Learning ไปใช้ในลักษณะ เพิ่มเติมจากวธิ กี ารสอนในลกั ษณะอนื่ ๆ เช่น นอกจากการบรรยายในห้องเรียนแล้ว ผู้สอนยังออกแบบเนื้อหา ให้ผู้เรียนเข้าไปศึกษาเน้ือหาเพิ่มเติมจาก e-Learning โดยเนื้อหาท่ีผู้เรียนเรียนจาก e-Learning ผู้สอนไม่ จาเป็นต้องสอนซ้าอีก แต่สามารถใช้เวลาในชั้นเรียนในการอธิบายในเนื้อหาท่ีเข้าใจได้ยาก ค่อนข้างซับซ้อน หรือเปน็ คาถามท่ีมีความเข้าใจผดิ บอ่ ย ๆ นอกจากนี้ ยังสามารถใช้เวลาในการทากิจกรรมทเี่ น้นให้ผู้เรียนได้เกิด การคิดวเิ คราะห์แทนได้ ในความคดิ ของผู้เขียนแล้วในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ของเรา เม่ือได้มีการลงทุนในการ นา e-Learning ไปใช้กับการเรียนการสอนแล้วอย่างน้อยควรตั้งวัตถุประสงค์ในลักษณะของส่ือเติม (Complementary) มากกว่าแค่เพียงเป็นส่ือเสริม(Supplementary) เพ่ือให้เกิดความคุ้มทุน นอกจากน้ีอาจ ยงั ไม่เหมาะสมทจ่ี ะใช้ในลักษณะแทนที่ผู้สอน (Replacement) ตัวอย่างการใช้ในลักษณะส่ือเติม เช่น ผู้สอน มอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาเน้ือหาด้วยตนเองจาก e-Learning ในวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่งก่อนหรือ หลังการเขา้ ชั้นเรียน รวมทั้ง ให้กาหนดกิจกรรมที่ทดสอบความเข้าใจของผู้เรียนในเนื้อหาดังกล่าวใน session การเรียนตามปรกติ เป็นต้น ท้ังน้ีเพ่ือให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียนของเรา ซึ่งยังต้องการคาแนะนาจาก ครผู ู้สอน รวมทง้ั การทผี่ ูเ้ รยี นส่วนใหญ่ยงั ขาดการปลูกฝังให้มีความใฝ่ร้โู ดยธรรมชาติ 3. ใช้ e-Learning เปน็ ส่อื หลัก (Comprehensive Replacement) หมายถึงการนา e-Learning ไป ใช้ในลักษณะแทนทีก่ ารบรรยายในหอ้ งเรยี น ผู้เรียนจะต้องศกึ ษาเนือ้ หาทั้งหมดออนไลน์ และโต้ตอบกับเพื่อน และผู้เรียนอ่ืน ๆ ในชั้นเรียนผ่านทางเคร่ืองมือติดต่อส่ือสารต่าง ๆ ที่ e- Learning จัดเตรียมไว้ ในปัจจุบัน แนวคิดเกยี่ วกบั การนา e-Learning ไปใชใ้ นตา่ งประเทศจะอยู่ในลักษณะlearning through technology ซึ่ง

21 หมายถงึ การเรยี นรโู้ ดยมุ่งเน้นการเรียนในลักษณะมีส่วนร่วมของผู้เก่ียวข้องไม่ว่าจะเป็น ผู้สอน ผู้เรียน และ ผูเ้ ช่ยี วชาญอืน่ ๆ (Collaborative Learning) โดยอาศัยเทคโนโลยีในการนาเสนอเน้ือหา และกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งต้องการการโต้ตอบผ่านเครื่องมือส่ือสารตลอด โดยไม่เน้นทางด้านของการเรียนรู้รายบุคคลผ่านสื่อ (courseware) มากนัก ในขณะท่ีในประเทศไทยการใช้ e-Learning ในลักษณะส่ือหลักเช่นเดียวกับ ตา่ งประเทศนน้ั จะอยู่ในวงจากัด แตก่ ารใช้ส่วนใหญ่จะยังคงเป็นในลักษณะของ learning with technology ซึ่งหมายถงึ การใช้ e-Learning เปน็ เสมือนเครื่องมือทางเลือกเพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดความกระตือรือร้น สนุกสนาน พรอ้ มไปกบั การเรยี นรู้ในชนั้ เรียน m-Learning m-Learningหรือ Mobile-Learning หลกั การก็คือทาให้ผู้เรียนสามารถที่จะนาเอาบทเรียนมาวางไว้ บนมือถือและเรียกดูได้ตลอดเวลาทุกท่ี พร้อมท้ัง สามารถที่จะรับส่งข้อมูลได้เมื่อจาเป็นและมีสัญญาณจาก เครือข่ายโทรคมนาคม นอกจากนั้น จะต้องสามารถทางานได้ทั้งสองทาง เปลี่ยนแปลงบทเรียนส่งการบ้าน หรือวเิ คราะห์คะแนนจาก แบบฝึกหัดได้เช่นกัน การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning) การเรียนการ สอนท่ีอาศัยส่ือหลายๆชนิดผสมผสานกัน ต้ังแต่ด้านเทคโนโลยี กิจกรรมการเรียนการ สอน และเหตุการณ์ท่ี เหมาะสมเพื่อสรา้ งรูปแบบการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมสาหรับ กลุ่มเป้าหมาย Global learning บทเรียนใน รูปแบบของการผสมผสานระหว่างวิดีโอ เสียง ภาพเคล่ือนไหว ทาให้ น่าสนใจและง่ายต่อการทาความเข้าใจ เป็นส่ือการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความต้องการและวิถีชีวิต ระบบ Online Learning เป็นการเรียนรู้ด้วย ตนเองผ่านเทคโนโลยี Internet ซ่ึงจะนาเสนอ บทเรียน ในรูปแบบของการผสมผสานระหว่างวิดีโอ เสียง ภาพเคลือ่ นไหว และตัวอกั ษร ทาให้ บทเรียน มีความนา่ สนใจ และงา่ ย ต่อการทาความเขา้ ใจ เน่ืองจากผู้เรียน Online Learning สามารถเรียนรู้ทุกเร่ืองราวได้ทุกที่ทุกเวลา จึงทาให้ Online Learning เป็นสื่อการเรียนรู้ ออนไลน์ สมบูรณ์แบบที่สอดคล้องกับ ความต้องการและวิถีชีวิต Mentored learning บทบาทของผู้สอนใน E-Learning จะเปลี่ยนไปเป็นผู้ให้คาแนะนา (Guide) เป็นผู้ฝึก (Coach) เป็นผู้อานวยความสะดวก (Facilitator) และเป็นพี่เลี้ยง (Mentor) ต่อกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ในขณะท่ีบทบาทของผู้เรียนจะ เปล่ยี นแปลง ความหมายของ M – Learning คือ การให้คาจากัดความของ Mobile Learning สามารถแยก พจิ ารณาไดเ้ ป็น 2 ส่วน จากราก ศพั ท์ที่นามาประกอบกัน คอื 1. Mobile (Devices) หมายถือ อปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ หรือ โทรศัพท์มือถือ และเครื่องเล่น หรือแสดง ภาพทพ่ี กพาติดตัวไปได้ 2. Learning หมายถึงการเรียนรู้ เป็นการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมอันเน่ืองมาจากบุคคลปะทะกับ สง่ิ แวดล้อมจึงเกดิ ประสบการณ์ การเรียนรูเ้ กดิ ข้นึ ได้เมื่อมีการแสวงหาความรู้ การพฒั นาความรู้ ความสามารถ ของบุคคลให้มีประสิทธิภาพดีข้ึน รวมไปถึงกระบวนการสร้างความเข้าใจ และ ถ่ายทอดประสบการณ์ที่เป็น ประโยชนต์ อ่ บุคคล เมื่อพิจารณาจากความหมายของคาท้ังสองแล้วจะพบว่า Learning นั่นคือแก่นของM - learning

22 เพราะเป็นการใช้เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ซ่ึงก็คล้ายกับ E – Learning ที่เป็นการใช้ เครอื ข่ายอนิ เทอร์เน็ตเพือ่ ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ นอกจากนม้ี ผี ูใ้ ช้คานิยามของ M - Learning ดังต่อไปน้ี ริว (Ryu, 2007) หัวหน้าศูนย์โมบายคอมพิวติ้ง (Centre for Mobile Computing) ท่ี มหาวิทยาลยั แมสซ่ี เมอื งโอค๊ แลนด์ ประเทศนวิ ซีแลนด์ ระบุว่า M- learning คือกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีเกิดข้ึน เมือ่ ผูเ้ รยี นอยรู่ ะหวา่ งการเดินทาง ณ ทใ่ี ดกต็ าม และเม่ือใดกต็ าม เก็ดส์ (Geddes, 2006) ก็ให้ความหมายว่า M- learning คือการได้มาซึ่งความรู้และทักษะผ่านทาง เทคโนโลยีของเคร่ืองประเภทพกพา ณ ท่ีใดก็ตาม และเมื่อใดก็ตาม ซึ่งส่งผลเกิดการ เปล่ียนแปลงพฤติกรรม วัตสัน และไวท์(Watson & White, 2006) ผู้เขียนรายงานเร่ือง M- learning ในการศึกษา (mLearning in Education) เน้นวา่ M- learning หมายถึงการรวมกันของ 2 P คือ เป็นการเรียนจาก เคร่ือง ส่วนตัว (Personal) และเป็นการเรียนจากเคร่ืองที่พกพาได้ (Portable) การที่เรียนแบบส่วนตัว นั้นผู้เรียน สามารถเลือกเรยี นในหัวขอ้ ที่ต้องการ และการทเี่ รยี นจากเครื่องทพ่ี กพาได้นั้นก่อให้เกิด โอกาสของการเรียนรู้ ได้ ซ่ึงเครื่องแบบ Personal Digital Assistant (PDA) และโทรศัพท์มือถือน้ัน เป็นเคร่ืองท่ีใช้สาหรับ M- learning มากทีส่ ุด การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนซึง่ สามารถจดั เปน็ ประเภทของอปุ กรณ์คอมพิวเตอรแ์ บบพกพาได้ 3 กลุ่ม ใหญ่ หรือจะเรียกว่า 3Ps 1. PDAs (Personal Digital Assistant) คือคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็กหรือขนาด ประมาณฝ่า มือ ที่รู้จักกันทั่วไปได้แก่ Pocket PC กับ Palm เคร่ืองมือส่ือสารในกลุ่มน้ียังรวมถึง PDA Phone ซ่ึงเป็น เครอ่ื ง PDA ทมี่ โี ทรศัพทใ์ นตัว สามารถใชง้ านการควบคุมดว้ ย Stylus เหมอื นกบั PDA ทกุ ประการ นอกจากนี้ ยงั หมายรวมถึงเครือ่ งคอมพิวเตอรข์ นาดเลก็ อ่ืนๆ เชน่ lap top, Note book และ Tablet PC อีกดว้ ย 2. Smart Phones คือโทรศพั ทม์ ือถือ ที่บรรจเุ อาหนา้ ทข่ี อง PDA เข้าไปด้วยเพียงแต่ไม่มี Stylus แต่ สามารถลงโปรแกรมเพิ่มเติมเหมือนกับ PDA และ PDA phone ได้ ข้อดีของอุปกรณ์กลุ่ม น้ีคือมีขนาดเล็ก พกพาสะดวกประหยัดไฟ และราคาไม่แพงมากนัก คาว่าโทรศัพท์มือถือ ตรงกับ ภาษาอังกฤษ ว่า hand phone ซ่ึงใช้คานี้แพร่หลายใน Asia Pacific ส่วนในอเมริกา นิยมเรียกว่า Cell Phone ซ่ึงย่อมาจาก Cellular telephone ส่วนประเทศอนื่ ๆ นิยมเรยี กวา่ Mobile Phone 3. IPod, เคร่อื งเลน่ MP3 จากคา่ ยอ่ืนๆ และเครื่องที่มีลักษณะการทางานท่ีคล้ายกัน คือ เคร่ืองเสียง แบบพกพก iPod คอื ชื่อรนุ่ ของสนิ คา้ หมวดหนงึ่ ของบริษทั Apple Computer, Inc ผผู้ ลิต เคร่ืองคอมพิวเตอร์ แมคอินทอช iPod และเคร่ืองเล่น MP3 นับเป็นเคร่ืองเสียงแบบพกพาที่สามารถ รับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ ด้วยการต่อสาย USB หรือ รับด้วยสัญญาณ Blue tooth สาหรับรุ่นใหม่ๆ มีฮาร์ดดิสก์จุได้ถึง 60 GB. และมี ชอ่ ง Video out และมีเกมสใ์ ห้เลือกเล่นได้อีกดว้ ย เคร่อื งเลน่ MP3 สาหรับพฒั นาการของ m-Learning เปน็ พฒั นาการนวตั กรรมการเรียนการสอนมาจากนวัตกรรมการ เรียนการสอนทางไกล หรือ d-Learning (Distance Learning) และการจัดการเรียนการสอนแบบ e-

23 Learning (Electronic Learning) ดังภาพประกอบตอ่ ไปนี้ M - Learning นั้นเกิดขน้ึ ได้โดยไร้ข้อจากดั ดา้ นเวลา และสถานที่ เพียงแค่ผู้เรียนมีความ พร้อมและ เครอื่ งมอื อีกทัง้ เครือขา่ ยมเี น้อื หาทต่ี อ้ งการ จึงจะเกิดการเรยี นรู้ขึ้น และจะได้ผลการ เรียนรู้ท่ีปรารถนา หาก ขาดเนอื้ หาในการเรยี นรู้ วิธกี ารน้ันจะกลายเปน็ เพยี งการสอ่ื สาร กับเครอื ขา่ ย ไรส้ ายน่นั เอง กระบวนการเรียนรูแ้ บบ M – Learning กระบวนการเรียนรู้แบบ M – Learning มีด้วยกันทัง้ หมด 5 ข้ันตอน ดงั น้ี ข้ันที่ 1 ผ้เู รียนมีความพรอ้ ม และเคร่ืองมือ ขน้ั ท่ี 2 เช่ือมต่อเข้าสเู่ ครอื ขา่ ย และพบเนอ้ื หาการเรยี นท่ีตอ้ งการ ขน้ั ท่ี 3 หากพบเน้อื หาจะไปยังข้นั ท่ี 4 แตถ่ า้ ไมพ่ บจะกลับเขา้ สขู่ ้นั ที่ 2 ขน้ั ท่ี 4 ดาเนินการเรียนรู้ ซง่ึ ไม่จาเป็นที่จะต้องอยใู่ นเครอื ข่าย ขน้ั ท่ี 5 ได้ผลการเรยี นรตู้ ามวัตถุประสงค์ ประโยชน์และขอ้ จากัดของ M – Learning เก็ดส์ (Geddes, 2006) ไดท้ าการศกึ ษาประโยชนข์ อง M - Learning และสรุปว่าประโยชน์ที่ ชัดเจน อยา่ งยง่ิ นน้ั สามารถจัดได้เป็น 4 หมวด คอื 1. การเขา้ ถึงขอ้ มลู (Access) ไดท้ กุ ที่ ทุกเวลา 2. สร้างสภาพแวดล้อมเพ่ือการเรียนรู้ (Context) เพราะ M - Learning ช่วยให้การเรียนรู้จาก สถานท่ีใดกต็ ามที่มคี วามตอ้ งการเรียนรู้ ยกตวั อย่างเช่น การส่ือสารกับแหล่งข้อมลู และผสู้ อนใน การเรียนจาก สงิ่ ตา่ งๆ เช่น ในพิพธิ ภัณฑท์ ผ่ี ูเ้ รยี นแต่ละคนมีเครือ่ งมือสอ่ื สารติดตอ่ กบั วทิ ยากรหรอื ผู้สอนไดต้ ลอดเวลา 3. การร่วมมือ (Collaboration) ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียนได้ทุกท่ี ทุก เวลา 4. ทาให้ผู้เรียนสนใจมากข้นึ (Appeal) โดยเฉพาะในกลุ่มวัยร่นุ เช่น นักศึกษาท่ีไม่ค่อย สนใจเรียนใน หอ้ งเรียน แตอ่ ยากจะเรียนด้วยตนเองมากข้ึนด้วย M - Learning ขอ้ ดขี อง M – Learning 1. มคี วามเปน็ ส่วนตวั และอสิ ระทีจ่ ะเลอื กเรียนรู้ และรบั รู้ 2. ไมม่ ีข้อจากัดด้านเวลา สถานที่ เพม่ิ ความเปน็ ไปไดใ้ นการเรยี นรู้ 3. มแี รงจงู ใจต่อการเรียนรมู้ ากขน้ึ 4. สง่ เสริมให้เกิดการเรยี นร้ไู ดจ้ ริง 5. ดว้ ยเทคโนโลยขี อง M - Learning ทาใหเ้ ปลยี่ นสภาพการเรยี นจากทีย่ ึดผู้สอนเป็น ศูนย์กลาง ไปสู่ การมีปฏิสัมพนั ธ์โดยตรงกับผู้เรียน จึงเปน็ การสง่ เสรมิ ให้มกี ารสื่อสารกับเพ่อื นและ ผู้สอนมากขน้ึ 6. สามารถรับขอ้ มูลทไ่ี มม่ กี ารระบชุ อื่ ได้ ซึง่ ทาใหผ้ ู้เรยี นที่ไมม่ ่ันใจกลา้ แสดงออกมากขึ้น ขอ้ ดอ้ ยของ M – Learning 1. ขนาดของความจุ Memory และขนาดหน้าจอที่จากัดอาจจะเป็นอุปสรรคสาหรับการอ่าน ข้อมูล

24 แปน้ กดตัวอักษรไม่สะดวกรวดเร็วเท่ากับคีย์บอร์ดคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ อีกท้ังเครื่องยัง ขาดมาตรฐาน ที่ ต้องคานึงถึงเมอื่ ออกแบบสื่อ เช่น ขนาดหน้าจอ แบบของหน้าจอ ท่ีบางรุ่นเป็น แนวต้ัง บางรุ่นเป็นแนวนอน 2. การเช่ือมตอ่ กบั เครือข่าย ยังมรี าคาท่คี อ่ นข้างแพง และคณุ ภาพอาจจะยังไมน่ า่ พอใจนกั 3. ซอฟตแ์ วรท์ ี่มอี ยูใ่ นท้องตลาดท่ัวไป ไม่สามารถใชไ้ ด้กบั เครอื่ งโทรศพั ทแ์ บบพกพาได้ 4. ราคาเครอื่ งใหม่รุ่นทดี่ ี ยังแพงอยู่ อีกทั้งอาจจะถกู ขโมยได้ง่าย 5. ความแขง็ แรงของเคร่อื งยงั เทยี บไม่ไดก้ ับคอมพวิ เตอรต์ ้งั โต๊ะ 6. อัพเกรดยาก และเครื่องบางรุน่ ก็มีศกั ยภาพจากัด 7. การพฒั นาด้านเทคโนโลยีอยา่ งตอ่ เนือ่ ง สง่ ผลใหข้ าดมาตรฐานของการผลติ สื่อเพ่อื M - Learning บทบาทของ M-Learning M-Learning นั้นมีแนวโน้มท่ีจะเป็นช่องทางใหม่ที่จะกระจายความรู้ สู่ชุมชนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และจะเป็นทางเลือกใหม่ ที่ส่งเสริมให้การเรียนรู้ตลอดชีวิตบรรลุวัตถุประสงค์ได้ดี อีกด้วย เหตุผลหนึ่งที่สนับสนุนประเด็นนี้ก็คือ มีผู้ใช้โทรศัพท์มือถือท่ัวโลกกว่า 3.3 พันล้านคน ใน ปี ค.ศ. 2007 เพ่มิ ขึ้นอยา่ งรวดเร็วเม่ือเทยี บกับจานวนผู้ใช้ในปี 2006 ซึง่ มอี ยู่ประมาณ 2 พันล้านคน จานวนผู้ลงทะเบียนใช้ โทรศัพท์มือถือมากกว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกเกือบ 3 เท่า เพราะในปี ค.ศ. 2008 นั้น จานวนของผู้ใช้ อนิ เทอรเ์ น็ตอยู่ที่ 1.3 พันล้านคน ซึ่งเพ่ิมข้ึนเพียงเล็กน้อยจากปี ค.ศ. 2007 ท่ีมีอยู่ประมาณ 1.1 พันล้านคน เท่านั้น จากการเป็นเจ้าของเครื่องโทรศัพท์มือถือท่ีมากกว่าผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตเป็นหลายเท่าน้ีเองที่ทาให้ M- Learning เป็นส่ิงท่ีน่าสนใจของนักการศึกษา เพราะอย่าง น้อย M-Learning ก็เป็นไปได้เพราะคนเรานั้นมี เครอ่ื งมือ หรือเคร่ืองคอมพิวเตอร์อยู่แล้ว เทคโนโลยีของการรับส่งข้อมูลผ่านระบบไร้สายก็มีการพัฒนามาก ขึน้ อยู่แล้ว ดงั นน้ั การเรียนรู้แบบ M-Learning จงึ มีโอกาสเปน็ ไปได้สงู และเปน็ การขยายโอกาสทางการศึกษา อีกแขนงหนึ่ง M-Learning กาลังก้าวเข้ามาเป็นการเรียนรู้คู่กับสังคมอย่างแท้จริง เน่ืองจากความเป็นอิสระ ของเครือข่ายไร้สาย ท่ีสามารถเข้าถึงได้ทุกท่ี ทุกเวลา อีกท้ังจานวนเคร่ืองคอมพิวเตอร์แบบพกพาที่ ใช้เป็น เครอ่ื งมือนน้ั มีจานวนเพ่มิ ข้นึ เร่อื ยๆ จึงเปน็ การเรยี นรอู้ กี ทางเลือกหนง่ึ ของการนาเทคโนโลยี มาใชเ้ ป็นช่องทาง ในการใหผ้ ูค้ นไดเ้ ขา้ ถึงความรู้ ทกุ ที่ทกุ เวลาอยา่ งแท้จรงิ เพราะหากเทยี บกับการ ใช้เครื่องพีซี ก็ยังไม่ถือว่าเป็น ทกุ ทีท่ ุกเวลาอย่างแทจ้ รงิ เพราะยงั ต้องใช้เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ีบ่ า้ น หรือทีท่ างานเชอื่ มตอ่ อนิ เทอร์เน็ต เพื่อเข้า สู่ระบบเครอื ขา่ ย แตใ่ นปัจจบุ ัน เทคโนโลยกี ็ไดย้ ่อโลก ของเครอื ข่ายให้อยู่ในมือของผู้บริโภคแล้ว และสามารถ เข้าสแู่ หล่งการเรยี นร้ไู ดเ้ มอ่ื ต้องการอยา่ ง แท้จริงทุกเวลาและสถานที่ และหากเทียบราคาเคร่ืองคอมพิวเตอร์ PC และ อุปกรณ์สาหรบั เชื่อมต่อ ไรส้ ายที่กล่าวไปข้างตน้ ราคากไ็ มไ่ ดแ้ ตกต่างกนั มากนกั นบั ว่าเป็นเทคโนโลยี ทพี่ ัฒนาขึน้ มาได้ดี ทีเดียว และในอนาคตข้างหน้า คาดว่าการเรียนรู้แบบ M-Learning จะแพร่หลายมากข้ึน ย่ิงกวา่ ใน ปัจจุบัน ผลกระทบตอ่ การศึกษา และการเรยี นการสอน ปัจจุบนั ไดม้ ีการพฒั นาประสทิ ธภิ าพของโทรศัพทเ์ คลอื่ นท่ี เพอื่ รองรบั การบรกิ ารทางด้าน ต่าง ๆ เพ่ิม มากข้นึ รวมถึงทางดา้ นการศกึ ษาของไทย เนือ่ งจากโทรศพั ทม์ ือถือในปัจจุบนั มขี นาด เล็ก น้าหนักเบา สะดวก

25 ต่อการพกพาติดตัวไปไหนมาไหนตลอดเวลา จนกระทั่งเกิดการพัฒนา โปรแกรมการเรียนการสอนผ่าน โทรศัพท์มือถือ M-Learning (Mobile Learning) ซึ่งเป็นการเรียน การสอนหรือบทเรียนสาเร็จรูป (Instructional package) ท่ีนาเสนอผ่านโทรศัพท์มือถือหรือ คอมพิวเตอร์แบบพกพา โดยอาศัยเทคโนโลยี เครอื ข่ายไร้สาย (Wireless Communication Network) ที่สามารถต่อเชื่อมจากเครือข่ายแม่ข่าย (Network Server) ผ่ายจุดต่อแบบไร้สาย (Wireless access point) แบบเวลาจริง (real time) อีกท้ังยังสามารถ ปฏิสัมพันธ์กับโทรศัพทม์ อื ถอื หรอื คอมพิวเตอร์ แบบพกพาเคร่ืองอน่ื โดยใช้เทคโนโลยดี จิ ติ อล เช่น Bluetooth เพอ่ื สนับสนนุ การทางานร่วมกัน ดงั นน้ั เมอื่ มีอปุ กรณ์ที่สะดวกต่อการเรียนการสอนเช่นน้ีแล้ว จะช่วยส่งผล ใหก้ ารศึกษา เปน็ ไปไดโ้ ดยง่าย เพราะผเู้ รยี นสามารถทีจ่ ะเขา้ ถึงความรู้อยา่ งงา่ ยดายมากข้ึน ในปัจจุบันนั้นเป็น ยุค ท่วี ยั รนุ่ วัยเรียน ให้ความสนใจกบั เทคโนโลยีมาก โดยเฉพาะโทรศัพทม์ อื ถอื นอ้ ยคนมากท่ีจะไม่มี มือถือไว้ ใช้ ดังนนั้ M-learning จึงเหมาะท่จี ะนามาใช้กับการศึกษาในสมัยปัจจุบันมากท่ีสุด เพ่ือเป็น การเสริมความรู้ ใหก้ บั ผ้เู รียนอย่างทว่ั ถึง สรุปบทบาทของ M-Learning กบั การศึกษา โดยสรุปแล้ว M-Learning เขา้ มามบี ทบาทตอ่ การศกึ ษาโดยชว่ ยเขา้ มาสง่ เสริมให้การศึกษา เป็นไปได้ ง่ายข้ึนและทั่วถึง ทาให้ผู้ศึกษาสามารถเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว ทุกที่ ทุกเวลา M-Learning เป็นเทคโนโลยีที่ เหมาะสาหรับการนามาพัฒนาควบคู่ไปกับการศึกษาเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาด้าน การศึกษาต่างๆท่ีเกิดข้ึนใน ปัจจุบัน และบทบาทของ M-learning ต่อการศึกษาในอนาคตจะยิ่งมีมาก ขึ้น เพราะได้มีการพัฒนาอยู่ ตลอดเวลา และดว้ ยการพฒั นานั้น จะทาให้สามารถลดขอ้ ดอ้ ยและเพิ่ม ข้อดีของ M-learning ได้มากขึ้น และ จะยิ่งเปน็ ประโยชนต์ อ่ การศึกษามากย่งิ ข้นึ ไ

26 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา ปจั จัยที่มีผลตอ่ การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี นอกจากเป็นปัจจัยท่ีมีผลในทางบวก อันเป็นปัจจัยใน การสร้างความเจริญเตบิ โตให้สังคมแล้ว อีกด้านหนึ่งการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีท่ีเกิดข้ึน ยังมีผลกระทบ ตอ่ สงั คมในทางลบท่ีเป็นลูกโซต่ ามมาดว้ ย ดังตวั อยา่ งตอ่ ไปน้คี อื ผลกระทบต่อชุมชน การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีด้านต่างๆ ท่ีเกิดขึ้น ส่งผลให้มนุษย์มีส่วนร่วมใน สังคมลดนอ้ ยลง ความรสู้ ึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน มคี วามสมั พันธ์กับเพื่อนบ้านหายไป เพราะมนุษย์ทุกคน สามารถพึง่ ตนเองได้ ผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ การเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยีทาให้เกิดเทคโนโลยีท่ีใช้แรงงานคนน้อยลง ผู้ ทมี่ ีทนุ มากอาจนาเทคโนโลยีใหม่มาใช้งานท้ังหมดเป็นธุรกิจขนาดใหญ่มากขึ้น ทาให้ธุรกิจขนาดเล็กหดลงแต่ ในทางตรงกนั ขา้ มการทแ่ี ต่ละคนสามารถเป็นเจ้าของเทคโนโลยีทีม่ ีขนาดเลก็ อาจจะทาให้เขากลายเป็นนายทุน อสิ ระ หรือรวมตวั เป็นสหกรณเ์ จ้าของเทคโนโลยีรว่ มกนั และอาจทาให้เกดิ องค์กรทางธุรกิจใหม่ ๆ ได้ ผลกระทบด้านจิตวิทยา ความเจริญทางเทคโนโลยีท่ีเพิ่มขึ้นในเคร่ืองมือส่ือสารทาให้มนุษย์มีการ ตดิ ต่อสอ่ื สารผ่านทางจออิเลก็ ทรอนกิ สเ์ ท่านั้น จงึ ทาใหค้ วามสมั พนั ธข์ องมนษุ ย์ต้องแบง่ แยกเป็น ความสัมพันธ์ อนั แท้จริงโดยการส่อื สารกันตัวตอ่ ตวั ท่บี า้ นกับความสมั พันธ์ผา่ นจออเิ ลก็ ทรอนิกสซ์ ึ่งมผี ลให้ความรู้สึกนึกคิดใน ความเปน็ มนษุ ย์เปล่ียนไป ผลกระทบทางด้านสงิ่ แวดล้อม การเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยีบางตัวมีผล กระทบต่อสภาพแวดล้อม ด้วย นอกจากน้ีการสร้างเทคโนโลยีการผลิตมากข้ึน มีผลทาให้มีการขุดค้นพลังงานธรรมชาติมาใช้ได้มากข้ึน และเร็วข้ึน เป็นการทาลายทรัพยากรธรรมชาติในทางอ้อมและการสร้างโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มข้ึน โดย ปราศจากทิศทางการดูแลท่ีเหมาะสมจะทาให้ส่ิงแวดล้อม อาทิ แม่น้า พ้ืนดิน อากาศ เกิดมลภาวะมากยิ่งข้ึน

27 ผลกระทบทางดา้ นการศกึ ษา นวัตกรรมทางการศึกษามีลักษณะตามธรรมชาติท่ีเป็นสิ่งใหม่ ดังนั้นใน ความใหม่จงึ อาจทาใหท้ ้ังครู และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง เช่นนักเทคโนโลยีทางการศึกษา ผู้บริหารการศึกษา อาจตั้งข้อ สงสยั และไมแ่ น่ใจว่า จะมีความพร้อมที่จะนามาใช้เม่ือใด และเมอ่ื ใช้แลว้ จะทาให้เกิดผลสาเร็จมากน้อยอย่างไร แตน่ วตั กรรมกย็ งั มีเสน่หใ์ นการดงึ ดูดความสนใจ เกิดการตนื่ ตัว อยากรอู้ ยากเห็นตามธรรมชาตขิ องมนุษย์ หรือ อาจเกิดผลในเชงิ ตรงขา้ ม คอื กลัวและไม่กล้าเขา้ มาสมั ผสั สิ่งใหม่ เพราะเกิดความไม่แน่ใจว่าจะทาให้เกิดความ เสียหาย หรือใช้เป็นหรือไม่ ครูในฐานะผู้ใช้นวัตกรรมโดยตรงจึงต้องมีความต่ืนตัวและหม่ันติดตาม ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีต่างๆ ให้ทันตามความก้าวหน้า และเลือกนวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ี สอดคลอ้ งกบั สถานภาพและสิ่งแวดล้อมของตนเอง การหม่ันศึกษา และติดตามความรู้วิทยาการใหม่ ๆ ให้ทัน จะช่วยทาให้การตัดสินใจนานวัตกรรมมาใช้เพื่อการศึกษา สามารถทาได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพและลด การเสย่ี งและความสนั้ เปลืองงบประมาณและเวลาได้มากที่สุด สุดท้ายจะต้องมีกระบวนการในการตรวจสอบ การใชน้ วตั กรรมน้ัน ๆ ว่า มีความเหมาะสม มีขอ้ บกพรอ่ งและแนวทางปรับปรงุ แกไ้ ขอยา่ งไร ทง้ั โดยการสงั เกต การใช้แบบทดสอบเพ่ือตรวจวดั การเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมของผเู้ รียนอยู่เสมอ กจ็ ะทาใหเ้ ราเชือ่ แนไ่ ด้ว่าการใช้ นวัตกรรมนัน้ มีประสทิ ธิภาพสูงสุด การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มผี ลต่อสถานศึกษา สถานศึกษาในยุคปัจจุบันมี การเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมเป็นอย่างมาก อิทธิพลของความ เจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาใหส้ ภาพแวดลอ้ มทางการเรียนและสถานการณ์ของการเรียน การสอนแตกต่างไปจากเดิม การเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นมีผลกระทบต่อการบริหารและการจัดการ สภาพแวดล้อม ทางการเรียนซ่ึงจาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย สภาพแวดล้อมทางการเรียนใน สถานศกึ ษาปัจจุบนั ถกู กาหนดดว้ ยเทคโนโลยีที่ไดม้ ี การพิจารณานาเข้ามาใช้ การนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ทาให้ เกิดการเปล่ยี นแปลงที่มผี ลตอ่ สถานศึกษาอย่าง นอ้ ย 3 ประการ ได้แก่ 1. เทคโนโลยเี ปลี่ยนแปลงวิถชี ีวิต (Technology alters orientation.) สถานศึกษา สภาพของผู้เรียน

28 และผู้สอนได้รับอิทธิพลจากเทคโนโลยีมีลักษณะของการใช้ชีวิตในฐานะผู้เรียน และผู้สอนเปลี่ยนไป วิถีชีวิต ของทงั้ ผู้เรียนและผู้สอนผูกพนั และขึ้นอยู่กบั เทคโนโลยมี ากข้ึน เชน่ วันนไ้ี ฟดบั งดจ่ายกระแสไฟฟ้า นักเรียนไม่ สามารถทนนั่งในห้องเรียนท่ีร้อนอบอ้าวได้ เช่นเดียวกับครูท่ีไม่สามารถทาการสอนได้ เพราะเครื่องฉายภาพ จากคอมพิวเตอร์ไม่ทางาน ส่ือต่างๆ ท่ผี ้สู อนเตรยี มมาไม่สามารถนามาใช้ได้ และมีการเรียนการสอนภาคนอก เวลาซ่ึงมักจะสอนในเวลากลางคืนคงไม่มีการจุดเทียน หรือจุดตะเกยี งเพือ่ การเรียนการสอน สิง่ เหล่าน้ีแสดงให้ เห็นถึงวิถีชีวิตของการเป็นผู้เรียนและการเป็นผู้สอนใน สถานศึกษาเปล่ียนแปลงไปจากเดิม และผูกพันกับ เทคโนโลยีมากข้นึ จนบางทา่ นอาจคดิ วา่ เทคโนโลยีมีอิทธิพลในการ กาหนดวิถีชีวิตไม่เพียงการเปล่ียนแปลงวิถี ชีวติ เทา่ นัน้ 2. เทคโนโลยีเปล่ียนแปลงวิธีการ (Technology alters techniques.) วิธีการเรียนการสอนใน สถานศึกษาปัจจุบันมีหลายรูปแบบหลายลักษณะ และในจานวนรูปแบบต่างๆ ของการเรียนเหล่านั้น จาเป็นต้องพ่ึงพาเทคโนโลยี เช่น การเรียนการสอนทางไกลแบบสองทาง การเรียนด้วยส่ือโทรทัศน์ผ่าน ดาวเทยี ม หรอื รูปแบบของการเรียนการสอนทีไ่ ม่จาเป็นต้องมีชั้นเรียนให้ผู้เรียนเรียน ได้ด้วยตนเองจากแหล่ง วิทยบริการท่ีมีอยู่หรือจากชุดการเรียนท่ีทาข้ึนสาหรับ ผู้เรียนลักษณะนี้โดยเฉพาะ นอกจากนี้เทคนิควิธีการ เรยี นการสอน การประเมนิ ผล ยังเปล่ียนแปลงไปจากเดิมที่มีครูเป็นศูนย์กลาง กลายเป็นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ของการเรียนมากขึน้ 3. เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ของการเรียน (Technology alters situations of learning.) การเปล่ยี นแปลงสถานการณ์ของการเรียนในสถานศกึ ษา เปน็ สภาพใหมท่ ่เี กดิ ขึ้นพร้อมๆ กับนาเทคโนโลยีใหม่ เขา้ มาใช้ สถานการณ์ของการเรียนการสอนในสภาพของส่ิงแวดล้อมในสถานศกึ ษาทีเ่ ต็มไปด้วย เทคโนโลยีเพ่ือ ช่วยการเรียนรู้จะมีบรรยากาศของการเรยี น เงือ่ นไขในการเรียน ทแี่ ตกต่างจากเดิม ผู้เรียนสามารถเลือกเรียน ในสถานการณ์และเง่ือนไขที่ตนเองต้องการไดม้ ากขึน้ สถานการณ์ทที่ าให้เกิดการเรียนรู้ไม่จาเป็นต้องสร้างข้ึน ดว้ ยครูผูส้ อน เทา่ น้นั อยา่ งแต่กอ่ น แต่เทคโนโลยีสามารถจะสร้างสถานการณ์ของการเรียนให้เกิดข้ึนได้และมี ความหลากหลายอกี ด้วย จากผลของการเปลี่ยนแปลงโดยมีเทคโนโลยีเป็นตัวกาหนดดัง กล่าวข้างต้น ทาให้สภาพแวดล้อม ทางการเรียนในสถานศึกษาต้องมีการวางแผนและจัดการกับ เทคโนโลยีท่ีเป็นตัวกาหนดน้ันอย่างมี ประสทิ ธิภาพและใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพ สูงสุด เพื่อเป็นแนวทางที่จะนาไปสู่การจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ ท่ี สถานศึกษาทกุ แหง่ ต้องการให้เกดิ ขึน้ แนวโน้มการเปลยี่ นแปลงทส่ี าคญั ท่เี กิดจากเทคโนโลยี บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคโลกาภิวัตน์ จอห์น ไนซ์บิตต์ ผู้พยากรณ์สังคมได้เขียนหนังสือเร่ือง Megatrends 2000 โดยกล่าวถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงใหม่ทางสังคมโลกว่า เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้ การกระจายข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีลักษณะการกระจายแบบทุกทิศทาง และมีระบบ ตอบสนองอย่างรวดเร็ว และยังส่ือสารแบบสองทิศทาง ด้วยเหตุน้ีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้าน เศรษฐกิจ การเมอื งและสังคมจึงแตกต่างจากในอดีตมาก ดังจะเห็นได้จากวิกฤตการณ์ทางด้านเศรษฐกิจจาก ประเทศหนึ่งมีผลกระทบต่อประเทศอ่ืน ๆ อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ผลของความก้าวหน้าทางด้าน

29 เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดแนวโน้มการเปล่ียนแปลงท่ีสาคัญหลายด้าน แนวโน้มที่สาคัญท่ีเกิดจาก เทคโนโลยีท่สี าคญั และเป็นท่ีกล่าวถึงกันมาก มีหลายประการ  เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้สงั คมเปลี่ยนมาเปน็ สังคมสารสนเทศ ซ่ึงในอดีตสังคมโลกไดเ้ ปลย่ี นแปลง มาแล้วสองครง้ั คร้ังแรกจากสังคมความเป็นอยูแ่ บบเร่รอ่ นมาเป็นสังคมเกษตรทีร่ จู้ ักกับการเพาะปลูก และสรา้ งผลติ ผลทางการเกษตร ทาให้มกี ารสร้างบ้านเรอื นเปน็ หลกั แหลง่ ต่อมามีความจาเปน็ ตอ้ ง ผลิตสินค้าใหไ้ ดป้ รมิ าณมากและตน้ ทนุ ถูก จงึ ต้องหนั มาผลติ แบบอุตสาหกรรม ทาใหส้ ภาพความ เปน็ อยขู่ องมนษุ ยเ์ ปลย่ี นแปลงมาเป็นสังคมเมือง มกี ารรวมกลุ่มอยู่อาศยั เป็นเมือง มอี ตุ สาหกรรมเป็น ฐานการผลิต จนมาถงึ ปัจจบุ ันซ่ึงกาลงั เปลีย่ นแปลงเข้าสสู่ ังคมสารสนเทศ โดยคอมพวิ เตอร์และ ระบบสือ่ สารมีบทบาทมากขึน้ มกี ารใช้เครอื ข่าย เช่น อินเทอร์เน็ตเชอื่ มโยงการทางานตา่ ง ๆ เกดิ คา ใหมว่ า่ “ไซเบอรส์ เปซ (Cyberspace)” มีการดาเนินกจิ กรรมต่าง ๆ ใน ไซเบอร์สเปซ เชน่ การพูดคุย การซ้ือสนิ คา้ และบรกิ าร การทางานผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาใหเ้ กดิ สภาพเสมอื นจริงมากมาย อาทิ หอ้ งสมดุ เสมอื นจริง ห้องเรียนเสมือนจรงิ ทที่ างานเสมือนจริง  เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัสและตอบสนองตามความต้องการ ซึง่ แต่เดิม การใช้เทคโนโลยีเป็นแบบบงั คบั เชน่ การดูโทรทัศน์ วิทยุ เมื่อเปิดเคร่อื งรับโทรทัศน์ จะไมส่ ามารถ เลอื กตามความต้องการได้ ถา้ สถานสี ง่ สญั ญาณใดมาก็จะตอ้ งชม หากไมพ่ อใจก็ทาได้เพียงเลือกสถานี ใหม่ แนวโนม้ จากน้ไี ปจะมกี ารเปล่ยี นแปลงในลักษณะท่ีเรยี กวา่ on demand เชน่ เม่อื ตอ้ งการชม ภาพยนตร์เรือ่ งใดก็สามารถเลอื กชมและดไู ด้ตง้ั แต่ต้นรายการ หากจะศกึ ษาหรือเรยี นรกู้ ม็ ี education on demand คอื สามารถเลือกเรียนตามต้องการได้ การตอบสนองตามความต้องการ เป็นหนทางทีเ่ ป็นไปได้เพราะเทคโนโลยีมพี ัฒนาการท่ีกา้ วหน้าจนสามารถนาระบบส่ือสารมา ตอบสนองตามความตอ้ งการของมนษุ ยไ์ ด้  เทคโนโลยีสารสนเทศทาใหเ้ กดิ สภาพทางการทางานแบบทกุ สถานท่แี ละทุกเวลา โดยการโต้ตอบผ่าน ระบบเครือข่าย อาทิ วีดีโอคอนเฟอเรนซ์ ระบบประชมุ บนเครอื ขา่ ย ระบบ Tele-education ระบบ การค้าบนเครือขา่ ย (E-commerce) ลกั ษณะของการดาเนนิ กจิ กรรมเหลา่ นท้ี าใหข้ ยายขอบเขตการ ทางานไปทกุ หนทุกแห่งและดาเนินการได้ตลอด 24 ช่ัวโมง เห็นไดจ้ ากตวั อย่างทมี่ ีมานานแล้ว เชน่ ระบบเอทเี อม็ ทาใหก้ ารเบิกจา่ ยได้เกือบตลอดเวลา และกระจายไปใกลต้ ัวผรู้ ับบริการมากขน้ึ แต่ด้วย เทคโนโลยที ก่ี ้าวหนา้ ยง่ิ ขึ้น การบริการจะกระจายมากยง่ิ ขนึ้ จนถงึ ทบ่ี ้าน ในอนาคตสงั คมการทางาน จะกระจายจนงานบางงานอาจนง่ั ทาทบี่ า้ นหรอื ทใ่ี ดกไ็ ด้ และเวลาใดก็ได้  เทคโนโลยีสารสนเทศทาใหร้ ะบบเศรษฐกจิ เปลี่ยนจากระบบแห่งชาติไปเปน็ เศรษฐกิจโลก ความเกย่ี ว โยงของเครือขา่ ยสารสนเทศทาให้เกดิ สังคมโลกาภิวตั น์ ระบบเศรษฐกจิ ซึง่ แตเ่ ดมิ มขี อบเขตจากัด ภายในประเทศ ก็กระจายเปน็ เศรษฐกิจโลก ทัว่ โลกจะมีกระแสการหมุนเวียนแลกเปลยี่ นสินค้าบรกิ าร อยา่ งกว้างขวางและรวดเรว็ เทคโนโลยีสารสนเทศมีสว่ นเอ้ืออานวยใหก้ ารดาเนินการมีขอบเขต กวา้ งขวางมากยิ่งขนึ้ ระบบเศรษฐกจิ ของโลกจึงผูกพันกบั ทกุ ประเทศ และเช่อื มโยงกนั แนบแน่นขนึ้  เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้องคก์ รมลี ักษณะผกู พัน หนว่ ยงานภายในเป็นแบบเครือข่ายมากข้นึ แต่ เดิมการจดั องค์กรมีการวางเป็นลาดับขนั้ มีสายการบังคับบัญชาจากบนลงล่าง แต่เมื่อการสอ่ื สารแบบ สองทางและการกระจายขา่ วสารดีขนึ้ มีการใชเ้ ครอื ข่ายคอมพวิ เตอรใ์ นองค์กรผกู พนั กนั เปน็ กลมุ่ งาน มกี ารเพ่มิ คุณค่าขององคก์ รด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดโครงสรา้ งขององคก์ รจึงปรบั เปล่ียนจาก เดิม และมีแนวโน้มทจ่ี ะสร้างองค์กรเป็นเครือข่ายทมี่ ลี กั ษณะการบงั คับบัญชาแบบแนวราบมากข้นึ

30 หนว่ ยธรุ กิจจะมีขนาดเล็กลง และเชอ่ื มโยงกนั กับหน่วยธุรกจิ อน่ื เป็นเครอื ขา่ ย สถานะภาพขององค์กร จึงต้องแปรเปลีย่ นไปตามกระแสของเทคโนโลยี เพราะการดาเนินธุรกิจตอ้ งใชร้ ะบบส่ือสารทมี่ ีความ รวดเรว็ กอ่ ให้เกิดการแลกเปลย่ี นขอ้ มูลไดง้ ่ายและรวดเรว็  เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดาเนินการระยะยาวขนึ้ อีกทั้งยงั ทาใหก้ ารตดั สนิ ใจ หรอื เลือกทางเลอื กไดล้ ะเอยี ดข้นึ แตเ่ ดิมการตัดสินปญั หาอาจมีหนทางใหเ้ ลือกได้นอ้ ย เช่น มคี าตอบ เดยี ว ใช่และไม่ใช่ แตด่ ้วยข้อมลู ข่าวสารทส่ี นับสนุนการตัดสินใจ ทาใหว้ ิถีความคิดในการตัดสนิ ปญั หา เปล่ียนไป ผู้ตัดสินใจมีทางเลอื กได้มากขึ้น มีความละเอียดออ่ นในการตดั สนิ ปญั หาไดด้ ขี น้ึ  เทคโนโลยีสารสนเทศ ในปัจจุบันทาให้การเข้าถึงข้อมูลขา่ วสารทัว่ โลกทาไดส้ ะดวกมากข้ึน ดังจะเห็น ได้จากการรบั ชมข่าวสาร รายการโทรทัศน์ท่สี ่งกระจายผา่ นดาวเทยี มของประเทศตา่ ง ๆ ได้ท่ัวโลก สามารถรบั รขู้ ่าวสารได้ทนั ทที ี่ใช้เครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็ ในการสื่อสารระหว่างกนั และตดิ ตอ่ กับคนได้ท่ัว โลก จึงเปน็ ทแี่ นช่ ัดวา่ แนวโนม้ การเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรม เศรษฐกจิ สังคม และการเมอื งจงึ มี ลักษณะเป็นสังคมโลกมากขึ้น กรณีศกึ ษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน เอาท์ซอร์ส Outsource (การแบง่ งานบางสว่ นออกไปทาทอ่ี ืน่ ) โทมสั ฟรีดแมน นักหนงั สือพมิ พ์ชาวอเมริกัน ผเู้ ขียนหนังสอื เรื่อง “ใครวา่ โลกกลม (The World is Flat)” ได้ กล่าวถึงการแบนราบลงของสนามแขง่ ขันทุกแหง่ บนโลก สาเหตุหน่งึ ทท่ี าให้ประเทศกาลังพฒั นา บริษัทขนาด เล็ก หรอื กลุ่มบุคคล/องค์กรบางกล่มุ สามารถเขา้ ร่วมแข่งขันในสมรภูมทิ างเศรษฐกจิ ไดน้ ้ัน เปน็ ผลมาจากการ พัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศทีก่ ้าวหน้าขึน้ ดังตวั อยา่ งตอ่ ไปนี้  การจ้างงานบางอย่างถูกแบ่งงานไปยังที่อ่นื มคี วามต่างทางดา้ นเวลา เชน่ อเมรกิ ากับอนิ เดียซงึ่ อยคู่ น ละซีกโลก เวลาต่างกนั 12 ชั่วโมง ทอี่ เมริกาเปน็ กลางคืนแตอ่ นิ เดียยังเปน็ กลางวัน ทาใหง้ านบางอย่าง สามารถสง่ จากอเมรกิ าในตอนกลางคืนผา่ นระบบอินเตอรเ์ นต็ ไปให้ชาวอนิ เดยี ช่วยจัดการให้ อาทิ โรงพยาบาลบางแห่งส่งไฟล์ภาพสแกน CAT หรอื MRI ของคนไขผ้ ่านอนิ เตอรเ์ น็ตไปให้หมอชาว อนิ เดยี ชว่ ยวนิ ิจฉยั บริษัทบางแห่งอดั ไฟล์เสียงบนั ทึกการประชุมส่งไปยังอนิ เดียใหช้ ่วยถอดบนั ทึกการ ประชมุ และสรุปรายงานเพือ่ สง่ กลับมาในตอนเช้า  ประสิทธภิ าพของการส่งขอ้ มูลผ่านอนิ เตอรเ์ น็ตที่สามารถสง่ ขอ้ มูลแบบมัลตมิ ีเดียทั้งขอ้ ความ ภาพ เสียง ภาพเคลอ่ื นไหวไดอ้ ย่างรวดเรว็ ผา่ นเคเบล้ิ ใยแกว้ นาแสง ทาให้การแบง่ งานไปยังทีอ่ ่ืนมคี วาม สะดวกมากขึ้น อาทิ ในปี 2005 มีแบบฟอรม์ เสยี ภาษขี องอเมริกาจานวนกวา่ 400,000 รายการถูก สแกนสง่ ไปยังอินเดยี ใหน้ ักบัญชชี าวอินเดยี เป็นผู้จัดทาและมแี นวโนม้ จะเพ่มิ มากขน้ึ ทกุ ปี ธุรกิจ E- tutoring ผา่ นอนิ เตอรเ์ น็ต โดยในตอนเยน็ เดก็ นกั เรยี นชาวอเมริกันจะใชอ้ ินเตอรเ์ นต็ ในการติวเนื้อหา ในการเรยี น การทาการบา้ น รายงานโดยครผู ู้สอนนนั้ เปน็ ชาวอินเดยี หรอื ธรุ กจิ การตอบรับโทรศพั ท์ เชน่ การแจง้ เตือนชาระเงนิ การจองต๋ัวเครอื่ งบนิ ร้านอาหารหรอื โรงแรม การชกั ชวนทาบตั รเครดิต เปน็ ต้น ธรุ กจิ เหล่านี้มบี ริษัทอยู่ทอ่ี ินเดียทัง้ สนิ้ ซึ่งชาวอเมริกนั จานวนมากอาจจะยงั ไม่ทราบว่าเมอ่ื ใช้ โทรศัพท์ตดิ ตอ่ งานดังกลา่ วน้ัน เป็นการโทรผ่านเครือขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ ซึ่งเสยี ค่าใช้จ่ายน้อยมาก โดย โอเปอเรเตอรท์ ีร่ บั สายอยทู่ ่ีประเทศอินเดีย

31  การแบง่ งานไปยังประเทศทีม่ ีค่าแรงถูกกว่า เชน่ ที่เมอื งบงั กาลอร์ ประเทศอนิ เดยี ท่ีรับแบ่งงานดา้ น ซอฟต์แวรจ์ ากอเมริกา โดยบริษทั ซอฟตแ์ วรห์ ลายแหง่ ในเมอื งซิลกิ อนแวลเลยท์ อี่ เมรกิ า ได้จ้างวศิ วกร คอมพวิ เตอรจ์ ากอนิ เดียในการพัฒนาซอฟตแ์ วร์ หรือท่เี มืองต้าเหลียน ประเทศจนี ซ่งึ มีชาวจนี จานวน มากทสี่ ามารถส่อื สารภาษาญปี่ ุ่นได้ และรบั แบ่งงานหลายอย่างจากญ่ปี ุ่นผา่ นทางอนิ เตอร์เน็ต เช่น ออกแบบซอฟต์แวร์ ออกแบบอาคารดว้ ยคอมพวิ เตอร์ งานดา้ นกฎหมาย เป็นต้น โดยท่ีคิดค่าแรงถกู กว่าท่ีญ่ีปุ่นมาก สงั คมออนไลน์  ซอฟตแ์ วรท์ ี่พฒั นาข้นึ โดยชุมชนออนไลน์ อาทิ Linux, Apache, FireFox ล้วนแล้วแตเ่ ป็นซอฟตแ์ วร์ ทน่ี ักคอมพิวเตอร์อิสระทั่วโลกชว่ ยกันพฒั นาขนึ้ มาโดยคาดหวังว่าจะเป็นซอฟต์แวรร์ หัสเปิด (Open source) ที่ทกุ คนสามารถมีสว่ นร่วมในการปรับปรุงโปรแกรม ดาวน์โหลดไปใช้ไดฟ้ รีและมี ประสิทธิภาพ ผลทเี่ กดิ ข้นึ คือซอฟต์แวรร์ หสั เปดิ เหลา่ นไี้ ดร้ บั การตอบสนองจากบรรดาผ้ใู ช้งานจานวน มากทัว่ โลก ซง่ึ เป็นอกี หน่งึ ทางเลือกที่ผู้บรโิ ภคไม่จาเปน็ ตอ้ งไปซอื้ หาซอฟตแ์ วร์เชงิ พาณชิ ยซ์ ง่ึ อาจมี ราคาสงู มาใช้ นอกจากน้ธี รุ กจิ บางประเภทก็เคยใชซ้ อฟต์แวรท์ ่พี ัฒนาข้ึนโดยชมุ ชนออนไลน์มาพัฒนา ธุรกิจของตนเองได้ ดงั เช่นในปี ค.ศ.2000 ธรุ กิจเหมอื งทองคาของแคนาดา ชอื่ วา่ โกล์คอร์ปองิ ค์ ได้ ออกประกาศชวนนักธรณีวิทยาท่ัวโลกรว่ มแข่งขันออกแบบซอฟตแ์ วร์เพอื่ คน้ หาแหล่งแรท่ องคาท่ี เหมืองเรดเลกในแคนาดา โดยมรี างวัลรวมมูลค่ากว่า 575,000 ดอลล่าหส์ หรฐั โดยบรษิ ัทได้มกี าร เปิดเผยข้อมลู เกีย่ วกับเหมอื งทัง้ หมดผา่ นทางเวบ็ ไซต์ ซ่งึ มีนักวทิ ยาศาสตร์ นักธรณีวิทยากวา่ 1,400 คน จาก 50 ประเทศเข้ามาดาวนโ์ หลดขอ้ มูลและแขง่ ขันกันสรา้ งซอฟต์แวร์ในการวิเคราะห์ข้อมลู แหล่งแรแ่ ละจาลองภาพเสมอื นจรงิ ผลท่ีได้รบั คือบรษิ ทั มีผลผลิตทองคาเพม่ิ ขึน้ เกอื บสิบเท่า และถือ ได้วา่ เป็นนวัตกรรมใหมข่ องวงการเหมอื งแร่  การอัพโหลด (Upload) ทที่ าใหค้ ุณทุกคนกลายเปน็ บคุ คลสาคญั ซงึ่ โทมสั ฟรดี แมน เคยแสดงความ คดิ เห็นเกี่ยวกบั เรอื่ งนี้ว่า สมัยกอ่ นสังคมออนไลนส์ ว่ นมากคือการดาวนโ์ หลดหรอื บริโภคขอ้ มูล ขา่ วสารเพียงอย่างเดียว แต่ในปจั จบุ ันผู้บริโภคกาลงั เปลี่ยนเป็นผู้ผลติ ขอ้ มลู ข่าวสารและอัพโหลดสู่ ระบบเครือข่ายเพิ่มมากขึ้น ดังจะเห็นไดจ้ าก นิตยสาร TIME ซง่ึ เป็นนติ ยสารท่มี ีการมอบตาแหน่ง “Person of the Year” หรอื ”บุคคลแหง่ ปี” ให้กับบุคคล หรือกลมุ่ บุคคลทก่ี ่อใหเ้ กิดผลกระทบใน เชิงขา่ วและวิถีชีวิตของคนหมู่มากสงู ทส่ี ดุ แตน่ ติ ยสาร TIME ไดม้ อบตาแหนง่ นปี้ ระจาปี 2006 ใหก้ บั “คณุ (YOU)” ความหมายคอื คุณทุกคนที่เขา้ สูส่ ังคมออนไลน์ล้วนแลว้ แต่เปน็ บคุ คลทีม่ ีสว่ นสาคญั ใน การสรา้ งสรรคส์ งั คมออนไลน์ขน้ึ มา ผา่ นทางสอ่ื ออนไลน์ต่างๆ ดังตวั อย่างนี้ - เวบ็ บลอ็ ก (Web Blog) หรอื ทีเ่ รยี กสั้นๆ วา่ บลอ็ ก ซง่ึ เปรียบเสมอื นหนงั สอื พิมพ์หรือวารสาร สว่ นตวั ทผ่ี ลิตดว้ ยตวั คุณเอง โดยคุณสามารถอัพโหลดคอลัมนห์ รือจดหมายขา่ วเข้าไปในเว็บไซต์ เพอ่ื ให้คนท่วั โลกได้เยีย่ มชมและแสดงความคดิ เห็น โดยการทาข่าว อาจใช้เพยี งเครอื่ งเลน่ MP3 ใน การบนั ทกึ เสยี งหรือใชก้ ลอ้ งดิจิตอลที่อยู่ในโทรศัพทม์ อื ถอื ในการบันทกึ ภาพก็สามารถทาข่าวสาร เผยแพรเ่ องไดโ้ ดยไม่จาเป็นตอ้ งมพี ื้นฐานดา้ นการทาข่าว อาทิ บลอ็ กสถานการณ์อริ กั ท่จี ดั ทาโดย ทหารอเมริกนั ในสมรภมู ิ บล็อกที่ติดตามผลงานและงานวจิ ารณ์ดนตรีของเดก็ มัธยม บลอ็ กของเพือ่ น หรือคนใกล้ชิด เป็นตน้ ปัจจบุ นั มีการประมาณการกนั วา่ มบี ลอ็ กอยู่ 24 ลา้ นบลอ็ กและกาลงั เพม่ิ ข้ึน วนั ละกว่า 70,000 บลอ็ ก และจะเพ่ิมเป็นสองเท่าทกุ ๆ ห้าเดอื น - คลปิ วดี ิโอออนไลน์ เช่น เวบ็ ไซต์ Metacafe.com หรือ YouTube.com ท่เี ปดิ โอกาสใหบ้ ุคคล

32 ท่วั ไปไดน้ าคลปิ วดี โี อส้นั ๆ อัพโหลดเข้ามาเก็บไว้ในเวบ็ ไซตเ์ พอ่ื เผยแพร่ให้คนทั่วโลกไดช้ ม ปจั จบุ ัน พบว่ามเี วบ็ YouTube มอี ตั ราการเจริญโตอยา่ งรวดเรว็ โดยมีผเู้ ข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์ กวา่ 100 ลา้ น ครั้งตอ่ วัน ในแต่ละเดือนมผี ูอ้ พั โหลดวดิ ีโอข้นึ เวบ็ กว่า 65,000 เรือ่ ง สมาชกิ เพิ่มขน้ึ เดอื นละ 20 ล้าน คน ซ่ึงคลปิ วดี โิ อทอ่ี ัพโหลดเขา้ มาน้นั มีมากมายหลายประเภท อาทิ การแสดงโชว์ผาดโผน การเล่น ดนตรใี นแนวใหม่ ภาพเหตกุ ารณ์จริงจากอบุ ตั เิ หตุหรอื ภัยธรรมชาติ วิดีโองานเทศกาศต่างๆ รวมไปถึง ตวั อยา่ งภาพยนตร์และรายการโทรทศั น์ เปน็ ตน้ นอกจากน้ยี งั สามารถแสดงความคิดเห็นและรว่ ม โหวตให้คะแนนคลิปยอดนยิ ม ทาให้คนบางคนท่อี ยใู่ นคลปิ วดี โิ อกลายเป็นดาราดงั ภายในชว่ั ขา้ มคืนก็ มี - สารานุกรมเสรีออนไลน์ เชน่ วิกิพเี ดยี (Wikipedia.org) เปน็ สารานุกรมท่ีรว่ มกนั สร้างขนึ้ โดยผู้อา่ น มคี นหลายๆ คนร่วมกันปรบั ปรุงวกิ พิ เี ดียอยา่ งสมา่ เสมอ โดยบทความจะสมบูรณ์ยงิ่ ขึน้ ทุกๆ การแก้ไข ผู้ทีเ่ ข้ามาอา่ นสามารถเพมิ่ เตมิ เนอ้ื หาทเี่ ปน็ ประโยชน์ลงไปไดห้ รอื แกไ้ ขบทความทมี่ เี น้อื หาผิดพลาด หรอื คลาดเคลอื่ นได้ ทาให้วกิ พิ เี ดียเปน็ สารานกุ รมท่ีถอื ไดว้ า่ สรา้ งปรบั ปรุงแกไ้ ขและตรวจสอบโดย สงั คมออนไลน์ และได้รบั การยอมรับจากนกั วิชาการและสื่อมวลชน เนือ่ งจากเน้อื หาเปิดเสรีให้ สามารถนาไปใช้ได้ รวมถงึ เปดิ เสรีท่ีใหท้ ุกคนแกไ้ ข ปัจจบุ นั วิกพิ เี ดยี มีทั้งหมด 250 ภาษา รวมทกุ ภาษามีบทความมากกว่า 6,000,000 บทความ และปจั จุบนั (พ.ค.2550)วกิ ิพเี ดยี ไทยมบี ทความกวา่ 22,000 บทความ  การแบง่ ทรัพยากรใช้รว่ มกัน เช่น โครงการ SETI@home หรอื Search for Extra-Terrestrial Intelligence at home เปน็ โครงการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ที่ใชเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบคุ คลที่ เช่อื มตอ่ กบั อนิ เทอร์เน็ต ในการค้นหาสญั ญาณจากตา่ งดาว ดาเนินการโดยมหาวทิ ยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบริ ก์ ลยี ์ เร่ิมเผยแพรส่ ู่สาธารณะเมือ่ วันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 โดยในระยะแรกเป็นโปรแกรม สกรนี เซฟเวอร์ จะทางานเม่อื เครือ่ งคอมพวิ เตอรไ์ ม่มกี ารใช้งานอน่ื ปัจจบุ นั SETI@home ได้รบั การ สนับสนนุ จากผู้ใชท้ วั่ ไป มีจานวนผรู้ ว่ มโครงการถึง 5.2 ลา้ นคน ไดร้ ับการบันทกึ ใน กนิ เนสบ๊คุ (Guinness Book of World Records) ว่าเป็นโครงการ distributed computing ทีใ่ หญท่ ส่ี ดุ ใน ปจั จุบนั ด้วยจานวนผใู้ ช้ทีย่ ังทาการอยูใ่ นปจั จุบัน ประมาณ 3 แสนเครอ่ื ง (5 ธ.ค. 49) โครงการน้ี สามารถประมวลผลได้ 257 TeraFLOPS เปรียบเทยี บกับ Blue Gene ซูเปอร์คอมพวิ เตอรท์ ่ีเรว็ ท่ีสุด ในโลกของ ไอบีเอ็ม สามารถคานวณได้ 280 TFLOPS ปัญญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence, AI)  เคร่อื งจกั รทสี่ ามารถทางานได้เหมือนคน เช่น หนุ่ ยนต์ (Robot) ซ่งึ เปน็ เครื่องจักรกลชนดิ หน่ึง มี ลักษณะโครงสร้างและรปู ร่างแตกต่างกนั หุน่ ยนตใ์ นแตล่ ะประเภทจะมหี นา้ ที่การทางานในดา้ นต่าง ๆ ตามการควบคุมโดยตรงของมนุษย์ โดยทว่ั ไปหนุ่ ยนตถ์ ูกสร้างข้นึ เพื่อสาหรบั งานที่มีความยากลาบาก เช่น งานสารวจในพนื้ ที่บริเวณทีเ่ สยี่ งอนั ตรายหรืองานสารวจดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ที่ไม่มสี ิ่งมชี วี ติ ปจั จบุ นั เทคโนโลยขี องหนุ่ ยนต์เจริญก้าวหนา้ อยา่ งรวดเรว็ เริ่มเข้ามามีบทบาทกบั ชีวติ ของมนุษยใ์ น ด้านต่าง ๆ เชน่ ด้านอตุ สาหกรรมการผลติ หุ่นยนต์ทีใ่ ช้ในทางการแพทย์ หุน่ ยนตส์ าหรบั งานสารวจ ใต้ทะเล หนุ่ ยนต์ทใี่ ชง้ านในอวกาศ หรือแมแ้ ต่หนุ่ ยนต์ท่ีถูกสร้างข้นึ เพือ่ เปน็ เคร่ืองเล่นของมนุษย์ จนกระท่ังในปัจจบุ นั น้ีได้มีการพฒั นาให้ห่นุ ยนตน์ น้ั มีลักษณะท่ีคล้ายมนุษย์ เพอ่ื ให้อาศัยอยู่รว่ มกันกับ มนษุ ย์ ใหไ้ ด้ในชีวิตประจาวัน

33  การทางานตา่ งๆ เลียนแบบพฤติกรรมของคน เช่น การมองเหน็ การไดย้ นิ การคดิ การใชเ้ หตุผลและ ตดั สนิ ใจ เปน็ ต้น ตวั อย่าง AI ทีม่ ีช่อื เสยี งมากท่สี ดุ อนั หนงึ่ ได้แก่ ดีพ บลู ทู (Deep Blue II) ซูเปอร์ คอมพิวเตอร์ของบรษิ ทั IBM ท่ีสามารถเอาชนะนายแกรี่ คาสปารอฟ แชมป์โลกหมากรุกเมอื่ ปี ค.ศ. 1997 โดยซเู ปอรค์ อมพิวเตอร์ของ IBM เครอื่ งนี้ สามารถประเมินแนวทางทีเ่ ป็นไปได้นับพนั วิธี ซ่ึง สงิ่ ประดิษฐ์นี้แสดงใหเ้ หน็ วา่ ในอนาคตอนั ใกลร้ ะบบคอมพิวเตอรจ์ ะมีความเฉลยี วฉลาดและสามารถ ตอบสนองได้เหมอื นกับมนุษยม์ ากขึ้น เทคโนโลยีภมู สิ ารสนเทศ  ระบบระบุพกิ ัดบนพนื้ โลก (Global Positioning System, GPS) คือเครอื่ งมอื ที่ทางานโดยการรับ สัญญาณจากดาวเทยี มอย่างนอ้ ย 4 เพือ่ ระบพุ ิกดั ตาแหน่งบนพ้นื โลก ปัจจบุ นั นี้ไดม้ ีการใช้งาน GPS ในรูปแบบของการกาหนดพกิ ัดของสถานทีต่ ่าง ๆ การสารวจ การนาทาง การทาแผนท่ี การเดินป่า การเดินเรือ รวมถงึ การคน้ หาสถานท่สี าคัญตา่ ง ๆ โดยเฉพาะในเรอื่ งการขนสง่ มีการนา GPS ไปใช้ เป็นระบบติดตามรถยนต์ เพือ่ ควบคมุ ดแู ลตลอดจนบันทึกเสน้ ทาง ลกั ษณะการขบั รถ และการควบคมุ เครื่องมืออุปกรณ์ในรถ เชน่ อณุ หภมู ิ ตูแ้ ชส่ ินค้า ทาใหส้ ามารถบริหารจัดการการขนส่งไดอ้ ย่างมี ประสิทธภิ าพ  เทคโนโลยดี าวเทียมสารวจระยะไกล (Remote Sensing) โดยเฉพาะดาวเทยี มรายละเอียดสูงซึ่ง สามารถมองเหน็ รายละเอยี ดของพ้นื โลกได้ชดั เจน ปจั จุบนั ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทยี มเหลา่ น้ีสามารถ สบื คน้ ไดฟ้ รีผ่านทางอินเตอรเ์ นต็ เชน่ โปรแกรม Google Earth เปน็ โปรแกรมท่สี ามารถเรียกใช้ผ่าน ทาง Internet เป็นโปรแกรมท่ที าใหม้ องเหน็ ภาพถา่ ยจากดาวเทยี มแสดงถึงภมู ิประเทศตลอดจน รายละเอยี ดของเมอื งหรอื พ้ืนทีต่ ่างๆ หลายที่ทวั่ โลกได้อยา่ งชดั เจน สามารถนามาใชใ้ ห้เปน็ ประโยชน์ อย่างมากมายท้ังในดา้ นท่องเท่ียว การเรียนการสอนภมู ิศาสตร์ การวางแผนการใชท้ ด่ี นิ ของท้ังภาครฐั และเอกชน พรอ้ มทัง้ การประยุกต์ทางธรุ กจิ ต่างๆ  ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System, GIS) คือ การนาระบบ คอมพิวเตอร์มาใช้ในการรวบรวม จดั เก็บ จัดการและวเิ คราะห์ข้อมลู ทางภูมศิ าสตร์ ซึง่ จะเป็น ประโยชนใ์ นงานดา้ นวิเคราะห์ขอ้ มลู ได้หลากหลาย เชน่ การเปล่ยี นแปลงของการใชพ้ ้นื ท่ี การแพร่ ขยายของโรคระบาด การเคล่ือนยา้ ยถ่ินฐาน การบุกรุกทาลายป่าไม้ เปน็ ตน้ สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ ได้ในสาขาต่าง ๆ เชน่ การเกษตร ปา่ ไม้ ธรณีวิทยา อุทกศาสตร์ สิง่ แวดล้อม การวเิ คราะห์ภัยพบิ ัติ การวางผังเมือง เปน็ ต้ แนวโน้มการเปล่ียนแปลงของสังคมโลก เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้การกระจายข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่ รวดเร็ว ทุกทิศทาง และมีระบบตอบสนอง ด้วยเหตุนี้ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิ จ การเมอื ง และสังคม ผลของความกา้ วหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทาให้เกิดแนวโน้มการเปล่ียนแปลงท่ี สาคญั หลายดา้ น แนวโนม้ ทสี่ าคญั ทเ่ี กดิ จากเทคโนโลยีท่สี าคัญและเปน็ ท่กี ลา่ วถึงกนั มาก ดงั นี้ 1) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมสารสนเทศ สภาพ ของสังคมโลกได้เปลี่ยนแปลงมาแล้วสองครั้ง จากสังคมความเป็นอยู่แบบเร่ร่อนมาเป็นสังคมเกษตรท่ีมีการ เพาะปลกู และสร้างผลติ ผลทางการเกษตร ทาให้มีการสร้างบ้านเรือนเป็นหลักแหล่ง ต่อมามีความจาเป็นต้อง ผลิตสินค้าให้ได้ปริมาณมากและต้นทุนถูก จึงต้องหันมาผลิตแบบอุตสาหกรรม ทาให้สภาพความเป็นอยู่ของ

34 มนษุ ยเ์ ปล่ยี นแปลงมาเป็นสงั คมเมอื ง มีการรวมกลมุ่ อยอู่ าศัยเป็นเมือง มีอุตสาหกรรมเป็นฐานการผลิต สังคม อุตสาหกรรมได้ดาเนินการมาจนถึงปัจจุบัน และเข้าสู่สังคมสารสนเทศ การดาเนินธุรกิจใช้สารสนเทศอย่าง กว้างขวาง เกิดคาใหม่ว่า ไซเบอร์สเปซ มีการดาเนินกิจกรรมต่างๆ เช่น การพูดคุยผ่านอินเทอร์เน็ต การซื้อ สนิ ค้าและบรกิ าร ฯลฯ 2) เทคโนโลยสี ารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีแบบตอบสนองตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน เช่น การ ดโู ทรทศั น์ วิทยุ เมอื่ เราเปดิ เครื่องรับโทรทัศนห์ รือวิทยุ เราไมส่ ามารถเลอื กตามความต้องการได้ หากไม่พอใจก็ ทาได้เพียงเลือกสถานีใหม่ แนวโน้มจากน้ีไปจะมีการเปล่ียนแปลงในลักษณะที่เรียกว่า on demand เราจะมี โทรทัศน์และวิทยุแบบเลือกดู เลือกฟังได้ตามความต้องการ หากระบบการศึกษาจะมีระบบ education on demand คือสามารถเลือกเรียนตามต้องการได้ การตอบสนองตามความต้องการ เป็นหนทางท่ีเป็นไปได้ เพราะเทคโนโลยีมพี ฒั นาการทกี่ า้ วหนา้ จนสามารถนาระบบสื่อสารมาตอบสนองตามความต้องการของมนุษย์ 3) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้เกิดสภาพการทางานแบบทุกสถานท่ี และทุกเวลา เมื่อการสื่อสาร ก้าวหน้าและแพร่หลายข้ึน การโต้ตอบผ่านเครือข่ายทาให้มีปฏิสัมพันธ์ได้ เกิดระบบการประชุมทางวีดิทัศน์ ระบบประชุมบนเครือข่าย ระบบโทรศกึ ษา ระบบการค้าบนเครือข่าย ลักษณะของการดาเนินงานเหลา่ น้ี ทาให้ ผ้ใู ชข้ ยายขอบเขตการดาเนนิ กิจกรรมไปทุกหนทุกแหง่ ตลอด 24 ชั่วโมง เราจะเห็นจากตัวอย่างที่มีมานานแล้ว เช่น ระบบเอทีเอ็ม ทาให้การเบิกจ่ายได้เกือบตลอดเวลา และกระจายไปใกล้ตัวผู้รับบริการมากข้ึน และด้วย เทคโนโลยที ่กี า้ วหนา้ ขน้ึ การบริการจะกระจายมากยิ่งขึ้นจนถึงที่บ้าน ในอนาคตสังคมการทางานจะกระจาย จนงานบางงานอาจน่ังทาทบ่ี ้านหรือทใ่ี ดก็ได้ และเวลาใดก็ได้ 4) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบท้องถ่ินไปเป็นเศรษฐกิจโลก ระบบ เศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจากัดภายในประเทศ ก็กระจายเป็นเศรษฐกิจโลก ท่ัวโลกจะมีกระแสการ หมุนเวยี นแลกเปลี่ยนสนิ ค้า บริการอยา่ งกวา้ งขวางและรวดเรว็ เทคโนโลยีสารสนเทศมีส่วนเอ้ืออานวยให้การ ดาเนนิ การมขี อบเขตกวา้ งขวางมากย่งิ ขนึ้ ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศในโลกเช่ือมโยงและมีผลกระทบต่อ กัน 5) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้องค์กรมีลกั ษณะผกู พันหนว่ ยงานภายในเป็นแบบเครือข่ายมากข้ึน แต่ เดิมการจดั องคก์ รมีการวางเป็นลาดับขนั้ มสี ายการบงั คบั บญั ชาจากบนลงล่าง แต่เม่ือการส่ือสารแบบสองทาง และการกระจายข่าวสารดีข้ึน มกี ารใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์กรผูกพันกันเป็นกลุ่มงาน มีการเพ่ิมคุณค่า ขององค์กรด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดโครงสร้างขององค์กรจึงปรับเปลี่ยนจากเดิม และมีแนวโน้มท่ีจะ สรา้ งองค์กรเปน็ เครือข่ายท่ีมลี ักษณะการบงั คับบัญชาแบบแนวราบมากข้ึน หน่วยธุรกิจจะมีขนาดเล็กลง และ เช่ือมโยงกนั กับหนว่ ยธุรกิจอน่ื เปน็ เครือขา่ ย โครงสรา้ งขององค์กรจึงเปลยี่ นแปลงไปตามกระแสของเทคโนโลยี 6) เทคโนโลยีสารสนเทศ ก่อให้เกิดการวางแผนการดาเนินการระยะยาวข้ึน อีกทั้งยังทาให้วิถีการ ตัดสินใจรอบคอบมากข้ึน แต่เดิมการตัดสินปัญหาอาจมีหนทางให้เลือกได้น้อย เช่น มีคาตอบเดียว ใช่ และ ไม่ใช่ แตด่ ว้ ยข้อมลู ขา่ วสารท่ีสนับสนุนการตดั สนิ ใจ ทาให้วิถีความคิดในการตัดสินปัญหาเปลี่ยนไป ผู้ตัดสินใจ มที างเลือกได้มากและมีความรอบครอบในการตัดสินปญั หาได้ดีขึ้น 7) เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีเดียวท่ีมีบทบาทที่สาคัญในทุกวงการ ดังน้ันจึงมีผลต่อการ

35 เปล่ยี นแปลงทางสังคม วัฒนธรรม ศลี ธรรม การศึกษาเศรษฐกิจและการเมืองได้อย่างมาก ลองนึกดูว่าขณะน้ี เราสามารถชมข่าว ชมรายการทีวี ท่ีส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทั่วโลก เราสามารถรับรู้ ข่าวสารได้ทนั ที เราใช้เครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตในการส่ือสารระหว่างกัน และติดต่อกับคนได้ท่ัวโลก จึงเป็นท่ีแน่ ชัดว่าแนวโนม้ การเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองจึงมีลักษณะเป็นสังคมโลกมาก ขึ้น ปญั หาและอุปสรรคในการใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา สภาพปจั จุบนั และปัญหาการใชเ้ ทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทย จากความเจริญก้าวหน้าทางวทิ ยาการจึงทาใหก้ ระบวนการจัดการศึกษาต้องเปล่ียนแปลงตามไปด้วย อย่างตอ่ เน่อื ง ดังนั้นเทคโนโลยีการศึกษาไม่ว่าจะเป็นสื่อวัสดุอุปกรณ์ประเภทต่างๆรวมทั้งเทคนิควิธีการและ แหลง่ สนับสนนุ การเรียนรู้ต้องเปล่ียนแปลงตามไปด้วยเช่นกัน คอมพิวเตอร์ ได้เข้ามามีอิทธิพลและมีบทบาท ต่อการจดั การศกึ ษาอย่างเดน่ ชดั มากย่งิ ขน้ึ และดูเหมอื นว่าจะเปน็ ส่อื ทน่ี ่าสนใจและเป็นส่อื ทตี่ ้องการของหลาย ฝ่ายที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาทุกๆระดับ ท้ังนี้สังคมคาดหวังว่าส่ือยุคใหม่หรือนวัตกรรมทางการสอนท่ี แปลกใหม่และมคี วามหลากหลายเหล่าน้ันจะช่วยเสริมสร้างประสิทธิภาพและประสิทธิผลทางการเรียนรู้และ การจดั การศึกษาโดยรวมในท่ีสุด หากมองย้อนหลังสักหน่อย จะพบว่าเราเร่ิมจาก การไม่มี อยากมี แล้วได้มี ติดตามด้วยใช้ไม่ค่อยเป็น แล้วก็ใช้เป็นกันมากข้ึน แต่ได้ประโยชน์ มีแก่นสารสาระหรือไม่เป็นเร่ืองน่าคิด ส่วนมากจะเขา้ ลกั ษณะใช้เป็น แต่ไม่ค่อยได้ประโยชน์ ดูท่ีกลุ่มเยาวชนก็แล้วกันว่าเขากาลังทาอะไรกันอยู่กับ อินเตอร์เน็ต เสียเวลาและทรัพยากรไปเท่าไร และได้อะไรตอบแทนกลับมา ส่วนมากจะเข้ าข่ายไร้สาระ มากกว่า ปญั หาท่ีพบในการใชน้ วัตกรรมการศกึ ษา 1. ปัญหาด้านบุคลากร บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจในการผลิตส่ือประกอบการจัดกิจกรรม บุคลากรขาดประสบการณ์ในการใช้ส่ือนวัตกรรมทางการศึกษา ไม่เข้าใจและรู้จักวิธีการใช้นวัตกรรมที่ทาง โรงเรียนจดั ทาข้นึ ขาดความชานาญในการใช้นวัตกรรม ขาดส่ือประกอบการเรียน บุคลากรส่วนใหญ่ให้ความ รว่ มมอื ในการใชน้ วัตกรรม แต่ขาดความต่อเนื่องแนวทางแก้ไข คือ สร้างความตระหนัก ความรับผิดชอบใน ส่วนท่ียังบกพร่องทางนวัตกรรมของบุคลากร ส่งเสริมให้เข้าร่วมการอบรมสัมมนา ส่งเสริมให้เกิดการศึกษา ด้วยตนเอง เพือ่ ให้ความร้แู ละประสบการณ์ในการใช้ส่อื นวตั กรรมทางการศึกษาทมี่ ากขึ้น 2. ปัญหาด้านวัสดุ อุปกรณ์ และงบประมาณ เก่ียวกับนวัตกรรม คือ ขาดงบประมาณในการพัฒนา นวัตกรรม ขาดวัสดุ – อปุ กรณ์และงบประมาณทจ่ี ะพัฒนาสือ่ นวัตกรรม การจัดหา การใช้ การดูแลรักษาและ ขาดงบจัดหาสอ่ื ทนั สมัย แนวทางการแก้ไข เพ่ิมงบประมาณให้เพียงพอ ให้หน่วยงานท่ีมีส่วนเก่ียวข้องจัดหา งบประมาณสนับสนนุ สานกั งานเขตพื้นท่ีต้องช่วยดูแลและให้ความช่วยเหลือจัดสรรงบประมาณได้ เพ่ือใช้ใน การพัฒนานวตั กรรมใหม้ ีคุณภาพดยี ่ิงขน้ึ และระดมทรพั ยากรทีม่ ีในทอ้ งถ่ิน มาชว่ ยสนับสนนุ 3. ปญั หาด้านสภาพแวดลอ้ ม และสถานที่การใช้นวัตกรรม สภาพแวดล้อมโดยท่ัวไปยังไม่เหมาะสม กับการใช้สื่อ เนื่องจากความยุ่งยากและไม่คล่องตัว มีสถานท่ีไม่เป็นสัดส่วน ไม่มีห้องท่ีใช้เพื่อเก็บรักษาส่ือ

36 นวัตกรรมเป็นการเฉพาะ ทาใหก้ ารดแู ลทาไดย้ ากและขาดการพฒั นาที่ตอ่ เนือ่ ง แนวทางการแก้ไข คือ ใช้สื่อ นวตั กรรมตามความเหมาะสมของเน้ือหาวิชาตามความยากง่ายของเนื้อหา จัดทาห้องส่ือเคลื่อนที่ แบ่งสื่อไป ตามห้องใหค้ รรู ับผดิ ชอบ ควรจัดหาหอ้ งเพื่อการนี้เป็นการเฉพาะ 4. ปัญหาด้านสภาพการเรียนการสอน เด็กมีความแตกต่างกันด้านสติปัญญา และด้านร่างกาย ปญั หาครอบครวั แตกแยก เด็กอาศัยอย่กู ับญาติ มีเนือ้ หาวชิ าทม่ี ากและสาระ การเรียนการสอนแต่ละครั้งไม่ ตอ่ เน่อื ง นกั เรียนบางคนไมส่ บายใจในกิจกรรม และทาไม่จรงิ จงั จึงมผี ลตอ่ การจัดกิจกรรม นักเรียนต้องเข้าคิว รอนานกับนวัตกรรมบางชนิด และสภาพการเรยี นการสอน ครูยังยึดวิธีการสอนแบบเดิม คือ บรรยายหน้า ช้นั เรียน แตสว่ นใหญม่ แี นวโน้มในการพัฒนาท่ดี ีข้นึ ครยู ังไม่มีการนาสอ่ื นวัตกรรมมาใชใ้ นการจัดการเรยี นการ สอนอย่างตอ่ เนือ่ ง แนวทางการแก้ไข คือ จัดกลุ่มให้เพื่อนช่วยเพ่ือน คอยกากับแนะนาช่วยเหลือ จัดครูเข้า สอนตามประสบการณ์ความถนัด ควรจัดอบรมเพื่อให้ความรู้ จัดทานวัตกรรมที่มีโอกาสเป็นไปได้ และสร้าง การมีสว่ นร่วมจากชุมชน สอนเพ่ิมเติมนอกเวลา และจัดการสอนแบบรวมช้ัน โดยใช้กระบวนการเรียนการ สอนตามช่วงช้ัน 5. ปัญหาดา้ นการวัดผลและประเมินผล คือ บุคลากรขาดความรู้ในการที่จะนาส่ือนวัตกรรมมาใช้ใน การวดั ผลและประเมินผล นักเรียนที่ไม่ค่อยสนใจหรือไม่ชอบกิจกรรมก็จะมีผลต่อการจัดผลประเมินผล ขาด นวตั กรรมส่ือคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต การวัดประเมินผล ครูส่วนใหญ่ยังใช้วิธีการทาแบบทดสอบ แบบ ปรนัย แนวทางการแกไ้ ข จดั ทาแบบสอบถามสุม่ เป็นรายบคุ คล เพศชาย หญิง เน้นนักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง และสร้างองคค์ วามรูด้ ้วยตนเอง จัดแบบทดสอบที่หลากหลาย ทั้งแบบปรนัย และอัตนัย และประเมินผลตาม สภาพจรงิ ประเมินผลงานจากแฟม้ สะสมงาน ปัญหา อปุ สรรค การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารของสถานศกึ ษา 1. ดา้ นการกระจายโครงสร้างพืน้ ฐานเพอ่ื การศึกษา มีสถานศึกษาจานวนหน่ึงที่โทรศัพท์ยัง เขา้ ไมถ่ งึ และคอมพวิ เตอร์ยังไม่มีหรือมแี ตไ่ ม่เพยี งพอต่อความต้องการ และทม่ี ีอยู่ก็ขาดการบารุงรกั ษา รวมท้ัง ไม่อย่ใู นสภาพทใี่ ชก้ ารได้ แสดงให้เห็นวา่ โครงสรา้ งพน้ื ฐานเพ่ือการศกึ ษาโดยเฉพาะคสู่ ายโทรศพั ท์ยงั มีบริการ ไม่ท่ัวถึง อาจจะเป็นไปได้ว่าสถานศึกษาเหล่าน้ีอยู่ในท้องถ่ินที่ห่างไกล ดังนั้นสถานศึกษาต้องรีบดาเนินการ เพราะเปน็ พน้ื ฐานที่จาไปส่รู ะบบอนิ เทอรเ์ นต็ 2. ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครูใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือพัฒนาทักษะวิชาชีพครูน้อยมาก และคอมพิวเตอร์มีจานวน ไม่พอกับความ ต้องการทค่ี รูจะใช้ แสดงให้เห็นว่าครูยังต้องได้รับการพัฒนาด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อีกเป็นจานวน มาก และสถานศกึ ษาก็ตอ้ งจดั หาคอมพิวเตอร์ให้เพียงพอต่อความต้องการของครู 3. ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือพัฒนาการบริหารจัดการและให้บริการทางการศึกษา สถานศึกษายังขาดรูปแบบระบบสารสนเทศ ผู้บริหารให้มีความรู้ความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารในระดับเบื้องต้น แสดงให้เห็นว่าสถานศึกษายังไม่มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่เป็นรูปธรรมท่ี ชัดเจน ผู้บริหารต้องได้รับการพัฒนาด้านการใช้เทคโนโลยีสารเสนเทศและการส่ือสารเพ่ือให้เกิดความ

37 ตระหนักและเห็นความสาคัญของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารท่ีจะนามาพัฒนาการบริหาร จัดการและการบริการทางการศึกษา 4. ด้านการผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาตนเองของครูด้าน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศยงั ขาดความต่อเนื่อง บางคนใน 3 ปีที่ผ่านมายังไม่เคยไปเข้ารับการฝึกอบรมด้าน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเลย แสดงให้เห็นว่า ครูได้รับการพัฒนาด้านการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสอื่ สารยังไมท่ ว่ั ถึงเพราะมีครูอกี จานวนหน่งึ ทีใ่ นรอบ 3 ปีทผี่ า่ นมายังไม่เคยได้รับการอบรม ด้านการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเลย

38 บทท่ี 2 ความรู้เบอ้ื งต้น เกย่ี วกบั ข้อมลู สารสนเทศ ความร้เู บอื้ งต้นเก่ยี วกับระบบสารสนเทศความสาคัญของสารสนเทศในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีผลกระทบ อย่างกวา้ งขวางในสาขาตา่ งๆ ทง้ั ภาครัฐและเอกชน ในระดับบคุ คลและองคก์ าร ทาใหม้ ีการนาระบบสารสนเทศมา ประยุกต์ใช้ทางานในสาขาวิชาชีพต่างๆ เช่น ธุรกิจ กฎหมาย วิทยาศาสตร์ การศึกษา การแพทย์ สาธารณสุข วิศวกรรมศาสตร์ และงานบริการสังคมด้านต่างๆ สาหรับองค์การท่ีสามารถจัดการกับสารสนเทศได้ดีภายใต้การ เปลยี่ นแปลงดังกลา่ วย่อมจะดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ทาให้มีความได้เปรียบในการแข่งขัน และช่วยใหเ้ กิดความพอใจในการทางานมากขน้ึ อันจะนาพาองคก์ ารส่วู ัตถุประสงคท์ ่ีได้ตง้ั เอาใว้ ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ ระบบสารสนเทศสร้างขึน้ มาเพือ่ จดุ ม่งุ หมายหลายประการจดุ มงุ่ หมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ใหเ้ ปน็ สารสนเทศ (Information) และนาไปสคู่ วามรู้ (Knowledge) ท่ชี ่วยแก้ปญั หาในการดาเนนิ งาน ความหมายของข้อมูล ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือข้อมูลดิบที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล ยังไม่มีความหมายในการ นาไปใช้งาน ข้อมลู อาจเป็นตวั เลข ตัวอกั ษร สญั ลกั ษณ์ รปู ภาพ เสียง หรอื ภาพเคลือ่ นไหว ความหมายของสารสนเทศ สารสนเทศ คือ ข้อมูลทีไ่ ด้ผ่านการประมวลผลหรอื จดั ระบบแลว้ เพื่อให้มีความหมายและคณุ ค่าสาหรับผ้ใู ช้ ความหมายของความรู้ (Knowledge) ความรู้ คอื ความรบั รแู้ ละความเข้าใจในการนาสารสนเทศไปใช้ในการแก้ปัญหาในการดาเนินงาน ความรู้ถือเป็น สารสนเทศทีม่ มี ูลคา่ มากทีส่ ดุ ความร้เู ป็นส่วนผสมผสานระหว่างสารสนเทศ คานิยาม ประสบการณ์ และกฎเกณฑ์ ต่างๆ ด้วย ความรจู้ ะเก่ยี วข้องกับการวิเคราะห์สารสนเทศจากหลายแห่งภายในช่วงระยะเวลาหนึ่ง คอมพิวเตอร์ สามารถ จัดการข้อมูลได้ดีแต่คอมพิวเตอร์จะมีประสิทธิภาพลดลงในการจัดการสนเทศและความรู้ตามลาดับ โดยเฉพาะความรู้ท่ีมีความซับซอ้ นและยากทีจ่ ะระบุไดช้ ัดเจน ยง่ิ เป็นสิ่งท่ีเป็นไปได้ยากท่ีจะประมวลและวิเคราะห์ ความรโู้ ดยเครื่องคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต มีความสาคัญในชีวิตประจาวันของมนุษย์ในสังคมปัจจุบันมากข้ึน เนื่องจากสังคม ขณะน้ีกาลังเข้าสู่สังคมแห่งเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือสังคมไอที ทั้งนี้ เพราะคอมพิวเตอร์เป็น เคร่ืองมือสาคัญในการช่วยอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ไม่ว่าจะเป็นการทางานด้านการส่งข้อมูลข่าวสารระหว่างท่ี

39 หนึ่งไปยงั อกี ที่หนึ่ง ในรูปแบบสอ่ื ทั้งภาพเสยี งตัวอักษรและมัลติมเี ดีย ได้อยา่ งรวดเรว็ ฉบั ไวทันเวลาทตี่ ้องการ หาก แต่ใน ปัจจุบัน ไ ด้มีการใช้ ส่ือคอมพิวเตอร์ไปในทางไม่เหมาะสม เช่น นาไปใช้แพร่ภาพลามกอนาจาร นาภาพไปตัดต่อเข้าสู่ระบบ คอมพิวเตอรท์ าให้ผู้อ่ืนเสียหาย ปลอมแปลง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อ่ืนโดยไม่ได้รับอนุญาต ก่อกวนทาร้ายผู้ใช้ คอมพิวเตอรอ์ น่ื ๆ หลอกลวง ก่อการร้าย การปอ้ งกนั ปราบปรามและจบั กุมดาเนนิ คดีแก่ผูท้ ี่ใชค้ อมพิวเตอร์ในทางท่ี ทาใหเ้ กิดความเสยี หายแก่ผอู้ ่ืน หรอื เกดิ ความเสียหาย แก่ประเทศชาติ จึงเป็นเรื่องจาเป็นท่ีจะต้องมีการแก้ปัญหา ดังกล่าว สาเหตุน้ีจึงเกิดการร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทา ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ข้ึน โดยมีเจตนารมณ์ คือ เพื่อเป็นการใช้กรอบแห่งกฎหมายในการ กาหนดฐานความผิดและบทลงโทษในการเรียกร้องค่าเสียหายแก่ผู้กระทาความผิด เพ่ือคุ้มครองสิทธิให้แก่ ประชาชน การกาหนดบทบญั ญัตเิ กย่ี วกับอานาจหนา้ ทขี่ องเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ทั้งด้านนโยบาย มาตรฐาน แนว ปฏิบัติ และกาหนดหน้าท่ีของผู้ให้บริการไม่ว่าจะแก่ตนเองหรือบุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือ ทาให้ สามารถติดต่อถึงกันโดยผ่านระบบคอมพิวเตอร์ โดยให้มีแนวทางการปฏิบัติตามดาเนินงานให้เกิดความชัดเจน ถูกตอ้ งในแนวทางเดียวกัน จากการสารวจความคิดเห็นของประชาชนหลังพระราชบัญญัติว่าด้วย การกระทาความผดิ เกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 โดยสานักงานสถิติแห่งชาติ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุง การประชาสัมพันธ์เผยแพร่เกี่ยวกับพระราชบัญญัติให้แก่สาธารณะชนได้เข้าใจอย่างแท้จริง และเป็นผลให้การ บังคบั ใชพ้ ระราชบัญญัตมิ ปี ระสิทธภิ าพสูงสุด ระบบการสบื คน้ ผ่านเครือขา่ ยเพอ่ื การเรยี นรู้ ยุคปัจจุบันระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสาคัญเพ่ิมมากขึ้น ซึ่งเกิดจากความต้องการและความ จาเปน็ ในการตดิ ต่อส่อื สาร การแสวงหาความรใู้ ห้ทนั เหตกุ ารณ์ตลอดเวลา จึงก่อให้เกิดความต้องการท่ีจะเช่ือมต่อ คอมพวิ เตอรเ์ หลา่ น้ันถงึ กับเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพ่ิมการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุน ระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทางานร่วมกันได้ ส่ิงสาคัญที่ทาให้ ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการเชื่อมต่อหรือการส่ือสาร การ โอนย้ายข้อมูล หมายถึง การนาข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนาข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ การเช่อื มตอ่ คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ เครอื ข่ายจงึ เป็นการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากข้ึน แม้กระทั้ง การใช้งานในหน่วยงานหยอ่ ย ระบบเครอื ข่ายกเ็ ปน็ สง่ิ ท่ีทุกคนต้องใชเ้ ป็น และให้ความสาคัญเป็นอยา่ งยง่ิ การทีร่ ะบบเครือขา่ ยมีบทบาทและ ความสาคญั เพม่ิ ข้ึน เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเช่ือมต่อ คอมพวิ เตอร์เหล่านั้นถงึ กับเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุน ระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทางานร่วมกันได้ ส่ิงสาคัญท่ีทาให้ ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มข้ึน คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการเชื่อมต่อหรือการสื่อสาร การ

40 โอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนาข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ ทรพั ยากร เช่น แบง่ กันใชซ้ พี ียู แบง่ กนั ใช้ฮาร์ดดิสก์ แบง่ กนั ใชโ้ ปรแกรม และแบ่งกนั ใช้อุปกรณอ์ นื่ ๆ ท่ีมีราคาแพง หรือไมส่ ามารถจดั หาใหท้ ุกคนได้ การเชื่อมตอ่ คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ เครอื ขา่ ยจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้ กว้างขวางและมากขึน้ จากเดิม การเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถ่ิน ไม่ได้จากัดอยู่ท่ีการ เช่อื มตอ่ ระหวา่ งเครอื่ งไมโครคอมพวิ เตอร์ แต่ยังรวมไปถงึ การเชอื่ มตอ่ อุปกรณ์รอบขา้ ง เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทาให้ การทางานเฉพาะมขี อบเขตกว้างขวางย่ิงขนึ้ มกี ารใชเ้ คร่อื งบริการแฟม้ ขอ้ มลู เป็นที่เก็บรวบรวมแฟ้มข้อมูลต่างๆ มี การทาฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการระบบสื่อสารหน่วยบริการใช้เคร่ืองพิมพ์ หน่วยบริการการใช้ซีดี หน่วย บริการปลายทาง และอุปกรณ์ประกอบสาหรับต่อเข้าในระบบเครือข่ายเพ่ือจะทางานเฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่าง หนึ่ง ในรูป เป็นตัวอย่างเครือข่ายคอมพวิ เตอรท์ ีจ่ ัดกลมุ่ เชื่อมโยงเปน็ ระบบ ระบบเครือข่ายในโรงเรียน คอื อะไร ระบบเครือข่าย หมายถึง การเช่ือต่อเคร่ืองคอมพิวเตอร์ต้ังแต่ 2 เคร่ืองข้ึนไปเข้าด้วยกันด้วยสายเคเบิล หรือสอื่ อน่ื ๆ เพื่อทาให้คอมพิวเตอร์สามารถรับส่งขอ้ มูลแก่กันได้ โดยแบง่ ตามลักษณะการตดิ ต้ัง ดังนี้ 1. เครือข่ายท้องถ่ิน (Local Area Network : Lan) เป็นเครือข่ายระยะใกล้ ใช้บริเวณเฉพาะท่ี เช่น ภายในอาคารเดียวกนั หรือภายในบริเวณเดียวกัน ระบบ LAN จะช่วยให้มีการติดต่อกันได้สะดวก ช่วยลดต้นทุน ชว่ ยเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการใช้งานอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์รว่ มกนั และใชข้ ้อมูลรว่ มกนั ไดอ้ ย่างคมุ้ คา่ 2. เครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network : Man) เป็นเครือข่ายขนาดกลางใช้ภายในเมืองหรือ จังหวัด ตัวอย่างเช่น เคเบิลทีวี 3.เครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network : Wan) เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ ติดตั้งใช้งานบริเวณกว้างมี สถานีหรือจดุ เชอ่ื มมากมาย และใช้ส่อื กลางหลายชนิด เช่น ไมโครเวฟ ดาวเทยี ม 4. เครือข่ายระหว่างประเทศ (International Network) เป็นเครือข่ายท่ีใช้ติดต่อระหว่างประเทศ โดยใช้สาย เคเบิล หรือดาวเทียม ระบบ เครือขา่ ยท้องถิ่น ( Local Area Network หรอื LAN ) เป็นเครือขา่ ยระยะใกล้ เช่น ภายในโรงเรียน มหาวิทยาลัย สานักงาน เป็นต้น ซ่ึงเป็นการช่วยให้ติดต่อกันได้สะดวก ช่วยลดต้นทุน และเพ่ิมประสิทธิภาพในการทางานและ ทกั ษะการใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ไม่ได้จากัดอยู่ท่ีการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ยังรวมไปถึงการเชื่อมต่อ อุปกรณ์รอบข้าง เทคโนโลยีท่ีก้าวหน้าทาให้การทางานเฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิ่งข้ึน มีการใช้เคร่ืองบริการ แฟม้ ข้อมลู เป็นท่ีเก็บรวบรวมแฟม้ ข้อมูลต่าง ๆ มีการทาฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการระบบส่ือสารหน่วยบริการ ใช้เครื่องพิมพ์ หน่วยบริการการใช้ซีดี หน่วยบริการปลายทาง และอุปกรณ์ประกอบสาหรับต่อเข้าในระบบ เครือข่ายระยะใกล้ทอ้ งถ่นิ เพือ่ จะทางานเฉพาะเจาะจงอยา่ งใดอย่างหนงึ่ ในรปู เป็นตวั อย่างเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ทจี่ ดั กล่มุ เช่ือมโยงเป็นระบบ

41 ประโยชนข์ องการใช้ระบบเครอื ขา่ ย ( LAN ) ในโรงเรียน - การตดิ ตอ่ สือ่ สาร การถา่ ยโอน สืบค้นข้อมูลกระทาได้โดยงา่ ย สะดวก - ประหยดั เวลา ประหยดั แรงงาน - สามารถใชอ้ ุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกันได้ หากมีไม่เพียงพอกับความต้องการ - เป็นสือ่ ในการจดั กระบวนการเรียนการสอน โดยใชส้ อื่ CAI หรือบทเรียนสาเร็จรปู - การสืบคน้ ขอ้ มูลจากระบบเครอื ข่ายขนาดใหญ่ โดยผ่านระบบ LAN องค์กรสถานศึกษาสมัยใหม่จาเป็นต้องมีการปรับตัวเองให้ทันสมัย ทันเหตุการณ์ แม้กระท้ังระบบการ จัดการเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการเรียนรู้ การสืบค้นเอกสาร หรือการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ที่ผ่านการ ประมวลผลเรียบร้อยแล้ว ซึ่งอาจเป็นการจัดอันดับคุณภาพของตนเองให้ได้มาตรฐานมาที่ สมศ.กาหนด ตาม นโยบายต้นสังกัด หรือตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน ซ่ึงถือเป็นการประกันคุณภาพการศึกษา และสร้างความมั่นใจ ใหก้ บั ผปู้ กครองและผู้ทม่ี สี ว่ นได้เสยี ในด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ผ่านเครือข่าย โดยครูไม่จาเป็นต้องเป็นผู้แสดง บทบาทเพียงคนเดียว ในหน่ึงห้องงเรียนนักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูล หรือเรียนร่วมกันหลาย ๆ วิชา เพียงแต่มี เครื่องควบคุม ที่เรียกวา่ Server ผ่านระบบเครือขา่ ยระยะใกล้ ทีเ่ รียนกว่า LAN ประกอบไปด้วย Hub เป็นส่ือต่าง ได้การเข่งขัน การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในองค์กรจึงเป็นหนทางหน่ึงท่ีจะทาให้ธุรกิจคงอยู่ได้ โดยเฉพาะใน ปจั จุบัน โครงสร้าง ระบบธรุ กิจมแี นวโน้มของการเปิดเสรี และเปิดกว้างเพ่ือแข่งขันกันได้ทั่วโลก จากวิกฤติการณ์ ทางด้าน เศรษฐกิจของประเทศไทยที่ผา่ นมา ทาให้บรษิ ทั ดาเนนิ การทางธุรกิจส่วนใหญ่ประสบปัญหา สถานศึกษา ตอ้ งสรา้ งจติ สานกึ ร่วมหลายๆ อย่างโดยเฉพาะผ้เู รยี น ครู ถึงความจาเป็นในการนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในสถานศึกษา ในขณะเดียวกันตอ้ งสร้างค่านิยมและความซ่อื สตั ย์ต่อตนเอง ความตรงต่อเวลา ความประหยัดและ เน้นในเรอื่ งประสิทธภิ าพของการเรยี นการสอน ตัวบุคคลเป็นหลักก่อน จากน้ันเน้นการทางานเป็นแบบเวิร์กกรุ๊ฟ เพื่อสนบั สนุนงานภายในทีม หรืองานภายนอกแผนก เพื่อคุณภาพ และการทางานร่วมกัน จากนั้น ก้าวเข้าสู่การ รวมกลุ่มงานยอ่ ยเปน็ งานหรือแต่ละกลุ่มสาระ และขยายระบบเครือข่ายจากส่วนกลางสหู่ ้องเรยี น ห้องพิเศษต่าง ๆ โดยการสร้างการทางานร่วมกันเพ่ือวัตถุประสงค์อย่างเดียวกัน โดยเฉพาะการจัดการข้อมูลข่าวสาร และการ จัดระบบการเรียนการสอนปัจจุบันการจัดเก็บข้อมูลหรือการติดต่อส่ือสารจะใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ให้แก่ผู้เรยี นอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและทนั สมัย ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างอิสระ เรียนรู้ อย่างมีความสุขโดยยึดเด็กเป็นสาคัญ ครูผู้สอนสามารถให้สื่อต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรม หรือใช้บทเรียนสาเร็จรูป ทั้งยังเป็นส่ือที่เร้าความสนใจ ประหยัดเวลา ประหยัดทรัพยากร ประหยัดงบประมาณ และยังมีประสิทธิภาพสูง ด้วย ทาใหเ้ กิดประโยชนแ์ ก่นกั เรียนและครูผู้สอน ดงั นี้- นักเรียนรผู้ ่านระบบเครือขา่ ย แม้วา่ จะไม่มีระบบเครือข่าย อนิ เทอรเ์ นต็ ในโรงเรียน

42 - สร้างความม่ันใจแก่ผู้เรียน และฝึกทักษะการเรียนรู้โดยยึดนักเรียนเป็นสาคัญ- มีความรอบรู้ สามารถใช้ระบบ เครอื ข่ายเปน็ - ฝกึ ทักษะการสืบคน้ ข้อมลู และรู้จักการประมวลผลขอ้ มลู - สาหรับครูท่ีมีงานอื่น ๆ มาก สามารถให้นักเรียนเรียนรู้โดยใช้ส่ือ CAI ค้นคว้าข้อมูลต่าง ๆ โดยผ่าน ระบบ LAN ใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกัน เช่น Printer เปน็ ต้น - ครูมเี วลาในการผลิตสือ่ เตรยี มการสอน เตรยี มกิจกรรมเสรมิ เป็นต้น จะเห็นว่าการใช้ระบบเครือข่ายในโรงเรียนเป็นอีกวิธีหนึ่งท่ีแก้ปัญหาต่าง ๆ ในโรงเรียนประถมศึกษา แสดงถงึ วสิ ยั ทศั น์ทกี่ วา้ งไกล สรา้ งแรงใจและความภาคภูมิใจแก่ ผู้เรียน ครผู สู้ อน ผ้ปู กครอง และผู้ที่มีเก่ียวข้องกับ สถานศกึ ษา และยังเป็นการแสดงถงึ ศักยภาพและประสิทธิภาพการทางาน การประกันคุณภาพ และได้มาตรฐาน ตามตอ้ งการ เป็นตัวอย่างท่ีดีและเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าท่ีทันสมัยทันเหตุการณ์ ตลอดจนเป็นการประหยัดเวลา ประหยดั งบประมาณ ใช้ทรพั ยากรอยา่ งคุ้มคา่ การสืบค้น และรบั สง่ ข้อมลู แฟม้ ข้อมลู และสารสนเทศเพือ่ ใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ การรับ-สง่ ขอ้ มูลบนเครือขา่ ยอินเตอรเ์ น็ต การรบั -ส่งข้อมลู บนเครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ต โดยใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) หรือที่นิยม เรยี กกันวา่ อีเมล (E-Mail) หมายถึง การสื่อสารหรือการส่งข้อความจากคอมพิวเตอร์เครื่องหน่ึงผ่านไปเข้าเคร่ือง คอมพิวเตอร์อีกเครื่องหน่ึงโดยส่งผ่านทางระบบเครือข่าย (Network) ผู้ส่งจะต้องมีเลขท่ีอยู่ (E-mail Address) ของผ้รู บั และผู้รับสามารถเปิดคอมพิวเตอร์เรียกข่าวสารนั้นออกมาดูเมื่อใดก็ได้ โดยท่ัวไปจัดว่าเป็นงานส่วนหน่ึง ของสานักงานอตั โนมตั ิ (Office Automatic) ซ่ึงปจั จุบันได้รบั ความนยิ มเปน็ อยา่ งมาก ประโยชนข์ องการรับ-สง่ ข้อมลู ทางจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ การรบั -ส่งขอ้ มลู ทางจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ถอื ว่าเป็นสว่ นสาคัญในการสอ่ื สารบนเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตท่ี นิยมใช้มากทีส่ ุด เพราะมปี ระโยชนม์ ากมาย ดังน้ี 1. ทาให้การตดิ ต่อสอื่ สารทวั่ โลกเปน็ ไปอยา่ งรวดเร็ว ระยะทางไม่เปน็ อุปสรรคสาหรับอีเมลในทุกแห่งทั่วโลกท่ี มเี ครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อถึงกันได้ สามารถเข้าไปสถานท่ีเหล่านั้นได้ทุกที่ ทาให้ผู้คนท่ัวโลกติดต่อถึงกันได้ ทนั ที ผู้รับสามารถจะรบั ข่าวสารจากอีเมลได้ทนั ทีทผ่ี สู้ ง่ จดหมายสง่ ขอ้ มูลผ่านทางคอมพิวเตอร์เสร็จสิ้น 2. สามารถส่งจดหมายถงึ ผู้รบั ทีต่ ้องการไดท้ กุ เวลา แม้ผรู้ ับจะไมไ่ ดอ้ ยู่ท่ีหน้าจอคอมพิวเตอร์ก็ตามจดหมาย จะถูกเกบ็ ไวใ้ นตู้จดหมายของคอมพิวเตอร์และเป็นส่วนตัว จนกว่าเจ้าของจดหมายท่ีมีรหัสผ่านจะเปิดตู้จดหมาย ของตนเองอา่ น 3. สามารถสง่ จดหมายถงึ ผรู้ บั หลายๆคนได้ในเวลาเดียวกนั โดยไม่ต้องเสียเวลาส่งให้ทีละคน กรณีนี้จะใช้ กบั จดหมายท่ีเป็นขอ้ ความเดยี วกนั เชน่ หนังสอื เวียนแจ้งขา่ วให้สมาชกิ ในกลมุ่ ทราบหรือเป็นการนัดหมายระหว่าง

43 สมาชกิ ในกลุ่ม เปน็ ต้น 4. ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทางไปส่งจดหมายที่ตู้ ไปรษณีย์หรือที่ทาการไปรษณีย์ ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่ง เนื่องจากไม่ต้องคานึงถึงปริมาณน้าหนักและ ระยะทางของจดหมายเหมือนกับการส่งทางไปรษณยี ธ์ รรมดา 5. ผู้รับจดหมายสามารถเรยี กอ่านจดหมายได้ทุกเวลาตามสะดวก ซึ่ง จะทาใหท้ ราบวา่ ในต้จู ดหมายของผู้รับมีจดหมายกฉี่ บบั มีจดหมายทอ่ี ่านแลว้ หรอื ยังไมไ่ ด้เรียกอ่านก่ีฉบับ เม่ืออ่าน จดหมายฉบับใดแล้ว หากต้องการลบทิ้งก็สามารถเก็บข้อความไว้ในรูปของแฟ้มข้อมูลได้ หรือจะพิมพ์ออกมาลง กระดาษก็ได้เชน่ กัน 6. สามารถถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล (Transferring Flies) แนบไปกับจดหมายถึง ผรู้ ับได้ ทาให้การแลกเปลยี่ นข่าวสารเป็นไปไดโ้ ดยสะดวก รวดเรว็ ทันเวลาและทันเหตุการณ์ จากความสาคัญของ อเี มลท่ีสามารถอานวยประโยชน์ใหก้ ับผู้ใช้อย่างคมุ้ คา่ นี้ ทาใหใ้ นปจั จุบันอีเมลกลายเป็นส่วนหน่ึงของสานักงานทุก แห่งทั่วโลก ท่ที าใหส้ มาชกิ ในชมุ ชนโลกสามารถตดิ ตอ่ กนั ผ่านทางคอมพวิ เตอร์ได้ในทกุ ท่ีทุกเวลา เว็บไซตท์ ่ใี ห้บริการฟรอี เี มล การรบั -ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์มบี ริการทใ่ี ห้ใชบ้ ริการไดโ้ ดยไมต่ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ ่าย เว็บไซต์ท่ีให้บริการน้ีมี จานวนมาก ตัวอยา่ งเช่น 1. www.sabuyjai.com 2. www.narakmai.com 3. www.hotmail.com 4. www.yahoo.com 5. www.gmail.com ววิ ฒั นาการของสารสนเทศ ในสังคมปจั จบุ ัน ขอ้ มลู ข่าวสาร และสารสนเทศ ถือว่าเปน็ สิ่งทม่ี ีคา่ มากในการดาเนินชีวิตในปัจจุบัน และ เนื่องจากเทคโนโลยีตา่ งๆ ในปัจจุบันได้พัฒนาไปมากและราคาไม่แพง ทาให้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ได้ง่าย ขนึ้ และทุกคนสามารถหานามาใช้ไดร้ ะบบสารสนเทศนัน้ อาจมองงา่ ยๆวา่ เปน็ การนาข้อมูลต่างๆ มาประมวลผลให้ เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้และเทคโนโลยีท่ีช่วยในการประมวลผลข้อมูล ก็หนีไม่พ้นเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เม่ือ คอมพิวเตอรพ์ ฒั นาไปมากข้นึ กท็ าใหร้ ะบบสารสนเทศต่างๆ พฒั นามากข้นึ ไปดว้ ย ววิ ฒั นาการของสารสนเทศ ในระบบสารสนเทศน้ันจะมีการนาเสนอข้อมูลต่างๆ มาประมวลผลให้ข้อมูลนั้นเป็นประโยชน์ต่อการ นาไปใช้งานในอดีตที่ยังไม่มี คอมพิวเตอร์ก็ยังมีเคร่ืองมืออื่นมาช่วยในการประมวลผลข้อมูลและช่วยในการสร้าง